การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ...

91
การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด โดย นายวิชาญ สัดชํา สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2559

Upload: others

Post on 31-Aug-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

โดย

นายวิชาญ สัดชํา

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2559

Page 2: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

Administrative Bureaucracy which Performance Effectiveness of Officials and

Employees in the Phon Sai District Office, Roi-et Province

By

Mr. Wichan Sudcham

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of the

Requirements for the Master of Public Administration

Faculty of Liberal Arts

Krirk University

2016

Page 3: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

(1)

หัวขอสารนิพนธ การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ของขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

ชื่อผูศึกษา นายวิชาญ สัดชํา

หลักสูตร/คณะ/มหาวิทยาลัย รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต/ศิลปศาสตร/มหาวิทยาลัยเกริก

อาจารยที่ปรึกษา ดร.อุษณี มงคลพิทักษสุข

ปการศึกษา 2559

บทคัดยอ

สารนิพนธเรื่อง การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาการบริหาร

แบบระบบราชการ 2) ศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 3) ศึกษาความอิทธิพลของการบริหาร

แบบระบบราชการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของอําเภอโพนทราย จากขาราชการและพนักงาน

จํานวน 80 คน โดยมีแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูลดวยสถิติ

เชิงพรรณนา ไดแก คาความถี่ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐาน ดวย

เทคนิคการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) วิธี Backward

ผลการศึกษาการบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด พบวา หลักลําดับชั้นและสายการบังคับ

บัญชา หลักการรวมศูนยอํานาจ หลักการแบงงานกันทํา หลักความเปนทางการ และหลักความ

เปนวิชาชีพ อยูในระดับมากทุกดาน เชนเดียวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน สําหรับการทดสอบ

สมมติฐานเมื่อพิจารณาจากคา R มีคาเทากับ .558 และเมื่ออธิบายถึงสัดสวนความแปรปรวนที่

อธิบายดวยสมการถดถอย R2 เทากับ .311 แสดงวาการบริหารแบบระบบราชการมีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน ไดแก หลัก

ความเปนทางการและหลักความเปนวิชาชีพ สวนหลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา หลักการ

รวมศูนย และหลักการแบงงานกันทํา ไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการ

และพนักงาน อําเภอโพนทราย จ.รอยเอ็ด ตามนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Page 4: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

(2)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธเรื่อง “การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด” ฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณา

อยางยิ่งจาก ดร.อุษณี มงคลพิทักษสุข อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธที่ใหความกรุณาถายทอด

ความรูใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนใหความเมตตาชวยเหลือ ปรับปรุงแกไขขอบกพรองตางๆ

จนทําใหการทําสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงค ผูศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเปน

อยางสูง

ขอขอบพระคุณ ทานนายอําเภอ ขาราชการและพนักงานที่ปฏิบัติงานในอําเภอ

โพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ที่กรุณาใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม และใหขอมูลที่เปน

ประโยชน อันเปนสวนประกอบสําคัญในการศึกษาเพื่อใหสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จไดดวยดี

ขอขอบพระคุณคณาจารยหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต เจาหนาที่โครงการ

และผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานที่ใหความชวยเหลือมาโดยตลอด จนทําใหสารนิพนธฉบับนี้สมบรูณ

และเปนประโยชนตอการบริหารแบบระบบราชการเพื่อใหเกิดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด มากที่สุด

วิชาญ สัดชํา

มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2559

Page 5: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

(3)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (1)

กิตติกรรมประกาศ (2)

สารบัญตาราง (5)

สารบัญแผนภาพ (6)

บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา 3

1.3 ขอบเขตของการศึกษา 3

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 4

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา 5

2.1 แนวคิด ทฤษฎีระบบราชการ 5

2.2 แนวคิด ทฤษฎีประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 14

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 21

2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา 25

2.5 สมมติฐานการศึกษา 25

2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 26

บทที่ 3 วิธีการศึกษา 29

3.1 วิธีดําเนินการศึกษา 29

3.2 ประชากรกลุมตัวอยางในการศึกษา 29

3.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 30

Page 6: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

(4)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.4 การทดสอบความนาเชื่อถือของเครื่องมือในการศึกษา 31

3.5 วิธีเก็บรวบรวมขอมูล 31

3.6 วิธีการวิเคราะหขอมูล 32

3.7 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 32

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 34

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม 34

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลของการบริหารแบบระบบราชการ 37

4.3 ผลการวิเคราะหขอมูลประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 45

4.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน 49

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 58

5.1 สรุปผล 59

5.2 อภิปรายผล 60

5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา 66

5.4 ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้งตอไป 68

บรรณานุกรม 69

ภาคผนวก 73

แบบสอบถาม 74

ประวัติผูศึกษา 83

Page 7: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

(5)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

4.1 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามเพศ 34

4.2 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุ 35

4.3 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุราชการ 35

4.4 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามระดับการศึกษา 36

4.5 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามสถานภาพ 36

4.6 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามรายไดตอเดือน 37

4.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นที่มีตอ 38

การบริหารแบบระบบราชการ

4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานลําดับชั้นและ 39

สายการบังคับบัญชา

4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการรวมศูนยอํานาจ 40

4.10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานการแบงงานกันทํา 41

4.11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานความเปนทางการ 42

4.12 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานความเปนวิชาชีพ 43

4.13 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นที่มีตอ 45

ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

4.14 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานผลงาน 46

4.15 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน 47

4.16 แสดงคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวแปรการบริหารแบบราชการ 50

4.17 แสดงตัวแบบจําลองความสัมพันธของสมการการถดถอยพหุคูณ 51

4.18 แสดงผลการวิเคราะหความแปรปรวนสองทาง (ANOVA) 52

4.19 แสดงผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณดวยวิธี Backward 54

4.20 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 57

Page 8: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

(6)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา

2.1 แสดงกรอบแนวคิดการศึกษา 25

4.2 ตัวแบบการถดถอยพหุคูณของการบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผล 56

ในการปฏิบัติงาน

Page 9: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาการบริหารราชการเปนกิจกรรมทางสังคมที่มีความสําคัญและสัมพันธกับชีวิตของ

ประชาชนในทุกประเทศ ไมวาจะเปนกิจกรรมดานเศรษฐกิจ กิจกรรมทางดานสังคม หรือกิจกรรม

ดานการเมือง ระบบราชการจะตองมีบทบาทในสวนใดสวนหนึ่งหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเสมอ

เชน การกําหนดหลักเกณฑหรือวิธีการปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่งในรูปของกฎมาย ระเบียบ

ขอบังคับหรือนโยบาย

ชวงป ค.ศ.1864-1920 นักสังคมศาสตรชาวเยอรมันชื่อ Max Weber ไดเสนอแนวคิด

การจัดการบริหารองคการในเชิงอุดมคติ เรียกวา Bureaucracy ซึ่งเชื่อวาเปนแบบฉบับของการ

บริหารที่กอใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด ทั้งในดานโครงสรางและการดําเนินการ

ขององคการ ซึ่งเปนผลมาจากความเครงครัดในการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบและความเปนกลาง

ของเจาหนาที่ สามารถนําไปปรับใชกับภารกิจในการบริหารงานไดทุกประเภท มีนักวิชาการและ

นักบริหารจํานวนมากไดรับอิทธิพลจากแนวความคิดนี้ และนํามาใชเปนตัวแบบในการปรับปรุง

ระบบการบริหารจัดการหนวยงานของภาครัฐและภาคเอกชนอยางแพรหลาย

ปจจุบันพบวา การปฏิบัติงานและการบริหารงานในหนวยงานของภาครัฐ มิไดมี

ประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลเทาที่ควร ตามความคาดหวังของการบริหารแบบระบบราชการที่

นํามาประยุกตใช ประกอบกับคนภายในและภายนอกองคการ เห็นวาการดําเนินงานของ

หนวยงานนั้นมีลักษณะที่ซับซอน ยากแกการเขาใจ และเต็มไปดวยกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ที่มีไว

เพื่อควบคุมการปฏิบัติของเจาหนาที่และประชาชนผูมารับบริการ จนทําใหใชเวลาในการ

ปฏิบัติงานที่ยาวนานกวาจะบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว ทําใหหนวยงานขาดความคลองตัว อีกทั้ง

ระบบการจัดการและการดําเนินงานที่เปนลายลักษณอักษรเปนเรื่องที่ยุงยากและกินเวลา

เหตุการณในลักษณะนี้ถูกเรียกวา ความลาชาในการปฏิบัติราชการ ซึ่งสวนใหญถูกมองวามีสาเหตุ

มาจากเจาหนาที่และขาราชการใชขออางในการปฏิบัติตามกฎระเบียบใหถูกตองเปนสําคัญ

เพื่อใหตนเองนั้นพนจากคํากลาวหาไวกอน จากผลการปฏิบัติงานที่ลาชาจนทําใหการบรรลุ

วัตถุประสงคของหนวยงานในการใหบริการแกสังคม ประชาชน และหนวยงานที่เกี่ยวของผิดเพี้ยน

Page 10: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

2

ไป สงผลกระทบโดยตรงตอพันธกิจของหนวยงาน ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่นําไปสูความลมเหลว เสื่อม

ประสิทธิภาพและทําลายความศรัทธาที่ประชาชนมีตอระบบราชการของไทยจนหมดสิ้น

อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด เปนหนวยงานภาครัฐที่มีรูปแบบการบริหารจัดการ

องคการแบบระบบราชการและประสบกับปญหาดังที่กลาวมาเหมือนหนวยงานทั่วไป ถึงแมจะมี

การนําเทคโนโลยีทางสารสนเทศและแนวทางการปฏิบัติงานที่ทันสมัยเขามาใชในการปฏิบัติงาน

ของขาราชการและพนักงาน แตการปฏิบัติงานตางๆ ก็ตองอาศัยคําสั่งที่เปนหนังสือ มีลายลักษณ

อักษร ผานขั้นตอนการพิจารณาและใชเวลานาน ทําใหหนวยงานไดรับการตําหนิและถูกมองวา

ลาชาทั้งที่ขาราชการและพนักงานภายในหนวยงานพยายามปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถ

ซึ่งหากปลอยใหลักษณะของปญหาเชนนี้เกิดขึ้นตอไปก็จะยิ่งสงผลเสียตอภาพพจน อีกทั้งยังสราง

ความบั่นทอนตอสภาพจิตใจและคุณภาพชีวิตในการทํางานของขาราชการและพนักงานใหลด

นอยลง และเกิดความทอแทในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ที่วาการอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด เปน

หนวยงานที่มีความสําคัญอยางมากตอประชาชนเพราะเปนหนวยงานที่ใหบริการแกประชาชน

ดังนั้น เพื่อเปนการหาแนวทางที่จะจัดการกับปญหาในการปฏิบัติราชการที่มีอยูในองคการนี้ให

ลดลง จําเปนจะตองศึกษาและทําความเขาใจถึงสาเหตุที่กอใหเกิดปญหาที่แทจริง แลวจึงหา

แนวทางในการแกไขปญหานั้นตอไปโดยมีประเด็นการศึกษาที่นาสนใจ คือ การบริหารและจัด

องคการตามแนวความคิดแบบระบบราชการที่ไดรับการยอมรับและเชื่อมั่นวาเปนตนแบบของการ

บริหาร ที่กอใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุดในการดําเนินงานขององคการ ประสบ

ความสําเร็จอยางมากในการใชเปนแมแบบการบริหารจัดการ การจัดโครงสรางขององคการของ

หนวยงานภาครัฐในหลายประเทศ แตเหตุใดระบบราชการของไทยภายใตรูปแบบและหลักการ

บริหารเดียวกันนี้กลับยังไมประสบความสําเร็จตามที่มุงหวัง อีกทั้งยังกอใหเกิดปญหาในการ

ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น

สารนิพนธฉบับนี้ เปนการศึกษาลักษณะหรือรูปแบบการบริหารจัดองคการตามแนวคิด

ระบบราชการที่ปรากฏอยูในการบริหารจัดการงานของอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด สงผล

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขาราชการและพนักงานหรือไมเพียงใด เพื่อใชเปนแนวทางสําหรับ

การกําหนดนโยบายเพื่อแกไขปญหา และเพิ่มโอกาสใหองคการหรือหนวยงานสามารถพัฒนา

ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานใหดียิ่งขึ้น ปราศจากคําครหาของประชาชน

ผูรับบริการและหนวยงานที่เกี่ยวของ ใหสมกับที่เปนหนวยงานเพื่อบริการประชาชนอยางแทจริง

Page 11: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

3

1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา1. เพื่อศึกษาการบริหารแบบระบบราชการของอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

2. เพื่อศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน อําเภอ

โพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

3. เพื่อศึกษาอิทธิพลของการบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ของขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

1.3 ขอบเขตของการศึกษา1.3.1 ขอบเขตดานเนื้อหา

1.3.1.1 ตัวแปรตน ศึกษาแนวคิดระบบราชการของ Weber (1947) ไดแก

1) หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา

2) หลักการรวมศูนยอํานาจ

3) หลักการแบงงานกันทํา

4) หลักความเปนทางการ

5) หลักความเปนวิชาชีพ

1.3.1.2 ตัวแปรตาม ศึกษาตัวชี้วัดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและ

พนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด (2558) มีองคประกอบดังนี้

1) ดานผลงาน

2) ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน

1.3.2 ขอบเขตดานประชากรขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด จํานวน 80 คน

1.3.3 ขอบเขตดานระยะเวลาระยะเวลาในการศึกษา จากชวงเดือนมกราคม พ.ศ.2559– ธันวาคม พ.ศ.2559

Page 12: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

4

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. เพื่อเพิ่มพูนความรูดานทฤษฏีระบบราชการ รวมถึงเปนการพัฒนาการบริหารจัดการ

ของอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

2. สามารถนําขอมูลที่ไดรับไปแกไขระบบการบริหารจัดการใหเกิดประสิทธิผลมาก

ยิ่งขึ้น

3. สามารถนําเปนแนวทางในการศึกษาการบริหารแบบระบบราชการใหแกหนวยงาน

อื่นๆ ตอไป

Page 13: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

5

บทที ่2วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา

การศึกษาเรื่อง “การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด” ครั้งนี้ ผูศึกษาไดทําการศึกษาแนวคิด

ทฤษฎี รวมถึงผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาเปนแนวทางในการกําหนดกรอบแนวคิด และ

สมมติฐานการวิจัย โดยนําเสนอได ดังนี้

2.1 แนวคิด ทฤษฎีระบบราชการ

2.2 แนวคิด ทฤษฎีประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา

2.5 สมมติฐานการศึกษา

2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.1 แนวคิด ทฤษฎีระบบราชการจากการศึกษาพบวา สามารถจัดแบงแนวคิดที่มีตอระบบราชการออกไดเปน 4 กลุม

ดังนี้

1. กลุมแนวคิดที่มองระบบราชการในแงลบหรือในแงวิพากษ

นักวิชาการในกลุมนี้มองระบบราชการในฐานะรูปแบบการจัดองคการที่ขาดความ

ยืดหยุน ทําใหคนเปนเสมือนหุนยนต มีหนาที่คอยรับคําสั่ง สงผลใหการปรับเปลี่ยนตนเองเพื่อให

สอดคลองกับสภาพแวดลอม เปนเรื่องที่กระทําไดยาก นักวิชาการที่เสนอแนวคิดนี้เชน

Merton (2015, อางถึงใน ภานุภณ จิระอัมพร, 2558) ใหความเห็นวา ระบบราชการ

ที่พยายามควบคุมโดยผานกฎระเบียบและสายอํานาจการบังคับบัญชา ทําใหพฤติกรรมของ

ขาราชการขาดความยึดหยุน ไมกลาตัดสินใจ และเพื่อความปลอดภัยของตน ขาราชการจึงเปลี่ยน

สิ่งที่เปนวิธีการไปเปนเปาหมายในการปฏิบัติแทนวัตถุประสงคขององคการ เรียกวา การเบี่ยงเบน

เปาหมาย (Displacement of Goals)

Bennis (2015, อางถึงใน ภานุภณ จิระอัมพร, 2558) ไดวิจารณจุดบกพรองของ

ระบบราชการไวหลายประการ ไดแก ระบบราชการมองขาราชการวาเปนเพียงเครื่องมือของ

Page 14: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

6

องคการที่คอยรับคําสั่งและปฏิบัติตามกฎระเบียบเทานั้น ทําใหขาราชการไมไดใชความรูอยางเต็ม

ความสามารถ และขาดโอกาสในการคิดสรางสรรค และโครงสรางแบบสายการบังคับบัญชาที่

แข็งแกรงเหมาะสมกับยุคสมัยหนึ่งเทานั้น แตไมเหมาะสมกับภาวะแวดลอมสังคมที่เปลี่ยนแปลง

ไป ที่ตองการความยืดหยุนและปรับตัวไดดี

Crozier (1964) นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส ไดชี้ใหเห็นถึงปญหาที่จะเกิดขึ้นกับ

ระบบราชการเมื่อการดําเนินการตางๆ มีลักษณะเขาใกลกับระบบราชการในอุดมคติมากขึ้น เชน

เมื่อบุคลากรถูกจํากัดดวยกฎระเบียบโดยปราศจากความสัมพันธที่เปนสวนตัวโดยสิ้นเชิงแลว

อํานาจในการควบคุมตามสายการบังคับบัญชาก็จะเสื่อมถอยลงในที่สุดการตัดสินใจแบบศูนยรวม

ตามสายการบังคับบัญชาไมเอื้อตอผลสําเร็จขององคการ เพราะผูที่มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดมิใชผูที่

มีความเชี่ยวชาญในสายงานนั้นเสมอไป การแบงชั้นการควบคุมอาจผลักดันใหเกิดการแยก

ออกเปนกลุมเปนพวกในองคการ และมุงรักษาอํานาจของพวกพองมากกวาการรวมกันมุงสู

เปาหมายขององคการ ปจจัยจากการควบคุมและการตัดสินใจแบบศูนยรวมจะกอใหเกิดความ

พยายามที่จะสรางอํานาจแบบคูขนานเพื่อผลักดันใหเกิดการตัดสินใจตามที่กลุมหรือสวนที่ไดรับ

ผลประโยชน มากกวามุงบรรลุวัตถุประสงคขององคการและระบบราชการจะมีประสิทธิภาพมาก

ที่สุดเฉพาะในสภาพการณที่เปนปกติเทานั้น แตจะไรประสิทธิภาพเมื่อประสบกับปญหาวิกฤต ซึ่ง

เปนผลจากการที่กฎระเบียบตางๆ ภายในองคการขาดความยืดหยุนและเครงครัดมากเกินไปและ

ไมสามารถปรับแกใหเขากับสภาวการณไดอยางทันทวงที

สรุปแลวแนวคิดนี้เปนการใหความเห็นวาระบบราชการเปนการกําหนดกรอบการจัด

โครงสรางและการบริหารองคการที่ขาดความยืดหยุน และปดกั้นโอกาสในการสรางสรรค

นวัตกรรมใหมในดานตางๆ ขององคการ อาจทําใหองคการเกิดความแตกแยกและนําพาองคการ

ใหเบี่ยงเบนออกจากเปาหมายหรือวัตถุประสงคที่ตั้งไว

2. กลุมแนวคิดที่มองระบบราชการในแงที่เปนกลาง

นักคิดในกลุมนี้มองระบบราชการเปนรูปแบบของการจัดองคการที่มีทั้งขอดีและ

ขอเสีย และแยกตัวบุคคลผูปฏิบัติออกจากตัวระบบราชการ โดยใหเหตุผลวาขาราชการมีทั้งพวก

ที่เห็นแกประโยชนสวนตัวและพวกที่ทําเพื่อสวนรวม จึงจําเปนตองแยกพวกที่ดีออกจากพวกที่ไมดี

นักวิชาการที่เสนอแนวคิดในลักษณะนี้เชน

Downs (1964) ไดอธิบายถึงลักษณะของระบบราชการวา เปนระบบลําดับชั้นของ

การทํางานที่ทุกอยางถูกกําหนดไวอยางเปนทางการ ประกอบดวยผูบังคับบัญชาและ

ผูใตบังคับบัญชาที่ทํางานรวมกัน โดยเฉพาะบุคลากรหรือขาราชการเปนสวนที่มีความสําคัญ

Page 15: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

7

อยางยิ่ง และสงผลโดยตรงตอกลไกการทํางานและภาพลักษณขององคการ อันเนื่องมาจากผล

ของการกระทําของบุคคลนั้น Downs เห็นวาองคการในระบบราชการเกิดจากการรวมตัวกันของ

ขาราชการหรือกลุมบุคคลเพื่อทําภารกิจอยางใดอยางหนึ่งใหบรรลุเปาหมาย โดยตั้งอยูบน

สมมติฐาน 3 ลักษณะ คือ

1. ขาราชการมีความพยายามที่จะปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายอยางมีเหตุมีผล

2. ขาราชการมีเปาหมายหลายประการที่สลับซับซอน และเกี่ยวของกับผลประโยชน

สวนตัว เชน การจะไดมาซึ่งอํานาจ รายไดที่เพิ่มขึ้น ความมั่นคง ความสําเร็จในชีวิตและหนาที่

การงาน

3. ภารกิจทางสังคมขององคการมีอิทธิพลตอโครงสรางภายใน และพฤติกรรมของ

องคการและบุคลากร

โดยสรุปคือ การมองระบบราชการในแงที่เปนกลางนี้ เปนการใหความยุติธรรมตอ

รูปแบบการจัดโครงสรางองคการ และตัวบุคลากรผูปฏิบัติงานเทาๆ กัน เพราะทั้งสองสวนลวนมี

ความรับผิดรับชอบในภาพลักษณขององคการหรือระบบราชการรวมกันและเทาเทียมกัน

3. กลุมแนวคิดที่มองระบบราชการในแงบวก

เนื่องจากในระยะแรกเริ่มของการกอตัวของทฤษฎีระบบราชการนั้น นักวิชาการ

สวนใหญมองระบบราชการไปในทางลบ ทําใหเกิดแนวคิดใหมที่พยายามแยกระบบราชการออก

จากเจาของหรือผูปฏิบัติ หรือขาราชการ โดยเสนอวาระบบราชการเปนเครื่องมือหรือกลไกในการ

บริหารองคการขนาดใหญ (Large Scale Administration) ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและมีความ

เปนกลาง มีลักษณะที่ชัดเจน คือ มีการแบงงานกันทําอยางเปนระบบและสัดสวน ซึ่งกอใหเกิด

ความชํานาญ การดําเนินการมีความรวดเร็วและประหยัด นอกจากนี้ยังเปนระบบที่มีความ

ยุติธรรม เพราะดําเนินการอยูภายใตกรอบของกฎหมายและระเบียบแบบแผนที่รัดกุมมีเหตุมีผล

สวนผลของการดําเนินการนั้นขึ้นอยูกับผูปฏิบัติ โดยนักคิดท่ีเดนในกลุมนี้ คือ Max Weber นั่นเอง

Weber (1947) ไดเสนอแนวคิดการจัดองคการแบบราชการในอุดมคติ (Ideal Type

of Bureaucracy) วาเปนวิธีการจัดการที่มีประสิทธิภาพเหนือกวาวิธีการอื่น และสังคมที่ดีตองมี

การจัดการบริหารในหนวยงานของรัฐใหเปนไปตามหลักการและคุณลักษณะของการจัดองคการ

แบบราชการ โดยผูนําหรือผูบริหารที่ปกครองหรือบริหารองคการนั้นตองมีสิ่งสําคัญ 2 สิ่ง คือ การ

ไดมาซึ่งอํานาจของบุคคลในการบริหาร (Theory of Domination) และโครงสรางพื้นฐานของระบบ

ราชการ โดยอํานาจในการบริหารประกอบดวย 2 สวน คือ กลไกการบริหาร (Administrative

Apparatus) ทําหนาที่เปนตัวประสานระหวางผูนําและผูถูกปกครอง และตองมีความเหมาะสมกับ

Page 16: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

8

รูปแบบของอํานาจที่ผูนําในสังคมนั้นใชอยู และอํานาจ (Power) เปนอํานาจที่ชอบธรรม

(Legitimating of Power) ที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการยอมรับของคนใน

สังคม โดย Weber แบงรูปแบบการใชอํานาจในการปกครองบังคับบัญชา ออกเปน 3 รูปแบบ ดังนี้

