190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/law/2555/ปกรณ์ จโนภาส... ·...

20
การบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 190 ศึกษากรณีการทําความตกลงเขตการคาเสรี นายปกรณ จโนภาส บทคัดยอ การทําความตกลงการคาเสรีพบวามีปญหาที่เกิดจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 190 ไดแก การขอความเห็นชอบกอนการเจรจาทําหนังสือสัญญา ปญหาการรักษาความลับในสวนทีเกี่ยวกับทาทีการเจรจาการทําความตกลงเขตการคาเสรีที่ตองขอความเห็นชอบตอรัฐสภาและตอง เสนอกรอบการเจรจาเสนอตอรัฐสภา ทําใหประเทศไทยเสียเปรียบในการเจรจาตอรองทําใหประเทศ คูเจรจารูความลับทาทีของประเทศไทยไดในสวนที่เกี่ยวกับทาทีการเจรจาการทําความตกลงเขต การคาเสรี ปญหาผูมีอํานาจในการทําหนังสือสัญญาใชดุลพินิจที่ไมชอบโดยใชดุลพินิจวาหนังสือ สัญญาฉบับดังกลาวไมเปนหนังสือสัญญา ตามมาตรา 190 วรรคสองและไดลงนามโดยมีเจตนาเขา ผูกพันตามหนังสือสัญญาปญหาการไมมีกฎหมายกําหนดขั้นตอนเกี่ยวกับการทําหนังสือสัญญาตาม รัฐธรรมนูญ สงผลใหการทําความตกลงเขตการคาเสรีไดรับผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศจาก การดําเนินการทําความตกลงที่เกิดขึ้นโดยมิไดดําเนินการตามขั้นตอนที่เหมาะสมในการทําความตกลง เขตการคาเสรี ผูวิจัยจึงไดศึกษาหลักเกณฑระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับการทําสนธิสัญญาตาม สนธิสัญญาอนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ.1969, ความตกลงเขตการคาเสรี ระหวางประเทศไทยกับตางประเทศ, หลักเกณฑการทําหนังสือสัญญาซึ่งตองไดรับความเห็นชอบจาก รัฐสภา , กฎหมายอันเกี่ยวดวยการทําความตกลงเขตการคาเสรีการทําความตกลงเขตการคาเสรี ระหวางรัฐหรือองคการระหวางประเทศของประเทศไทยภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย เพื่อวิเคราะหสาเหตุแหงปญหาตามรัฐธรรมนูญเพื่อศึกษาหาแนวทางการแกไขปญหา ในการศึกษา ผูวิจัยมีความเจาะจงที่เนื้อหาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 190 วรรค สองและวรรคสาม เพื่อแกไขปญหาดังกลาวที่เกิดจากรัฐธรรมนูญวาดวย การทําหนังสือสัญญา การตีความของ ถอยคํา การใชดุลพินิจของผูทําความตกลงและการไมมีกฎหมายกําหนดขั้นตอนการทําหนังสือสัญญา

Upload: others

Post on 05-Mar-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

การบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550มาตรา 190 ศึกษากรณีการทําความตกลงเขตการคาเสรี

นายปกรณ จโนภาส

บทคัดยอการทําความตกลงการคาเสรีพบวามีปญหาที่เกิดจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 190

ไดแก การขอความเห็นชอบกอนการเจรจาทําหนังสือสัญญา ปญหาการรักษาความลับในสวนที่

เกี่ยวกับทาทีการเจรจาการทําความตกลงเขตการคาเสรีที่ตองขอความเห็นชอบตอรัฐสภาและตอง

เสนอกรอบการเจรจาเสนอตอรัฐสภา ทําใหประเทศไทยเสียเปรียบในการเจรจาตอรองทําใหประเทศ

คูเจรจารูความลับทาทีของประเทศไทยไดในสวนที่เกี่ยวกับทาทีการเจรจาการทําความตกลงเขต

การคาเสรี ปญหาผูมีอํานาจในการทําหนังสือสัญญาใชดุลพินิจที่ไมชอบโดยใชดุลพินิจวาหนังสือ

สัญญาฉบับดังกลาวไมเปนหนังสือสัญญา ตามมาตรา 190 วรรคสองและไดลงนามโดยมีเจตนาเขา

ผูกพันตามหนังสือสัญญาปญหาการไมมีกฎหมายกําหนดขั้นตอนเกี่ยวกับการทําหนังสือสัญญาตาม

รัฐธรรมนูญ สงผลใหการทําความตกลงเขตการคาเสรีไดรับผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศจาก

การดําเนินการทําความตกลงที่เกิดขึ้นโดยมิไดดําเนินการตามขั้นตอนที่เหมาะสมในการทําความตกลง

เขตการคาเสรี

ผูวิจัยจึงไดศึกษาหลักเกณฑระหวางประเทศที่ เกี่ยวของกับการทําสนธิสัญญาตาม

สนธิสัญญาอนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ.1969, ความตกลงเขตการคาเสรี

ระหวางประเทศไทยกับตางประเทศ, หลักเกณฑการทําหนังสือสัญญาซึ่งตองไดรับความเห็นชอบจาก

รัฐสภา, กฎหมายอันเกี่ยวดวยการทําความตกลงเขตการคาเสรีการทําความตกลงเขตการคาเสรี

ระหวางรัฐหรือองคการระหวางประเทศของประเทศไทยภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

เพื่อวิเคราะหสาเหตุแหงปญหาตามรัฐธรรมนูญเพื่อศึกษาหาแนวทางการแกไขปญหา ในการศึกษา

ผูวิจัยมีความเจาะจงที่เนื้อหาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 190 วรรค

สองและวรรคสาม

เพื่อแกไขปญหาดังกลาวที่เกิดจากรัฐธรรมนูญวาดวย การทําหนังสือสัญญา การตีความของ

ถอยคํา การใชดุลพินิจของผูทําความตกลงและการไมมีกฎหมายกําหนดขั้นตอนการทําหนังสือสัญญา

Page 2: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนปญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสอง ผูวิจัย

ขอเสนอแนะดังตอไปนี้

1. กอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสาม มีปญหาเรื่องการรักษา

ความลับในสวนที่เกี่ยวกับทาทีการเจรจาการทําความตกลงเขตการคาเสรี หากประเทศคูเจรจารูทาที

ของประเทศไทยในการเจรจา เนื่องจากรัฐบาลตองใหขอมูลเทาที่เกี่ยวของกับการทําความตกลงเขต

การคาเสรีแกประชาชน และตองเสนอกรอบการเจรจาตอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ ซึ่งอาจจะทําให

ประเทศไทยเสียเปรียบในการเจรจาตอรอง หากรัฐบาลเสนอกรอบเจรจาที่ไมมีเนื้อหาสาระตอรัฐสภาก็

อาจถูกตําหนิและอาจจะไมไดรับความเห็นชอบ ตามมาตรา 190 วรรคสาม ความหมายของคําวา

“กอนการดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญา” ควรตีความวา “กอนการดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญา

อยางเปนทางการ” โดยรัฐบาลดําเนินการเสนอใหรัฐสภามีมติในการตีความคําดังกลาว ฉะนั้นการ

เจรจาอยางไมเปนทางการก็สามารถดําเนินไปได จนถึงขั้นตอนที่จะสรุปทาทีของทั้งสองฝายจึงเสนอ

กรอบการเจรจาเพื่อขอความเห็นชอบตอรัฐสภา

2. ควรจะยึดถือปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 6 – 7/2551 เพื่อแกไข

ปญหาถอยคําที่ไมแนชัดตามมาตรา 190 วรรคสอง มีปญหาการใชถอยคําที่ไมแนชัดในการตีความ

ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสองใชคําวา “มีผลกระทบตอ

ความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันดานการคา การ

ลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญ” กลาวคือ ตัดสินใจวาการทําหนังสือสัญญาใดๆ

ที่ตองขอความเห็นชอบตอรัฐสภานั้น เปนอํานาจหนาที่ในการตัดสินใจของผูทําหนังสือสัญญา ในกรณี

