พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ...

253
พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553 โดย นายจําลอง พรมสวัสดิดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2554

Upload: others

Post on 27-Nov-2019

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

โดย

นายจําลอง พรมสวัสดิ์

ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง)

วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริกพ.ศ. 2554

Page 2: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

โดย

นายจําลอง พรมสวัสดิ์

ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง)

วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริกพ.ศ. 2554

Page 3: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

The Political Behaviors of the Middle Class in Bangkok Metropolitan and Vicinities and Thai Politics in the Democratic System

during the Year 2008–2010

By

Mr. Chamlong Promsawad

A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirementsfor the Degree of Doctor of Philosophy Program in Political Communication

Political Communication College Krirk University 2011

Page 4: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(1)

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยเรื่องพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551 -2553

มีวัตถุประสงค (1) เพื่อศึกษาบริบททางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจที่มีผลตอพฤติกรรม

ทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

(2) เพื่อสํารวจความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยและ

ผลของความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่มีตอการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทย โดยใชการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methodology) ระหวางการวิจัย

เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)

ในการวิจัยเชิงคุณภาพผูวิจัยใชการสัมภาษณเจาะลึก (In-depth Interview) กับกลุม

ผูใหขอมูลหลัก (Key-Informants) ประกอบการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของโดยผูวิจัยใชวิธีการ

วิเคราะหเชิงเนื้อหา (Content Analysis) และวิธีการวิเคราะหเชิงอุปนัย (Inductive Analysis)

สวนการวิจัยเชิงปริมาณ ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามกับชนชั้นกลาง

ซึ่งเปนกลุมขาราชการประจําและนักการเมืองกลุมนักธุรกิจ ขนาดกลาง ใหญ และขนาดเล็ก

กลุมวิชาชีพนักวิชาการ กลุมนิสิตนักศึกษา ปญญาชนหรือนักวิชาการ ที่มีทะเบียนบานในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล อาชีพ รายได และการศึกษาเปนเกณฑตัดสินในเขต

กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลจํานวน 1,000 ชุด โดยผูวิจัยใชการวิเคราะหขอมูลทั่วไปใช

คาความถี่, คารอยละ, คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สําหรับการวิเคราะห

ความคิดเห็นของชนชั้นกลาง

ผลการศึกษาพบวา

1. บริบททางการเมืองมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553 มาก ทั้งนี้เนื่องจากบริบททาง

การเมืองอันไดแกรัฐธรรมนูญฉบับ พุทธศักราช 2550 ที่ใหประชาชนเขาไปมีบทบาทสําคัญเปน

ผูเลนไมใชผูดูตามแนวคิดของการเมืองแนวใหมหรือการเมืองภาคประชาชนประกอบกับชนชั้น

กลางในชวงที่ทําการศึกษามีความกระตือรือรนและมีจิตสํานึกทางการเมืองมาก ขณะเดียวกัน

ไมตองการเห็นรัฐบาลมีพฤติกรรมการคอรัปชั่นเชิงนโยบายและการขัดกันของผลประโยชนอยาง

กวางขวาง

2. บริบททางสังคมมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช2551 -2253 คอนขางมากเนื่องจากบริบท

Page 5: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(2)

สังคมไทยระยะหลังสังคมพหุนิยม และพหุวัฒนธรรมเปนสังคมขาวสารขอมูลทําใหชนชั้นกลาง

สนใจติดตามขาวสารทางการเมืองและมีการรวมกลุมเปนแนวรวมกับกลุมการเมืองอื่น ๆ เปนตน

3. บริบททางเศรษฐกิจมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลคอนขางนอย เพราะตัวแบบของ Lipset ที่นํามาเปนกรอบแนวคิด

ในการวิจัยใชไมไดกับประเทศในเอเชียรวมทั้งไทย

4. การสํารวจความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยและผลของความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่มีตอการเมือง

ในระบอบประชาธิปไตยของไทยพบวา ชนชั้นกลางสวนใหญมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการเมือง

ในระบอบประชาธิปไตยของไทยในภาพรวมมีคาเฉลี่ยรวมมาก ( = 4.09) แสดงใหเห็นวาชนชั้น

กลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีความรูความเขาใจในการเมืองระบอบประชาธิปไตย

เปนอยางดีทั้งความรูทางดานบวกและทางดานลบเปนผลของความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทาง

การเมืองของชนชั้นกลางที่มีตอการเมืองไทยพบวาคาเฉลี่ย ( ) เกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมือง

ชนชั้นกลางทั้ง 4 ดานมีคาเฉลี่ยในภาพรวมมาก ( = 4.06) การที่ผลปรากฏเชนนี้เนื่องมาจาก

รัฐธรรมนูญป 2550 ที่ใหความสําคัญกับการเมืองแนวใหมหรือการเมืองภาคประชาชนหรือ

ประชาธิปไตยทางเลือกมากกวาประชาธิปไตยตัวแทนที่มีขอจํากัด

Page 6: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(3)

Abstract

This is a study concerning the relationship between politics and the

behavior of the middle class within the vicinity of Bangkok and Thonburi from B.E. 2551

to 2553. The aim of this study is to determine the effects of politics, the economy and the

society that had altered the Thai middle class’s political behavior and to investigate their

opinions concerning their role in Thailand’s democracy. Such a study would be done by

the means of a mixed methodology, qualitative research and quantitative research.

Qualitative research will be carried out by in-depth interviews with key

informants. The raw data from the interviews will be subjected to content and inductive

analysis.

In terms of quantitative research, information will be acquired via surveys

from multiple groups of people including government officials, politicians, businessmen,

students and intellectuals within the area of Bangkok and Thonburi. One thousand sets

of questionnaires will be distributed among these groups with occupation, income and

education as criteria for the selection of these candidates utilizing the mean, median,

mode and S.D. values which will be further used to draw a conclusion on these data.

The outcomes of the research are as follows:

1. The political context quo during the years 2551 to 2553 is one of the

major catalysts that had spurred the middle class’s involvement in politics. Pivotal

political events such as the drafting the 2550 constitution, which allowed the people to

take part in, radically changed the role of the middle class from spectators to activists.

In the process of the research, it should be noted that the middle class had expressed

their enthusiasm and their concern in politics for they do not want to see another

corruption clad episode of Thai politics.

2. The societal context had also played an important role in the middle

class’s political behavior. As a rather collective, pluralist society, news of political

activities could be diffused at ease via the media, sparking political interests in groups

of people.

Page 7: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(4)

3. Despite how important the economic context may seem, it had little effect

on the people’s view of politics because Lipset’s model is not applicable to Asian

nations, including Thailand.

4. According to the opinion of the middle class, it is apparent that they are

educated and aware of the positive and negative aspects of the country’s democracy,

proven by the average of ( = 4.09). The average ( = 4.06) of the 4 types of middle

class’s understanding in politics resulted from the effects of the constitution of 2550,

which emphasizes the creation of a civil society or an alternative of democracy which

yielded more flexibility than that of the limited representative democracy.

Page 8: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(5)

กิตติกรรมประกาศ

ดุษฎีนิพนธฉบับนี้สําเร็จไดดวยความอนุเคราะหของ รองศาสตราจารย ดร.จุมพล

หนิมพานิช อาจารยที่ปรึกษา ที่ไดใหความกรุณาสละเวลารับเปนอาจารยที่ปรึกษางานวิจัยเฉพาะ

เรื่องนี้ ซึ่งทานไดใหคําปรึกษา คําแนะนําในประเด็นตาง ๆ และชี้ถึงแนวทางในการแกปญหา

อันเปนประโยชนในการวิเคราะหและสรุปผลการศึกษา รวมถึงความกรุณาในการแกไขของ

งานวิจัยเลมนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งการติดตามเอาใจใสในทุกภาคสวนของงานวิจัย รวมทั้งการได

กรุณาแนะนําและติดตอประสานงานกับกลุมผูใหขอมูลหลักซึ่งเปนนักวิชาการผูซึ่งมีผลงานและ

เชี่ยวชาญในวงการรัฐศาสตร ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ ที่นี้

นอกจากนี้ ยังตองขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย ดร. ลิขิต ธีรเวคิน และ ดร. นันทนา

นันทวโรภาส ที่ไดกรุณาสละเวลาอันมีคารับเปนกรรมการงานวิจัยเฉพาะเรื่องนี้ดวย และไดให

ความกรุณาในการแนะนําและใหคําปรึกษาในการปรับปรุงแกไขงานวิจัยเฉพาะเรื่องนี้ใหสําเร็จ

ลุลวงไปดวยความเรียบรอย

ผูวิจัยตองขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย ดร.ธีรภัทร เสรีรังสรรค รองศาสตราจารย

รสลิน ศิริยะพันธุ ดร.ถวิลวดี บุรีกุล รองศาสตราจารยยุทธพร อิสรชัย รองศาสตราจารยฐปนรรต

พรหมอินทร รองศาสตราจารย ดร.ธงชัย วงศชัยสุวรรณ และดร.เทียนชัย วงศชัยสุวรรณ

ที่สละเวลาเพื่อใหขอมูลที่เปนประโยชนอยางยิ่ง

รวมไปถึงผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณนายสุพล ฟองงาม อดีตรัฐมนตรีประจําสํานัก

นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย นายธีระชัย แสนแกว อดีตรัฐมนตรีชวย

วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง

ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ สมาชิกวุฒิสภา รวมถึงนายอิสระ บุญยัง

นายกสมาคมธุรกิจหมูบานจัดสรร ที่สละเวลาอันมีคาในการใหขอมูลและขอคิดเห็นตาง ๆ แก

งานวิจัยชิ้นนี้ และผูวิจัยตองขอขอบพระคุณถึงผูมีพระคุณทุกทานที่มิไดเอยนามไว ณ ที่นี้

สุดทายนี้ หากงานวิจัยฉบับนี้จะกอใหเกิดประโยชนแกการศึกษาเรื่องพฤติกรรมของ

ชนชั้นกลางไทยในประการใด ๆ นับเปนความปติอยางยิ่งที่ไดทํางานวิจัยฉบับนี้ขึ้น และหากมี

ขอผิดพลาดประการใด ผูวิจัยขออภัยไว ณ ที่นี้

จําลอง พรมสวัสดิ์

มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2554

Page 9: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(6)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ .................................................................................................................... (1)

กิตติกรรมประกาศ....................................................................................................... (5)

สารบัญตาราง............................................................................................................. (9)

สารบัญภาพประกอบ .................................................................................................. (10)

บทที่

1. บทนํา ............................................................................................................ 1

ที่มาและความสําคัญของปญหา................................................................ 1

ปญหานําการวิจัย..................................................................................... 6

วัตถุประสงคของการวิจัย .......................................................................... 7

ขอบเขตของการวิจัย ................................................................................. 7

นิยามศัพทเฉพาะ ..................................................................................... 8

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ........................................................................ 9

2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ............................................................ 10

ทฤษฏีการสื่อสารทางการเมือง .................................................................. 10

แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมือง ................................................ 16

แนวคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตย ................................................................... 26

แนวคิดเกี่ยวกับชนชั้นกลาง ....................................................................... 32

แนวคิดเกี่ยวกับการเมืองแนวใหม .............................................................. 50

งานวิจัยที่เกี่ยวของ ................................................................................... 62

กรอบแนวคิดในการวิจัย............................................................................ 69

Page 10: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(7)

3. ระเบียบวิธีการวิจัย.......................................................................................... 70

วิจัยเชิงคุณภาพ ....................................................................................... 70

เครื่องมือในการศึกษาวิจัย .................................................................. 70

กลุมผูใหขอมูลหลัก (Key Informants) ............................................... 71

การจัดกระทําขอมูลหรือการจัดระเบียบขอมูล (Data Processing) ........ 71

การวิเคราะหขอมูล ............................................................................. 72

วิจัยเชิงปริมาณ ........................................................................................ 72

ประชากรและกลุมตัวอยาง ................................................................. 72

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัย ............................................................ 72

ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ................................................................... 73

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล .................................................................... 73

การวิเคราะหขอมูล ............................................................................. 74

4. บริบททางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของ

ชนชั้นกลางไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-

2553 ............................................................................................................. 75

บริบททางการเมืองที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553........................ 76

บริบททางสังคมที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553........................ 95

บริบททางเศรษฐกิจที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553........................ 125

Page 11: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(8)

5. ผลสํารวจความคิดเห็นและพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางตอการเมือง

ในระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล .............. 141

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของชนชั้นกลาง ......................................................... 141

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของชนชั้นกลางตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทย ..................................................................................... 146

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของพฤติกรรมทางการเมืองของ

ชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในชวง 2551-2553

ที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย....................... 155

6. สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ .............................................................. 185

สรุปผลการวิจัย ........................................................................................ 185

การอภิปรายผลการวิจัย ............................................................................ 187

ขอคนพบจากการวิจัย ............................................................................... 191

ขอเสนอแนะ............................................................................................. 198

บรรณานุกรม .............................................................................................................. 202

ภาคผนวก

ก. แบบสอบถามประกอบการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพและปริมณฑล

ชวงพุทธศักราช 2551-2553 .............................................................................. 213

ข. แบบสัมภาษณประกอบการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพและปริมณฑล

ชวงพุทธศักราช 2551-2553 .............................................................................. 228

ประวัติการศึกษา......................................................................................................... 240

Page 12: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(9)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

