โครงร่างสารนิพนธ์ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/338/1... ·...

132
ปัจจัยที่มีผลต ่อการตัดสินใจของผู ้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาใน โรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร โดย นางสาวกาญจนา มักเชียว วิทยานิพนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2558 ลิขสิทธิ ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 20-Dec-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ปัจจัยทีม่ีผลต่อการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาใน โรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร

    โดย นางสาวกาญจนา มักเชียว

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาบริหารธุรกจิมหาบัณฑิต หลกัสูตรบริหารธุรกจิมหาบัณฑิต

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2558

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลัยศิลปากร

  • ปัจจัยทีม่ีผลต่อการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาใน โรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร

    โดย นางสาวกาญจนา มักเชียว

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาบริหารธุรกจิมหาบัณฑิต หลกัสูตรบริหารธุรกจิมหาบัณฑิต

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2558

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลัยศิลปากร

  • FACTOR INFLUENCING THE DECISION OF PARENTS TO SEND THEIR CHILDREN TO STUDY AT THE CHOTIGARN SCHOOL, THAWIWATTHANA, BANGKOK

    By Miss Kanchana Makchiew

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Business Administration

    Master of Business Administration Program Graduate School, Silpakorn University

    Academic Year 2015 Copyright of Graduate School, Silpakorn University

  • บณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร อนุมติัให้วิทยานิพนธ์เร่ือง “ปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจของผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร” เสนอโดย นางสาวกาญจนา มกัเชียว เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบณัฑิต หลกัสูตรบริหารธุรกิจมหาบณัฑิต ……........................................................... (รองศาสตราจารย ์ดร.ปานใจ ธารทศันวงศ)์ คณบดีบณัฑิตวทิยาลยั วนัท่ี..........เดือน.................... พ.ศ...........

    อาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์ รองศาสตราจารย ์ดร.พิทกัษ ์ ศิริวงศ ์ คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ์ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.วรรณวร์ี บุญคุม้) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (อาจารย ์ดร.พิชญพ์ธู ไวยโชติ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารย ์ดร.พิทกัษ ์ ศิริวงศ)์ ............/......................../..............

  • 57602330: หลกัสูตรบริหารธุรกิจมหาบณัฑิต ค าส าคญั: ผูป้กครอง / ส่วนประสมทางการตลาด / การตดัสินใจ กาญจนา มกัเชียว: ปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจของผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเขา้ศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร. อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์: รศ.ดร.พิทกัษ ์ ศิริวงศ.์ 120 หนา้. การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อ 1) ศึกษาการตดัสินใจของผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเขา้ศึกษาในโรงเรียน โชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร 2) เปรียบเทียบการตดัสินใจเลือกศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร จ าแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผูป้กครอง 3) ศึกษาความสัมพนัธ์ระหว่างปัจจยัส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตดัสินใจเลือกศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในงานวิจัยคือ ผูป้กครองของนกัเรียน จ านวน 142 คนเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้มูลคือ แบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉล่ียส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน t-test F-test และค่าสัมประสิทธ์สหสัมพนัธ์แบบเพียรสัน ผลการวิจยัพบว่า ส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตดัสินใจเลือกศึกษา ผูป้กครองใหค้วามส าคญัในดา้นอาจารยแ์ละบุคลากรมากท่ีสุด การตดัสินใจเลือกศึกษาใหค้วามส าคญัในดา้นการสอนมากท่ีสุด อายุ สถานภาพ อาชีพ ระดบัการศึกษา ความสัมพนัธ์ของเด็กในปกครอง และจ านวนเด็กนกัเรียนท่ีมีภาระดูแลท่ีแตกต่างกนัไม่มีความแตกต่างกนัในเร่ืองการตดัสินใจเลือกศึกษา ส่วนเพศและรายไดเ้ฉล่ียต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั มีความแตกต่างในเร่ืองการตดัสินใจเลือกศึกษา ความสัมพนัธ์ระหว่างการตัดสินใจเลือกศึกษาโดยรวมกับปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดโดยรวมมีความสัมพนัธ์เชิงบวกในระดบัปานกลาง

    หลกัสูตรบริหารธุรกิจมหาบณัฑิต บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร ลายมือช่ือนกัศึกษา........................................ ปีการศึกษา 2558 ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ........................................

  • 57602330: MASTER OF BUSINESS ADMINISTRATION PROGRAM KEY WORLDS: PARENT / MARKETING MIX / DECISION KANCHANA MAKCHIEW: FACTOR INFLUENCING THE DECISION OF PARENTS TO SEND THEIR CHILDREN TO STUDY AT THE CHOTIGARN SCHOOL, THAWIWATTHANA, BANGKOK. THESIS ADVISOR: ASSOC. PROF. PHITAK SIRIWONG, Ph. D. 120 pp. The research had the purposes 1) to study the decision of parents to study at the Chotigarn School, Thawiwatthana, Bangkok, 2) to compare the decision to study classifying from the personal factor of parents to study at the Chotigarn School, Thawiwatthana, Bangkok, 3) to study relationship between marketing mix factors affecting to the decision to study at the Chotigarn School, Thawiwatthana, Bangkok. Samples group were parents of students all 142 people. The tool used in data collection was questionnaires. Statistics used for analyzing were mean, standard deviation, t-test, F-test, and Pearson coefficient correlation.

    The research found that the marketing mix factors affecting to the decision to study the sample group focused on the teachers and the personnel the most. The decision to study the sample group focused the most on the teach. The different age, status, career, education level, relationship between students and the numbers of students whom were taken care were not different about the decision to study. While the different sex and salaries were different about the decision to study. The relationship between the decision to entirely study there and the marketing mix factors in general had positively the relation of the medium level.