ที่ผูทําหนังสือสัญญาตัดสินใจวา เปนหนังสือสัญญาที่ไมตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภา หากฝาย

คานไมเห็นดวย ก็ขอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาด

3. ขอเสนอใหมีบทลงโทษทางอาญาแกผูที่ใชดุลพินิจโดยมิชอบ โดยการกําหนดไวใน

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ บทลงโทษแกผูทําหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสอง หาก

ใชดุลพินิจที่ไมชอบควรไดรับโทษทางอาญา เพราะมีปญหาการผูกพันตามหนังสือสัญญาตามมาตรา

190 วรรคสอง ภายใตคําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ การที่คณะรัฐมนตรี หรือผูมีอํานาจในการทําหนังสือ

สัญญาตามมาตรา 190 วรรคสอง ลงนามในหนังสือสัญญาที่ทําใหมีผลบังคับใชกอนที่จะไดรับ

Page 3: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

ความเห็นชอบจากรัฐสภา โดยใชดุลพินิจวาไมเปนหนังสือสัญญา 5 ประเภท ตามมาตรา 190 วรรค

สอง จึงไมตองปฎิบัติตามมาตรา 190 วรรคสอง วรรคสาม วรรคสี่ ดังกลาว

4. ใหเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญ โดย

การกําหนดไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

190 วรรคสอง เพื่อใหสอดคลองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 190

บทนําประเทศไทยปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ไดมีการ

ประกาศใชและแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญหลายครั้ง เพื่อใหเหมาะสมแกสภาวการณของบานเมืองและ

กาลสมัยที่เปลี่ยนแปลง และโดยที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549

ไดบัญญัติใหมีสภารางรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญขึ้น มีหนาที่จัดทําราง

รัฐธรรมนูญฉบับใหมทั้งฉบับ สําหรับเปนแนวทางการปกครองของประเทศไทย โดยใหประชาชนมีสวน

รวมแสดงความคิดเห็นอยางกวางขวางทุกขั้นตอน และไดนําความคิดเห็นเหลานั้นมาเปนขอคํานึง

พิเศษ ซึ่งรางรัฐธรรมนูญฉบับที่จัดทําใหมนี้มีหลักสําคัญเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิและเสรีภาพของ

ประชาชนใหเปนที่ประจักษชัดเจนยิ่งขึ้น สนับสนุนใหประชาชนมีบทบาทและมีสวนรวมในการ

ปกครองและตรวจสอบการใชอํานาจรัฐอยางเปนรูปธรรมและมีสัมฤทธิผล กําหนดกลไกสถาบันทาง

การเมืองทุกสวนโดยเฉพาะฝายนิติบัญญัติและฝายบริหาร ใหมีดุลยภาพและประสิทธิภาพตามวิถีการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขแบบรัฐสภา สรางเสริมสถาบันศาล

และองคกรอิสระอื่นใหสามารถปฏิบัติหนาที่ไดโดยสุจริตเที่ยงธรรม และเหนือสิ่งอื่นใด เปนการเนนย้ํา

คุณคาและความสําคัญของคุณธรรม จริยธรรมและแนวทางการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีอันเปน

หลักจรรโลงชาติเมื่อจัดทํารางรัฐธรรมนูญแลวเสร็จ สภารางรัฐธรรมนูญไดใหประชาชนทราบและจัด

ใหมีการออกเสียงประชามติเพื่อใหความเห็นชอบแกรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 1

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 190 ซึ่งบัญญัติถึงกระบวนการจัดทํา

หนังสือสัญญาระหวางประเทศ ที่มีความเปลี่ยนแปลงหลักการสําคัญและรายละเอียดในการทํา

1บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, สารานุกรมรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) หมวดทั่วไป เรื่อง 1,

เจตนารมณรัฐธรรมนูญ, สถาบันพระปกเกลาฯ, กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา, 2545, หนา 124

Page 4: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

หนังสือสัญญาระหวางประเทศโดยตองไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภาเสียกอน อันแตกตางจาก

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับตางๆที่ผานมา โดยเฉพาะมาตรา 224 รัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ทั้งนี้เปนผลมาจากความตองการควบคุมตรวจสอบการทําหนังสือ

สัญญาของฝายบริหาร ซึ่งยังขาดความโปรงใสและขาดประสิทธิภาพอยางมาก

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 190 บัญญัติวา “พระมหากษัตริยทรง

ไวซึ่งพระราชอํานาจในการทําหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่น กับนานา

ประเทศหรือกับองคการระหวางประเทศ

หนังสือสัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขตซึ่ง ประเทศ

ไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศหรือจะตอง

ออกพระราชบัญญัติเพื่อใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา หรือมีผลกระทบตอความมั่นคงทาง

เศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรือ

งบประมาณของประเทศ อยางมีนัยสําคัญ ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา ในการนี้ รัฐสภาจะตอง

พิจารณาใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับเรื่องดังกลาว

กอนการดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญากับนานาประเทศหรือองคการระหวางประเทศ ตาม

วรรคสอง คณะรัฐมนตรีตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และตองชี้แจง

ตอรัฐสภาเกี่ยวกับหนังสือสัญญานั้น ในการนี้ ใหคณะรัฐมนตรีเสนอกรอบการเจรจาตอรัฐสภา เพื่อขอ

ความเห็นชอบดวย

เมื่อลงนามในหนังสือสัญญาตามวรรคสองแลว กอนที่จะแสดงเจตนาใหมีผลผูกพัน

คณะรัฐมนตรีตองใหประชาชนสามารถเขาถึงรายละเอียดของหนังสือสัญญานั้น และในกรณีที่การ

ปฏิบัติ ตามหนังสือสัญญาดังกลาวกอใหเกิดผลกระทบตอประชาชนหรือผูประกอบการขนาดกลาง

และขนาดยอม คณะรัฐมนตรีตองดําเนินการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับผลกระทบนั้นอยางรวดเร็ว

เหมาะสม และเปนธรรม

ใหกฎหมายวาดวยการกําหนดประเภท กรอบการเจรจา ขั้นตอนและวิธีการจัดทําหนังสือ

สัญญาที่มีผลกระทบ ตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผล

ผูกพันดานการคา หรือการลงทุน อยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับผลกระทบจาก

การปฏิบัติตาม หนังสือสัญญาดังกลาวโดยคํานึงถึงความเปนธรรมระหวางผูที่ไดประโยชนกับผูที่ไดรับ

ผลกระทบ จากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญานั้นและประชาชนทั่วไป

Page 5: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

ในกรณีที่มีปญหาตามวรรคสอง ใหเปนอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญที่จะวินิจฉัยชี้ขาด โดยให

นําบทบัญญัติตามมาตรา 154 (1) มาใชบังคับกับการเสนอเรื่องตอศาลรัฐธรรมนูญโดยอนุโลม”

ซึ่งบทบัญญัติดังกลาวไดมีการแกไขเพิ่มเติม อันมีความแตกตางจากรัฐธรรมนูญในฉบับที่

ผานๆ มา ไมวาจะเปนการเพิ่มเติมขั้นตอนในการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและตองชี้แจงตอ

รัฐสภาเกี่ยวกับกรอบการเจรจาในการทําหนังสือสัญญาเพื่อขอความเห็นชอบของรัฐสภาตามมาตรา

190 วรรคสาม เพิ่มเติมขั้นตอนการใหประชาชนเขาถึงรายละเอียดของหนังสือสัญญากอนที่จะแสดง

เจตนาผูกพันตามหนังสือสัญญาตามตามมาตรา 190 วรรคสี่ เพิ่มเติมประเภทของหนังสือสัญญา

ที่ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภาตามมาตรา 190 วรรคสอง คือหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอ

ความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง และหนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันดาน

การคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญ และเพิ่มเติมการใหอํานาจศาล

รัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดวาหนังสือสัญญาใดเปนหนังสือสัญญาที่ตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภา

หรือไมตามมาตรา 190 วรรคสอง เปนตน

อนึ่ง หนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยาง

กวางขวาง และหนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมี

นัยสําคัญซึ่งตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภาตามมาตรา 190 วรรคสอง อันดวยถอยคําวา “อยาง

กวางขวาง” และ “อยางมีนัยสําคัญ” นั้นยังคงขาดความชัดเจน จนทําใหหนังสือสัญญาทุกประเภท

เปนหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมอยางกวางขวาง หรือเปน

หนังสือที่มีผลผูกพันทางการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญอันจะตอง

ไดรับความเห็นชอบของรัฐสภาทั้งสิ้น

เมื่อพิจารณาบทบัญญัติของมาตรา 190 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แลว

อันมีเจตนารมณมุงคุมครองประโยชนประเทศชาติ และปองกันผลกระทบที่อาจกอใหเกิดแกประชาชน

แตอยางไรก็ตาม หากมองในแงของการแขงขันทางการคาการลงทุนแลว ขั้นตอนตางๆ ตามบทบัญญัติ

รัฐธรรมนูญดังกลาวอาจทําใหเกิดความลาชาและอาจจะมีการแทรกแซงของฝายที่เสียประโยชน ซึ่ง

อาจจะทําใหการทําสนธิสัญญากับตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศ ประสบปญหาอุปสรรค

และขอขัดของ และหรือทําใหประเทศไทยเสียโอกาส เนื่องจากในปจจุบันมีการแขงขันสูงมาก

โดยเฉพาะดานการคาการลงทุน เปนตน

Page 6: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

ดังนั้น การเจรจาหรือการทําขอตกลงหรือสัญญาใดๆ กับตางประเทศหรือองคการระหวาง

ประเทศ คณะรัฐมนตรีตองปฏิบัติตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

โดยตองใหขอมูลและรับฟงความเห็นของประชาชนและตองมีการชี้แจงตอรัฐสภา เพื่อใหความ

เห็นชอบเสียกอนและยังตองรับผิดชอบตอผลกระทบที่เกิดกับประชาชนจากสนธิสัญญาหรือขอตกลง

เขตการคาเสรีนั้นๆ ดวย และจะตองดําเนินการแกไขผลกระทบที่เกิดขึ้นตอฝายที่ไดรับผลกระทบอยาง

รวดเร็ว เหมาะสม และเปนธรรม เนื่องจากฝายที่ไดรับผลกระทบจะตองรักษาประโยชนของตนเอง

อยางเต็มที่ อยางไรก็ตาม หากไมพอใจก็อาจนําไปสูการฟองรองเรียกคาเสียหายอยางแนนอน หรือ

การแกไขผลกระทบไมเปนไปตามที่รัฐธรรมนูญกําหนด คือ ตองกระทําโดยรวดเร็ว เหมาะสม และเปน

ธรรมแลว อาจจะตองรับผิดตอฝายซึ่งไดรับผลกระทบดวย

จากปญหาดังกลาวขางตน จากปญหาดังกลาวขางตน ไดแก 1) ปญหาเรื่องการรักษา

ความลับในสวนที่เกี่ยวกับทาทีการเจรจาการทําความตกลงเขตการคาเสรี 2) ปญหาถอยคําที่ไมแนชัด

ตามมาตรา 190 วรรคสอง มีปญหาการใชถอยคําที่ไมแนชัดในการตีความตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสอง 3) ปญหาการไมมีบทลงโทษทางอาญาแกผูที่ใช

ดุลพินิจโดยมิชอบ 4) ปญหาการไมมีกฎหมายเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญ

ยอมมีความสําคัญตอกระบวนการจัดทําหนังสือสัญญา กระบวนการออกกฎหมาย และกระบวนการที่

จะนํามาแยกแยะวา คําจํากัดความในแตละคําในขอบทในรัฐธรรมนูญมีความหมายอยางไร มีความ

ชัดเจนเพียงใด หรือเกิดความไมคลุมเครือ จนตองมีการตีความกฎหมายและในทายที่สุดตองนําสูศาล

รัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดขยายความขอบทในกฎหมายสูงสุดของประเทศและการบังคับใชจนเกิด

ความสับสน ทําใหหนวยงานที่เกี่ยวของขาดความเชื่อมั่นวาควรจะทําอยางไรใหถูกตองเหมาะสมตาม

กฎระเบียบขอบังคับที่ไดกําหนดไวจนเปนเหตุทําใหเกิดความลาชา และมีผลกระทบตอประชาชนที่ไม

มีโอกาสเขารวมรับรูรับฟง ตลอดจนการมีสวนรวมของประชาชน ทั้งๆ เปนเรื่องเกี่ยวของกับ

ผลประโยชนของประเทศชาติโดยตรง

อนึ่ง ปจจุบันยังไมมีกฎหมายวาดวยการกําหนดประเภท กรอบการเจรจา ขั้นตอนและวิธีการ

จัดทําหนังสือสัญญา (สนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี) กับตางประเทศหรือองคการระหวาง

ประเทศ เพื่อสงเสริมการคาและการลงทุนระหวางประเทศ และขจัดอุปสรรคตอการคาการลงทุน

ระหวางประเทศ จึงเปนเรื่องที่รัฐสภาและรัฐบาลจะตองรีบดําเนินการในเรื่องนี้ทันที และกําหนด

มาตรการแกไขเยียวยาฝายซึ่งไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกลาว ผูศึกษาวิจัย

Page 7: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

เห็นวา สมควรอยางยิ่งที่จะมีการศึกษาถึงขั้นตอนและวิธีการที่เกี่ยวกับการจัดทําสนธิสัญญาที่มี

ผลกระทบตอเศรษฐกิจและหรือสังคมของประเทศชาติตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เพื่อเกิดความเขาใจและเปนแนวทางปฏิบัติอยางเหมาะสมชัดเจนตอไป

สรุปเนื่องมาจากแนวโนมของเศรษฐกิจโลกใหความสําคัญตอการจัดทําความตกลงเขตการคาเสรี

มากขึ้น ประเทศไทยเองในฐานะที่เปนประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมก็ยอมจะตองมีสวนเขา

ไปเกี่ยวของกับการทําความตกลงเขตการคาเสรีมากขึ้น เพื่อปกปกษรักษาผลประโยชนของ

ประเทศชาติ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 บัญญัติถึงกระบวนการจัดทํา

หนังสือสัญญาระหวางประเทศที่มีความเปลี่ยนแปลงหลักการสําคัญและรายละเอียดในการทําหนังสือ

สัญญาระหวางประเทศโดยตองไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภาเสียกอน อันแตกตางจากรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทยฉบับตางๆที่ผานมา โดยเฉพาะมาตรา 224 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พ.ศ.2540 ทั้งนี้เปนผลมาจากความตองการควบคุมตรวจสอบการทําหนังสือสัญญาของฝายบริหาร

ซึ่งยังขาดความโปรงใสและขาดประสิทธิภาพ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 บัญญัติวา “พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการทําหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่น กับนานาประเทศหรือกับองคการระหวางประเทศ

หนังสือสัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขตซึ่ง ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศหรือจะตองออกพระราชบัญญัติเพื่อใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา หรือมีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศ อยางมีนัยสําคัญ ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา ในการนี้ รัฐสภาจะตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับเรื่องดังกลาว

กอนการดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญากับนานาประเทศหรือองคการระหวางประเทศ ตามวรรคสอง คณะรัฐมนตรีตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของ

Page 8: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

ประชาชน และตองชี้แจงตอรัฐสภาเกี่ยวกับหนังสือสัญญานั้น ในการนี้ ใหคณะรัฐมนตรีเสนอกรอบการเจรจาตอรัฐสภา เพื่อขอความเห็นชอบดวย

