man and technology: 105113 - suranaree university of

Post on 22-Apr-2022

3 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

Man and Technology: 105113

เทคโนโลยีคืออะไร? เทคโนโลยี คือการสราง การดัดแปลง หรือการนําความรูมาเปนวิธีการปฏิบัติ

และประยุกตใชเพ่ือชวยในการทํางานหรือแกปญหาตาง ๆ อันกอใหเกดิวัสดุ

อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร แมกระทั่งองคความรูนามธรรมเชน ระบบหรือ

กระบวนการตาง ๆ เพ่ือใหการดํารงชีวิตของมนุษยงายและสะดวกย่ิงขึ้น

เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร?

เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (Information technology หรือ

IT) หมายถึงเทคโนโลยีสําหรับ

การรับ-สง

การจัดเก็บ

การแปลง

การประมวลผล

และการคนคืนสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารคืออะไร?

ICT มีความหมายท่ีกวางกวา IT โดยมีการรวม IT

เขากับการสือ่สารโทรคมนาคม

(telecommunication) สื่อหนังสอื สื่อวิทยุ และ

สื่อโทรทัศน (broadcast media) ทุกรูปแบบของ

การสงผานและการประมวลเสียงและภาพ และกิจ

ธุระในการตรวจและควบคุมโครงขายของการสือ่สาร

ICT ในชีวิตประจําวัน instant messaging (chat),

presence information,

telephony (including IP telephony),

video conferencing

call control (e.g. "Call Waiting", "Call Forward on Busy" etc)

speech recognition

voicemail, e-mail, SMS and fax

real

-tim

e

non-real-time

และอาจจะเปนแบบ

integrated

(wikipedia)

อุปกรณ และระบบทีเ่กีย่วกับ ICT 1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส

2. คอมพวิเตอร

3. โทรเลข (telegraphy)

4. วิทยุ (radio)

5. ทีวี (television)

6. เรดาร (radar)

7. โทรศพัท (telephone)

8. ระบบโครงขาย

1. อุปกรณอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกส เปนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการนําไฟฟาใน

สุญญากาศ กาซ หรือในสารกึ่งตัวนํา อุปกรณตางๆที่อาศัยหลักการดังกลาว

งานวิศวกรรมอิเลก็ทรอนิกสไดชวยใหเกดิการพัฒนาเทคโนโลยีอืน่ๆ เชน โทรเลข (telegraphy)

โทรศัพท (telephone) วิทยุ (radio) ทีวี (television) เรดาร (radar) ไมโครโปรเซสเซอร

(microprocessors), เซ็นเซอร CCD, หนวยความจํา (memory) คอมพิวเตอร (computers)

ระบบเครือขายคอมพิวเตอร (internet)

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส ตัวอยางอุปกรณอิเล็กทรอนกิส

อุปกรณอิเล็กทรอนิกสแบบ passive

• ตัวตานทาน

• ตัวเก็บประจุ

• ขดลวดเหนี่ยวนํา

• หมอแปลง

อุปกรณอิเล็กทรอนิกสแบบ active

• หลอดสุญญากาศ

• ไดโอด

• ทรานซิสเตอร

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส วงจรอิเลก็ทรอนกิสแบบอนาลอก

วงจรเครื่องขยายเสียง

วงจรรับสัญญาณวทิยุ/โทรทัศน

...

วงจรอิเลก็ทรอนกิศแบบดิจติอล

วงจรการประมวลผลของไมโครโปรเซสเซอร

วงจรการอาน/เขียนขอมลูของหนวยความจาํ

...

