วิสัยทัศน์ - oocities · web viewเก ยวก บ ประว ต พ...

177

Upload: others

Post on 26-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

วิสัยทัศน์

หลักศรัทธา

…………………………………

…………………………………

…………………………………

…………………………………

…………………………………

หลักปัญญา

…………………………………

…………………………………

…………………………………

…………………………………

…………………………………

วิสัยทัศน์

โรงเรียนนครสวรรค์ มุ่งจัดการศึกษา อบรมให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์เต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล มีความรู้สึกที่ดีต่อทุกสัมมาชีพ ควบคู่ไปกับคุณธรรมและจริยธรรม ที่ดีงามและมีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญาโดยทั่วกัน

พันธกิจ

๑. เป็นแกนนำในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพและคุณธรรมจริยธรรมของผู้เรียน

๒. ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของครูมืออาชีพ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณครู

๓. จัดการศึกษาและกระจายอำนาจการบริหาร โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่องค์กร ให้สามารถบริหารและจัดการศึกษาได้ตามนโยบายแผนและมาตรฐานเการศึกษาของชาติ

๔. กำกับ ประเมินผล ตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพ

เป้าหมาย

เพื่อให้นักเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคลมีคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม และดำรงชีวิตแบบวิถีไทยอย่างมีความสุข

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑. มีความเมตตา กรุณา ซื่อสัตย์สุจริต มีน้ำใจ มีความสามัคคี

๒. มีวินัย มีความรับผิดชอบ

๓. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการอ่าน รักการเขียน รักการค้นคว้า และรักการออกกำลังกาย

๔. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อม

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔

หลักการ

เพื่อให้การจักการศึกษาชั้นพื้นฐานเป็นไปตามแนวนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศ จึงกำหนดหลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไว้ดังนี้

๑. เป็นการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มุ่งเน้นความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล

๒. เป็นการศึกษาเพื่อปวงชนที่ประชาชนทุกคนจะได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาพ และเท่าเทียมกัน โดยสังคมมีส่วนร่วมในการจดการศึกษา

๓. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยถือว่าผู้เรียนมีความ สำคัญที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักกยภาพ

๔. เป็นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระ เวลาและการจัดการเรียนรู้

๕. เป็นหลักสูตรที่จัดการศึกษาได้ทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย

หลักสูตรการศึกษาชั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดจุดหมาย ซึ่งถือเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดังต่อไปนี้

๑. เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์

๒. มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการอ่าน รักการเขียน และรักการค้นคว้า

๓. มีความรู้อันเป็นสากล รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทำงานได้เหมาะสมกับสถานการณ์

๔. มีทักษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทักษะการคิด การสร้างปัญญา และทักษะในการดำเนินชีวิต

๕. รักการออกกำลังกาย ดูแลตนเองให้มีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี

๖. มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค มีค่านิยมเป็นผู้ผลิตมากกว่าเป็นผู้บริโภค

๗. เข้าใจในประวัติศาสตร์ของชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย เป็นพลเมืองดี ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

๘. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทยทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อม

๙. รักประเทศชาติและท้องถิ่นมุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามให้สังคม

มาตรการเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ๑๐ ประการ

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

· ทำสมาธิก่อนเรียนทุกวัน

· หมั่นสวดมนต์หรือปฏิบัติตามแนวศาสนา

· ร่วมกิจกรรมนานาในวันสำคัญ

· อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

· คิดติดตามความเคลื่อนไหวข่าวเหตุการณ์

· ทุกปีเข้าค่ายพัฒนาคุณธรรม

· บันทึกเป็นนิจเมื่อทำความดี

· เป็นประจำเคารพตามแบบไทย

· สืบค้นหาเรียนรู้จากแหล่งทั่วไป

· จดรายได้รายจ่ายทุกสัปดาห์

ตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและสาระการเรียนรู้รหัสมาตรฐาน

ช่วงชั้นที่เกี่ยวข้อง

ผลกการเรียนรู้ที่คาดหวังสาระการเรียนรู้กระบวนการ

วิธีการ/เครื่องมือ

ในการประเมินผล

ส. 41201

มาตรฐาน ส 1.1

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 4

1. เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ทฤษฎีทางพระพุทธศาสนาที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง

ทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง ศรัทธาและปัญญา

- กระบวนการสอนแบบไตรสิกขา

1. การสังเกต

2. ตรวจใบงาน

3. ตั้งคำถาม-ตอบคำถาม

2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในเรื่องการพัฒนาศรัทธา และปัญญาที่ถูกต้อง สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง

- กระบวนการสอนแบบธรรมกัจฉา

1. สังเกต

2. ตรวจใบงาน

3. ความร่วมมือการทำงานกลุ่ม

3. เพื่อให้นักเรียนวิเคราะห์ สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าได้

สังคมชมพูทวีป

วิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนา สมัยก่อนพระพุทธเจ้า

- กระบวนการสอนแบบอุปมาอุปไมย

1. ตรวจใบงาน

2. สังเกตพฤติกรรม

3. การถาม-ตอบ

ตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและสาระการเรียนรู้รหัสมาตรฐานช่วงชั้นที่เกี่ยวข้องผลกการเรียนรู้ที่คาดหวังสาระการเรียนรู้กระบวนการ

วิธีการ/เครื่องมือ

ในการประเมินผล

4. เพื่อให้นักเรียนสามารถสรุปวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้ และก่อตั้งพระพุทธศาสนาได้

การตรัสรู้

สรุปวิเคราะห์พุทธประวัติ การตรัสรู้และการก่อตั้งระพุทธศาสนา

- กระบวนการสืบสวนสอบสวน ตามแนวพระพุทธศาสนา

1. สังเกต

2. ตรวจใบงาน

3. เสนอผลงานของกลุ่ม

มาตรฐาน ส 1.2

มาตรฐานช่วง

ชั้นที่ 4

5. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ วิเคราะห์ความหมาย และคุณค่าของพุทธะได้

พระรัตนตรัย

วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุทธะ

- กระบวนการสอนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning)

1. สังเกต

2. ตรวจใบงาน

6. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ และเข้าใจเรื่องของอริยสัจ 4 สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

อริยสัจ 4

1. ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

- ขันธ์ 5

- นามรูป

2. สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)

- หลักกรรม

- นิยาม 5

- วิตก 5

3. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)

- ภาวนา 4

4. มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

- กระบวนการระดมพลังสมอง (Brains torming)

- สรุปการอภิปราย

- แบบประเมิน

- การเสนอผลงานกลุ่ม

- การสังเกตพฤติกรรม

ตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและสาระการเรียนรู้รหัสมาตรฐาน

ช่วงชั้นที่เกี่ยวข้อง

ผลกการเรียนรู้ที่คาดหวังสาระการเรียนรู้กระบวนการ

วิธีการ/เครื่องมือ

ในการประเมินผล

มาตรฐาน ส 1.3

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 4

7. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับเรื่อง พระสัทธรรม 3 และสามารถนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

พระสัทธรรม 3

1. ปัญญาวุฒิธรรม 4

2. พละ 5

3. อุบาสกกรรม 5

4. มงคล 38

4.1 สงเคราะห์บุตร

4.2 สงเคราะห์ภรรยา

4.3 สันโดษ

- กระบวนการจัดการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning)

- การสังเกตพฤติกรรม

- ตรวจรายงาน

- แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

8. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์และนำเอาพระพุทธศาสนสุภาษิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

พุทธศาสนสุภาษิต

- ความหมาย

- ตัวอย่างพุทธศาสนสุภาษิต

- กระบวนการสอนแบบสืบค้น (Inquiry Process)

1. การสังเกตพฤติกรรม

2. สรุปการอภิปราย

3. แบบประเมินผล

9. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ และนำเอาพระพุทธศาสนสุภาษิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

พระไตรปิฎก

วิธีการศึกษาและค้นคว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์อื่น ๆ

- กระบวนการจัดการเรียนรู้ การตั้งคำถาม (Questioning)

- การสังเกต

- ตรวจใบงาน

- แบบประเมินผลแสดงความคิดเห็น

ตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและสาระการเรียนรู้รหัสมาตรฐานช่วงชั้นที่เกี่ยวข้องผลกการเรียนรู้ที่คาดหวังสาระการเรียนรู้กระบวนการ

วิธีการ/เครื่องมือ

ในการประเมินผล

10. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการครองตนเป็นพลเมืองที่ดี และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

การครองตน

การคอรงตนเป็นพลเมืองที่ดี

- กระบวนการสอนแบบเผชิญสถานการณ์

- การสังเกตพฤติกรรม

- การสรุปของนักเรียน

- แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

11. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ เรื่อง ภพ-ภูมิ

ภพ-ภูมิ

- กระบวนการเรียนการสอนทางอ้อม (Indirect Instruction)

- การสังเกตพฤติกรรม

- ตรวจใบงาน

- แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

มาตรฐาน ส 1.1

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 4

12. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ประวัติของ

1) พระอัสสชิ

2) พระกีสาโคตมี

3) พระนางมัลลิกา

4) หมอชีวกโกมารภัจจ์

และสามารถวิเคราะห์คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างได้อย่างถูกต้อง