1. รูปแบบการใชอํานาจเฉพาะตัว (CharismaticDomination) ไดแก บุคลิกลักษณะ

ความเปนผูนําเปนปจจัยโนมนาวใหผูตามทั้งหลายเชื่อฟงและยอมปฏิบัติตามคําสั่งและ

เจตนารมณ

2. รูปแบบการใชอํานาจแบบประเพณีนิยม (TraditionalDomination) ผูตามเชื่อฟง

คําสั่งผูนําตามขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติกันมา

3. รูปแบบการใชอํานาจตามกฎหมาย (LegalDomination) ผูตามปฏิบัติตามผูนํา

ตามกฎเกณฑระเบียบแบบแผนกําหนดไว และอาจรวมถึงการใชอํานาจในระบบศักดินาหรือระบบ

เจาขุนมูลนาย (Feudal หรือ Patrimonial)

ระบบราชการทําหนาที่เปนกลไกการบริหารของกลุมชนในสังคม โดยผูนําจะใช

อํานาจที่มีอยูตามกฎหมายปกครอง บังคับบัญชาผูที่อยูในปกครองผานทางระบบราชการ ซึ่ง

แนวคิดนี้ถูกนํามาใชเปนแมแบบในการจัดโครงสรางขององคการ สามารถนํามาปรับใชไดทั้ง

องคการภาครัฐและภาคเอกชน และเปนระบบการบริหารระบบหนึ่งที่นิยมนําไปใชในองคการ

ขนาดใหญที่มีบุคลากรจํานวนมาก และมีภารกิจที่ตองทําหลายลักษณะงาน Weber (1947) ให

เหตุผลวา องคการจะสามารถเปนองคการที่ดีที่สุด มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัดที่สุด

นั้นตองยึดหลักการบริหารที่มีเหตุมีผลมีความถูกตองตามกฎหมายมาใชในการปฏิบัติงาน มีการ

แบงงานกันทําที่ชัดเจน มีการดําเนินการที่เปนทางการและมีตัวบทกฎหมายรองรับ และอาศัยหลัก

ความรูความสามารถหรือระบบคุณธรรม (Merit System) เปนเกณฑในการบริหารงานบุคคลซึ่งจะ

ชวยใหสามารถพยากรณพฤติกรรมหรือปรากฏการณขององคการได

Gerth and Mills (2015, อางถึงใน ภานุภณ จิระอัมพร, 2558) ไดกลาวถึงลักษณะ

ระบบราชการในอุดมคติตามแนวคิดของ Weber ที่สามารถทํางานใหสําเร็จไดอยางมี

ประสิทธิภาพ ประกอบดวยโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ 7 ประการ คือ

ประการที่ 1 มีโครงสรางการบริหารที่ชัดเจนและมั่นคง สําหรับการจัดแบงหนาที่

และความรับผิดชอบ และดําเนินการตามกฎระเบียบและขอบังคับ

ประการที่ 2 การใชอํานาจในการสั่งการที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่เหลานี้ ถูก

กําหนดไวในกฎ ระเบียบและขอปฏิบัติอยางเปนทางการ

Page 17: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

9

ประการที่ 3 การคัดเลือกบุคลากรเขาปฏิบัติหนาที่ ตองมีคุณสมบัติและความสามารถ

ที่สอดคลองกับตําแหนงงาน เพื่อบรรลุความสําเร็จในการดําเนินงานขององคกร

ประการที่ 4 มีการทํางานเปนลําดับชั้น โดยระดับลางถูกดูแลโดยระดับที่สูงกวา

ประการที่ 5 มีการดําเนินการเปนรูปแบบบันทึกและเอกสารลายลักษณอักษรสําหรับ

การติดตามงาน การติดตอ การตัดสินใจ การเงิน และการดําเนินงานอ่ืนๆ ที่มีความสําคัญ

ประการที่ 6 ใชบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ (Expert) ที่ไดรับการฝกฝนมาเปนอยาง

ดี เพื่อมาปฏิบัติงานในตําแหนงหนาที่นั้น

ประการที่ 7 มีลักษณะการทํางานเปนมืออาชีพหรือวิชาชีพ และตองทํางานเปน

กิจกรรมหลัก อยางเต็มเวลา

4. กลุมแนวคิดระบบราชการในแงมุมอื่นๆ

นอกจากการจําแนกความหมายของระบบราชการตามแนวคิดดังที่กลาวมาขางตน

แลว ยังมีการแบงประเภทของระบบราชการอีกหลายลักษณะ เชน การจําแนกประเภทของระบบ

ราชการตามนักวิชาการที่เปนผูเสนอแนวคิด เชน ระบบราชการในอุดมคติของ Max Weber ระบบ

ราชการของ Morstein Marx ระบบราชการของ Reinhard Bendix ระบบราชการของ Fred W.

Riggs ระบบราชการของ Merle Fainsod และระบบราชการของ Alvin Gouldner เปนตน

ตัวอยางเชน

Marx (2015, อางถึงใน ภานุภณ จิระอัมพร, 2558) ไดจําแนกระบบราชการเปน 4

ประเภทคือ

1. ระบบราชการแบบผูอารักขา (Guardian Bureaucracy) เปนระบบราชการที่ได

กําเนิดขึ้น เพราะความตองการของสังคมที่จะใหมีผูใหความอารักขาคุมครองแกสมาชิกในสังคม

2. ระบบราชการแบบชั้นวรรณะ (Caste Bureaucracy) เปนระบบราชการที่มีการ

สรรหา และคัดเลือกบุคคลเขาทํางาน เฉพาะภายในกลุมบุคคลเพียงชนชั้นหนึ่งชนชั้นใดโดยเฉพาะ

เทานั้น

3. ระบบราชการแบบอุปถัมภ (Patronage Bureaucracy) เปนระบบราชการที่เปด

โอกาสใหบุคคลตางๆ เขาเปนขาราชการไดมากกวาระบบราชการแบงชั้นวรรณะ เพียงแตวาการ

บรรจุแตงตั้งบุคคลตางๆ ใชหลักเกณฑในเรื่องอุปถัมภค้ําชูกันเปนสวนบุคคล

4. ระบบราชการแบบคุณธรรม (Merit Bureaucracy) เปนระบบราชการที่ยึดถือและ

ปฏิบัติตามหลักเกณฑของระบบคุณธรรมในการบรรจุแตงตั้งบุคคลเขาเปนขาราชการ

Page 18: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

10

Gouldner (1954) ไดจําแนกระบบราชการเปน 3 ประเภท คือ

1. ระบบราชการแบบ Mock Bureaucracy เปนระบบราชการที่เต็มไปดวยกฎ และ

ขอหามมิใหกระทําหรือปฏิบัติ

2. ระบบราชการแบบผูแทน (Representative Bureaucracy) เปนระบบราชการที่

สมาชิกขององคการบริหารจะออกกฎขอบังคับตางๆ ที่จําเปนทางดานเทคนิค และผลประโยชนของ

สมาชิก

3. ระบบราชการที่มุ งการลงโทษเปนประการสําคัญ (Punishment-Centered

Bureaucracy) เปนระบบราชการที่สมาชิกองคการปฏิบัติตามขอบังคับอยางลังเลใจ เพราะคิดวา

ตนถูกบังคับใหเชื่อฟง

จากตัวอยางขางตน เห็นไดวาสามารถจําแนกระบบราชการไดหลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับ

รายละเอียดปลีกยอยหรือองคประกอบแวดลอมขององคการและสภาวะสังคมในขณะนั้น เพื่อให

เหมาะสําหรับการนําไปใชกับองคการที่มีลักษณะตางกัน หรือการจัดแบงประเภทตามผลลัพธจาก

การดําเนินการขององคการที่มีตอสังคมรอบขาง หรือแมกระทั้งแบงตามมุมมองของนักวิชาการ

2.1.1 ลักษณะการนําแนวคิดของระบบราชการมาใชในองคการWeber (1947) การจัดองคการและการบริหารงานตามแนวคิดระบบราชการ

สวนใหญตั้งอยูบนกลไกสําคัญที่มีลักษณะคลายคลึงกัน 7 ประการ ดังนี้

1. หลักการจัดตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบแบบลําดับชั้น (Hierarchical Office)

หรือการแบงระดับชั้นของอํานาจในการบังคับบัญชา โดยผูบังคับบัญชาในระดับที่สูงกวามีอํานาจ

ในการสั่งการ และกํากับการทํางานของผูใตบังคับบัญชาที่อยูในระดับต่ํากวา โดยที่การมีลําดับ

ชั้นในการบริหารนี้แสดงใหเห็นถึงอํานาจในการสั่งการและสายการบังคับบัญชาของบุคคลที่ดํารง

อยูในตําแหนงตางๆ ขององคการ ชวยใหมีระบบการบังคับบัญชาที่ชัดเจน เปนหลักประกันในการ

ใชอํานาจเพื่อควบคุมการดําเนินการขององคการใหบรรลุวัตถุประสงค

แนวคิดนี้เชื่อวา การบริหารที่มีลําดับชั้นและการสั่งการตามสายการบังคับบัญชา จะ

ทําใหการดําเนินกิจกรรมขององคการมีความรัดกุมและอยูภายใตการควบคุม สงผลตอ

ประสิทธิภาพที่ดี ซึ่งมีความเหมาะสมกับสภาพสังคมในชวงศตวรรษที่ 19-20 แตเมื่อสถานการณ

โลกเปลี่ยนไปการบริหารตองการความรวดเร็วมากขึ้น บุคลากรตองการเสรีภาพในการปฏิบัติงาน

มากขึ้น องคการตองการนวัตกรรมใหมและความคิดสรางสรรค มากกวาการปฏิบัติตาม

กฎระเบียบที่เครงครัด เพื่อตอบสนองการบริการตอประชาชนไดอยางสะดวกรวดเร็วและมี

ประสิทธิภาพในแบบเดิม หากองคการขนาดใหญที่มีบุคลากรจํานวนมากยังคงใชระบบราชการที่มี

Page 19: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

11

สายการบังคับบัญชายาว มีขั้นตอนการตัดสินใจที่ซับซอน ยอมไมอาจตอบสนองตอสภาวการณได

ดีเทาที่ควร ดังนั้น การลดขั้นตอนและลําดับขั้นของการสั่งการลง ในขณะที่รักษาความสามารถใน

การควบคุมที่จําเปนไว เพื่อจัดองคการใหเปนแนวราบมากขึ้น จะทําใหบุคลากรในระดับตางๆ

สามารถควบคุมดูแลและรับผิดชอบตอความสําเร็จและความลมเหลวของตนเองไดมากยิ่งขึ้น

2. การใชอํานาจ (Authority) หมายถึงความสามารถในการสั่งการ บังคับบัญชา

หรือกระทําการใดๆ เพื่อใหมีการดําเนินการหรือปฏิบัติการตางๆ ตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ซึ่งมี

คุณลักษณะที่สําคัญคือ อํานาจหนาไดมาอยางเปนทางการตามตําแหนงอํานาจหนาที่และความ

รับผิดชอบจะตองสมดุลกันเสมอการไดมาซึ่งอํานาจ ในทัศนะของ Weber (1947) คือการได

อํานาจมาซึ่งตามกฎหมาย (LegalAuthority) และภาระหนาที่ (Duty) หมายถึงงานที่ถูกกําหนด

หรือไดรับมอบหมายใหปฏิบัติ

การใชอํานาจสั่งการที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่นี้ อยูภายใตกฎ ระเบียบวินัย

และขอปฏิบัติ พรอมบทลงโทษในกรณีกระทําความผิด ที่ถูกกําหนดไวอยางเปนทางการ

(Discipline) เพื่อเปนกลไกการควบคุมความประพฤติของสมาชิกทุกคนในองคการ บุคลากรทุก

ระดับชั้นมีหนาที่ในการปฏิบัติตามระเบียบวินัยอยางเครงครัด ในขณะเดียวกันจําเปนตองมีสํานึก

แหงความรับผิดชอบ (Responsibility) ตอการกระทําของตน ซึ่งความรับผิดชอบนี้หมายถึงการรับ

ผิดและรับชอบตอการกระทําใดๆ ที่ตนไดกระทําลงไป และความพรอมที่จะใหมีการตรวจสอบโดย

ผูบังคับบัญชาอยูตลอดเวลาดวย นอกจากนี้ การปฏิบัติหนาที่ยังตองคํานึงถึงหลักแหงความ

สมเหตุสมผล (Rationality) ความถูกตองเหมาะสมของแนวปฏิบัติที่จะนํามาใชเปนแนวทางในการ

ดําเนินงานใหบรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพ โดยยึดเปาหมายคือหัวใจสําคัญของการบริหาร ที่

ประกอบดวยการประหยัด (Economy) ประสิทธิผล (Effective) และประสิทธิภาพ (Efficiency)

ประสิทธิผล (Effectiveness) เปนการกําหนดขอบเขตหรือขนาดที่องคการตองการ

บรรลุผลสําเร็จไว แลวมีการประเมินผลหลังจากที่มีการดําเนินการแลววาไดผลลัพธตามเปาหมาย

ที่กําหนดไวหรือไม ถาสําเร็จก็คือวาบรรลุเปาหมายหรือมีประสิทธิผล ในการทํางานหรือการดําเนิน

กิจการนั้น

ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความสามารถในการที่จะใชทรัพยากรบริหารตางๆ ที่มีอยู

ซึ่งไดแก คน เงิน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช เวลาไปในทางที่จะกอใหเกิดประโยชนตอการ

ดําเนินงานนั้นไดมากที่สุด สวนใหญเปนการวัดผลในทางเศรษฐศาสตร มีการวัดตนทุน คาใชจาย

ตอหนวยผลิตที่ได เปนการวัดวาองคการบรรลุเปาหมายไดอยางไร

Page 20: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

12

ประหยัด (Economic) ความสามารถในการที่จะประหยัดทรัพยากรบริหาร แต

สามารถที่จะใหบริการ หรือผลิตออกมาใหไดระดับเดิม

แตในทางปฏิบัติแลวกลับพบวา บุคลากรหรือขาราชการกลับพากันยึดเอาตัวกฎ

ระเบียบ หรือขอปฏิบัตินั้น เปนเปาหมายในการปฏิบัติหนาที่แทนการปฏิบัติเพื่อมุงบรรลุ

วัตถุประสงคขององคการหรือหนวยงาน ทําใหเกิดภาวการณเบี่ยงเบนเปาหมาย ซึ่ง Weber ได

เสนอแนวทางที่จะนําไปสูความสมเหตุสมผลหรือการทํางานที่มีประสิทธิภาพนอกเหนือจากการ

ปฏิบัติตามระเบียบ นั่นคือ ขาราชการตองใหความสําคัญกับกระบวนการทํางาน (WorkProcess)

ที่มีสวนสําคัญตอการบรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพ (WorkOutcome) เพราะวิธีการทํางานแสดงให

เห็นวา ขาราชการควรจะทํางานอยางไร (Howto) โดยวิธีการใด จึงจะทําใหงานสําเร็จอยางมี

ประสิทธิภาพ โดยอาศัยการพัฒนาและบริหารกําลังคน เพื่อมุงตอบสนองตอเปาหมายของ

องคการ

3. การคัดเลือกบุคลากรเขาปฏิบัติหนาที่ ตองมีคุณสมบัติและความสามารถที่

สอดคลองกับตําแหนงงาน เพื่อบรรลุความสําเร็จ ในการดําเนินงานขององคการ

การคัดเลือกบุคคลเพื่อเขารับตําแหนง จําเปนจะตองมีการคัดสรรตามหลักเกณฑที่

กําหนดไวตามคําอธิบายงาน (Job Description) ทั้งนี้ การคัดเลือกตองตั้งอยูบนระบบความ

ชอบธรรม มิใชระบบอุปถัมภหรือการใชเสนสาย โดยหนาที่ในการจัดหาบุคลากรเปนหนาที่ของ

งานบริหารบุคคล เพื่อใหไดบุคลากรที่เหมาะสมกับความตองการขององคการ แตปญหาดานการ

บริหารงานบุคคลที่พบสวนใหญเปนเรื่องของระบบคุณธรรมเทียมแฝง (Pseudo-merit System)

ตัวอยางเชน การจัดใหมีการสอบคัดเลือกเขารับราชการ เปนการกระทําเพื่อใหเปนพิธีอยางเปน

ทางการเทานั้น แตในทางปฏิบัติยังคงเปนเรื่องของระบบอุปถัมภและพวกพอง (Bureaucratic

Spoils System) และสงผลไปเรื่อยๆ จนถึงการปรับเลื่อนตําแหนงในหนวยงาน ซึ่งการกระทําเชนนี้

เปนเพียงภาพลวงตาในระบบคุณธรรมตามความหมายของ Weber (1947) เทานั้น (เดชชาติ

วงศโกมล, 2509, อางถึงใน สุพจน แกววิมล, 2531)

4. ดําเนินการในรูปแบบของการเขียนบันทึกและเอกสารลายลักษณอักษร (Written

Documents) สําหรับการติดตาม การติดตอ การตัดสินใจ การเงินและการดําเนินงานที่มี

ความสําคัญ ทําใหระบบราชการจําเปนจะตองอาศัยเจาหนาที่เสมียนหรือเจาหนาที่ดานเอกสาร

จํานวนมาก เพื่อจัดการเกี่ยวกับเอกสารโดยเฉพาะ เปนที่มาของคําวา สํานักงาน (Bureau) ซึ่งการ

ทํางานในรูปแบบของการบันทึกเปนลายลักษณอักษรนี้ ประกอบดวยเอกสารตนฉบับและเอกสาร

สําเนาคูกัน มีขอดีคือ ชวยในการสืบคน ติดตามความกาวหนาในการทํางาน และใชเปนหลักฐาน

Page 21: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

13

การดําเนินการไดเปนอยางดี ขณะเดียวกันก็เปนสาเหตุสําคัญที่สรางความยุงยาก ลาชาในการ

ปฏิบัติงาน เนื่องจากการยึดถือความถูกตองของเอกสารจนลืมวัตถุประสงคของงาน เห็นไดจาก

การติดตอประสานงานที่ตองรอใหการดําเนินการทางเอกสารเรียบรอยกอน จึงจะสามารถ

ดําเนินการตอไปได

5. มีการจัดแบงหนาที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน ใชหลักของการทําใหเกิดความ

แตกตางเพื่อใหมีความชํานาญเฉพาะดาน (Specialization) เนื่องจากหนวยงานราชการเปน

องคการขนาดใหญ และมีภาระงานที่ตองรับผิดชอบหลายลักษณะ จําเปนตองมีการแบงงานที่ทํา

ออกเปนสวนยอยๆ แลวกําหนดหนวยงานขึ้นมารองรับ ซึ่งการแบงงานหรือการจัดสวนงาน

(Departmentation) นี้ แตละหนวยงานจะไดรับมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจนและมี

ความเฉพาะ เชน หนวยงานสวนบัญชีรับผิดชอบเฉพาะเรื่องบัญชี หนวยงานสารสนเทศดูแลเรื่อง

เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน บุคลากรจะตองเปนผูที่มีความรูความชํานาญ (Specialize

and Professional) โดยการจัดสวนงานมีหลักการจัดหลายรูปแบบ เชน

5.1 การแบงสวนงานตามพื้นที่ เปนการแบงงานโดยการกําหนดพื้นที่ที่ตอง

รับผิดชอบไวอยางชัดเจน และมีการกําหนดภารกิจ บทบาท อํานาจหนาที่ ที่องคการตองบริหาร

จัดการไวดวย เชน การแบงพื้นที่การบริหารราชการออกเปน จังหวัด อําเภอ อ.บ.จ. อ.บ.ต.

เทศบาล

5.2 การแบงงานตามหนาที่หรือภารกิจที่องคการจะตองปฏิบัติจัดทํา เชน การ

จัดแบงงานของกระทรวงตางๆ เชน กระทรวงกลาโหม กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงการคลัง

5.3 การแบงงานตามลูกคาหรือผูรับบริการ เชน การแบงโรงพยาบาล ออกเปน

โรงพยาบาลเด็ก โรงพยาบาลหญิง โรงพยาบาลสงฆ

5.4 การแบงงานตามขั้นตอนหรือกระบวนการทํางาน โดยคํานึงวางานที่ทํา

สามารถแบงออกเปนกี่ขั้นตอน อะไรบาง แลวกําหนดหนวยงานขึ้นมารองรับเชน งานรับเอกสาร

งานจายสินคา งานบัญชี เปนตน

การแบงหนาที่การทํางานที่ชัดเจนนั้นเปนสิ่งที่ดี แตขณะเดียวกันทําอาจใหแตละ

หนวยงานมุงบรรลุวัตถุประสงคของตนเองมากกวาวัตถุประสงคขององคการ และอาจทําใหขาด

การประสานงานที่ดี สงผลตอการดอยลงของประสิทธิภาพขององคการ

6. บุคลากรตองมีความเชี่ยวชาญ (Expert) และไดรับการฝกฝนมาอยางดี เพื่อมา

ปฏิบัติงานในตําแหนง รวมถึงการเติบโตในสายงานตองตั้งอยูบนพื้นฐานของความเชี่ยวชาญ

เพื่อใหผูบังคับบัญชาที่กาวขึ้นสูตําแหนงที่สูงขึ้น มีความรูความเขาใจในเนื้องานที่รับผิดชอบ ทั้ง

Page 22: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

14

ของตนและของผูใตบังคับบัญชาเปนอยางดี จึงจะชวยใหองคการสามารถวางแผนการพัฒนา

บุคลากรไดอยางตอเนื่องและสงเสริมประสิทธิภาพในการดําเนินการ

7. มีลักษณะการทํางานเปนอาชีพหรือวิชาชีพ ถือวาการปฏิบัติราชการเปนงานหลัก

ที่ขาราชการตองทุมเทเวลาใหเต็มที่ ไมเปนกิจกรรมรองจากงานอื่น มีการดํารงตําแหนงที่ถือวาเปน

อาชีพ (Office Holding is Vocation) เมื่อบุคคลไดรับคัดเลือกเขารับตําแหนง จะตองพรอมทํางาน

ใหกับหนวยงานเปนระยะเวลายาวนาน เปนพันธะผูกพันระหวางองคการกับขาราชการ โดยปกติ

อาชีพรับราชการถือเปนอาชีพตลอดชีวิต (พิทยา บวรวัฒนา, 2556) และครองตําแหนงตลอดชีพ

(Tenure for Life) เปนที่มาของความเชื่อที่วา การรับราชการเปนอาชีพที่มั่นคง ผลตอบแทนที่ไดรับ

อยูในรูปของเงินเดือนประจํา ตามระเบียบที่กําหนดไวอยางชัดเจน โดยอัตราคาตอบแทนไมขึ้นกับ

ปริมาณงานที่สําเร็จ แตปรับเปลี่ยนไปตามระดับตําแหนง และระยะเวลาในการรับราชการ

นอกจากลักษณะที่กลาวขางตน ระบบราชการยังมีลักษณะเฉพาะอื่นอีก เชน การมี

แนวโนมในการปกปดความรูในความสลับซับซอนของระบบงานหรือการดําเนินการไมใหคน

ภายนอกรู ซึ่งเปนผลจากการที่ตองวางตัวเปนกลาง ทําใหการตัดสินใจหรือการดําเนินการ

บางอยางจําเปนตองเปนความลับ เชน การตัดสินใจเลือกผูรับจางซอมแซมอาคารสถานที่ของ

หนวยงานราชการ โดยลักษณะเหลานี้เกิดจากแนวคิดของระบบราชการในอุดมคติที่เกิดขึ้นมา

ยาวนานไมนอยกวา 90 ป และยังคงปรากฏอยูในรูปแบบการบริหารจัดการของหนวยงานใน

ปจจุบัน แสดงใหเห็นถึงความคงทนถาวร ความอยูยงคงกระพัน และความแข็งแกรงของระบบ

ราชการ

2.2 แนวคิด ทฤษฎีประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน2.2.1 ความหมายของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานปจจุบันมีการศึกษาเรื่อง ประสิทธิผล (Effectiveness) กันอยางแพรหลาย และมี

ความหมายแตกตางกัน โดยมีการใชหลักเกณฑมาประกอบกัน มีผูใหความหมายหรือคํานิยาม

ตางๆ กัน เมื่อจะพิจารณาถึงคําวาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานนั้น มีคําศัพทที่ เกี่ยวของกับ

การศึกษาในครั้งน้ี คือ

รุง แกวแดง (2538) ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธกับผลงานที่องคการ

พึงประสงค หรือหมายถึงความสําเร็จของผลการปฏิบัติงานที่เปนไปหรือบรรลุตามเปาหมายและ

วัตถุประสงคขององคการ ซึ่งผลสําเร็จหรือผลที่เกิดขึ้นของงานจะตอบสนองหรือบรรลุวัตถุประสงค

ขององคการ หรือหนวยงาน

Page 23: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

15

พยอม วงศสารศรี (2542) กลาววา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง การ

