คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด...

61

Upload: others

Post on 19-Jun-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได
Page 2: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม ก

คํานํา

สาระสังเขปหนังสือใหมนี้ จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนคูมือแกสมาชิก

รัฐสภาและผูใชบริการในการติดตามหนังสือใหมที่หองสมุดไดรับในแตละเดือน ซึ่งจะเปนการ

ชวยอํานวยความสะดวกและประหยัดเวลาในการเลือกอานหนังสือใหมที่ตองการไดมากขึ้น

อีกทั้งยังเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมสงเสริมการอานและรักการอานหนังสือดวย โดยกลุมงาน

หองสมุด สํานักวิชาการ ไดดําเนินการจัดทํามาเปนปที่ 6 แลว หากสมาชิกรัฐสภาและผูใชบริการทานใดมีความประสงคจะใชหนังสือใหมรายการใด สามารถติดตอขอใชบริการไดที่ กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ อาคารรัฐสภา 3 ช้ัน 1 หมายเลขโทรศัพท 0 2244 1287, 0 2244 1375 และหากทานมีขอคิดเห็น

หรือขอเสนอแนะประการใด โปรดแจงใหผูจัดทําไดรับทราบดวย เพื่อเปนประโยชนในการ

จัดพิมพครั้งตอไป โดยแจงมาที่หมายเลขโทรศัพท 0 2244 1056, 0 2244 1078 หรือ e-mail : [email protected] , [email protected]

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ธันวาคม 2549

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธกิารสภาผูแทนราษฎร

Page 3: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม ข

คําชี้แจงวิธีใช

“สาระสังเขปหนังสือใหม“ เลมนี ้ เปนการสรุปยอเนื้อหาของหนังสือแตละเลมที่

หองสมุดไดรับ โดยจัดหมวดหนังสอืดานตาง ๆ รวมไวดวยกัน ภายในหนังสือแตละหมวด

จัดเรียงตามลําดับอักษรชื่อหนังสือ ตั้งแต ก - ฮ หรือ A - Z รายละเอียดประกอบดวย

ชื่อหมวดหนังสือ

ลําดับที่. ช่ือหนังสือ. / ชือ่ผูแตง. คร้ังที่พิมพ. สถานที่พิมพ : สํานักพิมพ, ปที่พิมพ. [เลขหมูหนังสือ]

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธกิารสภาผูแทนราษฎร

Page 4: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม ค

ตัวอยาง

หนังสือดานสังคมศาสตร (H)

1. ผืนดินพระราชทาน. กรุงเทพฯ : สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม, 2549. [HD1333.T5 ผ541 2549] “ใหมอบที่นาของทรัพยสินทั้งหมดใหรัฐบาลนําไปปฏิรูปที่ดิน” พระราชปรารภของ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวแกผูอํานวยการสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย เมื่อ

เดือนกันยายน พ.ศ.2518 พระองคทรงเปนพระเจาแผนดินที่ทรงทศพิธราชธรรม ทรงบําเพ็ญ

ทานอันยิ่งใหญ คือ พระราชทานที่ดินแกพสกนิกรในพื้นที่ 5 จังหวัด เพื่อเปนจุดเริ่มตนของ

การปฏิรูปที่ดินในที่ดินของเอกชน และเนื่องในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ในป

พุทธศักราช 2549 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจึงไดจัดทําหนังสือ “ผืนดิน

พระราชทาน” เพื่อเผยแพรพระมหากรุณาธิคุณของพระองคที่พระราชทานที่ดินแกเกษตรกร

ซึ่งเนื้อหาภายในเลมไดกลาวถึง พระบรมราโชบายเกี่ยวกับการปฏิรูปที่ดิน พอ....ผูใหผืนดิน

ซึ่งไดกลาวถึง โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค “หุบกระพง” จังหวัดเพชรบุรี

โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค “ทุงลุยลาย” จังหวัดชัยภูมิ และโครงการพัฒนา

กลุมชาวไรฯ ตามพระราชประสงค “ดอนขุนหวย” จังหวัดเพชรบุรี พรอมกับกลาวถึงความ

เปนมาของผืนดินพระราชทานเพื่อการปฏิรูปที่ดิน ประกอบดวย การปฏิรูปที่ดินในประเทศไทย

ผืนดินพระราชทานเพื่อการปฏิรูปที่ดิน โฉนดฉบับแรกของไทย อีกทั้งกลาวถึงการดําเนินงานใน

ผืนดินพระราชทานวาดวยสภาพทั่วไปของพื้นที่ การจัดเกษตรกรเขาทําประโยชน การพัฒนา

ขั้นพื้นฐาน และการพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการใหบริการ

แกเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน นอกจากนี้ยังไดกลาวถึง สถาบันเกษตรกร กองทุนพระราชทาน

ที่ดินโดยเสด็จพระราชกุศล และเนื้อเพลง แด....พอหลวง พระผูมีแตให ซึ่งเปนเนื้อเพลงแหล

แตงโดย ชินกร ไกรลาศ พรอมดวยบทสัมภาษณของเกษตรกรผูซึ่งไดที่ดินทํากินในที่

พระราชทาน ที่ซาบซึ้งถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองคทานที่ไดพระราชทานที่ดินเพื่อ

ประกอบอาชีพสามารถพึ่งพาตนเองได และอยูอยางเศรษฐกิจพอเพียง กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธกิารสภาผูแทนราษฎร

Page 5: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม ง

สารบัญ

หนา

คํานํา........................................................................................................................ ก

คําชี้แจงวิธีใช .............................................................................................................. ข

ตัวอยาง ..................................................................................................................... ค

สารบัญ....................................................................................................................... ง

หนังสือดานปรัชญาและศาสนา (B)............................................................................. 1

หนังสือดานประวัติศาสตรทั่วไป (D) ............................................................................ 2

หนังสือดานภูมิศาสตร มานุษยวิทยา (G)..................................................................... 5

หนังสือดานสังคมศาสตร (H) ...................................................................................... 6

หนังสือดานรัฐศาสตร (J).......................................................................................... 24

หนังสือดานกฎหมาย (K).......................................................................................... 25

หนังสือดานภาษาและวรรณคดี (P) ........................................................................... 29

หนังสือดานแพทยศาสตร (R).................................................................................... 30

หนังสือรายงานการวิจัย วิทยานิพนธ (ว\Res)............................................................. 31

หนังสือสิ่งพิมพรัฐบาล.............................................................................................. 35

หนังสืออางอิง (อ\R)................................................................................................. 43

ภาคผนวก....

หองสมุดรัฐสภา : แนะนํารายชื่อทรัพยากรสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดทํารางรัฐธรรมนูญ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธกิารสภาผูแทนราษฎร

Page 6: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 1

หนงัสือดานปรชัญาและ

ศาสนา (B)

1. 26 ศตวรรษ พระพุทธเจาสุดยอด ซี.อี.โอ. / โดย นวพร เรืองสกุล. กรุงเทพฯ :

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [BQ4570.53 น297ย 2549]

วัฒนธรรมในสวนนามธรรมอันเปนรากฐานที่มาแหงวัตถุ ธรรมจัดวาเปนสิ่งสําคัญที่

สถาบันควรจะธํารงรักษาไวใหเปนสถาบันอันบริสุทธิ์ หนังสือเร่ือง 26 ศตวรรษ พระพุทธเจา

สุดยอด ซี.อี.โอ เลมนี้เปนฉบับปรับปรุงมาจากเอกสารเผยแพรงานวิจัยชื่อ “หลักการในการสราง

และบริหารองคกรของพระพุทธเจา” (The Buddha’s Principles of Management) ซึ่งเนื้อหาใน

เลมนี้ประกอบดวย กาวแรกก็เวที ซี.อี.โอ มองรอบทิศ การตลาด งานบุคคล องคกร ผูนํา กาวพน

เวทีอยางสงางาม นอกจากนี้ยังประกอบดวย คําศัพทอักษรยอจากหนังสือพระไตรปฎก

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 7: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 2

หนงัสือดานประวัติศาสตร ทั่วไป (D)

1. จดหมายเหตุงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวในโอกาส ที่วันพระบรมราชสมภพ ครบ 200 ป. กรุงเทพฯ : สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ

กรมศิลปากร, 2548.

หนังสือจดหมายเหตุงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวใน

โอกาสที่วันพระบรมราชสมภพ ครบ 200 ป เลมนี้ เนื้อหาเกี่ยวกับการบันทึกเหตุการณงานพระราช

พิธี งานรัฐพิธี และงานพิธีตาง ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติที่หนวยงานภาครัฐ

และภาคเอกชนรวมกันจัดขึ้น ซึ่งภายในเลมประกอบดวย พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจใน

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว การจัดเตรียมงานและรวมถึงการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภาพครบ 200 ป นอกจากนี้

ยังกลาวถึง โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติและการสรางสิ่งอนุสรณเฉลิมพระเกียรติ อีกทั้ง

ภาคผนวกกลาวถึงรายนามคณะอนุกรรมการและคณะทํางานฝายตาง ๆ ในคณะกรรมการ

อํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวในโอกาสที่วันพระบรม

ราชสมภพครบรอบ 200 ป

2. เฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป พระบารมีปกเกลาฯ ชาวศาลยุติธรรม.

กรุงเทพฯ : ศาลฎีกา, 2549.

หนังสือเลมนี้เปนการรวบรวมประมวลพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระ

เจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ที่เกี่ยวกับกิจการศาลยุติธรรม พระบรมราโชวาท และพระราชดํารัสที่

พระราชทานในโอกาสตาง ๆ ตลอดจนบทความที่แสดงถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองคตอ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 8: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 3

ศาลยุติธรรม ซึ่งรายละเอียดของเนื้อหาแบงไดเปน 2 สวน ดังนี้ สวนที่หนึ่งเปนการประมวลภาพ

พระราชกรณียกิจและประมวลพระบรมราโชวาท พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่

เกี่ยวของกับศาลยุติธรรม และในสวนที่สองเปนการรวบรวมบทความที่กลาวถึงพระมหากรุณา

ธิคุณที่เกี่ยวของกับศาลยุติธรรม ประกอบดวย 3 บทความ อาทิ พระราชกรณียกิจเกี่ยวกับการ

ศาลยุติธรรม โดยศาสตราจารยธานินทร กรัยวิเชียร บทความเรื่อง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ภูมิพลอดุลยเดชกับอํานาจตุลาการ โดยนายจํารัส เขมะสาร และบทความพระบาทสมเด็จ

พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชกับกระบวนการยุติธรรม โดยรองศาสตราจารยวีณา เอี่ยมประไพ

3. บุคคลสําคัญของไทย. / โดย ฝายวิชาการ สํานักพิมพดอกหญาวิชาการ. กรุงเทพฯ :

ดอกหญาวิชาการ, 2548.

หนังสือเลมนี้เปนการรวบรวมประวัติของบุคคลตาง ๆ ที่มีชื่อเสียงของไทยตั้งแตสมัยกรุง

สุโขทัยมาจนถึงยุคศตวรรษที่ 20 เชน พอขุนรามคําแหงมหาราช ผูประดิษฐอักษรไทย พระสุนทร

โวหาร (สุนทรภู) กวีเอกของโลก พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระบิดาแหง

วิทยาศาสตรไทย อิน-จัน แฝดสยาม สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาดิศวรกุมาร

(กรมพระยาดํารงราชานุภาพ) พระบิดาแหงประวัติศาสตรไทย พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจา

รพีพัฒนศักดิ์ (กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์) พระบิดาแหงกฎหมายไทย เปนตน

4. พระราชพิธีศุภมงคล ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป : A rogal spectacle for all the world.

กรุงเทพฯ : เนชั่น มัลติมีเดีย กรุฟ, ม.ป.ป. [DS586 ภ671พ]

หนังสือพระราชพิธีศุภมงคล ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป เลมนี้เปนการประมวลภาพ

เหตุการณประวัติศาสตรของประเทศไทยในโอกาสฉลองทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ป โดย

ภายในเลมเปนการใชภาพเลาเรื่องลําดับเหตุการณตั้งแตเสด็จออกสีหบัญชร เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน

จนถึงวันที่ 12 มิถุนายน คือ พิธีเฉลิมพระเกียรติที่ยิ่งใหญ ไดแก การแสดงขบวนเรือพระราชพิธี

เพื่อใหพระประมุขและพระราชวงศจาก 25 ประเทศไดทอดพระเนตร นอกจากนี้ภายใตภาพแตละ

ภาพจะมีคําบรรยายประกอบทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ซึ่งแตละภาพที่ไดรวบรวมในหนังสือ

เลมนี้เปนภาพที่สวยงาม พรอมกับบงบอกถึงความเปนพระมหากษัตริยที่ยิ่งใหญของปวงชนชาว

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 9: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 4

ไทย อีกทั้งยังเปนพระมหากษัตริยที่ชาวตางชาติชื่นชมพระบารมียกยองใหเปนพระมหากษัตริย

นักพัฒนาผูเปนแรงบันดาลใจ รวมทั้งเปนบุคคลที่มีอิทธิพลตอชนชาวเอเชีย 5. พลังแหงแผนดิน นวมินทรมหาราชา. / โดย คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดทําหนังสือ

เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งแอนด

พับลิชชิ่ง, 2548.

หนังสือพลังแหงแผนดิน นวมินทรมหาราชา เลมนี้แปลและเรียบเรียงมาจากหนังสือ

เรื่อง King Bhumibol : Strength of the Land ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับพระราชประวัติ พระราช

กรณียกิจ พระราชจริยวัตร พระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถ ตลอดจนพระมหากรุณาธิคุณ

ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในการบําบัดทุกขบํารุงสุขแกอาณาประชาราษฎร โดยภายใน

เลมประกอบดวย บทตาง ๆ ซึ่งตัวอักษรของคํานําบทจะออกสําเนียงวิธีการเขียนแบบไทย เปนการ

สัมผัสอักษรคลองจองกัน อาทิ พระบรมราชสมภพ นบมหาจักรีบรมราชวงศ ทรงพระปรีชาชาญ

พูนเพิ่ม เริ่มใฝฝนผูกพันรัก พระทรงศักดิ์นิวัตนครา บรมราชาภิเษกสิริสวัสดิ์ ทรงเจนจัดวิชาการ

ทันสมัย เทิดไททรงงานล้ําคุณคา เจาหลาเจาแผนดิน ภูมินทรหวังประชาพึ่งพาตนได ขาดทุนคือ

กําไร น้ําพระราชหฤทัยเปยมรักราษฎร ทรงอาทรทวยราษฎร ภูวนาถรังสฤษฏ มูลนิธิชัยพัฒนา

ทรงอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม พรอมพระราชทานฝนหลวง ลุลวงโครงการอันเนื่องมาจาก

พระราชดําริ พระมหากรุณาธิคุณในยามวิกฤต เจริญมิตรไมตรีทั่วหลาสถาพร บวรธรรมิกราชสดุดี

6. วันชาติและวันสําคัญของโลก. / โดย ทักษิณา ณ ตะกั่วทุง. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร,

2548.

หนังสือเลมนี้รวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับวันชาติของประเทศไทย วันชาติของประเทศ

เพื่อนบาน วันชาติของประเทศที่สําคัญและควรรูจัก รวมถึงรายละเอียดวันชาติประเทศตาง ๆ

วันสําคัญสากล ซึ่งเปนวันเทศกาลสําคัญตาง ๆ เชน วันขึ้นปใหม วันตรุษจีน วันฮาโลวีน เปนตน

และวันสําคัญสากลที่ประกาศโดยองคการตาง ๆ เชน สหประชาชาติ ยูเนสโกและอื่น ๆ โดยเปน

ขอมูลที่รวบรวมไวอยางละเอียดและทันสมัย

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 10: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 5

หนงัสือดานภูมิศาสตร

มานุษยวทิยา (G)

1. คูมือการปองกันภัยพิบัติอันเนื่องมาจากคลื่นยักษสึนามิ. / โดย ซากิโมโตะ, ทาเคฮิโระ.

โอกินาวา : สํานักงานสาขายาเอยามะ, ม.ป.ป.

หนังสือคูมือการปองกันภัยพิบัติอันเนื่องมาจากคลื่นยักษสึนามิเลมนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ

คลื่นยักษสึนามิ ซึ่งรายละเอียดประกอบดวย ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสึนามิ ลักษณะเฉพาะของ

สึนามิที่พบในอดีต ผังขอมูลขาวสารสึนามิ ลักษณะความเสียหายจากภัยพิบัติสึนามิ การปองกัน

ภัยพิบัติและเกณฑการปองกันภัยพิบัติสึนามิในรูปของฮารดแวร พรอมกับสถานีหลบภัย ตลอดจน

รวมทั้งจะติดตอใครเมื่อพบเห็นเหตุการณผิดปกติกอนการเขาถึงของสึนามิ และคําถาม-คําตอบ

เกี่ยวกับสึนามิ นอกจากนี้แลววัตถุประสงคของคูมือนี้จัดทําขึ้นเพื่อใหใชเปนขอมูลอางอิงที่จะเปน

ประโยชนในการจัดทําระบบปองกันภัยพิบัติ

2. สึนามิ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ. / โดย พุทธชาติ ทองเอม. กรุงเทพฯ : กลุมงานบริการวิชาการ

สํานักวิชาการ, 2549.