- ประวัติพุทธสาวก

- พุทธสาวิกา

- ชาวพุทธตัวอย่าง

- กระบวนการสอนแบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role-playing)

1. แบบประเมินการ ทำงานกลุ่ม

2. สังเกตพฤติกรรม

3. การตรวจใบงาน

ตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและสาระการเรียนรู้รหัสมาตรฐานช่วงชั้นที่เกี่ยวข้องผลกการเรียนรู้ที่คาดหวังสาระการเรียนรู้กระบวนการ

วิธีการ/เครื่องมือ

ในการประเมินผล

13. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพระเวสสันดร และสามารถวิเคราะห์และนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน

พระเวสสันดร

- กระบวนการจัดการเรียนแบบร่วมมือและบทบาทสมมุติ

- แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

- การให้ความร่วมมือ

- ตรวจผลงาน

14. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับพระสงฆ์ผู้เป็นที่สักการะบูชาของประชาชน และผู้เป็นที่พึ่งของผู้บาดเจ็บทางกระดูก

- หลวงพ่อเดิม

- หลวงปู่อินทร์

- กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) และกระบวนการจัดบทบาทสมมุติ

- แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

- ความร่วมมือในการแสดง

- ตรวจผลงาน

ตารางวิเคราะห์หลักสูตร

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๑-๒

ชื่อหน่วย ทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สาระการเรียนรู้

กระบวนการ

๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์ทฤษฎีทางพระพุทธศาสนาที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางได้

ทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง ศรัทธาและปัญญา

๑. นำภาพพุทธประวัติมาให้นักเรียนดู

๒. เล่าเรื่องประกอบ

๓. ให้นักเรียนวาดภาพ

๔. สอบพระพุทธศาสนาบูรณาการกับศิลปศึกษา

กระบวนการสอน

แบบไตรสิกขา

๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในเรื่องการพัฒนา ศรัทธาและปัญญา สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง

๑. แบ่งกลุ่มศึกษาวิเคราะห์

๒. ให้นักเรียนทำสื่อให้สอดคล้องกับเรื่องที่ได้รับมอบหมาย

๓. ให้นักเรียนเขียนรายงาน

๔. สอนวิชาพระพุทธศาสนาบูรณาการกับภาษาไทย

กระบวนการสอน

แบบธรรมสากัจฉา

ตารางวิเคราะห์หลักสูตร

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๓-๔

ชื่อหน่วย สังคมชมพูทวีป

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สาระการเรียนรู้

กระบวนการ

๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติ ความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าได้

สังคมชมพูทวีป

- วิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า

๑. ให้นักเรียนทำใบงานแผนที่แสดงแคว้นต่างๆ ในชมพูทวีปสมัยพุทธกาล

๒. ทำใบงานระบอบการปกครองแคว้นต่าง ๆ ในชมพูทวีปสมัยพุทธกาล

๓. สอนวิชาพระพุทธศาสนาบูรณาการวิชาศิลปศึกษาและวิชาภาษาไทย

กระบวนการสอน

แบบอุปมา อุปไม

๔. เพื่อให้นักเรียนสามารพสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนาได้

การตรัสรู้

- สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนา

๑. ให้นักเรียนอภิปรายและวิเคราะห์ถึงแนวทางการตรัสรู้และการเผยแพร่พระพุทธศาสนา

๒. สอนวิชาพระพุทธศาสนาบูรณรการกับวิชาภาษาไทย

กระบวนการสอน

แบบสืบสวนสอบสวนตามแนวพระพูทธศาสนาศาสนา

ตารางวิเคราะห์หลักสูตร

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๕-๖

ชื่อหน่วย พระรัตนตรัย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สาระการเรียนรู้

กระบวนการ

๕. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพระพุทธะได้

พระรัตนตรัย

- วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุทธะ

๑. แบ่งกลุ่ม ๕-๗ คน

๒. ครูชัเจงกรอบกิจกรรมกฎเกณฑ์การทำงาน

๓. สมาชิกนำผลงานมารวมกัน

๔. สอนวิชาพระพุทธศาสนาบูรณาการกับวิชาภาษาไทย

กระบวนการสอน

แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)

๖. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของอริยสัจ ๔ สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

อริยสัจ ๔

๑. ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

· ขันธ์ ๕

· นามรูป

๒. สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)

· หลักกรรม

· นิยาม ๕

· วิตก ๓

๓. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)