ปฏิบัติงานที่มีคุณคาของบุคคล ซึ่งประกอบดวย ศักยภาพ ความสามารถของบุคคล มาตรฐานใน

การปฏิบัติงาน ผลลัพธของงานที่ผานเกณฑตามที่องคการกําหนด หรือตรงตามการพรรณนางาน

(Job Description) ของตําแหนงงาน

Steers (1977) ไดใหความหมายวา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง ขอบเขตที่

บุคคลสามารถทํางานไดสําเร็จลุลวง หรือทํางานบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว ซึ่งครอบคลุมถึงผลิตผล

ของงานและดานอื่นๆ เชน การคิดสรางสรรคในการทํางาน การปฏิบัติงานที่สําเร็จตามเปาหมายที่

กําหนด เปนตน

Gibson and Others (1998) กลาววาประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง ลักษณะ

บุคคลที่สามารถปฏิบัติงานใดๆ หรือปฏิบัติกิจกรรมใดๆ แลวประสบความสําเร็จทําใหบังเกิดผล

ตรงและครบถวนตามที่มีวัตถุประสงคไว ผลที่เกิดขึ้นมีลักษณะคุณภาพ เชน ความถูกตอง ความมี

คุณคา ความเหมาะสมดีงาม ตรงกับความคาดหวังและความตองการของหมูคณะ สังคม และผูนํา

ผลที่ไดจากการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ คือ เปนการปฏิบัติดวยความพึงพอใจ ปฏิบัติอยางเต็ม

ความสามารถ ปฏิบัติดวยการเลือกสรรกลวิธีและเทคนิควิธีการที่เหมาะสมที่สุดที่จะทําใหบรรลุผล

ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพอยางดีที่สุดแตใชทุนทรัพยากร และระยะเวลานอยที่สุด

สรุป ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง การปฏิบัติงานตามแผนงาน เพื่อใหบรรลุ

เปาหมายตามที่องคหนวยงานกําหนดใหทันระยะเวลา ผลงานที่ออกมามีคุณภาพสามารถวัดได

ตามเกณฑการวัดของแตละหนวยงาน

2.2.2 การประเมินประสิทธิผลในการปฏิบัติงานพยอม วงศสารศรี (2542, อางถึงใน วิเชียร จันทะเนตร, 2558) ไดกลาววา การประเมิน

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานหมายถึง การประเมินคุณคาการทํางานของบุคคล เปนวิธีการที่

ผูบังคับบัญชาบันทึกและลงความเห็นเกี่ยวกับผลของการปฏิบัติงานในระยะเวลาที่กําหนดไว เพื่อ

เปนเครื่องมือประกอบการพิจารณาความดีความชอบแกผูปฏิบัติงาน ขั้นตอนในการประเมินผล

ของการปฏิบัติงานมีดังนี้

1. มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานเปนสิ่งที่กําหนดขึ้น เพื่อใชจัดการการปฏิบัติงาน

ของบุคลากร มาตรฐานจะเปนบรรทัดฐานใหผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชาทําการตกลงวา

จะทําตามไดหรือไม การพรรณนางาน (Job Description) เปนจุดเริ่มตนของการเขียนมาตรฐาน

การปฏิบัติงาน

Page 24: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

16

2. การปฏิบัติงานและศักยภาพ การประเมินอาจมุงวัดการทํางานจริงๆ หรือมุงวัดที่

บุคคลนั้นๆ วามีศักยภาพเพียงใด ซึ่งศักยภาพหมายถึงคุณสมบัติประจําตัว ไดแก ความถนัด

ความสามารถ และความสนใจที่มีอยูในแตละบุคคล ทั้งนี้ เพื่อการพิจารณาเลื่อนตําแหนงแดผูมี

ความสามารถและมีการปฏิบัติงานที่ดีใหกาวสูตําแหนงที่สูงขึ้นตอไป

3. การกําหนดผูประเมิน โดยปกติแลวไมวาจะเปนองคการธุรกิจหรือองคการของรัฐก็

ตาม ผูจัดการหรือผูบังคับบัญชาจะเปนผูประเมินผลการปฏิบัติงานของผูพนักงานที่อยูใตบังคับ

บัญชาของตน แตบางครั้งผูบังคับบัญชาใกลชิดอาจไมรอบรูเทาเพื่อนรวมงานหรือผูบังคับบัญชา

ฝายอื่นๆ ฉะนั้น จึงอาจมีการประเมินจากเพื่อนและการใชกลุมประเมินรวมดวยก็ได

4. การตระหนักถึงคุณสมบัติของผูประเมินที่ดี ในการประเมินการปฏิบัติงานนั้นผู

ประเมินนับวามีความสําคัญ โดยไดมีการศึกษาคุณสมบัติของผูประเมินที่ดีไวดังนี้ 1) มีเชาวและ

สติปญญาที่ดี 2) มีความสามารถทางวิชาการ 3) มีอารมณมั่นคง 4) มีประสบการณทางสังคมสูง

5) มีความรอบรู 6) รักความยุติธรรม 7) เขาใจสภาพการณตางๆ

กลาวโดยสรุปไดวา การประเมินประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง วิธีการประเมิน

คุณคาของการปฏิบัติงานของบุคลากรในองคการ ซึ่งผูบังคับบัญชาเปนผูลงความเห็นเกี่ยวกับการ

ปฏิบัติงานในเวลาที่กําหนด โดยผูทําการประเมินตองตระหนักถึงคุณสมบัติของการเปนผูประเมิน

อยางดี มีความรอบรู มีความยุติธรรม เปนตน เพื่อผลการประเมินที่ดีตรงตามวัตถุประสงคของการ

ประเมินประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน ดังนี้

2.2.3 วัตถุประสงคการประเมินประสิทธิผลในการปฏิบัติงานวัตถุประสงคของการประเมินประสิทธิผลในการปฏิบัติงานตามแนวคิดของนักวิชาการ

ชาวไทยและนักวิชาการชาวตางประเทศ ตางใหแนวคิดที่สอดคลองกันดังนี้

ปราณี กมลทิพยกุล (2552, อางถึงใน วิเชียร จันทะเนตร, 2558) กลาววา วัตถุประสงค

ของการประเมินประสิทธิผลในการปฏิบัติงานมีดังนี้

1. เพื่อใหพนักงานไดทราบถึงประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่แทจริงของตนเอง รวมทั้ง

ปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข ตลอดจนการพัฒนาตนเอง

2. เพื่อใหผูบังคับบัญชาสามารถกําหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรือเปาหมายในการ

ปฏิบัติงานรวมกัน

3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน เพิ่มขวัญกําลังใจพนักงาน

สรางความมั่นคงและความเจริญกาวหนาของบริษัท

Page 25: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

17

4. เพื่อเปนขอมูลสําหรับฝายทรัพยากรบุคคลในการกําหนดแนวทางการพัฒนา

พนักงาน รวมถึงการพิจารณาเลื่อน ปรับ โอน ยาย ตําแหนง

5. ใชเปนขอมูลในการคิดคํานวณ โบนัสและการขึ้นเงินเดือนประจําป

6. ชวยใหผูบังคับบัญชาไดมีการพัฒนา รูจักปรับปรุงตนเองใหพรอมและสามารถ

ประเมินผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ

Mathis and Jackson (2004) กลาววา วัตถุประสงคของการประเมินประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานสามารถจําแนกเปนวัตถุประสงคหลักที่สําคัญ 2 ประการ คือ

1. เพื่อจุดมุงหมายในการบริหารงานบุคคล เชน การคัดเลือกบุคคล การเพื่อพิจารณา

ความดีความชอบ การเลื่อนขั้นเงินเดือนและตําแหนง ตลอดจนการฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคคล

2. เพื่อจุดมุงหมายในการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพในการทํางาน เชน การพัฒนา

มาตรฐานการปฏิบัติงานและแกไขปรับปรุงการทํางาน

กลาวโดยสรุปไดวา การประเมินประสิทธิผลในการปฏิบัติงานมีวัตถุประสงค เพื่อทราบ

ผลในการปฏิบัติงานของบุคลากร เพื่อเปนประโยชนในการบริหารงานบุคคลไดอยางมี

ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ของปจเจกบุคคลใหสอดคลองกับแนวทางการประเมินประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขาราชการ

และพนักงานอําเภอโพนทราย ที่มีวัตถุประสงคเพื่อการพิจารณาแตงตั้ง เลื่อนขั้น ปรับขึ้นเงินเดือน

การพัฒนาขาราชการและพนักงาน การเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และมีหนาที่

เสริมสรางแรงจูงใจใหแกขาราชการและพนักงานเพื่อการปฏิบัติงาน และการประพฤติปฏิบัติตนให

มีความเหมาะสมกับการเปนบุคลากรอําเภอโอนทรายที่มีเกียรติ มีคุณคาตอตนเองและสังคม

โดยรวม ตามแนวคิดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของนักวิชาการ

2.2.4 แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานนักวิชาการไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานไวอยางหลากหลาย ซึ่ง

เปนผลมาจากความแตกตางของลักษณะงาน ลักษณะองคการ ปจจัยทางการบริหาร

วัตถุประสงค เปาหมาย ตลอดจนความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียขององคการ สงผลให

เกณฑวัดมีความแตกตางกัน แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิผลของการปฏิบัติงานจึงไมใชหลักการ

ทฤษฎีที่เปนสากล การนําแนวคิดดังกลาวมาประยุกตใช ควรคํานึงถึงความสอดคลองกันระหวาง

คุณลักษณะงานและองคการ สําหรับแนวคิดที่มีความสอดคลองกับการศึกษาครั้งนี้ คือ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ Steers (1977)Steers (1977) ไดเสนอแนวคิดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานโดยกําหนดใชเกณฑวัด

ประสิทธิผลในระดับบุคคล ซึ่งความมีประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน คือการบรรลุวัตถุประสงคหรือ

Page 26: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

18

เปาหมายในการปฏิบัติงาน ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ เกณฑวัดประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

แบงเปน 8 ดาน ดังนี้

1. ดานปริมาณงาน เปนประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ใชเกณฑวัดประสิทธิผลจาก

ปริมาณผลผลิต ทั้งที่เปนสินคา หรือบริการ การวัดปริมาณผลผลิตดังกลาวสามารถเปรียบเทียบได

กับมาตรฐานปริมาณงานตามเปาหมาย หรือตามองคการกําหนด เชน ความรวดเร็วทันเวลาใน

สายงาน การผลิตสินคาไดทันตามกําหนดเวลา การใหบริการที่รวดเร็วไดมาตรฐานของบุคลากร

ทางดานงานบริการ เปนตน

2. ดานคุณภาพของงาน เปนประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ใชเกณฑวัดประสิทธิผล

จากการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพเปนไปตามขอกําหนดที่ตองการโดยผลงานหรือบริการนั้น

สรางความพอใจกับลูกคาและตนทุนในการดําเนินงานที่เหมาะสมไดเปรียบคูแขง ลูกคามีความ

พึงพอใจและยอมจายตามราคาเพื่อซื้อความพอใจนั้น ซึ่งมิใชเรื่องที่ประเมินจากสิ่งของที่จับตองได

หรือเปนรูปธรรมเพียงดานเดียว แตจะตองนําปจจัยอื่นๆ ที่เปนนามธรรมมาประกอบการพิจารณา

ดวย ไดแก ความเชื่อถือได การตอบสนองความตองการและสามารถรูสึกไดถึงคุณคาของผลงาน

หรือการบริการที่รับได เปนตน

3. ดานความรูเกี่ยวกับงาน เปนประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ใชเกณฑวัดประสิทธิผล

จากความสามารถเฉพาะตัวในการปฏิบัติงาน ซึ่งตองอาศัยเทคนิคและวิธีการในการปฏิบัติงาน มี

ความรอบรูและประสบการณในการทํางาน สามารถแกไขปญหาที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานได

อยางมีประสิทธิภาพ มีความพรอมในการเรียนรูสิ่งใหมๆ ไมปฏิเสธการเรียนรู การพัฒนาความรู

การฝกอบรม บุคลากรที่มีความรูความสามารถ นําความรูมาพัฒนาทักษะการปฏิบัติงาน

4. ดานคุณลักษณะประจําตัว เปนประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ ใช เกณฑวัด

ประสิทธิผลจากความเหมาะสมในการปฏิบัติงานในดานคุณลักษณะอันพึงประสงคของบุคลากร

การมีคุณธรรมจริยธรรม การประพฤติปฏิบัติตนไดอยางเหมาะสมสอดคลองกับคานิยมองคการ

สงเสริมคานิยมองคการใหเกิดการรับรูภายในองคการ และเผยแพรสูภายนอก

5. ดานความรวมมือ เปนประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ใชเกณฑวัดประสิทธิผลจาก

สงเสริมทีมงาน การปฏิบัติงานของบุคลากรที่สามารถประสานความรวมมือกันในการปฏิบัติ

ภารกิจเพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายหรือวัตถุประสงคขององคการได โดยการประสานความ

รวมมือดังกลาวไมจํากัดเฉพาะแผนก หรือหนวยงาน แตตองสามารถประสานความรวมมือกันทั่ว

ทั้งองคการ

Page 27: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

19

6. ดานความไววางใจ เปนประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ใชเกณฑวัดประสิทธิผลจาก

คุณลักษณะการปฏิบัติงานดวยความรับผิดชอบในภารกิจที่ไดรับมอบหมาย มีความตั้งใจในการ

ปฏิบัติงานเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ที่พึงปรารถนา ปฏิบัติงานดวยความเต็มใจ ปฏิบัติหนาที่ดวยความ

ซื่อสัตย สุจริต และปฏิบัติงานโดยใชทรัพยากรอยางคุมคา ตลอดจนไมเกียจครานในหนาที่ ไมแอบ

หลบงาน อูงานใหเกิดความเสียหายแกหนวยงาน และองคการ

7. ดานความคิดริเริ่มสรางสรรค เปนประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ใชเกณฑวัด

ประสิทธิผลจากการพัฒนางาน การพัฒนาสินคาหรือบริการ ผลของงานและการปฏิบัติงานมีการ

พัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงใหดียิ่งขึ้น บุคลากรปฏิบัติงานโดยการแสวงหาวิธีปฏิบัติงานเพื่อใหผลของ

งานมีการพัฒนาอยางตอเนื่องภายใตเงื่อนไขประสิทธิผลของงานและการทํางานเปนทีม

8. ดานการปฏิบัติงาน เปนประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ใชเกณฑวัดประสิทธิผลจาก

คุณลักษณะอันพึงประสงคในการทํางานของผูปฏิบัติงาน ไดแก ความวิริยะอุสาหะ ปฏิบัติหนาที่

ดวยความขยันหมั่นเพียร มีความกระตือรือรนในการปฏิบัติงาน ไมเกี่ยงงาน มีความรับผิดชอบใน

บทบาทหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย มีทัศนคติที่ดีตอตําแหนงงาน ตอผูบังคับบัญชา ตอองคการและมี

ความผูกพันในงาน

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทราย คือ การ

ปฏิบัติราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การ

ปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงานของอําเภอโพนทรายใหมีประสิทธิภาพจําเปนตองมี

กระบวนการประเมินประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงคุณภาพและปริมาณงาน

ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานที่ไดปฏิบัติ ความสามารถและความอุตสาหะในการ

ปฏิบัติงาน การมีคุณธรรมและจริยธรรม รวมถึงการรักษาระเบียบวินัยที่เหมาะสมกับการเปน

ขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทราย ดังนั้น ในการประเมินประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน จึงเปนการประเมินโดยใชเกณฑวัดจาก ผลของการปฏิบัติงานใน 2 ดาน

คือ 1) ดานผลงาน และ 2) ดานคุณลักษณะการปฏิบัติงาน ดังนี้

ดานผลงาน พิจารณาจากองคประกอบ ดังน้ี

1. ปริมาณงาน พิจารณาจากความมากนอยของงาน ที่ทําไดสําเร็จโดยเปรียบเทียบกับ

มาตรฐานหรือปริมาณงานโดยเฉลี่ยที่ผูปฏิบัติงานในตําแหนงที่ปฏิบัติงานได

Page 28: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

20

2. คุณภาพงาน พิจารณาจากความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย

โดยคํานึงถึงความสําเร็จตามเวลาที่กําหนด ความถูกตองและแมนยํา ความครบถวนสมบรูณ และ

ความเปนระเบียบเรียบรอยของงาน

ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน พิจารณาจากองคประกอบดังน้ี

1. ความรู ความสามารถในการปฏิบัติงาน พิจารณาจากความรูในดานกฎหมาย

ระเบียบ ขอบังคับ ที่ใชในการปฏิบัติงาน ความเขาใจในการปฏิบัติงานและเปาหมายของ

หนวยงาน ความรูในหลักวิชาการเฉพาะดานและความชํานาญในงาน ความสามารถในการ

แกปญหาและการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน

2. ความอุตสาหะและความรับผิดชอบในงานที่ปฏิบัติ พิจารณาจากความมานะ อดทน

เอาใจใสในหนาที่การงานที่ปฏิบัติ กระตือรือรนในการปฏิบัติงาน อุทิศเวลาใหกับราชการ และมี

ความขยันหมั่นเพียร ความตั้งใจ เต็มใจ และความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายให

สําเร็จ โดยคํานึงถึงเปาหมายของงานเปนหลัก มีความรับผิดชอบตอหนาที่ ไมละเลยตองาน และ

พรอมที่จะรับผิดชอบตอผลที่เกิดขึ้นกับการปฏิบัติงาน

3. ความสามารถในการปฏิบัติงานรวมกับผูอื่น พิจารณาจากความสามารถในการ

ปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นอยางมีประสิทธิภาพ รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ยอมรับในความสามารถ

ของผูรวมงาน มีความสัมพันธอันดีกับประชาชนผูมาติดตอ และเต็มใจที่จะชวยเหลือผูอื่นอยูเสมอ

4. ความสนใจที่จะพัฒนาตนเอง พิจารณาจากการเพิ่มพูนความรู ความชํานาญ และ

ประสบการณในการปฏิบัติงาน

5. มีคุณธรรมปฏิบัติตนตามกรอบของจรรยาบรรณและการรักษาวินัย พิจารณาจาก

อุปนิสัย บุคลิกลักษณะแสดงออกทั้งตอหนาและลับหลัง การปฏิบัติตนตามกฎหมาย ระเบียบ

แบบแผน ขอบังคับของทางราชการและจรรยาบรรณของทางราชการอยางเครงครัด

กลาวโดยสรุปไดวา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงานอําเภอ

โพนทราย เปนแนวคิดจากการประเมินผลในการปฏิบัติงานของระดับบุคคล ซึ่งใชเกณฑวัดจาก

การปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงานใน 2 ดาน ไดแก 1) ดานผลงาน วัดไดจากปริมาณ

ผลงาน และคุณภาพของงาน 2) ดานคุณลักษณะการปฏิบัติงาน วัดไดจาก ความรู ความสามารถ

ในการปฏิบัติงาน ความอุตสาหะและความรับผิดชอบในงานที่ปฏิบัติ ความสามารถในการ

ปฏิบัติงานรวมกับผูอื่น ความสนใจที่จะพัฒนาตนเอง และคุณธรรมปฏิบัติตนตามกรอบของ

จรรยาบรรณและการรักษาวินัย

Page 29: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

21

จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน สามารถสรุปไดวา

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง การบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย และวัตถุประสงคใน

ระดับบุคคลขององคการ โดยการอางอิงจากนิยามความหมายของนักวิชาการตางๆ ดังนี้ รุง

แกวแดง (2538) พยอม วงศสารศรี (2542) Steers (1977) และ Gibson and Others (1988) ซึ่ง

แนวคิดประสิทธิผลของการปฏิบัติงานสอดคลองกับแนวคิดการประเมินผลการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงานในองคการ โดยใชเกณฑวัดความมีประสิทธิผลจากผลงาน และจาก

คุณลักษณะของการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน ไดแก การวัดปริมาณงาน คุณภาพ

งาน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน คุณคาของงาน ความสําเร็จในการปฏิบัติภารกิจ การปฏิบัติงาน

ใหบรรลุเปาหมายหรือวัตถุประสงคของงาน การปฏิบัติงานอยางมีคุณภาพ สรางคุณคาและความ

พึงพอใจในงาน มีการประสารความรวมมือ และยึดประโยชนสวนรวม ตลอดจนการแสวงหา

วิธีการปฏิบัติงานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย หรือวัตถุประสงคภายใตทรัพยากรที่มีจํากัด ซึ่งสอดคลอง

กับแนวคิดของ Steers (1977) โดยแนวคิดการประเมินประสิทธิผลดังกลาวมีวัตถุประสงคเพื่อการ

บริหารงานบุคคล และการปรับปรุงพัฒนาประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน สอดคลองกับแนวทางการ

ประเมินประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทราย ซึ่งมี

วัตถุประสงคเพื่อทราบประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทราย

เพื่อการสงเสริม และการพัฒนาขาราชการและพนักงานใหมีความรู มีความสามารถเพื่อการ

ปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทรายสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค เพื่อ

เพิ่มพูนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.3.1 งานวิจัยที่เกี่ยวของภานุภณ จิระอัมพร (2558) ศึกษาการบริหารจัดการแบบระบบราชการกับความลาชา

ในการปฏิบัติราชการกรมศุลกากร พบวา การบริหารจัดการแบบระบบราชการสามารถพยากรณ

ความลาชาในการปฏิบัติราชการไดรอยละ 44.5 อีกรอยละ 55.5 ถูกพยากรณดวยตัวแปรอื่น

นอกเหนือจากตัวแปรที่ทําการศึกษา ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 และตัวแปรตนมีระดับ

อิทธิพลตอตัวแปรตามอยูในระดับปานกลาง ตามหลักการอธิบายระดับความแข็งแกรงของอิทธิพล

ระหวางตัวแปรของ Cohen (1988) สรุปไดวา ลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา การรวมศูนย

อํานาจ การแบงงานกันทํา และความเปนวิชาชีพ มีอิทธิพลตอความลาชาในการปฏิบัติราชการใน

เชิงบวก สวนความเปนทางการมีอิทธิพลตอความลาชาในการปฏิบัติราชการในทิศทางตรงกันขาม

Page 30: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

22

วิฑูรย สรรเสริญ (2551) ศึกษาความสัมพันธระหวางโครงสรางองคการกับการใหบริการ

ของการรถไฟแหงประเทศไทย โดยพิจารณาจากลักษณะขององคการแบบ Mechanistic และ

Organic ซึ่งประกอบดวย สายการบังคับบัญชา การรับขอมูล การรวมศูนยอํานาจ และความเปน

ทางการ ที่สงผลไปยังการพัฒนาการใหบริการ ไดแก ความรวดเร็ว ความปลอดภัย และการบริการ

ดานอื่นๆ พบวา การจัดโครงสรางองคการแบบราชการ มีการแบงแยกหนวยงานตามหนาที่ มีสาย

การบังคับบัญชาหลายชั้น สงผลใหขาดความคลองตัวในการบริหารจัดการ รวมถึงการตัดสินใจ

และการสั่งการภายในหนวยงาน

เพ็ญศิริ อภัยทาน (2553) ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารจัดการ

องคการ ไดแก ระเบียบขอบังคับในการทํางาน การบังคับบัญชา และระบบการสรรหาและบรรจุ

แตงตั้ง ที่สงผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหมวดทหารสารวัตรหญิง กองพันทหาร

สารวัตรที่ 11 พบวา เจาหนาที่ปฏิบัติตามระเบียบคําสั่งและขอบังคับในการทํางานอยางเครงครัด

ระเบียบเหลานั้นมีความชัดเจนและเหมะสม รวมทั้งมีการปกครองบังคับบัญชาที่ยุติธรรมและ

เปนไปตามระเบียบขอบังคับ รวมถึงการบรรจุบุคลากรตรงกับความรูความสามารถ สงผลใหการ

ปฏิบัติงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล และใหขอเสนอแนะในเรื่องของปริมาณ

บุคลากรที่ไมเพียงพอตอปริมาณของงาน ถึงแมวาบุคลากรที่มีอยูจะสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยาง

มีประสิทธิภาพแลวก็ตาม และในเรื่องของความยุติธรรมและโปรงใสในการสรรหาบุคลากร

ธีระชัย ทรัพยสําเริง (2552, อางถึงใน อดิเรก คิดธรรมรักษา, 2557) ศึกษาวัฒนธรรม

องคการกับประสิทธิผลการปฏิบัติหนาที่ของหนวยปฏิบัติการพิเศษ อรินทราช 26 พบวา หนวยงาน