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส ณ ปจจุบัน อุปกรณอิเล็กทรอนิกสท่ีใชควบคุมอิเล็กตรอนเกือบท้ังหมด เปนอุปกรณท่ี

ทําจากสารกึ่งตัวนํา (semiconductor)

พัฒนาการทางดานเทคโนโลยีการผลิตอุปกรณอิเล็กทรอนิกสสารก่ึงตัวนําทําให

ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น (การทํางานที่ไวขึ้น)

ขนาดเล็กลง

ราคาถูกลง

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส Microprocessor

2000 transistors, 4 bits, 0.06 MHz (1971)

(http://www.cedmagic.com/history/intel-4004.html)

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส Microprocessors

1971 Intel 4004 2000 transistors, 4 bits, 0.06 MHz

1972 Intel 8008 8 bits, 0.5/0.8 MHz

1974 Intel 8080 8 bits, 2 MHz

1976 Intel 8086 16 bits, ∼8 MHz x86

… Intel 80186, 80286

1985 Intel 80386 32 bits, 12-40 MHz

>2000 Intel x86 & AMD64 64 bits,

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส AMD64 Processors :

AMD Athlon 64

AMD Athlon 64 X2

AMD Athlon 64 FX

AMD Athlon II, X2, X3 or X4

AMD Opteron

AMD Turion 64

AMD Turion 64 X2

AMD Sempron

AMD Phenom

AMD Phenom II

AMD Bulldozor FX

64-bit Intel Processors:

Pentium 4,

Celeron D,

Xeon

Pentium Dual-Core processors,

Atom D510, N450, N550, N2600 and N2800

All versions of the Pentium Extreme Edition, Core 2, Core i3, Core i5, and Core i7

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส พัฒนาการดานการผลิตอุปกรณอิเล็กทรอนิกสสงผลให

ไมโครโปรเซสเซอร/โปรเซสเซอร (Microprocessors/Processors)

ทํางานเร็วขึ้น โดยการเพ่ิมความถี่และจํานวนบิต(bit) การทํางาน

หนวยความจํา (Memory)

มีความจุเพ่ิม

(wikipedia)

ขนาดของลวดลายบนวงจร

ลดลงจากหลัก 10 ไมครอน

เปนหลัก 10 นาโนเมตร

(wikipedia)

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส ศพัททางเทคนิคที่อาจจะเคยไดยินในชีวิตประจําวัน

ไมโครอิเล็กทรอนิกส (microelectronics)

วงจรรวม (IC, integrated circuit)

กระบวนการสรางวงจรรวมขนาดใหญ (Very Large Scale Integration)

CMOS (Complementary metal–oxide–semiconductor )

CCD (charge-coupled device)

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส-อนาคต

http://www.uam.es/personal_pdi/ciencias/jcuevas/Molecular%20electronics.html

1. อุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกส อปุกรณ/เคร่ืองมือในชีวิตประจําวัน

เคร่ืองใชในบานที่มีการควบคุมโดยวงจรอิเลก็ทรนกิส เชน เคร่ืองซักผา หมอหุงขาว

กาตมน้ํา เตาไมโครเวฟ ตูเย็น เคร่ืองทําความเย็น

อุปกรณ/เคร่ืองใชสําหรับการบันเทิง หรืองานอดิเรก โทรทัศน เคร่ืองเสยีง กลอง

ถายรูป

อุปกรณ/เคร่ืองมือสือ่สาร โทรศัพท โทรสาร วิทยุ ระบบเรดาร ระบบ GPS

ระบบควบคุม/ตรวจสอบเคร่ืองยนตของยานพาหนะ เชน รถยนต เรือ เคร่ืองบิน

...

คอมพวิเตอร

2. คอมพิวเตอร : ประวัติดาน hardware

http://www.wired.com/

http://en.wikipedia.org/wiki/Slide_rule

2. คอมพิวเตอร : ประวัติดาน hardware

ลูกคิด

1642 เครือ่งบวก ลบเลขเชิงกล (Mechanical Adder) โดยใชเกียร ประดิษฐโดย Blaise Pascal

1670's เครื่องคิดเลขเชิงกล (Mechanical Calculator) โดย Gottfried Wilhelm Leibniz สามารถ บวก ลบ คณู และหาร

1801 - Jaquard's Loom Joseph-Marie Jacquard metal punched cards, First "stored program" program device

1822 - Difference Engine Charles Babbage. Designed to compute polynomials. Used a stored program. Abandoned in 1833.

183? Analytic Engine Charles Babbage. General purpose algebraic calculator. Used punched card program. Had a "store" to hold Intermediate results and data.

