1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1...

19
สรุปผลการดาเนินงาน โครงการศึกษาดูงานบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนพดล ผู้มีจรรยา อาจารย์ประจาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา 2. หลักการและเหตุผล หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ ด้านความรูเนื้อหา เทคนิควิธีการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆที่ช่วยการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา มีเจตนคติ คุณธรรม จริยธรรม และใฝ่หาความรู้อยู่เสมอ เพื่อเป็น ครูวิชาชีพที่มีความรู้ทางวิชาการอย่างลึกซึ้ง เชี่ยวชาญและมีอุดมการณ์ในวิชาชีพครูด้วยหลักสูตร การ สร้างกระบวนการเรียนรู้และการฝึกปฏิบัติที่เข้มข้น โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (คบ. 5 ปี) ได้ตระหนักถึงการสร้าง เครือข่ายความร่วมมือ และแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการสาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา และการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครปฐม จึงเห็นสมควรให้มีการจัดโครงการศึกษาดูงานด้านการบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ ศึกษาเพื่อให้อาจารย์ประจาโปรแกรมวิชา ได้สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อเสริมความเข็มแข็งทาง วิชาการต่อไป 3. วัตถุประสงค์ 3.1 เพื่อศึกษาดูงานการบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาและศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.2 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการเรียนการสอนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาและ สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 4. ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดผลผลิต หน่วยนับ รายละเอียด หมายเหตุ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ คน อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ศึกษาและสาขาที่เกี่ยวข้อง เข้า ร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ จานวนที่กาหนด ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมี ความพึงพอใจในการเข้าร่วม โครงการ ร้อยละ อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ศึกษาและสาขาที่เกี่ยวข้อง มี ระดับความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 5. ความสอดคล้องกับตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ระดับคณะ

Upload: others

Post on 11-Jul-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

สรุปผลการด าเนินงาน โครงการศึกษาดูงานบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา

และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนพดล ผู้มีจรรยา อาจารย์ประจ าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา 2. หลักการและเหตุผล

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ ด้านความรู้เนื้อหา เทคนิควิธีการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆที่ช่วยการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา มีเจตนคติ คุณธรรม จริยธรรม และใฝ่หาความรู้อยู่เสมอ เพ่ือเป็นครูวิชาชีพที่มีความรู้ทางวิชาการอย่างลึกซึ้ง เชี่ยวชาญและมีอุดมการณ์ในวิชาชีพครูด้วยหลักสูตร การสร้างกระบวนการเรียนรู้และการฝึกปฏิบัติที่เข้มข้น

โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (คบ. 5 ปี) ได้ตระหนักถึงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ และแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา และการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือน ามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จึงเห็นสมควรให้มีการจัดโครงการศึกษาดูงานด้านการบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาเพ่ือให้อาจารย์ประจ าโปรแกรมวิชา ได้สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพ่ือเสริมความเข็มแข็งทางวิชาการต่อไป

3. วัตถุประสงค์

3.1 เพ่ือศึกษาดูงานการบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาและศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.2 เพ่ือสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการเรียนการสอนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาและ

สาขาวิชาที่เก่ียวข้อง 4. ตัวช้ีวัด

ตัวช้ีวัดผลผลิต หน่วยนับ รายละเอียด หมายเหตุ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ

คน อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาและสาขาที่เก่ียวข้อง เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจ านวนที่ก าหนด

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ

ร้อยละ อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาและสาขาที่เก่ียวข้อง มีระดับความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

5. ความสอดคล้องกับตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ระดับคณะ

Page 2: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล 6. ความสอดคล้องกับตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินของ สกอ.และสมศ.

6.1 ตัวชี้วัดของ สกอ. ที ่2.1 ชื่อ ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร 6.2 ตัวชี้วัดของ สกอ. ที ่2.4 ชื่อ ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 6.3 ตัวชี้วัดของ สมศ. ที ่14 ชื่อ การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ.)