มีวัฒนธรรมองคการแบบเนนสายการบังคับบัญชาใหความสําคัญตอคุณภาพของระบบการบังคับ

บัญชา มีระเบียบแบบแผนครอบงําผูใตบังคับบัญชา โดยที่ผูบังคับบัญชาเปนผูประสานงาน ดูแล

จัดการควบคุมใหงานสําเร็จ สงผลใหหนวยงานมีความมั่นคงสูง และมีประสิทธิภาพในการ

ปฏิบัติงานที่ดี

โสฬส ประยูรพิทักษ (2552) ศึกษาปญหาในการนํานโยบายปองกันและปราบปราม

จลาจลไปปฏิบัติของกองกํากับการ 2 กองบังคับการตํารวจปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตํารวจ

นครบาล พบวา หนวยงานมีสายการบังคับบัญชามีจํานวนมาก ตองใชเวลาในการเดินเรื่องนาน

แมแตเรื่องเล็กนอย ทําใหงานลาชาโดยไมจําเปน และจํานวนของกําลังพลที่ไมเพียงพอกับปริมาณ

งาน สงผลโดยตรงตอคุณภาพและเปาหมายในการปฏิบัติงาน ถึงแมเจาหนาที่ที่มีอยูจะไดรับการ

ฝกอบรมจนมีความเชี่ยวชาญในสายงานเปนอยางดีแลวก็ตาม และไดใหขอเสนอแนะวา

Page 31: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

23

หนวยงานควรลดอํานาจการบังคับบัญชาและการสั่งการลง และเปดโอกาสใหผูใตบังคับบัญชาได

แสดงความคิดเห็นเพื่อรวมกันพัฒนาหนวยงานใหสามารถทํางานไดอยางมืออาชีพ

ชวิน แสงพานิชย (2551, อางถึงใน ชนภัทร สุขสวัสดิ์, 2557) ศึกษาประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงาน ดานการสอบสวนของตํารวจ กรณีศึกษาสถานีตํารวจในสังกัด กองบังคับการตํารวจ

นครบาล 1 สํานักงานตํารวจแหงชาติ กรุงเทพมหานคร พบวา การที่พนักงานสอบสวนให

ความสําคัญ และเคารพกฎระเบียบในการทํางานสอบสวนอยางเครงครัด สงผลตอประสิทธิผลใน

การปฏิบัติงาน

ชนภัทร สุขสวัสดิ์ (2557) ศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานปองกันและปราบปราม

อาชญากรรมของสถานีตํารวจนครบาลคันนายาว พบวา นอกจากการมีจํานวนเจาหนาที่ที่

เพียงพอแลว การกําหนดโครงสรางในการปฏิบัติงานออกเปนฝายตางๆ ใหความชัดเจนตามสาย

การบังคับบัญชา มีการกระจายอํานาจ การกําหนดชวงการบังคับบัญชา รวมถึงการกําหนด

รายละเอียดของงานใหมีความยืดหยุนตามสภาพการณ สงผลตอการเพิ่มประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานของหนวย

จันจิรา ขันทะสอน (2557) ศึกษาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ กอง

กํากับการตอตานการกอการราย (อรินทราช 26) กองบัญชาการตํารวจนครบาล พบวา ปจจัยดาน

การจัดหนวยงานไมสามารถพยากรณประสิทธิผลการปฏิบัติงานได เนื่องจากหนวยงานมีการจัด

องคการตามหนาที่ เปนไดแตผูชํานาญงานเฉพาะดาน และใหความสําคัญกับงานในหนาที่ของตน

มากกวาภาพรวมขององคการ และปจจัยดานบุคลากรไมสามารถพยากรณประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงานได เนื่องจากการคัดเลือกผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมตามมาตรฐานขององคการ ไม

สามารถเปนหลักประกันไดวาผูที่ไดรับคัดเลือกนั้นจะสามารถปฏิบัติหนาที่ไดบรรลุวัตถุประสงค

ขององคการ เนื่องจากผูปฏิบัติงานจะตองรับผิดชอบงานในระดับที่ตางกัน และมีปจจัยอื่นรวมดวย

ไดแก สภาพรางกาย สติปญญา การควบคุมอารมณ และความสามารถในการปรับตัวเขากับสังคม

รวมถึงความรวมมือจากทุกคนในองคการ

วัชราภรณ ชํานาญพูด (2545) ศึกษาปจจัยที่สงผลตอระดับการพัฒนาประสิทธิภาพ

การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ กองตรวจคนเขาเมือง 2 ทาอากาศยานกรุงเทพ พบวา การ

บริหารจัดการขององคการสงผลตอประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในระดับปานกลาง เนื่องจากการ

ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบและคําสั่งของผูบังคับบัญชาที่กําหนดไวอยางชัดเจนนั้น มีผล

เพียงบางสวน สวนใหญขึ้นอยูกับการใชดุลยพินิจในการตัดสินใจของเจาหนาที่ หากตัวเจาหนาที่

ขาดความตั้งใจหรือมีสมาธิในการปฏิบัติงานลดลง สงผลใหประสิทธิภาพของงานนอยลงไปดวย

Page 32: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

24

นอกจากนี้ พบวาหากเจาหนาที่หรือบุคลากรขาดความรู ความเขาใจในภาษาตางประเทศ หรือ

ขาดความชํานาญในการใชเครื่องคอมพิวเตอร ทําใหประสิทธิภาพในการทํางานดอยลง และไดให

ขอเสนอแนะวา การคัดเลือกหรือสรรหาบุคลากรมาปฏิบัติงาน ตองมีคุณสมบัติเหมาะสมทั้ง

คุณวุฒิและวัยวุฒิ ตามเกณฑที่กําหนด เนื่องจากลักษณะงานเปนการใหบริการ ซึ่งความสําเร็จของ

งานบริการที่จะบรรลุวัตถุประสงคไดตองใชบุคลากรท่ีมี E.Q. ถึงรอยละ 80 ใช I.Q. เพียงรอยละ 20

หนวยงานควรมีการวิเคราะหปรับปรุงระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติงานใหเกิดความชัดเจน รัดกุม

สะดวก รวดเร็ว และควรสงเสริมใหมีการศึกษาดูงาน เพื่อใหเจาหนาที่สามารถนําความรูมา

ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานใหดีขึ้น

สุริยา เจริญฤทธิ์กุล (2538) ศึกษาผลจากการปรับเปลี่ยนโครงสรางการบริหารงานของ

องคการที่มีตอประสิทธิภาพในการทํางานของหนวยงานรัฐวิสาหกิจ โดยพิจารณาจากการ

ปรับเปลี่ยนโครงสรางขององคการในดานตางๆ ไดแก สายการบังคับบัญชา การแบงหนาที่ความ

รับผิดชอบ การมอบหมายอํานาจหนาที่ ชวงของการบังคับบัญชา เอกภาพในการบังคับบัญชา ซึ่ง

เปนปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพขององคการในการบรรลุเปาหมาย และการประหยัดทรัพยากร

ในการบริหาร จากการศึกษาพบวา ปจจัยในดานการแบงหนาที่ความรับผิดชอบและการ

มอบหมายอํานาจหนาที่ที่มีความชัดเจนจะสงผลที่ดีตอการดําเนินการของหนวยงาน และปจจัยใน

ดานสายบังคับบัญชาที่นอยและเหมาะสม ชวยลดความซับซอนในการสั่งการ และทําใหชวงของ

การบังคับบัญชาและเอกภาพในการบังคับบัญชามีความเหมาะสมตอสภาพของหนวยงาน

นอกจากนี้พบวา การสั่งการที่มีเอกภาพทําใหประหยัดในดานบุคลากร เวลา และคาใชจาย ซึ่ง

สงผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพขององคการ นอกจากนี้ไดใหขอเสนอแนะวา องคการควรมีการ

กระจายขอมูลขาวสารตางๆ ในรูปแบบของเอกสารอยางเปนทางการ หนังสือคําสั่ง หรือผลการ

ประชุม เพื่อเปนการสรางความพรอม ความเขาใจ และลดการตอตานของบุคลากรในองคการได

Page 33: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

25

การบริหารแบบระบบราชการ Max Weber

1. หลักลําดับชั้นและสายการบังคับ

บัญชา

2. หลักการรวมศูนยอํานาจ

3. หลักการแบงงานกันทํา

4. หลักความเปนทางการ

5. หลักความเปนวิชาชีพ

2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา

ตัวแปรอิสระ(IV) ตัวแปรตาม(DV)

แผนภาพที่ 2.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

2.5 สมมติฐานการศึกษาการบริหารแบบระบบราชการมีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

1) การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักลําดับขั้นและสายการบังคับบัญชา มีอิทธิพล

ตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

2) การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักการรวมศูนยอํานาจมีอิทธิพลตอประสิทธิผล

ในการปฏิบัติงาน

3) การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักการแบงงานกันทํามีอิทธิพลตอประสิทธิผล

ในการปฏิบัติงาน

4) การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักความเปนทางการ มีอิทธิพลตอประสิทธิผล

ในการปฏิบัติงาน

5) การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักความเปนวิชาชีพ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลใน

การปฏิบัติงาน

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของอําเภอโพนทราย

จังหวัดรอยเอ็ด1. ดานผลงาน

2. ดานคุณลักษณะของการ

ปฏิบัติงาน

Page 34: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

26

2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการในการวัดตัวแปรตนและตัวแปรตามในเชิงประจักษ และนําไปสรางเปนขอคําถาม

เพื่อใหสอดคลองและครอบคลุมประเด็นที่ตองการศึกษามากที่สุด ผูศึกษากําหนดนิยามศัพทเชิง

ปฏิบัติการ ดังนี้

การบริหารแบบระบบราชการ หมายถึง ลักษณะการจัดองคการแบบระบบราชการของ

หนวยงานภายในของอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ประกอบดวย

1) หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา หมายถึง ลักษณะการควบคุมและสั่งการ

แบบลําดับชั้นของหนวยงานภายในอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ประกอบดวย การให

ความสําคัญตอการควบคุมสั่งการ และการปฏิบัติตามสายการบังคับบัญชา จํานวนชั้นของการ

บังคับบัญชาของหนวยงาน ความสามารถในการถายทอดนโยบายและการสั่งการตางๆ ลงสู

ผูปฏิบัติ และการยึดการปฏิบัติงานตามสายการบังคับบัญชาเพื่อใหงานบรรลุวัตถุประสงค

2) หลักการรวมศูนยอํานาจ หมายถึง ลักษณะของการมอบหมายอํานาจในการ

ปฏิบัติงานแกเจาหนาที่ในระดับตางๆ ของหนวยงานภายในอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

ประกอบดวย การไดรับความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาในการปฏิบัติภารกิจ การกําหนดนโยบาย

หรือขอปฏิบัติที่กําหนดโดยสวนกลาง การพิจารณาความดีความชอบของขาราชการและพนักงาน

การมอบอํานาจการตัดสินใจแกหนวยงานในภาระงานที่รับผิดชอบ การรวมอํานาจการตัดสินใจไว

ที่ผูบังคับบัญชา

3) หลักการแบงงานกันทํา หมายถึง ลักษณะการจัดแบงหนวยงานภายในอําเภอ

โพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ตามภาระงานที่รับผิดชอบ เพื่อไมใหมีการทํางานที่ซ้ําซอนกัน รวมถึง

การจัดกําลังคนและการมอบหมายงานใหเหมาะสมกับความรูความสามารถของเจาหนาที่ใน

หนวยงาน

4) หลักความเปนทางการ หมายถึง ลักษณะของการดําเนินงานของหนวยงานภายใน

อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ที่ใหความสําคัญอยางสูงตอการปฏิบัติตามประกาศ คําสั่ง

ระเบียบปฏิบัติ ขอกฎหมายและการใชหนังสือเอกสารราชการที่เปนลายลักษณอักษร

5) หลักความเปนวิชาชีพ หมายถึง ความเชี่ยวชาญในสายงานที่ปฏิบัติของขาราชการ

และพนักงานในอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด เชน ความสามารถในการปรับปรุงวิธีการทํางาน

เพื่อใหไดผลงานที่ดียิ่งขึ้น โดยการนําความรูทางวิชาการ เทคนิค หรือเทคโนโลยีมาประยุกตใช

ความสามารถในการแกไขปญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติหนาที่ ความสามารถในการ

Page 35: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

27

ปฏิบัติงานทดแทนกัน รวมถึงการสนับสนุนใหเกิดบรรยากาศแหงการพัฒนาความเชี่ยวชาญใน

การปฏิบัติงาน

ประสิทธิผล หมายถึง การปฏิบัติงานใหไดตามเปาหมายหรือวัตถุประสงคที่ตั้งไว โดย

พิจารณาจาก

1) ความรูที่ใชในการปฏิบัติหนาที่ พิจารณาจากความรูในดานกฎหมาย ระเบียบ

ขอบังคับ ที่ใชในการปฏิบัติงานมีมากนอยเพียงใด ความเขาใจในการปฏิบัติงาน เปาหมายของ

หนวยงาน ความรูในหลักวิชาการเฉพาะดานและความชํานาญในงานท่ีทานปฏิบัติ

2) ความสามารถในการปฏิบัติงานพิจารณาความสามารถในการเรียนรูและปฏิบัติงาน

ใหดีขึ้นมากนอยเพียงใด ความสนใจที่จะนําความรูไปปฏิบัติงานที่เพิ่มขึ้นและมีภาระความ

รับผิดชอบที่สูงขึ้นไดมากนอยเพียงใดความสามารถในการแกปญหาและการตัดสินใจในการ

ปฏิบัติงาน

3) ปริมาณงานพิจารณาจากความมากนอยของงาน ที่ทําไดสําเร็จโดยเปรียบเทียบกับ

มาตรฐานหรือปริมาณงานโดยเฉลี่ยที่ผูปฏิบัติงานในตําแหนงที่ปฏิบัติงานได

4) คุณภาพงานพิจารณาจากความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย

โดยคํานึงถึงความสําเร็จในเวลาที่กําหนด ความถูกตองและแมนยํา ความครบถวนสมบรูณ และ

ความเปนระเบียบเรียบรอยของงาน

5) ความอุตสาหะพิจารณาจากความมานะ อดทน เอาใจใสในหนาที่การงานที่ปฏิบัติ

กระตือรือรนในการปฏิบัติงาน อุทิศเวลาใหกับราชการและมีความขยันหมั่นเพียร

6) ความรับผิดชอบ พิจารณาจากความตั้งใจ เต็มใจ และความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงาน

ตามที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จ โดยคํานึงถึงเปาหมายของงานเปนหลัก มีความรับผิดชอบตอ

หนาที่ ไมละเลยตองาน และพรอมที่จะรับผิดชอบตอผลที่เกิดขึ้นกับการปฏิบัติงาน

7) ความสามารถในการปฏิบัติงานรวมกับผูอื่น พิจารณาจากความสามารถในการ

ปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นอยางมีประสิทธิภาพ รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ยอมรับในความสามารถ

ของผูรวมงานมีความสัมพันธอันดีกับประชาชนที่มาติดตอและเต็มใจชวยเหลือผูอื่นอยูเสมอ

8) ความสนใจที่จะพัฒนาตนเองพิจารณาจากการเพิ่มพูนความรู ความชํานาญ และ

ประสบการณในการปฏิบัติงาน

9) คุณธรรมพิจารณาจากอุปนิสัย บุคลิกลักษณะแสดงออกทั้งตอหนาและลับหลัง

พิจารณาจากความเอื้อเฟอตอบุคคลอื่น มีความเมตตากรุณาซื่อสัตยสุจริต ประพฤติตนใหอยูใน

ศีลธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีและมีจริยธรรม

Page 36: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

28

10) การปฏิบัติตนตามกรอบของจรรยาบรรณและการรักษาวินัย พิจารณาจากการ

ปฏิบัติตนตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ขอบังคับของทางราชการและจรรยาบรรณของทาง

ราชการอยางเครงครัด

Page 37: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

29

บทที่ 3วิธีการศึกษา

การศึกษาเรื่อง “การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน ศึกษากรณี อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด” เพื่อแสวงหาความจริง

เกี่ยวกับการบริหารแบบระบบราชการ โดยเชื่อวาการบริหารแบบระบบราชการเปนปจจัยที่สงผล

ตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน จึงเนนการเก็บรวบรวมขอมูลที่เกิดขึ้นจริงในปจจุบัน โดยมี

กระบวนการศึกษาดังตอไปนี้

3.1 วิธีดําเนินการศึกษา

3.2 ประชากรกลุมตัวอยางในการศึกษา

3.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา

3.4 การทดสอบความนาเชื่อถือของเครื่องมือในการศึกษา

3.5 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

3.6 วิธีการวิเคราะหขอมูล

3.7 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 วิธีดําเนินการศึกษา3.1.1 ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ไดจากการเก็บแบบสอบถามจากกลุมตัวอยาง

แลวนํามาวิเคราะหทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐานและประกอบการอธิบาย

3.1.2 ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ไดจากการศึกษาคนควาแนวคิด ทฤษฎี จาก

เอกสารทางวิชาการ รายงานการศึกษาวิจัย สารนิพนธ วิทยานิพนธ และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส

เพื่อใชเปนขออางอิงและสนับสนุนแนวคิดในการศึกษาใหมีความถูกตอง นาเชื่อถือ

3.2 ประชากรกลุมตัวอยางในการศึกษาประชากรที่ใชในการศึกษาศึกษาครั้งนี้ คือ ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย

จังหวัดรอยเอ็ด จํานวน 80 คน ผูศึกษาจะใชประชากรทั้งหมดเปนกลุมตัวอยาง

Page 38: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

30

3.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาการเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาในครั้งนี้ ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บ

รวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง ซึ่งผูศึกษาไดสรางขึ้นมาโดยศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎีและ

ผลงานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของโดยแบงออกเปน 3 ตอนดังนี้

ตอนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ

อายุราชการ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายไดตอเดือน ซึ่งเปนคําถามปลายปด

ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารแบบระบบราชการกับการ

ปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ตามแบบ Likert Scale

จํานวนทั้งสิ้น 25 ขอดังนี้

1) หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา จํานวน 5 ขอ

2) หลักการรวมศูนยอํานาจ จํานวน 5 ขอ

3) หลักการแบงงานกันทํา จํานวน 5 ขอ

4) หลักความเปนทางการ จํานวน 5 ขอ

5) หลักความเปนวิชาชีพ จํานวน 5 ขอ

ตอนที่ 3 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด จํานวนทั้งสิ้น 7 ขอดังนี้

1) ดานผลงาน จํานวน 2 ขอ

2) ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน จํานวน 5 ขอ

โดยเกณฑการใหคะแนน แบงออกเปน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย

นอยที่สุด

5 คะแนน หมายถึง มากที่สุด

4 คะแนน หมายถึง มาก

3 คะแนน หมายถึง ปานกลาง

2 คะแนน หมายถึง นอย

1 คะแนน หมายถึง นอยที่สุด

Page 39: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

31

3.4 การทดสอบความนาเชื่อถือของเครื่องมือในการศึกษาเพื่อใหแนใจวาแบบสอบถามชุดนี้มีความนาเชื่อถือและสามารถใชในการศึกษา และ

ใหผลการศึกษาที่ถูกตอง ผูศึกษาจึงทําการทดสอบคุณภาพเครื่องมือกอนที่จะนําไปใชเก็บรวบรวม

ขอมูล โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้

3.4.1 การทดสอบความเที่ยงตรงหรือความเขาใจของเครื่องมือ (Validity) ผูศึกษาไดนํา

แบบสอบถามไปใหอาจารยที่ปรึกษา เพื่อพิจารณาตรวจสอบความเที่ยงตรงกับประเด็นเชิงเนื้อหา

(Content Validity) แลวนํามาแกไขปรับปรุงแบบสอบถามใหมีความเหมาะสมและสอดคลองกับ

การศึกษาครั้งนี้

3.4.2 การทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) หลังจากการทดสอบความเที่ยงตรงของ

เครื่องมือแลว ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามไปแจกใหกับขาราชการและพนักงานที่ปฏิบัติงานภายใน

อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด เพื่อทําการทดลองใช จํานวน 30 คน จากนั้นนําแบบสอบถามมา

วิเคราะห เพื่อหาคาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น โดยการคํานวณคาสัมประสิทธิ์แอฟฟา (Alpha

Coefficient) ตามวิธีของ Cronbach (Cronbach’s Reliability Coefficient Alpha) ซึ่งไดคาความ

เชื่อมั่นดังนี้

การบริหารแบบระบบราชการ จํานวน 5 ดาน ไดแก

1) หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา มีคาความเชื่อมั่นเทากัน 0.7832

2) หลักการรวมศูนยอํานาจ มีคาความเชื่อมั่นเทากัน 0.8611

3) หลักการแบงงานกันทํา มีคาความเชื่อมั่นเทากัน 0.8775

4) หลักความเปนทางการ มีคาความเชื่อมั่นเทากัน 0.7447

5) หลักความเปนวิชาชีพ มีคาความเชื่อมั่นเทากัน 0.9126

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน จํานวน 2 ดาน ไดแก

1) ดานผลงาน มีคาความเชื่อมั่นเทากัน 0.8802

2) ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน มีคาความเชื่อมั่นเทากัน 0.8109

3.5 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล3.5.1 ผูศึกษานําแบบสอบถามทั้งหมดไปเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองจากประชากร

กลุมตัวอยาง จํานวนทั้งสิ้น 80 คน

3.5.2 เมื่อผูศึกษาไดรวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดแลว ทําการตรวจสอบความถูกตอง

สมบรูณของแบบสอบถาม เพื่อนํามาวิเคราะหขอมูลตอไป

Page 40: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

32

3.6 วิธีการวิเคราะหขอมูลภายหลังจากที่ผูศึกษาไดแบบสอบถามกลับคืนมา ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามทั้งหมด

มาตรวจสอบความสมบรูณและทําการบันทึกตามที่กําหนดไว เพื่อผูศึกษาจะไดนําไปกําหนด

คะแนนการวิเคราะหประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร

สําหรับเกณฑการแปลความหมายเกี่ยวกับความคิดเห็นการบริหารแบบระบบราชการ

กับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ผูศึกษาใชเกณฑการแบงชวงชั้นดังนี้

= = 0.80

การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ย ดังนี้

- คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 4.21-5.00 หมายถึง ความคิดเห็นของการบริหารแบบระบบ

ราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน อยูในระดับสูงมาก

- คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 3.41-4.20 หมายถึง ความคิดเห็นของการบริหารแบบระบบ

ราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน อยูในระดับสูง

- คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 2.61-3.40 หมายถึง ความคิดเห็นของการบริหารแบบระบบ

ราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน อยูในระดับปานกลาง

- คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 1.81-2.60 หมายถึง ความคิดเห็นของการบริหารแบบระบบ

ราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน อยูในระดับนอย

- คะแนนเฉลี่ยตั้งแต 1.00-1.80 หมายถึง ความคิดเห็นของการบริหารแบบระบบ

ราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน อยูในระดับนอยที่สุด

3.7 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ เพศ ตําแหนง อายุ อายุราชการ

สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได ทําการวิเคราะหขอมูล โดยการแจกแจงความถี่ และหาคา

รอยละ

2. ขอมูลเกี่ยวกับการบริหารแบบระบบราชการ ทําการวิเคราะหโดยหาคาเฉลี่ย ( X )

และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD)

Page 41: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

33

3. ขอมูลเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน ทําการวิเคราะหขอมูลโดยหาคาเฉลี่ย

( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD)

4. การทดสอบสมมติฐาน ใชสถิติการวิเคราะหสหสัมพันธ (Correlation Analysis) และ

การวิเคราะหการถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple Regression) โดยการหาคาสัมประสิทธิ์การ

พยากรณแบบพหุคูณ เพื่อการวิเคราะหหาอิทธิพลของตัวแปรตนตอตัวแปรตาม

Page 42: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

34

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

ผูศึกษาไดเก็บรวบรวมขอมูลการตอบแบบสอบถาม เรื่อง “การบริหารแบบระบบ

ราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัด

รอยเอ็ด” ของกลุมตัวอยาง ไดนํามาตรวจสอบความถูกตองครบถวนและบันทึกลงในคอมพิวเตอร

เพื่อทําการวิเคราะหและประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร โดยนําเสนอในรูป

ตารางประกอบคําบรรยาย ดังนี้

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลของการบริหารแบบระบบราชการ

4.3 ผลการวิเคราะหขอมูลประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

4.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

สรุปขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยางผูตอบแบบสอบถาม ซึ่งเปนของขาราชการและ

พนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด จํานวน 80 คน ไดแก เพศ อายุ อายุราชการ การศึกษา