สึนามิ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เลมนี้เปนหนังสือที่เกี่ยวกับภัยพิบัติอันเนื่องมาจากคลื่น

ยักษสึนามิ ซึ่งในรายละเอียดของเนื้อหากลาวถึง ประเภทของคลื่นยักษสึนามิ สาเหตุของการเกิด

คลื่นยักษและปจจัยความรุนแรง ซึ่งประกอบดวย ขนาด ความรุนแรงของแผนดินไหว รอยเลื่อนที่

เคลื่อนตัวในแนวดิ่งหรือในแนวราบ รวมถึงการเกิดคลื่นยักษสึนามิในอดีตจนถึงปจจุบัน ตลอดจน

ผลกระทบจากการเกิดคลื่นยักษสึนามิ พรอมดวยแนวทางและมาตรการปองกันภัยจากคลื่นยักษ

สึนามิในอนาคต นอกจากนี้ในภาคผนวกยังไดรวบรวมลําดับเหตุการณของการเกิดภัยพิบัติทาง

ธรรมชาติคลื่นยักษสึนามิ แผนที่แสดงตําแหนงบริเวณที่ เกิดแผนดินไหวและคลื่นยักษ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 11: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 6

(26 ธันวาคม 2547) อีกทั้งแผนที่บริเวณเสี่ยงภัยแผนดินไหวของประเทศไทย รวมทั้งรอยเลื่อนมี

พลังในประเทศไทย

หนงัสือดานสังคมศาสตร (H)

1. กลไกของตลาดการเงินในระบบเศรษฐกิจไทย. / โดย อัญญา ขันธวิทย. พิมพคร้ังที่ 3.

กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG307.T5 ต199ก 2549]

กลไกของตลาดการเงินในระบบเศรษฐกิจไทย ไดจัดพิมพครั้งที่ 3 โดยไดปรับเพิ่มเนื้อหา

ใหมีความทันสมัยขึ้น ซึ่งในเนื้อหาประกอบดวย ระบบการเงินไทย สินทรัพยทางการเงินและตลาด

การเงินไทย ขาวสารขอมูลเพื่อการตัดสินใจในตลาดการเงินไทย ตลาดเงินของประเทศไทย

โครงสรางของตลาดทุนไทย ตลาดตราสารหนี้ไทย ตลาดตราสารทุนไทย รวมถึงตลาดตราสาร

อนุพันธของประเทศไทย การกํากับตลาดการเงินในประเทศไทย และตลาดการเงินระหวางประเทศ

และบทบาทของตลาดการเงินระหวางประเทศกับโครงการ Mega Projects ของประเทศ

2. การเงินธุรกิจ (Corporate Finance). / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 2.

กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG4144.655 ต199ก 2548]

การเงินธุรกิจ ซึ่งจัดอยูในกลุมวิชาเครื่องมือเพื่อการวิเคราะหการลงทุน ไดรับการ

ออกแบบเพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการทางการเงินขององคการธุรกิจ ซึ่งจะเปนแนวคิด

สําคัญที่สามารถนําไปประยุกตใชกับการลงทุนในสินทรัพย โดยเนื้อหาในเลมนี้จะประกอบดวย

ภาพรวมของการจัดการทางการเงิน ตนทุนของเงินทุน งบประมาณลงทุน รวมทั้งการประมาณ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 12: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 7

กระแสเงินสดและประเด็นอื่นที่เกี่ยวของกับงบประมาณลงทุน และการวิเคราะหความเสี่ยงของ

โครงการลงทุน โครงสรางของเงินทุน และนโยบายปนผล

3. การลงทุนในกองทุน (Mutual funds, Private funds, and Provident funds). / โดย

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. [HG4530 ต199ก 2548] การลงทุนในกองทุนจัดอยูในกลุมวิชาตราสารทุน เปนการรวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวกับ

ความหมายและประเภทของกองทุน โดยครอบคลุมถึงกองทุนรวม กองทุนสวนบุคคล และกองทุน

สํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งไดอธิบายถึงโครงสรางของกองทุนประเภทตาง ๆ การจัดการกองทุนและ

นโยบายการลงทุนของกองทุนแตละประเภท ทั้งขอดีและขอเสียของการลงทุนในกองทุนแตละ

ประเภท รวมถึงผลตอบแทนและสิทธิประโยชนทางภาษีของการลงทุนในกองทุน และหลักการ

กระบวนการ และวิธีการจัดผลการดําเนินงานของกองทุน

4. การลงทุนในตราสารทุน (Equity investments). / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG4661 ต199ก 2549] กองทุนในตราสารทุน จัดอยูในกลุมการประเมินมูลคาสินทรัพย โดยเนื้อหาจะแบงเปน

2 สวน สวนที่ 1 เนื้อหาเกี่ยวกับทางเลือกในการลงทุนตาง ๆ โครงสรางและหนาที่ของตลาด

หลักทรัพย รวมทั้งดัชนีราคาหลักทรัพย ซึ่งอธิบายถึงประโยชนและการสรางดัชนีราคาหลักทรัพย

ประเภทตาง ๆ รวมถึงความมีประสิทธิภาพของตลาดทุน และการประยุกตใชแนวคิดนี้กับการ

บริหารกลุมหลักทรัพย สวนที่ 2 เกี่ยวกับหลักการสําคัญของการประเมินมูลคาหลักทรัพย และการ

วิเคราะหโดยใชปจจัยพื้นฐาน เริ่มจากการวิเคราะหตลาดทุน การวิเคราะหอุตสาหกรรม การ

วิเคราะหบริษัท และวิธีการประเมินมูลคาตราสารทุนแบบตาง ๆ รวมถึงการวิเคราะหหลักทรัพย

ทางเทคนิคแบบตาง ๆ ซึ่งจะเปนเครื่องมือสําคัญที่ใชประกอบการวิเคราะหหลักทรัพยโดยใช

ปจจัยพื้นฐานได

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 13: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 8

5. การลงทุนในตราสารหนี้ (Debit investments). / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG4651 ต199ก 2549] การลงทุนในตราสารหนี้ จัดอยูในกลุมการประเมินมูลคาสินทรัพย โดยเนื้อหาแบงเปน

สองสวนหลัก สวนที่ 1 คือรูปแบบและลักษณะสําคัญของตราสารหนี้ การวิเคราะหถึงการลงทุนใน

ตราสารหนี้ในดานตาง ๆ ไดแก ราคา ผลตอบแทน การวิเคราะหความเสี่ยงประเภทตาง ๆ ที่เกิด

จากการลงทุนในตราสารหนี้ สวนที่ 2 การประเมินมูลคาตราสารหนี้ การคํานวณผลตอบแทน และ

การวัดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาตราสารหนี้

6. การลงทุนในตราสารอนุพันธ (Derivative investments). / โดย ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG6024.A3 ต199ก 2549] การลงทุนในตราสารอนุพันธ ซึ่งจัดอยูในกลุมวิชาการประเมินมูลคาสินทรัพย ไดรับการ

ออกแบบเพื่อสรางความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับตราสารอนุพันธประเภทตาง ๆ โดยเนื้อหาอธิบายถึง

ลักษณะสําคัญและประเภทตาง ๆ ของตราสารอนุพันธ 4 ประเภท ไดแก สัญญาซื้อขายลวงหนา

บอรเวิรด สัญญาซื้อขายลวงหนาฟวเจอรส ออปชัน และสัญญาสวอป รวมทั้งโครงสรางตลาดของ

ตราสารอนุพันธ และอธิบายในสวนของการซื้อขายตราสารอนุพันธในตลาดที่เปนทางการและ

ตลาดตอรอง 7. การลงทุนในทางเลือกอื่น (Alternative investments). / โดย ตลาดหลักทรัพยแหง

ประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG4028.V3 ต199ก 2549] การลงทุนในทางเลือกอื่น จัดอยูในกลุมวิชาการประเมินมูลคาสินทรัพย โดยมีเนื้อหา

เกี่ยวกับลักษณะการลงทุนและแนวทางการวิเคราะหการลงทุนในทางเลือกอื่นประเภทหลัก ๆ และ

เกี่ยวกับกลยุทธการลงทุนในทางเลือกอ่ืน โดยครอบคลุมถึงกองทุนรวม กองทุน ETF เธอจฟนด

และการจัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายลวงหนา รวมถึงสินทรัพยการลงทุนในทางเลือกอื่น

ประกอบดวย อสังหาริมทรัพย สินคาโภคภัณฑและตราสารอนุพันธบนสินคาโภคภัณฑ บริษัทใน

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 14: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 9

วงแคบ ธุรกิจเงินรวมลงทุน และบริษัทที่กําลังตกอยูในภาวะวิกฤต รวมถึงความเสี่ยงของการลงทุน

ในทางเลือกอื่นประเภทตาง ๆ

8. การวิเคราะหงบการเงิน (Financial statement analysis). / โดย ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HF5681.B2 ต199ก 2549] หนังสือเลมนี้เปนเครื่องมือเพื่อวิเคราะหการลงทุนโดยการออกแบบเพื่อเสริมสรางความ

เขาใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวิเคราะหงบการเงินเพื่อใหสามารถใชประโยชนจากขอมูลในงบการเงิน

ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เนื้อหาภายในเลมแบงเปน 4 สวน 15 บท สวนที่ 1 แนวคิดพื้นฐาน

เกี่ยวกับการวิเคราะหงบการเงิน สวนที่ 2 อัตราสวนทางการเงินและกําไรตอหุน สวนที่ 3

สินทรัพย สวนที่ 4 หนี้สิน รายละเอียดตาง ๆ จึงมีความเกี่ยวของกับการตัดสินใจของผูใช

งบการเงิน และยังเปนขอมูลที่เชื่อถือได

9. การวิเคราะหเชิงปริมาณ (Quantitative methods). / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HD30.25 ต199ก 2549]

การวิเคราะหเชิงปริมาณจัดอยูในกลุมวิชา เครื่องมือเพื่อการวิเคราะหการลงทุน โดย

เนื้อหาแบงเปน 2 สวนหลัก ในสวนแรกจะมุงเนนที่ความเขาใจเกี่ยวกับมูลคาของเงินตามเวลา

และการวิเคราะหมูลคากระแสเงินสด หลักสถิติและความนาจะเปน วิธีการทางสถิติเกี่ยวของกับ

การเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูล การแสดงผล และนําไปสูการแกปญหาหรือชวยในการ

ตัดสินใจในสถานการณที่มีความไมแนนอนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในสวนที่ 2

เนื้อหาเกี่ยวกับเครื่องมือทางสถิติและเศรษฐมิติที่ชวยในการวิเคราะหขอมูล รวมถึงตัวแปรสุม

และการแจกแจงความนาจะเปน การสุมตัวอยางและการประมาณคา การทดสอบสมมติฐานและ

สหสัมพันธและสมการถดถอย

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 15: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 10

10. การวิเคราะหตราสารอนุพันธ (DR2) Analysis of derivatives. / โดย ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. [HG6024 ต199ก 2548] การวิเคราะหตราสารอนุพันธเปนวิชาที่ตอเนื่องมาจาก DR1 คือ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ

ตราสารอนุพันธ ซึ่งเนื้อหาในบทแรกนั้นศึกษาแนวคิดและหลักการทางการเงินที่นํามาใชในการ

วิเคราะหตราอนุพันธ และแนวคิดอาบิทราจหรือกฎแหงราคาเดียว รวมถึงขอสมมติฐานและ

ขอจํากัดของการประยุกตใชแนวคิดดังกลาว จะครอบคลุมถึงการประเมินราคาและการวิเคราะห

ความเสี่ยงของการลงทุนในตราสารอนุพันธประเภทสัญญาฟวเจอรสและออปชัน โดยเปนการ

ประเมินราคาตราสารอนุพันธประเภทตาง ๆ และกลยุทธการซื้อขาย รวมถึงสถานการณที่

เหมาะสมสําหรับกลยุทธการซื้อขายแบบตาง ๆ ในบทสุดทายเปนการจัดการความเสี่ยงของตรา

สารอนุพันธ กระบวนการในการจัดการความเสี่ยง รวมทั้งความเสี่ยงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการลงทุน

ในตราสารอนุพันธ

11. การวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยพื้นฐาน. / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

พิมพคร้ังที่ 7. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2546. [HG4551 ต199ก 2546] หนังสือตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดปรับปรุงและเพิ่มเติมเนื้อหาขอมูลตาง ๆ

ใหเปนปจจุบันสอดคลองกับพัฒนาการใหม ๆ และใหมีความครบถวนสมบูรณมาอยางตอเนื่อง

รายละเอียดประกอบดวย ภาพรวมของการวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยพื้นฐาน การอธิบาย

รายละเอียดของการวิเคราะหเศรษฐกิจ ขั้นที่ 2 ในการวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยพื้นฐาน

การอธิบายรายละเอียดของขั้นตอนสุดทาย คือ การวิเคราะหบริษัท นอกจากนี้ยังมีตารางและ

แผนภาพประกอบ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 16: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 11

12. กาวแรกสูการลงทุนในตลาดหลักทรัพย. / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

พิมพคร้ังที่ 11. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG5750.55 ต199ก 2549] เนื้อหาของหนังสือกลาวถึง บทบาทและหนาที่ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กลไกและความสัมพันธระหวางตลาดหลักทรัพยกับผูลงทุนและหนวยงานสําคัญ ๆ ที่เกี่ยวของกับ

การเตรียมความพรอมกอนลงทุนในหลักทรัพย ภายในเลมแบงเปนทั้งหมด 9 เร่ือง คือ รูจักกับ

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กาวสูการลงทุนในตลาดหลักทรัพย สัมผัสกับบริษัทหลักทรัพย

หรือโบรกเกอร ขอมูลพื้นฐานในการลงทุน เตรียมพรอมสําหรับรางวัลและความเสี่ยง

13. ขอมูลและการวิเคราะหขอมูลทางการเงิน (Financial information and analysis).

/ โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย, 2549. [HG4026 ต199ข 2549]

ขอมูลและการวิเคราะหขอมูลทางการเงิน จัดอยูในกลุมความรูพื้นฐาน โดยมีเนื้อหาที่มี

ความจําเปนขั้นพื้นฐานเพื่อการตัดสินใจในทางการเงิน โดยจะแบงเปนขอมูลในระดับมหภาค

ระดับอุตสาหกรรม ขอมูลบริษัท และขอมูลการเงินของบุคคล ประเภทแหลงของขอมูลที่สําคัญ

และสวนประกอบของขอมูลทางการเงินแตละประเภท รวมถึงการวิเคราะหขอมูลและผลกระทบ

ของการเปลี่ยนแปลงของขอมูลทางการเงินที่มีตอราคาหลักทรัพยหรือธุรกิจที่กําลังพิจารณา

ครอบคลุมถึงการวิเคราะหขอมูลการเงินของบุคคล เพื่อไดทราบฐานะการเงินของบุคคลและเพื่อให

สามารถจัดสรรเงินไปลงทุนในตลาดหลักทรัพยตามความเหมาะสมได

14. ความมั่งคั่งที่ยั่งยืนดวยกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย. / โดย รุจพงษ ประภาสะโนบล.

กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. [HG4028 ร653ค 2548] หนังสือคูมือชีวิต เลม 1 ตอน ความมั่งคั่งที่ยั่งยืนดวยกองทุนรวมอสังหาริมทรัพยเปน

ทางเลือกใหมของการลงทุนที่สามารถตอสูกับเงินเฟอ ซึ่งถือเปนศัตรูตัวฉกาจสําหรับผูออมเงิน

รายละเอียดในเลมเกี่ยวกับแนวคิดในดานการออมและการลงทุน การลงทุนและความเสี่ยง

การกระจายความเสี่ยงในการลงทุนโดยการสรางพอรตการลงทุน พัฒนาการของธุรกิจ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 17: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 12

อสังหาริมทรัพยในประเทศไทย กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยในตางกองทุนรวมอสังหาริมทรัพยของ

ประเทศไทย และใหแนวคิดพื้นฐานดานการจัดการเงินสวนบุคคล ภาพรวม ประเภทและ

พัฒนาการของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพยทั้งของตางประเทศและของประเทศไทย

15. ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับตราสารทุน (Introduction to equity). / โดย ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. [HG4661 ต199ค 2548] ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับตราสารทุน เร่ิมตนดวยการกลาวถึงพัฒนาการของตลาด

ตราสารทุนในประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร สัมพันธระหวางตลาดตราสารทุนกับเศรษฐกิจ

และอธิบายถึงบทบาทและหนาที่ของผูมีสวนเกี่ยวของในตลาดตราสารทุน และกลไกการทํางาน

ของตลาดแรกและตลาดรองของตราสารทุน รวมทั้งผลตอบแทนและความเสี่ยงของตราสารทุน

ประเภทตาง ๆ และกลาวถึงตราสารทุนที่มีการซื้อขายในตลาดทุนไทย

16. ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับตราสารหนี้ (Introduction to debit securities). / โดย

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย,

2548. [HG6024.A3 ต299ค 2548]

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับตราสารหนี้ เนื้อหาภายในเลมนําเสนอ ภาพรวมของตราสารหนี้

ประกอบดวย ความหมาย ประวัติ บทบาทและประโยชน ประเภทของตราสารหนี้ ลักษณะของ

ตราสารหนี้ รวมทั้งลักษณะเฉพาะตัวและเงื่อนไขพิเศษ รวมถึงความเสี่ยงของการลงทุนใน

ตราสารหนี้และภาษีเงินไดจากการลงทุนในตราสารหนี้ หลักเกณฑการเสียภาษีของการลงทุนใน

ตราสารหนี้ตามประเภทของเงินไดและประเภทของผูลงทุน

17. ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับตราสารอนุพันธ (Introduction to derivatives). / โดย

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหง

ประเทศไทย, 2548. [HG6024.A3 ต199ค 2548]

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับตราสารอนุพันธ เนื้อหาครอบคลุมตั้งแตลักษณะทั่วไปของ

ตลาดตราสารอนุพันธประเภทตาง ๆ รูปแบบและกลไกการซื้อขายของตลาดตราสารอนุพันธ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 18: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 13

และไดขยายความเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับตราสารอนุพันธหลัก 2 ประเภท ไดแก สัญญาฟวเจอรสและ

ออปชัน โดยมีลักษณะประเภท กลไกการซื้อขาย การประยุกตใช รวมทั้งผลตอบแทนและความ

เสี่ยงของการลงทุน แนวคิดเบื้องตนในการกําหนดราคา เพื่อใหเปนพื้นฐานสําหรับวิชา DR2 คือ

การวิเคราะหตราสารอนุพันธตอไปและยังมีอนุพันธทางการเงินกลุมอ่ืนที่มีความสําคัญ รวมถึง

การพัฒนาของตลาดอนุพันธของประเทศไทย

18. คัมภีรเศรษฐี Mai. / โดย ณรัฐพงศ พันธเกียรติไพศาล. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย, 2548. [HG5750.55.A6 ณ339ค 2548]

หนังสือ “คัมภีรเศรษฐี Mai” แบงเปน 3 สวนหลัก ๆ โดยในสวนแรกจะเปนการสราง

ความเขาใจรวมกันและใหผูอานเห็นความสําคัญของการจัดการทุนของการประกอบธุรกิจใน

ลักษณะตาง ๆ ในเรื่อง “โครงสรางของทุน” และ “ตนทุน” รวมถึงการบริหารจัดการ เนื้อหาใน

สวนที่สองถือเปนสวนสําคัญและเปนวัตถุประสงคหลัก เนื้อหาที่สําคัญ ตัวอยาง และสวนสุดทาย

กลาวถึงเปดโลกแหงการเปนบริษัทจดทะเบียน 19. คิดอยางผูนําและผูตาม. / โดย สุพัตรา สุภาพ. ม.ป.ท. : สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี

(ไทย-ญี่ปุน), 2547.

หนังสือเลมนี้เปนคูมือที่จะใหผูอานไดรับรูแนวทางในการปฏิบัติ เทคนิคและทักษะใน

การทํางานที่จะทําใหการทํางานมีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงขึ้น และยังเปนการแจกแจง

รายละเอียดการเปน CEO และการเปนลูกนองที่ดี ขณะเดียวกันยังใหเคล็ดลับการบริหารงานใน

ฐานะเปนหัวหนาและลูกนอง รวมทั้งผูที่กําลังอยากสมัครงาน รายละเอียดในเลมจึงประกอบดวย

ผูบริหารมือหนึ่งมาเรียนรูกลยุทธกันเถอะ การทํางานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และเคล็ด

(ไม) ลับที่ควรรู 20. คูมือการใชงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักสารสนเทศ สํานักงาน

เลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2549.

หนังสือคูมือการใชงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสเลมนี้ เนื้อหากลาวถึง ระบบสาร

บรรณอิเล็กทรอนิกส การเขาโปรแกรมโดยผานระบบอินทราเน็ต และโดยตรงจากหนาตางของ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 19: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 14

เว็บเบราวเซอร การติดตั้ง Plug-in ของโปรแกรม การเปลี่ยนรหัสผาน การออกจากระบบ

นอกจากนี้แลวสามารถแบงเนื้อหาภายในเลมไดเปน 2 ภาค ดังนี้ ภาคแรกกลาวถึงองคประกอบ

ของระบบกับการใชงานทั่วไป ซึ่งประกอบดวย ขอมูลสวนตัว การเตรียมขอมูลเขา การเปดดูขอมูล

และการสงตอหนังสือ แฟมเอกสารสวนตัว ปฏิทิน รายการงานที่ทํา ถังขยะ ภาคที่สองกลาวถึง

องคประกอบของระบบเฉพาะผูไดรับสิทธิการใชงาน ซึ่งประกอบดวย ขอมูลสวนตัวของผูมีสิทธิใน

การใชงาน แฟมทะเบียนกลาง การแสดงเลขทะเบียน หนังสือสวนกลาง การสืบคนหนังสือ

21. จัดทัพลงทุน. / โดย สมจิตร ศรไพศาล. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย,

2548. [HG4621 ส236จ 2548]

หนังสือเลมนี้มีวัตถุประสงคหลักที่จะบอกวา การลงทุนนั้นเปนเหมือนการเลนฟุตบอล

เปนทีม ตองมีการวางแผน ตองเขาใจความถนัดของผูเลน ตองมีการจัดทัพกองหนา กองกลาง

กองหลัง ใหเหมาะสมกับสถานการณจึงจะชนะได รายละเอียดในเลมประกอบดวย ฝน...อยาก

จะรวย ยานวิเศษ แผนเดินทาง จัดทัพลงทุน ปรับทัพออกศึก วาสนาคนรวย ธงชัย หนังสือเลม

นี้ไดเอื้อประโยชนแกผูอานทุกทานจนไปสูความสําเร็จในการจัดทัพลงทุนสูความมีอิสรภาพทาง

การเงินตอไป

22. ตลาดการเงินและการลงทุนในหลักทรัพย หลักสูตรใบอนุญาตสําหรับผูขาย

หลักทรัพย Single License. / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 2.

กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG4551 ต199ต 2549]

ตลาดการเงินและการลงทุนในหลักทรัพยจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนหนังสือประกอบการ

ทดสอบหลักสูตรใบอนุญาตสําหรับผูขายหลักทรัพย เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง

โครงสรางของผูทําหนาที่ติดตอกับผูลงทุนของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด

หลักทรัพย หนังสือในเลมประกอบไปดวย สองหมวดหลัก หมวดที่หนึ่งกลาวถึงกลไกตลาดการเงิน

และหลักการลงทุนเบื้องตน จํานวน 9 พอท หมวดที่สองกลาวถึงความรูเบื้องตนเกี่ยวกับตราสาร

และการประเมินมูลคา

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 20: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 15

23. ตลาดการเงินและการกํากับดูแล (Overview of financial markets and regulators).

/ โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย,

2548. [HG87.T5 ต198ต 2548] หนังสือเลมนี้ประกอบดวย 2 สวน โดยสวนแรกกลาวถึง ภาพรวมของตลาดการเงิน

ระบบการเงิน บทบาทและหนาที่ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การจัดกลุมตลาดการเงิน

และครอบคลุมไปถึงประเภท ลักษณะ และกลไกของตลาดการเงินแตละประเภท โดยรายละเอียด

แตละประเภทเนื้อหาจะเปนตราสารการเงินประเภทตาง ๆ ที่ซื้อขายในตลาด รวมทั้งผลตอบแทน

และความเสี่ยงของตราสาร รวมถึงบทบาทหนาที่ของผูมีสวนเกี่ยวของในตลาดการเงิน และยัง

กลาวถึงความสัมพันธระหวางแตละตลาด สวนที่ 2 เปนการกํากับดูแลตลาดการเงิน ปรัชญาและ

วัตถุประสงคของการกํากับดูแล ทางเลือกในการกํากับดูแล บทบาทและหนาที่ขององคกรกํากับ

ดูแลในตลาดการเงิน โดยครอบคลุมถึงพัฒนาการและแนวโนมของการกํากับดูแลในอนาคต 24. ทฤษฎีตลาดทุน (Capital market theory). / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG4529.5 ต199ก 2549] ทฤษฎีตลาดทุน จัดอยูในกลุมการบริหารกลุมสินทรัพยลงทุน โดยเนื้อหาประกอบดวย

แนวความคิดในเรื่องของอัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนคาดหวังและความเสี่ยง แนวคิดในการจัดสรร

เงินทุน วงจรชีวิตของผูลงทุน ภาพรวมของกระบวนการบริหารกลุมหลักทรัพยและทฤษฎีกลุม

หลักทรัพยของ Markowitz โดยเกี่ยวกับเสนโคงกลุมหลักทรัพยที่มีประสิทธิภาพ กลุมหลักทรัพยที่

เหมาะสม พัฒนาการของทฤษฎีตลาดทุน และแบบจําลองในการกําหนดราคาหลักทรัพยตาง ๆ ให

มีความเหมาะสมกับระดับความเสี่ยง

25. เทคนิคการวิเคราะหงบการเงินบริษัทจดทะเบียน. / โดย ตลาดหลักทรัพยแหง

ประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 7. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2546. [HG4028 ต199ท 2546] หนังสือ “เทคนิคการวิเคราะหงบการเงินบริษัทจดทะเบียน” เลมนี้เนื้อหาภายในเลมให

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคเบื้องตนในการวิเคราะหงบการเงินของบริษัท

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 21: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 16

จดทะเบียน โดยไดรวบรวมขอมูลงบการเงินและอัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ ๆ ซึ่งจะชวยใหผู

ลงทุนสามารถวิเคราะหและประเมินศักยภาพและมูลคาของกิจการที่สนใจจะลงทุนไดอยางดีใน

ระดับหนึ่ง นอกจากนี้ภายในเลมไดจําแนกเนื้อหาออกเปนหมวด ไดแก หมวดที่ 1 กลาวถึง

ความสําคัญของการวิเคราะหงบการเงินของบริษัทจดทะเบียน วาดวยความหมาย ประโยชน

หลักเกณฑ และแหลงขอมูลที่สําคัญในการศึกษางบการเงินของบริษัทจดทะเบียน หมวดที่ 2

กลาวถึงประเภทของงบการเงิน วาดวยงบดุล งบกําไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และในหมวดที่ 3

กลาวถึง การวิเคราะหงบการเงินที่มีผลตอการตัดสินใจลงทุนในหลักทรัพย วาดวยรูปแบบของการ

วิเคราะหเพื่อการตัดสินใจลงทุน พรอมดวยคําศัพทเฉพาะที่ควรทราบ

26. นักลงทุนผูชาญฉลาด. / โดย วิกรม เกษมวุฒิ. พิมพคร้ังที่ 9. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย, 2548. [HG4521 ว495น 2548]

หนังสือเลมนี้เนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตรของวงการตลาดหุนไทย พรอมดวยสาระทาง

เทคนิคที่นาสนใจเกี่ยวกับการวิเคราะหหุน โดยใชปจจัยพื้นฐานและการวิเคราะหทางเทคนิคที่

สามารถนําไปประยุกตใชในทางปฏิบัติ ซึ่งผูเขียนไดนําประสบการณมาถายทอดเปนหนังสือเพือ่ให

ผูอานไดศึกษาขอมูลตลาดหุนไทยและการลงทุนในหลักทรัพย ซึ่งในเนื้อหาจําแนกไดเปน ประวัติ

ตลาดหลักทรัพยที่สําคัญของโลก กลาวถึง ตลาดหลักทรัพยที่สําคัญและเกาแกที่สุดในโลก

วิวัฒนาการของตลาดหลักทรัพยในประเทศไทย การวิเคราะหหลักทรัพยดวยปจจัยพื้นฐาน

กลยุทธสูความสําเร็จในการซื้อขายหุน การวิเคราะหการเมือง เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และ

อุตสาหกรรม รวมถึงการนําทฤษฎีไปสูภาคปฏิบัติ วิธีการประเมินมูลคาหุน จังหวะในการลงทุนซื้อ

ขายหุน การวิเคราะหทางเทคนิค จิตวิทยาการลงทุน ตลอดจนบทเรียนจากวิกฤตการณจริงใน

ตลาดหลักทรัพย ซึ่งเปนภาพรวมในอดีต คดีหุนดังป 2535-2536

27. แนวทางการควบคุมภายในที่ดี. / โดย ณฐพร พันธุอุดม. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย, 2549. [HF5668.25 ณ119น 2549]

แนวทางการควบคุมภายในที่ดี เปนหนังสือในชุดที่ตลาดหลักทรัพยฯ จัดทําขึ้นเพื่อ

สงเสริมการกํากับดูแลกิจการที่ดีใหแกบริษัทจดทะเบียน ซึ่งไดปรับปรุงจากหนังสือแนวทางการ

จัดระบบการควบคุมภายใน ป 2540 โดยมีองคประกอบเกี่ยวกับเนื้อหา คือ แนวความคิดทั่วไป

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 22: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 17

และองคประกอบการควบคุมภายใน สภาพแวดลอมการควบคุมการประเมินความเสี่ยง รวมทั้ง

กิจกรรมควบคุมดานการบริหารจัดการ กิจกรรมการควบคุม วงจรธุรกิจที่สําคัญ ขอมูล

สารสนเทศและการติดตอสื่อสาร กิจกรรมการควบคุมดานสารสนเทศ การติดตามประเมินผลการ

ควบคุมภายใน และการประเมินการควบคุมโดยตนเอง รวมถึงการทุจริตตาง ๆ

28. แนวทางการตรวจสอบภายใน. / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ :

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. [HF5668.25 ต199น 2548]

แนวทางการตรวจสอบภายใน เนื้อหาของหนังสือเลมนี้แบงออกเปน 4 สวน คือ สวนที่ 1

วาดวยภาพรวมของการตรวจสอบภายใน โครงสรางของการควบคุมและหลักฐานตาง ๆ ที่จะตอง

ใชในการตรวจสอบ สวนที่ 2 เปนกระบวนการตรวจสอบ ซึ่งจะเริ่มตั้งแตการวางแผนการ

ตรวจสอบ การเตรียมการ การสํารวจและสอบทานระบบการควบคุมภายใน การทดสอบเพิ่มเติม

และการรายงานผลการตรวจสอบ สวนที่ 3 เกี่ยวกับเทคนิคการตรวจสอบ และประเภทของการ

ตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบระบบสารสนเทศของกิจการดวย สวนที่ 4 เปนเรื่องเกี่ยวกับการ

บริหารงานตรวจสอบภายใน การจัดการหนวยงานตรวจสอบภายใน การบริหารงานบุคลากร

ภายในหนวยงานใหมีประสิทธิภาพสามารถปฏิบัติงานใหเปนที่นาเชื่อถือของผูรับการตรวจสอบ

29. แนะนําตราสารหนี้ทวีความรูนักลงทุน. / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย.

พิมพคร้ังที่ 6. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HG4651 ต199น 2549] หนังสือแนะนําตราสารหนี้ทวีความรูนักลงทุนมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับตราสารหนี้ตาง ๆ

เชน ตราสารหนี้ : ทางเลือกในการลงทุน ตราสารหนี้ : ดีสําหรับผูกูและผูลงทุน สินคาในตลาด

ตราสารหนี้ BEX มีอะไรบาง พรอมขอสรุปสาระสําคัญ พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรออมทรัพย

พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ พันธบัตรหนวยงานภาครัฐ หุนกูเอกชน

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 23: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 18

30. ผืนดินพระราชทาน. กรุงเทพฯ : สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม, 2549. [HD1333.T5 ผ541 2549] “ใหมอบที่นาของทรัพยสินทั้งหมดใหรัฐบาลนําไปปฏิรูปที่ดิน” พระราชปรารภของ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวแกผูอํานวยการสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย เมื่อเดือน

กันยายน พ.ศ.2518 พระองคทรงเปนพระเจาแผนดินที่ทรงทศพิธราชธรรม ทรงบําเพ็ญทาน

อันยิ่งใหญ คือ พระราชทานที่ดินแกพสกนิกรในพื้นที่ 5 จังหวัด เพื่อเปนจุดเริ่มตนของการปฏิรูป

ที่ดินในที่ดินของเอกชน และเนื่องในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ในปพุทธศักราช 2549

สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจึงไดจัดทําหนังสือ “ผืนดินพระราชทาน” เพื่อเผยแพร

พระมหากรุณาธิคุณของพระองคที่พระราชทานที่ดินแกเกษตรกร ซึ่งเนื้อหาภายในเลมไดกลาวถึง

พระบรมราโชบายเกี่ยวกับการปฏิรูปที่ดิน พอ....ผูใหผืนดิน ซึ่งไดกลาวถึงโครงการจัดพัฒนาที่ดิน

ตามพระราชประสงค “หุบกระพง” จังหวัดเพชรบุรี โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค

“ทุงลุยลาย” จังหวัดชัยภูมิ และโครงการพัฒนากลุมชาวไรฯ ตามพระราชประสงค “ดอนขุนหวย”

จังหวัดเพชรบุรี พรอมกับกลาวถึงความเปนมาของผืนดินพระราชทานเพื่อการปฏิรูปที่ดิน

ประกอบดวย การปฏิรูปที่ดนิในประเทศไทย ผืนดินพระราชทานเพื่อการปฏิรูปที่ดิน โฉนดฉบับแรก

ของไทย อีกทั้งกลาวถึงการดําเนินงานในผืนดินพระราชทานวาดวยสภาพทั่วไปของพื้นที่ การจัด

เกษตรกรเขาทําประโยชน การพัฒนาขั้นพื้นฐานและการพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามแนวเศรษฐกิจ

พอเพียง ตลอดจนการใหบริการแกเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน นอกจากนี้ยังไดกลาวถึงสถาบัน

เกษตรกร กองทุนพระราชทาน ที่ดินโดยเสด็จพระราชกุศล และเนื้อเพลง แด....พอหลวง พระผูมี

แตให ซึ่งเปนเนื้อเพลงแหล แตงโดย ชินกร ไกรลาศ พรอมดวยบทสัมภาษณของเกษตรกรผูซึ่งได

ที่ดินทํากินในที่พระราชทาน ที่ซาบซึ้งถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองคทานที่ไดพระราชทาน

ที่ดินเพื่อประกอบอาชีพสามารถพึ่งพาตนเองได และอยูอยางเศรษฐกิจพอเพียง

31. พิชิตธุรกิจอยางมืออาชีพ ชุด บันไดสูความมั่งคั่ง เลม 2. / โดย กฤษฎา เสกตระกูล.

พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2546. [HF5351 ก279พ 2546 ล.2] เปนหนังสือชุดนําเสนอประสบการณและทักษะเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ เนื้อหา

ภายในเลมประกอบดวย ภาพรวมการบริหารเชิงกลยุทธสําหรับธุรกิจขนาดยอม โดยมีรายละเอียด

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 24: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 19

เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ SMEs อยางมืออาชีพ ตลาดและลูกคา กลยุทธผลิตภัณฑ กลยุทธราคา

กลยุทธชองทางการจัดจําหนาย กลยุทธการสงเสริมการตลาด การจัดหาพนักงาน การพัฒนา

พนักงาน และคุณภาพกับการผลิตของธุรกิจขนาดยอม

32. พืชกระทอมในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปราม

ยาเสพติด, 2549.

พืชกระทอมในสังคมไทย เลมนี้เปนหนังสือที่ใหความรูเกี่ยวกับพืชกระทอมที่เปน

สารเสพติด ซึ่งมีบทบาทในสังคมไทยมานานไมนอยกวาฝนและกัญชา อีกทั้งเพื่อที่จะถายทอด

ความรูของพืชชนิดนี้ในบริบททางสังคม วัฒนธรรม สุขภาพ กฎหมาย และความรูทางเภสัชวิทยา

จากงานวิจัยหลากหลายสาขาในรูปแบบที่เขาใจไดงาย และไดรับสาระความรูและอรรถรสที่

เกี่ยวกับพืชกระทอมที่ควรจะรูในทุกมิติ โดยเนื้อหาภายในเลมประกอบดวย ความหมาย นัยทาง

สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชนพืชกระทอม อีกทั้งลักษณะคุณสมบัติทางพฤกษศาสตร ฤทธิ์

ทางเภสัชวิทยาและผลกระทบตอระบบประสาท รวมถึงวิธีการใชสารเสพติด ตลอดจนเปน

แหลงขอมูล ขอสนเทศเกี่ยวกับพืชกระทอมในตางประเทศ พรอมกับแนวทางการพัฒนาเพื่อใช

ประโยชน และปองกันโทษจากพืชชนิดดังกลาว

33. ฟวเจอรส สัญญา (รัก) ลวงหนา. / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ :

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. [HG6047 ต199ฟ 2548]

วัตถุประสงคใหผูอานไดเรียนรูและเขาใจเนื้อหาจากการผูกเรื่องใหเพลิดเพลินไปกับชีวิต

ของตัวละคร ซึ่งชวนใหนาติดตามตั้งแตตนจนจบ นับเปนกาวแรกสําหรับผูที่ตองการเรียนรูเกี่ยวกับ

การลงทุนในตลาดอนุพันธไดเขาใจความหมาย ลักษณะประเภทและวิธีการซื้อขายสัญญา

ลวงหนาเพื่อศึกษาขอมูลในเชิงลึก รายละเอียดในเลมประกอบดวย อารัมภบท ฟอรเวิรดกับ

ฟวเจอรสและตลาดอนุพันธ รูจัก SET50 Index Futures กติกาการซื้อขาย ฟอรเวิรดและ

ฟวเจอรส ฟวเจอรสใหอะไรมากกวาที่คิด โฉมหนานักลงทุน สัญญามาตรฐาน ไดอะไรจากการ

ซื้อขาย SET50 Index Futures รูไวใชวา จรรยาบรรณมารเก็ตติ้ง

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 25: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 20

34. มาตรฐานการบัญชี : สาระสําคัญและตัวอยางการเปดเผยขอมูล (มกราคม 2549).

/ โดย อังครัตน เพรียบจริยวัฒน. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HF5686.C495 อ491ม 2549] มาตรฐานการบัญชี : สาระสําคัญและตัวอยางการเปดเผยขอมูล (มกราคม 2549) เลม

นี้ประกอบดวย บทสรุปเนื้อหาหลักของมาตรฐานการบัญชีไทยแตละฉบับที่มีผลบังคับใชแลวถึง

เดือนมกราคม 2549 ตัวอยางการเปดเผยขอมูลในงบการเงินของบริษัทจดทะเบียน และสรุปความ

แตกตางของมาตรฐานการบัญชีไทยกับมาตรฐานบัญชีระหวางประเทศ เพื่อประโยชนในการ

อางอิงหรือเปรียบเทียบ แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการโอนและการรับโอนสินทรัพยทางการ

เงิน แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับหุนทุนซื้อคืน แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับธุรกรรมซื้อคืน

แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับธุรกรรมยืมและใหยืมหลักทรัพย 35. รวยดวยสมอง e-Investment. / โดย อาณัติ ลีมัทเดช. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย, 2548. [HG4521 อ618ร 2548]

เพื่อใหเขากับโลกยุคอิเล็กทรอนิกส ผูเขียนอธิบายการเปลี่ยนแปลงของตลาดทุนที่เปน

ผลมาจากการปฏิบัติเครือขายสื่อสารที่เรียกวาอินเทอรเน็ต เนื่องจากอินเทอรเน็ตเปรียบเสมือน

หองสมุดที่ใหญที่สุดของโลก และที่สําคัญขอมูลสวนใหญใหบริการฟรี ผูอานที่ตองการศึกษา

เรื่องใดในแนวลึกยังสามารถศึกษาตอดวยตนเอง โดยเนื้อหาแบงเปน 5 ภาค คือ ตลาดหุนยุคใหม

หลักการลงทุนอยางมีกึ๋น วิธีตั้งราคาหุน สัญญาซื้อขายลวงหนา และการลงทุนนอกตํารา

36. รูเก็บ รูใช : 9 เรื่องสั้นชนะการประกวดรางวัลในโครงการสงเสริมวัฒนธรรมการออม

และการลงทุนของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. / โดย ตลาดหลักทรัพยแหง

ประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. [HG7920 ต199ร 2548] ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเห็นความสําคัญอยางตอเนื่องวาเปนเรื่องที่ตองมีการ

ปลูกฝงวัฒนธรรมการออมและการใชจายอยางรูคุณคาตั้งแตเยาวชน หนังสือเลมนี้จึงรวบรวม

เร่ืองสั้น 9 เรื่อง เปนผลงานที่ไดรับการยกยองและไดรับการตัดสินใหเปนเรื่องที่ไดรับรางวัลใน

แตละประเภท อาทิ ระดับมัธยมศึกษา เร่ือง ขาวตมมัดของยาย ระดับอุดมศึกษา เร่ือง อยากให

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 26: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 21

ฝนนั้นเปนจริง ระดับประชาชนทั่วไป เร่ือง คุณยายที่รัก ทั้งหมดเปนผลงานที่มีคุณคาแหงการ

เผยแพร

37. เศรษฐศาสตร (Economics). / โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 2.

กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2549. [HB71 ต199ศ 2549]

เศรษฐศาสตร เปนเครื่องมือเพื่อการวิเคราะหการลงทุน เนื้อหาแบงเปน 3 สวน สวนที่

1 เกี่ยวกับเศรษฐศาสตรจุลภาค ประกอบดวย เนื้อหาเรื่องอุปสงค อุปทาน กลไกตลาด และการ

ประยุกตใชแนวคิด รวมถึงทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค ทั้งทฤษฎีอรรถประโยชนและทฤษฎีความ

พอใจเทากัน และเกี่ยวกับพฤติกรรมของหนวยผลิตทั้งเรื่องของการผลิตและทุน การกําหนด

ปริมาณการผลิตและราคาของหนวยผลิต ภายใตโครงสรางตลาดแบบตาง ๆ ไดแก ตลาดผูรับ

ราคา ตลาดผูแสวงราคา และตลาดทรัพยากรการผลิต รวมถึงตลาดการเงินและอัตราดอกเบี้ย

สวนที่ 2 เปนเรื่องเศรษฐศาสตรมหภาค ไดแก ระบบเศรษฐกิจและรายไดประชาชาติ รวมถึงความ

ผันผวนของระบบเศรษฐกิจทั้งในเรื่องวัฏจักรธุรกิจและเงินเฟอ และรวบรวมเกี่ยวกับนโยบายตาง ๆ

คือ นโยบายการคลัง นโยบายการเงินและการประยุกตใช สวนที่ 3 เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ

เกี่ยวกับทฤษฎีการคาระหวางประเทศ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ระบบอัตรา

แลกเปลี่ยน ปจจัยที่มีผลกระทบตออัตราแลกเปลี่ยนและทฤษฎีเสมอภาค

38. สัปดาหสุดทาย. / โดย นวพร เรืองสกุล. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย,

2548. [HG187.T5 น297ส 2548]

สัปดาหสุดทาย เปนนิยายเศรษฐศาสตรไดผูกปมปริศนาโดยใชเหตุการณในชวงวิกฤต

เศรษฐกิจครั้งยิ่งใหญของประเทศในป 2540 ซึ่งตอมาไดลุกลามจนกลายเปนวิกฤตการณทาง

การเงินระดับภูมิภาคและระดับโลกและเดินเรื่องผานตัวละครตาง ๆ ไดอยางแยบยลความทุกขใจ

ความสํานึกผิดของชายชราที่ไดพูดคุยกับยมทูตในวาระทายของชีวิตถึงเหตุปจจัยของกลไกใน

ระบบเศรษฐกิจ ผลที่บุคคลตาง ๆ รวมทั้งชายชราจะไดรับจากความผิดพลาด

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 27: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 22

39. สํารวจโลกการเงิน. / โดย แมงเมา. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย, 2547. [HG173.6.T7 ม862ส 2547]

”แมงเมา” คือ กลุมบุคคลกลุมหนึ่งที่ตางมีบทบาทอยูในมุมตาง ๆ ของโลกการเงิน

กวาจะมาเปน “แมงเมา” กลุมบุคคลกลุมนี้ก็ไมตางไปจากคนอื่น ๆ คือ เคยเปนแมงเมาที่เจ็บตัว

อยูโลกการเงินมากอนที่จะไดเก็บเกี่ยวดอกผลของเมล็ดเงินที่ตนหวานไว หนังสือเลมนี้เนื้อหา

ประกอบดวย สํารวจตลาดทุนที่ใหคําตอบตลาดรอง เสนอซื้อ-เสนอขาย เซียนหุน ปาดหนา

รูกอน รวยกอน สํารวจตลาดเงิน เชน กวาจะไดราคาตราสารหนี้ Yield Curve ตราสารหนี้

อยาคิดวาปลอดภัย ขอกําหนดสิทธิของผูออกหุนกู สํารวจโลกการเงิน เชน ตลาดการเงิน คือ

อะไรแน คุณเปนแบบไหนในเมื่อเงินยังเปนสิ่งที่ทุกคนอยากสะสม แผนที่ของโลกการเงินในเลมนี้

จะชวยใหคุณไมหลงเขาไปในกองไฟระหวางเดินทางในโลกการเงิน

40. หุนกู. / โดย นวพร เรืองสกุล. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2547. [HG4651 น297ห 2547] ทางเลือกสําหรับเงินออมมีอยู 2 ทางหลัก คือ การมีสวนรวมในการเปนเจาของกิจการ

เรียกงาย ๆ วา “ซื้อหุน” สวนอีกทางหนึ่ง คือ การใหกูยืมเงินโดยไดดอกเบี้ยและเงินตนตามเงื่อนไข

ที่กําหนด “หุนกู” จึงถูกเลือกเปนสวนหนึ่งในการบริหารเงินกองทุน “หุนกู” เร่ืองที่นาสนใจ

เกี่ยวกับหุนกู หุนกูในมุมมองที่แตกตาง ลักษณะจําเพาะของหุนกู กวาจะมาเปนหุนกู ใครเปน

ใครในตลาดหุนกู ความเสี่ยงแบบหุนกู หุนกูเจาปญหา กองทุนรวมหุนกู จุดเดนของหนังสือ

ยกตัวอยางจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นไปแลว ซึ่งสามารถใชเปนบทเรียนได

41. อยากรวย...ตองรู : เคล็ด (ไม) ลับ สู....อิสรภาพทางการเงิน เลมที่ 1 “รูจักแผนที่

นําทาง”. / โดย นําชัย เตชะรัตนะวิโรจน. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพยแหง

ประเทศไทย, 2548. [HG179 น515อ 2548 ล.1]

หนังสือเลมนี้ชวยใหผูอานไดเห็นภาพรวมของการวางแผนการเงินและการเดินทางไปสู

เปาหมายทางการเงินที่กําหนดไว มีคําแนะนํา วิธีใชหนังสือที่ใหประโยชน เนื้อหาประกอบดวย

ทําไมตองวางแผนการเงิน? วงจรการเรียนรู 9 ขั้นสูอิสรภาพทางการเงิน ความหมายที่แทจริงของ

อิสรภาพทางการเงิน เงิน “หาย” ไปไหน เปาหมายและแผนการเงินสวนบุคคล การคนพบที่

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 28: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 23

ยิ่งใหญในศตวรรษที่ 20 จากผูออมสูผูลงทุน รวมสุดยอดฮอตสุดฮิตของความ (ไม) รูเร่ืองการ

ลงทุน เลือกสวนผสมการลงทุนตามสไตล “คุณ” ความสําคัญของการลงทุน ความสัมพันธ

ระหวางวงจรเศรษฐกิจกับวงจรสินทรัพย การลงทุนเปนเรื่องจํากัด ไมใช กําจัดความเสี่ยง

42. ออมกอน รวยกวา. / โดย นวพร เรืองสกุล. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย, 2549. [HG7933 น197อ 2549]

รูหา รูเก็บ รูใช และรูขยายดอกผลเพื่อใหเงินทํางานแทนเรา เตรียมพรอมไวตั้งแตอายุ

ยังนอย เพื่อความสุขในชีวิตวัยเกษียณ ซึ่งเปนชวงที่อาจจําเปนตองใชเงินแตไมมีรายไดจากงาน

ประจํา หนังสือออมกอน รวยกวา มีแนวทางในการบริหารจัดการเงินออมเพื่อสรางหลักประกัน

ใหกับชีวิตของตนและครอบครัว และเพื่อชีวิตที่ม่ันคงในอนาคต อาทิ ทําไมควรออม เพราะออม

เทาใดเพื่อใชสบาย ๆ ในอนาคต ออมกอนรวยกวา ใชเงินทํางาน เชน ประเด็นชีวิตเพื่อประกัน

เงินออม ตลาดหลักทรัพย สารพัดความเสี่ยง แบงงานใหเงิน จัดสําหรับการลงทุนตามวัย

บนเสนทางของนักลงทุนและมีเงินออมของทานเองเปนผูชวยทํางานหาเงินมาใหทานใช

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 29: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 24

หนงัสือดานรัฐศาสตร

(J)

1. การจัดการพัฒนาระบบราชการเพื่อพัฒนาความสามารถในการแขงขันของประเทศ อยางเปนองครวม. / โดย ชัยอนันต สมุทวณิช. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการ

พัฒนาระบบราชการ, 2548.