7. กลุ่มเป้าหมาย อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาและอาจารย์สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จ านวน 16 คน 8. สถานที่ด าเนินการ

8.1 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม อ.เมือง จ.พิษณุโลก 8.2 มหาวิทยาลัยราชภัฎก าแพงเพชร อ.เมือง จ.ก าแพงเพชร 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 9.1 อาจารย์ประจ าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาและอาจารย์สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับอาจารย์ในสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาและอาจารย์สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ในสถาบันการศึกษาอ่ืนๆ 9.2 อาจารย์สามารถน าประสบการณ์ตรงจากการศึกษาดูงานไปประยุกต์ใช้ในการท างาน การเรียนการสอน และการวิจัย 10. การบูรณาการกับการเรยีนการสอน / วิจัย / บริการวิชาการ

รหัสวิชา 4144801 ชื่อ วิธีการสอนคอมพิวเตอร์ 1 รหัสวิชา 4144802 ชื่อ วิธีการสอนคอมพิวเตอร์ 2 รหัสวิชา 4144901 ชื่อ การสัมมนาเชิงเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

11. ระยะเวลาด าเนินการ ระหว่างวันที่ 25-27 มิถุนายน 2557 12. งบประมาณที่ด าเนินงาน รหัสกิจกรรม 202201480121 จ านวนเงิน 62,420 (หกหม่ืนสองพันสี่ร้อยยี่สิบบาทถ้วน)

หมวด รายการ งบประมาณ (บาท)

ค่าใช้สอย - ค่าเช่าเหมารถบัสปรับอากาศ จ านวน 3 วันๆละ 8,000 บาท

- ค่าท่ีพัก จ านวน 16 คนๆ ละ 2 คืน คืนๆละ 750 บาท - ค่าจ้างจัดท าของที่ระลึก จ านวน 2 ชิ้นๆละ 1,000 บาท - ค่าจ้างจัดท าป้าย - ค่าจัดท าเอกสารสรุปโครงการ จ านวน 4 เล่ม ๆ ละ 100

บาท

24,000

24,000 2,000

500 400

Page 3: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

- เบี้ยเลี้ยง จ านวน 16 คนๆ ละ 3 วัน วันๆละ 240 บาท 11,520

รวม 62,420 13. การน าไปใช้ประโยชน์

อาจารย์สามารถน าประสบการณ์ตรงจากการศึกษาดูงานไปประยุกต์ใช้ในการท างาน การเรียนการสอน และการวิจัย 14. สรุปผลการศึกษาดูงาน

โครงการศึกษาดูงานบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาและศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม อ.เมือง จ.พิษณุโลก และ มหาวิทยาลัยราชภัฎก าแพงเพชร อ.เมือง จ.ก าแพงเพชร มีอาจารย์เข้าร่วมทั้งสิ้น 15 คน และได้รับการต้อนรับจากหน่วยงานต่าง ๆ เป็นอย่างดี อาจารย์ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในด้านการเรียนการสอน การบริหารจัดการ การวิจัย กิจกรรมนักศึกษา ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการน ามาประยุกต์ใช้กับสาขาวิชาและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Page 4: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