สถานภาพ รายไดตอเดือน ปรากฎผลการวิเคราะหดังน้ี

ตารางที่ 4.1 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน (คน) รอยละชาย 44 55.0

หญิง 36 45.0

รวม 80 100.0

จากตารางที่ 4.1 กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบไปดวย

เพศชาย จํานวน 44 คน คิดเปนรอยละ 55.0 และเพศหญิงจํานวน 36 คน คิดเปนรอยละ 45.0

Page 43: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

35

ตารางที่ 4.2 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุ

อายุ จํานวน (คน) รอยละต่ํากวา 30 ป 38 47.5

30-40 ป 38 47.5

41-50 ป 4 5.00

51-60 ป - -

รวม 80 100.0

จากตารางที่ 4.2 กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามในการศึกษาจําแนกตามอายุ พบวา

มีอายุในชวงต่ํากวา 30 ป จํานวน 38 คน คิดเปนรอยละ 47.5 และมีอายุระหวาง 30-40 ป จํานวน

38 คน คิดเปนรอยละ 47.5 ซึ่งมีจํานวนเทากัน รองลงมาคือ มีอายุระหวาง 41-50 ป จํานวน 4 คน

คิดเปนรอยละ 5.0

ตารางที่ 4.3 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุราชการ

อายุราชการ จํานวน (คน) รอยละ1-5 ป 70 87.5

6-10 ป 10 12.5

11-15 ป - -

16 ปขึ้นไป - -

รวม 80 100

จากตารางที่ 4.3 กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามในการศึกษาจําแนกตามอายุ

ราชการ พบวาสวนใหญมีอายุราชการในชวง 1-5 ป จํานวน 70 คน คิดเปนรอยละ 87.5 และ

รองลงมามีอายุราชการระหวาง 6-10 ป จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 12.5

Page 44: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

36

ตารางที่ 4.4 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละต่ํากวาปริญญาตรี 25 31.3

ปริญญาตรี 46 57.4

ปริญญาโท 9 11.3

ปริญญาเอก - -

รวม 80 100

จากตารางที่ 4.4 กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามในการศึกษาจําแนกตามระดับ

การศึกษา พบวาสวนใหญมีการศึกษาในระดับปริญญาตรี จํานวน 46 คน คิดเปนรอยละ 57.4

รองลงมามีการศึกษาในระดับต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 31.3 และมี

การศึกษาในระดับปริญญาโท จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 11.3

ตารางที่ 4.5 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามสถานภาพ

สถานภาพ จํานวน (คน) รอยละโสด 29 36.3

สมรส 51 63.7

หมาย - -

หยาราง/แยกกันอยู - -

รวม 80 100

จากตารางที่ 4.5 กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามในการศึกษาจําแนกตามสถานภาพ

พบวาสวนใหญมีสถานภาพสมรส จํานวน 51 คน คิดเปนรอยละ 63.7 รองลงมามีสถานภาพโสด

จํานวน 29 คน คิดเปนรอยละ 36.3

Page 45: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

37

ตารางที่ 4.6 แสดงจํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดตอเดือน จํานวน (คน) รอยละต่ํากวา 15,000 บาท 63 78.8

15,001-20,000 บาท 8 10.0

20,001-25,000 บาท 8 10.0

25,001 บาทขึ้นไป 1 1.2

รวม 80 100

จากตารางที่ 4.6 กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามในการศึกษาจําแนกตามรายไดตอ

เดือน พบวาสวนใหญมีรายไดตอเดือนต่ํากวา 15,000 บาท จํานวน 63 คน คิดเปนรอยละ 78.8

รองลงมามีรายไดตอเดือนอยูระหวาง15,001-20,000 บาท จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 10.0

มีรายไดตอเดือนอยูระหวาง 20,001-25,000 บาทจํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 10.0 ซึ่งมีจํานวน

เทากัน และมีรายไดตอเดือนอยูท่ี 25,001 บาทขึ้นไป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 1.2

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลการบริหารแบบระบบราชการผูศึกษาไดวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นของกลุมตัวอยางที่มีตอการบริหารแบบระบบ

ราชการ ประกอบดวย หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา หลักการรวมศูนยอํานาจ หลักการ

แบงงานกันทํา หลักความเปนทางการ และหลักความเปนวิชาชีพ ปรากฎผลการวิเคราะหดังนี้

Page 46: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

38

ตารางที่ 4.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการบริหารแบบระบบราชการ

ในภาพรวม

การบริหารแบบระบบราชการ X SD ลําดับหลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา 3.81 0.665 1

หลักการรวมศูนยอํานาจ 3.53 0.629 4

หลักการแบงงานกันทํา 3.55 0.611 2

หลักความเปนทางการ 3.54 0.656 3

หลักความเปนวิชาชีพ 3.50 0.611 5

รวม 3.58 0.634 -

จากตารางที่ 4.7 ผลการวิ เคราะหคาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ

ความคิดเห็นตอการบริหารแบบระบบราชการในภาพรวม พบวา กลุมตัวอยางมีความเห็นในระดับ

มาก มากที่สุดคือ หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา (X = 3.81, SD = 0.665) รองลงมาคือ

หลักการแบงงานกันทํา ( X = 3.55, SD = 0.611) หลักความเปนทางการ ( X = 3.54 SD = 0.656)

หลักการรวมศูนยอํานาจ ( X = 3.53, SD = 0.629) หลักความเปนวิชาชีพ ( X = 3.50, SD =

0.634) ตามลําดับ

Page 47: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

39

4.2.1 หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชาหลักลําดับขั้นและสายการบังคับบัญชา ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี้

ตารางที่ 4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานหลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา

หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา Min Max X SD ลําดับ1.หนวยงานของทานใหความสําคัญตอการควบคุม

สั่งการ และการปฏิบัติตามสายการบังคับบัญชา

เหนือสิ่งอื่นใด

2.00 5.00 4.01 0.539 1

2.หนวยงานของทานมีจํานวนชั้นของการบังคับ

บัญชาที่เหมาะสม

2.00 5.00 3.91 0.660 2

3.ผูบังคับบัญชาสามารถถายทอดนโยบาย/

การสั่งการตางๆ ลงสูผูปฏิบัติแตละระดับไดอยาง

ชัดเจนถูกตอง

2.00 5.00 4.01 0.684 1

4.การปฏิบัติงานตามสายการบังคับบัญชาอยาง

เครงครัดทําใหการทํางานมีเสถียรภาพ

2.00 5.00 3.38 0.702 4

5.หนวยงานยึดการปฏิบัติงานตามสายการบังคับ

บัญชาเพื่อใหงานบรรลุวัตถุประสงค มากกวามุงเนน

การสรางสรรคนวัตกรรมใหม

2.00 5.00 3.74 0.742 3

รวมเฉลี่ย 2.00 5.00 3.81 0.665 -

จากตารางที่ 4.8 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความเห็นตอหลักลําดับชั้นและสาย

การบังคับบัญชาในระดับมาก (X = 3.81, SD = 0.665) เมื่อวิเคราะหเปนรายขอ สามารถ

เรียงลําดับไดดังนี้ มากที่สุดคือ หนวยงานของทานใหความสําคัญตอการควบคุมสั่งการ และการ

ปฏิบัติตามสายการบังคับบัญชาเหนือสิ่งอื่นใด ( X = 4.01, SD = 0.539) และผูบังคับบัญชา

สามารถถายทอดนโยบาย/การสั่งการตางๆ ลงสูผูปฏิบัติแตละระดับไดอยางชัดเจนถูกตอง ใน

ระดับเดียวกัน ( X = 4.01, SD = 0.684) รองลงมาคือ หนวยงานยึดการปฏิบัติงานตามสายการ

บังคับบัญชาเพื่อใหงานบรรลุวัตถุประสงค มากกวามุงเนนการสรางสรรคนวัตกรรมใหม ( X =

Page 48: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

40

3.74, SD = 0.742) และการปฏิบัติงานตามสายการบังคับบัญชาอยางเครงครัดทําใหการทํางานมี

เสถียรภาพ ( X = 3.38, SD = 0.702) ตามลําดับ

4.2.2 หลักการรวมศูนยอํานาจหลักการรวมศูนยอํานาจ ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี้

ตารางที่ 4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานหลักการรวมศูนยอํานาจ

หลักการรวมศูนยอํานาจ Min Max X SD ลําดับ1.การตัดสินใจที่สําคัญเกี่ยวกับการดําเนินการตางๆ

ในหนวยงานตองไดรับความเห็นชอบจาก

ผูบังคับบัญชาทุกระดับเสมอ

2.00 5.00 3.45 0.571 4

2.นโยบายหรือขอปฏิบัติที่กําหนดโดยสวนกลาง

เหมาะสมกับสถานการณ ขอจํากัด และเงื่อนไขใน

การทํางานของหนวยงานแลว

2.00 5.00 3.45 0.525 4

3.การพิจารณาความดีความชอบของเจาหนาที่ไม

ขึ้นกับผลปฏิบัติงาน

2.00 5.00 3.61 0.720 2

4.หนวยงานของทานมีอํานาจการตัดสินใจในภาระ

งานที่รับผิดชอบอยางเบ็ดเสร็จและเด็ดขาด

2.00 5.00 3.64 0.680 1

5.เจาหนาที่ไมคอยมีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับ

งานที่ปฏิบัติ

2.00 5.00 3.57 0.652 3

รวมเฉลี่ย 2.00 5.00 3.53 0.629 -

จากตารางที่ 4.9 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความเห็นตอหลักการรวมศูนยอํานาจ

ในระดับมาก ( X = 3.53, SD = 0.629) เมื่อวิเคราะหเปนรายขอสามารถเรียงลําดับไดดังนี้ มาก

ที่สุดคือ หนวยงานของทานมีอํานาจการตัดสินใจในภาระงานที่รับผิดชอบอยางเบ็ดเสร็จและ

เด็ดขาด X = 3.64, SD = 0.680) รองลงมาคือ การพิจารณาความดีความชอบของเจาหนาที่ไม

ขึ้นกับผลปฏิบัติงาน ( X = 3.61, SD = 0.720) เจาหนาที่ไมคอยมีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับ

งานที่ปฏิบัติ ( X = 3.57, SD = 0.652) การตัดสินใจที่สําคัญเกี่ยวกับการดําเนินการตางๆ ใน

Page 49: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

41

หนวยงานตองไดรับความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาทุกระดับเสมอ ( X = 3.54, SD = 0.571)

และนโยบายหรือขอปฏิบัติที่กําหนดโดยสวนกลางเหมาะสมกับสถานการณ ขอจํากัด และเงื่อนไข

ในการทํางานของหนวยงานแลว (X = 3.54, SD = 0.525) ตามลําดับ

4.2.3 หลักการแบงงานกันทําหลักการแบงงานกันทํา ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี้

ตารางที่ 4.10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานหลักการแบงงานกันทํา

หลักการแบงงานกันทํา Min MaxX

SD ลําดับ

1.การจัดแบงหนวยงานยอย เชน สวนหรือฝาย

เปนไปอยางชัดเจนตามภาระงานที่รับผิดชอบ

2.00 5.00 3.64 0.601 1

2.ในหนวยงานมีการกําหนดอํานาจหนาที่ของบุคคล

อยางชัดเจนเพื่อไมใหมีการทํางานซ้ําซอนกัน

2.00 5.00 3.56 0.633 2

3.ภารกิจที่หนวยงานมอบหมายใหมีความเหมาะสม

กับความรูความสามารถของเจาหนาที่แตละคน

2.00 5.00 3.55 0.614 3

4.กําลังคนในหนวยงานของทานเพียงพอตอปริมาณ

งานที่รับผิดชอบ

2.00 5.00 3.52 0.636 4

5.แมจะมีหนวยงานยอยหลายหนวยงาน แตการ

ติดตอประสานงานระหวางหนวยงานก็เปนไปอยาง

ราบรื่น

2.00 5.00 3.48 0.573 5

รวมเฉลี่ย 2.00 5.00 3.55 0.611 -

จากตารางที่ 4.10 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความเห็นตอหลักดานการแบงงาน

กันทําในระดับมาก ( X = 3.55, SD = 0.611) เมื่อวิเคราะหเปนรายขอ สามารถเรียงลําดับไดดังนี้

มากที่สุดคือ การจัดแบงหนวยงานยอย เชน สวนหรือฝาย เปนไปอยางชัดเจนตามภาระงานที่

รับผิดชอบ ( X = 3.64, SD = 0.601) รองลงมาคือ ในหนวยงานมีการกําหนดอํานาจหนาที่ของ

บุคคลอยางชัดเจนเพื่อไมใหมีการทํางานซ้ําซอนกัน ( X = 3.56, SD = 0.633) ภารกิจที่หนวยงาน

มอบหมายใหมีความเหมาะสมกับความรูความสามารถของเจาหนาที่แตละคน ( X = 3.55, SD =

Page 50: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

42

0.614) กําลังคนในหนวยงานของทานเพียงพอตอปริมาณงานที่รับผิดชอบ ( X = 3.52, SD =

0.626) และแมจะมีหนวยงานยอยหลายหนวยงาน แตการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานก็

เปนไปอยางราบรื่น ( X = 3.48, SD = 0.573) ตามลําดับ

4.2.4 หลักความเปนทางการหลักความเปนทางการ ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี้

ตารางที่ 4.11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานหลักความเปนทางการ

หลักความเปนทางการ Min MaxX

SD ลําดับ

1.หนวยงานของทานใหความสําคัญอยางสูงตอการ

ปฏิบัติตามประกาศ คําสั่ง ระเบียบปฏิบัติ และขอ

กฎหมาย

3.00 5.00 3.53 0.573 3

2.การติดตอประสานงานภายในและระหวาง

หนวยงานตองใชหนังสือเอกสารราชการที่เปน

ลายลักษณอักษรทุกครั้ง

2.00 5.00 3.53 0.616 3

3.หนวยงานมุงเนนการใชหนังสือ ประกาศ คําสั่ง

ตางๆ เพื่อเสถียรภาพการทํางานที่ดี แมจะทําใหการ

ดําเนินงานขาดความคลองตัวไปบางก็ตาม

2.00 5.00 3.59 0.610 2

4.เจาหนาที่ในหนวยงานของทาน ถูกทําใหรับรูวา

ความถูกตองของเอกสารราชการ มีความสําคัญ

มากกวาวัตถุประสงคของงาน

2.00 5.00 3.60 0.722 1

5.หนวยงานของทานไมเคยปฏิบัติภารกิจโดยพลการ

จนกวาจะไดรับการสั่งการที่เปนลายลักษณอักษร

2.00 5.00 3.48 0.763 4

รวมเฉลี่ย 2.00 5.00 3.54 0.656 -

Page 51: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

43

จากตารางที่ 4.11 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความเห็นตอหลักความเปนทางการใน

ระดับมากที่สุด (X = 3.54, SD = 0.656) เมื่อวิเคราะหเปนรายขอสามารถเรียงลําดับไดดังนี้ มากที่สุด

คือ เจาหนาที่ในหนวยงานของทานถูกทําใหรับรูวาความถูกตองของเอกสารราชการ มีความสําคัญ

มากกวาวัตถุประสงคของงาน ( X = 3.60, SD = 0.772) รองลงมาคือ หนวยงานมุงเนนการใช

หนังสือ ประกาศ คําสั่งตางๆ เพื่อเสถียรภาพการทํางานที่ดี แมจะทําใหการดําเนินงานขาดความ

คลองตัวไปบางก็ตาม ( X = 3.59, SD = 0.610) หนวยงานของทานใหความสําคัญอยางสูงตอการ

ปฏิบัติตามประกาศ คําสั่ง ระเบียบปฏิบัติ และขอกฎหมาย ( X = 3.53, SD = 0.573) การติดตอ

ประสานงานภายในและระหวางหนวยงานตองใชหนังสือเอกสารราชการที่เปนลายลักษณอักษร

ทุกครั้ง (X = 3.53, SD = 0.616) และหนวยงานของทานไมเคยปฏิบัติภารกิจโดยพลการ จนกวาจะ

ไดรับการสั่งการที่เปนลายลักษณอักษรแลวเทานั้น (X = 3.48, SD = 0.763) ตามลําดับ

4.2.5 หลักความเปนวิชาชีพหลักความเปนวิชาชีพ ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี้

ตารางที่ 4.12 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานหลักความเปนวิชาชีพ

หลักความเปนวิชาชีพ Min MaxX

SD ลําดับ

1.เจาหนาที่ในหนวยงานของทานสามารถปรับปรุง

วิธีการทํางาน เพื่อใหไดผลงานที่ดียิ่งขึ้น โดยนํา

ความรูทางวิชาการ เทคนิค หรือเทคโนโลยีใหมๆ มา

ประยุกตใชกับการปฏิบัติงาน

2.00 5.00 3.55 0.549 2

2.เมื่อเกิดปญหาหรืออุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่

ราชการ เจาหนาที่สามารถแกไขปญหาไดเปนอยางดี

2.00 5.00 3.56 0.592 1

3.หนวยงานของทานสนับสนุนใหเกิดบรรยากาศแหง

การพัฒนาความเชี่ยวชาญ เชน มีการจัดสรร

ทรัพยากรที่เอื้อตอการพัฒนา จัดใหมีการอบรม

แลกเปลี่ยนความรูในเรื่องที่เกี่ยวกับเนื้องานที่ทํา

2.00 5.00 3.54 0.615 3

Page 52: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

44

ตารางที่ 4.12 (ตอ)

หลักความเปนวิชาชีพ Min MaxX

SD ลําดับ

4.หนวยงานของทานมีการคัดเลือกบุคลากรเขา

ประจําตําแหนงโดยพิจารณาจากขีดความรู

ความสามารถที่เหมาะสมกับภารกิจหนวยงาน

2.00 5.00 3.48 0.616 4

5.เจาหนาที่ในหนวยงานของทานสามารถปฏิบัติงาน

ทดแทนกันเพื่อใหงานที่ไดรับมอบหมายสําเร็จ

2.00 5.00 3.39 0.684 5

รวมเฉลี่ย 2.00 5.00 3.50 0.611 -

จากตารางที่ 4.12 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความเห็นตอหลักความเปนทางการใน

ระดับมากที่สุด (X = 3.50, SD = 0.611) เมื่อวิเคราะหเปนรายขอสามารถเรียงลําดับไดดังนี้ มากที่สุด

คือ เมื่อเกิดปญหาหรืออุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ราชการ เจาหนาที่สามารถแกไขปญหานั้นได

เปนอยางดี (X = 3.56, SD = 0.592) รองลงมาคือ เจาหนาที่ในหนวยงานของทานสามารถปรับปรุง

วิธีการทํางานเพื่อใหไดผลงานที่ดียิ่งขึ้น โดยนําความรูทางวิชาการ เทคนิค หรือเทคโนโลยีใหมๆ

มาประยุกตใชกับการปฏิบัติงาน ( X = 3.55, SD = 0.549) หนวยงานของทานสนับสนุนใหเกิด

บรรยากาศแหงการพัฒนาความเชี่ยวชาญ เชน มีการจัดสรรทรัพยากรที่เอื้อตอการพัฒนา จัดใหมี

การอบรม แลกเปลี่ยนความรูในเรื่องที่เกี่ยวกับเนื้องานที่ทํา ( X = 3.54, SD = 0.615) หนวยงาน

ของทานมีการคัดเลือกบุคลากรเขาประจําตําแหนงโดยพิจารณาจากขีดความรูความสามารถที่

เหมาะสมกับภารกิจหนวยงาน ( X = 3.48, SD = 0.616) และเจาหนาที่ในหนวยงานของทาน

สามารถปฏิบัติงานทดแทนกันเพื่อใหงานที่ไดรับมอบหมายสําเร็จ ( X = 3.39, SD = 0.684)

ตามลําดับ

Page 53: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

45

4.3 ผลการวิเคราะหขอมูลประสิทธิผลในการปฏิบัติงานผูศึกษาไดวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นของกลุมตัวอยางที่มีตอประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงาน ประกอบดวย ดานผลงานและดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน ปรากฎผลการ

วิเคราะห ดังนี้

ตารางที่ 4.13 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ในภาพรวม

ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน X SD ระดับประสิทธิผลดานผลงาน 3.53 0.627 1

ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน 3.49 0.629 2

รวม 3.51 0.628 -

จากตารางที่ 4.13 ผลการวิเคราะหคาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ

ความคิดเห็นตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ในภาพรวม กลุมตัวอยางมีความเห็นในระดับมากทุก

ดาน ( X = 3.51, SD = 0.628) มากที่สุดคือ ดานผลงาน ( X = 3.53, SD = 0.627) และรองลงมา

คือ ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน ( X = 3.49, SD = 0.629)

Page 54: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

46

4.3.1 ดานผลงานดานผลงาน ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี้

ตารางที่ 4.14 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานผลงาน

ดานผลงาน Min MaxX

SD ลําดับ

1.ปริมาณงาน พิจารณาจากความมากนอยของ

งานที่ทําไดสําเร็จ โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐาน

หรือปริมาณงานโดยเฉลี่ยที่ผูปฏิบัติงานใน

ตําแหนงที่ปฏิบัติงานได

2.00 5.00 3.50 0.636 2

2.คุณภาพงาน พิจารณาจากความสามารถใน

การปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย โดย

คํานึงถึง

- ความสําเร็จตามเวลาที่กําหนด

- ความถูกตองและแมนยําของงาน

- ความครบถวนสมบรูณของงาน

- ความเปนระเบียบเรียบรอยของงาน

2.00 5.00 3.56 0.618 1

รวม 2.00 5.00 3.53 0.627 -

จากตารางที่ 4.14 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความเห็นตอผลงานในระดับมาก

( X = 3.53, SD = 0.627) เมื่อวิเคราะหเปนรายขอสามารถเรียงลําดับไดดังนี้ มากที่สุดคือ

คุณภาพงาน พิจารณาจากความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย โดยคํานึงถึง

ความสําเร็จตามเวลาที่กําหนด ความถูกตองและแมนยําของงาน ความครบถวนสมบรูณของงาน

และความเปนระเบียบเรียบรอยของงาน ( X = 3.56, SD = 0.618) และปริมาณงาน พิจารณาจาก

ความมากนอยของงานที่ทําไดสําเร็จ โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือปริมาณงานโดยเฉลี่ยที่

ผูปฏิบัติงานในตําแหนงที่ปฏิบัติงานได ( X = 3.50, SD = 0.636)

Page 55: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

47

4.3.2 ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงานดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี้

ตารางที่ 4.15 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน

ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน Min MaxX

SD ลําดับ

1.ความรู ความสามารถในการปฏิบัติงาน พิจารณา

จากความรูในดานกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ที่ใชใน

การปฏิบัติงาน ความเขาใจในการปฏิบัติงานและ

เปาหมายของหนวยงาน ความรูในหลักวิชาการเฉพาะ

ดานและความชํานาญในงาน ความสามารถในการ

แกปญหาและการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน

2.00 5.00 3.49 0.595 3

2.ความอุตสาหะและความรับผิดชอบในงานที่ปฏิบัติ พิจารณาจากความมานะ อดทน เอาใจใสใน

หนาที่การงานที่ปฏิบัติ กระตือรือรนในการปฏิบัติงาน

อุทิศเวลาใหกับราชการและมีความขยันหมั่นเพียร

ความตั้งใจ เต็มใจ และความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงาน

ตามที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จ โดยคํานึงถึงเปาหมาย

ของงานเปนหลัก มีความรับผิดชอบตอหนาที่ ไมละเลย

ตองาน และพรอมที่จะรับผิดชอบตอผลที่เกิดขึ้นกับการ

ปฏิบัติงาน

2.00 5.00 3.52 0.616 2

3.ความสามารถในการปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นพิจารณาจากความสามารถในการปฏิบัติงานรวมกับ

ผูอื่นอยางมีประสิทธิภาพรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น

ยอมรับในความสามารถของผูรวมงาน มีความ

สัมพันธอันดีกับประชาชนผูมาติดตอ และเต็มใจที่จะ

ชวยเหลือผูอื่นอยูเสมอ

2.00 4.00 3.45 0.571 5

Page 56: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

48

ตารางที่ 4.15 (ตอ)

ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน Min MaxX

SD ลําดับ

4.ความสนใจที่จะพัฒนาตนเอง พิจารณาจากการ

เพิ่มพูนความรู ความชํานาญ และประสบการณใน

การปฏิบัติงาน

2.00 5.00 3.53 0.656 1

5.มีคุณธรรมปฏิบัติตนตามกรอบของจรรยาบรรณและการรักษาวินัย พิจารณาจาก

อุปนิสัย บุคลิกลักษณะแสดงออกทั้งตอหนาและลับ

หลัง การปฏิบัติตนตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน

ขอบังคับของทางราชการและจรรยาบรรณของทาง

ราชการอยางเครงครัด

2.00 5.00 3.48 0.711 4

รวม 2.00 4.80 3.49 0.629 -

จากตารางที่ 4.15 พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความเห็นตอคุณลักษณะของการ