    Master of Business Administration Program Graduate School, Silpakorn University Student's signature............................................... Academic Year 2015 Thesis Advisor’s signature ……………………………………

  • กติติกรรมประกาศ วิทย า นิพนธ์ฉบับ น้ีสามารถส า เ ร็ จไปได้ด้ว ย ดี ด้ว ยความก รุณาอย่ า ง สู งจาก รองศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ศิริวงศ์ ซ่ึงเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ท่ีได้สละเวลาให้ ความช่วยเหลือและใหค้ าแนะน า ขอ้คิดเห็น และแกไ้ขขอ้บกพร่องต่างๆ จนการคน้ควา้ฉบบัน้ีเสร็จสมบูรณ์ ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านในสาขาวิชาการประกอบการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิยาลยัศิลปากร ท่ีไดป้ระสานวชิาความรู้ ตลอดจนถ่ายทอดประสบการณ์ท่ีดีแก่ผูว้จิยั ขอขอบพระคุณผูอ้ านวยการโรงเรียนโชติกาญจน์ ท่ีเปิดโอกาสให้ผูว้ิจยัสามารถเก็บขอ้มูลท่ีโรงเรียนได้ รวมทั้งผูป้กครองท่ีตอบแบบสอบถามทุกท่านท่ีได้สละเวลาในการตอบค าถาม ตลอดจนผูท่ี้ใหค้วามช่วยเหลือทุกท่านท่ีใหค้วามร่วมมือเป็นอยา่งดี สุดทา้ยผูว้ิจยัใคร่กราบขอบพระคุณ บิดา มารดา รวมทั้งเพื่อนของผูว้ิจยัท่ีให้ความรักความห่วงใย เป็นก าลงัใจและสนบัสนุนส่งเสริมในทุกๆ ด้านแก่ผูว้ิจยัตั้งแต่เร่ิมตน้ จนท าให้วิจยัฉบบัน้ีส าเร็จลุล่วงไปไดด้ว้ยดี คุณค่าหรือประโยชน์อนัเกิดจากวิทยานิพนธ์ฉบบัน้ี ผูว้ิจยัขอน้อมบูชา พระคุณบิดา มารดา ครู อาจารยท่ี์อบรมสั่งสอน แนะน า ใหก้ารสนบัสนุน และให้ก าลงัใจอยา่งดียิง่เสมอมา

  • สารบัญ หนา้ บทคดัยอ่ภาษาไทย ....................................................................................................................... ง บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ .................................................................................................................. จ กิตติกรรมประกาศ ........................................................................................................................ ฉ สารบญัตาราง ............................................................................................................................... ฌ บทท่ี

    1 บทน า.............................................................................................................................. 1 ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา ......................................................................... 1 วตัถุประสงคข์องงานวจิยั ............................................................................................... 3 สมมติฐานของการวจิยั ................................................................................................... 3 ขอบเขตการวจิยั ............................................................................................................. 3 กรอบแนวคิดการวจิยั ..................................................................................................... 4 ประโยชน์ท่ีไดรั้บ ........................................................................................................... 5 นิยามศพัทเ์ฉพาะ ............................................................................................................ 6

    2 วรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ง .................................................................................................... 8 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบัการตดัสินใจ ......................................................................... 8 ความหมายของการตดัสินใจ .......................................................................................... 8 องคป์ระกอบของการตดัสินใจ ....................................................................................... 9 ประเภทของการตดัสินใจ ............................................................................................... 11 ปัจจยัท่ีมีอิทธิพลต่อการตดัสินใจเลือกซ้ือสินคา้และบริการ .......................................... 12 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบัการตลาดบริการ ................................................................... 13 แนวคิดทฤษฎีอุปสงค ์..................................................................................................... 14 แนวคิดเก่ียวกบัการจดัการศึกษา .................................................................................... 18 แนวคิดเก่ียวกบัการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ............................................................... 20 พฤติกรรมผูบ้ริโภค ........................................................................................................ 21 โรงเรียนโชติกาญจน์ ...................................................................................................... 25 งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง ......................................................................................................... 27

    3 วธีิการด าเนินการวิจยั...................................................................................................... 30

  • บทท่ี หนา้ ระเบียบวธีิวจิยั ............................................................................................................... 30 ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง ............................................................................................. 30 เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยั ................................................................................................ 31 การสร้างและพฒันาเคร่ืองมือ ........................................................................................ 33 การเก็บรวบรวมขอ้มูล ................................................................................................... 34 การวเิคราะห์ขอ้มูล ......................................................................................................... 34

    4 ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล .................................................................................................... 36 การวเิคราะห์ขอ้มูลทัว่ไปเก่ียวกบัลกัษณะทางประชากรศาสตร์ .................................... 36 การวเิคราะห์ปัจจยัส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อการตดัสินใจของ

    ผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเขา้ศึกษาโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทววีฒันา กรุงเทพมหานคร ............................................................................

    41 การวเิคราะห์ปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจเลือกศึกษาในโรงเรียน

    โชติกาญจน์ เขตทววีฒันา กรุงเทพมหานคร ........................................................

    50 การทดสอบสมมติฐาน ................................................................................................... 56 5 สรุปอภิปรายผลและขอ้เสนอแนะ .................................................................................. 89 สรุปผลการวจิยั .............................................................................................................. 90 อภิปรายผลการวจินั ........................................................................................................ 97 ขอ้เสนอแนะ .................................................................................................................. 98 ขอ้เสนอแนะจากงานวจิยั ............................................................................................... 98 ขอ้เสนอแนะในการวจิยัคร้ังต่อไป ................................................................................. 100

    รายการอา้งอิง .................................................................................................................................. 101 ภาคผนวก ........................................................................................................................................ 105

    ภาคผนวก ก แบบสอบถามการวจิยั .................................................................................. 106 ภาคผนวก ข หนงัสือขอเชิญเป็นผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือวิจยั ............................... 116

    ประวติัผูว้ิจยั .................................................................................................................................... 120

  • สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้

    1 จ านวนประชากรและกลุ่มตวัอยา่งจ าแนกตามระดบัชั้นเรียนของกลุ่มผูป้กครอง ............ 31 2 จ านวนและค่าร้อยละของกลุ่มตวัอยา่งจ าแนกตามเพศ .................................................. 37 3 จ านวนและค่าร้อยละของกลุ่มตวัอยา่งจ าแนกตามอาย ุ.................................................. 37 4 จ านวนและร้อยละของกลุ่มตวัอยา่งจ าแนกตามสถานภาพสมรส .................................. 38 5 จ านวนและค่าร้อยละของกลุ่มตวัอยา่งจ าแนกตามอาชีพ ............................................... 38 6 จ านวนและค่าร้อยละของกลุ่มตวัอยา่งจ าแนกตามระดบัการศึกษา ................................ 39 7 จ านวนและค่าร้อยละของกลุ่มตวัอยา่งจ าแนกตามรายไดเ้ฉล่ียต่อเดือน (บาท) ............... 39 8 จ านวนและค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ าแนกตามความสัมพนัธ์ของเด็กใน

    ปกครอง.................................................................................................................

    40 9 จ านวนและค่าร้อยละของกลุ่มตวัอยา่งจ าแนกตามจ านวนเด็กท่ีมีภาระดูแล .................. 40

    10 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัส่วนประสมทางการตลาด โดยรวม ............. 41 11 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัส่วนประสมทาง

    การตลาด ดา้นหลกัสูตรและส่ือการสอน ...............................................................