Supported by Ada Augusta, the Countace of Lovelace.

1890 - Census Tabulator Herman Hollerith invented modern punched card for use in machine to help tabulate census. Formed tabulating company that became IBM in

1924.

1942 เครื่องคอมพิวเตอรอิเล็กทรอนิกสเครื่องแรก โดย John Atanasoft ณ Iowa State University

1944 Mark I Howard Aiken (supported by IBM). Electromechanical computer. First realization of Babbage's Analytic Engine.

1946 ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Computer) J.P. Eckert and J.W. Mauchly at U. of Penn. Used18000 vacuum tubes. Programmed by rewiring circuits. 1000 x faster than Mark I

1951 - UNIVAC (Universal Automatic Computer) Eckert & Mauchly First commercially available general purpose computer

(http://www.willamette.edu/~gorr/classes/cs130/lectures/history.htm)

http://www.willamette.edu/~gorr/classes/cs130/lectures/history.htm

2. คอมพิวเตอร : ประวัติดาน hardware

(http://www.willamette.edu/~gorr/classes/cs130/lectures/history.htm)

http://lawaonline.com/blog/wp-

content/gallery/computer-history/old-computer.jpg

http://blogs.loc.gov/loc/files/2008/04/univac.jpg http://www.thocp.net/hardware/univac.htm

http://univac1.0catch.com/univac14_a_system_700w.jpg

2. คอมพิวเตอร : ประวัติดาน hardware

2. คอมพิวเตอร : ประวัติดาน software

1940's - Rewire Circuits

กอนยุค 1950's – ภาษาเครื่อง (Machine Language) ไดแก zeros and ones

1950's – ภาษาแอสเซมบี (Assembly Language)

Symbolic Version of Machine Language, Not Portable. Translated by Assembler

หลังยุค 1950's - FORTRAN, พัฒนาโดย Backus ที่ IBM

FORmula TRANslator

จัดเปนภาษาชั้นสูงในการเขียนโปรแกรมภาษาแรก

จัดเปนภาษาชั้นสูงแรกที่มีการแปลงคาํสั่งทั้งโปรแกรมกอนทํางาน

(http://www.willamette.edu/~gorr/classes/cs130/lectures/history.htm)

2. คอมพิวเตอร : ประวัติดาน software

1960's - Simula

Elements of Object-Oriented Languages

ภาษา Pascal คิดคนโดย N. Wirth ใชในการเรียนการสอน เริ่มในยุค 1970's

ภาษา C คิดคนโดย Thompson and Ritchie at Bell Labs ในยุค 1970's

เปนภาษาสําหรับการเขียนโปรแกรมอยางเปนระบบ

โปรแกรมขนาดเล็ก, สามารถนําไปใชบนเครื่องที่ใชโปแกรมปฏิบัติการตางกันไดพอสมควร

Object-Oriented

สามารถนําไปใชบนเครื่องที่ใชโปแกรมปฏิบัติการตางกันไดพอสมควร

(http://www.willamette.edu/~gorr/classes/cs130/lectures/history.htm)

2. คอมพิวเตอร : ประวัติดาน software

Small Talk คิดคนข้ึนในบริษัท Xerox PARC

Fully Object-Oriented

ใชการแปลท่ีละคําสั่ง ชาในการทํางาน

C++ คิดคนโดย Stroustrup ณ หองแลบ Bell Labs ในยุค 1980's,

พัฒนามาจากภาษา C

โปรแกรมขนาดใหญ, ซับซอน แตสามารถนําไปใชบนเครื่องท่ีใชโปแกรมปฏิบัติการตางกันไดพอสมควร

ภาษา Java คิดคนข้ึนในบรษิทั Sun Microsystems ป 1995

พัฒนามาจากภาษา C++ และ SmallTalk

Object-Oriented

สามารถนําไปใชบนเครื่องท่ีใชโปแกรมปฏิบัตกิารตางกันไดแทบจะไมมีขอจํากัด

(http://www.willamette.edu/~gorr/classes/cs130/lectures/history.htm)

2. คอมพิวเตอร : ประเภท

ซเูปอรคอมพวิเตอร (supercomputer)