· ภาวนา ๔

๔. มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

๑. กำหนดกลุ่มละ ๔-๙

๒. แบ่งประเด็นปัญหา

๓. แต่ละกลุ่มออกมารายงานหน้าชั้นเรียน

๔. สอนวิชาพระพทุธศาสนาบูรณาการกับภาษาไทย

กระบวนการสอน

แบบระดมพลังสมอง (Brains torming)

ตารางวิเคราะห์หลักสูตร

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๗-๙

ชื่อหน่วย พระไตรปิฎก

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สาระการเรียนรู้

กระบวนการ

๗. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับเรื่องพระสัทธรรม ๓ และสามารถนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

พระสัทธรรม ๓

๑. ปัญญาวุฒิธรรม ๔

๒. พละ ๕

๓. อุบาสกกรรม ๕

๔. มงคล ๒๘

๔.๑ สงเคราะห์บุตร

๔.๒ สงเคราะห์ภรรยา

๔.๓ สันโดษ

๑. แบ่งกลุ่มนักเรียน

๒. สรุปบทเรียนและประเมินผลการทำงานกลุ่ม

๓. สอนวิชาพระพุทธศาสนาบูรณาการกับภาษาไทย

กระบวนการสอน

แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)

๘. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถววิเคราะห์และนำเอาพุทธศาสนสุภาษิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

พุทธศาสนสุภาษิต

สอนวิชาพระพทุธศาสนาบูรณาการกับภาษาไทย

กระบวนการสอน

แบบสืบค้น (Inquiry Process)

๙. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ วิธีการศึกษาและค้นกว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ได้

พระไตรปิฎก

วิธีการศึกษาและค้นคว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ๆ

๑. ตั้งคำถามให้ตรงจุดประสงค์การเรียนรู้

๒. ให้นักเรียนอธิบายพระไตรปิฎก

กระบวนการสอน

แบบการตั้งคำถาม (Questioning)

ตารางวิเคราะห์หลักสูตร

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๑๐–๑๑

ชื่อหน่วย การครองตน

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สาระการเรียนรู้

กระบวนการ

๑๐. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการครองตนเป็นพลเมืองที่ดีและสามารถนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

การครองตน

- การครองตนเป็นพลเมืองที่ดี

ให้นักเรียนนำเรื่องจากหนังสือพิมพ์มาคิดวิเคราะห์สภานการณ์จริง

กระบวนการสอน

แบบการเผชิญสถานการณ์

๑๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ในเรื่อง ภพ-ภูมิ

ภพ-ภูมิ

๑. ทำใบงานเรื่องกฎแห่งกรรมมาคนละ ๑ เรื่อง

๒. ให้นักเรียนนำเสนอผลงาน

๓. สอนวิชาพระพทุธศาสนาบูรณาการกับภาษาไทย

กระบวนการสอน

แบบทางอ้อม (Indirect Instruction)

ตารางวิเคราะห์หลักสูตร

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๑๒

ชื่อหน่วย ประวัติพุทธสาวก

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สาระการเรียนรู้

กระบวนการ

๑๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจประวัติของ :-

๑. พระอัสสชิ

๒ พระกีสาโคตมี

๓. พระนางมัลลิกา

๔. หมอชีวกโกมารภัจจ์

และสามารถวิเคราห์คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างได้อย่งถูกต้องเหมาะสม

ประวัติ

· พุทธสาวก

· พุทธสาวิกา

· ชาวพุทธตัวอย่ง

๑. ให้นักเรียนนั่งสมาธิ ๑-๓ นาที

๒. ให้นักเรียนเลขที่ ๑ ถึงเลขที่สุดท้ายหมุนเวียนออกมาพูดหน้าชั้นครั้งลุ ๑–๑๐ ข้อ

๓. ให้นักเรียนฝึกเบญจางคประดิษฐ์

๔. ให้นักเรียนฝึกกราบเบญจางคประดิษฐ์ (ในห้องคุณธรรม) แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น ๔ กลุ่มล่วงหน้า ๒-๓ สัปดาห์ โดยให้นักเรียนแสดงละครประวัติของบุคคลดังต่อไปนี้

กลุ่ม ๑ พระอัสสชิ

กลุ่ม ๒ พระกีสาโคตมีเถรี

กลุ่ม ๓ พระนางมัลลิกา

กลุ่ม ๔ หมอชีวกโกมารภัจจ์

ให้นักเรียนศึกษาบทละครและเลือกบทบาทอะไรตามความเหมาะสม

๕. ให้นักเรียนเขียนใบงานคุณธรรมบุคคลที่ชื่นชอบ

๖. สอนวิชาพระพุทธศาสนาบูรณาการกับวิชาศิลปและภาษาไทย

กระบวนการสอน

แบบบทบาทสมมุติ

ตารางวิเคราะห์หลักสูตร

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๑๓–๑๔

ชื่อหน่วย พระเวสสันดร

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สาระการเรียนรู้

กระบวนการ

๑๓. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพระเวสสันดรและสามารถวิเคราะห์แบะนำมาปรัยใช้ในชีวิตประจำวันได้