    42 12 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัส่วนประสมทาง

    การตลาด ดา้นราคา ...............................................................................................

    43 13 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัส่วนประสมทาง

    การตลาด ดา้นสถานท่ีและส่ิงแวดลอ้ม .................................................................

    44 14 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัส่วนประสมทาง

    การตลาด ดา้นโฆษณาและประชาสัมพนัธ์ ............................................................

    45 15 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัส่วนประสมทาง

    การตลาด ดา้นอาจารยแ์ละบุคลากร .......................................................................

    46 16 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัส่วนประสมทาง

    การตลาด ดา้นกระบวนการท างาน ........................................................................

    48 17 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัส่วนประสมทาง

    การตลาด ดา้นทางกายภาพ ....................................................................................

    49 18 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัส่วนประสมทาง

    การตลาด ดา้นทางกายภาพ ....................................................................................

    50

  • ตารางท่ี หนา้ 19 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจ

    เลือกศึกษา ดา้นงานสอน ......................................................................................

    51 20 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจ

    เลือกศึกษา ดา้นบทบาทหนา้ท่ีของครู ..................................................................

    52 21 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจ

    เลือกศึกษา ดา้นงานวิจยั/งานบริการวชิาการ .........................................................

    53 22 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจ

    เลือกศึกษา ดา้นความสัมพนัธ์ระหวา่งโรงเรียนกบัชุมชน และโรงเรียน กบัผูป้กครอง ..............................................................................................................

    54 23 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจ

    เลือกศึกษา ดา้นงานอาหารและโภชนาการ ...........................................................

    55 24 จ านวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจ

    เลือกศึกษา ดา้นสุขภาพอนามยั .............................................................................

    56 25 ความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตามเพศของผูป้กครอง .................... 57 26 ความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตามอายขุองผูป้กครอง .................... 59 27 ความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตามสถานภาพสมรสของ

    ผูป้กครอง ............................................................................................................

    61 28 ความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตามอาชีพของผูป้กครอง ................. 63 29 แสดงค่าเฉล่ียเปรียบเทียบความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตาม

    อาชีพของผูป้กครองเป็นรายคู่ .............................................................................

    66 30 ความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตามระดบัการศึกษาสูงสุดของ

    ผูป้กครอง ............................................................................................................

    67 31 ความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตามรายไดเ้ฉล่ียต่อเดือนของ

    ผูป้กครอง ............................................................................................................

    70 32 แสดงค่าเฉล่ียเปรียบเทียบความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตาม

    รายไดเ้ฉล่ียต่อเดือนของผูป้กครองเป็นรายคู่ ......................................................

    72 33 ความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตามความสัมพนัธ์ของเด็กใน

    ปกครองของผูป้กครอง .......................................................................................

    74

  • ตารางท่ี หนา้ 34 ความแตกต่างของการตดัสินใจเลือกศึกษา จ าแนกตามจ านวนเด็กนกัเรียนท่ีมี

    ภาระดูแลของผูป้กครอง .....................................................................................

    76 35 สรุปสมมติฐานการวิจยัท่ี 1 ปัจจยัส่วนบุคคลของผูป้กครองท่ีแตกต่างกนั มีการ

    ตดัสินใจเลือกศึกษาแตกต่างกนั ..........................................................................

    78 36 การตัดสินใจเลือกศึกษามีความสัมพนัธ์ต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด

    โดยรวม ...............................................................................................................

    79 37 การตดัสินใจเลือกศึกษามีความสัมพนัธ์ต่อปัจจยัส่วนประสมทางการตลาด ดา้น

    หลกัสูตรและส่ือการสอน ...................................................................................

    80 38 การตดัสินใจเลือกศึกษามีความสัมพนัธ์ต่อปัจจยัส่วนประสมทางการตลาด ดา้น

    ราคา ....................................................................................................................

    81 39 การตดัสินใจเลือกศึกษามีความสัมพนัธ์ต่อปัจจยัส่วนประสมทางการตลาด ดา้น

    สถานท่ีและส่ิงแวดลอ้ม ......................................................................................

    82 40 การตดัสินใจเลือกศึกษามีความสัมพนัธ์ต่อปัจจยัส่วนประสมทางการตลาด ดา้น

    โฆษณาและประชาสัมพนัธ์ ................................................................................

    83 41 การตดัสินใจเลือกศึกษามีความสัมพนัธ์ต่อปัจจยัส่วนประสมทางการตลาด ดา้น

    อาจารยแ์ละบุคลากร ...........................................................................................

    84 42 การตดัสินใจเลือกศึกษามีความสัมพนัธ์ต่อปัจจยัส่วนประสมทางการตลาด ดา้น

    กระบวนการท างาน .............................................................................................

    85

    43 การตดัสินใจเลือกศึกษามีความสัมพนัธ์ต่อปัจจยัส่วนประสมทางการตลาด ดา้นทางกายภาพ ........................................................................................................

    87

    44 สรุปสมมติฐานการวิจัย ท่ี 2 การตัดสินใจเลือกศึกษาของผู ้ปกครองมี ความสัมพนัธ์กบัปัจจยัดา้นส่วนประสมทางการตลาด ........................................

