chemical quality of gloriosa superba linn. tuber poster layout ทัศนีย์... ·...

1
คุณภาพทางเคมีของหัวดองดึง ทัศนีย์ ปานผดุง 1* , สายใจ ปริยะวาที 1 , สายัน ขุนนุช 1 , และ นฤมล บุญราศรี 1 1 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที12 สงขลา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ดองดึง ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gloriosa superba Linn. อยู่ในวงศ์ Liliaceae ตารายาไทยใช้หัวเป็นยาแก้ปวดตามข้อ ซึ่งมีรายงานพบสารสาคัญ ได้แก่ โคลชิซิน เป็นสารออกฤทธิแต่ก็ยังไม่มีการบรรจุข้อมูลของสมุนไพรชนิดนี้เข้าในตารา มาตรฐานยาสมุนไพรไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ ข้อมูลสาหรับจัดทาข้อกาหนดมาตรฐานทางเคมีของสมุนไพร ดองดึง ภายใต้โครงการ วิจัยการพัฒนาศักยภาพของสมุนไพรทีมีการใช้ในท้องถิ่น วัสดุและวิธีการ ตัวอย่างสมุนไพรหัวดองดึง เก็บจากแหล่งธรรมชาติและซื้อจากร้านขายยาแผนโบราณใน ประเทศไทย จานวน 15 ตัวอย่าง การศึกษาคุณสมบัติทางเคมี ตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารสกัดด้วยนา ปริมาณสารสกัดด้วย 95% เอทานอล ปริมาณความชื้น ปริมาณเถ้ารวมและปริมาณเถ้าทีไม่ละลายในกรด ตามวิธีที่กาหนดในตารามาตรฐานยาสมุนไพรไทย การตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์ทางเคมี วิเคราะห์โดยโครมาโตกราฟีผิวบาง โดยใช้สารละลายผสมของ เอทิลอะซีเตท เมทานอล และสารละลายแอมโมเนีย ในอัตราส่วน 85:10:5 เป็นน้ายาแยก เปรียบเทียบกับสารมาตรฐานโคชิซิน Chemical Quality of Gloriosa superba Linn. Tuber ผลการดาเนินการ ตารางที1 ผลการประเมินคุณภาพทางเคมีและกายภาพของหัวดองดึง รายการ ค่าเฉลี่ย ± ค่าเบี่ยงเบน ( X ± SD, n = 15 ) เกณฑ์ กาหนดค่าบน ( X + SD ) เกณฑ์ กาหนดค่าล่าง ( X - SD ) ปริมาณสารสกัดด้วย น้20.92 ± 2.41 - 18.51 ปริมาณสารสกัดด้วย 95% เอทานอล 2.66 ± 1.12 - 1.54 ปริมาณความชื้น 8.75 ± 0.82 9.57 - ปริมาณเถ้ารวม 4.71 ± 1.61 6.32 - ปริมาณเถ้าที่ไมละลายในกรด 1.30 ± 1.44 2.74 - รูปที1 การพิสูจน์เอกลักษณ์ทางเคมีด้วยวิธีโครมาโตกราฟีผิวบางของสารสกัด ด้วยเอทานอลจากหัวดองดึง (A = UV 254 nm, B = 366 nm, C = น้ายาพ่น 5%vanillin/sulfuric acid ; 1 = สารมาตรฐานโคลชิซิน, 2 = สารสกัดด้วยเอทานอลจากผงหัวดองดึง) 0 1 2 1 2 1 2 A B C hRf 100 วิจารณ์และสรุป จากการพิสูจน์เอกลักษณ์ทางเคมีด้วยวิธีโครมาโตกราฟีผิวบาง เมื่อใช้สารละลายผสมของเอทิลอะซีเตท เมทานอล และสารละลาย แอมโมเนีย ในอัตราส่วน 85:10:5 เป็นน้ายาแยก พบสารโคลชิซินในทุกตัวอย่าง สาหรับการควบคุมคุณภาพทางเคมีของผงสมุนไพร หัวดองดึง โดยกาหนดจากค่าเฉลี่ย (X) ลบด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) สาหรับปริมาณที่ระบุว่า ไม่น้อยกว่า และกาหนดจากค่าเฉลี่ย บวกด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) สาหรับปริมาณที่ระบุว่า ไม่เกินดังนั้น ข้อกาหนดทางเคมีของหัวดองดึง จึงสรุปได้ดังนี้ ปริมาณสาร สกัดด้วยนาไม่น้อยกว่า 19 โดยน้าหนัก ปริมาณสารสกัดด้วย 95% เอทานอล ไม่น้อยกว่า 2 โดยน้าหนัก ปริมาณความชื้นไม่เกิน 10 โดย น้าหนัก ปริมาณเถ้ารวมไม่เกิน 6 โดยน้าหนัก และปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรดไม่เกิน 3 โดยน้าหนัก ผลการศึกษานี้จะเป็นข้อมูลสาหรับจัดทาข้อกาหนดมาตรฐานสาหรับการควบคุมคุณภาพของสมุนไพรดองดึง ซึ่งนาไปใช้ประโยชน์ใน การคัดเลือกสมุนไพรที่ดีมีคุณภาพ สาหรับใช้ในทางการแพทย์และใช้ในเชิงพาณิชย์ของประเทศได้

Upload: others

Post on 14-Mar-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Chemical Quality of Gloriosa superba Linn. Tuber Poster Layout ทัศนีย์... · ไม่ละลายในกรด ตามวิธีที่ก าหนดในต

คุณภาพทางเคมีของหัวดองดึง

ทัศนีย์ ปานผดุง1*, สายใจ ปริยะวาท1ี, สายัน ขุนนุช1, และ นฤมล บุญราศร1ี 1ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย ์

ดองดึง ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gloriosa superba Linn.