5.1 ขอมูลทั่วไปจําแนกตาม เพศ. ........................................................................ 141

5.2 ขอมูลทั่วไปจําแนกตาม อายุ ........................................................................ 142

5.3 ขอมูลทั่วไปจําแนกตาม ระดับการศึกษา ....................................................... 143

5.4 ขอมูลทั่วไปจําแนกตาม อาชีพ ...................................................................... 143

5.5 ขอมูลทั่วไปจําแนกตาม รายไดตอเดือน......................................................... 144

5.6 ขอมูลทั่วไปจําแนกตาม สถานภาพทางครอบครัว .......................................... 145

5.7 ความคิดเห็นของชนชั้นกลางตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย ....... 146

5.8 ความสนใจติดตามขาวสารขอมูลทางการเมือง .............................................. 155

5.9 การไปใชสิทธิเลือกตั้ง................................................................................... 161

5.10 การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมือง ............................... 166

5.11 การสนับสนุนพรรคการเมือง ......................................................................... 172

5.12 ภาพรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวง 2551-2553 ที่มีผลตอการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทย.................................................................................. 179

Page 13: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

(10)

สารบัญภาพประกอบ

ภาพที่ หนา

2.1 ทฤษฎีการสื่อสารแบบสองขั้นตอน .................................................................. 15

2.2 ตัวแบบของการพัฒนาประชาธิปไตยตามทฤษฎีสังคม-เศรษฐกิจ ....................... 31

Page 14: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

บทที่ 1

บทนํา

ที่มาและความสําคัญของปญหา

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองของระบบการเมืองไทยเมื่อ วันที่ 24

มิถุนายน พุทธศักราช 2475 โดยคณะราษฎรยึดอํานาจและเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ

สมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริยเปน

ประมุขภายใตรัฐธรรมนูญเปนตนมาจนกระทั่งถึงปจจุบันโดยความหมายของ “การปกครอง

ระบอบประชาธิปไตย หมายถึง การปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน” ดังนั้น

ระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยตลอดชวงระยะเวลา 75 ปที่ผานมาอาจกลาวไดวา

การปกครองบานเมืองมีแตเรื่องของการตอสูชวงชิงอํานาจทางการเมืองในระหวางกลุมผูนําเทานั้น

และเปนที่ประจักษวาทุกครั้งของการเปลี่ยนแปลงดังกลาวมิไดเปนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตย ที่มีประชาชนเปนเจาของอํานาจ

อธิปไตยที่แทจริง แตเปนเพียงการเปลี่ยนมือผูถืออํานาจจากพระมหากษัตริยมาสูมือผูนําทาง

ทหาร หรือพลเรือนเทานั้น ซึ่งแมวาราชอาณาจักรไทยจะไดมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

โดยใชรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ แต “รัฐธรรมนูญยอมเปลี่ยนแปลง

ไดตามความเหมาะสมแหงกาลเวลา และสภาพการณของบานเมือง”

สภาพการเมืองของประเทศไทยในอดีต อาจกลาวไดวาเปนเรื่องของการแยงชิง

อํานาจทางการเมืองในระดับกลุมผูนําทางการเมือง จนกระทั่งภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม

พุทธศักราช 2516 เปนการเริ่มตนที่แสดงใหเห็นถึงพัฒนาการและการมีสวนรวมของภาค

ประชาชนมายิ่งขึ้น นอกจากเหตุการณดังกลาวแลวยังมีเหตุการณการที่ประชาชนตอตานการ

กลับมาของเหลาอดีตผูนํากลุมในเหตุการณ 6 ตุลาคม พุทธศักราช 2519 และการเคลื่อนไหวตอสู

ของประชาชน ในชวงวันที่ 17 -20 พฤษภาคม พุทธศักราช 2535 ที่เรียกกันวา “พฤษภาทมิฬ” หรือ

“พฤษภามหาวิปโยค” ที่เปนการตอสูกับระบอบอํานาจนิยม (คณะรักษาความสงบเรียบรอย) ที่

พยายามสืบทอดอํานาจจากการรัฐประหารเม่ือวันที่ 23 กุมภาพันธ พุทธศักราช 2534 อยางไรก็ตาม

ทั้ง 3 เหตุการณ การเขารวมของประชาชนในการตอสูเพื่อประชาธิปไตย ก็มีความแตกตางกัน

โดยเฉพาะกลุมที่เขารวม โดยเหตุการณการตอสูในเหตุการณ 14 ตุลาคม พุทธศักราช 2516 และ

6 ตุลาคม พุทธศักราช 2519 เปนขบวนการตอสูของกลุมนักศึกษา สวนผูเขารวมในเหตุการณ

Page 15: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

2

พฤษภาทมิฬ เปนกลุมประชาชนที่มีความหลากหลายในกลุมอาชีพ ซึ่งเปนการรวมตัวกันของ

กลุมพรรคการเมือง ชนชั้นกลาง และชนชั้นลาง โดยเฉพาะกลุมคนชั้นกลางซึ่งถือวามีจํานวนมาก

โดยมีขอสังเกตเกี่ยวกับผูชุมนุมสวนใหญนั้นจะเปนผูทํางานบริษัท หนวยงานของรัฐและ

รัฐวิสาหกิจ เปนบุคคลที่คอนขางมีฐานะดีและมีเวลา โดยผูรวมชุมนุมสวนใหญในเหตุการณครั้งนั้น

จะมีการนําโทรศัพทมือถือมาใชในการสื่อสาร และมีการขับรถยนตมารวมชุมนุมดวยเหตุการณ

ดังกลาวจึงมีการเรียกกลุมผูชุมนุมนี้วา “มอบรถเกง”หรือ“มอบมือถือ”การเรียกรองของกลุม

ผูชุมชนในเหตุการณดังกลาวประสบผลสําเร็จในการเรียกรองประชาธิปไตยคืนมาในที่สุด

ตอมา ในชวงป พุทธศักราช 2549–2552 ประเทศไทยตองประสบกับปญหาทาง

การเมือง เมื่อมีการกอตั้งกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ไดออกมาเรียกรอง

ชุมนุม และเคลื่อนไหวตาง ๆ เพื่อเปนการตอตานรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรซึ่งดํารง

ตําแหนงนายกรัฐมนตรี โดยมีขอกลาววาการบริหารงานที่มามีการทุจริตคอรรัปชั่น เอื้อประโยชน

ใหกับพวกพอง และการทุจริตเชิงนโยบาย จนนําไปสูการรัฐประหาร โดยคณะปฏิรูปการปกครอง

ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปน

คณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ)

เมื่อวันที่ 19 กันยายน พุทธศักราช2549 ในที่สุดมีการแตงตั้งพล.อ.สุรยุทธ จุลานนท

เปนนายกรัฐมนตรีตามคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปนผลทําใหเกิดกลุมคนที่ไมเห็นดวยกับการทํารัฐประหารได

รวมตัวกันกอตั้งกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) เมื่อป พุทธศักราช

2550 เพื่อขับไล พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท ออกจากนายกรัฐมนตรี จนตอมามีการเลือกตั้งใหม

ผลปรากฏวา พรรคพลังประชาชนซึ่งถูกมองวาเปนตัวแทนของกลุมอํานาจ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร

ไดเปนผูจัดตั้งรัฐบาล โดยมีนายสมัคร สุนทรเวช เปนนายกรัฐมนตรี ก็ไดสรางความไมพอใจใหกับ

กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) จนเปนสาเหตุใหเกิดการรวมตัวกันอีกครั้งโดย

การยึดทําเนียบรัฐบาล (ฤกษ ศุภศิริ, 2553)

ตอมาเมื่อวันที่ 9 กันยายน พุทธศักราช2551 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยความสิ้นสุด

การเปนนายกรัฐมนตรีของนายสมัคร สุนทรเวช เปนผลทําใหนายสมัคร สุนทรเวช ไดสิ้นสุด

ความเปนนายกรัฐมนตรีลง แตใหคณะรัฐมนตรีรักษาการไปจนกวาจะมีนายกรัฐมนตรีคนใหม

ซึ่งตอมามีการเสนอชื่อ นายสมชาย วงศสวัสดิ์ ที่มีศักดิ์เปนนองเขย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดรับ

คัดเลือกเปนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ยังยึด

ทําเนียบรัฐบาล ความขัดแยงทางการเมืองยิ่งมีความเขมขนในการเคลื่อนไหวมากยิ่งขึ้น เมื่อศาล

รัฐธรรมนูญไดคําวินิจฉัยยุบพรรคพลังประชาชน ทําใหนายสมชาย วงศสวัสดิ์ ซึ่งในขณะนั้น

Page 16: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

3

รักษาการหัวหนาพรรคพลังประชาชน ตองพนจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีไปโดยปริยายทําใหสภา

ผูแทนราษฎรไดมีการเลือกตั้ง นายกรัฐมนตรีคนใหมโดยการเลือกตั้งครั้งนี้เปนผลให นายอภิสิทธิ์

เวชชาชีวะ ซึ่งเปนอดีตหัวหนาพรรคฝายคาน ขึ้นมาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี การขึ้นมารับ

ตําแหนงนายกรัฐมนตรีของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะเปนผลทําให กลุมแนวรวมประชาธิปไตย

ตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.)เกิดความไมพอใจมีจึงมีการยึดสี่แยกราชประสงคซึ่งเปนยาน

ธุรกิจ และเศรษฐกิจที่สําคัญของกรุงเทพมหานคร ในขณะที่รัฐบาลมีความพยายามหลายครั้งที่

สลายการชุมนุมของกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) จนมีการสลาย

การชุมนุมไปในที่สุด แตสถานการณความขัดแยงทางเมืองยังดํารงอยูในปจจุบัน (วาสนา นานวม,

2552)

เหตุการณการชุมนุมทั้งของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) และ

กลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) เปนการตอสูของภาคประชาชน

โดยเฉพาะในกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ซึ่งสวนใหญถือวาเปนชนชั้นกลาง

ที่ประกอบอาชีพเจาของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก นักวิชาการ พนักงานบริษัท กลุมธุรกิจ

เอกชน และผูมีการศึกษาอื่น ๆ สวนในกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ

(นปช.) นั้นยังพบวา นอกเหนือจากลุมดังกลาวแลว ผูเขารวมชุมนุมสวนใหญเปนเกษตรกร คาขาย

รับจางทั่วไป ที่เดินทางมารวมชุมนุมจากภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ของ

ประเทศไทย

เหตุการณทางการเมืองที่ผานมา เห็นไดวาการเขามามีสวนรวมทางการเมือง (พิชัย

วาสนาสง, 2523) โดยเฉพาะในสวนของกระบวนการมีสวนรวมทางการเมืองและการแสดงออก

หรือการแสดงความคิดเห็นตาง ๆ ของประชาชนจะมีผลตอการกําหนดทิศทางหรือกอใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาลหรือคณะทํางานบริหารประเทศได

การแสดงออกทางการเมืองของประชาชนจึงมีความสําคัญอยางยิ่งในสังคม

ประชาธิปไตย การเขามามีสวนรวมทางการเมืองโดยการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งแลว การเขารวม

ทางการเมืองในกิจกรรมตาง ๆ (แบบอื่น) เชน การชวยโฆษณาหาเสียง การบริจาคเงินชวยเหลือ

พรรค การรองเรียนโดยการเขียนคํารอง หรือการเขารวมอภิปรายทางการเมืองฯลฯ ซึ่งพบวายัง

อยูในวงที่จํากัดมาก

เสียงประชาชนคือเสียงสวรรค เปนคํากลาวที่มาจากภาษาอังกฤษที่วา THE VOICE

OF THE PEOPLE IS THE VOICE OF GOD (พรศักดิ์ ผองแผว, 2526) ซึ่งหมายความวาใน

ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยนั้นใหกับบุคคลที่ไดรับคัดเลือกเมื่อเสียงประชาชน คือ เสียง

สวรรคและเปนแหลงของความชอบธรรม การสรางความชอบธรรมใหปรากฏโดยมีการเลือกตั้ง

Page 17: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

4

มีการลงคะแนนเสียง จึงเปนสิ่งที่สอดคลองกับระบบและกลไกทางการเมืองในระบอบการปกครอง

แบบประชาธิปไตย แตสิ่งสําคัญก็คือการเลือกตั้งก็ดีจะสอดคลองกับระบอบประชาธิปไตย

ในอุดมคตินั้น จะตองเปนสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติโดยความสมัครใจ (Voluntary Participation)

จึงจะกลาวอางไดวา ผูไดรับการเลือกตั้งมานั้นไดรับอาณัติจากประชาชนใหทําหนาที่เปนตัวแทน

ในสภานิติบัญญัติหรือทําหนาที่เปนฝายบริหารในคณะรัฐมนตรีและในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง

นั้น ประชาชนตองมีขอมูลพอสมควรและตัดสินใจลงในบัตรดวยตนเอง หลังจากพินิจพิเคราะห

แลวเปนอยางดี โดยการพินิจพิเคราะหคือเอาชื่อของพรรคนโยบายของพรรคตอผูสมัครและตอ

กรณีไมมีขอจํากัด แตจุดรวมก็คือมีความมั่นใจวาตองการบุคคลดังกลาวทําหนาที่แทนตนในสภา