ปฏิบัติงานในระดับมาก ( X = 3.49, SD = 0.629) เมื่อวิเคราะหเปนรายขอสามารถเรียงลําดับได

ดังนี้ มากที่สุดคือ ความสนใจที่จะพัฒนาตนเองพิจารณาจากการเพิ่มพูนความรู ความชํานาญ

และประสบการณในการปฏิบัติงาน ( X = 3.53, SD = 0.656) รองลงมาคือ ความอุตสาหะและ

ความรับผิดชอบในงานที่ปฏิบัติ พิจารณาจากความมานะ อดทน เอาใจใสในหนาที่การงานที่

ปฏิบัติ กระตือรือรนในการปฏิบัติงาน อุทิศเวลาใหกับราชการและมีความขยันหมั่นเพียร ความ

ตั้งใจ เต็มใจ และความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จ โดยคํานึงถึง

เปาหมายของงานเปนหลัก มีความรับผิดชอบตอหนาที่ ไมละเลยตองาน และพรอมที่จะรับผิดชอบ

ตอผลที่เกิดขึ้นกับการปฏิบัติงาน ( X = 3.52, SD = 0.616) ความรู ความสามารถในการ

ปฏิบัติงาน พิจารณาจากความรูในดานกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ที่ใชในการปฏิบัติงานมีมาก

นอยเพียงใด ความเขาใจในการปฏิบัติงานและเปาหมายของหนวยงานที่ทานปฏิบัติงานความรูใน

หลักวิชาการเฉพาะดานและความชํานาญในงานที่ทานปฏิบัติ ความสามารถในการแกปญหาและ

การตัดสินใจในการปฏิบัติงาน ( X = 3.49, SD = 0.595) มีคุณธรรมปฏิบัติตนตามกรอบของ

จรรยาบรรณและการรักษาวินัย พิจารณาจากอุปนิสัย บุคลิกลักษณะแสดงออกทั้งตอหนาและลับ

หลัง การปฏิบัติตนตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ขอบังคับของทางราชการและจรรยาบรรณ

Page 57: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

49

ของทางราชการอยางเครงครัด ( X = 3.48, SD = 0.711) และความสามารถในการปฏิบัติงาน

รวมกับผูอื่น พิจารณาจากความสามารถในการปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นอยางมีประสิทธิภาพ รับฟง

ความคิดเห็นของผูอื่น ยอมรับในความสามารถของผูรวมงาน มีความสัมพันธอันดีกับประชาชน

ผูมาติดตอ และเต็มใจที่จะชวยเหลือผูอื่นอยูเสมอ ( X = 3.45, SD = 0.571) ตามลําดับ

4.4 ผลการทดสอบสมมติฐานในการศึกษาครั้งนี้ไดตั้งสมมติฐานไวดังนี้

สมมติฐานที่ 1 การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักลําดับขั้นและสายการบังคับ

บัญชา มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

สมมติฐานที ่2 การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักการรวมศูนยอํานาจ มีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

สมมติฐานที่ 3 การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักการแบงงานกันทํา มีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

สมมติฐานที่ 4 การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักความเปนทางการ มีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

สมมติฐานที่ 5 การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักความเปนวิชาชีพ มีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ผูศึกษาใชสถิติสหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s Product Correlation) เพื่อทดสอบ

ความสัมพันธระหวางตัวแปรของการบริหารแบบระบบราชการทั้ง 5 ตัวแปร ใหแนใจวาตัวแปร

ทั้งหมดไมมีความสัมพันธตอกัน นั่นคือ มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางตัวแปรไมเกิน .60

(Cohen, 1988) จึงจะไมเปนการละเมิดขอจํากัดของการทดสอบการถดถอยพหุคูณของตัวแปรที่มี

อํานาจในการพยากรณในขั้นตอนตอไป

Page 58: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

50

ตารางที่ 4.16 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวแปรการบริหารแบบระบบราชการ

ตัวแปร

หลักลําดับขั้น

และสายการ

บังคับบัญชา

หลักการ

รวมศูนย

อํานาจ

หลักการ

แบงงาน

กันทํา

หลัก

ความเปน

ทางการ

หลักความ

เปน

วิชาชีพ

หลักลําดับขั้นและสายการ

บังคับบัญชา1.000

หลักการรวมศูนยอํานาจ 0.462 1.000

หลักการแบงงานกันทํา 0.392** 0.439** 1.000

หลักความเปนทางการ 0.195 0.556 0.304 1.000

หลักความเปนวิชาชีพ 0.032 0.269 0.414** 0.456 1.000

X3.81 3.53 3.55 3.54 3.50

SD 0.665 0.629 0.611 0.656 0.611

** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

จากตารางที่ 4.16 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรของการบริหาร

แบบระบบราชการทั้ง 5 ตัวแปร พรอมแสดงคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) ของตัวแปร พบวา

ตัวแปรทั้งหมดมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ อยูระหวาง 0.032-0.556 ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่

ระดับ 0.01 ซึ่งมิไดละเมิดฐานคติของขนาดคาความสัมพันธระหวางตัวแปรระดับสูงที่ .60 ดังนั้น

ผูศึกษาจึงนําตัวแปรดังกลาว มาทําการทดสอบสมมติฐานดวยสถิติการวิเคราะหการถดถอย

พหุคูณ โดยวิธี Backward เพื่อสรางสมการสําหรับพยากรณตัวแปรประสิทธิผลกับการปฏิบัติงาน

จากตัวแปรการบริหารแบบระบบราชการกําหนดคาระดับนัยสําคัญสูงสุดที่ยอมใหตัวแปรตนอยูใน

สมการเปน 0.100 (Probability of F-to-remove ≥ 0.100) ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี้

Page 59: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

51

ตารางที่ 4.17 ตัวแบบจําลองความสัมพันธของสมการการถดถอยพหุคูณ

Model R R Square Adjusted R Square

Std. Error of the Estimate

1 .574 .330 .284 .32382

2 .573 .328 .292 .32201

3 .569 .323 .297 .32100

4 .558 .311 .293 .32179

ตัวแบบที่ 1 ตัวแปรพยากรณ: (Constant), หลักความเปนวิชาชีพ, หลักลําดับชั้นและสายการบังคับ

บัญชา, หลักความเปนทางการ, หลักการแบงงานกันทํา, หลักการรวมศูนยอํานาจ

ตัวแบบที่ 2 ตัวแปรพยากรณ: (Constant), หลักความเปนวิชาชีพ, หลักความเปนทางการ, หลักการ

แบงงานกันทํา, หลักการรวมศูนยอํานาจ

ตัวแบบที่ 3 ตัวแปรพยากรณ: (Constant), หลักความเปนวิชาชีพ, หลักความเปนทางการ, หลักการ

แบงงานกันทํา

ตัวแบบที่ 4 ตัวแปรพยากรณ: (Constant), หลักความเปนวิชาชีพ, หลักความเปนทางการ

จากตารางที่ 4.17 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณโดยวิธี Backward พบวามี

ตัวแบบจําลองความสัมพันธ (Model Summary) ความสัมพันธระหวางตัวแปรการบริหารแบบ

ระบบราชการที่มีประสิทธิผลในการปฏิบัติงานไดทั้งหมด 4 ตัวแบบ ซึ่งสามารถอธิบายความหมาย

ไดดังนี้

ตัวแบบที่ 1 มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (Multiple Correlation :R) เทากับ .574

ใชตัวแปรในการพยากรณทั้งหมด 5 ตัว คือ หลักความเปนวิชาชีพ หลักลําดับชั้นและสายการ

บังคับบัญชา หลักความเปนทางการ หลักการแบงงานกันทํา หลักการรวมศูนยอํานาจ สามารถ

พยากรณตัวแปรตามไดรอยละ 33.0 (R2 = .330) และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการ

พยากรณ เทากับ .32382

ตัวแบบที่ 2 มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณเทากับ .573 ใชตัวแปรในการพยากรณ 4 ตัว

คือ หลักความเปนวิชาชีพ หลักความเปนทางการ หลักการแบงงานกันทํา หลักการรวมศูนยอํานาจ

สามารถพยากรณตัวแปรตามไดรอยละ 32.8 (R2 = .328) และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการ

พยากรณ เทากับ .32201

Page 60: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

52

ตัวแบบที่ 3 มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณเทากับ .569 ใชตัวแปรในการพยากรณ 3 ตัว

คือ หลักความเปนวิชาชีพ หลักความเปนทางการ หลักการแบงงานกันทํา สามารถพยากรณตัวแปร

ตามไดรอยละ 32.3 (R2 = .323) และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ เทากับ .32100

ตัวแบบที่ 4 มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณเทากับ .558 ใชตัวแปรในการพยากรณ 2 ตัว

คือ หลักความเปนวิชาชีพ หลักความเปนทางการ สามารถพยากรณตัวแปรตามไดรอยละ 33.1 (R2 =

.331) และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ เทากับ .32179

ตารางที่ 4.18 ผลการวิเคราะหความแปรปรวนสองทาง (ANOVA)

Model Sum of Squares df Mean Square F Sig.Regression 3.814 5 .763 7.275 .000

Residual 7.760 74 .105

1

Total 11.574 79

Regression 3.797 4 .949 9.155 .000

Residual 7.777 75 .104

2

Total 11.574 79

Regression 3.743 3 1.248 12.109 .000

Residual 7.831 76 .103

3

Total 11.574 79

Regression 3.600 2 1.800 17.385 .000

Residual 7.973 77 .104

4

Total 11.574 79

ตัวแบบที่ 1 ตัวแปรพยากรณ: (Constant), หลักความเปนวิชาชีพ, หลักลําดับชั้นและสายการบังคับ

บัญชา, หลักความเปนทางการ, หลักการแบงงานกันทํา, หลักการรวมศูนยอํานาจ

ตัวแบบที่ 2 ตัวแปรพยากรณ: (Constant), หลักความเปนวิชาชีพ, หลักความเปนทางการ, หลักการ

แบงงานกันทํา, หลักการรวมศูนยอํานาจ

ตัวแบบที่ 3 ตัวแปรพยากรณ: (Constant), หลักความเปนวิชาชีพ, หลักความเปนทางการ, หลักการ

แบงงานกันทํา

ตัวแบบที่ 4 ตัวแปรพยากรณ: (Constant), หลักความเปนวิชาชีพ, หลักความเปนทางการ

Page 61: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

53

จากตารางที่ 4.18 เปนการวิเคราะหความแปรปรวน เพื่อตรวจสอบความสามารถในการ

พยากรณของตัวแบบ โดยหากคาความนาจะเปนนอยกวาระดับนัยสําคัญที่กําหนด คือ .05 แสดง

วาตัวแปรตนมีอิทธิพลตอตัวแปรตาม แตหากไมพบนัยสําคัญทางสถิติ จะขจัดตัวแปรนั้นออกจาก

สมการ แลวทําการทดสอบตัวแปรที่เหลือ จนกวาคาสหสัมพันธระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม

จะมีนัยสําคัญทางสถิติตามที่กําหนด ตามวิธีการแบบ Backward จากผลการวิเคราะหอธิบายได

ดังนี้

ตัวแบบที่ 1 ตัวแปรตนทั้ง 5 ตัวแปร คือ หลักความเปนวิชาชีพ หลักลําดับชั้นและสาย

การบังคับบัญชา หลักความเปนทางการ หลักการแบงงานกันทํา หลักการรวมศูนยอํานาจ มี

อิทธิพลตอตัวแปรตาม เนื่องจากมีคานัยสําคัญทางสถิติ = .000

ตัวแบบที่ 2 ตัวแปรตน 4 ตัวแปร คือ หลักความเปนวิชาชีพ หลักความเปนทางการ

หลักการแบงงานกันทํา หลักการรวมศูนยอํานาจ เนื่องจากมีคานัยสําคัญทางสถิติ = .000

ตัวแบบที่ 3 ตัวแปรตน 3 ตัวแปร คือ หลักความเปนวิชาชีพ หลักความเปนทางการ

หลักการแบงงานกันทํา เนื่องจากมีคานัยสําคัญทางสถิติ = .000

ตัวแบบที่ 4 ตัวแปรตน 2 ตัวแปร คือ หลักความเปนวิชาชีพและหลักความเปนทางการ

เนื่องจากมีคานัยสําคัญทางสถิติ = .000

จากการวิเคราะหโดยการนําตัวแปรอิสระ 5 ตัวสมการ แลวทดสอบคาสหสัมพันธ

ระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม หากไมพบนัยสําคัญทางสถิติก็จะขจัดออกจากสมการ แลว

ทดสอบตวแปรที่เหลือตอไป จนกระทั่งสหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

จากตัวแปรทั้ง 4 ขางตน ผูศึกษาไดวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุ (R) และ

สัดสวนความแปรปรวนที่อธิบายดวยสมการถดถอยคา (R2) พบวา

ตัวแบบที่ 1 มีคา R เทากับ .574 และ R2 เทากับ .330

ตัวแบบที่ 2 มีคา R เทากับ .573 และ R2 เทากับ .328

ตัวแบบที่ 3 มีคา R เทากับ .569 และ R2 เทากับ .323

ตัวแบบที่ 4 มีคา R เทากับ .558 และ R2 เทากับ .311

ซึ่งมีขนาดที่ไมแตกตางกันมากนัก แตผูศึกษาเลือกใชตัวแบบที่ 4 เนื่องจากเปนการ

ประหยัดตัวแปรที่สุด และเพื่อใหเกิดความมั่นใจมากขึ้นจึงวิเคราะหตอไปดวยคาความแปรปรวน

(F) และคาสถิติที (t) พบวา ตัวแปรที่ 4 มีคาความแปรปรวน (F) เทากับ 17.385 ซึ่งเปนคาสูงที่สุด

ระหวางตัวแปรทั้ง 4 แบบ และมีคานัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถแปรความหมายไดวา

Page 62: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

54

ชุดตัวแปรอิสระหรือตัวแปรพยากรณ สามารถพยากรณตัวแปรตามไดอยางมีนัยสําคัญ และ

คาสถิติ (t) มีคาสูงที่สุดอยางมีนัยสําคัญ เชนกัน ผูศึกษาจึงมั่นใจวา ชุดตัวแปรในตัวแบบที่ 4 มี

อํานาจในการอธิบายตัวแปรตามไดหนักแนนที่สุด

จากตัวแบบที่ 4 พบวา การบริหารแบบระบบราชการมีอิทธิพลตอการพยากรณ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานที่ถูกคํานวณดวยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุ (R) มีคาเทากับ .558

และเมื่อพิจารณาถึงสัดสวนความแปรงปรวนที่อธิบายดวยสมการถดถอย (R2) มีคาเทากับ .311

แสดงใหเห็นวา ความแปรปรวนหรือประสิทธิผลการปฏิบัติงานถูกพยากรณโดยตัวแปรตนหรือการ

บริหารแบบระบบราชการเทากับรอยละ 31.1 สวนอีกรอยละ 68.9 ถูกพยากรณอื่นๆ นอกตัวแบบที่

4 อธิบายไดวา ตัวแปรตามที่ถูกพยากรณโดยตัวแปรอิสระในหลักความเปนวิชาชีพและหลักความ

เปนทางการ ทั้งหมดพรอมกันเทากันรอยละ 31.1

ตารางที่ 4.19 ผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณดวยวิธี Backward

ตัวแปรที่นําเขาสมการUnstandardized

CoefficientsStandardizedCoefficientsตัวแบบ

B St. Error Betat Sig.

1.442 .413 3.495 .001

-.034 .083 -.046 -.405 .687

.084 .103 .106 .815 .418

.091 .098 .110 .933 .354

.154 .104 .183 1.472 .145

1 (Constant)

หลักลําดับชั้นและสายการ

บังคับบัญชา

หลักการรวมศูนยอํานาจ

หลักการแบงงานกันทํา

หลักความเปนทางการ

หลักความเปนวิชาชีพ.302 .098 .357 3.090 .003

1.374 .375 3.668 .000

.069 .096 .088 .723 .472

.079 .093 .096 .856 .395

.155 .104 .185 1.495 .139

2 (Constant)

หลักการรวมศูนยอํานาจ

หลักการแบงงานกันทํา

หลักความเปนทางการ

หลักความเปนวิชาชีพ .309 .096 .366 3.235 .002

Page 63: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

55

ตารางที่ 4.19 (ตอ)

UnstandardizedCoefficients

StandardizedCoefficientsตัวแบบ

B St. Error Betat Sig.

1.431 .365 3.919 .000

.102 .087 .123 1.176 .243

.192 .090 .228 2.133 .036

3 (Constant)

หลักการแบงงานกันทํา

หลักความเปนทางการ

หลักความเปนวิชาชีพ .303 .095 .358 3.190 .002

1.614 .331 4.874 .000

.207 .089 .246 2.319 .023

4 (Constant)

หลักความเปนทางการ

หลักความเปนวิชาชีพ .339 .090 .400 3.766 .000

ตัวแปรที่ถูกคัดออกCollinearity Statisticsตัวแบบ Beta In t Sig.

PartialCorrelation

Tolerance2 หลักลําดับชั้นและสายการบังคับ

บัญชา

-.046 -.404 .687 -.047 .708

3 หลักลําดับชั้นและสายการบังคับ

บัญชา

หลักการรวมศูนยอํานาจ

-.014

.088

-.130

.723

.897

.427

-.015

.083

.805

.610

4 หลักลําดับชั้นและสายการบังคับ

บัญชา

หลักการรวมศูนยอํานาจ

หลักการแบงงานกันทํา

.034

.123

.123

.347

1.081

1.176

.730

.283

.243

.040

.123

.134

.958

.690

.812

จากตารางที่ 4.19 ผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์การถดถอยมาตรฐาน (Beta) โดย

วิธีการคัดเลือกตัวแปรแบบ Backward ปรากฏวา ตัวแปรที่ถูกเขาสมการพยากรณและปรากฏ

นัยสําคัญทางสถิติ (Sig<.05) มี 2 ตัวแปร คือ หลักความเปนทางการ (Beta = .246) และหลัก

Page 64: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

56

ความเปนวิชาชีพ (Beta=.400) โดยตัวแปรทั้ง 2 ดาน คาสัมประสิทธิ์การถดถอยมาตรฐาน (Beta)

มีคาเปนบวก แสดงวามีความสัมพันธกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานเปนไปในทางบวก คือ เมื่อ

ตัวแปรพยากรณมีระดับเพิ่มขึ้น ตัวแปรตามก็จะมีระดับเพิ่มขึ้นดวย ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐานที่

4 และ 5

สวนตัวแปรที่ถูกคัดออกจากสมการและไมเปนไปตามนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

มี 3 ตัวแปร ไดแก หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา (Beta = -.046, Sig = .687) หลักการ

รวมศูนยอํานาจ (Beta = .088, Sig = .427) และการแบงงานกันทํา (Beta = -.123, Sig = .243)

แปลความหมายไดวาตัวแปร หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา หลักการรวมศูนยอํานาจ

และหลักการแบงงานกันทํา ไมสามารถนํามาใชพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน จึงปฏิเสธมมติฐานที่ 1, 2 และ 3

จากผลการทดสอบสมมติฐาน สามารถสรุปไดวา การบริหารแบบระบบราชการมี

ประสิทธิผลกับการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน รอยละ 31.1 และสามารถสรางเปน

สมการถดถอยพหุ ดังนี้

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน = 1.614 (Constant) + 0.207 หลักความเปนทางการ+ 0.339

หลักความเปนวิชาชีพ

.246 .246 R Square= .331

.400 .400

Model Fit F Sig

17.385 .000

แผนภาพที่ 4.2 ตัวแบบการถดถอยพหุคูณของการบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผล

ในการปฏิบัติงาน

หลักความเปนทางการ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

หลักความเปนวิชาชีพ

Page 65: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

57

ตารางที่ 4.20 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน

สมมติฐาน ยอมรับ ปฏิเสธสมมติฐานที่ 1

ระบบราชการหลักลําดับขั้นและสายการบังคับบัญชา มีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

สมมติฐานที่ 2

ระบบราชการหลักการรวมศูนยอํานาจ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลใน

การปฏิบัติงาน

สมมติฐานที่ 3

ระบบราชการหลักการแบงงานกันทํา มีอิทธิพลตอประสิทธิผลใน

การปฏิบัติงาน

สมมติฐานที่ 4

ระบบราชการหลักความเปนทางการ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงาน

สมมติฐานที่ 5

ระบบราชการหลักความเปนวิชาชีพ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงาน

Page 66: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

58

บทที่ 5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง “การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการบริหาร

แบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน และอิทธิพลของ

การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผล ในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน อําเภอ

โพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด โดยมีประชากรกลุมตัวอยางเปนขาราชการและพนักงานที่ปฏิบัติงานที่

อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด จํานวนทั้งหมด 80 คน

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเปนแบบสอบถาม ประกอบดวย 3 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูล

สวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ อายุราชการ ระดับการศึกษา สถานภาพ

รายไดตอเดือน สวนที่ 2 เปนคําถามแบบมาตรวัด 5 ระดับ สอบถามความเห็นเกี่ยวกับการบริหาร

แบบระบบราชการ ประกอบดวย หลักลําดับขั้นและสายการบังคับบัญชา หลักการรวมศูนยอํานาจ

หลักการแบงงานกันทํา หลักความเปนทางการ และหลักความเปนวิชาชีพ และสวนที่ 3 เปน

คําถามแบบมาตรวัด 5 ระดับ สอบถามความเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ประกอบดวย ดานผลงานและดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน สามารถเก็บรวบรวม

แบบสอบถามได 80 ชุด คิดเปนรอยละ 100 ของกลุมตัวอยาง

จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหและบรรยายโดยใชสถิติเชิงพรรณนา ไดแก การ

แจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แลวทําการวิเคราะห

สหสัมพันธ เพื่อหาความสัมพันธระหวางตัวแปร และการวิเคราะหสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณ

โดยวิธี Backward เพื่อทดสอบสมมติฐาน จากผลการศึกษาสามารถสรุปและอภิปรายผลตาม

ประเด็น ดังนี้

5.1 สรุปผล

5.2 อภิปรายผล

5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา

5.4 ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้งตอไป

Page 67: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

59

5.1 สรุปผลผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามของกลุมตัวอยาง จํานวน 80 คน จาก

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด สรุปดังนี้

5.1.1 ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถามจากการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย คิดเปนรอยละ 55.0 มีอายุ

ในชวงต่ํากวา 30 ป และ 30-40 ป เทากัน คือ คิดเปนรอยละ 47.5 มีอายุราชการอยูที่ 1-5 ป

คิดเปนรอยละ 87.5 มีระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 57.5 มีสถานภาพสมรส คิดเปน

รอยละ 63.7 และรายไดตอเดือนต่ํากวา 15,000 บาท คิดเปนรอยละ 78.8

5.1.2 การบริหารแบบระบบราชการจากการศึกษา พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความเห็นตอการบริหารแบบระบบ

ราชการ อยูในระดับมากทุกหลัก สามารถเรียงลําดับไดดังนี้ มาก ( X 3.58) มากที่สุดคือ หลัก

ลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา ( X = 3.81) รองลงมาคือ หลักการแบงงานกันทํา ( X = 3.55)

หลักความเปนทางการ ( X = 3.54) หลักการรวมศูนยอํานาจ ( X = 3.53) และหลักความเปน

วิชาชีพ ( X = 3.50) ตามลําดับ

5.1.3 ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานจากการศึกษา พบวา ในภาพรวมกลุมตัวอยางมีความเห็นตอประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานอยูในระดับมากทุกดาน( X 3.51) มากที่สุดคือ ดานผลงาน ( X = 3.53) และ

รองลงมาคือ ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน ( X = 3.49)

5.1.4 ผลการทดสอบสมมติฐานจากการศึกษา พบวา การบริหารแบบระบบราชการสามารถพยากรณประสิทธิผลใน

การปฏิบัติของขาราชการและพนักงาน ไดรอยละ 31.1 อีกรอยละ 68.9 ถูกพยากรณดวยตัวแปร

อื่น นอกเหนือจากตัวแปรที่ทําการศึกษา ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ตัวแปรตามที่ถูก

พยากรณโดยตัวแปรอิสระในหลักความเปนทางการ และหลักความเปนวิชาชีพ มีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติของขาราชการและพนักงานในเชิงบวก จึงยอมรับสมมติฐานที่ 4 และ 5

