โรคเมลิออยโดสิส (melioidosis) · 2015. 2. 10. ·...

6
126 องคความรู (Factsheet) เรื่อง โรคติดตออุบัติใหม โรคเมลิออยโดสิส (MELIOIDOSIS) 1. ลักษณะโรค : เปนโรคติดเชื้อแบคทีเรีย ชื่อวา Burkholderia pseudomallei (ดังรูปที่ 37) รูปที่ 37 โคโลนีเหี่ยวยนของ B. pseudomallei ที่ดูคลาย โคโลนีของเชื้อรา 2. ระบาดวิทยา : สถานการณทั่วโลก : เมลิออยโดสิส เปนโรคติดเชื้อที่เปนปญหาของหลายประเทศ รายงาน วาประเทศทางแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตและทาง เหนือของทวีปออสเตรเลีย เปนบริเวณที่มีโรคประจําถิ่น (Endemic area) และสามารถตรวจพบโรคนี้ไดบางใน ฮองกง ไตหวัน อินเดีย นิวซีแลนด และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก สถานการณโรคในประเทศไทย : พบผูปวยไดทุกภาคทั่ว ประเทศ แตพบมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย เฉพาะอยางยิ่งจังหวัดขอนแกนและอุบลราชธานี ผูปวย

Upload: others

Post on 10-Sep-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โรคเมลิออยโดสิส (MELIOIDOSIS) · 2015. 2. 10. · เมลิออยโดสิส เพศชาย อายุ 46 ป ซึ่งเป นโรคเบาหวานที่

126 องคความรู (Factsheet) เรื่อง โรคติดตออุบัติใหม

โรคเมลิออยโดสิส(MELIOIDOSIS)

1. ลักษณะโรค : เปนโรคติดเชื้อแบคที เรีย ชื่อวา Burkholderia pseudomallei (ดังรูปที่ 37)

รูปที่ 37 โคโลนีเหี่ยวยนของ B. pseudomallei ที่ดูคลายโคโลนีของเชื้อรา

2. ระบาดวิทยา : สถานการณทั่วโลก : เมลิออยโดสิสเปนโรคติดเชื้อที่เปนปญหาของหลายประเทศ รายงานวาประเทศทางแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตและทางเหนือของทวีปออสเตรเลีย เปนบริเวณที่มีโรคประจําถิ่น (Endemic area) และสามารถตรวจพบโรคนี้ไดบางในฮองกง ไตหวัน อินเดีย นิวซีแลนด และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก

สถานการณโรคในประเทศไทย : พบผูปวยไดทกุภาคทัว่ประเทศ แตพบมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะอยางยิ่งจังหวัดขอนแกนและอุบลราชธานี ผูปวย

Page 2: โรคเมลิออยโดสิส (MELIOIDOSIS) · 2015. 2. 10. · เมลิออยโดสิส เพศชาย อายุ 46 ป ซึ่งเป นโรคเบาหวานที่

127องคความรู (Factsheet) เรื่อง โรคติดตออุบัติใหม

สวนใหญ (รอยละ 60 - 95) เปนชาวไรชาวนาหรือผูที่ทํางานกับดินและนํ้า พบผูปวยมากในฤดูฝน มีรายงานการติดเชื้อในโรงพยาบาล (nosocomial infection) ผูปวยสวนใหญเปนบุคคลที่มีปจจัยเสี่ยง เชน โรคติดเชื้อทางเดินหายใจเรื้อรัง วัณโรค เบาหวาน โรคไต โรคเลือด มะเร็ง และภาวะบกพรองทางภูมิคุมกัน เปนตน เด็กเปนโรคนี้นอยกวาผูใหญ

จากการคาดคะเนคิดวานาจะมีผูปวยมากกวาปละ 2,000 รายในประเทศไทย แตขาดการศึกษายืนยันและไมมีการรายงานในผูปวย สวนมากไดขอมูลจากการสํารวจระดับแอนติบอดีตอเชื้อของคนปกติในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยพบมีการติดเชื้อ (seroprevalence) ประมาณรอยละ 20