หรือในคณะรัฐบาลจึงจะเปนการแสดงออกของอํานาจอธิปไตยของประชาชนอยางแทจริงและ

เสียงของประชาชนก็จะเปนเสียงสวรรคตามที่กลาวมาขางตน

อยางไรก็ตาม จากสถานการณทางการเมืองของประเทศไทยในชวงป 2551 จนถึง

ปจจุบัน สถานการณทางการเมืองถือไดวาเปนชวงที่มีความวิกฤตที่สุดในรอบหลายสิบปที่ผาน

ที่ปรากฏเห็นไดชัดคือ ความขัดแยงทางการเมืองของประชาชนคนไทย มีการแบงฝกแบงฝาย มี

การเลือกขางเกิดขึ้นในสังคมอยางรุนแรง โดยที่ทุกฝายเกิดความคาดหวังที่จะใหสถานการณ

บรรเทา และสามารถยุติวิกฤตการณทางการเมืองไดโดยเร็ว โดยที่มีความมุงหวังและคาดหวังจาก

นักการเมือง ขาราชการ นักวิชาการ ใหเขามาชวยกันแกไขปญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะ

ความคาดหวังที่เกิดขึ้นกับชนชั้นกลาง หรือ ปญญาชน ที่มีอยูในสังคมไทยใหมามีบทบาทและ

เขามามีสวนรวมในการแกไขปญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้น

เมื่อมีการกลาวถึงการมีสวนรวมทางการเมืองในแตละสังคม เปนที่ยอมรับกันดีวา

“ชนชั้นกลาง (The Middle Class)” ถูกยอมรับวาเปนกลุมคนที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงทาง

การเมืองในหลายประเทศ ในขณะเดียวกันยังมีทฤษฎีที่ไมยอมรับหรือไมเชื่อมั่นในความสามารถ

ของชนชั้นกลาง ไมวาชนชั้นกลางจะสามารถมีบทบาทสําคัญในการผลักดันทางการเมือง

เศรษฐกิจ และสังคมที่ผานมาก็ตาม เห็นไดวาในสังคมไทยเปนที่ยอมรับกันวาที่ผานมาคนชั้นกลาง

ในประเทศเปนปจจัยที่สําคัญตอการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองของ

สังคมไทยมาหลายยุคหลายสมัย

อยางไรก็ตาม พฤติกรรมการมีสวนรวมทางการเมืองของชนชั้นกลาง ผลการศึกษา

สวนใหญพบวา ขอมูลขาวสารทางการเมืองที่แตละบุคคลไดรับอาจเปนเหตุผลอีกประการหนึ่งที่

อาจสงผลกระทบตอการเขามามีสวนรวมทางการเมืองของแตละบุคคล ซึ่งปจจัยการเขามามีสวนรวม

ทางการเมืองอยางมีประสิทธิภาพ มีเหตุมีผล จะตองมีความรูในขาวสาร มีความเขาใจทาง

การเมืองเพียงพอ ดังเชนนักเศรษฐศาสตรในหลายประเทศไดทําการศึกษาวิจัยถึงปจจัยตาง ๆ ที่

Page 18: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

5

เกี่ยวของกับการมีสวนรวมทางการเมืองโดยใหความสําคัญกับแงมุมที่ตางกันออกไป เชน ปจจัย

ทางจิตวิทยาของแตละบุคคล ไดแก ความเชื่อ ทัศนคติ บุคลิกภาพของแตละบุคคล ปจจัย

สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมชุมชน สวนปจจัยที่เปนตัวแปรดาน

สถานะทางสังคมหรือภูมิหลัง ไดแก เพศ อายุ ฐานะทางเศรษฐกิจ เปนตน

แตหากประชาชนขาดความสนใจและความรอบรูตอขาวสารการเมือง ความเปนไป

ของเรื่องราวที่เกิดขึ้นในระบบการเมืองยอมเชื่อมโยงไปถึงการเพิกเฉยตอบทบาทในการเขามีสวนรวม

ทางการเมืองบทบาทของการสื่อสารทางการเมือง (Political Communication) จึงมีความสําคัญ

เพราะการที่บุคคลจะไดรับขาวสารหรือสงขาวสารทางการเมืองไปยังผูอื่นนั้น ตองเกี่ยวของโดยตรง

ตอการสื่อสารทางการเมืองใหแกประชาชนในระบบการเมือง โดยเฉพาะสื่อมวลชนไดมีบทบาทใน

การเปนตัวกลางถายทอดความคิดเห็น ขาวสาร ขอเท็จจริงตาง ๆ ทางการเมืองไดอยางรวดเร็วและ

ทั่วถึง นอกเหนือจากการสื่อสารมวลชนแลว การสื่อสารระหวางบุคคลทั้งการติดตอโดยตรงหรือ

การติดตอระหวางกลุมสมาชิก กลุมทั้งหลายเหลานี้จึงเปนวิธีการ การสื่อสารทางการเมืองที่สําคัญ

มีผลตอการชักจูงและโนมนาวความคิดความเชื่อ ทัศนคติทางการเมืองของบุคคลไดโดยตรง

(วีรวัฒน เปรมประชา, 2528)

การสื่อสารทางการเมืองและขาวสารทางการเมืองที่แตละบุคคลไดรับจะมีผลดีตอ

การปรับตัวและการเปลี่ยนแปลงในระบบการเมืองเชนเดียวกับที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงและการ

ปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ในสังคม ขาวสารทางการเมืองที่แตละบุคคลไดรับจะทําใหเกิด

ความรูทางการเมืองความรูสึกนึกคิดทางการเมืองตลอดจนพฤติกรรมทางการเมืองหรือการมีสวนรวม

ทางการเมือง (พรศักดิ์ ผองแผว, 2526) การสื่อสารทางการเมืองจึงเปรียบเสมือนเสนใยประสาท

ของระบบการเมือง การสื่อสารและขอมูลขาวสารจึงอาจจะเปนปจจัยสําคัญที่มีผลตอพฤติกรรม

การทางการเมืองของชนชั้นกลางอีกประการหนึ่ง (Deustch, 1963)

พัฒนาการและสถานการณทางการเมืองไทย โดยเฉพาะชวงป พ.ศ.2549 เปนตนมา

เห็นไดวามีความรุนแรงทางการเมืองเปนอยางมาก โดยเฉพาะความคิดแยงทางความคิดระหวาง

ประชาชนดวยกันเอง ในอดีตที่ผานมาปญหาความขัดแยงทางการเมืองเกิดนั้นเปนความขัดแยง

ของผูนําและผูถูกปกครอง แตความรุนแรงทางการเมืองของสังคมไทยในชวง พ.ศ.2549 จนถึง

ปจจุบันหลายครั้งเปนความรุนแรงที่เกิดจากประชาชน ในขณะที่อดีตกลุมที่มีความสําคัญตอการ

พัฒนาประเทศชาติ และการพัฒนาประชาธิปไตยเปนกลุมคนชั้นกลาง อยางเห็นไดชัดใน

เหตุการณสําคัญทางการเมือง 2 เหตุการณคือ เหตุการณพฤษภาทมิฬ และเหตุการณ 14 ตุลาคม นั้น

สังคมไทยหรือแมกระทั่งสังคมอื่น ๆ ในโลกเห็นวาคนชั้นกลางจึงมีความสําคัญอยางมากตอการ

เจริญเติบโตของระบอบประชาธิปไตยไทยตอไป ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาไดเลือกศึกษา

Page 19: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

6

พฤติกรรมทางการเมืองของคนชั้นกลางในประเทศไทย โดยเฉพาะในเขตพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล

ในชวงป พ.ศ. 2551-2553 เนื่องจากในชวงปดังกลาวนั้น สังคมไทยมีปญหาเรื่องความขัดแยงทาง

การเมืองโดยเฉพาะกลุมเสื้อเหลือ เสื้อแดง ซึ่งภายหลังมีกลุมอื่น ๆ ตามมาอีกมากมายที่จะแสดง

บทบาทของการเมืองของกลุมตนเอง เชน กลุมคนเสื้อหลากสี เปนตน ดังนั้น การศึกษาในชวง

ระยะเวลาดังกลาวผูศึกษาคาดหวังวานาจะเปนขอมูลพฤติกรรมทางการเมืองของคนชั้นกลางใน

สภาวการณที่ไมปกติของสังคมไทย อันจะเปนบทเรียนและเปนประโยชนตอประทศชาติตอไปใน

การนํามาเปนบทเรียนรูเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตยตอไป

การศึกษาพฤติกรรมการทางการเมืองของคนชั้นกลางในประเทศไทย โดยเฉพาะใน

เขตพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑลชวง 2551-2553 ที่เปนยานชานเมืองและเปนที่พํานักของชนชั้นกลาง

ในประเทศไทย โดยพิจารณาจากจํานวนหมูบานจัดสรรที่มีจํานวนมาก รวมทั้งเปนยานธุรกิจ ยาน

การคา และเปนแหลงอุตสาหกรรมที่สําคัญของประเทศ ที่มีพลเมืองในพื้นที่ที่มีความรู ความสามารถ

ในการปฏิบัติงาน ซึ่งพลเมืองเหลานี้ถือวาเปน “ชนชั้นกลาง” ที่มีความสําคัญตอการเมืองใน

ระบอบประชาธิปไตยของไทย

จากที่กลาวมาขางตนทําใหการวิจัยจึงมีความสนใจใน 3 ประเด็น ประเด็นที่หนึ่ง เพื่อ

ศึกษาบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในชวง

พุทธศักราช 2551-2553 ประเด็นที่สอง เพื่อศึกษาผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่

มีผลตอการเมืองไทยในยุคปจจุบัน ประเด็นที่สามเพื่อสํารวจความคิดเห็นของชนชั้นกลางที่มีตอ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยและผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

ปญหานําการวิจัย

1. บริบททางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจประการใดที่มีผลตอพฤติกรรมทาง

การเมืองของชนชั้นกลางที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-

2553

2. ความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยและ

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช

2551-2553 ที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยมากนอยเพียงใด

Page 20: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

7

วัตถุประสงคของการวิจัย

การศึกษาในครั้งนี้ ไดกําหนดวัตถุประสงคไวดังนี้ คือ

1. เพื่อศึกษาบริบททางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจที่มีผลตอพฤติกรรมทาง

การเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

2. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

และพฤติกรรมทางการเมืองดังกลาวที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

ขอบเขตของการวิจัย

ขอบเขตดานเนื้อหา

ในการศึกษาเนื้อหาที่ผูวิจัยใหความสนใจมี 2 ประเด็น

1. บริบททางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชน

ชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

2. เพื่อเปนการสํารวจความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยและผลของพฤติกรรมทางการเมืองดังกลาวที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

ขอบเขตดานพื้นที ่

การศึกษาในเรื่องนี้มีขอบเขตดานพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลโดยเขต

ปริมณฑลไดแกจังหวัดปทุมธานี จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดนครปฐม

ขอบเขตดานระยะเวลา

การศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

Page 21: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

8

นิยามศัพทเฉพาะ

พฤติกรรมทางการเมือง หมายถึง การกระทําใด ๆ ที่เกิดขึ้นและมีความเกี่ยวของกับ

การเมือง ไมวาจะประสบผลสําเร็จหรือไม ไมวาจะถูกตองตามกฎหมายหรือไม

ชนชั้นกลาง* หมายถึง กลุมขาราชการประจําและนักการเมืองกลุมนักธุรกิจ ขนาดกลาง

ใหญ และขนาดเล็ก กลุมวิชาชีพนักวิชาการ กลุมนิสิตนักศึกษา ปญญาชนหรือนักวิชาการที่มี

ทะเบียนบานในเขตกรุงเทพและปริมณฑล อาชีพ รายได และการศึกษา เปนเกณฑตัดสินตาม

แนวคิดของ Weberian

บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม หมายถึง สภาพแวดลอมและเงื่อนไขตาง ๆ

ที่เกิดขึ้นทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ชวงพุทธศักราช 2551-2553 โดยมีความสัมพันธตอกันที่มี

ผลตอโครงสรางภาพรวมของประเทศไทย

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางไทย หมายถึง การที่ชนชั้นกลางไทยไดเขาไป

ใหความสนใจในเรื่องของการใหความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง, การไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง,

การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองและการสนับสนุนพรรคการเมือง

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย หมายถึงการที่ประชาชนพลเมืองมีความรู

ความเขาใจเกี่ยวกับระบบการเมืองในระบอบประชาธิปไตยรวมทั้งโครงสราง สถาบัน และบทบาท

หนาที่ทางการเมืองของรัฐบาล ของสถาบันทางการเมืองและของตัวเองในฐานะของพลเมือง

นอกเหนือไปจากการมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจในนโยบาย / กฎหมาย

ตลอดจนการบังคับใช นโยบาย / กฎหมายและการเห็นความสําคัญของผลประโยชนสาธารณะหรือ

ผลประโยชนสวนรวม (Public Interest) มากกวาผลประโยชนสวนตนและการ อีกทั้งใหความสนใจ

เกี่ยวสิทธิเสรีภาพตลอดจนความเสมอภาคที่มีความสําคัญตอพวกตน ตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 การใหความสําคัญในการเสริมสรางสิทธิแกพวกตนใน

ฐานะพลเมือง (Civil Right) รวมทั้งการมีสวนรวมในอํานาจในการตัดสินใจใหกับพวกตน

(Empowerment) ตลอดจนสงเสริมการกระจายอํานาจการตัดสินใจใหกับชุมชนทองถิ่น

เปนตน

*คํานิยามเกี่ยวกับชนชั้นกลางตามแนวคิดของกลุมเวเบอเรียลที่มากขึ้นโดยใชปจจัย

สถานภาพทางสังคมไดแกอาชีพ รายได ที่มาของรายได ชนิดของที่อยูอาศัย และการศึกษา.