พระเวสสันดร

กระบวนการสอน

แบบบทบาทสมมุติ

๑๔. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับพระสงฆ์ผู้เป็นที่สักการะบูชาของประชาชนและผู้เป็นที่พึ่งของผู้บาดเจ็บทางกระดูก

ประวัติ

- หลวงพ่อเดิม

- หลวงพ่ออิน

๑. ให้นักเรียนศึกษาประวัติหลวงพ่อเดิมและหลวงพ่ออินทร์ ซึ่งเป็นพระภิกษุตัวอย่างในจังหวัดนครสวรรค์

๒. ให้นักเรียนเขียนใบงานแสดงความคิดเห็นในความดีงามของหลวงพ่อทั้งสอง

กระบวนการสอน

แบบร่วมมือและบทบาทสมมุติ

ตารางวิเคราะห์เนื้อหา/เวลา

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๑-๒

ชื่อหน่วย ทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เนื้อหา

เวลา (ชั่วโมง)

๑. เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ทฤฏฎีทางพระพุทธศาสนาที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางได้

- ปฐมนิเทศ

- ทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล

- พระพุทธศาสนามีทฤษฎและวิธีการที่เป็นสากลและมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง

- ศรัทธาและปัญญา

๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในเรื่องการพัฒนา ศรัทธาและปัญญา สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

- พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง

ตารางวิเคราะห์เนื้อหา/เวลา

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๓-๔

ชื่อหน่วย สังคมชมพูทวีป

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เนื้อหา

เวลา (ชั่วโมง)

๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติ ความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าได้

สังคมชมพูทวีป

- วิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า

๔. เพื่อให้นักเรียนสามารพสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนาได้

การตรัสรู้

- สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนา

ตารางวิเคราะห์เนื้อหา/เวลา

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๕-๖

ชื่อหน่วย พระรัตนตรัย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เนื้อหา

เวลา (ชั่วโมง

๕. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพระพุทธะได้

พระรัตนตรัย

- วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุทธะ

๖. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของอริยสัจ ๔ สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

อริยสัจ ๔

๑. ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

· ขันธ์ ๕

· นามรูป

๒. สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)

· หลักกรรม

· นิยาม ๕

· วิตก ๓

๓. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)

· ภาวนา ๔

๔. มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

ตารางวิเคราะห์เนื้อหา/เวลา

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๗-๙

ชื่อหน่วย พระไตรปิฎก

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เนื้อหา

เวลา (ชั่วโมง)

๗. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับเรื่องพระสัทธรรม ๓ และสามารถนไปปรับใชในชีวิตประจำวันได้

พระสัทธรรม ๓

๑. ปัญญาวุฒิธรรม ๔

๒. พละ ๕

๓. อุบาสกกรรม ๕

๔. มงคล ๒๘

๔.๑ สงเคราะห์บุตร

๔.๒ สงเคราะห์ภรรยา

๔.๓ สันโดษ

๘. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถววิเคราะห์และนำเอาพุทธศาสนสุภาษิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

พุทธศาสนสุภาษิต

๙. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ วิธีการศึกษาและค้นกว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ไ ได้

พระไตรปิฎก

วิธีการศึกษาและค้นกว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ๆ

ตารางวิเคราะห์เนื้อหา/เวลา

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๑๐–๑๑

ชื่อหน่วย การครองตน

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เนื้อหา

เวลา (ชั่วโมง)

๑๐. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการครองตนเป็นพลเมืองที่ดีและสามารถนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

การครองตน

- การครองตนเป็นพลเมืองที่ดี

๑๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ในเรื่อง ภพ-ภูมิ

ภพ-ภูมิ

ตารางวิเคราะห์เนื้อหา/เวลา

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๑๒

ชื่อหน่วย ประวัติพุทธสาวก

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เนื้อหา

เวลา (ชั่วโมง)

๑๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจประวัติของ :-

๑. พระอัสสชิ

๒ พระกีสาโคตมี

๓. พระนางมัลลิกา

๔. หมอชีวกโกมารภัจจ์

และสามารถวิเคราห์คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างได้อย่งถูกต้องเหมาะสม

ประวัติ

· พุทธสาวก

· พุทธสาวิกา

· ชาวพุทธตัวอย่าง

ตารางวิเคราะห์เนื้อหา/เวลา

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยที่ ๑๓–๑๔

ชื่อหน่วย พระเวสสันดร

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เนื้อหา

เวลา (ชั่วโมง)