เมนเฟรมคอมพวิเตอร (mainframe computer)

มินคิอมพวิเตอร (minicomputer)

ไมโครคอมพวิเตอร (microcomputer) หรือ พีซ ี(personal computer หรือ PC)

โนตบุค (notebook or laptop)

เน็ตบุค (netbook or laptop)

แท็บเล็ต คอมพวิเตอร (tablet computer)

2. คอมพิวเตอร : ตัวอยางการใชประโยชนแบงตามสายงาน

การใชงานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎรของรัฐบาล เชน การแจงเกดิ ตาย ยายท่ีอยู

การทําบัตรประจําตัวประชาชน งานภาษี เชน ย่ืนแบบประเมินภาษีภาษีผาน

อินเทอรเน็ต เก็บทะเบียนประวัติผูเสียภาษี ตรวจสอบการเสียภาษี

งานสายการบิน การสํารองท่ีนั่งผูโดยสาร การลดงานเอกสาร

ทางดานการศึกษา สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน การเรียนออนไลนใหกับผูเรียนท่ีอยู

หางไกล

ธุรกิจการนําเขาสินคาและสงออก การทําธุรกิจแบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

ธุรกิจธนาคาร ชวยดานงานขอมูลธนาคาร รับ-จายเงิน เก็บประวัติลูกคา ธนาคาร

อิเล็กทรอนิกส การทําธุรกรรมผานโทรศัพทมือถือ

(wikipedia)

2. คอมพิวเตอร : การใชประโยชนแบงตามสายงาน

วิทยาศาสตรและการแพทย การเก็บขอมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข วิจัย

คํานวณ และ การจําลองแบบ

งานดานสถิติ ชวยเก็บบันทึกขอมูล วิเคราะห จําลองแบบขอมูล และการเผยแพร

ขอมูล

งานสถาปนิก ชวยออกแบบ เขียนแบบ หรือทําแบบจําลองสามมิติ

งานภาพยนตร การตูน แอนิเมชัน ชวยสรางตัวการตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัว

การตูน จําลองตัวการตูนสามมิติ การตัดตอภาพยนตร

ดานนันทนาการ ชวยใหความบนัเทิง ดูหนงั ฟงเพลง รองคาราโอเกะ เลนเกม

(wikipedia)

http://www.ucsusa.org/global_warming/science_and_impacts/science/global-warming-

faq.html

ผลการจําลองการเปลี่ยนแปลงปริมาณโอโซน

(http://www.reviews66.com/online-weather-forecast-

top-tools-and-free-download-weather-software-

toolbars/)

การพยากรณอากาศ

3. โทรเลข

โทรเลขตามสาย (Electrical telegraphy)

โทรเลขไรสาย/วิทยุโทรเลข (Wireless/radio telegraphy)

3. โทรเลข : ประวัติโทรเลขตามสาย

ระบบแรกที่เปดใหบริการทางการคาสรางโดย Sir Charles Wheatstone และ Sir William Fothergill Cooke โดยวางสายตามรางรถไฟของบริษัท Great Western Railway เปนระยะทาง 13 ไมล จากสถานี Paddington ถึง West Drayton ในอังกฤษ เริม่ดําเนินงานเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2382 ระบบน้ีไดมีการจดสิทธิบัตรเมื่อ พ.ศ. 2380

ระบบโทรเลขน้ีพัฒนาและจดสิทธิบัตรพรอม ๆ กันในประเทศสหรัฐอเมริกาในป พ.ศ. 2380 โดย Samuel Morse เขาและผูชวยคือ Alfred Vail ประดิษฐรหสัมอรสสายโทรเลขขามมหาสมุทรแอตแลนติกสรางเสร็จสมบูรณเมื่อ พ.ศ. 2409 ทําใหสามารถสงโทรเลขขามมหาสมุทรระหวางยุโรปและอเมริกาเปนครั้งแรก

