ท...

2
ความหมาย EHA : Environmental Health Accreditation คือ การรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ให้การรับรอง ประกอบด้วย 9 ประเด็นหลัก (20 ประเด็นย่อย) ดังนี1. การจัดการสุขาภิบาลอาหาร EHA:1001 การจัดการสุขาภิบาลอาหารในสถานทีจ�าหน่ายและสะสมอาหาร EHA:1002 การจัดการสุขาภิบาลอาหารในตลาด EHA:1003 การจัดการสุขาภิบาลอาหารในการจ�าหน่าย สินค้าในที่ทางสาธารณะ 2. การจัดการคุณภาพน�้าบริโภค EHA:2001 การจัดการคุณภาพน�้าประปา (ผลิตโดย อปท.) EHA:2002 การจัดการคุณภาพน�้าประปา (ผลิตโดยหน่วยงานอื่น) EHA:2003 การจัดการคุณภาพตู้น�้าดื่มหยอดเหรียญ 3. การจัดการสิ่งปฏิกูล EHA:3001 การจัดการส้วมสาธารณะ EHA:3002 การจัดการสิ่งปฏิกูล 4. การจัดการมูลฝอย EHA:4001 การจัดการมูลฝอยทั่วไป EHA:4002 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ EHA:4003 การจัดการมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตราย จากชุมชน 5. การรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบั ติ EHA:5000 การรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ 6. การจัดการเหตุร�าคาญ EHA:6000 การจัดการเหตุร�าคาญ 7. การจัดการกิจการ EHA:7000 การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 8. การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ EHA: 8000 การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 9. การบังคับใช้กฎหมาย EHA:9001 การออกข้อก�าหนดของท้องถิ่น EHA:9002 การออกหนังสือรับรองการแจ้ง EHA:9003 การออกใบอนุญาต EHA:9004 การออกค�าสั่งทางปกครอง EHA:9005 การเปรียบเทียบปรับและการด�าเนินคดี ท�าไมต้องท�า เพื่อดูแลคุ้มครองสุขภาพประชาชนด้วยการบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีมาตรฐาน ซึ่งเป็นอ�นาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อม ตามพ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2545 พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 และฉบับแก้ไข พ.ศ.2550 ท�าแล้วจะได้อะไร 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการเรียนรู้ร ่วมกันภายในองค์กร มีการประเมินตนเอง มีมาตรฐานการท�งานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้บริหารได้รับการยอมรับจากหน่วยงานภาครัฐ และประชาชน 2. ประชาชนในท้องถิ่นได้รับบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพและเป็นธรรม ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนา EHA ท�าอย่างไร 1. สมัครและพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งใบสมัครไปยังส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ หรือส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด (ในพื้นทีที่รับผิดชอบ) ศึกษา/ขอค�าปรึกษาการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) จากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) 2. ประเมินตนเอง ประเมินตนเองตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) ส่งแบบประเมินตนเองให้กับส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ หรือส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด (ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ) 3. การประเมินและรับรอง นัดหมายส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ หรือส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด (ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ) เพื่อท�าการประเมิน ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือศูนย์อนามัย (ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ) ให้การรับรอง เมื่อผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐานและเกียรติบัตร และหากไม่ผ่าน ควรพัฒนา / ปรับปรุงให้ได้ตามเกณฑ์ และนัดหมายขอรับการประเมินใหม่

Upload: others

Post on 21-Aug-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ท าแล้วจะได้อะไรssj.stno.moph.go.th/.../uploads/2019/11/bc_-eha.pdfEHA:1003การจ ดการส ขาภ บาลอาหารในการจ

ความหมาย

EHA : Environmental Health Accreditationคือ การรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ประเด็นงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ให้การรับรอง ประกอบด้วย 9 ประเด็นหลัก (20 ประเด็นย่อย) ดังนี้

1.การจัดการสุขาภิบาลอาหาร EHA:1001 การจัดการสุขาภิบาลอาหารในสถานท่ี จ�าหน่ายและสะสมอาหาร EHA:1002การจัดการสุขาภิบาลอาหารในตลาด EHA:1003 การจัดการสุขาภิบาลอาหารในการจ�าหน่าย สินค้าในที่ทางสาธารณะ