    88

  • 1

    บทที ่1 บทน า

    ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา การศึกษาเร่ิมมีบทบาทในสังคมไทยมากข้ึน เน่ืองจากเป็นส่ิงจ าเป็นส าหรับมนุษย ์ เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการท่ีท าให้มนุษยส์ามารถประพฤติปฏิบติัตน และประกอบอาชีพการงานร่วมกบับุคคลอ่ืนๆ ไดอ้ยา่งเหมาะสม ไม่ใช่เพียงเพื่อประโยชน์ของคนแต่ละคนเท่านั้น แต่ตอ้งมุ่งไปสู่สังคมในภาพรวมคือการน าไปสู่สังคมท่ีเขม้แข็งและมีคุณภาพ (ปรัชญา เวสารัชช์, 2545) ดงันั้นส่ิงท่ีจะช่วยในการพฒันามนุษยแ์ละสังคมก็คือ สถานบนัการศึกษา อนัไดแ้ก่โรงเรียน ซ่ึงถือวา่เป็นสถาบนัท่ีท าหนา้ท่ีในการใหก้ารศึกษาแก่สมาชิกของสังคม นัน่ก็คือ นกัเรียน การศึกษามีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เน่ืองจากปัจจัยต่างๆ เช่นการแข่งขันทาง ด้านเศรษฐกิจ สังคม หากคนในสังคมไม่มีความรู้หรือไม่มีความสามารถก็จะไม่สามารถท่ีจะแข่งขนักบัผูอ่ื้นได ้รัฐบาลจึงไดมี้การสนบัสนุนการศึกษาของประเทศไทยเพิ่มมากข้ึน โดยการจดักองทุนกูย้ืมเพื่อการศึกษา หรือ ก.ย.ศ. ท่ีสามารถกูเ้งินจากรัฐบาลมาเรียนก่อนแลว้ผ่อนคืนทีหลงั เป็นโอกาสท่ีท าให้คนในสังคมได้รับการศึกษามากข้ึน ซ่ึงท าให้วงการศึกษาของประเทศไทยขยายตวัเพิ่มข้ึน เม่ือมีโอกาสทางการศึกษาท าใหมี้การลงทุนทางการศึกษาเพิ่มข้ึนอยา่งต่อเน่ือง เช่นการเปิดสถาบันการศึกษาของสถาบันการศึกษาเอกชน มีการเปิดเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง หรือสถาบันการศึกษาของรัฐบาลเองก็ได้มีการด าเนินการเปล่ียนแปลงระบบการบริหาร โดยจะบริหารงานคลา้ยกบัสถาบนัการศึกษาเอกชน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2559) การศึกษาของเอกชน นบัเป็นการศึกษาท่ีเกิดข้ึนตั้งแต่ลา้นนาไทยและสุโขทยั โดยมี วงั วดั และบา้นเป็นสถานท่ีใหก้ารศึกษา จนถึงสมยัพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้เจา้อยูห่วั ไดมี้การก าหนดนโยบายการจดัการศึกษาเอกชนข้ึนเป็นคร้ังแรกในปี พ.ศ. 2541 โดยมีคณะมิชชนันารีชาวอเมริกนั จดัตั้งโรงเรียนเชลยศกัด์ิข้ึน รัฐบาลไดเ้ล็งเห็นความส าคญัของการศึกษาเอกชน จึงไดจ้ดัตั้งโรงเรียนบ ารุงวิชาข้ึน ซ่ึงเป็นโรงเรียนเอกชนแห่งแรกท่ีมีคนไทยเป็นเจา้ของ หลงัจากนั้นไดมี้การแกไ้ขและปรับปรุงพระราชบญัญติัโรงเรียนให้สอดคลอ้งกบัสภาพการจดัการศึกษาของโรงเรียนเอกชนท่ีเปล่ียนแปลงไป ท าใหก้ารศึกษาเอกชนเร่ิมเป็นท่ีนิยมและเพิ่มจ านวนมากข้ึน เป็นท่ียอมรับของรัฐและผูป้กครอง ช่วยสนองตอบความตอ้งการของผูป้กครองและนักเรียนได้เป็นอย่างดี (ส านกับริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน, 2558)

  • 2

    ปัจจุบนัสถาบนัการศึกษาไดมี้การก่อตั้งข้ึนอยา่งมากมาย โดยเฉพาะโรงเรียนเอกชนไดเ้ขา้มามีบทบาททางการศึกษา เพื่อตอบสนองความตอ้งการของนกัเรียนหรือผูป้กครอง โดยส่วนใหญ่ผูป้กครองจะเลือกสถาบนัศึกษาให้แก่บุตรหลาน โดยคาดหวงัให้บุตรหลานได้รับการศึกษาท่ีดี มีประสิทธิภาพ สามารถดูแลและแกไ้ขขอ้บกพร่องของการพฒันาการ พร้อมท่ีจะปรับปรุงเม่ือมีการเปล่ียนแปลง (สถิตาภรณ์ วงศเ์ขียว, 2544) เพราะเด็กเป็นทรัพยากรมนุษยท่ี์ทรงคุณค่า สามารถสร้างความเจริญกา้วหนา้ใหก้บัสังคมและประเทศชาติได ้(ทิพาพร อิทธิสริยานนท,์ 2544) เขตทวีวฒันา ตั้งอยู่บนพื้นท่ีฝ่ังขวาแม่น ้ าเจา้พระยาของกรุงเทพมหานคร หรือฝ่ังธนบุรี มีจ านวนประชากรประมาณ 77,646 คน (ส านกังานเขตทวีวฒันา, 2559) ซ่ึงจดัไดว้า่มีประชากรมากพอสมควร และดว้ยความท่ีเป็นยา่นธุรกิจ ท าให้ผูค้นจากภายในและภายนอกต่างหลัง่ไหลเขา้มาเป็นจ านวนมาก ส่งผลให้สถานศึกษามีจ านวนเพิ่มมากข้ึนดว้ย และโรงเรียนโชติกาญจน์ก็เป็นอีกสถาบนัหน่ึงท่ีสร้างข้ึนมาเพื่อตอบสนองความตอ้งการของผูป้กครองและนักเรียน ซ่ึงโรงเรียน โชติกาญจน์เป็นโรงเรียนเอกชนแห่งแรกในพื้นท่ีเขตทวีวฒันา ก่อตั้งข้ึนโดยการสนับสนุนจาก คุณบุญช่วยและคุณนกยิบ จิตกระโชติ เม่ือปี พ.ศ. 2540 และเปิดรับนกัเรียนเขา้เรียนในปีการศึกษา 2541 โดยปีแรกรับนกัเรียน ชั้นอนุบาลศึกษา คือ ชั้นอนุบาล 1 ถึงอนุบาล 3 ชั้นละ 1 ห้อง ต่อมาได้สร้างอาคารอนุบาลเพิ่มข้ึนอีกในปี พ.ศ. 2549 เพื่อรองรับนักเรียนท่ีมีจ านวนมากข้ึนและให้เหมาะสมกบัการเรียนการสอนในผูเ้รียนแต่ละวยั ปัจจุบนัโรงเรียนโชติกาญจน์เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 จนถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีจ านวนนกัเรียนทั้งส้ิน 220 คน โดยโรงเรียนโชติกาญจน์ได้มุ่งพฒันากระบวนการสอนให้นักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตอย่างพอเพียง เป็นเยาวชนท่ีมีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม ยดึมัน่ในระบบประชาธิปไตย มีความสามารถใชภ้าษาสากลไดดี้ และสามารถเรียนรู้และใชเ้ทคโนโลยใีหเ้หมาะสมกบัการด ารงชีวติท่ีพอเพียง (โรงเรียนโชติกาญจน์, 2559) จากการศึกษาเก่ียวกบัพฤติกรรมและปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจเลือกศึกษาท่ีผ่านมา(สุทธานุช เจนโชติสุวรรณ, 2555) พบวา่ผูป้กครองส่วนใหญ่ใหค้วามส าคญัในดา้นหลกัสูตรและส่ือการเรียนการสอน โดยท่ีผูบ้ริหารจ าเป็นตอ้งเน้นการจดัหลกัสูตรการเรียนการสอนตามหลกัสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยตอ้งมีอุปกรณ์หรือนวตักรรมท่ีมีคุณภาพและเพียงพอต่อการจดักิจกรรมใหแ้ก่นกัเรียน รวมทั้งตอ้งก าหนดค่าธรรมการเรียนโดยค านึงถึงคุณภาพของการบริการเป็นส าคญัโรงเรียนควรมีสภาพแวดลอ้มท่ีดี ปราศจากมลพิษหรือส่ิงท่ีเป็นอนัตรายอยูใ่กลเ้คียง เปิดโอกาสให้ผูป้กครองสามารถแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบัโรงเรียน และโรงเรียนจะตอ้งมีการจดักิจกรรมท่ีส่งผลต่อภาพลกัษณ์ท่ีดีของโรงเรียน