Page 68: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

60

5.2 อภิปรายผลจากการศึกษาเรื่อง การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด สามารถอภิปรายผลดังนี้

5.2.1 การบริหารแบบระบบราชการในการศึกษาการบริหารแบบระบบราชการของอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ได

กําหนดกรอบแนวคิดโดยอาศัยหลักการของระบบราชการแบบ Bureaucracy ตามแนวคิดของ

Weber (1947) ประกอบดวย หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา หลักการรวมศูนยอํานาจ

หลักการแบงงานกันทํา หลักความเปนทางการ และหลักความเปนวิชาชีพ จากการวิเคราะหขอมูล

พบวา กลุมตัวอยางมีความเห็นในระดับมากเกือบทุกหลัก มีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 3.53 แสดงใหเห็น

วาอําเภอโพนทรายเปนหนวยงานที่มีการบริหารและการจัดองคการเปนระบบราชการคอนขางสูง

ผูศึกษาจะทําการอภิปรายในแตละประเด็น โดยเรียงลําดับตามคาเฉลี่ยของแตละหลัก จากมากไป

นอยตามลําดับ ดังน้ี

หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา

จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการบริหารแบบระบบราชการ ตาม

หลักลําดับขั้นและสายการบังคับบัญชา ในระดับมาก มีคาเฉลี่ยที่เทากับ 3.81 ทั้งนี้ เนื่องมาจาก

ขาราชการและพนักงานสวนใหญใหความสําคัญตอการควบคุม การสั่งการ และการปฏิบัติตาม

สายการบังคับบัญชาเหนือสิ่งอื่นใด ดวยอําเภอโพนทรายเปนหนวยงานราชการที่มีรูปแบบการ

ปฏิบัติงานมาอยางยาวนาน การปฏิบัติตนตางๆ ของขาราชการและพนักงานในหนวยงานจึงไดรับ

การถายทอดลักษณะการแบงแยกชั้นของสายการบังคับบัญชา และปลูกฝงเปนวัฒนธรรมองคการ

สืบตอกันมา ทําใหขาราชการและพนักงานสวนใหญเห็นวา การปฏิบัติตามสายการบังคับบัญชา

และการรอรับคําสั่งการนั้นเปนสิ่งที่ถูกตอง นอกจากนั้น กลุมตัวอยางยังเห็นวาจํานวนชั้นของสาย

การบังคับบัญชามีความเหมาะสม ผูบังคับบัญชาสามารถถายทอดนโยบายหรือการสั่งการตางๆ

ลงสูผูปฏิบัติงานไดอยางถูกตองชัดเจน อยางไรก็ตาม การปฏิบัติงานที่ยึดหลักสายการบังคับ

บัญชาอยางเครงครัดไมไดทําใหการปฏิบัติงานมีเสถียรภาพมากนัก เนื่องจากการบริการ

สาธารณะตองยึดถือความตองการของประชาชนเปนหลัก หากยึดหลักการสายการบังคับบัญชา

อาจทําใหไมเกิดความรวดเร็ว จึงทําใหขาราชการและพนักงานอาจใชดุลพินิจของตนในการ

ปฏิบัติงานในบางครั้ง สอดคลองกับการศึกษาของ วิฑูรย สรรเสริญ (2551) และ วิจิตร อยูสุภาพ

(2534) ที่พบวา การมีสายการบังคับบัญชาหลายชั้นสงผลใหขาดความคลองตัวในการบริหาร

Page 69: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

61

จัดการ การเสนองานตามลําดับชั้นการบังคับบัญชาที่มาก ทําใหการตัดสินใจและการสั่งการ

ภายในหนวยงานมีความลาชา

หลักการแบงงานกันทํา

จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการบริหารแบบระบบราชการ ตาม

หลักการแบงงานกันทําในระดับมาก มีคาเฉลี่ยที่ 3.55 โดยขาราชการและพนักงานสวนใหญ

เห็นวาหนวยงานมีการจัดแบงงานตามภาระหนาที่ที่ตองรับผิดชอบอยางเหมาะสม ขณะเดียวกัน

หนวยงานตางๆ เหลานั้นก็มีการกําหนดอํานาจใหแกขาราชการและพนักงานอยางชัดเจน การ

มอบหมายงานมีความเหมาะสมกับความรูความสามารถ จึงเปนผลทําใหขาราชการและพนักงาน

สามารถตัดสินใจในการปฏิบัติงานไดเอง เพราะหนวยงานมีการจัดการแบงอํานาจหนาที่ในการ

ปฏิบัติงานใหเรียบรอยแลว อยางไรก็ตาม ขาราชการและพนักงานก็มีความคิดเห็นวากําลังคนใน

หนวยงานตอหนาที่ที่ตองรับผิดชอบนั้น ยังไมเพียงพอตอปริมาณงานที่ตองปฏิบัติ เปนผลใหเกิด

ปญหาในการติดตอประสานงานระหวางหนวยงาน และเปนอุปสรรคในการแบงงานกันทํา

โดยเฉพาะกรณีเรงดวนหรือเมื่อมีปริมาณงานจํานวนมาก สอดคลองกับ เพ็ญศิริ อภัยทาน (2553)

ที่ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการบริหารจัดการองคการ พบวาหนวยงานที่มี

ปริมาณบุคลากรไมเพียงพอตอปริมาณของงานทําใหเกิดปญหาตอการปฏิบัติงาน ถึงแมวา

บุคลากรที่มีอยูจะสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพแลวก็ตาม

หลักความเปนทางการ

จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการบริหารแบบระบบราชการ ตาม

หลักความเปนทางการ โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.54 ทั้งนี้ ขาราชการและพนักงานสวนใหญรับรูวา

การปฏิบัติงานนั้นตองใหความสําคัญกับความถูกตองของเอกสารราชการมากกวาสิ่งอื่นใด ทําให

อําเภอโพนทรายมุงเนนการใชหนังสือ ประกาศ คําสั่งตางๆ เพื่อควบคุมการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน ถึงแมวาจะทําใหการดําเนินการนั้นขาดความคลองตัวบางก็ตาม อยางไร

ก็ดี ขาราชการและพนักงานสวนใหญตางเห็นวา การปฏิบัติงานตามประกาศ คําสั่ง ระเบียบ โดย

ใชหนังสือเอกสารราชการที่เปนลายลักษณอักษรอยางเครงครัด สงผลตอความลาชาในการติดตอ

ประสานงานภายในและระหวางหนวยงาน และการบริการแกประชาชน ขาราชการและพนักงาน

จึงอาจใชดุลพินิจสวนบุคคลในการตัดสินใจดําเนินงาน เพื่อสรางความพึงพอใจในการบริการ

สาธารณะ ที่สะดวก รวดเร็ว และสนองความตองการ แมไมไดรับการสั่งการที่เปนลายลักษณ

อักษร หากพิจารณาแลววามีความถูกตองเหมาะสมก็จะรีบดําเนินการโดยทันที สอดคลองกับ

วัชราภรณ ชํานาญพูด (2545) ที่ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่สงผลตอระดับการพัฒนาประสิทธิภาพการ

Page 70: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

62

ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ กองตรวจคนเขาเมือง 2 ทาอากาศยานกรุงเทพ พบวา การปฏิบัติ

ตามกฎหมาย ระเบียบและคําสั่งที่กําหนดไวอยางชัดเจนนั้น มีผลตอประสิทธิภาพในการ

ปฏิบัติงานเพียงบางสวน และบางสวนนั้นขึ้นอยูกับการใชดุลยพินิจในการตัดสินใจของเจาหนาที่

เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพการณ

หลักการรวมศูนยอํานาจ

จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการบริหารแบบระบบราชการ ตาม

หลักการรวมศูนยอํานาจ อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.53 โดยขาราชการและพนักงานเห็น

วาหนวยงานและผูบังคับบัญชามีอํานาจในการสั่งการอยางเบ็ดเสร็จและเด็ดขาด จึงทําให

ขาราชการและพนักงานไมไดรับโอกาสในการมีสวนรวมเกี่ยวกับการตัดสินใจเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ

และเห็นวานโยบายหรือขอปฏิบัติที่กําหนดโดยสวนกลางยังไมคอยมีความเหมาะสมกับ

สถานการณและขอจํากัดของหนวยงานนัก สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นถึงลักษณะการกระจายอํานาจ

ในระดับตางๆ ของอําเภอโพนทราย ที่ยังมีขอบกพรองในการมอบหมายอํานาจในการปฏิบัติหนาที่

และการตัดสินใจที่มีความเหลื่อมล้ําในแตละระดับของขาราชการและพนักงาน ซึ่งอาจกอใหเกิด

ปญหาหรือไมเอื้อตอความสําเร็จของหนวยงาน เพราะผูมีอํานาจในการตัดสินใจสูงสุดอาจมิใชผูที่

มีความเชี่ยวชาญในประเด็นงานและภาระงานนั้น ขัดแยงกับการศึกษาของ สุริยา เจริญฤทธิ์กุล

(2538) ที่ศึกษาเรื่อง ผลจากการปรับเปลี่ยนโครงสรางการบริหารงานขององคการที่มีตอ

ประสิทธิภาพในการทํางานของหนวยงานรัฐวิสาหกิจ พบวา หนวยงานที่ศึกษามีการแบงหนาที่

ความรับผิดชอบและการมอบหมายอํานาจหนาที่ที่มีความชัดเจน ผูปฏิบัติงานสามารถแสดงความ

คิดเห็นและตัดสินใจในงานที่ตนปฏิบัติไดอยางเต็มที่โดยไมตองผานผูบังคับบัญชาสูงสุด

หลักความเปนวิชาชีพ

จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการบริหารแบบระบบราชการ ตาม

หลักความเปนวิชาชีพ อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.50 กลาวคือ ขาราชการและพนักงาน

สวนใหญเห็นวาเมื่อเกิดปญหาหรืออุปสรรคขึ้นในการปฏิบัติงาน ขาราชการและพนักงานสามารถ

แกไขสิ่งที่เกิดขึ้นไดเปนอยางดี โดยการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานเพื่อใหไดผลงานที่ดียิ่งขึ้น จาก

การนําความรูทางวิชาการ เทคนิคหรือเทคโนโลยีใหมๆ มาประยุกตใชในการปฏิบัติงาน

นอกจากนั้นหนวยงานยังมีการสนับสนุนใหมีการพัฒนา และการสรางความเชี่ยวชาญ โดยการจัด

อบรม เพิ่มความรูและทักษะใหแกขาราชการและพนักงาน เพื่อใหเกิดความชํานาญในงานที่ปฏิบัติ

แตในสวนของการคัดเลือกบุคลากรที่จะเขามาปฏิบัติงาน และการปฏิบัติงานทดแทนกันเพื่อให

งานสําเร็จนั้น อําเภอโพนทรายใหความสําคัญในระดับปานกลาง เนื่องจากการคัดเลือกบุคลากร

Page 71: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

63

เขามาปฏิบัติงานจะมุงเนนความรูความเชี่ยวชาญในสายงาน ที่เปนขอดีที่กอใหเกิดความชํานาญ

ในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน แตบางครั้งอาจกอใหเกิดความเสียหายตอ

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน เนื่องจากขาราชการและพนักงานไมสามารถปฏิบัติงานทดแทนกัน ซึ่ง

อาจสงผลตอระยะเวลาในการปฏิบัติงานของหนวยงานและขององคกรได ขัดแยงกับการศึกษาของ

ภานุภณ จิระอัมพร (2558) ศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการแบบระบบราชการกับความลาชาในการ

ปฏิบัติราชการกรมศุลกากร พบวาบุคลากรในหนวยงานสามารถปรับปรุงวิธีการทํางาน ดวยการ

นําความรูทางวิชาการและเทคโนโลยีมาประยุกตใชกับการปฏิบัติงาน บุคลากรสามารถแกไข

ปญหาหรืออุปสรรคในการปฏิบัติงานไดเปนอยางดี รวมถึงสามารถปฏิบัติงานทดแทนกัน

5.2.2 ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานในการศึกษาการบริหารแบบระบบราชการ ของอําเภอโพนทราย มีประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงาน ประกอบดวย 2 ดาน คือ ดานผลงานและดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน พบวา

กลุมตัวอยางมีความเห็น อยูในระดับมากทุกดาน มีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 3.51 ผูศึกษาจะทําการ

อภิปรายในแตละประเด็น โดยเรียงลําดับตามคาเฉลี่ยของแตละดานจากมากไปนอยตามลําดับ

ดังนี้

ดานผลงาน

จากการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดาน

ผลงานอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยอยูที่ 3.53 เนื่องจากอําเภอโพนทรายปฏิบัติงานโดยให

ความสําคัญกับคุณภาพของงาน ความสําเร็จที่ตรงตามระยะเวลาที่กําหนด ความถูกตองและ

แมนยําของงาน ความครบถวนสมบรูณและความเปนระเบียบเรียบรอยของงาน เพราะเปนสิ่งที่

สําคัญที่จะทําใหงานที่ออกมามีประสิทธิภาพ เชนเดียวกับดานปริมาณงาน พบวา งานที่ปฏิบัติ

ตองไดมาตรฐานตามที่กําหนดไว ขณะเดียวกันก็ตองมีความสอดคลองกับจํานวนผูปฏิบัติตาม

ตําแหนงงานนั้นจะปฏิบัติได เพื่อใหการทํางานเปนไปอยางราบรื่นและไดงานที่มีคุณภาพ

สอดคลองกับคํากลาวของ Harmon and Mayer (2015, อางถึงใน ภานุภณ จิระอัมพร, 2558)

กลาววา ประสิทธิผลขององคการจะเนนในเรื่องของการทํางานใหประสบผลสําเร็จ และงานนั้นตอง

สามารถทําใหองคการบรรลุถึงเปาหมายและวัตถุประสงคขององคการ และ Eddy (2015, อางถึง

ใน ภานุภณ จิระอัมพร, 2558) ที่กลาววา ประสิทธิผล คือ ระดับความสําเร็จของการบรรลุ

เปาหมายหรือความสําเร็จในการทําในสิ่งที่ไดตัดสินใจนั่นเอง

ดานคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน

Page 72: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

64

จากการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางมีความเห็นตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดาน

คุณลักษณะของการปฏิบัติงาน อยูในระดับมาก คาเฉลี่ยอยูที่ 3.49 โดยสวนใหญขาราชการและ

พนักงานใหความสนใจที่จะพัฒนาตนเองโดยการเพิ่มพูนความรู ความชํานาญ และประสบการณ

ในการปฏิบัติงาน มีความอุตสาหะและความรับผิดชอบในงานที่ปฏิบัติ มีความมานะ อดทน

เอาใจใสในหนาที่ กระตือรือรนในการปฏิบัติงาน อุทิศเวลาใหกับราชการและมีความ

ขยันหมั่นเพียร ความตั้งใจ เต็มใจ และความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จ

โดยคํานึงถึงเปาหมายของงานเปนหลัก มีความรับผิดชอบตอหนาที่ ไมละเลยตองาน พรอมที่จะ

รับผิดชอบตอผลที่เกิดขึ้นกับการปฏิบัติงาน มีความรู ความสามารถในการปฏิบัติงาน ทั้งความรูใน

ดานกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ที่ใชในการปฏิบัติงาน รูถึงเปาหมายของหนวยงาน มีความรูใน

หลักวิชาการเฉพาะดานและความชํานาญในงานที่ปฏิบัติ สามารถในการแกปญหาและการ

ตัดสินใจในการปฏิบัติงาน มีคุณธรรม ปฏิบัติตนตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ขอบังคับของ

ทางราชการและจรรยาบรรณของทางราชการอยางเครงครัด อยางไรก็ตาม ความสามารถในการ

ปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นยังพบคาเฉลี่ยในระดับปานกลาง สอดคลองกับคําจํากัดความของ ชัยยศ

สันติวงษ (2533: 314) ที่กลาววา ประสิทธิผล คือ การบรรลุตามวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่พึง

ปรารถนาหรือเปนไปตามที่คาดหวังไว พิจารณาจากผลของงาน โครงการหรือกิจกรรม ที่ไดรับ

เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค หรือเปาหมาย

5.2.3 การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

จากการศึกษา การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด พบวา การบริหารแบบระบบราชการมี

อิทธิพลตอการปฏิบัติงาน รอยละ 31.1 โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการปฏิบัติงานไดแก หลักความ

เปนทางการ (Beta = .246) และหลักความเปนวิชาชีพ (Beta = .400) โดยตัวแปรทั้ง 2 ดาน มี

คาสัมประสิทธิ์ความถดถอยมาตรฐาน (Beta) มีคาเปนบวก แสดงวามีความสัมพันธกับ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานเปนไปในทิศทางบวก คือ เมื่อตัวแปรพยากรณมีระดับเพิ่มมากขึ้น

ตัวแปรตามก็จะมีระดับเพิ่มขึ้นดวย ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐานที่ 4 และ 5

จากการศึกษาสามารถอภิปรายผลตัวแปรที่มีอิทธิพลในการพยากรณประสิทธิผลใน

การปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ไดดังน้ี

การบริหารแบบระบบราชการ ตามหลักความเปนทางการ มีอิทธิพลตอการปฏิบัติงาน

ของขาราชการและพนักงาน (Beta = .246) ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากอําเภอโพนทราย เปน

Page 73: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

65

องคการที่ปฏิบัติงานโดยเนนความถูกตอง และสามารถตรวจสอบได จึงใหความสําคัญอยางสูงตอ

การปฏิบัติงานตามประกาศ คําสั่ง ระเบียบปฏิบัติ และขอกฎหมาย โดยขาราชการและพนักงาน

สวนใหญของอําเภอโพนทรายใหความสําคัญกับความถูกตองของเอกสารราชการมากกวาสิ่งอื่น

ใด โดยเฉพาะการแจงขอมูลขาวสาร หรือระเบียบการปฏิบัติงานของอําเภอโพนทรายนั้น ตอง

ออกเปนหนังสือเพื่อแจงใหขาราชการและพนักงานเสมอ เพื่อใหรับรูถึงนโยบาย ระเบียบในการ

ปฏิบัติงานใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน การดําเนินงานขององคการจึงมีความนาเชื่อถือ

ขณะเดียวกันก็สามารถลดความเขาใจที่คลาดเคลื่อนในการสื่อสาร รวมถึงขอโตแยงในการ

ปฏิบัติงาน ทายที่สุดก็ยอมสงผลตอการปฏิบัติงานมีความครบถวน ถูกตอง แมนยํา เปนไปใน

ทิศทางที่กําหนดทั้งปริมาณ และคุณภาพ สอดคลองกับการศึกษาของ อดิเรก คิดธรรมรักษา

(2557) พบวา กรมสอบสวนคดีพิเศษ มีลักษณะของวัฒนธรรมแบบราชการสูง มุงเนนการสั่งการ

เปนลายลักษณอักษรอยางเครงครัด เพื่อใหการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ไมเกิดความเสี่ยงตอการ

ถูกดําเนินคดีทางกฎหมายและมีประสิทธิภาพ และชนภัทร สุขสวัสดิ์ (2557) ชวิน แสงพาณิชย

(2551) ที่ตางพบวา การเคารพกฎระเบียบในการทํางาน การกําหนดรายละเอียดของงานใหมี

ความยืดหยุนตามสถานการณนั้น สงผลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ดานหลักความเปนวิชาชีพ พบวา การบริหารแบบระบบราชการหลักความเปนวิชาชีพมี

อิทธิพลตอการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน (Beta = .400) อันเปนผลสืบเนื่องมาจาก

อําเภอโพนทรายมีขาราชการและพนักงานที่มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานสูง สามารถ

ปรับปรุงวิธีการทํางาน ดวยการนําความรูทางวิชาการและเทคโนโลยีมาประยุกตใชกับการ

ปฏิบัติงาน รูจักการแกไขปญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นในระหวางการปฏิบัติหนาที่ นอกจากนี้

อําเภอโพนทรายยังมีการจัดอบรมเพื่อเพิ่มความรูความสามารถใหแกขาราชการและพนักงาน โดย

มีการสงไปเรียนรูการปฏิบัติงานตามโครงการตางๆ มีการคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู

ความสามารถตรงตามตําแหนงงาน เพื่อให ได เจาหนาที่ที่มีคุณภาพ มีคุณสมบัติและ

ความสามารถตรงตามที่ตองการ การปฏิบัติงานเปนไปอยางราบรื่น มีประสิทธิภาพ สรางความ

นาเชื่อถือใหกับหนวยงาน สอดคลองกับ วัชราภรณ ชํานาญพูด (2545) ที่พบวาเจาหนาที่ที่มี

ความรูความเขาใจในการปฏิบัติงานตามหนาที่ของตนที่ดี จะทําใหประสิทธิผลในการทํางานดี แต

ขัดแยงกับการศึกษาของ จันจิรา ขันทะสอน (2557) ที่ศึกษาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของ

ขาราชการตํารวจ กองกํากับการตอตานการกอการราย (อรินทราช 26) กองบัญชาการตํารวจ

นครบาล พบวา แมหนวยงานจะมีการคัดเลือกผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมตามมาตรฐานของ

Page 74: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

66

องคการแลวก็ตาม ยังไมสามารถเปนหลักประกันไดวาผูที่ไดรับคัดเลือกนั้นจะสามารถปฏิบัติ

หนาที่ไดบรรลุวัตถุประสงคขององคการ

อยางไรก็ตาม ในการวิเคราะหการบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานครั้งนี้ พบวามี 3 ตัวแปรที่ไมสามารถนํามาพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทราย คือ ลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา การรวมศูนย

อํานาจ และการแบงงานกันทํา นั่นเปนเพราะการบริหารแบบระบบราชการโดยทั่วไป มีลําดับชั้น

สายการบังคับบัญชา การรวมศูนยอํานาจ และการแบงงานกันทํา เพื่อใหรูวาการปฏิบัติงานใน

หนวยงานจําเปนตองมีการควบคุม การสั่งการ การปฏิบัติตามกฎระเบียบ และหนาที่ที่ตอง

รับผิดชอบอยางชัดเจน การปฏิบัติงานเปนไปอยางมีระบบ และสามารถควบคุมได ถึงแมวาการ

ปฏิบัติตามขั้นตอนตางๆ อาจทําใหเกิดความลาชาในการปฏิบัติงาน แตก็สงผลทําใหเกิดความ

เชื่อมั่นในการปฏิบัติงานวาเปนไปตามมาตรฐานเดียวกัน และจึงเปนเหตุใหไมมีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน แตกตางจากการศึกษาของ วิฑูรย สรรเสริญ (2551) และโสฬส

ประยูรพิทักษ (2552) ที่พบวา การมีสายการบังคับบัญชาหลายชั้นสงผลใหขาดความคลองตัวใน

การบริหารจัดการ มีการเสนองานตามลําดับชั้นการบังคับบัญชาที่มาก ทําใหการตัดสินใจและการ

สั่งการภายในหนวยงานมีความลาชา เชนเดียวกับ สุริยา เจริญฤทธิ์กุล (2538) ที่พบวา การแบง

หนาที่ความรับผิดชอบและการมอบหมายอํานาจหนาที่ที่มีความชัดเจน จะสงผลดีตอการ

ดําเนินงานของหนวยงาน

5.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษาจากการศึกษา ผูศึกษามีขอเสนอแนะดังนี้

สวนที่ 1 การบริหารแบบระบบราชการ

หลักความเปนทางการและหลักความเปนวิชาชีพ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน ดังนั้น อําเภอโพนทรายควรปฏิบัติดังนี้

1. หลักความเปนทางการ

หลักความเปนทางการเปนปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน โดยอําเภอ

โพนทรายมีการบริหารงานโดยยึดหลักความเปนทางการ แตทั้งนี้ในการบริการประชาชนในกรณี

เรงดวน ขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทรายควรใชดุลพินิจสวนบุคคลในการตัดสินใจในการ

ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น เพื่อใหเกิดความรวดเร็ว สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนและ

สรางความพึงพอใจในการบริการสาธารณะ

Page 75: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

67

2. หลักความเปนวิชาชีพ

หลักความเปนวิชาชีพ เปนอีกปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน เนื่องจาก

ขาราชการและพนักงานมีความรูความสามารถในการปฏิบัติงาน สามารถแกไขปญหาและ

อุปสรรคที่เกิดขึ้นไดเปนอยางดี แตอําเภอโพนทรายควรสนับสนุนใหมีการอบรมใหความรูแก

ขาราชการและพนักงานในทุกๆ สวนงาน เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานทดแทนกันได

ในสวนของหลักการแบงงานกันทํา หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา และ

หลักการรวมศูนยอํานาจ แมไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและ

พนักงาน แตอําเภอโพนทรายสามารถปรับปรุงวิธีการดําเนินงานเพื่อกอใหเกิดประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงาน ดังนี้