๑๓. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพระเวสสันดรและสามารถวิเคราะห์และนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

พระเวสสันดร

๑๔. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับพระสงฆ์ผู้เป็นที่สักการะบูชาของประชาชนและผู้เป็นที่พึ่งของผู้บาดเจ็บทางกระดูก

ประวัติ

- หลวงพ่อเดิม

- หลวงพ่ออินทร์

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระการเรียนรู้พื้นฐาน

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

(ภาคเรียนที่ ๑) เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษา วิเคราะห์ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำภูมิปัญญาท่องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้

พุทธประวัติ สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้และการก่อตั้ง พระพุทธศาสนา

ชาดก เรื่องเวสสันดรชาดก วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ ศึกษา วิเคราะห์คุณค่าผลงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพระพุทธศาสนา มุ่งอนุรักษ์ศาสนวัตถุและศาสนสถานในท้องถิ่น

พระธรรม เกี่ยวกับ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่อง พระรัตนตรัย (วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพระพุทธะ) อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) : ขันธ์ ๕–นานรูป, สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) : หลักกรรม-นิยาม ๕ วิตก ๓, นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) : ภาวนา ๔, มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) : พระสัทธรรม ๓ ปัญญาวุฒิธรรม ๔ พละ ๕ อุบาสกธรรม ๕ มงคล ๓๘ ในเรื่องสงเคราะห์บุตร สงเคราะห์ภรรยา และสันโดษ พุทธศาสนสุภาษิต คือ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ (จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้) น อุจฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ (บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึ้น ๆ ลง ๆ) นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต (คนที่ไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก) โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ (ฆ่าความโกรธได้ย่อมอยู่เป็นสุข)

พระไตรปิฎก วิเคราะห์ความสำคัญและคุณค่าของพระไตรปิฎก เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก การครองตนเป็นพลเมืองที่ดี ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา คือ ภพ-ภูมิ

พระสงฆ์ เกี่ยวกับ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา เรื่องพระอัสสชิ พระกีสาโตมีเถรี พระนางมัลลิกา และหมอชีวกโกมารภัจ ชาวพุทธตัวอย่าง พระนาถเสน-พระยามิลินท์ สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต สุชีพ ปุญญานุภาพ หน้าที่ชาวพุทธ เรื่อง การเข้าใจในกิจของพระภิกษุ เช่น การศึกษา การปฏิบัติธรรม และการเป็นนักบวชที่ดี การศึกษาเรื่องหลวงพ่อเดิม (พระครูนิวาสธรรมขันธ์) พระสงฆ์ผู้เป็นที่สักการะบูชาของประชาชน หลวงพ่ออินทร์ (พระครูนิโรธธรรมประยุกต์) พระสงฆ์ ผู้เป็นที่พึ่งของผู้บาดเจ็บทางกระดูก

เพื่อให้เกิดศรัทธาอย่างยิ่งต่อพระรัตนตรัย และรักการเรียนรฝู้พระพุทธศาสนาประพฤติปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนานิกชนที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมในการอยู่ร่วมกันในสังคมและสามารถนำหลักธรรมไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ การทำงานอย่างมีคุณค่าต่อชีวิตตนเองและสังคมโดยส่วนรวม

*********

ผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 4

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ เรื่องพระพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ เรื่องพระธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ เรื่องพระสงฆ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

หน่วยการเรียนรู้

รายวิชา ส ๔๑๒๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปีการศึกษา ๒๕๔๘

หน่วย

การเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระหน่วยการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

จำนวน

(ชั่วโมง)

พุทธศาสนาสุภาษิต

๘. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถววิเคราะห์และนำเอาพุทธศาสนสุภาษิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

พระไตรปิฎก วิธีการศึกษาและค้นกว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ๆ

๙. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ วิธีการศึกษาและค้นกว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ได้

๑๐

การครองตน

๑๐. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการครองตนเป็นพลเมืองที่ดีและสามารถนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

๑๑

ภพ-ภูมิ

๑๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องภพ-ภูมิ

๑๒

ประวัติ

· พุทธสาวก

· พุทธสาวิกา

· ชาวพุทธตัวอย่ง

๑๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจประวัติของ :-

๑. พระอัสสชิ

๒ พระกีสาโคตมี

๓. พระนางมัลลิกา

๔. หมอชีวกโกมารภัจจ์

และสามารถวิเคราห์คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างได้อย่งถูกต้องเหมาะสม