    ดังนั้นในฐานะท่ีผูว้ิจ ัยเป็นบุคคลากรในโรงเรียนโชติกาญจน์ ซ่ึงเป็นโรงเรียนเอกชน จึงตอ้งการศึกษาถึงปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจของผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเขา้ศึกษาใน

  • 3

    โรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นแนวทางในการพฒันาการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีคุณภาพยิ่งข้ึน และพฒันานกัเรียนให้สอดคล้องกบัความตอ้งการของผูป้กครองและประเทศชาติต่อไป วตัถุประสงค์ของการศึกษา

    1. เพื่อศึกษาการตดัสินใจของผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเขา้ศึกษาในโรงเรียน โชติกาญจน์ เขตทววีฒันา กรุงเทพมหานคร

    2. เพื่อเปรียบเทียบการตดัสินใจเลือกศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร จ าแนกตามปัจจยัส่วนบุคคลของผูป้กครอง

    3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีผลต่อ การตดัสินใจเลือกศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทววีฒันา กรุงเทพมหานคร สมมติฐานของการวจัิย

    1. ปัจจยัส่วนบุคคลท่ีต่างกนัมีผลต่อการตดัสินใจของผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเขา้ศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทววีฒันา กรุงเทพมหานคร

    2. ปัจจยัส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพนัธ์กบัการตดัสินใจของผูป้กครองใน การส่งบุตรหลานเขา้ศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทววีฒันา กรุงเทพมหานคร ขอบเขตของการศึกษา

    1. ขอบเขตเน้ือหา เน้ือในการวจัิยคร้ังนีป้ระกอบด้วย 1.1 ตวัแปรอิสระ ประกอบดว้ย

    1.1.1 ปัจจยัส่วนบุคคล ไดแ้ก่ เพศ อาย ุสถานภาพสมรส อาชีพ รายไดเ้ฉล่ียต่อเดือน ระดบัการศึกษาสูงสุด ความสัมพนัธ์ของเด็กในปกครองของท่านซ่ึงศึกษาอยูใ่นโรงเรียนและ จ านวนเด็กนกัเรียนท่ีมีภาระดูแล

    1.1.2 ปัจจยัส่วนประสมทางการตลาด ไดแ้ก่ ดา้นหลกัสูตรและส่ือการเรียนการสอน ดา้นราคา ดา้นสถานท่ีและส่ิงแวดลอ้ม ดา้นโฆษณาและประชาสัมพนัธ์ ดา้นอาจารยแ์ละบุคลากร ดา้นกระบวนการท างาน และดา้นทางกายภาพ

    1.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ การตัดสินใจเลือกศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีว ัฒนา กรุงเทพมหานคร ประกอบไปด้วย ด้านการสอน ด้านบทบาทหน้าท่ีของครู

  • 4

    ดา้นงานวิจยั /งานบริการวิชาการ ด้านความสัมพนัธ์ระหว่างโรงเรียนกบัชุมชน และโรงเรียนกบัผูป้กครอง ดา้นงานอาหารและโภชนาการ และดา้นสุขภาพอนามยั

    2. ขอบเขตด้านประชากร ประชากรท่ีใช้ในการวิจยัคร้ังน้ี คือ ผูป้กครองนักเรียนระดับชั้ นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้ นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร

    3. ขอบเขตดา้นเวลา ช่วงระยะเวลาในการด าเนินการศึกษาวจิยั โดยเร่ิมตั้งแต่ตั้งแต่เดือนธนัวาคม พ. ศ. 2558 จนถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559

    4. ขอบเขตด้านพื้นท่ี ได้มีการศึกษาพื้นท่ีของโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร กรอบแนวคิดการวจัิย

    การศึกษาปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจของผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเขา้ศึกษาใน โรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร ผูว้ิจยัไดศึ้กษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการศึกษาในคร้ังน้ี โดยมีการก าหนดกรอบแนวความคิดของการวิจยัไวต้ามรายละเอียดแสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งตวัแปรอิสระกบัตวัแปรตาม ดงัน้ี

  • 5

    ตัวแปรอสิระ ตัวแปรตาม

    ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิยั ประโยชน์ทีไ่ด้รับ

    จากการศึกษาท าให้ทราบถึงปัจจยัท่ีมีผลต่อการตดัสินใจของผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร โรงเรียนจึงได้ทราบถึง ขอ้ไดเ้ปรียบและเสียเปรียบ เพื่อท่ีจะน าผลการวจิยัท่ีไดไ้ปใชป้ระโยชน์ดงัน้ี

    1. ต่อผูเ้รียน คือ ผูเ้รียนจะได้รับประโยชน์จากการปรับปรุงและพฒันาของโรงเรียน ท าใหเ้ป็นนกัเรียนท่ีมีคุณภาพ มีศกัยภาพในการเรียนรู้และใชชี้วติในสังคม

    ปัจจัยส่วนบุคคล - เพศ

    - อาย ุ

    - สถานภาพสมรส

    - อาชีพ

    - รายไดเ้ฉล่ียต่อเดือน

    - ระดบัการศึกษาสูงสุด

    - ความสัมพนัธ์กบัเด็กนกัเรียน

    - จ านวนเด็กนกัเรียนท่ีมีภาระดูแล

    การตดัสินใจเลือกศึกษาในโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพฯ ประกอบไปดว้ย