อยู่ในวงศ์ Liliaceae ต ารายาไทยใช้หัวเป็นยาแก้ปวดตามข้อ ซึ่งมีรายงานพบสารส าคัญ ได้แก่ โคลชิซิน เป็นสารออกฤทธิ์ แต่ก็ยังไม่มีการบรรจุข้อมูลของสมุนไพรชนิดนี้เข้าในต ารามาตรฐานยาสมุนไพรไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ข้อมูลส าหรับจัดท าข้อก าหนดมาตรฐานทางเคมีของสมุนไพรดองดึง ภายใต้โครงการ วิจัยการพัฒนาศักยภาพของสมุนไพรที่มีการใช้ในท้องถิ่น

วัสดุและวิธีการ • ตัวอย่างสมุนไพรหัวดองดึง เก็บจากแหล่งธรรมชาติและซื้อจากร้านขายยาแผนโบราณใน ประเทศไทย จ านวน 15 ตัวอย่าง • การศึกษาคุณสมบัติทางเคมี ตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารสกัดด้วยน้ า ปริมาณสารสกัดด้วย 95% เอทานอล ปริมาณความชื้น ปริมาณเถ้ารวมและปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรด ตามวิธีที่ก าหนดในต ารามาตรฐานยาสมุนไพรไทย • การตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์ทางเคมี วิเคราะห์โดยโครมาโตกราฟีผิวบาง โดยใช้สารละลายผสมของเอทิลอะซีเตท เมทานอล และสารละลายแอมโมเนีย ในอัตราส่วน 85:10:5 เป็นน้ ายาแยก เปรียบเทียบกับสารมาตรฐานโคชิซิน

Chemical Quality of Gloriosa superba Linn. Tuber

ผลการด าเนินการ ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพทางเคมีและกายภาพของหัวดองดงึ

รายการ ค่าเฉลี่ย ± ค่าเบี่ยงเบน

( X ± SD, n = 15 )

เกณฑ ์

ก าหนดค่าบน ( X + SD )

เกณฑ์

ก าหนดค่าล่าง ( X - SD )

ปริมาณสารสกัดด้วย

น้ า 20.92 ± 2.41 - 18.51

ปริมาณสารสกัดด้วย

95% เอทานอล 2.66 ± 1.12 - 1.54

ปริมาณความชื้น 8.75 ± 0.82 9.57 -

ปริมาณเถ้ารวม 4.71 ± 1.61 6.32 -

ปริมาณเถ้าที่ไม่

ละลายในกรด 1.30 ± 1.44 2.74 -

รูปที่ 1 การพิสูจน์เอกลักษณ์ทางเคมีด้วยวิธีโครมาโตกราฟีผิวบางของสารสกัด ด้วยเอทานอลจากหัวดองดึง (A = UV 254 nm, B = 366 nm, C = น้ ายาพ่น 5%vanillin/sulfuric acid ; 1 = สารมาตรฐานโคลชซิิน, 2 = สารสกัดด้วยเอทานอลจากผงหัวดองดึง)

0 1 2 1 2 1 2

A B C

hRf 100

วิจารณ์และสรุป จากการพิสูจน์เอกลักษณ์ทางเคมีด้วยวิธีโครมาโตกราฟีผิวบาง เมื่อใช้สารละลายผสมของเอทิลอะซีเตท เมทานอล และสารละลายแอมโมเนีย ในอัตราส่วน 85:10:5 เป็นน้ ายาแยก พบสารโคลชิซินในทุกตัวอย่าง ส าหรับการควบคุมคุณภาพทางเคมีของผงสมุนไพร หัวดองดึง โดยก าหนดจากค่าเฉลี่ย (X) ลบด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ส าหรับปริมาณที่ระบุว่า “ไม่น้อยกว่า” และก าหนดจากค่าเฉลี่ย บวกด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ส าหรับปริมาณที่ระบุว่า “ไม่เกิน” ดังนั้น ข้อก าหนดทางเคมีของหัวดองดึง จึงสรุปได้ดังนี้ ปริมาณสารสกัดด้วยน้ าไม่น้อยกว่า 19 โดยน้ าหนัก ปริมาณสารสกัดด้วย 95% เอทานอล ไม่น้อยกว่า 2 โดยน้ าหนัก ปริมาณความชื้นไม่เกิน 10 โดยน้ าหนัก ปริมาณเถ้ารวมไม่เกิน 6 โดยน้ าหนัก และปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรดไม่เกิน 3 โดยน้ าหนัก ผลการศึกษานี้จะเป็นข้อมูลส าหรับจัดท าข้อก าหนดมาตรฐานส าหรับการควบคุมคุณภาพของสมุนไพรดองดึง ซึ่งน าไปใช้ประโยชน์ในการคัดเลือกสมุนไพรที่ดีมีคุณภาพ ส าหรับใช้ในทางการแพทย์และใช้ในเชิงพาณิชย์ของประเทศได้