Page 22: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

9

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. ทําใหทราบถึงบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมที่มีผลตอพฤติกรรมทาง

การเมืองของชนชั้นกลางเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

2. ทําใหทราบถึงพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่มีผลตอการเมืองใน

ระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

3. ทําใหทราบถึงความคิดเห็นของชนชั้นกลางตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยและผลของพฤติกรรมทางการเมืองดังกลาวที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

4. การวิจัยชิ้นนี้คาดวาจะมีประโยชนในการเปนขอมูลพื้นฐานตองานวิจัยอื่น ๆ ที่

เกี่ยวของกับพฤติกรรมการมีสวนรวมทางการเมืองของชนชั้นกลางในสังคมไทยได

Page 23: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาครั้งนี้ ไดทําการศึกษาเอกสารทั้งแนวคิด ทฤษฎี หนังสือ รายงาน การวิจัย

วิทยานิพนธ และเอกสารประกอบอื่น ๆ ซึ่งประกอบดวยแนวคิดดังตอไปนี้

1. ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมือง

2. แนวคิดพฤติกรรมทางการเมืองหรือพฤติกรรมในการมีสวนรวมทางการเมือง

3. แนวคิดประชาธิปไตย และทฤษฎีเกี่ยวกับระบอบประชาธิปไตย

4. แนวคิดเกี่ยวกับชนชั้นกลาง

5. แนวคิดเกี่ยวกับการเมืองแนวใหมหรือประชาธิปไตยแนวทางใหมหรือประชาธิปไตย

ทางเลือกและรัฐธรรมนูญฉบับพุทธศักราช 2550

6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

7. กรอบแนวคิดในการศึกษา

ทฤษฎีการสื่อสารทางการเมือง(Political Communication Theory)

อาจกลาวไดวา การติดตอสื่อสารทางการเมืองเปนหนาที่อันสําคัญยิ่งของระบบ

การเมือง (Political System) เนื่องจากการติดตอสื่อสารนั้นถือเปนการเชื่อมโยงสวนตาง ๆ ของ

ระบบเขาดวยกัน ดังนั้น การทําหนาที่ในสวนตาง ๆ ของระบบการเมืองจะตองผานขั้นตอนการ

สื่อสารกอนจึงจะกลาวถึงการสื่อสารทางการเมือง เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับการสื่อสารทาง

การเมืองตอไป

อริสโตเติล (Aristotle) ไดใหคําจํากัดความของการศึกษาวิชาวาทศิลป (Rhetoric)

หรือการสื่อสาร (Communication) วาคือการแสวงหา “วิธีการชักจูงใจที่พึงมีอยูทุกรูปแบบ”

(Berlo, 1960, p. 7)

โรเจอร และ ชูแมคเกอร (Roger and Shoemaker, 1971, p. 11) กลาววา “การสื่อสาร

เปนกระบวนการถายทอดขาวสาร จากผูสงไปยังผูรับ”

วิลเบอร ชแรมม (Wilbur Schramm, 1978, p.13) การสื่อสารคือ “การมีความเขาใจ

รวมกันตอเครื่องหมายที่แสดงขาวสาร (Information signal)

Page 24: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

11

ออสกูด (Charles E. Osgood, quoted in Wilbur Schramm, 1978, p. 12) ให

คํานิยามการสื่อสารวา “โดยความหมายอยางกวาง การสื่อสารเกิดขึ้นเมื่อระบบหนึ่งซึ่งเปนแหลง

ขาวสารมีอิทธิพลเหนืออีกระบบหนึ่ง ซึ่งเปนจุดหมายปลายทาง โดยอาศัยวิธีการควบคุมสัญญาณ

ตาง ๆ ที่สามารถสงออกไปตามสื่อ”

สวนนักวิชาการไทยไดใหความหมายคําวา “การสื่อสาร” (Communication) ในลักษณะ

ความหมายที่คลายคลึงกัน คือ

สวนิต ยมาภัย (2526, น.12) ใหนิยามวา “การสื่อสาร หมายถึง การติดตอกันระหวาง

มนุษยเพื่อทําใหรับรูเรื่องราว อันมีความหมายรวมกันและเกิดการตอบสนองตอกัน”

จุมพล รอดคําดี (2531) การสื่อสารหมายถึง “พฤติกรรมการติดตอสัมพันธกัน

ระหวางมนุษย โดยอาศัยกระบวนการถายทอดและแลกเปลี่ยนขาวสาร ความรูสึกนึกคิด เจตคติ

ตลอดจนประสบการณระหวางกันและกันเพื่อใหเกิดผลตอบสนองบางประการ ที่ตรงกับเปาหมาย

ที่วางไว คือ การเขาใจรวมกัน ความรวมมือ ความตกลงเห็นพองตองกัน ความผสมผสาน

ประนีประนอม เปนตน อันจะนํามาซึ่งความคงอยู และการพัฒนาสังคมของมนุษย”

จากหนาที่ของการสื่อสารในสังคมดังกลาว ยอมมีผลกระทบตอระบบการเมืองดวย

(Political System) ที่จะตองมีระบบการสื่อสารและการเชื่อมโยงสังคมกับรัฐบาลใหเขากัน

โดย โคลป (Kolb) ไดเสนอวาระบบการสื่อสารที่เปนตัวเชื่อมโยงตาง ๆ ของโครงสรางทางการเมือง

ควรทําหนาที่ทางการเมืองอยางนอย 6 ประการ คือ

1. สื่อสารความเห็นและผลประโยชนของประชาชน

2. รวบรวมกลั่นกรองขอเรียกรอง ตลอดจนชวยแกปญหาขอขัดแยงตาง ๆ ระหวาง

กลุมในสังคม

3. ทําการเลือกสรรทางการเมือง

4. ใหการอบรมกลอมเกลาเรียนรูทางการเมือง บูรณภาพทางการเมือง และ

เสริมสรางแรงสนับสนุนทางการเมือง

5. ชวยใหประชาชนสามารถมีอํานาจหรืออิทธิพลตอรัฐบาล

6. ประสานโครงสรางและกระบวนการตาง ๆ ของรัฐบาล

อยางไรก็ตาม จากหนาที่การสื่อสารดังกลาว การสื่อสารไมไดมีเฉพาะผลดานบวก

อยางเดียวเสมอไป แตการสื่อสารบางอยางอาจมีผลดานลบตามมาดวย ซึ่งเปนสิ่งที่เกิดขึ้นโดยไมได

คาดหวัง เชน การใชการสื่อสารยกระดับความคาดหวังของประชาชนใหสูงเกินความเปนจริงซึ่งจะ

นําไปสูความผิดหวังในที่สุด อาจทําใหประชาชนเรียกรองจากระบบการเมือง (รัฐบาล) มากเกินไป

ทําใหรัฐบาลไมมีเวลาที่วางแผนกําหนดนโยบายพัฒนาประเทศ ตองเอาเวลาไปแกปญหาตาง ๆ ที่

Page 25: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

12

เกิดขึ้นจากขอเรียกรองของประชาชน ในกรณีที่ประเทศมีสถาบันทางการเมืองตาง ๆ (พรรคการเมือง

กลุมผลประโยชน) ไมมั่นคง (มีเสถียรภาพ) หรือแมจะเปนประเทศที่สถาบันการเมืองที่มั่นคงแลว

ก็ตาม

ดังนั้นเมื่อพิจารณาความหมายของการสื่อสารแลว จะเห็นวาโดยสรุปการสื่อสาร

หมายถึง การติดตอสื่อสาร การสื่อความหมายระหวางกันและกันของมนุษยในสังคม เพื่อ

ความความเขาใจรวมกันในการดํารงชีวิตอยูในสังคม

ความหมายของการสื่อสารทางการเมือง (Political Communication)

พูล (Pool, 1968, pp. 90-92) นักวิชาการทางดานการสื่อสารชาวอเมริกันไดอธิบาย

ความหมายของคําวาการสื่อสารทางการเมือง (Political Communication) ทั้งในความหมายกวาง

และแคบ ในความหมายกวาง การสื่อสารทางการเมืองหมายถึง กิจกรรมการสื่อสารที่มนุษย

กระทําขึ้นหรือเกิดขึ้นนอกบานเรือนของตน การยื่นขอเรียกรองระหวางประเทศ หรือการกลาว

คําปราศรัยของนักการเมือง ยอมหมายถึงการสื่อสารทางการเมือง

สวนในความหมายแคบ พูล (Pool) กลาววา การสื่อสารทางการเมืองหมายถึง

กิจกรรมใด ๆ ของสถาบันเฉพาะ ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อทําหนาที่ในการกระจายขอมูลขาวสารทาง

ความคิด และทัศนคติอันเกี่ยวกับเรื่องการเมืองการปกครอง ซึ่งสวนใหญแลวการศึกษาเรื่อง

การสื่อสารทางการเมืองมักจะมองการสื่อสารทางการเมืองโดยนัยแหงความหมายที่แคบนี้ เชน

การศึกษาเรื่องการรณรงคหาเสียงในการเลือกตั้ง อาจเนนในเรื่องการใชโทรทัศน โปสเตอร และ

การกลาวคําปราศรัยของพรรคและนักการเมืองเปนตน

อัลมอนด และ โคลแมน (Almond and Colemen, 1960, pp. 45-52) ไดให

ความหมายของการสื่อสารทางการเมืองวา คือ กิจกรรมที่แพรหลายทั่วไป โดยกลาวไวดังนี้

“การทําหนาที่ทั้งหลายดําเนินอยูในระบบการเมือง กระบวนการสังคมประกิต การ

สรางโครงขายผลประโยชน การสานผลประโยชน การสรางกฎ การประยุกตใชกฎ

และการปรับเปลี่ยนกฎลวนดําเนินไปโดยอาศัยการสื่อสารเปนเครื่องมือ (Means)

ตัวอยางเชน พอแม ครู และพระสงฆ มิไดเปนเอกเทศจากกระบวนการสังคมประกิต

ทางการเมือง โดยผานการสื่อสาร ผูนํากลุมผลประโยชน ผูแทนราษฎร และผูนํา

พรรคการเมือง ดําเนินงานของตนโดยมีหนาที่แสดงออกโดยอุปสงคในการสื่อสาร

และชี้แนะทางการเมือง ฝายนิติบัญญัติตรากฎหมายบนพื้นฐานของขาวสารที่ไดรับ

จากการสื่อสารกับสวนตาง ๆ ของระบบการเมืองในการดําเนินหนาที่ ผูบริหารไดรับ

Page 26: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

13

และวิเคราะหขอมูลจากสังคมและจากสวนตาง ๆ ของการเมือง ในลักษณะที่

คลายคลึงกันนี้กระบวนการทางนิติบัญญัติก็ดําเนินโดยวิธีการของการสื่อสาร

เชนกัน”รัชและแอลทอฟฟ (Rush and Althoff, 1971, p. 160) ไดใหความหมายของการสื่อสาร

ทางการเมือง (Political Communication) วาคือการถายทอดขาวสารที่เกี่ยวกับการเมือง จาก

สวนหนึ่งของระบบการเมืองไปยังอีกสวนหนึ่งของระบบการเมือง และเปนการถายทอดระหวาง

สังคมกับระบบการเมืองดวย

นอกจากนี้ สถิต นิยมญาติ (2524, น. 126) ไดอธิบายเพิ่มเติมในสวนตามคําจํากัด

ความของรัช และแอล ทอฟฟ ในเรื่องความหมายของการสื่อสารทางการเมืองวา “การสื่อสารทาง

การเมืองเปนองคประกอบที่อยูในสภาวะไมอยูนิ่งของระบบการเมือง กระบวนการตาง ๆ ทาง

การเมือง เปนตนวาสถานการณทางการเมืองก็ดี การเขามามีสวนรวมทางการเมืองก็ดี ตลอดจน

การเลือกสรรทางการเมืองก็ดี ตองพึ่งพาอาศัยการสื่อสารทางการเมืองทั้งสิ้น สวนประกอบ

ของระบบสื่อสารทางการเมือง ประกอบไปดวย (1) แหลงที่มาของขาวสาร (The source of the

message) (2) ตัวเนื้อหา (The message) หรือขาวสาร (3) เสนทาง (Channels) ที่ขาวสารถูก

สงออกยังผูรับ (The audience) และปฏิกิริยาตอบโต (Feedback) ตัวอยางที่เห็นไดงาย ๆ ก็คือ

ในระบบการสื่อสารทางการเมืองนั้น แหลงที่มาของขาวสารอาจจะเปนผูสมัครรับเลือกตั้งเพื่อจะ

เขาดํารงตําแหนงทางการเมือง สวนเนื้อหาหรือขาวสารก็ไดแก ขอเสนอแนะและความคิดเห็นตาง ๆ

ที่เขาแสดงออกไป เสนทางที่ใชอาจเปนโทรทัศน ผูรับก็คือสมาชิกของหนวยเลือกตั้งหรือผูที่จะไป

เลือกตั้งในหนวยเลือกตั้งของเขาที่บังเอิญฟงรายการโทรทัศน และปฏิกิริยาตอบโตก็คือ การแสดง

ความคิดเห็นดวยหรือไมเห็นดวยกับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตาง ๆ ของเขา