3. อาการของโรค : อาการแสดงมีหลากหลายตั้งแตไมมีอาการเลย หรือมีจุดที่ปอดแตไมแสดงอาการ จนถึงมีฝที่ผิวหนัง ฝที่อวัยวะภายใน เนื้อเยื่อปอดอักเสบตาย หรือติดเชื้อในกระแสเลือดจนเสียชีวิต (ดังรูปที่ 38, 39, 40, 41 ตามลําดับ) ซึ่งอาการอาจคลายคลึงกับโรคติดเชื้อหลายโรค เชน ไขทัยฟอยด หรือวัณโรคที่มีโพรงในปอด หนองในชองปอด ฝเรือ้รงั และเยือ่กระดกูตดิเชือ้ เปนตน

Page 3: โรคเมลิออยโดสิส (MELIOIDOSIS) · 2015. 2. 10. · เมลิออยโดสิส เพศชาย อายุ 46 ป ซึ่งเป นโรคเบาหวานที่

128 องคความรู (Factsheet) เรื่อง โรคติดตออุบัติใหม

รูปที่ 38 ตุมหนองที่ผิวหนังจํานวนมากในผูปวยดวยโรคเมลิออยโดสิส เพศชาย อายุ 46 ป ซ่ึงเปนโรคเบาหวานที่เสยีชวีติดวยการตดิเชือ้เมลอิอยโดสสิในกระแสเลอืด (Multiple pustules in a 46-year-old diabetic man with fatal septicemic melioidosis)

รูปที่ 39 ภาพถายเอกซเรยปอดแสดงหนองในปอดจํานวนมาก ในผูปวย อายุ 46 ป ซึ่งเปนโรคเบาหวานที่เสียชีวิตดวยการติดเชื้อเมลิออยโดสิสในกระแสเลือด (Chest radiography of 46-year-old diabetic patient with fatal septicemic melioidosis, showing multiple pulmonary abscesses)

Page 4: โรคเมลิออยโดสิส (MELIOIDOSIS) · 2015. 2. 10. · เมลิออยโดสิส เพศชาย อายุ 46 ป ซึ่งเป นโรคเบาหวานที่

129องคความรู (Factsheet) เรื่อง โรคติดตออุบัติใหม

รูปที่ 40 ภาพถายเอกซเรยคอมพิวเตอรปอดที่มีกอนหนองขนาดใหญ ในผูปวยดวยโรคเมลิออยโดสิส เพศหญิง อายุ 26 ป เสียชีวิตดวยโรคเมลิออยโดสิส (CT scan of the chest of a 26-year-old woman with fatal melioidosis, showing large pulmonary abscess)

รูปที่ 41 ฝาขาวแผกวางในปอดกลบีบนขางซาย ในผูปวยดวยโรคเมลิออยโดสิส เพศชาย อายุ 54 ป เสียชีวิตดวยโรคปอดอักเสบจากเมลิออยโดสิส (Extensive left upper lobe consolidation in 54-year-old man with fatal melioidosis pneumonia)

Page 5: โรคเมลิออยโดสิส (MELIOIDOSIS) · 2015. 2. 10. · เมลิออยโดสิส เพศชาย อายุ 46 ป ซึ่งเป นโรคเบาหวานที่

130 องคความรู (Factsheet) เรื่อง โรคติดตออุบัติใหม

4. ระยะฟกตัวของโรค : ตั้งแต 2 วัน ถึงนานหลายป5. การวินิจฉัยโรค : การวินิจฉัยเพื่อยืนยันไดจากการ