2.การจัดการคุณภาพน�้าบริโภค EHA:2001 การจัดการคุณภาพน�้าประปา (ผลิตโดยอปท.) EHA:2002การจัดการคุณภาพน�้าประปา (ผลิตโดยหน่วยงานอื่น) EHA:2003การจัดการคุณภาพตู้น�้าดื่มหยอดเหรียญ

3.การจัดการสิ่งปฏิกูล EHA:3001การจัดการส้วมสาธารณะ EHA:3002การจัดการสิ่งปฏิกูล

4.การจัดการมูลฝอย EHA:4001การจัดการมูลฝอยทั่วไป EHA:4002การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ EHA:4003การจัดการมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตราย จากชุมชน

5. การรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบตัิ EHA:5000 การรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ

6.การจัดการเหตุร�าคาญ EHA:6000 การจัดการเหตุร�าคาญ

7.การจัดการกิจการ EHA:7000 การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

8.การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ EHA:8000การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

9.การบังคับใช้กฎหมาย EHA:9001 การออกข้อก�าหนดของท้องถิ่น EHA:9002 การออกหนังสือรับรองการแจ้ง EHA:9003 การออกใบอนุญาต EHA:9004 การออกค�าสั่งทางปกครอง EHA:9005การเปรียบเทียบปรับและการด�าเนินคดี

ท�าไมต้องท�า เพ่ือดูแลคุ้มครองสุขภาพประชาชนด้วยการบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีมาตรฐาน ซึ่งเป็นอ�นาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามพ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2545 พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 และฉบับแก้ไข พ.ศ.2550

ท�าแล้วจะได้อะไร1. องค ์กรปกครองส ่วนท ้องถิ่นมีการเรียนรู ้ ร ่ วมกันภายในองค ์กร มีการประเมินตนเอง มีมาตรฐานการท�งานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้บริหารได้รับการยอมรับจากหน่วยงานภาครัฐ และประชาชน2. ประชาชนในท้องถิ่นได้รับบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพและเป็นธรรม ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม

พัฒนา EHA ท�าอย่างไร1. สมัครและพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม

● ส่งใบสมัครไปยังส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ หรือส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด (ในพื้นที่

ที่รับผิดชอบ)

● ศึกษา/ขอค�าปรึกษาการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA)จากหน่วยงาน

ที่เกี่ยวข้อง

● พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพระบบ

บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA)

2. ประเมินตนเอง

● ประเมินตนเองตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA)

● ส่งแบบประเมินตนเองให้กับส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอหรือส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด

(ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ)

3. การประเมินและรับรอง

● นัดหมายส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอหรือส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด(ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ)

เพื่อท�าการประเมิน

● ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดหรือศูนย์อนามัย(ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ)

ให้การรับรอง เมื่อผ่านเกณฑ์ข้ันพื้นฐานและเกียรติบัตร และหากไม่ผ่าน ควรพัฒนา /

ปรับปรุงให้ได้ตามเกณฑ์และนัดหมายขอรับการประเมินใหม่

Page 2: ท าแล้วจะได้อะไรssj.stno.moph.go.th/.../uploads/2019/11/bc_-eha.pdfEHA:1003การจ ดการส ขาภ บาลอาหารในการจ

การด�าเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม

( Environmental Health Accreditation)

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

เอกสารที่ใช้ในการพัฒนา1. เกณฑ์การประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA) มีทั้งสิ้น20ประเด็นงานที่ใช้ส�าหรับการประเมินตนเองและประเมินรับรอง2. DownLoadใบสมัคร/เกณฑ์การประเมินตนเองและประเมิน รับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA) ได้ที่http://foodsan.anamai.moph.go.th3. สามารถขอการสนับสนุน สมัคร และปรึกษาได้ที่ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ / ส�านักงาน สาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศและศูนย์อนามัยที่1–124. ติดต่อสอบถามได้ที่ ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ / ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดท่ัวประเทศ ศูนย์อนามัยที่1–12และส�านักสุขาภิบาลอาหารและน�้ากรมอนามัย

ส�านักสุขาภิบาลอาหารและน�้า กรมอนามัย เลขที่88/22หมู่ที่4ถนนติวานนท์ ต�าบลตลาดขวัญอ�าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี11000 โทร025904188,4177,4184,4638 โทรสาร025904186,4188

