ใบงานที่ 1 ประกันคุณภาพภายใน...

28
เเเเเเ เเเเเเ : : เเเเเเ เเเเเเ ( ( เเเเเเ เเเเเเ ) ) เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเ เเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเ เเเเ เเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ . . . . เเเเ เเเเ เเเเเเเเ.............................................. เเเเ เเ...................... เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเ เเเเเ เเเเ เเเเ เเเเเเเ เเเเเเเ เเเ เเเ 1 ACTIO N DO PLAN

Upload: others

Post on 22-Sep-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

ใบงานที่ 1 ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

PAGE

16

เอกสาร : แนวทาง(คู่มือ)

การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

โรงเรียน..............................................อำเภอ......................

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต ๑

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

...........................................................................................................................................................................................

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

...........................................................................................................................................................................................

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

...........................................................................................................................................................................................

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

สารบัญ

หน้า

คำนำ........................................................................................................................................

สารบัญ....................................................................................................................................

แนวทางการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา........................................................

แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา........................................................................................................

แนวทางการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ

แนวทางการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา...............................

แนวทางการจัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา..................................................

แนวทางการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา.........................

แนวทางการจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน.................................

แนวทางจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง.......................................................

รายชื่อคณะทำงาน.....................................................................................................................

แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

องค์ประกอบ

วิธีการที่จะดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

๑. กำหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา

ขั้นที่ ๑ การวางแผน (P)

๑. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน ผู้นำชุมชน เป็นต้น

๒. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อ ศึกษาวิเคราะห์ มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับปฐมวัย ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) และข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง นโยบายและจุดเน้นของหน่วยงาน ต้นสังกัดและของสถานศึกษา ศักยภาพและบริบทของสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคาดหวังทางสังคม และคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้น

ขั้นที่ ๒ การดำเนินการ (D)

๓. นำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ มาสังเคราะห์ หลอมรวม กำหนดเป็นมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา (ฉบับร่าง)

๔. จัดทำแนวทางการนำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาสู่การปฏิบัติ (ฉบับร่าง)

ขั้นที่ ๓ การตรวจสอบ (C)

๕. นำมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ฉบับร่าง) และคู่มือการนำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาสู่การปฏิบัติ (ฉบับร่าง) นำเสนอผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้เชี่ยวชาญ วิพากษ์ ประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และให้ข้อเสนอแนะ

ขั้นที่ ๔ การปรับปรุงแก้ไข (A)

๖. ปรับปรุง แก้ไขและจัดพิมพ์มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา และคู่มือการนำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาสู่การปฏิบัติ ตามข้อเสนอแนะ

๗. นำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อขอความเห็นชอบ

๘. ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๑. มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับปฐมวัย ของโรงเรียน........

๒. แนวทางการนำมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับปฐมวัย ของโรงเรียน................สู่การปฏิบัติ

๔. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๕. หนังสือเชิญประชุม

๖. บันทึกการประชุม

๗. บันทึกความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน

๘. ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

องค์ประกอบ

วิธีการที่จะดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

๒. การจัดทำแผน พัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ขั้นที่ ๑ การวางแผน ( P )

๑. แต่งคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา

๒. ศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการจำเป็นของสถานศึกษา ข้อเสนอแนะของสมศ. ข้อเสนอแนะของ ต้นสังกัด ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของโรงเรียน (SAR)

๓. ศึกษา/วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาเพื่อประเมินภายนอก มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๔. ศึกษา/วิเคราะห์จุดเน้นระดับการการศึกษาขั้นพื้นฐานและของหน่วยงาน

ขั้นที่ ๒ ลงมือปฏิบัติ ( D )

๕. กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และความสำเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม

๖. กำหนดโครงการ/กิจกรรม

๗. กำหนดวิธีการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม โดยครอบคลุมหลักสูตรสถานศึกษาด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการเพื่อนำไปสู่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กำหนดไว้

๘. กำหนดแหล่งวิทยากรภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ

ขั้นที่ ๓ การตรวจสอบ (C)

๙. ตรวจสอบโครงการ/กิจกรรม สอดคล้อง ครอบคลุม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ขั้นที่ ๔ ปรับปรุงพัฒนา ( A )

๑๐. แก้ไข ปรับปรุง พัฒนา ในส่วนที่บกพร่อง

๑๑. จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๑๒. เสนอความเห็นความเห็นต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