โดยปกติทั่วไปแลว สวนประกอบตาง ๆ (Elements) ของระบบการสื่อสารทาง

การเมือง ไมจําเปนตองเปนโครงสรางอันถาวรของระบบการเมืองในขณะเดียวกัน หนาที่

องคประกอบตาง ๆ เหลานี้ก็ไมจําเปนตองมีความตอเนื่องกัน และอาจจะผันแปรไปไดตาม

สถานการณ กลาวคือ ในสถานการณหนึ่งบุคคลอาจจะทําหนาที่เปนแหลงที่มาของขาวสาร (The

source of a message) ในอีกสถานการณหนึ่งเขาอาจจะทําหนาที่เปนเสนทาง (Channels) ให

ขาวสารผานไปสูบุคคลอื่น ๆ ก็ได เหลานี้เปนตน

ในสังคมตาง ๆ โครงรางของการสื่อสารมักจะมีความสลับซับซอนอยูมากทีเดียว เปน

ตนวา แหลงที่เกิดของขาวสารมีมากมายหลายแหลง ผูรับก็มาจากบุคคลหลายกลุมหลายพวกและ

เสนทางของการสื่อสารมีมากมายหลายเสนทางเปนตน นอกจากนี้เสนทางบางเสนทางก็อาจจะมี

ลักษณะเปนแนวตั้ง เชน กรณีของการสื่อสารระหวางบุคคลที่อยูตางระดับของระบบการเมือง

Page 27: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

14

บางทีเสนทางอาจจะเปนไปในแนวนอนในแงที่วา ผูที่สื่อสารอยูในระดับของระบบการเมือง บางที

เสนทางอาจจะเปนไปในแนวนอนในแงที่วา ผูที่สื่อสารอยูในระดับเดียวกันของระบบการเมือง

ดังจะเห็นไดวา ในกรณีของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองนั้น แหลงที่เกิดของขาวสารของเขา

อาจจะเปนเพื่อนฝูง ผูรวมงาน ผูบริหาร ผูสนับสนุนสื่อสารมวลชน ประชาชนทั่ว ๆ ไป เหลานี้เปน

ตน กลุมผูรับ (Audience) และเสนทาง (Channels) ของการสื่อสารก็เชนกัน ประกอบไปดวย

บุคคลหลายกลุมและกระบวนการหรือวิธีการตาง ๆ มากมาย

ระวีวรรณ ประกอบผล (2529, น. 744) ไดกลาววา การสื่อสารทางการเมือง

หมายถึง การเลือกเฉพาะการถายทอดขาวสารหรือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารอันเกี่ยวกับการเมือง

โดยตรง ซึ่งก็หมายเฉพาะการสื่อสารทางการเมืองระหวางนักการเมืองกับประชาชน ระหวาง

สถาบันทางการเมืองกับประชาชน และระหวางนักการเมืองกับสถาบันทางการเมืองไปยังสวนอื่น ๆ

ของระบบการเมือง อันจะทําใหเห็นภาพของการสื่อสารทางการเมืองในลักษณะที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

ปญหาสําคัญอยางหนึ่งของประเทศกําลังพัฒนาเปนที่ประจักษโดยทั่วไป กลาวคือ

การที่ประชาชนมีความรูเกี่ยวกับขาวสารทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม หรือความเปนไปของ

ประเทศชาติของตนอยูในวงจํากัด ในทางรัฐศาสตรมีขอสรุปอยูวา การที่ประชาชนมีความรู

ในขาวสารการเมืองนอยน้ันมักจะเปนปจจัยที่ทําใหประชาชนเมินเฉยตอกระบวนการทางการเมือง

เมินเฉยตอการเลือกสารในกระบวนการทางการเมือง เมินเฉยตอองคกรทางการเมือง (พรศักดิ์

ผองแผว, 2526, น. 1-2) ดังนั้น ความรูเกี่ยวกับขาวสารทางการเมืองจึงเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่ง

ตอการพัฒนาการทางการเมืองของประเทศ

Page 28: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

15

ภาพที่ 2.1

ทฤษฎีการสื่อสารแบบสองขั้นตอน

(Two-step flow of communication theory)

สื่อมวลชน (Mass Media)

ขาวสาร (Messages)

ผูนําความคิดเห็น (Opinion Leaders)

ขาวสาร (Messages)

ประชาชน (People)

ตามแนวความคิดของนักวิชาการกลุมนี้ ประชาชนสวนใหญจะไดรับอิทธิพลจาก

บุคคลทั้งโดยตรงและโดยออมมากกวาที่จะไดรับอิทธิพลจากสื่อมวลชนโดยตรง คารทซ และ

ลาซารสเฟลด (Katz and Lazarsfeld ) ใหความสําคัญกับอิทธิพลของบุคคลในการสื่อสารอยาง

มาก “กอนที่จะทําความเขาใจกับลักษณะการเปดรับและปฏิกิริยาตอสื่อมวลชน จะตองศึกษา

เกี่ยวกับสภาพแวดลอมดานการติดตอระหวางบุคคลกอน” (Elihu Katz and Paul F. Lazarsfeld,

1955, p. 33) องคประกอบที่สําคัญในการสื่อสารระหวางบุคคลคือ ผูนําทางความคิดเห็น ภาวะ

ผูนําทางความคิดเห็นเปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายในกลุมเล็ก ๆ เชน กลุมเพื่อน ครอบครัว เพื่อนบาน ไมใช

ภาวะผูนําที่เห็นเดนชัดและเปนทางการ แตภาวะผูนําทางความคิดเห็นเปนสิ่งที่เกือบมองไมเห็น

เปนภาวะผูนําในระดับบุคคลตอบุคคลในการติดตอกันอยางปกติธรรมดาในชีวิตประจําวัน

ลาซารเฟลด และคณะ ไดอธิบายถึงกระบวนการของการสื่อสารระหวางบุคคลวา

กระบวนการนี้เกิดขึ้นในโอกาสที่เหมาะสม และอาจมีการย้ําทบทวนไดจนเกิดความสนใจแก

ผูบริหาร และแกไขจนเกิดความเขาใจผิดพลาดใหนอยที่สุด ขาวสารหรือขอมูลที่จะสงผานนั้นจะ

Page 29: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

16

ไดรับการปรับเปลี่ยนจนมีลักษณะเรียกรองความสนใจ (appeal) สอดคลองกับแรงจูงใจ

(motivation) และลักษณะธรรมชาติของผูรับสารถาขอมูลและสารที่สงผานไปนั้นไดรับการปฏิเสธ

ผูสงสารหรือผูนําทางความคิดเห็นนั้นก็สามารถชี้แจงโตแยงใหเหตุผลเพิ่มเติมได จัดวาเปนการ

สื่อสารที่ไดรับผลสะทอนกลับมา (feedback) ไดอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ ผูสงสารยังสามารถ

อาศัยความสัมพันธสวนตัว และสถานภาพทางสังคมของผูสงสารก็จะทําใหมีการรับสารไดดี

แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองหรือแนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมือง

ระบบการเมืองไทย ยึดหลักความคิดของการปกครองระบอบประชาธิปไตย หนาที่

และบทบาทหลักของพลเมืองตามแนวความคิดนี้ คือ สวนที่ปอนเขาสูตัวระบบดวยการเรียกรอง

สิ่งที่มีคุณคา (Value) และการใหการสนับสนุนแกอํานาจหนาที่ของระบบการเมืองไทยในการ

จัดสรรสิ่งที่มีคุณคานั้น บทบาทและหนาที่หลักดังกลาวนี้กลาวโดยสรุปไดแก การมีสวนรวม

ทางการเมืองของพลเมืองในฐานะพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยนั่นเอง กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ

การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยมีโครงสรางเนน ประชาธิปไตยแบบประชาชนมีสวนรวม

(Participative democracy)

ความหมาย

ภายใตระบบประชาธิปไตยถือวาอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศหรืออํานาจ

อธิปไตยนั้นเปนของประชาชนทุกคนมีสวนรวม และประชาชนผูเปนเจาของอํานาจเปนผูรวมใช

อํานาจนี้ไมวาจะโดยตรงหรือโดยออมเพื่อประโยชนสุขของประชาชนเอง ดังนั้น หากพิจารณาถึง

พฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนโดยทั่วไป ก็คือ การพิจารณาถึงพฤติกรรมการมีสวนรวม

ทางการเมือง ซึ่งในสวนนี้จะกลาวถึงนิยามและความหมายของคําวา การเมือง และพฤติกรรม

การมีสวนรวมทางการเมือง

เฮอเบริ์ต แมคคลอสกี้ (Herbert McClosky) กลาวถึงการมีสวนรวมทางการเมือง

ไววา เปนกิจกรรมตาง ๆ ที่ เปนไปโดยความสมัครใจของสมาชิกในสังคม ที่จะมีสวนรวม

ในการคัดเลือกจากผูปกครองและกําหนดนโยบายสาธารณะ อาจจะโดยทางตรงหรือทางออม

ไมรอน ไวนเนอร (อางถึงใน บุณฑริกา เจี่ยงเพ็ชร, 2543) ไดสํารวจและรวบรวม

ความหมายของการมีสวนรวมทางการเมืองไว โดยแบงออกเปน 10 ความหมาย ดังนี้

Page 30: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

17

1. เปนการกระทําที่สนับสนุนหรือเรียกรองตอคณะผูปกครองประเทศเพื่อให

สนองตอบตอความตองการ

2. เปนความพยายามที่จะสรางผลกระทบหรือใชอิทธิพลตอการดําเนินงานของ

รัฐบาลหรือในการเลือกผูนําในรัฐบาล

3. เปนการมีสวนรวมในกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกตองตามกฎหมายและไดรับ

การรับรองวาถูกตอง

4. เปนการดําเนินการใหมีตัวแทนเพื่อเขาไปใชอํานาจแทนตัวเอง

5. เปนการละวางหรือแยกตนเองออกจากการเมือง (alienation) เนื่องจากเห็นวาแม

เขาไปยุงเกี่ยวกับการเมืองก็ไมทําใหเกิดผลอะไรขึ้น ซึ่งแตกตางจากความเฉื่อยชาหรือเมินทาง

การเมือง (apathy) ที่เปนการขาดความสนใจทางการเมือง

6. ความกระตือรือรนที่จะเขาไปเกี่ยวของทางการเมืองหรือเปนผูที่ชอบทํากิจกรรม

ทางการเมือง

7. เปนการกระทําที่ตอเนื่องอยางคงที่ซึ่งอาจเปนการกระทําที่มีความเปนสถาบัน

และมีการจัดตั้ง หรืออาจเปนการกระทําที่เกิดขึ้นทันทีทันใด เชน การกอจลาจล ก็ได

8. เปนการกระทําที่มุงตอการเลือกผูนําทางการเมือง หรือมุงที่จะมีอิทธิพลตอ

นโยบายสาธารณะ หรือเปนความพยายามที่จะมีอิทธิพลตอการปฏิบัติงานของทางราชการ

9. เปนการกระทําที่เปนการกิจกรรมอันมีผลกระทบตอการเมืองระดับชาติ

10. เปนการกระทําที่มีลักษณะเปนการกระทําทางการเมือง

การใหความหมายของการมีสวนรวมทางการเมืองที่กวางและครอบคลุมอีก

ความหมายหนึ่ง คือ การใหความหมายของ มิลแบรท และ เอ็ม.แอล.โกแอล (อางถึงใน บุญฑริกา

เจี่ยงเพ็ชร, 2543) ซึ่งใหความหมายวา การมีสวนรวมทางการเมือง หมายถึง กิจกรรมทั้งหลายของ

ประชาชนแตละคนที่ตองการมีอิทธิพลหรือผลักดันหรือยอมรับสนับสนุนตอรัฐบาลและ

นักการเมือง ซึ่งไมเพียงแตรวมบทบาทอันแข็งขันในการสรางอิทธิพลผลักดันใหเกิดผลทางการ

เมืองตามตองการเทานั้น แตยังรวมถึงกิจกรรมที่เปนการยอมรับสนับสนุนในเชิงพิธีการดวย

ผูที่ยอมรับรัฐบาลก็จะแสดงออกในการปรับพฤติกรรมตามคําสั่งหรือขอเรียกรองของรัฐบาล แตผูที่

ไมเห็นดวยก็พยายามกออิทธิพลผลักดันใหมีการเปลี่ยนแปลงหรือแกไขใหม การมีสวนรวม

ทางการเมืองจึงมีทั้งที่เปนการตอตาน เชน เดินขบวนประทวง กอการจลาจล และทั้งที่เปนการ

สนับสนุน เชน การใหความรวมมือกับทางการในการเสียภาษี การเกณฑทหาร เปนตน

นอกจากนี้ รสลิน ศิริยะพันธุ และคณะ (2551) สรุปความหมายของการมีสวนรวม

ทางการเมืองที่ยอมรับกัน โดยใหความหมายการมีสวนรวมทางการเมือง (Political Participation)

Page 31: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

18

หมายถึง กิจกรรมหรือการกระทําของประชาชนที่มีจุดหมายจะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ

ในนโยบายหรือการกระทําของรัฐบาล ซึ่งมีลักษณะสําคัญ ไดแก

1. เปนเรื่องของการกระทําหรือพฤติกรรมไมใชเรื่องของความรูสึกนึกคิด ทัศนคติ

หรือความเชื่อทางการเมือง

2. เปนกิจกรรมของประชาชนไมใชนักการเมือง

3. เปนการกระทําหรือกิจกรรมที่มีจุดประสงคเพื่อมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของรัฐ

ซึ่งไมจําเปนตองเปนเรื่องของการกดดันใหเปลี่ยนแปลงนโยบายเสมอไป แตอาจเปนการแสดงออก

เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลหรือนักการเมืองได ดังจะเห็นไดจากกรณีการลงคะแนนเสียง

เลือกตั้ง การชุมนุมเพื่อสนับสนุนรัฐบาล

4. แมวาการมีสวนรวมทางการเมืองมีจุดประสงคเพื่อกดดันรัฐบาล แตการกดดัน

ดังกลาวไมจําเปนตองไดรับผลสําเร็จเสมอไป การมีสวนรวมทางการเมืองในหลายเรื่องอาจจะ

ลมเหลวที่จะกดดันรัฐบาลได เชน การชุมนุมประทวงอาจไมเกิดผลแตอยางใดตอนโยบายของ

รัฐบาลหรือการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผูสมัครของตนอาจจะไมไดรับการเลือกตั้ง เปนตน

สุจิต บุญบงการ (2537) กลาวถึง การมีสวนรวมทางการเมืองหมายถึงกิจกรรมที่

บุคคลมีจุดประสงคเพื่อมีอิทธิพลในกระบวนการตัดสินใจของรัฐบาล โดยมีลักษณะหลายประการ

ไดแก

ประการแรก การมีสวนรวมทางการเมืองในความหมายนี้เปนเรื่องของกิจกรรมไมใช

ทัศนคติ การมีสวนรวมทางเมืองในที่นี้ไมใชเปนเรื่องของความคิด ความรูสึก หรือความเชื่อทาง

การเมือง เรายอมรับวา ทัศนคติทางการเมืองมีผลตอรูปแบบหรือการแสดงออกของการมีสวนรวม

ทางการเมืองแตไมใชเปนกิจกรรม ดังนั้นเราจึงตองแยกออกใหชัดเจนเพื่อปองกันความสับสน

ในการวิเคราะห

ประการที่สอง การมีสวนรวมทางการเมืองนี้เราใชสําหรับบุคคลธรรมดาสวน

นักการเมืองหรือผูนําทาการเมืองนั้น การเกี่ยวของกับการเมืองเรียกไดวาเปนงานอาชีพของเขา

เปนเรื่องของการมีบทบาททางการเมือง (Political Role) ในสวนนี้บางทีเราก็ประสบความลําบาก

ในการแยกวาใครเปน “บุคคลธรรมดา” ใคร “เปนนักการเมือง” สมาชิกพรรคผูทํางานใหกับพรรค

ขาราชการ จะถือวาเปนคนธรรมดาหรือเปนนักการเมือง จะถือวามีสวนรวมทางการเมือง หรือมี

บทบาททางการเมือง อยางไรก็ตามเราอาจถือลักษณะงานการเมืองที่บุคคลทําอยูเปนตัวกําหนด

ไดอยางกวาง ๆ คือ การมีสวนรวมทางการเมืองนั้นเปนบทบาทของบุคคล ซึ่งไมไดทํางานหรือมี

อาชีพทางการเมือง ถาเขาเปนสมาชิกพรรคแตไมไดทํางานการเมืองเปนหลัก บทบาททางการเมือง

ของเขาอาจมีเพียงไปลงคะแนนเสียงหาเสียงใหกับผูสมัครของพรรคของตนเปนครั้ง ๆ ไป ดังนี้

Page 32: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

19

เรียกไดวา เปนเรื่องของการมีสวนรวมทางการเมือง แตถาเขาลงสมัครรับเลือกตั้งและทํางาน

การเมืองตลอดเวลาหรือเปนผูนําทางการเมือง กิจกรรมทางการเมืองของเขาถือวาเปนเรื่องของ

บทบาททางการเมือง

ประการที่สาม การมีสวนรวมทางการเมืองเปนเรื่องของการแสดงออก เพื่อใหมีผล

ตอการตัดสินใจของรัฐบาลหรือผูนําประเทศ ถานักศึกษาชุมชนประทวงในมหาวิทยาลัยเพื่อไล

อธิการบดีออกจากตําแหนง จะไมใชเรื่องการมีสวนรวมทางการเมืองจนกวานักศึกษาจะใชการ

ประทวงนี้กดดันรัฐบาลหรือผูนําทางการเมืองใหชวยบีบบังคับใหอธิการบดีลาออก ดังนั้น การมี

สวนรวมทางการเมืองจึงควรเปนเรื่องของความพยายามที่จะมีผลตอการตัดสินใจของรัฐบาล

สนับสนุนรัฐบาลเปลี่ยนแปลงผูนํารัฐบาล ปกปองหรือเปลี่ยนแปลงตัวผูนําและสถาบันทาง

การเมืองตาง ๆ การมีสวนรวมทางการเมืองจึงเปนไดทั้งถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย สันติ

หรือรุนแรง ความประสงคที่จะผลักดันรัฐบาลนี้ไมจําเปนตองเปนสิ่งที่สรางหรือริเริ่มขึ้นจากตัวผูมี

สวนรวมเอง แตอาจจะมาจากผูอื่นรวม ทั้งจากผูนําทางการเมืองเองไดดวย

ประการสุดทาย การมีสวนรวมทางการเมืองอาจไมมีผลเปลี่ยนแปลงตอการตัดสินใจ

ของผูนําหรือรัฐบาลแตอยางใด แมวาผูมีสวนรวมมีวัตถุประสงคกดดันรัฐบาล การมีสวนรวม

ทางการเมืองจะมีผลมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับอํานาจทางการเมืองของผูมีสวนรวมซึ่งมักมีอํานาจ

ทางการเมืองไมมากนักและไมสามารถผลักดันการตัดสินใจของรัฐบาลไดตลอดเวลาและทุก ๆ

เรื่อง

การมีสวนรวมทางการเมืองถือวาเปนลักษณะที่สําคัญประการหนึ่งของระบบ

การเมืองสมัยใหม ซึ่งในระบบการเมืองประชาธิปไตยการมีสวนรวมทางการเมืองมีหลายรูปแบบ

แตทุกรูปแบบเปนเรื่องของความสมัครใจ ปราศจากการบังคับ รูปแบบของการมีสวนรวมทางการ

เมือง อาจมีตั้งแตรูปแบบเล็ก ๆ แคบ เชน การแสดงความคิดเห็น การอภิปรายทางการเมือง

การเขียนจดหมายแสดงความคิดเห็นถึงนักการเมือง ไปจนถึงรูปแบบที่มีน้ําหนักกวางขวางขึ้น

เชน การไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การชวยผูสมัครรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง การชุมนุมประทวง

การเดินขบวน การวิ่งเตน เพื่อใหผูนําทางการเมืองออกกฎหมายหรือยอมรับในนโยบายที่ตน

เรียกรอง (lobbying) ตลอดจนการเขาเปนสมาชิกพรรคการเมืองกลุมหรือองคการทางการเมือง

ทั้งหลาย

โดยสรุปแลว ในทางการเมืองระบบการเมืองจะตองมีระบบสื่อสารและการเชื่อมโยง

เพื่อเชื่อมสังคมกับรัฐบาลใหเขากัน และเพื่อใหเสนทางการสื่อสารภายในสังคม ภายในรัฐบาล

และระหวางรัฐบาลและสังคมไดเกิดขึ้น ดังนั้น การสื่อสารจึงเปนเครื่องมือทางการเมืองที่สําคัญ

อยางหนึ่ง เพราะสามารถทําหนาที่เสริมสรางระบบการเมืองและสังคมการเมืองใหมีความเขมแข็ง

Page 33: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

20

และมั่นคงได ไมวาประเทศนั้นจะมีการปกครองระบอบเสรีนิยมหรือสังคมนิยม มีความเปน

ประชาธิปไตยหรือไมก็ตาม

ความสําคัญของพฤติกรรมทางการเมืองหรือพฤติกรรมการมีสวนรวมทางการเมือง

พฤติกรรมการมีสวนรวมทางการเมืองมีความสําคัญ ดังนี้ (รสลิน ศิริยะพันธุ และ

คณะ, 2551, น. 12)

1. การมีสวนรวมทางการเมืองเปนการยอมรับในความสามารถของประชาชน เปน

การยอมรับวาประชาชนสามารถตัดสินใจที่จะกําหนดอนาคตของตนเองได การแสดงออกทาง

การเมืองเพื่อกดดันหรือสนับสนุนนโยบายของรัฐหรือรัฐบาลนั้นยอมเปนการกําหนดอนาคตตนเอง

ดวย เปนการยอมรับวาประชาชนมีความสามารถมากพอที่จะทราบไดวารัฐควรทําอะไรอันมีเปน

ผลตอการดํารงชีวิตตน

2. การมีสวนรวมทางการเมืองเปนการยอมรับความเปนพลเมือง (Citizenship) ของ

ประชาชน ความเปนพลเมืองมีลักษณะที่สําคัญแตกตางไปจากการเปนราษฎรธรรมดาหรือ

การเปน “ไพรฟา” (Subject) การเปนไพรฟานั้นเปนการยอมรับอํานาจ คําสั่งของผูปกครอง

ประเทศเพียงอยางเดียว ถือวาประชาชนเปน “ขา” คือไมมีสิทธิแสดงความคิดเห็นแตอยางใด ไมมี

สิทธิที่จะกําหนดอนาคตของตนหรือกดดันใหผูปกครองตัดสินใจอยางหนึ่งอยางใดหรือประโยชน

ในการดํารงชีวิตของตน แตความเปนพลเมืองนั้นถือวาเปนการยอมรับวาประชาชนเปนสวนหนึ่ง

ของระบบการเมืองและสิทธิในการเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจของรัฐบาล

3. การมีสวนรวมทางการเมืองชวยสรางความชอบธรรม (Legitimacy) แกรัฐบาล

รัฐบาลจะมีความชอบธรรมมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับการยอมรับของประชาชนที่มีตอรัฐบาล

การมีสวนรวมทางการเมืองทําใหประชาชนยอมรับในรัฐบาลดวยเพราะประชาชนไดมีสวน

ในการตัดสินใจนั้น ๆ แมแตในกรณีที่ตัดสินใจดังกลาวไมตรงกับความตองการของประชาชน

บางกลุมบางพวก การมีสวนรวมทางการเมืองทําใหพวกที่ไมเห็นดวยมีโอกาสที่จะเรียกรองใหมี

การเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจนั้นได

4. การมีสวนรวมทางการเมืองอาจจะมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของ

อํานาจการเมือง หรือเปลี่ยนแปลงสภาพทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม กลุมผูที่ตองการปฏิรูป

หรือการเปลี่ยนแปลงในตอนแรกมักมีอิทธิพลหรืออํานาจนอยกวากลุมที่ควบคุมรัฐบาล ซึ่งเปน

กลุมที่รักษาสภาพคงเดิม ดังนั้นกลุมที่ตองการการเปลี่ยนแปลงมักจะดึงกลุมทางสังคมใหมที่

เกิดขึ้นมารวมกลุมตอสู

Page 34: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

21

รูปแบบพฤติกรรมทางการเมือง

ระบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม ซึ่งเปดโอกาสใหประชาชนไดแสดงทัศนะและมี

สวนในการตัดสินใจเรื่องตาง ๆ ที่มีผลตอชีวิตความเปนอยู ซึ่งการมีสวนรวมทางการเมืองก็เปน

รูปแบบหนึ่งของพฤติกรรมทางการเมืองระบบประชาธิปไตย โดยรูปแบบของพฤติกรรมทาง

การเมืองอาจแบงไดดวยเกณฑหลายประเภท เชน การแบงเปนการมีสวนรวมทางการเมืองแบบ

สมัครใจ (Voluntary Participation) การมีสวนรวมแบบระดม (Mobilized Participation) หรือ

แบงเปนพฤติกรรมการมีสวนรวมทางการเมืองเปนแบบที่ถูกกฎหมายและแบบที่ผิดกฎหมาย หรือ

แบงออกเปนพฤติกรรมการมีสวนรวมทางการเมืองแบบสันติกับการใชความรุนแรงหรือแบง

ออกเปนการมีสวนรวมแบบปกติ (Conventional Participation) กับการมีสวนรวมแบบไมปกติ

(Unconventional Participation) หรืออาจจะแบงออกตามประเภทของกิจกรรม

ซึ่ง รสลิน ศิริยะพันธุ และคณะ ไดกําหนดรูปแบบพฤติกรรมการมีสวนรวมทาง

การเมืองในงานวิจัยเรื่องพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับพัฒนาการทางการเมืองไทย

กรณีภาคเหนือ โดยยึดตามประเภทของกิจกรรมเฉพาะพฤติกรรมที่เรียกวา พฤติกรรมการมีสวนรวม

ทางการเมืองแบบปกติ (Conventional Participation) ดังนี้

1. การใหความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

2. การไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง

3. การเปนสมาชิกกลุม/สมาคม องคกรทางการเมือง

4. การใหคําวิพากษวิจารณตอการดําเนินการของพรรคการเมืองและรัฐ

5. การใหการสนับสนุนพรรคการเมือง

Lester W. Milbrath and M.L. Goel (อางถึงใน บุญฑริกา เจี่ยงเพ็ชร, 2543, น. 60-

62) กลาวถึง รูปแบบของการมีสวนรวมทางการเมืองอาจแบงประเภทหรือรูปแบบออกไดเปน

6 รูปแบบ ดังตอไปนี้

1. การเลือกตั้ง เปนรูปแบบของการมีสวนรวมทางการเมืองที่สามารถแยกกิจกรรม

ที่เกี่ยวของกับการรณรงคหาเสียงและกิจกรรมที่เกี่ยวของกับพรรคการเมืองออกจากกิจกรรมการมี