เมื่อลงนามในหนังสือสัญญาตามวรรคสองแลว กอนที่จะแสดงเจตนาใหมีผลผูกพัน คณะรัฐมนตรีตองใหประชาชนสามารถเขาถึงรายละเอียดของหนังสือสัญญานั้น และในกรณีที่การปฏิบัติ ตามหนังสือสัญญาดังกลาวกอใหเกิดผลกระทบตอประชาชนหรือผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม คณะรัฐมนตรีตองดําเนินการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับผลกระทบนั้นอยางรวดเร็ว เหมาะสม และเปนธรรม

ใหกฎหมายวาดวยการกําหนดประเภท กรอบการเจรจา ขั้นตอนและวิธีการจัดทําหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบ ตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันดานการคา หรือการลงทุน อยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม หนังสือสัญญาดังกลาวโดยคํานึงถึงความเปนธรรมระหวางผูที่ไดประโยชนกับผูที่ไดรับผลกระทบ จากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญานั้นและประชาชนทั่วไป

ในกรณีที่มีปญหาตามวรรคสอง ใหเปนอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญที่จะวินิจฉัยชี้ขาด โดยใหนําบทบัญญัติตามมาตรา 145 (1) มาใชบังคับกับการเสนอเรื่องตอศาลรัฐธรรมนูญโดยอนุโลม”

การแกไขเปลี่ยนแปลงทําใหบทบัญญัติมาตรา 190 มีความแตกตางจากรัฐธรรมนูญในฉบับที่

ผานๆ มา โดยมีการบัญญัติเพิ่มเติมประเภทของหนังสือสัญญาที่ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา

ตามมาตรา 190 วรรคสอง คือหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของ

ประเทศอยางกวางขวาง และหนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของ

ประเทศอยางมีนัยสําคัญ และเพิ่มเติมขั้นตอนในการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและตองชี้แจง

ตอรัฐสภาเกี่ยวกับกรอบการเจรจาในการทําหนังสือสัญญาเพื่อขอความเห็นชอบของรัฐสภาตาม

มาตรา 190 วรรคสาม รวมทั้งเพิ่มเติมขั้นตอนการใหประชาชนเขาถึงรายละเอียดของหนังสือสัญญา

กอนที่จะแสดงเจตนาผูกพันตามหนังสือสัญญาตามตามมาตรา 190 วรรคสี่ และยังใหอํานาจศาล

รัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดวาหนังสือสัญญาใดเปนหนังสือสัญญาที่ตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภา

หรือไมตามมาตรา 190 วรรคสอง เปนตน

การใหความยินยอมที่จะผูกพันตามสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรีเปนขั้นตอน

สําคัญ เพราะทําใหสนธิสัญญามีผลใชบังคับ วิธีการใหความยินยอมที่จะผูกพันตามสนธิสัญญานั้นมี

Page 9: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

สามรูปแบบ กลาวคือ การลงนาม การใหสัตยาบัน และการภาคยานุวัติ สําหรับสนธิสัญญาที่ประเทศ

ไทยทําบางฉบับ จําเปนตองเสนอตอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ ซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสอง ไดกําหนดประเภทสนธิสัญญาที่จะตองขอความเห็นชอบของ

รัฐสภาไว สวนขั้นตอนการเสนอสนธิสัญญาเพื่อขอความเห็นชอบจากรัฐสภา มีอยูสองขั้นตอน

กลาวคือ การขอความเห็นชอบกอนการเจรจาทําสนธิสัญญา และการขอความเห็นชอบหลังจากที่ได

ลงนามสนธิสัญญาแลว นอกจากนี้รัฐธรรมนูญยังไดกําหนดใหรับฟงความคิดเห็นของประชาชนดวย

เมื่อผูวิจัยไดทําการศึกษาเกี่ยวกับการทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรีกับนานา

ประเทศหรือองคกรระหวางประเทศ ภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร พ.ศ.2540 และรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักร พ.ศ.2550 จากการศึกษาเห็นไดวา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

ยังคงมีปญหาเกี่ยวกับบทบัญญัติและปญหาในทางปฏิบัติ โดยจะแยกพิจารณาตามปญหาสําคัญ

ดังนี้

1. การรักษาความลับเกี่ยวกับทาทีการเจรจา การที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสาม ไดกําหนดวา

“กอนการดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญากับนานาประเทศ หรือองคการระหวางประเทศตามวรรค

สอง คณะรัฐมนตรีตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน รวมทั้งตองชี้แจงตอ

รัฐสภาเกี่ยวกับหนังสือสัญญานั้น โดยใหคณะรัฐมนตรีเสนอกรอบการเจรจาตอรัฐสภา เพื่อขอความ

เห็นชอบดวย” ทําใหเกิดปญหาในการรักษาความลับเกี่ยวกับทาที่ของฝายประเทศไทยประการหนึ่ง

และอีกประการหนึ่งปญหาในสวนที่เกี่ยวกับกอนการเจรจาทําหนังสือสัญญาอาจทําใหฝายประเทศ

ไทยมิอาจจะรูวาประเทศคูคาซึ่งเปนคูเจรจา อาจจะหยิบยกเรื่องที่เกี่ยวกับการทําใหความตกลงเขต

การคาเสรีจัดอยูในประเภทที่จะตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภาหรือไม

อยางไรก็ตาม ปญหาเรื่องการรักษาความลับในสวนที่เกี่ยวกับทาทีการเจรจาการทําความตก

ลงเขตการคาเสรีนั้น หากประเทศคูคาหรือคูคารูทาทีของประเทศไทยในการเจรจา เนื่องจากรัฐบาล

ตองใหขอมูลเทาที่เกี่ยวของกับการทําความตกลงเขตการคาเสรีแกประชาชน และตองเสนอกรอบการ

เจรจาตอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ ซึ่งอาจจะทําใหประเทศไทยเสียเปรียบในการเจรจาตอรอง

Page 10: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

อยางไรก็ตาม หากรัฐบาลใหขอมูลดังกลาวก็ยอมไมเปนประโยชนตอประชาชน ทั้งนี้หากรัฐบาลเสนอ

กรอบเจรจาที่ไมมีเนื้อหาสาระตอรัฐสภาก็อาจถูกตําหนิและอาจจะไมไดรับความเห็นชอบก็เปนได

การขอความเห็นชอบกอนการเจรจาทําหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

ไดกําหนดใหรัฐบาลเสนอกรอบการเจรจาตอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบกอนที่จะดําเนินการทํา

หนังสือสัญญาหาประเภทตามมาตรา 190 วรรคสอง ไมวาสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี

ดังนั้น กรอบการเจรจาก็คงจะเปนทาทีกวางๆ ที่จะใชในการเจรจา โดยไมตองมีรายละเอียดครบถวน

เพราะหากมีรายละเอียดยอมจะทําใหคูเจรจาทราบถึงทาทีของฝายประเทศไทย ซึ่งจะทําใหฝาย

ประเทศไทยเสียเปรียบในการเจรจาตอรองกัน เนื่องจากในการเจรจาทําความตกลงเขตการคาเสรีบาง

ฉบับอาจจะตองปกปดขอเท็จจริงบางประการเพื่อรักษาผลประโยชนของประเทศไว แมกระทั่งจะมี

นโยบายที่แทจริงวา จะมีการทําความตกลงเขตการคาเสรีหรือไมก็ตาม แตอยางไรก็ตาม รัฐบาล

อาจจะใหขอมูลกวางๆ เกี่ยวกับการทําความตกลงเขตการคาเสรีบางฉบับ โดยใหคําชี้แจงอยางกวางๆ

เพื่อใหรัฐสภาใหความเห็นชอบตอกรอบการเจรจา เพราะตองรักษาความลับ

ปญ หา ใ นท า ง ป ฏิ บัติ คื อ ก อ นจ ะ เป ด กา ร เ จ รจ า ทํ า ค วา ม ตก ลง เ ขต ก าร ค า เ ส รี

คูเจรจาโดยเฉพาะผูเจรจาฝายประเทศไทยจะรูไดอยางไรวาสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี

ที่จะเจรจานั้นเขาขายสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตกาคาเสรีทั้งหาประเภทจะตองขอความเห็นชอบ