๑๓. จัดพิมพ์แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๑๔. นำส่งหน่วยงานต้นสังกัด

๑. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ

๒. ทะเบียนแหล่งเรียนรู้

๓. ทะเบียนภูมิปัญญาท้องถิ่น

๔. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

๕. บันทึกการประชุม

แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

องค์ประกอบ

วิธีการที่จะดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

๓. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ

ขั้นที่ ๑ การวางแผน (P)

๑. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำระบบบริหารและสารสนเทศ

๒. ศึกษา สภาพปัญหาและความต้องการของระบบบริหารและสารสนเทศ ของสถานศึกษาให้สอดคล้อง และครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ขั้นที่ ๒ การดำเนินการ (D)

๓. จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศตามโครงสร้างการบริหารงานทั้ง 4 งานให้ชัดเจนและสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่เพียงพอต่อการบริหารจัดการศึกษา

๔. จัดบุคลากรรับผิดชอบการบริหารสารสนเทศตามโครงสร้างการบริหาร ๔ งาน และตามมาตรฐานของสถานสถานศึกษา

๕. จัดทำข้อมูลสารสนเทศโดยแยกหมวดหมู่ ตามโครงสร้างการบริหาร ๔ งาน และตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

เอกสารประกอบมาตรฐานที่ ๑……

เอกสารประกอบมาตรฐานที่ ๒……

เอกสารประกอบมาตรฐานที่ ๓ ……

…………………………………………………

……………………..มาตรฐานที่ ๑๕ ……

ขั้นที่ ๓ การตรวจสอบ (C)

๖. ตรวจสอบความครอบคลุมของข้อมูล สารสนเทศตามโครงสร้างการบริหาร ๔ งานและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ขั้นที่ ๔ การปรับปรุงพัฒนา ( A )

๗. พัฒนา ปรับปรุง ระบบข้อมูล สารสนเทศโครงสร้างการบริหาร ๔ งาน และตามมาตรฐานของสถานศึกษาให้มีความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

๑. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้รับผิดชอบ

๒. บันทึกการประชุมคณะกรรมการ

๓. แบบสำรวจข้อมูล/แบบบันทึกข้อมูล

๔. ข้อมูลผลการวิเคราะห์

๕. ตาราง แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงาน ๔ งาน พร้อมทั้งงานย่อย

๖. แผนภูมิโครงสร้างผู้รับผิดชอบตามภาระงาน

๗. แผนภูมิและแฟ้มข้อมูลสารสนเทศตามภาระงานและมาตรฐาน

๘. แบบตรวจสอบ ความถูกต้อง ครอบคลุมของข้อมูลสารสนเทศ

๙. บันทึกการปรับปรุง พัฒนา

แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

องค์ประกอบ

วิธีการที่จะดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

๔. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ขั้นที่ ๑ การวางแผน (P)

๑. ประชุม ชี้แจงครู ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทำความเข้าใจแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา

๒. จัดทำคำสั่งมอบหมายงานที่ชัดเจน ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

๓. จัดทำปฏิทินปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปี

ขั้นที่ ๒ การดำเนินการ (D)

๔. ดำเนินการตามแผน

๕. ผู้บริหารให้การส่งเสริม สนับสนุนจัดสิ่งอำนวยความ สะดวกในการทำงานอย่างเพียงพอ

ขั้นที่ ๓ การตรวจสอบ (C)

๖. นิเทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาประจำปี ตามปฏิทินนิเทศ ติดตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกรณีที่พบปัญหาก็ให้แก้ไขเพื่อให้ โครงการ และกิจกรรม ดำเนินไปให้บรรลุวัตถุประสงค์

๗. ประเมินโครงการและกิจกรรมทุกโครงการในแผนพัฒนาการจัดการศึกษาประจำปี แล้วสรุปเป็นข้อมูลสารสนเทศ

ขั้นที่ ๔ การปรับปรุงพัฒนา (A)

๘. นำส่วนที่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ไปพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นส่วนที่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์หรือต้องปรับปรุง ให้นำกลับไปจัดทำแผนเพื่อปรับปรุง แก้ไขปัญหาในปีถัดไป

๑. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๒. แผนปฏิบัติการประจำปี......