หนังสือเลมนี้ประกอบดวยเนื้อหาที่เปนประโยชนในการนําเสนอแนวคิด ตัวแบบในการ

วิเคราะหและอธิบายยุทธศาสตรของรัฐบาลและการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการเสนอแนวคิดให

นําตัวแบบเพื่อการพัฒนาสังคมไปใชในการพัฒนาประเทศและการพัฒนาระบบราชการเพื่อเนน

ความสัมพันธระหวางภาครัฐ-ประชาสังคม พรอมกับการยกตัวอยางกรณีศึกษาการนําตัวแบบเพื่อ

การพัฒนาสังคมไปใชในการพัฒนาระบบราชการ ซึ่งผูปฏิบัติหนาที่ในหนวยงานของภาครัฐตาง ๆ

จะสามารถนําแนวคิดไปประยุกตใชในการบริหารงานราชการในหนวยงานของตนเอง และสามารถ

เปนประโยชนตอการพัฒนาระบบราชการโดยรวมไดตอไป

2. คอรรัปชันในสังคมอเมริกัน : จะรับมืออยางไรกับอิทธิพลของมันที่มีตอธุรกิจและ

สังคม. / โดย แฮรีส, กอดฟรีย. กรุงเทพฯ : โฟรเพซ, 2548.

คอรรัปชันเปนการกระทําที่มีทั้งรูปแบบเล็ก ๆ นอย ๆ ที่เรารูจักกันดีวาเปนคอรรัปชัน

สวนบุคคลและที่ใหญโตสงผลกระทบตอผูคนจํานวนมาก เปนการกระทําของผูครองอํานาจรัฐ

และบริวารที่เรียกวา “คอรรัปชันเชิงนโยบาย” คอรรัปชันอาจเกิดจากการกระทําของบุคคลธรรมดา

ไปจนถึงรัฐบาลและมหาอํานาจที่ทําตอประเทศเล็กกวา วิธีการคอรรัปชันจึงแตกตางกันออกไปใน

แตละสถานการณและกรณีที่เกิด ผูเขียนหนังสือเลมนี้จึงไดหยิบยกปญหาคอรรัปชันระดับปจเจก

บุคคลในวงการตาง ๆ ของประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อแสดงใหเห็นวาคอรรัปชันมีไดในทุก ๆ วงการ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 30: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 25

และอยางไรจึงจะเรียกวาเปนการคอรรัปชัน หนังสือเลมนี้จึงมีประโยชนตอผูอาน แมจะเปน

หนังสือที่แปลจากภาษาตางประเทศก็ตาม เพราะเหตุการณแหงตัวอยางการคอรรัปชันใน

สหรัฐอเมริกาอาจพิจารณาเปนกรณีศึกษาเทียบเคียง เพื่อหาขอยุติเกี่ยวกับการศึกษากรณีการ

คอรรัปชันในสังคมไทยได

หนงัสือดานกฎหมาย

(K)

1. ยกกระบัตร. / โดย สํานักงานอัยการสูงสุด. กรุงเทพฯ : สํานักงานอัยการสูงสุด, ม.ป.ป.

”ยกกระบัตร” หมายถึง ตําแหนงขาราชการครั้งโบราณ สังกัดกระทรวงวัง มีหนาที่

ออกไปประจําอยูตามหัวเมืองเพื่อสอดสองอรรถคดี ตําแหนงตรงกับอัยการในปจจุบัน หนังสือเลม

นี้จึงเปนการรวบรวมเรื่องราวที่เกี่ยวของกับสถาบันอัยการในอดีตจนถึงปจจุบัน วิวัฒนาการ

ความกาวหนาในการปฏิบัติราชการในปจจุบัน รวมถึงการกอสรางถาวรวัตถุเกี่ยวกับอัยการ 2. รวมกฎหมายการศึกษา (ฉบับผูปฏิบัติ) เลม 1. / โดย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549.

หนังสือเลมนี้เปนการรวบรวมกฎหมายการศึกษาทุกฉบับที่ไดมีการประกาศบังคับใช

แลวในปจจุบัน โดยแบงเปนกลุมสาระสําคัญของกฎหมายแมบทและกฎหมายที่ออกตามกฎหมาย

แมบทนั้น ๆ จํานวนทั้งสิ้น 7 เลม ซึ่งเลมที่ 1 ประกอบดวย พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.

2545 และกฎหมายลําดับรองที่เกี่ยวของ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 31: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 26

3. รวมกฎหมายการศึกษา (ฉบับผูปฏิบัติ) เลม 2. / โดย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549.

หนังสือเลมนี้เปนการรวบรวมกฎหมายการศึกษาทุกฉบับที่ไดมีการประกาศบังคับใช

แลวในปจจุบัน โดยแบงเปนกลุมสาระสําคัญของกฎหมาย แมบท และกฎหมายที่ออกตาม

กฎหมายแมบทนั้น ๆ จํานวนทั้งสิ้น 7 เลม ซึ่งเลมที่ 2 ไดกลาวถึง พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร

ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และกฎหมายลําดับรองที่เกี่ยวของไมวาจะเปนระเบียบ

กฎกระทรวง และประกาศที่ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546

4. รวมกฎหมายการศึกษา (ฉบับผูปฏิบัติ) เลม 3. / โดย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549.

หนังสือเลมนี้เปนการรวบรวมกฎหมายการศึกษาทุกฉบับที่ไดมีการประกาศบังคับใช

แลวในปจจุบัน โดยแบงเปนกลุมสาระสําคัญของกฎหมายแมบทและกฎหมายที่ออกตามกฎหมาย

แมบทนั้น ๆ จํานวนทั้งสิ้น 7 เลม ซึ่งเลม 3 ไดกลาวถึง พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร

ทางการศึกษา พ.ศ.2546 และกฎหมายลําดับรองที่เกี่ยวของรวมถึงขอบังคับ

5. รวมกฎหมายการศึกษา (ฉบับผูปฏิบัติ) เลม 4. / โดย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549.

หนังสือเลมนี้เปนการรวบรวมกฎหมายการศึกษาทุกฉบับที่ไดมีการประกาศบังคับใช

แลวในปจจุบัน โดยแบงเปนกลุมสาระสําคัญของกฎหมายแมบทและกฎหมายที่ออกตามกฎหมาย

แมบทนั้น ๆ จํานวนทั้งสิ้น 7 เลม ซึ่งเลม 4 ไดกลาวถึง พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและ

บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจํา

ตําแหนงขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และพระราชบัญญัติเงินเดือน เงิน

วิทยฐานะและเงินประจําตําแหนง (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2547 และกฎหมายลําดับรองที่เกี่ยวของ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 32: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 27

6. รวมกฎหมายการศึกษา (ฉบับผูปฏิบัติ) เลม 5. / โดย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549.

หนังสือเลมนี้เปนการรวบรวมกฎหมายการศึกษาทุกฉบับที่ไดมีการประกาศบังคับใช

แลวในปจจุบัน โดยแบงเปนกลุมสาระสําคัญของกฎหมายแมบทและกฎหมายที่ออกตามกฎหมาย

แมบทนั้น ๆ จํานวนทั้งสิ้น 7 เลม ซึ่งเลม 5 กลาวถึง พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.

2546 และกฎหมายลําดับรองที่เกี่ยวของไมวาจะเปนประกาศ ระเบียบที่ออกตามความใน

พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546

7. รวมกฎหมายการศึกษา (ฉบับผูปฏิบัติ) เลม 6. / โดย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549.

หนังสือเลมนี้เปนการรวบรวมกฎหมายการศึกษาทุกฉบับที่ไดมีการประกาศบังคับใช

แลวในปจจุบัน โดยแบงเปนกลุมสาระสําคัญของกฎหมายแมบทและกฎหมายที่ออกตามกฎหมาย

แมบทนั้น ๆ จํานวนทั้งสิ้น 7 เลม ซึ่งเลม 6 กลาวถึง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.

2547 พระราชบัญญัติ ระ เบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ .ศ .2547

พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ.2547 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคล พ.ศ.2548 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร พ.ศ.2548 พระราชบัญญัติ

สถาบันการพลศึกษา พ.ศ.2548 และพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ.2548

8. รวมกฎหมายการศึกษา (ฉบับผูปฏิบัติ) เลม 7. / โดย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549.

หนังสือเลมนี้เปนการรวบรวมกฎหมายการศึกษาทุกฉบับที่ไดมีประกาศบังคับใชแลวใน

ปจจุบัน โดยแบงเปนกลุมสาระสําคัญของกฎหมายแมบทและกฎหมายที่ออกตามกฎหมายแมบท

นั้น ๆ จํานวนทั้งสิ้น 7 เลม ซึ่งเลม 7 กลาวถึง กฎหมายที่เกี่ยวของกับการศึกษา อาทิ รัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ พ.ศ.2543 พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสํานักงานบริการและพัฒนาองค

ความรู (องคการมหาชน) พ.ศ.2547 พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษา

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 33: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 28

แหงชาติ (องคการมหาชน) พ.ศ.2548 พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหาร

กิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และกฎหมายลําดับรองที่เกี่ยวของ

9. รวมกฎหมายประจําป พุทธศักราช 2548 (เลม 1). / โดย สํานักงานเลขาธิการ-

สภาผูแทนราษฎร สํานักกฎหมาย. กรุงเทพฯ : สํานักกฎหมาย สํานักงานเลขาธิการ-

สภาผูแทนราษฎร, 2549.

รวบรวมพระราชบัญญัติและพระราชกําหนดที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในป

พุทธศักราช 2548 จํานวน 34 ฉบับ โดยเลมนี้มี 17 ฉบับ พรอมขอมูลการพิจารณากฎหมายแตละ

ฉบับเรียงตามลําดับที่พิจารณาในสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา จนถึงวันที่ประกาศในราชกิจจา

นุเบกษาหรือวันที่พิจารณาอนุมัติในสวนของพระราชกําหนด นอกจากนี้ยังมีเหตุผลในการ

ประกาศใชกฎหมายตั้งแตฉบับแรกถึงปจจุบันและสรุปสาระสําคัญของกฎหมายที่มีการแกไขใน

แตละฉบับเพื่อประโยชนในการคนควาและสืบคนตอไป

10. รวมกฎหมายประจําป พุทธศักราช 2548 (เลม 2). / โดย สํานักงานเลขาธิการ-

สภาผูแทนราษฎร สํานักกฎหมาย. กรุงเทพฯ : สํานักกฎหมาย สํานักงานเลขาธิการ-

สภาผูแทนราษฎร, 2549.

รวบรวมพระราชบัญญัติและพระราชกําหนดที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในป

พุทธศักราช 2548 จํานวน 34 ฉบับ โดยแบงเปนเลมแรก 17 ฉบับ เลมที่สอง 17 ฉบับ พรอมขอมูล

การพิจารณากฎหมายแตละฉบับเรียงตามลําดับที่พิจารณาในสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา

จนถึงวันที่ประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาหรือวันที่พิจารณาอนุมัติในสวนของพระราชกําหนด

นอกจากนี้ยังมีเหตุผลในการประกาศใชกฎหมายตั้งแตฉบับแรกถึงปจจุบันและสรุปสาระสําคัญ

ของกฎหมายที่มีการแกไขในแตละฉบับเพื่อประโยชนในการคนควาและสืบคนตอไป

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 34: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 29

หนงัสือดานภาษาและ

วรรณคด ี (P)

1. การเซ็นเซอร. / โดย กฤษดา เกดิดี. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., 2548.

หนังสือเลมนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจการเซ็นเซอรในทุกดานและทุกแงมุม เริ่มตั้งแต

ความหมาย ที่มาและพัฒนาการ เหตุผล วิธีการ ความสัมพันธกับระบอบการปกครอง และความ

เชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฎีทางนิเทศศาสตร เนื้อหาและความรูในหนังสือเลมนี้จึงเปนประโยชน

ตอผูที่สนใจเร่ืองการเซ็นเซอรการสื่อสาร รวมทั้งเรื่องอื่นที่ใกลเคียงกัน เชน เร่ืองสิทธิเสรีภาพและ

การแสดงออกและการควบคุมสื่อ นอกจากนี้ยังสามารถนําแนวคิดไปใชเปนกรอบแนวคิดสําหรับ

การศึกษาการเซ็นเซอรการสื่อสารทุกประเภทและทุกระดับการศึกษา

2. การเซ็นเซอรภาพยนตร. / โดย กฤษดา เกิดดี. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., 2548.

หนังสือเลมนี้นําเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการเซ็นเซอรในระดับนานาชาติเนื้อหาจึง

ครอบคลุมประเด็นตาง ๆ ดังนี้ คือ การกําเนิดของการเซ็นเซอรภาพยนตร องคกรที่รับผิดชอบการ

เซ็นเซอร ขอกําหนดของการเซ็นเซอร วิธีการเซ็นเซอร กระบวนการเซ็นเซอร ผลของการเซ็นเซอร

และการเซ็นเซอรโดยกลุมพลังหรือผูชุมนุมประทวง รวมทั้งทรรศนะของผูที่เกี่ยวของ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 35: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 30

หนงัสือดานแพทยศาสตร

(R)

1. อุนไอรัก....เกราะแหงชีวิตและครอบครัว. / โดย กมลพรรณ ชีวพันธุศรี. กรุงเทพฯ :

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. [RJ206 ก136อ 2548]

หนังสือเลมนี้เปรียบเสมือนคูมือชีวิตสําหรับคนทุกเพศทุกวัย เปนสวนหนึ่งที่เติมพลังและ

สรางสายใยความรักในครอบครัวกระจายสูสังคมไทยใหแข็งแกรงขึ้น เร่ิมตั้งแตวันนี้ดวยการใหอุน

ไอแหงความรัก ความเขาใจ การเลี้ยงดูอยางถูกวิธีแกลูกหลานเราที่จะเติบใหญอยางมีคุณภาพใน

วันขางหนา “เลี้ยงลูกใหเติบใหญไมใชเร่ืองยาก เลี้ยงลูกใหมีคุณภาพ ไมยากอยางที่คิด”

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 36: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 31

หนงัสือรายงานการวิจัย วิทยานิพนธ (ว\Res)

1. กระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภาไทย. / โดย นรนิติ เศรษฐบุตร. กรุงเทพฯ : สํานักงาน

เลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2549.

รายงานการวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษากระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภาไทย

ประกอบดวย ความเปนมาและปญหาของกระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภาไทย แนวคิดความ

และงานวิจัยที่เกี่ยวของ กระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภาไทย ขอเสนอแนะตอกระบวนการ

นิติบัญญัติจากสมาชิกรัฐสภา ขาราชการรัฐสภา และนักวิชาการกับผูศึกษาอื่น วิธีการแกไข

ปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสภาไทย และบทสรุป

2. การศึกษาแนวทางพัฒนารูปแบบกองทุนสงเคราะหลูกจางที่ถูกเลิกจางตามพระราช บัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541. / โดย ประเสริฐ ตัณศิริ. กรุงเทพฯ :

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2549.

รายงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวทางพัฒนารูปแบบกองทุนสงเคราะห

ลูกจางที่ถูกเลิกจางตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รายละเอียดประกอบดวย

บทนํา ระเบียบวิธีวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวของและการวิจัยเอกสาร ผลการวิจัยเชิงปริมาณ

การศึกษาแนวทางการพัฒนารูปแบบกองทุนประกันการเลิกจาง และกองทุนประกันการเลิกจาง

นอกจากนี้ในตอนทายของเลมยังมีเอกสารอางอิงที่ใชในการประกอบการศึกษาวิจัยในเรื่องกองทุน

สงเคราะหลูกจาง

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 37: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 32

3. ความมั่นคงและสมรรถนะทางการเมืองของประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน : ศึกษา กรณีเวียดนาม กัมพูชา ลาวและพมา. / โดย พรพิมล ตรีโชติ. กรุงเทพฯ : สถาบัน

เอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.

งานวิจัยเลมนี้เปนการศึกษาสมรรถภาพของประเทศสมาชิกใหมของอาเซียนทั้ง

4 ประเทศ คือ เวียดนาม พมา ลาว และกัมพูชา โดยมองวารัฐมีสมรรถภาพในการรับมือกับปญหา

ความมั่นคงของประเทศมากนอยเพียงใด ซึ่งมองปญหาความมั่นคงเปน 2 มิติ คือ มิติความมั่นคง

แบบดั้งเดิม คือ ความมั่นคงในมุมมองของรัฐและภาคประชาสังคม สวนมิติความมั่นคงอีกแบบ

หนึ่งนั้น คือ ความมั่นคงที่ไมใชแบบจารีตประเพณี หรือในความหมายทั่วไป คือ ความมั่นคงแบบ

อ่ืน ๆ ที่ไมใชปญหาของรัฐ หากแตเปนปญหาของประชาชนหรือความมั่นคงมนุษย ผลการวิจัยนี้

พบวา ประเทศสมาชิกใหมมีสมรรถนะในการจัดการกับความมั่นคงแบบดั้งเดิมไดเปนอยางดี

โดยเฉพาะพมา พบวารัฐไดเพิ่มความเขมแข็งในดานทหารเพื่อจัดการกับภัยคุกคามของรัฐไดอยาง

มีประสิทธิภาพยิ่ง ในขณะที่การบริหารจัดการในสวนของความมั่นคงของมนุษยกลับไมประสบ

ความสําเร็จเทาใดนัก ในสวนของเวียดนาม กัมพูชาและลาว ซึ่งเปนประเทศสังคมนิยม

สมรรถภาพในการจัดการเรื่องความมั่นคงแหงรัฐมีประสิทธิภาพสูง หากแตเมื่อเปรียบเทียบกับการ

จัดการความมั่นคงของมนุษยแลวยังมีพื้นที่ใหปรับปรุงอีกมากมาย

4. ความสัมพันธระหวางปจจัยดานประชากร สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ตอความเปน อยูที่ดีและความเขมแข็งของชุมชนทองถิ่นไทย. / โดย มัทนา พนานิรามัย.