3. หลักการแบงงานกันทํา

พบวา อําเภอโพนทรายมีปริมาณงานกับกําลังคนไมสอดคลองกัน ดังนั้น อําเภอ

โพนทรายจึงควรเพิ่มกําลังคนในแตละหนวยงานเพื่อรองรับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น หรืองานที่มีความ

เรงดวน รวมถึงเพื่อการติดตอประสานงานระหวางหนวยงาน

4. หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา

แมอําเภอโพนทรายใหความสําคัญตอการควบคุม การสั่งการ และการปฏิบัติตามสาย

การบังคับบัญชานั้นถือเปนเรื่องที่ดี แตในสวนของการบริการประชาชนอําเภอโพนทรายควร

คํานึงถึงความตองการของประชาชนเปนหลัก มากกวาการปฏิบัติตามคําสั่งเพราะอาจทําใหการ

บริการเกิดความลาชาและไมทันตอการแกไขปญหาของประชาชน

5. หลักการรวมศูนยอํานาจ

การสงเสริมใหผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชาระดับตางๆ เขาใจถึงวัตถุประสงค

ของการปฏิบัติงานที่แทจริง เพื่อเปนการเปดโอกาสใหแกขาราชการและพนักงานไดมีสวนรวมใน

การตัดสินใจในการปฏิบัติงานตางๆ ใหมีโอกาสแสดงความคิดเห็น เพื่อเปนการกระจายอํานาจลง

สูผูปฏิบัติงาน

สวนที่ 2 ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

จากการศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของอําเภอโพนทราย พบวา ขาราชการและ

พนักงานมีผลการปฏิบัติงานที่มุงเนนดานผลงาน มากกวาดานคุณลักษณะในการปฏิบัติงาน

ดังนั้น ขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทรายควรเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดาน

คุณลักษณะในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะความสามารถในการปฏิบัติงานรวมกับผูอื่น โดย

ที่ผูบริหารจะตองใหความสําคัญกับการปฏิบัติงานรวมกันของผู ใตบังคับบัญชา รวมถึง

Page 76: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

68

ควบคุมดูแลใหผูใตบังคับบัญชาสามารถปฏิบัติงานรวมกันได เพื่อใหการปฏิบัติงานไปเปนอยาง

ราบรื่นและเกิดประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

5.4 ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้งตอไปเพื่อใหการศึกษามีความสมบรูณมากยิ่งขึ้น

1. ควรขยายฐานการศึกษาอิทธิพลของการบริหารแบบระบบราชการที่สงผลตอ

ประสิทธิผลในการปฏิบัติของขาราชการและพนักงานของอําเภอโพนทราย ไปยังหนวยงานราชการ

อื่น เชน ขาราชการตํารวจ ทหาร และขาราชการพลเรือนอื่นๆ รวมถึงหนวยงานรัฐวิสาหกิจ เพื่อ

ศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน

2. ในการศึกษานี้ ไดกําหนดขอบเขตของการศึกษาที่เจาะจงเฉพาะตัวแปรภายใน

หนวยงานทําใหเกิดการมองเพียงดานเดียว หากสามารถขยายขอบเขตของการศึกษาออกไปใน

แงมุมอื่น โดยการกําหนดใหประชากรที่ศึกษาเปนบุคคลภายนอกหนวยงาน เชน ประชาชน หรือ

หนวยงานภายนอก หรือภาคเอกชนที่ เกี่ยวของกับงานของอําเภอโพนทราย อาจทําให

ผลการศึกษามีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น

Page 77: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

69

บรรณานุกรม

จันจิรา ขันทะสอน. “ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจกองกํากับการตอตานการ

กอการราย (อรินทราช 26) กองบัญชาการตํารวจนครบาล”. สารนิพนธหลักสูตร

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

ชนภัทร สุขสวัสดิ์. “ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานปองกันและปราบปรามอาชญากรรมของสถานี

ตํารวจนครบาลคันนายาว”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

ชวิน แสงพานิชย. “ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการสอบสวนของตํารวจ: กรณีศึกษาสถานี

ตํ ารวจในสั งกัด กองบั งคับการตํ ารวจนครบาล 1 สํ านั กงานตํารวจแห งชาติ

กรุ ง เทพมหานคร . ” ส า รนิ พ น ธ ห ลั ก สู ต ร รั ฐ ป ร ะ ศ า ส น ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2551.

ชัยอนันต สมุทวณิช. 100 ป แหงการปฏิรูประบบราชการ: วิวัฒนาการของอํานาจรัฐและอํานาจ

การเมือง. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สถาบันนโยบายศึกษา, 2541.

ทวี เจริญ .“ประสิทธิภาพการใหบริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ: ศึกษาเฉพาะกรณี สํานักงานเขต

ราชเทวี กรุงเทพมหานคร.” สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2545.

ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน. “การปฏิรูประบบราชการไทย” ใน รวมบทความวิชาการ “การบริหาร”

(ปรับปรุงเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2550.

เทพศักดิ์ บุณยรัตนพันธ. “ปจจัยที่สงผลตอการสรางประสิทธิผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติ:

กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธพัฒนบริหารศาสตรดุษฏีบัณฑิต สาขา

บริหารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2536.

ธนงค เพชรทอง . “ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครตํารวจบาน กรณีศึกษาชุมชน

พหลโยธิน 66 เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร

มหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

ธีระชัย ทรัพยสําเริง. “วัฒนธรรมองคการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติหนาที่ : กรณีศึกษา

หนวยปฏิบัติการพิเศษ อรินทราช 26”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร

มหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2552.

Page 78: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

70

นิติบดี ศุขเจริญ และวัยวุฑฒ อยูในศิล . “การวิเคราะหอภิมาน และการสังเคราะหอภิมาน” .

ปริญญาเอก สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ, 2557.

นิสดารก เวชยานนท. Competency-Based Approach. นนทบุร:ี เดอะ กราฟโก ซิสเต็มส, 2556.บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน, 2553.

พิทยา บวรวัฒนา. ระบบราชการ (BUREAUCRACY). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2556.

พยอม วงศสารศรี. องคการและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: สุภาการพิมพ, 2542.

เพ็ญศิริ อภัยทาน.“การปฏิบัติงานของหมวดทหารสารวัตรหญิง กองพันทหารสารวัตรที่ 11” .

สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย

เกริก, 2553.

ภานุภณ จิระอัมพร.“การบริหารจัดการแบบระบบราชการกับความลาชาในการปฏิบัติราชการ

กรมศุลกากร”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริก, 2558.

รุง แกวแดง. รีเอ็นจิเนียริ่ง ระบบราชการไทย. กรุงเทพมหานคร: มติชน, 2538.

วิจิตร อยูสุภาพ.“การจัดองคการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารงาน ศึกษากรณี:

สํานักงานประชาสัมพันธและการขาว )สปข ( .กรมอัยการ” . สารนิพนธปริญญา

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2534.

วิฑูรย สรรเสริญ. “โครงสรางองคการกับการพัฒนาดานการใหบริการ: ศึกษากรณีการรถไฟ

แ ห ง ป ร ะ เ ทศ ไ ท ย ” . ส า ร นิ พ นธ ห ลั กสู ต ร รั ฐ ป ร ะ ศ า ส นศ า ส ต รม ห า บั ณ ฑิ ต

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2551.

วิจิตร ศรีสอาน. เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและระบบบริหารการศึกษาหนวยที่ 1-5. นนทบุรี:

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2523.

วัชราภรณ ชํานาญพูด .“การพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ กองตรวจ

คนเขาเมือง ทาอากาศยานกรุงเทพ.” สารนิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารองคการ มหาวิทยาลัยเกริก, 2545.

วิเชียร จันทะเนตร. “วัฒนธรรมองคการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลในเขต

ปริมณฑล.” สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริก, 2558.

Page 79: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

71

ศิริชัย กาญจนวาสี, ทวีวัฒน ปตยานนท และดิเรก ศรีสุขโข. การเลือกใชสถิติที่เหมาะสมสําหรับ

การวิจัย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บุญศิริการพิมพ, 2544.

สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. ปฏิบัติการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: มาฉลองคุณ-ซีเอสบี, 2548.

สุพจน แกววิมล. แนวความคิดของแมกซ เวเบอร กับระบบราชการไทย (Max Weber Concept in

Thai Bureaucracy). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกริก, 2531.

สุดารัตน พงศอัมพรไกวัล. “การตัดสินใจยอมรับการปฏิรูประบบราชการ: กรณีศึกษาสํานักงานปลัด

สํานักนายกรัฐมนตรี”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะ

ศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2546.

สุริยา เจริญฤทธิ์กุล .“ผลจากการปรับเปลี่ยนโครงสรางการบริหารงานที่มีตอประสิทธิภาพในการ

ทํางานของรัฐวิสาหกิจ: ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการนํารองเขตโทรศัพทภูมิภาคที่ 1

องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย.” วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชานโยบายและการวางแผนสังคม มหาวิทยาลัยเกริก, 2538.

สุวิมล ติระกานันท. การวิเคราะหตัวแปรพหุในงานวิจัยทางสังคมศาสตร . กรุงเทพมหานคร:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2553.

โสฬส ประยูรพิทักษ. “ปญหาในการนํานโยบายปองกันและปราบปรามจราจลไปปฏิบัติของกอง

กํากับการ 2 กองบังคับการตํารวจปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตํารวจนครบาล”.

สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย

เกริก, 2552.

อดิเรก คิดธรรมรักษา .“วัฒนธรรมองคการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการ กรม

สอ บสว นคดีพิ เศษ .” สารนิพ นธหลั กสู ตรรั ฐประศา สนศา สตรมหาบัณฑิ ต

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

อติสันติ์ ภูวพิพัฒนวงศ .“การประเมินประสิทธิผลองคการแบบองครวม: ศึกษากรณีกรม

ศุลกากร”. ดุษฎีนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริก, 2553.

อุดม ทุมโฆสิต. การจัดการ. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิต

พัฒนบริหารศาสตร, 2544.

อุษณี มงคลพิทักษสุข. “ผูนําเปลี่ยนสภาพของนายกองคการบริหารสวนตําบลกับประสิทธิผลของ

องคการ”. วิทยาพนธหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลับพูรพา, 2551.

Page 80: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

72

Bennis, W. “The Coming Death of Bureaucracy.” Think (November-December 1966).

Bozeman, B. “A Theory of Government Red Tape”. Journal of Public Administration

Research and Theory. (1993).

Crozier, M. The Bureaucratic Phenomenon. สืบคนขอมูลเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2559. เขาถึงได

จาก http://acawiki.org/ The_bureaucratic_phenomenon.

Downs, A. Inside Bureaucracy. Santa Monica, USA: Real Estate Research Corporation,

1964.

Gibson, J. L., Ivancevich, J. M., & Donnelly, J. H. Organizations: Behavior, Structure,

Processes. 10th ed. Boston: McGraw-Hill, 2000.

Gerth, H., & Mills, W. Essays in Sociology: Max Weber. New York: Oxford University Press,

1946.

Gouldner, A. The Problem of Succession in Bureaucracy. Studies in Leadership, ed. A.

Gouldner. New York: Harper, 1954.

Gouldner, A. “Patterns of Industrial Bureaucracy”. American Sociological Review. (1955).

Marx, F. The Administrative State: An Introduction to Bureaucracy. Chicago: The

University of Chicago. Press, 1957.

Mathis, R.L. and Jackson, J.H. Human Resource Management. Tenth Edition

International Student Edition. South – Western: Thomson, 2004.

Merton, R. “Bureaucratic Structure and Personality”. Social Forces 18, 3 (1940): 560-

568.

Weber, M. The Theory of Social and Economic Organizations. Translated by A.M.

Handerson and T. Parsons. New York: Free Press, 1947.

Steer, R.M. Organizational Effectiveness: A Behavioral View. Santa Monica, Calif.:

Goodyear Publishing Company, Inc., 1977.

Weber, M. (1947). The Theory of Social and Economic Organizations. Translated by

A.M. Handerson and T. Parsons. New York: Free Press, 1947.

Page 81: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

ภาคผนวก

Page 82: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

74

แบบสอบถามเรื่อง การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ

ขาราชการและพนักงานอําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

คําชี้แจงแบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการบริหารแบบราชาการกับประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานของขาราชการและพนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด ซึ่งเปนการศึกษาเพื่อ

ประกอบการศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก ซึ่งไมมีผลกระทบ

ใดๆ ตอผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น ดังนั้น ผูศึกษาจึงของความอนุเคราะหจากทานในการตอบ

แบบสอบถามใหตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด และขอความกรุณาตอบคําถามใหครบทุก

ขอ เพื่อประโยชนในการนําไปวิเคราะหขอมูลตอไป

แบบสอบถามนี้ประกอบดวยขอคําถาม 3 ตอน คือ

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารแบบระบบราชการ

ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการและ

พนักงาน อําเภอโพนทราย จังหวัดรอยเอ็ด

Page 83: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

75

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง กรุณาตอบแบบสอบถามโดยทําเครื่องหมาย ลงใน ( ) ตามขอมูลที่เปนจริง

1. เพศ

1( ) ชาย 2( ) หญิง

2. อายุตัว

1( ) ต่ํากวา 30 ป 2( ) 30-40 ป

3( ) 41-50 ป 4( ) 51-60 ป

3. อายุราชการ

1( ) 1-5 ป 2( ) 6-10 ป

3( ) 11-15 ป 4( ) 16 ปขึ้นไป

4. ระดับการศึกษา

1( ) ต่ํากวาปริญญาตรี 2( ) ปริญญาตรี

3( ) ปริญญาโท 4( ) ปริญญาเอก

5. สถานภาพ

1( ) โสด 2( ) สมรส

3( ) หมาย 4( ) หยาราง/แยกกันอยู

6. รายไดตอเดือน

1( ) ต่ํากวา 15,000 บาท 2( ) 15,001-20,000 บาท

3( ) 20,001-25,000 บาท 4( ) 25,001 บาทขึ้นไป

Page 84: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

76

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารแบบระบบราชการคําชี้แจง โปรดแสดงความคิดเห็น โดยทําเครื่อง ลงในชองวางที่ตรงกับความคิดเห็นของทาน

มากที่สุดเพียงคําตอบเดียว

ระดับความคิดเห็นการบริหารแบบระบบราชการ (5)

มากที่สุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยที่สุด

1. หลักลําดับชั้นและสายการบังคับบัญชา1 หนวยงานของทานใหความสําคัญตอ

การควบคุมสั่งการ และการปฏิบัติตาม

สายการบังคับบัญชาเหนือสิ่งอื่นใด

2 หนวยงานของทานมีจํานวนชั้นของการ

บังคับบัญชาที่เหมาะสม

3 ผู บั ง คั บ บั ญ ช า ส า ม า ร ถ ถ า ย ทอ ด

นโยบาย/การสั่งการตางๆ ลงสู

ผูปฏิบัติแตละระดับไดอยางชัดเจน

ถูกตอง

4 การปฏิบัติงานตามสายการบังคับ

บัญชาอยางเครงครัด ทําใหการทํางาน

มีเสถียรภาพ

5 หนวยงานยึดการปฏิบัติงานตามสาย

การบังคับบัญชาเพื่อใหงานบรรลุ

วัตถุประสงค มากกวามุงเนนการ

สรางสรรคนวัตกรรมใหม

Page 85: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

77

ระดับความคิดเห็นการบริหารแบบระบบราชการ (5)

มากที่สุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยที่สุด

2. หลักการรวมศูนยอํานาจ1 การตัดสินใจที่สําคัญเกี่ยวกับการ

ดําเนินการตางๆ ในหนวยงานตองไดรับ

ความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาทุก

ระดับเสมอ

2 นโยบายหรือขอปฏิบัติที่กําหนดโดย

สวนกลางเหมาะสมกับสถานการณ

ขอจํากัด และเงื่อนไขในการทํางานของ

หนวยงานแลว

3 การพิจารณาความดีความชอบของ

เจาหนาที่ไมขึ้นกับผลปฏิบัติงาน

4 หนวยงานของทานมีอํานาจการตัดสินใจ

ในภาระงานที่รับผิดชอบ

อยางเบ็ดเสร็จและเด็ดขาด

5 เจาหนาที่ไมคอยมีสวนรวมในการ

ตัดสินใจเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ

3. หลักการแบงงานกันทํา1 การจัดแบงหนวยงานยอย เชน สวนหรือ

ฝาย เปนไปอยางชัดเจนตามภาระงานที่

รับผิดชอบ

2 ในหนวยงานมีการกําหนดอํานาจหนาที่

ของบุคคลอยางชัดเจนเพื่อไมใหมีการ

ทํางานซ้ําซอนกัน

3 ภารกิจที่หนวยงานมอบหมายใหมีความ

เหมาะสมกับความรูความสามารถของ

เจาหนาที่แตละคน

Page 86: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

78

ระดับความคิดเห็นการบริหารแบบระบบราชการ (5)

มากที่สุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยที่สุด

4 กําลังคนในหนวยงานของทานเพียงพอตอ

ปริมาณงานที่รับผิดชอบ

5 แมจะมีหนวยงานยอยหลายหนวยงาน

แตการติดตอประสานงานระหวาง

หนวยงานก็เปนไปอยางราบรื่น

4. หลักความเปนทางการ1 หนวยงานของทานใหความสําคัญอยาง

สูงตอการปฏิบัติตามประกาศ คําสั่ง

ระเบียบปฏิบัติ และขอกฎหมาย

2 การติดตอประสานงานภายในและ

ระหวางหนวยงานตองใชหนังสือเอกสาร

ราชการที่เปนลายลักษณอักษรทุกครั้ง

3 หนวยงานมุงเนนการใชหนังสือ ประกาศ

คําสั่งตางๆ เพื่อเสถียรภาพการทํางานที่ดี

แมจะทําใหการดําเนินงานขาดความ

คลองตัวไปบางก็ตาม

4 เจาหนาที่ในหนวยงานของทาน ถูกทําให

รับรูวาความถูกตองของเอกสารราชการ มี

ความสําคัญมากกวาวัตถุประสงคของ

งาน

5 หนวยงานของทานไมเคยปฏิบัติภารกิจ

โดยพลการ จนกวาจะไดรับการสั่งการที่

เปนลายลักษณอักษรแลวเทานั้น

Page 87: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

79

ระดับความคิดเห็นการบริหารแบบระบบราชการ (5)

มากที่สุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยที่สุด

5. หลักความเปนวิชาชีพ1 เจาหนาที่ในหนวยงานของทานสามารถ

ปรับปรุงวิธีการทํางาน เพื่อใหไดผลงานที่ดี

ยิ่งขึ้น โดยนําความรูทางวิชาการ เทคนิค

หรือเทคโนโลยีใหมๆ มาประยุกตใชกับการ

ปฏิบัติงาน

2 เมื่อเกิดปญหาหรืออุปสรรคในการปฏิบัติ

หนาที่ราชการ เจาหนาที่สามารถแกไข

ปญหานั้นไดเปนอยางดี

3 หนวยงานของทานสนับสนุนใหเกิด

บรรยากาศแหงการพัฒนาความเชี่ยวชาญ

เชน มีการจัดสรรทรัพยากรที่เอื้อตอการ

พัฒนา จัดใหมีการอบรม แลกเปลี่ยน

ความรูในเรื่องที่เกี่ยวกับเนื้องานที่ทํา

เปนตน

4 หนวยงานของทานมีการคัดเลือกบุคลากร

เขาประจําตําแหนงโดยพิจารณาจาก

ขีดความรูความสามารถที่เหมาะสมกับ

ภารกิจหนวยงาน

5 เจาหนาที่ในหนวยงานของทานสามารถ

ปฏิบัติงานทดแทนกัน เพื่อใหงานที่ไดรับ

มอบหมายสําเร็จ

Page 88: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

80

ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานคําชี้แจง โปรดแสดงความคิดเห็น โดยทําเครื่อง ลงในชองวางที่ตรงกับความคิดเห็นของทาน

มากที่สุดเพียงคําตอบเดียว

ระดับความคิดเห็นประสิทธิผลการปฏิบัติงาน (5)

มากที่สุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยที่สุด

1 ความรูที่ใชในการปฏิบัติหนาที่: พิจารณาจากความรูในดานกฎหมาย

ระเบียบ ขอบังคับ ที่ใชในการปฏิบัติงาน

มีมากนอยเพียงใด

: ความเขาใจในการปฏิบัติงานและ

เปาหมายของหนวยงานที่ทาน

ปฏิบัติงาน

: ความรูในหลักวิชาการเฉพาะดานและ

ความชํานาญในงานที่ทานปฏิบัติ

2 ความสามารถในการปฏิบัติงาน: พิจารณาความสามารถในการเรียนรู

และปฏิบัติงานใหดีขึ้นมากนอยเพียงใด

: ความสนใจที่จะนําความรู ไป

ปฏิบัติงานที่เพิ่มขึ้นและมีภาระความ

รับผิดชอบที่สูงขึ้นไดมากนอยเพียงใด

: ความสามารถในการแกปญหาและ

การตัดสินใจในการปฏิบัติงาน

3 ปริมาณงาน: พิจารณาจกความมากนอยของงาน ที่

ทําไดสําเร็จโดยเปรียบเทียบกับ

มาตรฐานหรือปริมาณงานโดยเฉลี่ยที่

ผูปฏิบัติงานในตําแหนงที่ปฏิบัติงานได

Page 89: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

81

ระดับความคิดเห็นประสิทธิผลการปฏิบัติงาน (5)

มากที่สุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยที่สุด

4 คุณภาพงาน: พิจารณาจากความสามารถในการ

ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย โดย

คํานึงถึง

- ความสําเร็จตามเวลาที่กําหนด

- ความถูกตองและแมนนําของงาน

- ความครบถวนสมบรูณของงาน

- ความเปนระเบียบเรียบรอยของงาน

5 ความอุตสาหะ: พิจารณาจากความมานะ อดทน เอา

ใจใสในหนาที่การงานที่ปฏิบัติ

กระตือรือรนในการปฏิบัติงาน อุทิศ

เวลาใหกับราชการและมีความ

ขยันหมั่นเพียร

6 ความรับผิดชอบ: พิจารณาจากความตั้งใจ เต็มใจ และ

ความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงานตามที่ไดรับ

มอบหมายใหสําเร็จ โดยคํานึงถึง

เปาหมายของงานเปนหลัก มีความ

รับผิดชอบตอหนาที่ ไมละเลยตองาน

และพรอมที่จะรับผิดชอบตอผลที่เกิด

ขึ้นกับการปฏิบัติงาน

Page 90: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

82

ระดับความคิดเห็นประสิทธิผลการปฏิบัติงาน (5)

มากที่สุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยที่สุด

7 ความสามารถในการปฏิบัติงานรวมกับผูอื่น: พิจารณาจากความสามารถในการ

ปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นอยางมี

ประสิทธิภาพรับฟงความคิดเห็นของ

ผูอื่น ยอมรับในความสามารถของ

ผูรวมงาน มีความสัมพันธอันดีกับ

ประชาชนผูมาติดตอ และเต็มใจที่จะ

ชวยเหลือผูอื่นอยูเสมอ

8 ความสนใจที่จะพัฒนาตนเอง: พิจารณาจากการเพิ่มพูนความรู ความ

ชํานาญ และประสบการณในการ

ปฏิบัติงาน

9 คุณธรรม: พิจารณาจากอุปนิสัย บุคลิกลักษณะ

แสดงออกทั้งตอหนาและลับหลัง

: พิจารณาจากความเอื้อเฟอตอบุคคล

อื่น มีความเมตตากรุณาซื่อสัตยสุจริต

ประพฤติตนใหอยูในศีลธรรม

ขนบธรรมเนียมประเพณีและมีจริยธรรม

10 การปฏิบัติตนตามกรอบของจรรยาบรรณและการรักษาวินัย: พิจารณาจากการปฏิบัติตนตาม

กฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ขอบังคับ

ของทางราชการและจรรยาบรรณของ

ทางราชการอยางเครงครัด

Page 91: การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ …mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Wichan_

83

ประวัติผูศึกษา

ชื่อ-นามสกุล นายวิชาญ สัดชํา

วัน / เดือน / ปเกิด 29 มกราคม 2534

สถานที่เกิด จังหวัดรอยเอ็ด

ที่อยูปจจุบัน 259 เกษมสําราญ หอง 1042 ซอยปรีดีพนมยงค 25

ถนนสุขุมวิท 71 เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2557 ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร สาขาการปกครองทองถิ่น

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา จังหวัดศรีสะเกษ