จากรัฐสภา โดยเฉพาะความตกลงเขตการคาเสรีที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคม

ของประเทศอยางกวางขวาง หรือหนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณ

ของประเทศอยางมีนัยสําคัญ เปนตน อยางไรก็ตาม สนธิสัญญาหรือความตกลงเขตกาคาเสรีบางฉบับ

แมเจรจาเสร็จเรียบรอยแลว ก็ยังไมแนใจวาจะตองออกกฎหมายรองรับหรือไม นอกจากนั้น กอนการ

เจรจาจะประเมินลวงหนาไดยากลําบากวาจะมีผลกระทบอยางกวางขวางหรือมีผลผูกพันอยางมี

นัยสําคัญ สวนในกรณีที่มิไดวางนโยบายที่จะทําความตกลงเขตการคาเสรีที่มีผลกระทบตอความ

มั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือหนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันดาน

การคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญ ผูแทนเจรจาฝายประเทศไทยจะตอง

ใชความระมัดระวังเปนพิเศษในการเจรจา หากพบวาการเจรจานั้นอาจจะนําไปสูการทําความตกลง

Page 11: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

เขตการคาเสรีที่เขาขายตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภาก็ตองหยุดการเจรจา แมจะเปนเรื่องที่ฝาย

ประเทศไทยจะไดประโยชน ทั้งนี้ จะไดมีโอกาสทํากรอบการเจรจาเสนอตอรัฐสภาเพื่อขอความ

เห็นชอบตามที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว

2.การใชถอยคําที่ไมแนชัดในทางปฏิบัติของรัฐธรรมนูญมาตรา 190เนื่องจากมาตรา 190 บัญญัติวา “...หรือมีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคม

ของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยาง

มีนัยสําคัญ...” จากบทบัญญัติดังกลาว กอใหเกิดปญหาในการตีความถอยคํา แตอยางไรก็ตาม เมื่อ

ศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยที ่6 – 7/2551 เกี่ยวกับคําแถลงการณรวมระหวางประเทศไทยกับประเทศ

กัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน 2551 วา “แตสําหรับหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความ

มั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง และหนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญนั้น เปนเรื่องที่ผูทําหนังสือสัญญาจะตองใครครวญใหรอบคอบกอนที่จะดําเนินการทําหนังสือสัญญาดังกลาว โดยตองพิจารณาวา หากกระทําไปแลวจะกอใหเกิดผลกระทบหรือมีผลผูกพันตามประเภทของหนังสือสัญญาที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสอง บัญญัติไวหรือไม แลวตัดสินใจวาจะตองขอความเห็นชอบของรัฐสภากอนหรือไม” จากคํา

วินิจฉัยดังกลาว ขจัดความกังวลในการตีความถอยคําที่ยืดหยุนหรือไมแนชัดซึ่งบัญญัติไวตามมาตรา

190 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ยอมหมดไป ทั้งนี้ตองยึดถือเปนทางหรือ

บรรทัดฐานในการปฏิบัติตอไป

3. การผูกพันตามหนังสือสัญญาภายใตคําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ1) การไมมีบทบัญญัติที่ชัดเจนวาใหความผูกพันตามหนังสือสัญญานั้นเริ่มขึ้นเมื่อใด

การที่คณะรัฐมนตรีไปทําความตกลงหรือตัดสินใจลงนามรับรองหรือใหสัตยาบัน

กอนที่จะขอความเห็นชอบจากรัฐสภา ซึ่งในทางกฎหมายระหวางประเทศคูเจรจาสามารถตกลงให

หนังสือสัญญามีผลผูกพันเมื่อมีการลงนามยอได ทําใหบางกรณีคณะรัฐมนตรีไดใชอํานาจลงนาม

รับรองหรือใหสัตยาบันหนังสือสัญญาระหวางประเทศไปแลว ตอจากนั้นจึงจะมีการเสนอเรื่องใหศาล

รัฐธรรมนูญพิจารณา ซึ่งแมศาลรัฐธรรมนูญจะมีคําวินิจฉัยชี้ขาดวาหนังสือสัญญานั้น จะตองไดรับ

Page 12: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

ความเห็นชอบจากรัฐสภา คําวินิจฉัยก็ไมเปนประโยชนในทางระหวางประเทศแลว เพราะการที่

คณะรัฐมนตรีไดรับรองหรือใหสัตยาบันหนังสือสัญญาดังกลาว สงผลใหเกิดความผูกพันและ

รับผิดชอบในทางระหวางประเทศที่ประเทศไทยตองปฏิบัติตามหนังสือนั้นแลว คําวินิจฉัยชี้ขาดของ

ศาลรัฐธรรมนูญจะไมมีประโยชนตอการรักษาผลประโยชนของประเทศและของประชาชนในการทํา

ขอตกลงระหวางประเทศแตอยางใด

2) การไมมีกฎหมายวาดวยการพิจารณาคดีของศาลรัฐธรรมนูญเปนการเฉพาะ

สืบเนื่องจากการที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคหก

ใหอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญที่จะวินิจฉัยชี้ขาด ในกรณีที่เกิดปญหาในการทําหนังสือสัญญาตาม

วรรคสอง เมื่อพิจารณาผลจากการวิเคราะห การที่รัฐธรรมนูญใหอํานาจศาลรัฐธรรมนูญในการวินิจฉัย

ความเปนหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสองกับ

หลักการแบงแยกอํานาจและกระบวนการใชอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญ โดยศึกษาเฉพาะกรณี

ขอตกลงเขตการคาเสรีขางตนแลว พบวา แมการที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

มาตรา 190 วรรคหก ใหอํานาจศาลรัฐธรรมนูญในการวินิจฉัยความเปนหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสองจะสอดคลองกับหลักการแบงแยกอํานาจและ

ความมุงหมายของการรางรัฐธรรมนูญนี้ก็ตาม แตในขณะนี้ประเทศไทยยังไมมีพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญตามที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พ.ศ. 2550 มาตรา 216 วรรคแรกบัญญัติไว จึงทําใหกระบวนการพิจารณาไมมีหลักเกณฑที่แนนอน

จึงอาจทําใหเกิดปญหาในการสรางบรรทัดฐานการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญได

4. การไมมีกฎหมายรองรับเกี่ยวกับการทําหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญถึงแมรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคหา ซึ่งบัญญัติวา “ให

มีกฎหมายวาดวยการกําหนดประเภท กรอบการเจรจา ขั้นตอนและวิธีการจัดทําหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันดานการคา หรือการลงทุนอยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกลาวโดยคํานึงถึงความเปนธรรมระหวางผูที่ไดประโยชนกับผูที่ไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญานั้นและประชาชนทั่วไป”

โดยกําหนดใหมีกฎหมายวาดวยการกําหนดประเภท กรอบการเจรจา ขั้นตอนและวิธีการ

จัดทําหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง

Page 13: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

หรือมีผลผูกพันดานการคา หรือการลงทุนอยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับ

ผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกลาวโดยคํานึงถึงความเปนธรรมระหวางผูที่ได

ประโยชนกับผูที่ไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญานั้นและประชาชนทั่วไปก็ตาม แต

จนถึงปจจุบันก็ยังไมมีการประกาศใชกฎหมายดังกลาวแตอยางใด ซึ่ งขณะนี้มี เพียงราง

พระราชบัญญัติวาดวยการจัดทําหนังสือสัญญาระหวางประเทศ พ .ศ.... อันตามบทบัญญัติแหง

รัฐธรรมนูญใหมีกฎหมายนี้ภายในหนึ่งป นับจากรัฐบาลแถลงนโยบายตอรัฐสภา จนถึงขณะนี้ก็ยังคง

มิไดประกาศใชอยางเปนทางการ ซึ่งอาจจะทําใหปญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตาม

มาตรา 190 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มีอยูตอไป

จากปญหาดังกลาวขางตน ยอมมีความสําคัญตอกระบวนการจัดทําหนังสือสัญญา

กระบวนการออกกฎหมาย และกระบวนการที่จะนํามาแยกแยะวา คําจํากัดความในแตละคําในขอบท

ในรัฐธรรมนูญมีความหมายอยางไร มีความชัดเจนเพียงใด หรือเกิดความไมคลุมเครือ จนตองมีการ

ตีความกฎหมายและในทายที่สุดตองนําสูศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดขยายความขอบทในกฎหมาย

สูงสุดของประเทศและการบังคับใชจนเกิดความสับสน ทําใหหนวยงานที่เกี่ยวของขาดความเชื่อมั่นวา

ควรจะทําอยางไรใหถูกตองเหมาะสมตามกฎระเบียบขอบังคับที่ไดกําหนดไวจนเปนเหตุทําใหเกิด

ความลาชา และมีผลกระทบตอประชาชนที่ไมมีโอกาสเขารวมรับรูรับฟง ตลอดจนการมีสวนรวมของ

ประชาชน ทั้งๆ เปนเรื่องเกี่ยวของกับผลประโยชนของประเทศชาติโดยตรง

ขอเสนอแนะจากปญหาดังที่กลาวมาขางตน เพื่อเปนการขจัดปญหาและอุปสรรคในการจัดทําความตกลง

เขตการคาเสรี ซึ่งเกิดจากการบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร พ.ศ.2550 มาตรา 190 และเพื่อ

ตองการบังคับใชใหมีประสิทธิภาพและเหมาะสม จึงจําเปนตองมีการแกไข ปรับปรุง รวมถึงกําหนด

มาตรการทางกฎหมายและมาตรการอื่นๆ ทั้งนี้ เพื่ออาจจะเยียวยาผลกระทบจากการจัดทํา

สนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรีที่อาจมีขึ้นอีก และความชอบธรรมในการจัดทําสนธิสัญญา

หรือความตกลงเขตการคาเสรีระหวางประเทศคูคาในครั้งตอๆ ไป ซึ่งรัฐบาลหลายสมัยไดมีการเสนอ

ใหแกไขในประเด็นนี้หลายครั้ง

Page 14: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

1. ยอมรับการตีความกอนดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญาอยางเปนทางการควรใหมีการแกไขปญหาเฉพาะหนาในเรื่องดังกลาว เพื่อรักษาความลับเกี่ยวกับทาทีการ

เจรจา โดยอาจจะยอมรับการตีความรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 190 วรรค

สาม คําวา “กอนการดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญา” ใหหมายความวา “กอนการดําเนินการ

เพื่อทําหนังสือสัญญาอยางเปนทางการ” โดยรัฐบาลดําเนินการเสนอใหรัฐสภามีมติในการตีความ

คําดังกลาวใหหมายความตามนั้น ทั้งนี้ หากยอมรับในความหมายเชนนี้ รัฐบาลอาจจะใหขอมูลแก

ประชาชนกอนการเจรจาการทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรีอยางเปนทางการ และ

รัฐบาลสามารถเสนอกรอบการเจรจากอนที่จะดําเนินการเจรจาดังกลาวอยางเปนทางการ ในกรณี

เชนนี้ก็จะเปดโอกาสใหฝายประเทศไทยหารืออยางไมเปนทางการกับประเทศคูคาซึ่งเปนคูเจรจา

อันประเทศคูคาทั้งสองฝายจะหารือในรายละเอียดไดจนกระทั่งตอรองแลกเปลี่ยนผลประโยชนตาม

ความจําเปนในการทําความตกลงเขตการคาเสรี โดยแตละฝายสามารถจดบันทึกผลของการหารือไว

สําหรับรายงานตอรัฐบาล เพื่อทํากรอบการเจรจาเสนอตอรัฐสภาและเพื่อใหขอมูลแกประชาชนตาม

ความเหมาะสม อยางไรก็ตาม คูเจรจาทั้งสองฝายอาจแลกเปลี่ยนบันทึกที่แตละฝายไดจดบันทึกไว

เพื่อปองกันความเขาใจผิดในสวนที่เกี่ยวกับของผลการหารือดังกลาว แมวาบันทึกที่จดไวนั้นจะไมมีผล

ทางกฎหมาย เห็นไดวาเปนวิธีการที่แกไขปญหาดังกลาวและการที่จะไดรูถึงทาทีของคูเจรจาของแตละ

ฝายที่จะใชในการทําความตกลงเขตการคาเสรี ซึ่งจะเปนประโยชนตอการใหขอมูลที่เหมาะสม ถูกตอง

และการทํากรอบการเจรจาอันมีสาระพอที่รัฐสภาจะพิจารณาใหความเห็นชอบได

อนึ่ง วิธีการตีความเชนนี้เปนวิธีการที่เหมาะสม สมเหตุสมผลและตามความจําเปนในทาง

ปฏิบัติเกี่ยวกับการทําความตกลงเขตการคาเสรี ซึ่งรัฐสภาและศาลรัฐธรรมนูญคงจะเขาใจและยอมรับ

ได หากปรากฏวารัฐสภาจะออกกฎหมายวาดวยการกําหนดประเภท กรอบการเจรจา ขั้นตอนและ

วิธีการจัดทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรีที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือ

สังคมของประเทศอยางกวางขวางหรือมีผลผูกพันดานการคาการลงทุนอยางมีนัยสําคัญตามรัฐธรรม

แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคหา ก็อาจจะขยายความหมายมาตรา 190 วรรค

สาม ใหเปน “กอนการดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญาอยางเปนทางการ” ดวย เพื่อแกปญหาใน

การปฏิบัติโดยไมตองแกรัฐธรรมแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 อยางมากมายตามที่

Page 15: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

เรียกรองกัน ซึ่งจะไดคงอํานาจในการพิจารณาการทําความตกลงเขตการคาเสรีของรัฐสภา อันเปน

ประโยชนในการปองกันการฝาฝนทําความตกลงเขตการคาเสรีที่ฝายประเทศไทยจะเสียเปรียบ หรือทํา

ความตกลงเขตการคาเสรีที่ประชาชนยังไมพรอมที่จะรับเอาความผูกพันตามขอตกลงเขตการคาเสรี

เปนตน

ตองทํากรอบการเจรจาเสนอตอรัฐสภากอนที่จะดําเนินการเจรจาหากขอเสนอจะทําใหความตกลงเขตการคาเสรีเขาขายตองขอความเห็นชอบจาก

รัฐสภา ก็ตองทํากรอบการเจรจาเสนอตอรัฐสภากอนที่จะดําเนินการเจรจา ดังนั้น รัฐบาลควรจะตอง

ใหกําลังใจแกผูเจรจาเปนกรณีพิเศษ เพื่อจะไดมีการเสนอเรื่องที่ฝายประเทศไทยจะไดรับประโยชน

แมวาจะทําใหมีผลกระทบในทางที่ดีตอเศรษฐกิจอยางกวางขวางหรือมีผลผูกพันในทางบวกกอการคา

การลงทุนอยางมีนัยสําคัญ เปนตน

การกําหนดใหเสนอกรอบการเจรจาเสนอตอรัฐสภา เพื่อขอความเห็นชอบ กอน

ดําเนินการทําหนังสือสัญญานั้น ยอมมีประโยชนชวยใหเจาหนาที่ที่จะตองดําเนินการทําความตกลง

เขตการคาเสรีพนจากความผิดในการปฏิบัติหนาที่ หากกรอบการเจรจาไดรับความเห็นชอบจาก

รัฐสภาแลว ถาไมมีการเสนอกรอบการเจรจาหรือกรอบการเจรจาไมไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภา

เจาหนาที่ก็ไมตองดําเนินการทําความตกลงเขตการคาเสรี

ผูเจรจาฝายประเทศไทยคงจะตองวางตัวนิ่งเฉยไมอาจแสดงบทบาทในการเจรจา

เทาที่จําเปน เพื่อหลีกเลี่ยงการละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญ และผูเจรจาฝายประเทศไทยคงจะตอง

ขอใหคูเจรจาสงรางสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรีใหฝายประเทศไทยพิจารณาลวงหนา