กรุงเทพฯ : สถาบันทรัพยากรมนุษย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2546.

การศึกษาวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงคที่จะหาความสัมพันธระหวางความเขมแข็งและ

ความเปนอยูที่ดีของสมาชิกในชุมชน โดยเนนที่การระบุสาเหตุและกระบวนการที่ทําใหชุมชน

เขมแข็งและสมาชิกในชุมชนมีความเปนอยูที่ดี ขอบเขตการศึกษาใชหมูบานเปนตัวแทนของชุมชน

ในชนบท และชุมชนที่จัดตั้งขึ้นโดยเทศบาลเปนชุมชนเมือง ผลการศึกษาพบวาดัชนีกําหนดความ

เขมแข็งของชุมชนมีนัยสําคัญในการกําหนดความเขมแข็งรวมของชุมชนและความเขมแข็งใน

องคประกอบดานความสามัคคีและผลงานของกลุม สวนดัชนีวัดความเขมแข็งของชุมชนไมมี

นัยสําคัญในการกําหนดดัชนีความเปนอยูที่ดีรวมของชุมชน แตมีนัยสําคัญในการกําหนดดัชนี

ความเปนอยูที่ดีดานรายไดเทานั้น

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 38: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 33

5. โครงการ “ความยุติธรรมในตัณหาอาชญากรรม. / โดย เนื่องนอย บุณยเนตร. กรุงเทพฯ :

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549.

หนังสือเลมนี้นําเสนอเรื่อง ตัณหาอาชญากรรม (crime of passion) ซึ่งเปนสภาวะของ

อารมณที่เปนสาเหตุกอใหเกิดการกระทําความผิดทางอาญา มีวัตถุประสงคในการศึกษาเพื่อ

วิเคราะหวัดความถูกตอง มีเหตุผลของอารมณในทฤษฎีวุฒิภาวะทางอารมณ (cognitive theory

of emotions) และวิเคราะหนัยทางจริยธรรมของอารมณจากเกณฑความถูกตอง มีเหตุผลของ

อารมณ โดยเชื่อวาผลการวิจัยจะนําไปสูการทบทวนการพิจารณา “ตัณหาอาชญากรรม” ในฐานะ

ที่เปนอาชญากรรมประเภทที่ตางไปจากอาชญากรรมประเภทอื่น ซึ่งเปนการพิจารณาที่ให

ความสําคัญตอคาทางศีลธรรม/จริยธรรมของอารมณที่เกี่ยวของเปนแรงจูงใจใหกระทําตัณหา

อาชญากรรม

6. ประเด็นสําคัญในนโยบายตางประเทศญี่ปุนในยุคหลังสงครามเย็น. / โดย ทรายแกว

ทิพากร. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.

งานวิจัยเรื่องนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษานโยบายตางประเทศญี่ปุนในประเด็นที่ญี่ปุนมี

ทาทีที่เปลี่ยนแปลงในยุคหลังสงครามเย็น คือ ดานสิ่งแวดลอม สิทธิมนุษยชน และการสมัครเขา

เปนสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติ ผลการศึกษาพบวา นโยบาย

ตางประเทศของญี่ปุนในยุคหลังสงครามเย็น อาจกลาวไดวาเปนความพยายามที่จะวางตนเองใน

ระดับผูนําของโลกในทางสันติ ซึ่งสําหรับประเทศไทยแลวก็ไมมีประเด็นใดที่เปนขอขัดแยงกับ

ความตองการของญี่ปุน ทั้งยังจะมีประโยชนที่สอดคลองกันกับทาทีของญี่ปุนในประเด็นสิทธิ

มนุษยชน และสิ่งแวดลอม ดวยการสนับสนุนญี่ปุนในบทบาทเหลานี้จึงเปนทาทีที่เหมาะสม

สําหรับประเทศไทย 7. ผลกระทบดานกฎหมายของสหภาพยุโรปจากการขยายสมาชิกภาพของสหภาพยุโรป

ที่มีตอประเทศไทย. / โดย ชุมพร ปจจุสานนท. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุน

การวิจัย, 2548.

หนังสือเลมนี้กลาวถึง สหภาพยุโรป ซึ่งเปนการรวมตัวกันของประเทศในทวีปยุโรป

ทั้งหมด 25 ประเทศ โดยเสนอเรื่องเกี่ยวกับผลกระทบทางกฎหมายที่มีตอประเทศไทย เนื้อหา

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 39: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 34

ประกอบดวย 4 สวน คือ เปาหมายและหลักการสําคัญของสหภาพยุโรป ตลอดจนกระบวนการ

รับสมาชิกใหม ผลกระทบทางดานกฎหมายตอสมาชิกใหมของสหภาพยุโรป และการประเมิน

สภาพการณเกี่ยวกับ Acquis Communantaire โครงสรางความสัมพันธทางเศรษฐกิจ ผลกระทบ

อันเกิดจากการขยายสมาชิกภาพของสหภาพยุโรปตอประเทศไทย พรอมบทสรุปและขอเสนอแนะ

8. เสรีภาพหนังสือพิมพไทย. / โดย มาลี บุญศิริพันธ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

2548.

วัตถุประสงคของการศึกษาเรื่องเสรีภาพหนังสือพิมพไทย คือ การนําเสนอเรื่องราวที่เปน

เหตุการณเกี่ยวกับการตอสูเพื่อเสรีภาพของหนังสือพิมพไทย เฉพาะกรณีที่สงผลกระทบตอสังคม

และการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการใชเสรีภาพของหนังสือพิมพในแตละยุคสมัย นอกจากการ

รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับกรณีเสรีภาพของหนังสือพิมพที่เกิดขึ้นในสังคมไทยตั้งแตหนังสือฉบับแรก

อุบัติขึ้นในประวัติศาสตร หนังสือพิมพไทยจนถึงปจจุบันแลว ผูเขียนยังครอบคลุมถึงกลยุทธของ

การควบคุมเสรีภาพหนังสือพิมพที่ มีพัฒนาการจนเปนการแทรกแซง แทรกซึม แทรกซื้อ

ครอบครอง ดวยวิธีการลึกซึ้งแนบเนียนชนิดที่นักปฏิบัติการหนังสือพิมพไทยจะตองตื่นตัว

ตระหนัก เพื่อเปนบทเรียนในการขจัดจุดออนและสรางจุดแข็งใหเขมแข็งยิ่งขึ้น พรอม ๆ กับการ

แสวงหาวิธีการพิทักษปกปองเสรีภาพของวิชาชีพ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 40: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 35

หนงัสือสิ่งพิมพรัฐบาล

1. ผลงานสําคัญในรอบป พ.ศ.2547. / โดย สํานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.

กรุงเทพฯ : ม.ป.พ., 2547.

รายงานประจําป 2547 เลมนี้เปนการสรุปผลงานสําคัญในรอบป พ.ศ.2547 ไดแก การ

จัดงานเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ การจัดประชุม

คณะรัฐมนตรีอยางเปนทางการนอกสถานที่ การไดรับรางวัลหนวยงานที่มีผลเบิกจายงบประมาณ

รายจายลงทุนในระดับดีเดน การยกรางกฎหมายวาดวยการเสนอเรื่องและการประชุม

คณะรัฐมนตรี การพัฒนากฎหมาย การจัดตั้งสํานักงานพัฒนานโยบายสาธารณะ โครงการราช

กิจจานุเบกษาอิเล็กทรอนิกส (e-Royal Gazette) การพัฒนากองโรงพิมพสํานักเลขาธิการ

คณะรัฐมนตรีใหเปนสํานักพิมพคณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษาในฐานะหนวยบริการรูปแบบ

พิเศษ (Service Delivery Unit : SDU) การพัฒนาสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีสูองคกรแหงการ

เรียนรู การจัดงานวันสถาปนาสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ครบรอบ 72 ป การจัดทําเครื่องหมาย

ราชการและเข็มสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี การจัดงานนิทรรศการแสดงผลงานรัฐบาล “เหลียว

หลังแลหนา จากรากหญาสูรากแกว” โครงการสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนาอยู นอกจากนั้น

ยังมีผลงานตามภารกิจในรอบป 2547 ประกอบไวอีกดวย

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 41: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 36

2. รายงานกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ประจําป 2547. / โดย สํานักงาน

คณะกรรมการการเลือกตั้ง กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง. กรุงเทพฯ : สํานักงาน

คณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2549. [ลต – 1.2 324.25 2547]

รายงานกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ประจําป 2547 ฉบับนี้ เนื้อหาเปนการ

รวบรวมผลการดําเนินงานของกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง ป 2547 ซึ่งรายละเอียดของ

เนื้อหาประกอบดวย ความเปนมาและวัตถุประสงคของกองทุน รวมทั้งรายไดและคณะกรรมการ

ของกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง นอกจากนี้ยังประกอบดวย กรอบการสนับสนุนและ

แนวทางการติดตามประเมินผล การจัดสรรเงินทุน พรอมดวยการดําเนินงานของกองทุนเพื่อการ

พัฒนาพรรคการเมือง ป 2547 การบริหารกองทุนฯ การสนับสนุนและสงเสริมการพัฒนาพรรค

การเมืองโดยใชงบกลาง ตลอดจนการติดตาม ประเมินผลและการตรวจสอบการใชจายเงิน

สนับสนุนพรรคการเมือง อีกทั้งพรอมกับผลการติดตามประเมินผลการใชจายเงินสนับสนุนพรรค

การเมือง และผลการตรวจสอบการใชจายเงินสนับสนุนพรรคการเมือง

3. รายงานการสัมมนา เรื่อง การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจในศตวรรษที่ 21. / โดย วุฒิสภา

คณะกรรมาธิการการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ. กรุงเทพฯ : คณะกรรมาธิการการแปรรูป

รัฐวิสาหกิจ วุฒิสภา, 2549.

รายงานผลการสัมมนาฉบับนี้เนื้อหาแบงได 2 สวน คือ สวนแรกเปนรายละเอียดการจัด

สัมมนา ซึ่งประกอบดวย 3 หัวขอ ไดแก สรุปสาระสําคัญของการบรรยายเรื่อง “การปฏิรูป

รัฐวิสาหกิจของสาธารณรัฐสิงคโปร” สรุปสาระสําคัญของการรายงาน “ผลการประเมิน

แบบสอบถามความคิดเห็นของกระทรวงเจาสังกัดและรัฐวิสาหกิจเกี่ยวกับการปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ”

สรุปสาระสําคัญของการอภิปราย เร่ือง “การปฏิรูปองคกรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน

และเสริมสรางศักยภาพในการเติบโตของธุรกิจ” และในสวนที่สอง เปนภาคผนวก ประกอบดวย

ภาคผนวกที่ 1-7 วาดวย บันทึกการถอดเทปการสัมมนา เอกสารประกอบการบรรยาย และ

รายชื่อหนวยงานที่ตอบแบบสอบถามการสัมมนา พรอมดวยรายชื่อบุคคลพรอมภาพประกอบ

ในงานสัมมนา

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 42: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 37

4. รายงานประจําป 2547 สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. / โดย สํานักงาน

สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. กรุงเทพฯ : สํานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจ

และสังคมแหงชาติ, ม.ป.ป. [สผ 01 1.1 2547]

รายงานประจําป 2547 ของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เลมนี้ เนื้อหา

ประกอบดวยดวย 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 กลาวถึงสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สวน

ที่ 2 ผลการดําเนินงานของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (ตุลาคม 2546 – กันยายน

2547) ที่เกี่ยวกับการเสนอความเห็นและขอเสนอแนะที่เสนอตอคณะรัฐมนตรีระหวางเดือน

ตุลาคม 2546 – กันยายน 2547 รวมทั้งการสรุปผลการสัมมนาประจําปสภาที่ปรึกษาฯ และใน

สวนที่ 3 กลาวถึงสํานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติที่วาดวยความเปนมาและ

บทบาทหนาที่ของสํานักงานสภาที่ปรึกษาฯ วิสัยทัศนของสํานักงานสภาที่ปรึกษาฯ งบประมาณ

รายจายประจําปงบประมาณ 2547 รวมทั้งบุคลากรของสํานักงานสภาที่ปรึกษา ตลอดจนผลการ

ดําเนินงานซึ่งประกอบดวย โครงการตาง ๆ อาทิ โครงการความรวมมือระหวางเครือขายภาค

ประชาชนกับสภาที่ปรึกษาฯ (พ.ศ.2544-2547) 5. รายงานประจําป 2547 – 2548 สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา.

/ โดย สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน). กรุงเทพฯ :

สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน), ม.ป.ป.

รายงานประจําปฉบับนี้เปนการนําเสนอสาระเกี่ยวกับผลการดําเนินงานของสถาบัน

ระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน) ระหวางป 2547-2548 ซึ่งสามารถ

แบงเนื้อหาไดเปน 3 สวน สวนที่ 1 การบริหารงานของสถาบันฯ วาดวยความเปนมาของสถาบัน

อํานาจหนาที่ วิสัยทัศนและพันธกิจ โครงสรางองคกร ตลอดจนกลไกการดําเนินงานและแนวทาง

การดําเนินของสถาบันฯ สวนที่ 2 ผลการดําเนินงานของสถาบัน ประจําป 2547-2548 วาดวยการ

จัดฝกอบรม สัมมนา ประชุม ประชุมเชิงปฏิบัติการ การสนับสนุนความรวมมือทางเศรษฐกิจใน

ระดับภูมิภาค การจัดตั้งเครือขายและหุนสวนทางวิชาการและพัฒนาความรวมมือ รวมถึงการ

แสวงหาทุนและความสนับสนุนจากแหลงตาง ๆ พรอมทั้งผลิตสิ่งพิมพสําหรับเผยแพรแนวทางการ

ดําเนินงานในระยะตอไป และในสวนที่ 3 รายงานการเงินวาดวยงบการเงินและรายงานของผูสอบ

บัญชี ตลอดจนหมายเหตุประกอบการเงิน

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 43: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 38

6. รายงานประจําป 2547-2548 สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ํา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

/ โดย กระทรวงศึกษาธิการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยทรัพยากร

ทางน้ํา, ม.ป.ป. [ศธ 07/1 1.1 2547-2548]

รายงานประจําป 2547-2548 ของสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ํา เลมนี้เปนการรายงาน

ผลการดําเนินงานของหนวยงานในรอบปงบประมาณ 2547-2548 (1 ตุลาคม 2546-30 กันยายน

2548) เพื่อประโยชนในการเผยแพรและอางอิง ซึ่งในเนื้อหาประกอบดวย การวิจัย งบประมาณ

การบริหารวิชาการ รวมทั้งผลงานกิจกรรมของหนวยงาน

7. รายงานประจําป 2548 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. / โดย

กระทรวงพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ

พลังงาน. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, ม.ป.ป.

รายงานประจําป 2548 ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน เลมนี้

เนื้อหาประกอบดวย 3 สวน สวนที่หนึ่ง เปนการกลาวถึง ขอมูลภาพรวมของหนวยงาน วาดวยแผน

ยุทธศาสตรของหนวยงาน วิสัยทัศน พันธกิจ ขอมูลพื้นฐานของหนวยงาน สวนที่สอง กลาวถึง

ผลการปฏิบัติราชการและความกาวหนาของการบูรณาการกับภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวของ วาดวย

ผลการปฏิบัติราชการภายใตแผนยุทธศาสตรของหนวยงาน สวนที่สาม เปนรายงานการเงินสวน

ราชการ วาดวยงบแสดงฐานะการเงิน งบรายไดและคาใชจาย ตลอดจนหมายเหตุประกอบงบ

การเงินและการวิเคราะหรายการทางเงินของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานป

2548 และในสวนที่สี่ กลาวถึงผลการดําเนินงานที่สําคัญในรอบปงบประมาณ 2548 วาดวยงาน

บริหารจัดการทั่วไป งานอนุรักษพลังงาน งานผลิตและพัฒนาพลังงานทดแทน รวมทั้งงานดานการ

ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพลังงานและรวมถึงกิจกรรมในรอบป

8. รายงานประจําป 2548 การประปาสวนภูมิภาค. / โดย การประปาสวนภูมิภาค.

กรุงเทพฯ : การประปาสวนภูมิภาค, ม.ป.ป.