ศูนย์อนามัยที่ 1 เชียงใหม่ เลขที่51ถนนประชาสัมพันธ์ ต�าบลช้างคลานอ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่50100 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม โทร053272740ต่อ616,053276856 (พื้นที่รับผิดชอบ8จังหวัดได้แก่เชียงรายเชียงใหม่ น่านพะเยาแพร่แม่ฮ่องสอนล�าปางล�าพูน)

ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก เลขที่21หมู่ที่4ต�าบลมะขามสูงอ�าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก65000 กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อม โทร055299280-1ต่อ145,146,110 (พื้นที่รับผิดชอบ 5 จังหวัด ได้แก่ ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์สุโขทัยอุตรดิตถ์)

ศูนย์อนามัยที่ 3 นครสวรรค์ เลขที่157ถนนพหลโยธินต�าบลนครสวรรค์ออก อ�าเภอเมืองจังหวัดนครสวรรค์60000 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม โทร056255451ต่อ104,056325093–5 (พื้นท่ีรับผิดชอบ 5 จังหวัด ได้แก่ ก�าแพงเพชร ชัยนาทนครสวรรค์พิจิตรอุทัยธานี)

ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี เลขที่18ม.11ต�าบลบ้านหมออ�าเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี18130 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม โทร036300830-32ต่อ117 (พื้นที่รับผิดชอบ8จังหวัดได้แก่นนทบุรีนครนายก ปทุมธานีพระนครศรีอยุธยาลพบุรีสระบุรีสิงห์บุรี อ่างทอง)

ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี เลขที่429ถนนศรีสุริยวงศ์ต�าบลหน้าเมือง อ�าเภอเมืองจังหวัดราชบุรี70000 กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อม โทร032337509,032310368-71ต่อ2230 (พ้ืนที่ รับผิดชอบ 8 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี นครปฐม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ์ ราชบุรี สมุทรสาครสมุทรสงครามสุพรรณบุรี)

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี เลขที่43หมู่ที่7ต�าบลนาป่าอ�าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี20000 กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อม โทร038148165-8ต่อ142 (พื้นที่รับผิดชอบ8จังหวัดได้แก่จันทบุรีฉะเชิงเทรา ชลบุรีตราดปราจีนบุรีระยองสระแก้วสมุทรปราการ)

ศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น เลขที่195ถนนศรีจันทร์ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น40000 กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ โทร043235902-5 (พื้นที่รับผิดชอบ4จังหวัดได้แก่กาฬสินธุ์ขอนแก่น มหาสารคามร้อยเอ็ด)

ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี (ส�านักงานชั่วคราวขอนแก่น) เลขที่195ถนนศรีจันทร์ต�าบลในเมืองอ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น40000 กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ โทร043235902-5 (พื้นที่รับผิดชอบ7จังหวัดได้แก่นครพนมบึงกาฬ เลยสกลนครหนองคายหนองบัวล�าภูอุดรธานี)

ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา เลขที่177หมู่ที่6ต�าบลโคกกรวดอ�าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา30280 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม โทร044305131ต่อ102 (พื้นที่รับผิดชอบ4จังหวัดได้แก่ชัยภูมินครราชสีมา บุรีรัมย์สุรินทร์)

ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี เลขที่45หมู่ที่4ถนนสถลมาร์คต�าบลธาตุ อ�าเภอวารินช�าราบจังหวัดอุบลราชธานี34190 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม โทร045288586-8ต่อ221 (พื้นที่รับผิดชอบ5จังหวัดได้แก่มุกดาหารยโสธร ศรีสะเกษอุบลราชธานีอ�านาจเจริญ)

ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช เลขที่99ถนนนคร-ปากพนังต�าบลบางจาก อ�าเภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช80330 งานยุทธศาสตร์ โทร075399460-4ต่อ206 (พื้นท่ีรับผิดชอบ 7 จังหวัด ได้แก่ กระบ่ี ชุมพร นครศรีธรรมราชพังงาภูเก็ตระนองสุราษฎร์ธานี)

ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา เลขที่95ถนนเทศบาล1ต�าบลสะเตงอ�าเภอเมือง จังหวัดยะลา95000 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม โทร073212860–1ต่อ113,073216776 (พื้นท่ีรับผิดชอบ 7 จังหวัด ได้แก่ ตรัง นราธิวาส ปัตตานีพัทลุงยะลาสงขลาสตูล)

พิมพ์ครั้งที่2/2559จ�านวน:25,000แผ่นพิมพ์ที่:ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจ�ากัด