๑๓

พระเวสสันดร

๑๓. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพระเวสสันดรและสามารถวิเคราะห์แบะนำมาปรัยใช้ในชีวิตประจำวันได้

๑๔

ประวัติ

- หลวงพ่อเดิม

- หลวงพ่ออินทร์

๑๔. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับพระสงฆ์ผู้เป็นที่สักการะบูชาของประชาชนและผู้เป็นที่พึ่งของผู้บาดเจ็บทางกระดูก

กำหนดการสอน

******

สัปดาห์ที่

แผนที่

เรื่อง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เวลา

ปฐมนิเทศ

ทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง

๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์ทฤษฎีทางพระพุทธศาสนาที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางได้

ศรัทธา และปัญญา

- พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง

๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในเรื่องการพัฒนา ศรัทธาและปัญญา สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

สังคมชมพูทวีป

- วิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า

๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติ ความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าได้

๔-๕

การตรัสรู้

- สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนา

๔. เพื่อให้นักเรียนสามารพสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนาได้

พระรัตนตรัย

- วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุทธะ

๕. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพระพุทธะได้

กำหนดการสอน

สัปดาห์ที่

แผนที่

เรื่อง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เวลา

๗-๘

อริยสัจ ๔

๑. ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

· ขันธ์ ๕

· นามรูป

๒. สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)

· หลักกรรม

· นิยาม ๕

· วิตก ๓

๓. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)

· ภาวนา ๔

๔. มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

๖. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของอริยสัจ ๔ สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

๙-๑๐

พระสัทธรรม ๓

๑. ปัญญาวุฒิธรรม ๔

๒. พละ ๕

๓. อุบาสกกรรม ๕

๔. มงคล ๒๘

๔.๑ สงเคราะห์บุตร

๔.๒ สงเคราะห์ภรรยา

๔.๓ สันโดษ

๗. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับเรื่องพระสัทธรรม ๓ และสามารถนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

๑๑

พุทธศาสนสุภาษิต

๘. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถววิเคราะห์และนำเอาพุทธศาสนสุภาษิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

๑๒

พระไตรปิฎก วิธีการศึกษาและค้นกว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ๆ

๙. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ วิธีการศึกษาและค้นกว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ได้

กำหนดการสอน

สัปดาห์ที่

แผนที่

เรื่อง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เวลา

๑๓

๑๐

การครองตน

๑๐. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการครองตนเป็นพลเมืองที่ดีและสามารถนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

๑๔

๑๑

ภพ-ภูมิ

๑๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องภพ-ภูมิ

๑๕–๑๖

๑๒

ประวัติ

· พุทธสาวก

· พุทธสาวิกา

· ชาวพุทธตัวอย่าง

๑๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจประวัติของ :-

๑. พระอัสสชิ

๒ พระกีสาโคตมี

๓. พระนางมัลลิกา

๔. หมอชีวกโกมารภัจจ์

และสามารถวิเคราห์คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างได้อย่งถูกต้องเหมาะสม

๑๗

๑๓

พระเวสสันดร

๑๓. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพระเวสสันดรและสามารถวิเคราะห์แบะนำมาปรัยใช้ในชีวิตประจำวันได้

๑๘

๑๔

ประวัติ

· หลวงพ่อเดิม

· หลวงพ่ออินทร์

๑๔. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับพระสงฆ์ผู้เป็นที่สักการะบูชาของประชาชนและผู้เป็นที่พึ่งของผู้บาดเจ็บทางกระดูก

รายละเอียดการจัดการเรียนรู้

********

ชื่อวิชา พระพุทธศาสนา รหัสวิชา ส๔๑๒๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

จำนวน ๐.๕/๑ หน่วยกิจ/ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘

สาระการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

รหัสมาตรฐาน

ช่วงชั้นที่เกี่ยวข้อง

วิธีการ/เครื่องมือ

ประเมินผล

ทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง

๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์ทฤษฎีทางพระพุทธศาสนาที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางได้

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๑

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. การสนทนา

๓. การตรวจใบงาน

๔. การตั้งคำถามและตอบคำถาม

ศรัทธา และปัญญา

- พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง

๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในเรื่องการพัฒนา ศรัทธาและปัญญา สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๑

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. สังเกต

๒. การตรวจใบงาน

๓. การฟังคำอภิปรายสรุปประเด็นความคิดเห็นกลุ่ม

สังคมชมพูทวีป

- วิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า

๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติ ความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าได้

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๑

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. การตรวจใบงาน

๓. การฟังคำอภิปราย

การตรัสรู้

- สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนา

๔. เพื่อให้นักเรียนสามารพสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนาได้