เพื่อจะไดประเมินวา ความตกลงเขตการคาเสรีที่จะเจรจาเขาขายความตกลงเขตการคาเสรีที่จะตอง

ขอความเห็นชอบจากรัฐสภาหรือไม หากรางความตกลงเขตการคาเสรีที่คูเจรจาสงมาใหยังไมเขาขาย

ที่จะตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภา และฝายประเทศไทยยังตองพิจารณาวาฝายประเทศไทยมี

ขอเสนอเพิ่มเติมประการใด เพื่อรักษาผลประโยชนของฝายประเทศไทยเอง

ฉะนั้นการเจรจาอยางไมเปนทางการก็สามารถดําเนินไปได จนถึงขั้นตอนที่จะสรุป

ทาทีของทั้งสองฝายจึงเสนอกรอบการเจรจาเพื่อขอความเห็นชอบตอรัฐสภา

Page 16: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

2. ตองมอบอํานาจตัดสินใจการทําหนังสือสัญญาอยูที่ผูทําหนังสือสัญญาเมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยที่ 6 – 7/2551 เกี่ยวกับคําแถลงการณรวมระหวางประเทศ

ไทยกับประเทศกัมพูชา ฉบับลงวันที่ 18 มิถุนายน 2551 แลว โดยใหอํานาจหนาที่ในการตัดสินใจการ

ทําหนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง

และหนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญ

นั้น อยูที่ผูทําหนังสือสัญญา ดังนั้น เมื่อผูทําหนังสือสัญญาตัดสินใจวาเปนสนธิสัญญาหรือความตก

ลงเขตการคาเสรีโดยไมตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภาแลว หากฝายคานไมเห็นดวยก็ขอใหศาล

รัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคหก

ซึ่งความเห็นของผูทําหนังสือสัญญาถือวาเปนความเห็นที่ถูกตองตามรัฐธรรมแหงราชอาณาจักร พ.ศ.

2550 มาตรา 190 จนกวาจะมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ สําหรับความกังวลในการตีความถอยคํา

ที่ยืดหยุนซึ่งบัญญัติไวก็ยอมหมดไป จึงไมมีเหตุจําเปนที่จะตองขยายความของถอยคําหรือแกไข

เปลี่ยนแปลงถอยคําซึ่งบัญญัติไวตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรค

สอง ใหมีความชัดเจนยิ่งขึ้น ตองยึดถือคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญดังกลาวเปนแนวบรรทัดฐานใน

การทําหนังสือสัญญา

3. ตองกําหนดมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดตอการปฏิบัติหนาที่โดยเฉพาะ

ควรจะกําหนดมาตรการทางกฎหมายรองรับในสวนที่เกี่ยวกับความรับผิดตอการปฏิบัติหนาที่

เปนการเฉพาะ หากการจัดทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรีขัดตอรัฐธรรมนูญ เนื่องจาก

ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดวาการทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรีนั้นขัดตอรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 และควรจะกําหนดใหมีกระบวนการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ

เปนการเฉพาะในการวินิจฉัยชี้ขาดอันเกี่ยวกับความเปนสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี ซึ่ง

เปนหนังสือสัญญากับนานาประเทศหรือกับองคการระหวางประเทศตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสอง เพราะสืบเนื่องมาจากการที่คําวินิจฉัยชี้ขาดของ

ศาลรัฐธรรมนูญไมมีผลไปลบลางหนังสือสัญญาระหวางประเทศที่ไดมีการเสนอใหศาลรัฐธรรมนูญ

วินิจฉัยชี้ขาดภายหลังจากการที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไดลงนามผูกพันไปแลวโดย

Page 17: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

มติคณะรัฐมนตรี เพื่อปกปกษรักษาความผูกพันระหวางประเทศคูคาตามสนธิสัญญาหรือความตกลง

เขตการคาเสรี ทั้งนี้ปจจุบันประเทศไทยไดทําความตกลงระหวางประเทศในดานการคา การลงทุน การ

บริการ และดานอื่นๆ หรือที่เรียกกันวา ความตกลงเขตการคาเสรีกับนานาประเทศหรือกับองคการ

ระหวางประเทศ ซึ่งการทําความตกลงเขตการคาเสรีนี้เปนเรื่องที่ไดรับความสนใจของประชาชน

รวมทั้งเปนประเด็นที่ฝายนิติบัญญัติคือสมาชิกรัฐสภาไดใหความสนใจวา ความตกลงเขตการคาเสรี

แตละฉบับนั้นเปนหนังสือสัญญาระหวางประเทศที่คณะรัฐมนตรีจะตองนําเขาขอความเห็นชอบของ

รัฐสภาหรือไม และหากตองนําเสนอจะตองอยูในขั้นตอนใดและในขณะนี้คณะรัฐมนตรีก็ไดลงนาม

ขอตกลงกับประเทศตางๆ ไปแลวหลายฉบับโดยที่ยังไมขอความเห็นชอบของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ

แตอยางไรก็ตาม ศาลรัฐธรรมนูญก็ยังมิไดมีคําวินิจฉัยเกี่ยวกับการพิจารณาความเปนหนังสือสัญญา

ระหวางประเทศแตอยางใด จึงขอเสนอแนะดังนี้

1) ควรกําหนดใหชัดเจนโดยการกําหนดไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วา

ในการทําหนังสือสัญญาระหวางประเทศที่เปนหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสอง ซึ่งคณะรัฐมนตรีจะตองทําหนังสือสัญญาระหวางประเทศโดยใช

กระบวนการจัดทําหนังสือสัญญาตามกฎหมายระหวางประเทศวาดวยกฎหมายสนธิสัญญา คือ

อนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ.1969 โดยวิธีการใหสัตยาบันเพื่อผูกพันตาม

ความตกลงเขตการคาเสรี ทั้งนี้ เพื่อไมใหคณะรัฐมนตรีไปทําความตกลงกับประเทศคูเจรจากอนทํา

สัญญาวาหนังสือสัญญานั้นมีผลผูกพันประเทศไทย หากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศได

ลงนามยอ ซึ่งเปนผูแทนของประเทศไทยเทานั้น อันเปนการตกลงที่สามารถทําไดในทางกฎหมาย

ระหวางประเทศ เนื่องจากไมมีบทบัญญัติหามไว เชนนี้เมื่อมีคํารองใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาด

ความเปนหนังสือสัญญาระหวางประเทศดังกลาวตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

มาตรา 190 วรรคสอง คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญก็จะไมมีผลลบลางความผูกพันตามหนังสือ

สัญญานั้น เพราะผลผูกพันตามพันธะกรณีระหวางประเทศเกิดขึ้นแลว

2) ศาลรัฐธรรมนูญควรกําหนดกระบวนการพิจารณาเปนการเฉพาะในการพิจารณา

คํารองที่เกี่ยวกับการวินิจฉัยชี้ขาดความเปนหนังสือสัญญาระหวางประเทศตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 วรรคสองนี้ โดยกําหนดใหศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจในการ

Page 18: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

เรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวของจากบุคคลใดหรือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคํา เพื่อใหการแสวงหา

พยานหลักฐาน ตลอดจนการรับฟงพยานผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ ที่เกี่ยวของอยางสมบูรณครบถวน

เพียงพอแกการวินิจฉัยที่ถูกตอง และรักษาผลประโยชนของประเทศ เชน ผูเชี่ยวชาญทางการคา

ระหวางประเทศ ผูเชี่ยวชาญทางกฎหมายสนธิสัญญา และผูเชี่ยวชาญทางดานการเงินระหวาง

ประเทศ เปนตน เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ทั้งนี้เนื่องจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พ.ศ.2550 มาตรา 216 วรรคหก บัญญัติใหวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนไปตาม

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งในขณะนี้ประเทศไทย

ยังไมมีกฎหมายดังกลาว เปนตน

4. ตองออกกฎหมายกําหนดขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญควรเรงใหมีการออกกฎหมายเพื่อรองรับในสวนที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ ขั้นตอน และวิธีการ

จัดทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี โดยการกําหนดไวในพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญ ในการกําหนดประเภทสนธิสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคม

ของประเทศอยางกวางขวาง และที่มีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศ

อยางมีนัยสําคัญ กําหนดกรอบการเจรจายกรางตัวบทสนธิสัญญา ภาษาสนธิสัญญา และการกําหนด

รูปแบบสนธิสัญญา ตลอดจนกําหนดขั้นตอนและวิธีการจัดทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคา

เสรีนั้นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 190 เปนพระราชบัญญัติวาดวยการ

กําหนดประเภท กรอบการเจรจา ขั้นตอนและวิธีการจัดทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรีที่

มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง และที่มีผลผูกพันดาน

การคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญ พ.ศ... และกําหนดมาตรการเยียวยา

ผูที่ไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น โดยคํานึงถึงหลักความยุติธรรมระหวางผูที่ได

ประโยชนกับผูที่ไดรับผลกระทบจาการปฏิบัติตามสนธิสัญญาและประชาชน เพื่อบังคับใชโดย

กําหนดใหมีรายละเอียดเบื้องตนในกรณีดังตอไปนี้

1) ใหมีคณะกรรมการประสานการเจรจาสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี

ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเปนประธานกรรมการ และผูแทนจากหนวยงาน

ของรัฐตางๆ ที่ เกี่ยวของ เชน อธิบดีกรมสนธิสัญญา ผูแทนกระทรวงการคลัง ผูแทนกระทรวงการ

ตางประเทศ ผูแทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ ผูแทนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Page 19: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

ผูแทนกระทรวงพาณิชย ผูแทนกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย ผูแทนกระทรวงยุติธรรม

ผูแทนกระทรวงสาธารณสุข ผูแทนกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ผูแทนกระทรวงอุตสาหกรรม

และผูทรงคุณวุฒิดานอื่นอีก เปนกรรมการ มีหนาที่ในการประสานงานกับหนวยงาน องคกร หรือสวน

ราชการที่เกี่ยวของและสนับสนุนใหการเจรจา ใหความเห็นหรือคําแนะนําแกหนวยงานของรัฐที่

เกี่ยวของกับการเจรจาและจัดทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี รวมทั้งออกระเบียบและ

ประกาศเพื่อการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ของหนวยงาน องคกร หรือสวนราชการที่เกี่ยวของดวย

2) กรณีกอนการจัดทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี คณะรัฐมนตรีตอง

จัดใหมีการจัดทําการศึกษาวิจัยขอมูลและผลกระทบอยางละเอียดถี่ถวนเสียกอน ทั้งกอนและหลังการ

เจรจาและลงนาม ควรใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานอัยการสูงสุด สภาทนายความ

สภาหอการคาแหงประเทศไทย และสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนตน โดยใหทํา

หนาที่บริหารการศึกษาวิจัยขอมูลและผลกระทบอยางอิสระและเปนกลาง เพื่อปกปกษรักษา

ผลประโยชนของฝายประเทศไทยมิใหเสียเปรียบ

3) ในกระบวนการเจรจาและทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี รัฐบาล

จะตองจัดใหมีการจัดรับฟงความคิดเห็นของประชาชน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมและสอบถาม

ความคิดเห็นจากสาธารณชน เพื่อนําไปใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาในการเจรจาการลงนาม

แกไข ใหสัตยาบัน หรือยกเลิก โดยรัฐบาลจะตองสนับสนุนใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ทํา

หนาที่บริหารการจัดรับฟงความคิดเห็นของประชาชนอยางเปนอิสระและเปนกลาง ทั้งกอนและหลัง

การเจรจาหรือลงนามเพื่อรับรองความถูกตองของรางสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี เพื่อ

ประกอบการขอความเห็นชอบจากรัฐสภา โดยใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติดําเนินการใหมี

การจัดรับฟงความคิดเห็นของประชาชนใหแลวเสร็จและรายงานผลตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา พรอม

ทั้งเผยแพรขอมูลที่ไดรับตอสาธารณะ เนื่องจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนองคกรตาม

รัฐธรรมนูญ ซึ่งจะมีหลักประกันความเปนอิสระในการทํางานไดมากกวาหนวยงานอื่นๆ และ

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนองคกรที่ดูแลเรื่องสิทธิมนุษยชน จึงยอมมีความรูความเขาใจ

ในการทํางานที่เกี่ยวกับเรื่องของสิทธิตางๆ ไดเปนอยางดี

Page 20: 190 - mis.krirk.ac.thmis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2555/ปกรณ์ จโนภาส... · ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป นป ญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา

4) สําหรับเรื่องการเยียวยาความเสียหายนั้น ตองกําหนดใหมีการเยียวยาความ

เสียหายแกผูที่ไดรับผลกระทบทั้งหมด ไมวาจะเปนประชาชน ผูประกอบการขนาดยอม ผูประกอบการ

ขนาดกลาง และผูประกอบการรายใหญ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมเทาเทียมกัน แตอยางไรก็ตาม การ

คํานวณความเสียหายที่ไดรับตองคํานวณจากความเสียหายที่จะไดรับทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

โดยคํานวณในอัตราสัดสวนที่เหมาะสมของผูที่ไดรับความเสียหายแตละรายไป ซึ่งตองคํานึงถึงการ

ลงทุนที่ผูไดรับความเสียหายตองเสียไปเนื่องจากการจัดทําสนธิสัญญาหรือความตกลงเขตการคาเสรี

เปนสําคัญ

จากที่กลาวมาทั้งหมดเปนปญหาที่เกิดจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่สงผลในทาง

ปฏิบัติที่มีผลกระทบตอการทําความตกลงระหวางประเทศ โดยเฉพาะความตกลงเขตการคาเสรี

ที่ผานมาและในอนาคต เมื่อวิเคราะหถึงหลักเกณฑตางๆ เริ่มจากการวิเคราะหกฎหมายตางประเทศ

สนธิสัญญาระหวางประเทศ ไดแก สนธิสัญญาอนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวย กฎหมายสนธิสัญญา

ค.ศ.1969 การศึกษาความตกลงเขตการคาเสรีของไทยกับประเทศอื่นในลักษณะของเขตการคาทวิ

ภาคี ระหวางไทย-ออสเตรเลีย ไทย-ญี่ปุน และไทย-เปรู บทบัญญัติรัฐธรรมนูญของตางประเทศที่หยิบ

ยกมาเปนตัวอยางในการวิจัย เชน สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ที่ไดเกิดปญหาในลักษณะเดียวกับประเทศ

ไทยเรื่องการใหสัตยาบัน การมีบทบัญญัติรองรับความตกลงระหวางประเทศเปนกําหมายภายใน คํา

วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ในเรื่องการตีความของคําวา “หนังสือสัญญา” ที่เปนปญหาตอความตก

ลงระหวางประเทศ การเปลี่ยนแปลงหรือการแกไขรัฐธรรมนูญตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน จนกระทั่ง

รัฐธรรมนูญในป พ.ศ. 2550 เปนฉบับปจจุบันที่ตองใหความสําคัญอยางยิ่งตอเนื้อหาและบทบัญญัติ

ซึ่งผูวิจัยไดคนพบแนวทางในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากกฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดทําสนธิสัญญา

หรือความตกลงเขตการคาเสรีในปจจุบัน ในทางปฏิบัติอาจเปนไปไดยากที่จะสามารถแกปญหาตางๆ

เหลานี้ได แตก็ควรจะมีการแกไขปญหาอยางจริงจังเพื่อปองกันผลกระทบจากการจัดทําสนธิสัญญา

หรือความตกลงเขตการคาเสรีที่อาจมีขึ้นอีก ทั้งนี้เพื่อความชอบธรรมในการจัดทําสนธิสัญญาหรือ

ความตกลงเขตการคาเสรีในครั้งตอๆ ไป เพื่อความมั่นคงและเศรษฐกิจของประเทศที่สําคัญยิ่ง