    - ดา้นการสอน - ดา้นบทบาทหนา้ท่ีของครู - ดา้นงานวิจยั/งานบริการ

    วชิาการ - ดา้นความสัมพนัธ์

    ระหวา่งโรงเรียนกบัชุมชน และผูป้กครอง

    - ดา้นงานอาหารและโภชนาการ

    - ดา้นสุขภาพอนามยั

    ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด - ดา้นหลกัสูตรและส่ือการสอน - ดา้นราคา - ดา้นสถานท่ีและส่ิงแวดลอ้ม - ดา้นโฆษณาและประชาสัมพนัธ์ - ดา้นอาจารยแ์ละบุคลากร - ดา้นกระบวนการท างาน - ดา้นทางกายภาพ -

  • 6

    2. ต่อโรงเรียน คือ โรงเรียนสามารถน าผลวิจยัในคร้ังน้ีไปพฒันาปรับปรุงทางดา้นการบริหารจดัการและการจดัการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบการของโรงเรียนและยงัท าให้โรงเรียนมีช่ือเสียง เป็นท่ียอมรับของผูป้กครองในการส่งบุตรหลานเขา้เรียนต่อไปในอนาคต

    3. ต่อสังคมและประเทศชาติ คือ โรงเรียนไดผ้ลิตนกัเรียนท่ีมีคุณภาพเขา้สู่สังคม และเป็นเยาวชนท่ีพร้อมจะน าความรู้ไปพฒันาประเทศชาติต่อไป

    นิยามศัพท์เฉพาะ

    โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทววีฒันา กรุงเทพมหานคร ผูป้กครอง หมายถึง พ่อ-แม่ หรือผูท่ี้อุปการะเล้ียงดู ในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษา

    โรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทววีฒันา กรุงเทพมหานคร ส่วนประสมทางการตลาด หมายถึง ปัจจยัส าคญัของการตดัสินใจของผูป้กครองในการ

    ส่งบุตรหลานเขา้ศึกษาโรงเรียนโชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร ท่ีช่วยให้การด าเนินธุรกิจด้านการตลาดบรรลุตามวตัถุประสงค์หรือเป้าหมายท่ีองค์กรวางไว ้ในการก าหนดกลยุทธ์การตลาดประกอบดว้ย

    ดา้นหลกัสูตรและส่ือการจดัการเรียนการสอน เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนชนิดต่างๆ ท่ีเตรียมการไว ้เพื่อช่วยใหเ้กิดการเรียนรู้และท าใหก้ารเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ

    ดา้นราคา หมายถึง ค่าใชจ่้ายในการพฒันาการศึกษา ค่าอาหาร และค่าบริการต่างๆ ของโรงเรียนท่ีผูป้กครองตอ้งจ่าย

    ดา้นสถานท่ีและส่ิงแวดลอ้ม หมายถึง ท าเลท่ีตั้งท่ีเหมาะสมส าหรับการเรียนการสอน

    ดา้นโฆษณาและประชาสัมพนัธ์ เป็นการติดต่อส่ือสารขอ้มูลระหว่างโรงเรียนกบัผูป้กครอง เช่น การแจง้ข่าวและประชาสัมพนัธ์ งานสัมพนัธ์ชุมชน เป็นตน้

    ดา้นอาจารยแ์ละบุคลากร หมายถึง บุคคลท่ีให้ความรู้และบุคคลท่ีช่วยสนบัสนุนการท ากิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน

    ดา้นกระบวนการท างาน หมายถึง การดูแลเอาใจใส่นกัเรียนในการเตรียมความพร้อมด้านการจดัการเรียนการสอน ประเมินการพฒันาของเด็กนักเรียน แจ้งผลการเรียนให้ผูป้กครองทราบและร่วมมือกบัผูป้กครองในการแกปั้ญหาเด็กนกัเรียน

    ด้านทางกายภาพ หมายถึง สภาพแวดล้อมในโรงเรียน ห้องเรียน อาคารเรียน ส่ิงอ านวยความสะดวก ท่ีส่งเสริมภาพพจน์ทางธุรกิจ

  • 7

    การตดัสินใจ หมายถึง กระบวนการเลือกโรงเรียน จากหลายๆ ทางเลือกท่ีไดพ้ิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าเป็นทางเลือกท่ีเหมาะสมและตรงกับวตัถุประสงค์มากท่ีสุด ในการตดัสินใจเลือกโรงเรียนประกอบไปดว้ย

    ดา้นการสอน หมายถึง วิธีการถ่ายทอดความรู้ อบรมนกัเรียน ให้มีความรู้ ความคิด เจตคติและทกัษะดงัท่ีจุดประสงคก์ารศึกษาไดร้ะบุไว ้

    ดา้นบทบาทหน้าท่ีของครู หมายถึง กิจท่ีครูตอ้งกระท าให้ไดผ้ลดีโดยสม ่าเสมอ ซ่ึงตอ้งอาศยัหลกัศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม กฎหมาย หรือดว้ยส านึกในความถูกตอ้งเหมาะสม

    ด้านงานวิจัย / งานบริการวิชาการ หมายถึง การบริหารกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา หรือโรงเรียนเก่ียวกับการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนให้ได้ผลดี และมีประสิทธิภาพท่ีสุด

    ดา้นความสัมพนัธ์ระหวา่งโรงเรียนกบัชุมชน และผูป้กครอง หมายถึง การติดต่อสัมพนัธ์หรือการสร้างสัมพนัธภาพอนัดีกบัชุมชน และผูป้กครอง เพื่อความเขา้ใจซ่ึงกนัและกนั อนัก่อให้เกิดความร่วมมือช่วยเหลือกนัระหว่างโรงเรียนกบัชุมชน และผูป้กครอง เพื่อร่วมมือกนัพฒันาการศึกษาในโรงเรียน ตลอดจนการใชแ้หล่งทรัพยากรของชุมชนร่วมกนัในทางสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์แก่ส่วนรวม

    อาหารและโภชนาการ หมายถึง สารซ่ึงอาจเป็นของแข็งหรือของเหลวท่ีนกัเรียนรับประทานเขา้ไป แลว้ไม่เป็นพิษหรือโทษต่อร่างกาย ร่างกายสามารถน าเอาไปใชเ้พื่อสร้างความเจริญเติบโตของร่างกาย

    สุขภาพอนามยั หมายถึง สภาวะร่างกายและจิตใจท่ีสมบูรณ์ สามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมไดด้ว้ยดี รวมไปถึงผูป้ระกอบการ คนท่ีท างานอาชีพต่างๆ ตอ้งมีความปลอดภยัจากภยัและอนัตรายต่างๆ

  • 8

    บทที ่2

    วรรณกรรมที่เกีย่วข้อง

    แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ง ท่ีผูว้ิจยัได้ท าการทบทวนเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษา เร่ืองปัจจัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจของผู ้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาในโรงเรียน โชติกาญจน์ เขตทวีวฒันา กรุงเทพมหานคร ซ่ึงผูศึ้กษาไดค้น้ควา้เอกสาร และงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งเป็นกรอบแนวคิด ดงัน้ี