สรุปการศึกษาดูงาน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ E-Library มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จากทางสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ได้ขอเข้าศึกษาดูงานกับทางศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และมหาวิทยาลัยยังอนุเคราะห์ให้เข้าเยี่ยมชมในส่วนของ E-Library อีกด้วย ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามได้ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี จากท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์กิตติพงษ์ สุวรรณราช และทีมงาน ในส่วนงานแรกจะเป็นการกล่าวถึงการสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ ระบบของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จะใช้ Learn Square เป็นคลังสื่อ ซึ่งทางมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามได้ให้การสนับสนุนในการจัดท าสื่อการการเรียนสอนออนไลน์โดยจัดให้มีการขอทุนส าหรับผู้จัดท าวิชาละ 10,000 บาท โดยไม่ได้ก าหนดรูปแบบในการน าเสนอ แต่ต้องให้เหมาะสมส าหรับวิชานั้น ๆ โดยทางศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศได้มีการฝึกอบรมให้กับอาจารย์ในส่วนของ LMS เมื่อ E-learning สร้างเสร็จแล้วยังไม่มีก าหนดมาตรการในการใช้กับนักศึกษาที่แน่นอน ยังคงให้อิสระในการค้นคว้าแก่นักศึกษาอยู่ และจัดสถานที่ส าหรับการค้นคว้าของนักศึกษา นอกจากการรับผิดชอบดูแลในส่วนของการสร้างสื่อออนไลน์และคลังสื่อแล้ว ยังมีส่วนของระบบการสอบวัดความรู้พ้ืนฐาน 3 ภาษา ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ส าหรับนักศึกษา โดยระบบการสอบผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนี้ ได้ท าการแบ่งส่วนออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ 1) ระบบการจัดการด้วยอาจารย์ 2) ระบบการจัดการด้านนักเรียน 3) ระบบการจัดการของผู้บริหาร ระบบการประเมินการสอนออนไลน์ และส่วนของระบบโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต VOIP เป็นการที่น าสัญญาณเสียงมาผสมรวมกับสัญญาณข้อมูล เพ่ือให้สามารถส่งผ่านไปบนระบบเครือข่ายด้วยโปรโตคอลที่มีอยู่อย่างแพร่หลาย คือ Internet Protocal หรือที่รู้จักกันทั่วไปในนาม IP ซึ่งโดยปกติจะใช้ IP ในการส่งสัญญาณข้อมูลเท่านั้น แต่ด้วยเทคโนโลยี VOIP นี้ ท าให้สามารถพัฒนาการสื่อสารผ่านสัญญาณเสียงให้สามารถสื่อสารผ่าน IP ได้ ท าให้เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนของเครือข่ายโทรศัพท์ได้มากขึ้นอีกด้วย ซึ่งจุดเด่นของที่นี้ คือ การท าโทรศัพท์มือถือธรรมดาของอาจารย์และพนักงานโดยทั่วไป กลายเป็นโทรศัพท์ภายในทันที เมื่อเข้าสู่พ้ืนที่ของ VOIP สุดท้ายของการน าเสนอคือห้องสมุดแบบ E-Library เป็นห้องสมุดที่ทันสมัยใช้งบประมาณในการสร้างกว่า 300 ล้านบาท การเข้าใช้งานห้องสมุดจะมีการสแกนบัตร FRID ในการเข้าใช้งานซึ่งจะเป็นบัตรเดียวกับบัตรนักศึกษา ใช้ในเรื่องการยืม-คืน หนังสืออีกด้วย ได้มีการสร้างห้องสมุดที่กว้างขวาง ทันสมัย มีคอมพิวเตอร์ให้บริการอย่างทั่วถึง มุมต่าง ๆ ที่ใช้ส าหรับอ่านหนังสือ ห้องส่วนตัวที่ใช้ในการบรรยายหรือการติวหนังสือเป็นกลุ่ม ห้องพักผ่อน และมุมต่าง ๆ ที่น่าสนใจอีกมากมาย มีการใช้ระบบ RFID ในการตรวจสอบส าหรับบุคคลที่ลักลอบน าหนังสือออกจากห้องสมุดโดยไม่ได้ผ่านการยืมอย่างถูกต้อง

ภาพการศึกษาดูงาน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ศึกษาดูงานศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

พิบูลสงคราม น าเสนอเกี่ยวกับการใช้ E-learning ในการเรียนการ

สอน การใช้ eDLTV และระบบสารสนเทศ

Page 5: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
Page 6: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
Page 7: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
Page 8: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

ศึกษาดูงาน E-Library และระบบ RFID มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล

สงคราม

Page 9: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
Page 10: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
Page 11: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
Page 12: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

สรุปผลการศึกษาดูงานโปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร

จากสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาได้ขอเข้าไปศึกษาดูงานในโปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ในส่วนของการจัดการบริหารหลักสูตร และส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ได้มีการต้อนรับเป็นอย่างดีจากท่าน คณบดี ดร.ชัยรัตน์ บุมี และประธานโปรแกรม ท่านอาจารย์ศรินญา หวาจ้อย โดยทางประธานโปรแกรมได้ให้ข้อมูลในการจัดการบริหารหลักสูตรโปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ในการจัดการบริหารหลักสูตรของโปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร มีชื่อหลักสูตร

ชื่อเต็ม คือ ครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชื่อย่อ คือ ค.บ. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) หลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 ปี

โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ได้เปิดหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาเม่ือปี พ.ศ. 2550 และได้มีการปรับปรุงหลักสูตรในปี พ.ศ. 2554 โดยโปรแกรมวิชามีภาระหน้าที่ในการจัดการศึกษาให้แก่นักศึกษาปริญญาตรี (หลักสูตร 5 ปี) โดยยึดแนวทางการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ซึ่งมีหน้าที่ในการสอนให้ความรู้และพัฒนาทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแก่นักศึกษา ผลิตนักศึกษาครูที่มีคุณภาพ สนับสนุนงานวิจัย สร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาส่งเสริมพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยมีโครงสร้างหลักสูตร ดังนี้ ก. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต

1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 12 หน่วยกิต

2) กลุ่มวิชามนุษย์ศาสตร์ 6 หน่วยกิต

3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต

4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 หน่วยกิต

ข. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 134 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาชีพครู 53 หน่วยกิต

- วิชาบังคับ 35 หน่วยกิต - วิชาเลือก 4 หน่วยกิต - วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 14 หน่วยกิต

2) กลุ่มวิชาเอก 81 หน่วยกิต - วิชาบังคับ 63 หน่วยกิต - วิชาเลือก 18 หน่วยกิต

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 170 หน่วยกิต

ทางโปรแกรมได้มีการก าหนดโครงสร้างคณะกรรมการด าเนินงานตามภารกิจของโปรแกรมวิชา

คอมพิวเตอร์ศึกษา โดยแยกเป็นแต่ละงานอย่างชัดเจน แบ่งเป็น งานประกันคุณภาพการศึกษา งาน

Page 13: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

วิชาการและงานวิจัย งานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู งานกิจการนักศึกษาและศิลปวัฒนธรรม งานสวัสดิการและทุนการศึกษา งานสารสนเทศ และงานโสตทัศนูปกรณ์และดูแลห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

ระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู แบ่งเป็นปฏิบัติงานวิชาชีพครู 1 (นักศึกษาชั้นปีที่ 3) , ปฏิบัติงานวิชาชีพครู 2 (นักศึกษาชั้นปีที่ 4) , ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 (นักศึกษาชั้นปีที่ 5) , ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (นักศึกษาชั้นปีที่ 5) นักศึกษาของโปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มีทั้งหมด 380 คน

นอกจากนนี้ทางโปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ยังให้ข้อมูลเสริมในเรื่องของโครงการต่าง ๆ ที่ทางโปรแกรมได้จัดท าขึ้นเพ่ือประโยชน์แก่นักศึกษา อาทิเช่น โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โครงการอบรมการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ผ่านการใช้กล้องดิจิตอล โครงการค่ายคอมพิวเตอร์ศึกษา และโครงการอ่ืนๆ อีกมากมาย

Page 14: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

ภาพการศึกษาดูงาน โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร

ศึกษาดูงาน โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร

Page 15: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
Page 16: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
Page 17: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล
Page 18: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

15. สรุปผลการประเมินความส าเร็จของโครงการ

15.1 การประเมินตัวชี้วัดเชิงปริมาณจ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ จากผลการจัดโครงการมีอาจารย์เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 15 คนจากจ านวนที่ก าหนดไว้ใน