สาระที่ ๔

มาตรฐาน ส ๑.๑

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. การตรวจใบงาน

๓. ผลการอภิปราย

พระรัตนตรัย

- วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุทธะ

๕. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพระพุทธะได้

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๒

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. สรุปการอภิปราย

๓. แบบประเมิน

๔. การเสนอผลงาน

รายละเอียดการจัดการเรียนรู้

*********

ชื่อวิชา พระพุทธศาสนา รหัสวิชา ส ๔๑๒๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

จำนวน ๐.๕/๑ หน่วยกิจ/ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘

สาระการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

รหัสมาตรฐาน

ช่วงชั้นที่เกี่ยวข้อง

วิธีการ/เครื่องมือ

ประเมินผล

อริยสัจ ๔

๑. ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

· ขันธ์ ๕

· นามรูป

๒. สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)

· หลักกรรม

· นิยาม ๕

· วิตก ๓

๓. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)

· ภาวนา ๔

๔. มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

๖. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของอริยสัจ ๔ สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๒

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. การตรวจรายงาน

๓. แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

พระสัทธรรม ๓

๑. ปัญญาวุฒิธรรม ๔

๒. พละ ๕

๓. อุบาสกกรรม ๕

๔. มงคล ๒๘

๔.๑ สงเคราะห์บุตร

๔.๒ สงเคราะห์ภรรยา

๔.๓ สันโดษ

๗. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับเรื่องพระสัทธรรม ๓ และสามารถนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๓

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. สรุปการอภิปราย

๓. สรุปแบบประเมินการวัดผล

๔. สังเกตการทำงานกลุ่ม

รายละเอียดการจัดการเรียนรู้

*********

ชื่อวิชา พระพุทธศาสนา รหัสวิชา ส๔๑๒๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

จำนวน ๐.๕/๑ หน่วยกิจ/ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘

สาระการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

รหัสมาตรฐาน

ช่วงชั้นที่เกี่ยวข้อง

วิธีการ/เครื่องมือ

ประเมินผล

พุทธศาสนสุภาษิต

๘. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถววิเคราะห์และนำเอาพุทธศาสนสุภาษิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๓

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. ตรวจใบงาน

๓. แบบประเมินผลความคิดเห็น

พระไตรปิฎก

- วิธีการศึกษาและค้นคว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ๆ

๙. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ วิธีการศึกษาและค้นกว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์รองอื่น ได้

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๓

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. การสรุปของนักเรียน

๓. การตรวจใบงาน

การครองตน

๑๐. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการครองตนเป็นพลเมืองที่ดีและสามารถนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๓

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. การสรุปของนักเรียน

๓. การตรวจใบงาน

ภพ-ภูมิ

๑๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องภพ-ภูมิ

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๓

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. การสังเกต

๒. ตรวจใบงาน

๓. แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

๔. การตรงต่อเวลา

ประวัติ

· พุทธสาวก

· พุทธสาวิกา

· ชาวพุทธตัวอย่าง

๑๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจประวัติของ :-

๑. พระอัสสชิ

๒ พระกีสาโคตมี

๓. พระนางมัลลิกา

๔. หมอชีวกโกมารภัจจ์

และสามารถวิเคราห์คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างได้อย่งถูกต้องเหมาะสม

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๑

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

๒. การให้ความร่วมมือในการแสดง

๓. ตรวจผลงาน

รายละเอียดการจัดการเรียนรู้

*********

ชื่อวิชา พระพุทธศาสนา รหัสวิชา ส ๔๑๒๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

จำนวน ๐.๕/๑ หน่วยกิจ/ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘

สาระการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

รหัสมาตรฐาน

ช่วงชั้นที่เกี่ยวข้อง

วิธีการ/เครื่องมือ

ประเมินผล

พระเวสสันดร

๑๓. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพระเวสสันดรและสามารถวิเคราะห์แบะนำมาปรัยใช้ในชีวิตประจำวันได้

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๑

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

๒. การให้ความร่วมมือในการแสดง

๓. ตรวจผลงาน

ประวัติ

· หลวงพ่อเดิม

· หลวงพ่ออินทร์

๑๔. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับพระสงฆ์ผู้เป็นที่สักการะบูชาของประชาชนและผู้เป็นที่พึ่งของผู้บาดเจ็บทางกระดูก

สาระที่ ๑

มาตรฐาน ส ๑.๑

ช่วงชั้นที่ ๔

๑. แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

๒. ความร่วมมือในการแสดง

๓. ตรวจผลงาน

อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = ๗๐ : ๓๐

๑. คะแนนระหว่างภาค