รายงานประจําป 2548 ของการประปาสวนภูมิภาค : 27 ป การประปาสวนภูมิภาค การ

ประปาเพื่อประชาชน เนื้อหาเกี่ยวกับผลการดําเนินงานในรอบปที่ผานมาของหนวยงาน ซึ่ง

ประกอบดวย ผังโครงสราง กปภ. ผังคณะผูบริหาร กปภ. สรุปผลงานในปงบประมาณ รวมถึง

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 44: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 39

กิจกรรมเดนในรอบป 2548 พรอมกับการดําเนินงานตามภารกิจหลักของ กปภ. ตลอดจนรวมทั้ง

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบของ กปภ. การบริหารความเสี่ยงของการประปาสวนภูมิภาค

พรอมดวยสรุปผลการดําเนินงานประจําป 2548 ของบริษัทในเครือ กปภ. อีกทั้งรายงานของผูสอบ

บัญชีและงบการเงินของหนวยงาน

9. รายงานประจําป 2548 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.

/ โดย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ : สํานักงานนโยบายและแผน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, ม.ป.ป..

รายงานประจําป 2548 ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม เลมนี้เนื้อหาแสดงถึงผลสําเร็จของการปฏิบัติงานประจําปที่ดําเนินงานตามยุทธ

ศาสตรของแผนปฏิบัติราชการระยะ 4 ป (พ.ศ.2548-2551) ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม ซึ่งอยูภายใตแผนการบริหารราชการแผนดินและผลสําเร็จตามคํารับรองของการ

ปฏิบัติราชการ รวมทั้งรายงานดานการเงิน โดยรายละเอียดของเนื้อหาแบงไดเปน 3 สวน คือ สวน

ที่หนึ่ง ขอมูลภาพรวมวาดวยแผนยุทธศาสตร/กลยุทธ และขอมูลพื้นฐานภายในหนวยงาน สวนที่

สอง ผลการดําเนินงานที่ไดดําเนินการตามยุทธศาสตร ตามภารกิจที่ไดมอบหมายและภารกิจ

ที่สําคัญ และสวนที่สาม รายงานการเงิน วาดวยงบการเงิน ตนทุนผลผลิตและกิจกรรมการ

วิเคราะหงบการเงิน

10. รายงานผลการประชาพิจารณ เรื่อง “ปญหาการแปรรูป กฟผ.”. / โดย วุฒิสภา

คณะกรรมาธิการการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ. กรุงเทพฯ : คณะกรรมาธิการการแปรรูป

รัฐวิสาหกิจ วุฒิสภา, 2549.

รายงานฉบับนี้เนื้อหาเปนการรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริงและความคิดเห็นตาง ๆ ที่ไดจาก

การทําประชาพิจารณ ซึ่งในรายละเอียดประกอบดวย 3 หัวขอประชาพิจารณ วาดวยปญหาความ

จําเปนของการระดมทุนในตลาดหลักทรัพยของวิสาหกิจ กฟผ. การลงทุนและการกําหนดคาไฟ

ปญหาการดูแลทรัพยสินและประโยชนสาธารณะในเขื่อนและสายสง นอกจากนี้ยังประกอบดวย

ขอสังเกตของฝายซักถาม ความเห็นที่นาสนใจของผูเขารวมฟงการทําประชาพิจารณ พรอมภาพ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 45: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 40

ของการปฏิบัติงานในการทําประชาพิจารณ “ปญหาการแปรรูป กฟผ.” อีกทั้ง ในภาคผนวกยังได

กลาวถึง รายนามของผูเขารวมการประชาพิจารณและรายนามผูที่มีสวนรวมมือสนับสนุนในการ

จัดทําประชาพิจารณ พรอมกับการประมวลผลจากแบบสํารวจความเห็นของผูเขารวมการประชา

พิจารณ และเอกสารชี้แจงของกระทรวงพลังงานในประเด็นเกี่ยวกับการระดมทุนในตลาด

หลักทรัพยของ บมจ. กฟผ.

11. รายงานเศรษฐกิจและการเงิน 2548. / โดย ธนาคารแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ :

ธนาคารแหงประเทศไทย, ม.ป.ป.

รายงานเศรษฐกิจและการเงิน 2548 เลมนี้เนื้อหาเปนการสรุปภาวะเศรษฐกิจไทย ป

2548 นโยบายและมาตรการเศรษฐกิจที่สําคัญ รวมทั้งการดําเนินงานของธนาคารแหงประเทศไทย

ป 2548 พรอมดวยรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ และการรายงานของผูสอบบัญชีและงบ

การเงิน ตลอดจนการบริหารและการพนักงาน โครงสรางขององคกรและระบบงาน ผูบริหาร

ธนาคารแหงประเทศไทย พรอมกับผังโครงสรางองคกรของหนวยงาน

12. รัฐบาลทักษิณกับความมั่นคงในชีวิตของประชาชน. / โดย วุฒิสภา คณะกรรมาธิการ

การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย. กรุงเทพฯ : คณะกรรมาธิการการพัฒนา

สังคม วุฒิสภา, ม.ป.ป.

รัฐบาลทักษิณกับความมั่นคงในชีวิตของประชาชนเลมนี้ เปนหนังสือที่รวบรวมผลการ

รายงานของคณะกรรมาธิการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย วุฒิสภา ซึ่งเนื้อหา

ประกอบดวย ปญหาการละเมิดสิทธิของประชาชนและการใชอํานาจรัฐที่ไมเปนธรรม ปดกั้นและ

ลิดรอน สิทธิในการสื่อสารของประชาชนและเสรีภาพของสื่อมวลชน การแยงชิงทรัพยากรจาก

ประชาชน หนี้สินภาคประชาชนและรวมถึงนโยบายกาสิโน บอนทําลายชาติ พรอมดวยการ

เปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจ และอีกทั้งยังปฏิรูปการศึกษา โอกาสยิ่งหางไกล นอกจากนี้

ยังประกอบดวย ภาพกิจกรรมการดําเนินงานพรอมกับแนะนําคณะกรรมาธิการ และภาพการ

ปฏิบัติงาน

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 46: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 41

13. สถิติการคาระหวางประเทศของไทย ป 2548. / โดย กระทรวงพาณิชย สํานักงานปลัด

กระทรวงพาณิชย. กรุงเทพฯ : สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย, 2549. [พณ 02 2.2 382 2548] หนังสือสถิติการคาระหวางประเทศของไทย ป 2548 เลมนี้ ซึ่งเปนการรวบรวมขอมูล

สถิติที่เกี่ยวกับการคาระหวางประเทศของไทย โดยเนื้อหาของขอมูลแบงออกได 3 หมวด อาทิ

หมวดดุลการคา ประกอบดวย มูลคาสินคาออก สินคาเขา และดุลการคาของไทย รวมทั้ง

ดุลการคาระหวางประเทศกับประเทศคูคาสําคัญป 2534 ถึง 2548 ตลอดจนลําดับความสําคัญ

ของประเทศคูคาของไทย ป 2539 กับป 2548 หมวดการสงออก ประกอบดวย ตลาดสงออก

สําคัญของไทย และโครงสรางสินคาออก ป 2539 กับป 2548 รวมถึงสินคาออกสําคัญ 10 อันดับ

แรก ป 2548 ตลอดจนโครงสรางสินคาออกของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ป 2548 หมวดการนําเขา

ประกอบดวย แหลงนําเขาสําคัญของไทยและโครงสรางสินคาเขาป 2539 กับป 2548 อีกทั้งรวมถึง

สินคาเขาสําคัญ 10 อันดับแรก ป 2548 นอกจากนี้โดยเฉพาะการนําเสนอของเนื้อหาเลมนี้อยูใน

รูปของตารางสถิติเปรียบเทียบของป 2547 กับ ป 2548 เหมาะกับการนําไปใชในการอางอิง

การวิเคราะหและวิจัยเพื่อเปนประโยชนสําหรับหนวยงานราชการและภาคเอกชน

14. สถิติสวัสดิการและคุมครองแรงงาน พ.ศ.2548. / โดย กระทรวงแรงงาน กรมสวัสดิการ

และคุมครองแรงงาน. กรุงเทพฯ : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน, 2549.

หนังสือสถิติสวัสดิการและคุมครองแรงงาน พ.ศ.2548 เลมนี้ เนื้อหาเปนการนําเสนอ

สถิติที่สําคัญในรอบปที่ผานมา (2548) โดยครอบคลุมภารกิจของกรมในดานการคุมครองแรงงาน

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานแรงงานสัมพันธ รัฐวิสาหกิจ

สัมพันธและสวัสดิการแรงงาน นอกจากนี้ยังไดนําเสนอขอมูลสถิติที่รวบรวมจากหนวยงานอื่น ๆ

ประกอบดวย ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ ดัชนีราคา กําลังแรงงานและการมีงานทํา การประสบ

อันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทํางาน และผลิตภาพแรงงาน ทั้งนี้เพื่อใหไดขอมูลสถิติที่

ครอบคลุมและเปนประโยชนตอผูตองการใชอยางกวางขวาง

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 47: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 42

15. สมุดสถิติรายปประเทศไทย พ.ศ.2549. / โดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร สํานักงานสถิติแหงชาติ. กรุงเทพฯ : สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2549.

หนังสือสมุดสถิติรายปประเทศไทย พ.ศ.2549 เลมนี้เนื้อหาเปนการรวบรวมขอมูลสถิติ

ดานเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม โดยการนําเสนอของเนื้อหาภายในเลมอยูในรูปของตาราง

สถิติ และแผนภูมิ ซึ่งประกอบดวย สถิติตาง ๆ อาทิ ดานประชากรศาสตร ประชากรและเคหะ

ดานการศึกษา ฝกอบรม ศาสนาและวัฒนธรรม รวมถึงดานสื่อสารมวลชน สุขภาพ สวัสดิการ

สังคม พรอมดวยสถิติดานเกี่ยวกับหญิงและชาย รายไดและรายจายของครัวเรือน ดานสังคม

ประชากรศาสตรและสถิติอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ บัญชีประชาชาติ การเกษตร ปาไมและการประมง

อุตสาหกรรมพลังงาน อีกทั้งรวมถึงสถิติดานคาสง คาปลีก และการคาระหวางประเทศ ตลอดจน

สถิติด าน เงินตรา การ เงิน การประกันภัย และดุลการชํ าระ เงิน พรอมกับสถิติด าน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อีกทั้งสถิติดานอุตุนิยมวิทยา

16. สรุปผลงานคณะกรรมาธิการการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา ในรอบ 2 ป (สิงหาคม 2546 – สิงหาคม 2548). / โดย รัฐสภา วุฒิสภา คณะกรรมาธิการการ

แรงงานและสวัสดิการสังคม. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ., 2548.

หนังสือสรุปผลงานของคณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา เลมนี้

เนื้อหาเปนการรวบรวมและสรุปผลงานของหนวยงานในรอบ 2 ป ตั้งแตสิงหาคม 2546 – สิงหาคม

2548 ซึ่งในรายละเอียดของเนื้อหาประกอบดวย โครงสรางคณะกรรมาธิการ อํานาจหนาที่ของ

คณะกรรมาธิการ พรอมทั้งรายนามคณะกรรมาธิการและกลาวถึงสถานการณดานกําลังแรงงาน

รวมถึงผลงานของคณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา อาทิ การแกไขปญหา

ความยากจน การคุมครองแรงงานไทยที่ไปทํางานตางประเทศและการแกไขปญหาแรงงานที่ไดรับ

ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ พรอมกันนี้ยังสรุปผลการศึกษาดูงานและการสัมมนาทางวิชาการของ

คณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 48: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 43

หนังสืออางอิง (อ\R)

1. กรุงเทพฯ และปริมณฑล ดัชนีแผนที่ (Bangkok street directory). กรุงเทพฯ : กระทรวง

พลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน, 2549.

หนังสือเลมนี้เนื้อหาเปนการรวบรวมขอมูลเสนทางเดินรถในซอยและถนน สถานที่

สําคัญ ๆ หมูบาน หมายเลขโทรศัพท รวมทั้งแผนที่จอดรถ (Part & Ride) เพื่อใชเปนคูมือสําหรับ

การเดินทางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล พรอมดวยการวางแผนกอนเดินทาง ซึ่งจะทําใหผูที่

ปฏิบัติไดประโยชนในการประหยัดคาใชจายของตนเอง ซึ่งรายละเอียดการนําเสนอของเนื้อหา

สามารถแบงไดเปน 4 สวน ดังนี้ คือ สวนที่ 1 ขอมูลเบื้องตน ประกอบดวย รูจักดัชนีแผนที่ ขนาด

ของหนาแผนที่ วิธีใชดัชนีแผนที่และสัญลักษณบนแผนที่ สวนที่ 2 สวนดัชนี ประกอบดวย ดัชนี

ถนน ดัชนีสถานที่ สวนที่ 3 การคนหาหนา ประกอบดวย ปายจราจร แผนที่หนารวม กรุงเทพฯ

ชั้นใน โทรศัพทฉุกเฉิน สวนที่ 4 แผนที่ ประกอบดวย หนาแผนที่

2. ความถูกตองทางวิชาการของแผนที่ประเทศไทย กรณีศึกษาพื้นที่บริเวณเกาะ

รัตนโกสินทร. / โดย ผองศรี จั่นหาว. กรุงเทพฯ : คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2548.

แผนที่เปนอุปกรณที่มนุษยเราใชสื่อสารกันตั้งแตครั้งโบราณกาล การสื่อสารดวยแผนที่

ตางจากการสื่อสารดวยวิธีการอื่น ๆ ไมวาจะเปนตัวอักษร เสียงหรือภาพ แตแผนที่เปนสื่อที่

ประกอบดวย ลายเสนและมีตัวอักษรกํากับ ขอมูลที่สื่อสาร คือ ตําแหนงที่ตั้ง การกระจายและ

ขอบเขตของสิ่งที่นักภูมิศาสตรเรียกวา ปรากฏการณ ขอมูลที่ปรากฏบนแผนที่แตกตางกันไป

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 49: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

สาระสังเขปหนังสือใหม 44

ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของผูเขียนแผนที่และเหตุที่โลกเรากวางใหญ มีขอมูลหรือปรากฏการณ

มากมาย จึงมีแผนที่หลากหลาย งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคในการสํารวจและศึกษาความถูกตอง

ทางวิชาการของแผนที่ที่จัดทําขึ้นในประเทศไทย ซึ่งผลที่จะไดรับนอกจากจะเปนประโยชนโดยตรง

ตอนักภูมิศาสตรและนักวิชาการอื่น ๆ ยังมีประโยชนตอบุคคลทั่วไปในอันที่จะเลือกใชใหถูกตอง

ตรงกับความตองการ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 50: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

หองสมดุรัฐสภา หองสมดุรัฐสภา :: แนะนําแนะนํารายชื่อทรัพยากรสารสนเทศรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดทํารางรฐัธรรมเพื่อสนับสนุนการจัดทํารางรฐัธรรมนูญนูญ

ภาคผนวกภาคผนวก

รวบรวมโดย นางสาวอนัญญา ทิมเกตุ บรรณารักษ ๔

Page 51: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

1

หองสมุดรัฐสภา หองสมุดรัฐสภา :: แนะนําแนะนํารายชื่อทรัพยากรสารสนเทศรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดทําเพื่อสนับสนุนการจัดทํารางรางรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญ

รวบรวมโดย นางสาวอนัญญา ทิมเกตุ บรรณารักษ ๔

ตามที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พทุธศักราช 2549 มาตรา

19 ไดกําหนดใหมีสภารางรัฐธรรมนูญ เพื่อจดัทํารางรัฐธรรมนูญ นั้น กลุมงานหองสมุด

สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร เปนหนวยงานใหบริการและสนับสนุน

ขอมูลวิชาการ ขาวสารแกสมาชิกรัฐสภา ดังนั้นเพื่อใหสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญและ

บุคคลที่เกี่ยวของมีขอมูลสนบัสนนุทัง้ทางวิชาการ ความคิดเห็น ตลอดจนขอมูลขาวสารอัน

จะเปนประโยชนในการจดัทํารางรัฐธรรมนูญใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน หองสมุด

จึงไดรวบรวมรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ ดังนี้

กรอบเบื้องตนรางรัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ : สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [KD21 ส227ก 2540]

กิติ ปลันธนดิลก, ผูแปล. รัฐธรรมนูญแหงประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. กรุงเทพฯ

: ไทยยเูนี่ยนกราฟฟกส, 2546. [KD35.C6 ก676ร 2546]

เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน. หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชนวาดวย รัฐ รัฐธรรมนูญ และ

กฎหมาย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : วิญูชน, 2548. [KD5 ก767ห 2548]

โกวิท วงศสุรวัฒน. รฐัธรรมนูญและการเมืองการปกครองสหรัฐอเมริกา. นครปฐม :

ศูนยสงเสริมและฝกอบรมการเกษตรแหงชาต,ิ 2544. [KD35.U5.6 ก951ร 2544]

คณิน บุญสุวรรณ. กระบวนการทํางานของระบบรัฐสภาในรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม.