แยกเชื้อ หรือการเพิ่มสูงของระดับภูมิคุมกัน สําหรับการตรวจ Direct Immunofl uorescent Microscopy นัน้มีความจาํเพาะสงูรอยละ 90 แตมคีวามไวคอนขางตํา่เพยีงรอยละ 70 เมื่อเทียบกับการเพาะเชื้อ จึงควรนึกถึงโรคนี้ในกลุมผูปวยที่ไมสามารถตรวจหาสาเหตุการปวย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ที่มีโพรงในปอด คนที่อาศัยหรือเดินทางกลับจากแหลงที่มีโรคชุก โรคนี้อาจเริ่มแสดงอาการหลังติดเชื้อนานถึง 25 ป

6. การรักษา : ใหการรักษาแบบประคับประคองและใหยาเซฟตาซิดีนิ (Ceftazidime) หรือยาอิมิพีเนม (Imipenem) ทางหลอดเลือดอยางนอย 10 วัน แลวใหการรักษาดวยยาไตรเมโธพริม - ซัลฟาเมธอกซาโซล (Trimetoprim-Sulfamethoxazole) แบบรับประทาน (เปนระยะเวลา 24 สัปดาห ) ซึ่ งอาจใหรวมกับ ยาดอกซีซัยคลิน (Doxycycline) ในเด็กท่ีอายุมากกวา 8 ป

7. การแพรติดตอโรค : มักติดตอจากการสัมผัสดินหรือนํ้าที่นํ้าที่ปนเปอนเชื้อ เชื้อเขาสูรางกายผานบาดแผล การสําลักหรือกลืนนํ้า หรือหายใจเอาละอองฝุนของดินที่มีเชื้อปนเปอน

8. มาตรการปองกันโรค : 1. ผูทีม่โีรคประจาํตวั เชน เบาหวาน และผูทีม่บีาดแผล

ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสดินหรือแหลงนํ้า เชน ในนาขาว ซึ่งเปนแหลงที่มีโรคชุกชุม

2. ในแหลงที่มีโรคชุกชุม ควรใหความรูแกประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะผูที่มีโรคประจําตัวเรื้อรัง หรือมีบาดแผล รอยขีดขวน ในการปองกันไมใหสัมผัสดินและแหลงนํ้าโดยตรง เชน สวมรองเทาบูท หรือหากจําเปนตองรีบทําความสะอาดหลังเสร็จงานทันที

Page 6: โรคเมลิออยโดสิส (MELIOIDOSIS) · 2015. 2. 10. · เมลิออยโดสิส เพศชาย อายุ 46 ป ซึ่งเป นโรคเบาหวานที่

131องคความรู (Factsheet) เรื่อง โรคติดตออุบัติใหม

9. มาตรการควบคุมการระบาด : โดยทั่วไปมักเปนผูปวยเดี่ยว หากมีการระบาดตองสอบสวนหาแหลงโรค

เอกสารอางอิง:1. กุลนารี สิริสาลี และสุดารัตน มโนเชี่ยวพินิจ การเจาะ

เลือด: ผลกระทบตอคุณคุณภาพงานบริการทางหองปฏิบัติการชันสูตรโรค พิมพครั้งที่ 1 กรุงเทพ: เอช ที พี เพรส, 2541.

2. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข, กรมวิทยาศาสตรการแพทย. คูมือการเก็บตัวอยางสงตรวจทางหองปฏิบัติการ. ใน: การตรวจวินิจฉัยโรคเมลิออยโดสิส. กระทรวงสาธารณสุข; 2552. หนา 97 - 98.

3. Heymann DL., Editor, Control of Communicable Diseases Manual 19th Edition, American Associa-tion of Public Health, 2008.

4. Mandell GL, Bennett JE, Dolin R. Mandell, Douglas, and Bennett’s , editor. Principles and Practice of Infectious Diseases. 7th ed. Vol.2. Philadelphia (USA): Elsevier; 2010 : p.2872-2873.

5. สํานักโรคติดตออุบัติใหม กรมควบคุมโรค. แนวทางการปองกันควบคุมโรคติดตออุบัติใหม สําหรับบุคลากรสาธารณสขุ. กรงุเทพฯ : โรงพมิพชมุนมุสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด ; 2551.