๓. บันทึกการประชุม

๔. คำสั่ง

๕. ปฏิทินปฏิบัติงาน

๖. แบบนิเทศ ติดตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

๗. แบบประเมินโครงการ

๘. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

องค์ประกอบ

วิธีการที่จะดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมา

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

๕. จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

ขั้นที่ ๑ การวางแผน (P)

๑. รวบรวมข้อมูลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนงานโดยใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นกรอบการตรวจสอบ ทบทวน

๒. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

๓. จัดทำเครื่องมือในการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา และกำหนดแผน/ปฏิทินติดตาม ตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาให้ชัดเจน และแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้อง/หรือผู้รับการตรวจทราบ

ขั้นที่ 2 การดำเนินการ (D)

๔. คณะกรรมการดำเนินการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียนเป็นกรอบการตรวจสอบทบทวน

๕. รายงานผลการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๖. รายงานผลการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา

ขั้นที่ 3 การตรวจสอบ (C)

๗. ตรวจสอบการดำเนินงานและผลการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อกำหนดมาตรการเร่งรัด ปรับปรุง พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้เป็นปัจจุบัน และมีประสิทธิภาพในกรณีที่พบปัญหาและอุปสรรค ให้รีบดำเนินการแก้ไข

ขั้นที่ ๔ การปรับปรุงพัฒนา (A)

๘. นำผลที่ได้จากการรายงานผลการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษามาประชุมเพื่อกำหนดมาตรการเร่งรัด พัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป กรณีที่มีปัญหา อุปสรรคที่ต้องรีบดำเนินการแก้ไข

๙. นำผลที่ได้จากการรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียน มาประชุมเพื่อกำหนดวิธีการ/แนวทางยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนร่วมกัน

๑๐. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

๑. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการ

๒. บันทึกการประชุมครู

๓. เครื่องมือในการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา

๔. แผนติดตามตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา

๕. ข้อมูลสารสนเทศสำหรับรองรับการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา

๖. รายงานผลการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา

๗. รายงานผลการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา

๘.รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

๙.แบบประเมินความพึงพอใจในเรื่องที่ตรวจสอบ

๑๐. มาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (กรณีที่มีปัญหา อุปสรรคที่ต้องรีบดำเนินการ แก้ไข)

๑๑. วิธีการ/แนวทางยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

๑๒. หลักฐาน/เอกสารเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

องค์ประกอบ

วิธีการที่จะดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

๖. การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ขั้นที่ ๑ การวางแผน (P)

๑. ดำเนินการวางแผนร่วมกันของครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

๒. ศึกษามาตรฐาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด การดำเนินการ

๓. จัดทำเครื่องมือสำหรับการประเมินตามมาตรฐาน

4. จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน

ขั้นที่ ๒ การดำเนินการ (D)

๕. ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ด้านคุณภาพผู้เรียนโดยสถานศึกษา ในประเด็นดังนี้

- คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้

- สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา

- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น

- พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน โดยระบุได้ถึงกลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน กลุ่มผู้เรียนที่มีคุณลักษณะยังไม่เป็นไปตามที่พึงประสงค์

๖. ดำเนินการประเมินคุณภาพประสิทธิภาพของการบริหารจัดการตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาด้วยวิธีการที่หลากหลาย และเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการประเมิน

๑. คำสั่ง

๒. บันทึกการประชุม

๓. ปฏิทินการปฏิบัติงาน

๔. เครื่องมือการประเมิน

๕. บันทึกการสรุปงานต่างๆ

๖. สรุป/รายงานโครงการ/กิจกรรม

๗. แผนการจัดการเรียนรู้

๘. รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน

แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

องค์ประกอบ

วิธีการที่จะดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

๖. การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (ต่อ)

ขั้นที่ ๓ การตรวจสอบ (C)

๗. ดำเนินการตรวจสอบ นิเทศ ติดตาม กำกับ ได้แก่

- คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้

- สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา

- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น

- พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน โดยระบุได้ถึงกลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน กลุ่มผู้เรียนที่มีคุณลักษณะยังไม่เป็นไปตามที่พึงประสงค์

- คุณภาพประสิทธิภาพของการบริหารจัดการตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ที่สถานศึกษากำหนดไว้ทุกมาตรฐาน

ขั้นที่ ๔ การปรับปรุงพัฒนา (A)

๘. นำข้อมูลของผลที่ได้จากกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน ซึ่งได้แก่ คุณภาพนักเรียนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่สถานศึกษากำหนดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และคุณภาพ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการตามมาตรฐานของสถานศึกษา ได้แก่

· การวางแผน

· การดำเนินงาน

- การนิเทศติดตาม ประเมินผล

แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

องค์ประกอบ

วิธีการที่จะดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมาย

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

๗. การจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน (SAR)