กรุงเทพฯ : สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [KD22 ค132ก 2540]

______________. รัฐธรรมนูญฉบบัประชาชน ตอน 50 คําถาม ส.ส.ร. กรุงเทพฯ : สภา

รางรัฐธรรมนูญ, 2540. [สร01 3.2 3283 2540]

Page 52: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

2

คณิน บุญสวุรรณ. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุธศักราช 2540 : ประวัติ

รัฐธรรมนญูไทย. กรุงเทพฯ : ภูมิปญญา, 2542. [KD11.T5 ค132ร 2542]

______________. รฐัธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (3) กระบวนการ

ทํางานของระบบรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2540. [KD32 ค132ร 2540]

โครงการประชาพิจารณรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ : สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [KD21 ส227ค 2540]

ถาวร ฤทัยวัฒน. แนวคิดในการรางรัฐธรรมนูญของไทย : ศึกษากรณีรัฐธรรมนูญ

ฉบับปพุทธศักราช 2511, 2517 และ 2540. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตรจฬุาลงกรณ

มหาวิทยาลยั, 2542. [ว KD21 ถ332น 2542]

แถมสุข นุมนนท. สภารางรัฐธรรมนูญ : เสนทางการปฏิรูปการเมืองไทย. นนทบุรี :

สถาบันพระปกเกลา, 2545. [KD223 ถ849ส 2545]

นรนิติ เศรษฐบุตร. การพิจารณารางรัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2475 (โดยสภาผูแทนราษฎร

ชุดแรก). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2542. [KD23 น217อ 2542]

นวลนอย ตรีรัตน. แนวนโยบายแหงรัฐ : 5 ป รัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยศกึษา

เศรษฐศาสตรการเมือง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545. [KD51/2540 ก125น 2545]

นันทวัฒน บรมานันท. กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส : ขอคิดเพื่อการปรับปรุง

กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายการศึกษา, 2541. [KD102.F7 น424ก 2541]

_________________. คาํแปลรัฐธรรมนูญแหงสาธารณรัฐฝรั่งเศส ค.ศ. 1958. พิมพครั้งที่ 2.

กรุงเทพฯ : วญิูชน, 2549. [KD35.F7 น424ค 2549]

Page 53: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

3

นันทวัฒน บรมานันท. ถกรัฐธรรมนูญ 2540. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายการศึกษา,

2540. [KD51/2540 น424ถ 2540]

_________________. บทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญกับการปฏิรูปการเมือง.

กรุงเทพฯ : สถาบนันโยบายการศึกษา, 2541. [KD34 น425บ 2541]

_________________, ผูแปล. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง บทเรียน

จากรัฐธรรมนูญตางประเทศตอการปฏิรูปการเมืองไทย. ม.ป.ท. : คณะกรรมการ

สภาวิจัยแหงชาติ สาขานิติศาสตร, 2540. [KD35 ค123อ 2540]

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. การปฏิรูปการเมืองฝรั่งเศส : ขอคิดในการปฏิรูปการเมืองไทย.

กรุงเทพฯ : นิติธรรม, 2540. [JN2441 บ241ก 2540]

_________________. เจตนารมณรัฐธรรมนญู. นนทบุรี : สถาบนัพระปกเกลา, 2544. [KD51/2540 บ241จ 2544]

บุญเลิศ คชายุทธเดช. บันทึกสวนตัว ส.ส.ร.เบื้องหนา - เบื้องหลังกวาจะเปนรัฐธรรมนูญ

ฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ : อมรินทร, 2543. [DS578.32 บ563บ 2543]

บุญศรี มีวงศอุโฆษ. คําอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนญูเปรียบเทียบ : รัฐธรรมนูญ

เยอรมัน. กรุงเทพฯ : โครงการตําราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร, 2535. [KD35 บ572ค 2535]

ไพโรจน ชยันาม. รฐัธรรมนูญและการปกครองของอิตาลี. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการ

บริการทางวิชาการ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2529. [KD35.I8 พ992ร 2529]

ยอดชาย ชตุิกาโม. กระบวนการรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยในปพุทธศักราช 2540 : ปฏิสัมพันธเชิงอํานาจระหวางกลุมผลักดันและชนชั้นนําทางการเมือง. กรุงเทพฯ : จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541. [ว KD21 ย172ก 2541]

Page 54: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

4

รังสรรค ธนะพรพันธุ. เศรษฐศาสตรรัฐธรรมนูญ : บทวิเคราะหรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย พ.ศ. 2540 เลม 1. กรุงเทพฯ : มติชน, 2546. [KD51/2540 ร314ศ 2546 ล.1]

________________. เศรษฐศาสตรรัฐธรรมนูญ : บทวิเคราะหรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย พ.ศ. 2540 เลม 2. กรุงเทพฯ : มติชน, 2546. [KD51/2540 ร314ศ 2546 ล.2]

________________. เศรษฐศาสตรรัฐธรรมนูญ : บทวิเคราะหรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย พ.ศ. 2540 เลม 3. กรุงเทพฯ : มติชน, 2547. [KD51/2540 ร314ศ 2547 ล.3]

รัฐธรรมนญูสหรัฐ...ทศันะจากเมืองไทย. กรงุเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลยั, 2533. [KD35.U5 ร355 2533]

รางรัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน เพ่ือการทําประชาพิจารณ. กรุงเทพฯ : คณะกรรมาธิการ

ประชาสัมพนัธ สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [KD22 ส227ร 2540]

(ราง) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ : คณะกรรมาธิการ

ประชาสัมพนัธ สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [KD22 ส227ร 2540] รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งนําเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติเพ่ือลงมติ

ในวาระที่สาม. กรุงเทพฯ : กองการประชุม สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร,

ม.ป.ป.. [KD22 ส226ร 2534]

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พรอมดวยรายงานของคณะกรรมาธิการพิจารณารางรัฐธรรมนญู สภานิติบัญญัติแหงชาติ. กรุงเทพฯ : กองกรรมาธิการ

สํานักงานเลขาธิการรัฐสภา, ม.ป.ป. [KD21 ร362ร]

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช... โดยคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนญู สภารางรัฐธรรมนญู. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาราง

รัฐธรรมนูญ, ม.ป.ป. [KD22 ส227ร 2540]

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช.... (เปนการพิจารณาเพื่อลงมติในวาระที่สาม). กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภารางรัฐธรรมนูญ, ม.ป.ป.

[KD22 ส227ร 2540]

Page 55: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

5

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช... พรอมดวยรายงานของคณะกรรมาธิการพิจารณารางรัฐธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช... สภารางรฐัธรรมนูญ เลม 1. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภารางรัฐธรรมนูญ, 2540.

[KD22 ส227ร 2540 ล.1]

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช... พรอมดวยรายงานของคณะ กรรมธิการพิจารณารางรัฐธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช... สภารางรัฐธรรมนูญ เลม 2. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภารางรัฐธรรมนูญ, ม.ป.ป.

[KD22 ส227ร 2540 ล.2]

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช... พรอมดวยรายงานของสภารางรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภารางรัฐธรรมนูญ, ม.ป.ป.

[KD22 ส227ร 2540]

รายงานประมวลผลการจัดทําประชาพิจารณในระดับภาค. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., ม.ป.ป. [สร01 7.5 34202 2540]

ฤทัย หงสสิริ. เจตนารมณของรัฐธรรมนูญ. กรงุเทพฯ : วิญูชน, 2542. [KD51/2540 ม152จ 2542]

วรเจตน ภาคีรัตน. วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ : ศึกษาเปรียบเทียบกรณีของ

ศาลรัฐธรรมนูญตางประเทศกับศาลรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ : วิญูชน, 2546. [KD61 ว188ว 2546]

______________. สาระสําคัญและแนวทางการพัฒนาสภาผูแทนราษฎรในสิบปขางหนา.

กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2546. [ว KD251 ว188ส 2546]

วลัยมาศ แกวศรชัย. สภารางรัฐธรรมนูญกับการรางรัฐธรรมนูญตามแนวรัฐธรรมนูญ

นิยม. ม.ป.ท. : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541. [ว KD51/2540 ว345ส 2541]

Page 56: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

6

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. วิเคราะหเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช 2540 กับรัฐธรรมนญูฉบับสําคัญ. กรุงเทพฯ : นิติธรรม, 2542. [KD33 ว689ว 2542]

สภารางรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2540. [สผ01 3.1 32830 2540]

สภารางรัฐธรรมนูญ. คณะกรรมาธิการประชาสมัพันธ. กรอบเบื้องตนรางรฐัธรรมนูญฉบับประชาชน : เอกสารพื้นฐานประกอบกระบวนรับฟงความคิดเห็นเพื่อการมีสวนรวมกําหนดรัฐธรรมนูญโดยประชาชน. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการ

สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [สร 5/2540]

_________________. รวมรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพฯ : สภาราง

รัฐธรรมนูญ, 2511. [KD31 ส227ร 2475-2502]

_________________. สรุปผลการจัดประชาพิจารณระดับจังหวัด (เลมที่ 1). ม.ป.ท. :

ม.ป.พ., ม.ป.ป. [สร01 7.5 34202 2540]

_________________. สรุปผลการจัดประชาพิจารณระดับจังหวัด (เลมที่ 2). กรุงเทพฯ

: สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [สร01 7.5 34202 2540]

_________________. สรุปผลการจัดประชาพิจารณระดับจังหวัด (เลมที่ 3). กรุงเทพฯ

: สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [สร01 7.5 34202 2540]

_________________. สรุปผลการจัดประชาพิจารณระดับจังหวัด (เลมที่ 4). กรุงเทพฯ

: สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [สร01 7.5 34202 2540]

_________________. สาํนักงานเลขาธิการสภารางรัฐธรรมนูญ. รางรัฐธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช... พรอมดวยรายงานของคณะกรรมาธิการพิจารณารางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช... สภารางรัฐธรรมนญู (รวม 2 เลม) : เลม1 หนังสือนํา รายงานของคณะกรรมาธิการ และรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., ม.ป.ป. [สร01 5.1 34202 2540]

Page 57: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

7

สภารางรัฐธรรมนูญ. คณะกรรมาธิการประชาสมัพันธ. คณะกรรมาธิการวิสามัญรับฟงความ

คิดเห็นและประชาสัมพนัธ ประจํา จังหวัดนครปฐม. สรุปผลการวิเคราะหขอมูลแบบสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเพื่อใชรางรัฐธรรมนูญ ป 2540 จังหวัดนครปฐม. ม.ป.ท. : สภารางรัฐธรรมนูญ, 2540. [สร01 7.5 34202 2540]

สมคิด เลิศไพฑูรย. กฎหมายรัฐธรรมนูญ : หลักการใหมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลยัธรรมศาสตร, 2548. [KD34/2540 ส234ก 2548]

สมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ 2540. 5 ป รัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน พ.ศ. 2540. กรุงเทพฯ

: ไทยวิทัศน, 2545. [KD6 ส293ห 2545]

สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. กองกรรมาธิการ 2. กระบวนการจัดทํารัฐธรรมนูญของ

รัฐสภาและสภารางรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : กองกรรมาธิการ 2 สํานักงานเลขาธิการ

สภาผูแทนราษฎร, ม.ป.ป. [KD21 ส226ก]

สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. สภารางรัฐธรรมนูญ. รายงานสภารางรัฐธรรมนูญ.

กรุงเทพฯ: ฝายผลิตเอกสารรัฐสภา กองการประชาสัมพันธ สํานักงานเลขาธิการสภา

ผูแทนราษฎร, 2540. [สผ01 7.1 32830 2540]

สํานักงานอยัการสูงสุด. ความคิดเห็นของขาราชการฝายอัยการเกี่ยวกับรางรัฐธรรมนูญ มาตรา 246 ทวิ ที่มีผลกระทบตอกระบวนการยุติธรรมไทยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน. กรุงเทพฯ : สํานักงานอยัการสูงสุด, 2540. [อส01 7.3 34202 2540]

สาํนักนายกรัฐมนตรี. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ บทบัญญัติวาดวย

การศึกษาในรางรัฐธรรมนูญ : ขอเสนอเพื่อการทําประชาพิจารณ. กรุงเทพฯ :

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต ิสํานกันายกรัฐมนตรี. ม.ป.ป. [นร11 5.1 34407]

ศุภลักษณ พินิจภูวดล. หลักและวิธีปฏิบัติในการบังคับใชรัฐธรรมนญูในกรณีที่มี

บทบัญญัติวา "ทั้งนี้เปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ". กรุงเทพฯ : สํานักงานศาล

รัฐธรรมนูญ, 2547. [ว KD51 ศ721ห 2547]

Page 58: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

8

อมร จันทรสมบูรณ. คอนสติติวช่ันแนลลิสม (Constitutionalism) : ทางออกของ

ประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายการศึกษา, 2537. [KD6 อ274ค JQ1743 อ274ค]

_________________. รวมบทความเกี่ยวกับโครงสรางและกลไกทางกฎหมายของ

รัฐธรรมนญูในทัศนะของ ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ. กรุงเทพฯ : สถาบัน

นโยบายการศึกษา, ม.ป.ป.. [JQ1743 อ274ร]

_________________. รางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมเพื่อการปฏิรูปทางการเมืองตามแนวทางคอนสติติวช่ันแนลลิสม (Constitutionalism) ในทัศนะของ ศ.ดร.อมร จันทรสมบรูณ. กรุงเทพฯ : สถาบนันโยบายการศึกษา, 2537.

[JQ1743 อ274ร 2537]

อัครเมศวร ทองนวล. การศึกษาเปรียบเทียบการรางรัฐธรรมนูญ ฉบับปพุทธศักราช

2521 กับปพุทธศักราช 2534. [กรุงเทพฯ] : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2538. [ว KD21 อ476ก 2538]

เอกสารประกอบการจัดทํารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยบริการ

เอกสารและคนควา สํานกังานเลขาธกิารรัฐสภา, ม.ป.ป. [KD21 ร362อ]

Belgium constitution 1994. S.l. : s.n., n.d.. [KD35.B4.4 B44]

Constitution of Brazil constitution of Singapore. S.l. : Association of Secretaries

General of Parliaments, 1968. [KD35.B6.4 A88C 1968]

Constitution of Greece. S.l.: s.n., n.d.. [KD35.G8.4 C66]

Constitution of the Portuguese Republic. Geneva : Association of Secretaries

General of Parliaments, 1983. [KD35.P8.4 I57C 1983]

Constitution of the United States and constitution of the state of California. California : California Legislature Assembly, 1987. [D35.U6.4 C34C 1987]

Page 59: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

9

Fleiner, Thomas. Swiss constitutional law. Hague : Kluwer Law International, 2005. [KD35.S9.1 F48S 2005]

France constitution (25 June 1992). S.l. : s.n., n.d.. [KD35.F8.4 F72]

Germany constitution 3 November 1995. S.l. : s.n., n.d.. [KD35.G3.4 G47]

Greece : constitution. Geneva : Association of Secretaries General of Parliaments,

1975. [KD35.G8.4 I57G 1975]

Italy constitution 1993. S.l. : s.n., n.d.. [KD35.I8.4 I82]

Sharan, Parmatma. The constitution of France. New Delli : Meenakshi Prakashan,

n.d.. [KD35.F8.6 S52C]

________________. The constitution of Japan. New Delhi : Meenakshi Prakashan,

n.d.. [KD35.J3.6 S52C]

________________. The constitution of Switzerland. New Delhi : Meenakshi

Prakashan, n.d.. [KD35.S9.6 S52C]

Sharan, Parmatma. The constitution of the USA. New Delhi: Meenakshi Prakashan,

n.d.. [KD35.U6.6 S52C]

Spanish constitution 1978. Madrid: the Spanish ministry of Foreign Affairs, 1979. [KD35.S7.4 S66 1979]

Stephenson, Donald Grier. American constitutional law : introductory essays and

selected cases. 11th ed. New Jersey : Prentice Hall, 1996. [KD35.U6.1 M37A 1996]

The Australian constitution [1997]. Carlton : Constitutional Centenary Foundation,

1997. [KD35.A8.1 S38A 1997]

Page 60: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได

10

The Brazilian constitution 1988. Rio de Janeiro : s.n., 1988. [KD35.B6.4 B73 1988]

The British constitution. 5th ed. New Delhi: Universal Book Stall, 1994. [KD35.G7.1 J46B 1994]

The constitution of Sweden 1989. Stockholm : The Swedish Riksdag, 1990. [KD35.S8.4 S93C 1990]

The constitution of the People's Republic of China [1982]. Beijing : Foreign

Languages Press, 1982. [KD35.C6.4 C66 1982]

The constitution of the Republic of the Philippines [1986]. Quezon : Republic of

the Philippines the Constitutional Commission of 1986, 1986. [KD35.P6.4 C66 1986]

ทานสามารถติดตอขอดูรายละเอียดเนื้อหาทรัพยากรสารสนเทศ ดังกลาวไดจาก

หองสมุด ชั้น ๑ อาคารรัฐสภา ๓ สํานักวิชาการ สาํนักงานเลขาธิการสภาผูแทน

ราษฎร และสามารถสืบคนรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศเพิ่มเติมไดจากเว็บไชต

http://www.parliament.go.th/library/

Page 61: คํานํา · แต งโดย ชินกร ไกรลาศ พร อมด วยบทสัมภาษณ ของเกษตรกรผู ซึ่งได