เป้าหมายของโครงการ 16 คน คิดเป็นร้อยละ 93.75 ซ่ึงบรรลุตัวช้ีวัดที่ก าหนดให้อาจารย์เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

15.1 การประเมินตัวชี้วัดตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ร้อยละของความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ สรุปผลจากแบบประเมินที่แจกให้กับผู้เข้าร่วมโครงการจ านวน 15 คน และได้รับแบบประเมิน

กลับมาจ านวน 15 ชุด ดังมีรายละเอียดการประเมินเป็นดังต่อไปนี้

รายการ ผลการประเมิน

(ร้อยละ)

1. การติดตอประสานงานกับทางหนวยงานมีความ สะดวก รวดเร็ว 90.72 2. หลังเขาศึกษาดูงานทานมีความรูในเรื่องที่ดูงาน 95.83 3. ทานคิดวาจะสามารถน าความรูที่ไดไปใช้ในการ พัฒนางานของท่านไดมากน้อยเพียงใด

92.83

4. ระยะเวลาในการศึกษา ดูงานมีความเหมาะสม 83.50 5. เจาหนาที่ของสถานที่ดูงาน ใหค าแนะน าและ ความชวยเหลือในการศึกษา ดูงาน

84.50

6. สถานที่ที่ใชในการตอนรับมีความเหมาะสม 83.50 7. สื่อและอุปกรณ์ที่ใชในการทางานของหน่วยงาน มีความทันสมัย และเหมาะสม

96.17

8. หนวยงานมีระบบการท างานและการจัดการที่ดี 91.17 9. การศึกษา ดูงาน ครั้งนี้เปนประโยชนกับทาน มากนอยเพียงใด 90.50

10. ความพึงพอใจต่อการให้บริการของรถบัส 83.17 11. ความพึงจอใจต่อท่ีพัก 90.50

สรุปผลการประเมินโครงการ 89.30 จากตารางจะแสดงได้ว่าโครงการศึกษาดูงานบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาและศูนย์

เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ร้อยละ 89.30 ซ่ึง ซ่ึงบรรลุตัวชี้วัดที่ก าหนดให้อาจารย์มีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

15. ปัญหาและอุปสรรค โครงการศึกษาดูงานบริหารจัดการสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาและศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศมีปัญหาและอุปสรรคดังต่อไปนี้

Page 19: 1. 2. - sc.npru.ac.thsc.npru.ac.th/plan/file/1406088933-2.pdf5.1 ตัวชี้วัดที่ 4 เรื่อง มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

15.1 การนัดหมายสถานที่ดูงานต้องใช้เวลานานเพื่อให้ได้วันที่เหมาะสม 16. ข้อเสนอแนะและการปรับปรุงแก้ไขการจัดโครงการ 16.1 ข้อเสนอแนะจากการจัดโครงการครั้งที่ผ่านมา - ควรจัดสถานที่พักให้ใกล้กับสถานที่ดูงานเพ่ือความสะดวกและใช้เวลาในการเดินทางน้อย - ควรใช้รถบัสปรับอากาศท่ีมีสภาพดี เพื่อให้เกิดความปลอดภัย และความสะดวกของผู้ร่วมโครงการ 16.2 การปรับปรุงในการจัดโครงการครั้งนี้ - ในการจัดโครงการครั้งนี้ได้เลือกที่พักที่ใกล้กับสถานที่ดูงาน ซึ่งท าให้เดินทางได้อย่างสะดวกใช้เวลาเดินทางน้อย - ในการจัดโครงการครั้งที่ได้ใช้รถบัสที่ใหม่ เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัยในการเดินทาง และมีความสะดวกในการโดยสารมากขึ้น 16.3 ข้อเสนอแนะในการจัดโครงการครั้งต่อไป - ควรจัดสถานที่ดูงานยังสถานศึกษาในเขตภาคใต้บ้าง เพ่ือเพ่ิมเครือข่ายความร่วมมือในภาคใต้ - ควรมีการจัดโครงการในลักษณะนี้ทุกปีการศึกษา