    1. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบัการตดัสินใจ 2. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบัการตลาดบริการ 3. แนวคิดทฤษฎีอุปสงค ์4. แนวคิดเก่ียวกบัการจดัการศึกษา 5. แนวคิดเก่ียวกบัการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 6. พฤติกรรมผูบ้ริโภค 7. โรงเรียนโชติกาญจน์ 8. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง

    1. แนวคิดและทฤษฎเีกีย่วกบัการตัดสินใจ

    1.1 ความหมายของการตัดสินใจ การตดัสินใจ เป็นกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหน่ึงจากหลายๆ ทางเลือก

    โดยจะพิจารณาหรือประเมินอย่างดีแล้วว่าก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด แต่ประหยดัทรัพยากรท่ีสุดและเป็นทางใหบ้รรลุวตัถุประสงคแ์ละเป้าหมายท่ีวางไว ้โดยมีผูใ้ห้ความหมายของการตดัสินใจไว้ดงัน้ี

    ศิริพร พงศศ์รีโรจน์ (2540, หนา้ 187) การตดัสินใจ หมายถึง การเลือกปฏิบติัหรือการเลือกทางด าเนินการท่ีเห็นว่าดีท่ีสุดทางใดทางหน่ึงจากทางเลือกหลายๆ ทาง เพื่อให้บรรลุวตัถุประสงคต์ามท่ีตอ้งการ

    บรรยงค ์โตจินดา (2548, หนา้ 178) การตดัสินใจ หมายถึงการท่ีผูบ้ริหารพิจารณาตดัสินใจและสั่งการในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง การตดัสินใจเป็นเร่ืองท่ีมีความส าคญัมาก เพราะการสั่งการจะเป็นการเลือกทางเลือกด าเนินการท่ีดีท่ีสุดในบรรดาทางเลือกหลายๆ ทาง

  • 9

    สมคิด บางโม (2548, หน้า 175) การตดัสินใจ หมายถึง การตดัสินใจเลือกทางปฏิบติั ซ่ึงมีหลายทางเป็นแนวปฏิบติัไปสู่เป้าหมายท่ีวางไว ้การตดัสินใจน้ีอาจเป็นการตดัสินใจท่ีจะกระท าการส่ิงใดส่ิงหน่ึงหรือหลายส่ิงหลายอยา่ง เพื่อความส าเร็จตรงตามท่ีตั้งเป้าหมายไว ้

    วรพจน์ บุษราคมัวดี (2551, หน้า 109) การตดัสินใจ หมายถึง กระบวนการท่ีผูบ้ริหารตดัสินใจใช้ในการแกปั้ญหาขององค์กร หรือการก าหนดแนวทางการปฏิบติัซ่ึงตั้งอยู่บนพื้นฐานขอ้มูลข่าวสารท่ีไดรั้บจากโครงสร้างองคก์ร

    Keen (1980, อา้งใน “การตดัสินใจ”, 2558) การตดัสินใจหมายถึง สถานการณ์ระบบสุดทา้ยระบบหน่ึงสามารถถูกสร้างข้ึนมาไดโ้ดยผา่นกระบวนการเรียนรู้ และการเปล่ียนแปลง ปรับปรุงเพื่อสามารถน าไปใชไ้ด ้

    จากความหมายข้างต้น พอสรุปได้ว่า การตัดสินใจหมายถึง สถานการณ์ท่ีมีทางเลือกหลายทาง โดยจะตดัสินใจเลือกทางเลือกเพียงทางเดียวเท่านั้นและเป็นทางเลือกท่ีดีท่ีสุด ซ่ึงจะตอ้งผ่านกระบวนการเรียนรู้ การคิด วิเคราะห์ การชั่งใจ เพื่อให้สอดคล้องและบรรลุตามวตัถุประสงคท่ี์ก าหนดไว ้(ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ, 2541)

    1.2 องค์ประกอบของการตัดสินใจ การตดัสินใจเลือกกระท าพฤติกรรมของมนุษยน์ั้น มกัเกิดจากความเช่ือและความ

    ไม่เช่ือ เป็นเหตุผลหลักท่ีใช้ให้การตัดสินใจ ซ่ึงความเช่ือและไม่เช่ือน้ีเกิดจากสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว (ปัจจยัทางครอบครัว) และปัจจยัส่วนตวัหลายๆ อย่างมารวมกนัคือ บุคคลอาจจะตดัสินใจกระท าพฤติกรรมอยา่งเดียวกนัแต่เหตุผลท่ีท าให้เกิดการตดัสินใจอาจแตกต่างกนัโดยไดอ้ธิบายเหตุผลในการกระท าส่ิงหน่ึงส่ิงใดของมนุษยว์า่เกิดจากปัจจยัต่อไปน้ี

    1.2.1 เป้าหมายหรือจุดประสงค์ ในการกระท าส่ิงใดส่ิงหน่ึงผูต้ดัสินใจจะมีการก าหนดเป้าหมายไวก่้อนล่วงหนา้ และพยายามท่ีจะท าทุกวถีิทางเพื่อใหบ้รรลุเป้าหมายนั้นๆ

    1.2.2 ความเช่ือ เกิดจากความคิด ความรู้ท่ีผูต้ดัสินใจเขา้ใจในเร่ืองหน่ึง ซ่ึงจะมีอิทธิพลต่อการตดัสินใจและการเลือกกระท าทางสังคม ในการกระท าทางสังคมใดๆ ยอ่มตอ้งอาศยัความเช่ืออยู่เสมอ ความเช่ืออาจจะมีพื้นฐานมากจากหลกัฐาน ขอ้เท็จจริงท่ีเช่ือถือไดห้รือไม่ได้ก็ตาม โดยอาเช่ือจากรับรู้เอาเองหรือจากลกัษณะท่ีเกิดความไขวเ้ขวได ้

    1.2.3 ค่านิยม คือส่ิงท่ีบุคคลยดึถือเป็นเคร่ืองช่วยตดัสินใจและการกระท าของตนเอง ค่านิยมจะแตกต่างจากความเช่ือตรงท่ีวา่ ค่านิยมเป็นส่ิงท่ีมัน่คงและเปล่ียนแปลงไดย้าก ค่านิยมจะแสดงออกทางทศันคติและพฤติกรรมของผูก้ระท าทุกรูปแบบ ดงันั้น ค่านิยมจึงมีอิทธิพลต่อการตดัสินใจและการกระท าทางสังคมของบุคคล โดยบุคคลพยายามท่ีจะกระท าให้สอดคล้องกับค่านิยมท่ีตนเองยดึถืออยู ่