สวนรวมทางการเมืองในรูปแบบอื่น ๆ การลงคะแนนเสียงไมจําเปนตองอาศัยการสื่อขาวสารและ

จูงใจมากเหมือนกิจกรรมทางการเมืองอื่น ๆ ผูที่ไปลงคะแนนเสียงอาจไมเขาไปเกี่ยวของกับ

กิจกรรมทางการเมืองในรูปแบบอื่น ๆ ก็ได ในทางกลับกันผูที่เขามีสวนรวมทางการเมืองอยาง

กระตือรือรนในรูปแบบกิจกรรมทางการเมืองอื่น ๆ ก็อาจไมไปลงคะแนนเสียงก็ได อยางไรก็ตาม

สําหรับประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเปนการ

Page 35: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

22

กระทําที่พลเมืองกระทําอยางตอเนื่อง และมีอิทธิพลตอนําในระบบการเมือง โดยทําใหผูนําตอง

ปรับนโยบายของตนเพื่อใหไดรับการสนับสนุนจากประชาชน การลงคะแนน โดยทําใหผูนําตอง

ปรับนโยบายของตนเพื่อใหไดรับการสนับสนุนจากประชาชน การลงคะแนนเสียงจึงมีความสําคัญ

มากเนื่องจากสามารถกําหนดความเปนไปของรัฐบาลหรือการปกครองไดในทันทีทันใด

2. การเปนเจาหนาที่พรรคการเมืองและผูรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง หมายถึง

การเขารวมในพรรคการเมืองทั้งในชวงระหวางการเลือกตั้งและในการรณรงคหาเสียง การบริจาค

เงินชวยเหลือแกพรรคและผูสมัครรับเลือกตั้ง การชักชวนประชาชนไปลงทะเบียนเพื่อสิทธิในการ

ลงคะแนนเสียง การเขารวมและสนับสนุนพรรคการเมือง การพยายามชักชวนประชาชนให

ลงคะแนนเสียงแกพรรคหรือผูสมัครที่ตนชอบ การลงสมัครรับเลือกตั้ง การมีสวนรวมทางการเมือง

ดังกลาวตองอาศัยความตื่นตัวและสนใจอยางแทจริง บุคคลที่มีรูปแบบการมีสวนรวมทางการเมือง

ตามแบบที่ 2 นี้จัดเปนพวกที่ขึ้นเวทีตอสูทางการเมือง (Gladiators) ในขณะที่คนสวนมากจะมี

บทบาทเปนเพียงผูเฝาดู (Spectators) คอยตัดสินวาใครจะเปนผูชนะดวยการลงคะแนนใหคนที่

ตนชอบ

3. การเปนผูมีบทบาทในชุมชน หมายถึง การเขารวมในการกอตั้งกลุมเพื่อ

แกปญหาของสังคมหรือรวมมือกับกลุมตาง ๆ ที่มีอยูแลว เพื่อมีบทบาทเกี่ยวกับกิจกรรมสาธารณะ

หรือติดตอกับทางราชการในเรื่องปญหาสังคม ผูที่มีบทบาทในชุมชนจึงเปนผูที่มีความกระตือรือรน

สูงและมีระดับความผูกพันทางใจกับชุมชนสูง อยางไรก็ตาม ผูที่มีบทบาทในชุมชนนี้แตกตางจาก

เจาหนาที่พรรคและเจาหนาที่รณรงคหาเสียงในแงที่มีความเกี่ยวของในพรรคการเมือง และ

การชวยรณรงคหาเสียงนอยกวาเจาหนาที่พรรคและเจาหนาที่รณรงคหาเสียงดังกลาวมาแลว

4. การติดตอกับทางราชการ เปนกิจกรรมที่เปนเรื่องเฉพาะเจาะจงของบุคคล ซึ่ง

จะมีผลนโยบายโดยตรงตอบุคคลนั้นเองเทานั้น เชน การติดตอกับทางราชการในเรื่องภาษี

โรงเรียน การทําถนน การติดตอขอรับสวัสดิการทางสังคม ฯลฯ อยางไรก็ตาม นักวิชาการ

บางทานมองวาการมีสวนรวมทางการเมืองตามรูปแบบนี้เกือบจะไมใชการมีสวนรวมทางการเมือง

ตามความหมายท่ีแทจริง แตเปนการมีสวนรวมทางการเมืองแบบคับแคบ (Parochial Participation)

หรือการติดตอเฉพาะเรื่อง (Particularized Contacting) เทานั้น

5. การเปนผูประทวง หมายถึง การเขารวมเดินขบวนตามถนนหรือการกอจลาจล

ในกรณีที่จําเปนเพื่อบังคับใหรัฐแกไขบางสิ่งบางอยางซึ่งเกี่ยวของกับการเมืองใหถูกตอง รวมถึง

การประทวงอยางแข็งขันและเปนไปอยางเปดเผยตอกรณีที่รัฐบาลกระทําในสิ่งที่ผิดศีลธรรม

การใหความเอาใจใสกับการชุมชนประทวง การเขารวมกลุมประทวงรัฐบาลและการปฏิเสธการยอมรับ

กฎหมายที่ไมยุติธรรม

Page 36: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

23

6. การเปนผูสื่อสารทางการเมือง หมายถึง การเปนผูที่ติดตามขาวสารทางการเมือง

อยูเสมอ การสงขาวสารแสดงการสนับสนุนใหแกผูนําทางการเมืองเมื่อเขาทําในสิ่งที่ดีและถูกตอง

หรือส งคําคัดคานไปให เมื่อเขากระทําในสิ่ งที่ เลวราย การเขารวมถกปญหาการเมือง

การใหขอมูลความรูเกี่ยวกับการเมืองแกเพื่อนในชุมชนที่อาศัยอยู การใหความสนใจกับทาง

ราชการและการเขียนจดหมายถึงบรรณาธิการหนังสื่อพิมพ ผูที่เขามีสวนรวมทางการเมืองใน

รูปแบบนี้มักจะเปนผูที่มีการศึกษาสูง มีขอมูลเกี่ยวกับการเมืองมากและมีความสนใจทาง

การเมืองมากดวย ผูสื่อสารทางการเมืองเหลานี้จะวิพากษวิจารณรัฐบาลมากกวาบรรดาเจาหนาที่

ของพรรคการเมืองหรือผูรักชาติ แตจะไมแสดงออกดวยกิจกรรมการประทวง

ทั้งนี้สถาบันพระปกเกลา จากการศึกษาแนวทางการเสริมสรางการมีสวนรวมของ

ประชาชน (บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, 2552, น. 32) สรุปกระบวนการของประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม

แบงเปน 4 ขั้นตอน ไดแก

1. การมีสวนรวมในการวางแผน ประกอบดวย การับรู เขาถึงขอมูลเกี่ยวกับ

การวางแผน และรวมวางแผนกิจกรรม

2. การมีสวนรวมในการปฏิบัติ/ดําเนินการ ประกอบดวย การเกี่ยวของกับ

การดําเนินการในกิจกรรมตาง ๆ และการตัดสินใจ

3. การมีสวนรวมในการจัดสรรผลประโยชน เปนการมีสวนรวมในการจัดสรร

ผลประโยชน หรือผลของกิจกรรม หรือผลของกิจกรรมที่เกิดขึ้น

4. การมีสวนรวมในการตัดสินใจประเมินผล เกี่ยวของกับความพยายามที่จะ

ประเมินประสิทธิผลของโครงการกิจกรรมตาง ๆ และพิจารณาวิธีการที่ดําเนินการตอเนื่องตอไป

ประชาชนจะเขามาเกี่ยวของกับการคิดเกณฑในการประเมินโครงการ หรือกิจกรรมตาง ๆ ดวย ซึ่ง

ผลของกระบวนการประเมินนี้จะกลายเปนปจจัยนําเขาในกระบวนการมีสวนรวมขั้นที่ 1 ซึ่งเปน

ขั้นตอนของการวางแผนตอไป

ปจจัยที่ผลตอพฤติกรรมทางการเมือง

Lester W. Milbrath and M.L.Goel (อางถึงใน รสลิน ศิริยะพันธุ และคณะ, 2551,

น. 11) กลาวถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอการมีสวนรวมทางการเมืองของปจเจกบุคคลไว 2 ประการ

ไดแก

Page 37: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

24

1. ปจจัยดานสิ่งเราจากสภาพแวดลอม (Environmental Stimuli) หมายถึง

ลักษณะของระบบสังคม (Social System) และสภาพการณทางการเมือง (Political Setting) ซึ่ง

ไมเพียงจะกระตุนใหเกิดพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลเทานั้นแตยังมีสวนใหขอมูลตาง ๆ

เกี่ยวกับขอบเขตปทัสถานและทางเลือกตาง ๆ ของการมีสวนรวมทางการเมือง บุคคลแตละบุคคล

แมจะอยูในสิ่งแวดลอมเดียวกันจะรับสิ่งเราจากระบบการเมืองและสังคมไดไมเทากัน เพราะเขาจะ

เลือกรับรูและเลือกสารเฉพาะสิ่งเราที่เหมาะสมและตรงความตองการของตนเทานั้น

2. ปจจัยที่เกี่ยวกับลักษณะสวนบุคคล (Personal Factors) ซึ่งมี 5 ประการ คือ

ทัศนคติ (Attitudes) ความเชื่อ (Beliefs) ลักษณะทางบุคลิกภาพ (Personality Traits) การสืบ

ลักษณะนิสัยมาจากบิดามารดา (Heredity และความตองการในเชิงจิตวิทยา (Psychological

Needs)

คณิต ณ นคร และคณะ (2545, น. 24-25) กลาวไววา ปจจัยที่เอื้อตอการมีสวนรวม

ในทางการเมืองของประชาชนแบงออกเปน 4 ประการใหญ ๆ ดังนี้

1. บริบททางสังคม (Social Mobilization) หมายความวา สังคมใดมีการเราระดม

ทางสังคมต่ํา ประชาชนที่ไดรับการศึกษามีจํานวนนอย การเขาถึงขาวสารก็กระทําไดยาก

ภาระทางสังคมยังคงมีความเปนสังคมเมืองต่ํา โอกาสในการมีสวนรวมในทางการเมืองและ

ความกระตือรือรนที่จะมีสวนรวมทางการเมืองนอยทําใหขาดอํานาจตอรอง ดังนั้นถาประชาชน

สวนใหญไดรับการศึกษาสูง มีการรับรองสิทธิรับรูขอมูลขาวสารที่มีผลในทางปฏิบัติ มีความเปน

สังคมเมืองก็จะสงเสริมการมีสวนรวมในทางการเมือง มีอํานาจตอรองสูงมากขึ้น นอกจากนั้น

บริบททางสังคมยังรวมถึงความสัมพันธของชุมชนหรือความรูสึกผูกพันเปนชุมชน (Sense of

Community) ของประชาชนในชุมชนดวย ซึ่งเปนปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมในทางการเมือง

ของพลเมืองในสังคม โดยหากความสัมพันธของชุมชนหรือความรูสึกผูกพันเปนชุมชนแนนแฟน

ก็จะชวยใหพลเมืองเขามามีสวนรวมในทางการเมือง

2. บริบททางเศรษฐกิจ (Content of Economics) ซึ่งจากแนวคิดของลิปเซทใน

หนังสือโพลิทิคอล แมน เห็นวา ประเทศที่มีความเจริญมั่งคั่งทางเศรษฐกิจหรือฐานะการครองชีพ

สูง ก็จะมีความเปนประชาธิปไตยมากกวา โดยประชาชนจะมีโอกาสไดมีสวนรวมในทางการเมือง

มากกวาประเทศที่ยากจน ดังนั้นถาประชาชนมีฐานะทางเศรษฐกิจไมมีก็อาจเขามามีสวนรวม

ในทางการเมืองนอย เพราะตองมีภาระหนาที่และความกังวลอยูกับเรื่องการดํารงชีพเปนสําคัญ

อยางไรก็ตามวิเคราะหอีกมุมหนึ่ง ปญหาความเดือดรอนทางเศรษฐกิจ ถาอยูในภาวะวิกฤต

ก็อาจจะผลักดันใหประชาชนเขาไปมีสวนรวมในทางการเมืองมากขึ้นได

Page 38: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

25

3. บริบททางวัฒนธรรมการมีสวนรวมทางการเมือง (Content of Political

Culture) หากรัฐใดประชาชนสวนมากมีวัฒนธรรมการมีสวนรวมทางการเมืองแบบคับแคบ

(Parochial Political Culture) ประชาชนไมมีความรูความเขาใจในระบบการเมือง และไมสนใจที่

จะมีสวนรวมในทางการเมืองหรือวัฒนธรรมการมีสวนรวมทางการเมืองแบบไพรฟา (Subject

Political Culture) ซึ่งประชาชนในรัฐมีความรูความเขาใจในระบบการเมืองแตไมสนใจที่จะมีสวนรวม

ในปญหาบานเมือง อีกทั้งยังโนมเอียงในทางยอมรับอํานาจและเชื่อฟงรัฐบาล ก็จะทําใหการมีสวน