Save Our Ship

3. โทรเลข : ประวัติวิทยุโทรเลข

ต้ังแตชวงคริสตทศวรรษ 1890 Nikola Tesla และนกัวิทยาศาสตรและนกัประดิษฐอกีหลายคนไดแสดงถงึศกัยภาพและประโยชนของเทคโนโลยีไรสาย วิทยุ และวิทยุโทรเลข

Guglielmo Marconi ไดสงและรับสญัญานวิทยุสญัญานแรกในประเทศอิตาลีในป พ.ศ. 2438 เขาสงวิทยุขามชองแคบอังกฤษในป พ.ศ. 2442 และขามมหาสมุทรแอตแลนติกในป พ.ศ. 2445 จากอังกฤษถึงเมืองนิวฟนดแลนด

3. โทรเลข : ประวัติวิทยุโทรเลข

(http://www.newscotland1398.net/nfld1901/marconi-nfld.html)

3. โทรเลข : ประวัติโทรเลขไทย

เริ่มใหบริการ พ.ศ. 2418 และยุติการใหบรกิาร 30 เม.ย. 2551

http://www.trangzone.com/webboard_show.php?ID=1

2187

4. วิทย ุวิทยุกระจายเสียง

วิทยุสื่อสาร

http://radio.about.com/od/funradiothingstodo/ss

/blVirtualTour3_2.htm

http://www.creativespirits.info/resources/me

dia/aboriginal-radio-stations.html

(http://www.mikroe.com/old/books/rrbook/chapter2/chapter2.htm)

4. วิทย ุ (Amplitude Modulation)

(Frequency Modulation)

(wikipedia)

5. โทรทศัน : ประเภทการสงคลืน่

ประเภทเครื่องสงกับเสาอากาศภาคพื้นดิน

ระบบ VHF

ระบบ UHF

ประเภทเครื่องสงกับดาวเทียม

ระบบ EHF สําหรับผานดาวเทียม

ประเภทอ่ืน

เคเบิลทีวีใชกับสายไฟเบอรออฟติกและดาวเทยีม

(http://region3.prd.go.th/energy/picture/TVWave.jpeg)

5. โทรทศัน : ความละเอียดจอภาพของเครื่องรบัโทรทัศน

การแบงชวงความถีวิทยุ (radio frequency)

ชวงความถ่ี ชื่อเรียก การใชประโยชน

6. เรดาร (ระบบตรวจคนวัตถุ: ตาํแหนง & ทิศทาง)

(wikipedia)

6. เรดาร : การวัดระยะทาง/เวลา

Plane Finder

7. โทรศัพท โทรศัพทบาน (landline telephone)

คืออุปกรณเลก็ทรอนิกสท่ีใชในการสือ่สาร

สองทาง โดยอาศัยสายสัญญาณในการ

ติดตอกบัเครือขายโทรศัพท

โทรศัพทมือถือ หรือ โทรศัพทเคลื่อนที่

(mobile phone) คืออุปกรณเลก็ทรอ

นิกสท่ีใชในการสื่อสารสองทาง โดยอาศัย

คลื่นวิทยใุนการตดิตอกับเครอืขายโทร-

ศัพทมือถอืโดยผานสถานีฐาน

7. โทรศัพท : โทรศัพทบาน

หลักการทํางาน : เสียงพูดถูกไมโครโฟนของเครื่องโทรศัพทเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟา

และสงผานตามสายไปยังชุมสายโทรศัพท เพ่ือสงตอไปยังเครื่องโทรศัพทเพ่ือท่ีจะ

เปลี่ยนสัญญาณเพ่ือใหเกิดเสียงท่ีลําโพงของเครื่องโทรศัพท

ความเปนมาที่สําคัญ

โทรศัพทเปนพัฒนาตอจากโทรเลข

Alexander Graham Bell ไดรับสิทธิบัตรสําหรับโทรศพัทที่อาศัยสัญญาณไฟฟาในป พ.ศ.