  • 10

    1.2.4 นิสัยและธรรมเนียม แบบอยา่งพฤติกรรมท่ีสังคมก าหนดไวสื้บต่อกนัมาดว้ยประเพณี และถา้มีการละเมิดก็จะถูกบงัคบัดว้ยการท่ีสังคมไม่เห็นชอบดว้ย ในการตดัสินใจจะเลือกพฤติกรรมอย่างใดอยา่งหน่ึงของมนุษย ์ส่วนหน่ึงเน่ืองมาจากแบบอยา่งพฤติกรรมท่ีสังคมก าหนดไว ้

    1.2.5 การคาดหวงั คือ ท่าทีของบุคคลท่ีมีต่อพฤติกรรมของบุคคลท่ีเก่ียวขอ้งกบัตนเอง ซ่ึงคาดหวงัหรือตอ้งการใหบุ้คคลนั้นถือปฏิบติั และกระท าในส่ิงท่ีตนตอ้งการ ดงันั้น ในการตดัสินใจกระท าพฤติกรรมของบุคคล ส่วนหน่ึงจึงข้ึนอยู่กบัความคาดหวงัและท่าทีของบุคคลอ่ืนดว้ย

    1.2.6 ขอ้ผูกพนั เป็นส่ิงท่ีผูต้ดัสินใจเช่ือวา่ตนเองผูกพนั จ าเป็นท่ีจะตอ้งกระท าให้สอดคลอ้งกบัสถานการณ์หรือประเด็นปัญหาท่ีตนเก่ียวขอ้งทั้งทางตรงและทางออ้ม ขอ้ผูพ้นัจะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจตั้ งใจและการกระท าทางสังคม เพราะผูต้ ัดสินใจตั้ งใจกระท าส่ิงนั้ นเน่ืองจากรู้สึกวา่มีขอ้ผกูพนัท่ีจะตอ้งกระท า

    1.2.7 การบงัคบั เป็นความเช่ือท่ีอยูใ่นใจของผูก้ระท าว่า ตนเองตอ้งตดัสินใจหรือการกระท าอยา่งใดอยา่งหน่ึงโดยไม่มีทางเลือก การบงัคบัเป็นตวักระตุน้ให้ผูต้ดัสินใจกระท าไดเ้ร็วข้ึน เพราะในขณะท่ีผูต้ดัสินใจตั้งใจท่ีจะกระท าส่ิงต่างๆ นั้น เขาอาจจะยงัไม่แน่ใจว่าจะกระท าพฤติกรรมนั้นดีหรือไม่ แต่เม่ือมีการบงัคบัก็จะท าใหต้ดัสินใจกระท าพฤติกรรมนั้นไดเ้ร็วข้ึน

    1.2.8 โอกาส คือ ความเช่ือของผูต้ดัสินใจท่ีมีต่อสถานการณ์หรือทางเลือกท่ีมีอยูเ่ม่ือผูต้ดัสินใจพิจารณาแลว้พบว่าภายใตส้ถานการณ์นั้นมีช่องทาง จงัหวะเวลาท่ีเหมาะสม และเปิดโอกาสให้เลือกกระท าได้ ดงันั้นการท่ีบุคคลจะตดัสินใจประพฤติปฏิบติัอย่างหน่ึงอย่างใดลงไป จึงข้ึนอยูก่บัโอกาสท่ีมีในสถานการณ์นั้น

    1.2.9 การสนบัสนุน ผูต้ดัสินใจท่ีทราบความสามารถของตนเองจะส่งผลให้เกิดการกระท าทางสังคมและประสบความส าเร็จในการด าเนินกิจกรรมต่างๆ

    1.2.10 การสนบัสนุน คือ ส่ิงท่ีผูต้ดัสินใจทราบวา่จะไดรั้บจากบุคคลอ่ืน ซ่ึงจะเป็นแรงสนับสนุนให้เขาตัดสินใจเลือกกระท าพฤติกรรมนั้นๆ บุคคลมักจะมีความโน้มเอียงท่ีจะตดัสินใจและกระท าพฤติกรรมอยา่งใดอยา่งหน่ึงเม่ือทราบวา่จะไดรั้บการสนบัสนุนจากผูอ่ื้น

    จากปัจจัยท่ีกล่าวมาสรุปได้ว่า การะกระท าส่ิงหน่ึงส่ิงใดของมนุษย์ย่อมต้องมีเหตุผลในการกระท าเสมอ ขณะท่ีเหตุผลก็ไม่ได้จ ากดัเพียงอย่างเดียว แต่จะประกอบด้วยหลายเหตุผลข้ึนอยู่กับแต่ละบุคคลซ่ึงอาจเหมือนหรือแตกต่างกัน (การคิดและการตัดสินใจ คณะวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2554)

  • 11

    1.3 ประเภทของการตัดสินใจ การท าการตดัสินใจมกัจะตอ้งท าการตดัสินใจภายใต้สถานการณ์หรือสภาวการณ์

    ต่างกนั ซ่ึงเป็นเหตุการณ์ท่ีอยู่นอกเหนือการควบคุมของผูต้ดัสินใจเอง หากแต่มีอิทธิพลต่อการตดัสินใจอยา่งยิ่งจึงตอ้งน ามาประกอบการตดัสินใจ สถานการณ์หรือสภาวการณ์ของการตดัสินใจสามารถแบ่งไดเ้ป็น 2 แบบ คือ

    1.3.1 การตดัสินใจภายใตส้ภาวการณ์ท่ีแน่นอน คือการตดัสินใจท่ีทราบผลลพัธ์ล่วงหนา้อยา่งแน่นอนวา่ ถา้เลือกทางเลือกใดทางเลือกหน่ึงจากทางเลือกท่ีมีอยูผ่ลลพัธ์ท่ีไดจ้ะเป็นอยา่งไร ลกัษณะของการตดัสินใจประเภทน้ีคือ

    1 ผูต้ดัสินใจมีขอ้มูลอยา่งเพียงพอในการตดัสินใจ รวมถึงทราบถึงผลลพัธ์ของแต่ละทางเลือก

    2 ผลลพัธ์จะเกิดข้ึนแน่นอน (แทบไม่มีความเส่ียงใดๆ เลย) 3 ในขณะท่ีการตดัสินใจ คือการเลือกทางเลือกท่ีให้ผลตอบแทนสูงท่ีสุดหรือ

    เกิดผลเสียนอ้ยท่ีสุด 1.3.2 การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