ขั้นที่ ๑ การวางแผน (P)

๑. ประชุมปรึกษาสร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจ ความจำเป็นในการจัดทำรายงาน และกำหนดขั้นตอนการจัดทำรายงาน ครู บุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวข้องทุกฝ่าย

๒. กำหนดขอบเขตและแนวทางการดำเนินงาน

๓. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำรายงานการประเมินคุณภาพภายใน

๔. จัดทำปฏิทินการดำเนินงาน

ขั้นที่ ๒ การดำเนินงาน (D)

๕. รวบรวมข้อมูลจากการประเมินมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ครบถ้วนทุกมาตรฐานและตัวบ่งชี้

๖. นำผลการประเมินมาวิเคราะห์ข้อมูล

๗. ยกร่างรายงานประเมินคุณภาพภายใน SAR ตามรูปแบบการเขียนรายงาน

ส่วนที่ ๒ ข้อมูลพื้นฐาน

ส่วนที่ ๒ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ส่วนที่ ๓ ผลการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ส่วนที่ ๔ สรุปผลการพัฒนาและการนำผลไปใช้

ขั้นที่ ๓ การตรวจสอบ (C)

๘. นำร่างรายงานการประเมินคุณภาพภายในเสนอให้คณะกรรมการและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย วิพากษ์ ปรับปรุง แก้ไข และให้ข้อเสนอแนะ

ขั้นที่ ๔ การปรับปรุงพัฒนา (A)

๙. จัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ ตามรูปแบบการเขียนรายงาน

๑๐. เสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อให้ความเห็นชอบ

๑๑. รายงานหน่วยงานต้นสังกัด เผยแพร่ต่อสาธารณชน และแจ้งให้คณะครูรับทราบ

๑. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

๒. แผนปฏิบัติการประจำปี……และรายงาน โครงการ/ กิจกรรม / สรุปโครงการต่างๆ

๓. รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) รอบที่ผ่านมา

๔. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๕. หลักสูตรสถานศึกษา

๖. ข้อมูลสารสนเทศ

๗. สำเนาบันทึกการประชุม

๘. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำ รายงานการประเมินคุณภาพภายใน (SAR)

๙. เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล

๑๐. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการประเมิน NT / O-NET / LAS

๑๑. ทะเบียนแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

๑๓. ทะเบียนสื่อ/การใช้สื่อ

๑๔. ทะเบียนการใช้ห้องปฏิบัติการ / ห้องพิเศษต่างๆ

๑๕. ปฏิทินปฏิบัติงาน

๑๖. ภาพกิจกรรม

แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

องค์ประกอบ

วิธีการที่จะดำเนินการให้เกิดผลสำเร็จตาเป้าหมาย

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

๘. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

ขั้นที่ ๑ การวางแผน (P)

๑. สร้างจิตสำนึกให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเห็นความสำคัญ ของการพัฒนาการศึกษาจะต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

๒. กำหนดเป้าหมายการพัฒนา แนวทางการดำเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณ

ขั้นที่ ๒ การดำเนินงาน (D)

๔. นำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปีในทุกขั้นตอน และผลการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) มาวิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหา และหาแนวทางปรับปรุง แก้ไข เพื่อนำไปใช้ในการวางแผน ออกแบบ และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษาในปีถัดไปอย่างต่อเนื่อง

๕. วางแผนพัฒนาระบบการนิเทศภายใน เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

๖. กำหนดขั้นตอนการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ายของสถานศึกษาและบุคลากรภายนอก ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน โดยเน้นการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน(SBM)

๗. กำหนดมาตรฐานที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของสถานศึกษาอย่างเด่นชัด เพื่อสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของสถานศึกษาร่วมกัน จัดระบบและโครงสร้าง ที่เหมาะสม วางแผนและดำเนินงานตามแผน โดยเน้นระบบคุณภาพมีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามรอบระยะ เวลาที่เหมาะสมและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

๑. บันทึกการประชุม

๒. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ

๓. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๔. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๕. ข้องมูลสารสนเทศของสถานศึกษา

๖. รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ประจำปี

๗. แบบสรุปการเก็บข้อมูลต่าง ๆ

๘. อัตลักษณ์/จุดเน้นของสถานศึกษา

คณะผู้จัดทำ

....................................................................

....................................................................

....................................................................

....................................................................

....................................................................

....................................................................

....................................................................

....................................................................

CHECK

DO

ACTION

PLAN