2519 จากสํานักงานสิทธิบัตรและตราการคาของอเมริกา

นักวิศวกรชาวฮังการีชื่อ Tivadar Puskás ไดคิดคนระบบชุมสายโทรศัพท (telephone

switchboard) ในป พ.ศ. 2419 เชนกัน ทําใหเกิดรปูแบบการเชื่อมตอหมายเลขโทรศัพท

ซ่ึงมีทั้งเชื่อมตอโดยอัตโนมัติ และเชื่อมตอ โดยมีพนักงานตอสาย (Operator)

7. โทรศัพท : โทรศัพทเคลื่อนที่

Motorola

IBM

Nokia ป พ.ศ. 2526

รุน DynaTAC 8000X

น้ําหนัก 1.1 กิโลกรมั

ราคา US$3995

(120,000 บาท)

พ.ศ. 2525

รุน Mobira Senator

หนัก 9.8 กิโลกรมั

ราคา 4560 ยูโร

(228,000 บาท)

ป พ.ศ. 2536

รุน Simon

น้ําหนัก 0.51 กิโลกรมั

ราคา US$900 (27,000 บาท)

Smart

phone

mobile

phone

Personal Digital

Assistant (PDA)

GSM = Global System for Mobile Communications แตเดิมคือ Groupe Spécial

Mobile เปนมาตรฐานที่พัฒนาขึ้นโดย European Telecommunications Standards

Institute เพ่ือที่จะกําหนดเทคโนโลยีระบบเครือขายโทรศัพทมือถือระบบติจิตอลรุนที่ 2

7. โทรศัพท - รุนของโทรศัพทมือถือ

1G ระบบโทรศัพทมอืถือแบบอะนาลอก ระบบท่ีจดัอยูในยุคน้ีเชน NMT (Nordic Mobile

Telephone System คลื่นความถี่ 450MHz และ 470MHz), AMPS (Advanced Mobile

Phone System คลื่นความถี่ 800MHz), DataTac

2G ระบบโทรศัพทมอืถือแบบดจิิตอล ระบบท่ีจดัอยูในยุคน้ีเชน GSM, cdmaOne, PDC

2.5G ระบบโทรศัพทมอืถือแบบดจิติอล ท่ีเริ่มนําระบบ packet switching มาใช ระบบท่ีจดั

อยูในยุคน้ีเชน GPRS

2.75G ระบบท่ีจัดอยูในยุคน้ีเชน CDMA2000 1xRTT, EDGE

มาตรฐานของ GSM ถูกขยายขอบเขตเพ่ือที่จะรวมรูปแบบการสงผานขอมูล

(นอกเหนือไปจากเสียงพูด) สําหรับโทรศัพทมือถือ และการสงขอมูลในรูปแบบของแพคเก็ต

(packet data) ซ่ึงรองรับรูปแบบการสงผานขอมูลทาง INTERNET (TCP/IP หรือ

Transmission Control Protocol/Internet Protocol ) พัฒนาการของการสงขอมูลของ

โทรศัพทมือถือในชวง 2G ไดแก

• CSD = Circuit Switched Data

• HSCSD = High-Speed Circuit-Switched Data

• GPRS = General Packet Radio Services

• EDGE = Enhanced Data rates for GSM Evolution หรือ EGPRS

7. โทรศัพท : รุนของโทรศัพทมือถือ

3G ระบบโทรศัพทมอืถือแบบดจิิตอล ท่ีมีความสามารถครบท้ังการสื่อสารดวยเสียงและ

ขอมลูรวมถงึวีดิโอ ระบบท่ีจดัอยูในยุคน้ีเชน UMTS, W-CDMA, TD-SCDMA, CDMA2000

1x-EVDO

3.5G ระบบโทรศัพทมอืถือแบบดจิติอล ท่ีมีความเร็วในการสงขอมูลสูงขึ้นกวา 3G เชน

HSUPA/HSDPA

HSUPA = High-Speed Uplink Packet Access

HSDPA = High-Speed Downlink Packet Access

4G ระบบโทรศัพทมอืถือแบบดจิิตอล สามารถเช่ือมตอขอมลู 3 แบบ ภาคพืน้ดนิ CDMA

PA-H และการเช่ือมตอ ewifi และ Wi-Max เพื่อการเช่ือมภาพและเสียงเปนขอมลูเดียวกัน

3GPP = 3rd Generation Partnership Project

3GPP2 = 3rd Generation Partnership Project 2

top related