รวมในทางการเมืองของประชาชนไมมีความหมาย เปนขอจํากัดของการมีสวนรวมทางการเมือง

ในทางตรงขามหากรัฐใดประชาชนมีการสรางสมวิถีชีวิตและนิสัยแบบประชาธิปไตยหรือมีทัศนคติ

แบบพลเมืองอารยะ (Civic Attitude) ก็จะสงเสริมการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน

4. บริบททางการเมือง (Content of Politics) ระบอบการเมืองที่ไมเอื้ออํานวยให

ประชาชนมีสวนรวมในทางการเมือง เชน สังคมที่ปกครองในระบอบเผด็จการ การมีสวนรวม

ทางการเมืองจะต่ํา และมักเปนการมีสวนรวมทางการเมืองแบบพอเปนพิธีหรือเพื่อสนับสนุน

รัฐบาล (Content of Support Participation) หรือโนมนาวใหประชาชนเขามามีสวนรวมในทาง

การเมือง “Corporative Military Regime” หรือ “Corporation” ซึ่งเปนการมีสวนรวมแบบระดม

(Mobilized Participation) แตถาเปนระบอบประชาธิปไตยยิ่งมากเทาไหร การมีสวนรวมในทาง

การเมืองของประชาชนในรัฐนั้นก็มากขึ้นเชนกัน

สถิต นิยมญาติ (2524, น .144–148) อธิบายการเขามามีสวนรวมทางการเมืองนั้น

ขึ้นอยูกับปจจัยหรือตัวแปร 3 คือ

1. ตัวแปรทางสิ่งแวดลอมทางสังคม (Social Environment) หมายถึงสิ่งแวดลอม

ทางสังคมที่ประกอบดวยระดับการศึกษา อาชีพ รายได อายุ เชื้อชาติ ศาสนา เพศ และที่อยูอาศัย

จากการศึกษาเปรียบเทียบในสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่น ๆ พบวาสิ่งเหลานี้มีความสัมพันธกับ

การมีสวนรวมทางการเมือง

2. ตัวแปรทางจิตวิทยา (Psychological Variables) เมื่อพิจารณาแงจิตวิทยาแลว

การมีสวนรวมทางการเมืองขึ้นอยูกับรางวัล (Reward) หรือผลตอบแทนแกผูมีสวนรวมเกี่ยวกับ

เรื่องนี้นักวิชาการมักใหเหตุผลวา การที่มนุษยมีสวนรวมทางการเมืองนั้นก็เพื่อสนองความตองการ

ตาง ๆ (need) เชน ตองการอํานาจ ความสําเร็จ การมีสัมพันธกับผูอื่น การมีศักดิ์ศรีและยอมรับ

จากสังคม

3. ตัวแปรทางดานสิ่งแวดลอมทางการเมือง (Political Environment) ตัวแปร

ทางดานสิ่งแวดลอมทางการเมืองจะมีสวนเกี่ยวของกับความสัมพันธกับการมีสวนรวมทางการ

เมือง ทั้งนี้เพราะเรื่องท่ีบุคคลจะตัดสินใจกระทําในลักษณะเขารวมหรือไมเขารวมก็ได

Page 39: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

26

โดยสรุปปจจัยที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมทางการเมืองดังขางตน สามารถแบงปจจัยที่

เกี่ยวของ เปน 2 สวน ไดแก ปจจัยภายนอก หรือปจจัยทางสิ่งแวดลอมในบริบทตาง ๆ เชน บริบท

สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม เปนตน และปจจัยที่สอง คือ ปจจัยที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคล

ที่ถูกกระทบจากสิ่งเรา การรับรู ทัศนคติ ความเชื่อ เปนตน ซึ่งปจจัยเหลานี้มีผลตอการตัดสินใจ

ในการมีสวนรวมทางการเมืองมากนอยแตกตางกันออกไป

แนวคิดประชาธิปไตยและทฤษฏีที่เกี่ยวของกับประชาธิปไตย

คําวาประชาธิปไตยนั้นไมมีความหมายที่แนนอนและเปนสากล คําจํากัดความของ

ประชาธิปไตยมักเนนที่คุณภาพ กระบวนการและสถาบันประชาธิปไตย ประชาธิปไตยมีหลาย

ประเภทแตกตางกันไปตามแนวทางการปฏิบัติ ผลที่ไดรับ ความเขาใจ ประสบการณความเชื่อ

ของผูศึกษาเรื่องประชาธิปไตยและประวัติศาสตรของแตละประเทศ ซึ่งสิ่งเหลานี้มักถูกนํามา

บูรณาการเพื่อสรางคําจํากัดความของคําวาประชาธิปไตยที่มีคุณคา และเหมาะตอการนําไป

ปฏิบัติในชีวิตประจําวัน (บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และ ถวิลวดี บุรีกุล, 2548)

ประชาธิปไตย มาจากคําสองคํา คือ “ประชา” เปนคําสันสกฤตรูปศัพทเดิม คือ

“ปรชา” แปลวา ลูกชายลูกสาว ราษฎรหรือประชาชน และสวน “อธิปไตย” ก็เปนคําสันสกฤติรูป

ศัพทเดิม คือ “อธิปติ” แปลา เจาของ เจานาย พระราชา หรือความเปนใหญอยางยิ่ง ดังนั้น จึง

มีความหมายท่ีรวมคําไดวา ประชาชนเปนใหญอยางยิ่ง สรุปแลวประชาธิปไตย คือ การปกครอง

ที่ประชาชนมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ อยางไรก็ตาม คําวาประชาธิปไตยนี้มาจากคํา

ภาษาอังกฤษวา “Democracy” ซึ่งไดมาจากภาษากรีก 2 คํา คือ “Demos” ซึ่งแปลวาประชาชน

(The People) กับคําวา “Kratein” ซึ่งแปลวาปกครองโดยประชาชน (Government by The

People) (คุณาภา ธํารงมาศ, 2552) แตในทางปฏิบติแลวมีผูใหคํานิยามความหมายของ

ประชาธิปไตยไวมากมาย ดังนี้

ประชาธิปไตยตามทรรศนะของ Robert A. Dahl คือ ระบอบการเมืองระบอบหนึ่ง

ที่ทางรัฐบาลตองตอบสนองความชอบของประชาชนที่ถือวาเปนความเทาเทียมของการเมือง

ซึ่งเปนสิ่งสําคัญของประชาธิปไตยความรับผิดชอบ ประชาชนตองมีโอกาสในการกําหนดความพอใจ

ของเขา นั่นคือ ตองประกันวาประชาชนมีเสรีภาพที่จะรวมตัวกัน มีเสรีภาพในการแสดงออก สิทธิ

ในการลงคะแนน มีแหลงทางเลือกของขอมูล มีเสรีภาพ มีการเลือกตั้งที่ยุติธรรม ผูนําทาง

การเมืองมีสิทธิในการแขงขันเพื่อการเลือกตั้งและมีสถาบันในการดําเนินการตามนโยบายที่มาจาก

การเลือกตั้ง และมีสถาบันในการดําเนินการตามนโยบายที่มาจากการเลือกตั้งและการแสดงออก

Page 40: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

27

ของประชาชน ดังนั้น ในความคิดของ Dahl ประชาธิปไตยเปนเครื่องมือเพื่อการมีอิสรภาพซึ่งมี

หลายมิติ กลาวคือเปนเรื่องของ

1. การแขงขัน ซึ่งเปนการแขงขันระหวางบุคคลและระหวางกลุม (โดยเฉพาะพรรค

การเมือง)

2. การมีสวนรวมทางการเมืองในการเลือกผูนําและนักการเมืองอยางนอยโดย

การเลือกตั้งที่ยุติธรรมท่ีไมมีการละเวนกลุมใดกลุมหน่ึง

3. เสรีภาพของประชาชน และเสรีภาพของการเมืองเปนเสรีภาพในการแสดงออก

ประชาสัมพันธทางสื่อ รวมตัวเปนกลุม เมื่อแนใจวามีการแขงขันและมีการมีสวนรวมที่ตรงไป

ตรงมา

ความหมายประชาธิปไตยอาจสรุปไดโดยคําจํากัดความของ Etzioni-Halevy ที่ได

บูรณาการคําจํากัดความของนักคิดหลายคนและใหความหมายของประชาธิปไตย วาเปนระบอบ

การปกครองที่อํานาจในการปกครองของรัฐบาลมาจากการยินยอมของประชาชนสวนใหญ

การยินยอมนี้แสดงออกโดยการดําเนินการใหประชาชนไดรับและใชอํานาจโดยสม่ําเสมอ เสรี

มีการเลือกตั้งที่เปนการแขงขันโดยผูที่ เปนผูใหญ ทุกคนมีสิทธิเทาเทียมกันในการเลือกตั้ง

หลักการพื้นฐานของประชาธิปไตย คือ เสรีภาพของประชาชนที่รวมเสรีภาพในการพูด ไดรับขอมูล

สมาคม และมีสวนรวมในการแขงขันทางการเมือง

รูปแบบของประชาธิปไตย

รูปแบบประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตย หรือการปกครองตนเองของประชาชน

อาจจะแบงไดเปนหลายลักษณะ ดังนี้

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และ ถวิลวดี บุรีกุล (2548) ไดนําเสนอรูปแบบตางของ

ประชาธิปไตยไว 4 รูปแบบ ไดแก

1. ประชาธิปไตยทางตรง (Direct Democracy) เปนระบบที่ใหประชาชนเจาของ

อํานาจอธิปไตยเปนผู ใชอํานาจอธิปไตยดวยตนเอง หรือรวมใชอํานาจอธิปไตย โดยมี

องคประกอบสําคัญ 2 ประการ คือ (1) ประชาชนเปนผูริเริ่ม โดยการริเริ่มนั้นตองมีสภาพบังคับให

มีการเริ่มตนกระบวนการ และ (2) ประชาชนเปนผูตัดสินใจขั้นสุดทาย การขาดองคประกอบใด

องคประกอบหนึ่งยอมทําใหรูปแบบการมีสวนรวมทางการเมืองนั้น ๆ ไมอาจเปนประชาธิปไตยที่

สมบูรณได การตัดสินใจในขั้นสุดทายโดยประชาชนถือเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดของ

ประชาธิปไตยทางตรง ปจจุบันมีการใชประชาธิปไตยทางตรงในเรื่องของการลงประชามติ

Page 41: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

28

(Referenda) การเสนอรางกฎหมายโดยประชาชน (Initiative) การถอดถอนผูแทนรายบุคคลหรือ

ทั้งสภา (Recall) อยางไรก็ดี ในทางปฏิบัติเปนเรื่องที่เปนไมไดในรัฐสมัยใหมที่ประชาชนทุกคนจะ

สามารถใชอํานาจอธิปไตยทั้งนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการดวยตนเองโดยตรง

2. ประชาธิปไตยแบบผูแทน (Representative Democracy) เปนระบบที่ให

ประชาชนเลือกผูแทนไปใชอํานาจอธิปไตยแทนตนเอง ประชาธิปไตยแบบผูแทนอาจกลาวไดวา

เปนประชาธิปไตยทางออม (Indirect Democracy) อยางไรก็ดี ประชาธิปไตยแบบผูแทนยังมี

ปญหาอยูที่วาผูแทนที่ประชาชนเลือกเขาไปนั้นจะทําหนาที่สมกับการเปนผูแทนของปวงชนหรือไม

3. ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม (Participatory Democracy) เปนการเรียก

ระบอบประชาธิปไตยแบบผูแทนที่เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในทางการเมืองการปกครอง

และในการตัดสินใจในระดับตาง ๆ มากยิ่งขึ้น เชน การเปดชองทางใหประชาชนมีสวนรวมในการ

รับรูขาวสาร ความเคลื่อนไหว และความคืบหนาของการบริหารจัดการประเทศโดยผูที่ทําหนาที่

แทนประชาชน ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมเกี่ยวของกับวิธีการกระจายอํานาจและทรัพยากรตาง ๆ

ดังนั้น จึงหมายถึง การที่อํานาจในการตัดสินใจไมควรเปนของกลุมคนจํานวนนอย แตอํานาจควร

ไดรับการจัดสรรในระหวางประชาชน เพื่อทุก ๆ คนไดมีโอกาสท่ีจะมีอิทธิพลตอกิจกรรมสวนรวม

4. ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ โดยทั่วไปประชาธิปไตยมักเปนไปตามที่

บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุดของประเทศ เพื่อเปนแนวทางสําหรับนักกฎหมายและ

การออกกฎหมายอื่น ๆ รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษรจึงเปนเครื่องประกันตอประชาชนวา

รัฐบาลจะปฏิบัติตามแนวทางท่ีแนนอนและถูกตอง จุดแข็งของการเปนประชาธิปไตยอยางแทจริง

ขึ้นอยูกับสิทธิขั้นพื้นฐานที่แนนอนและเสรีภาพ ซึ่งในหลายประเทศไดถูกระบุไวในรัฐธรรมนูญ

ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับระบอบประชาธิปไตย

หากจะกลาวถึงการวิเคราะหซึ่งจะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงสูประชาธิปไตยนั้น

จําเปนตองเขาใจถึงทฤษฎีหรือแนววิเคราะหเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสูระบอบประชาธิปไตย

ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่ตองศึกษาทฤษฏีหรือแนววิเคราะหเพื่อจะไดทราบถึงตัวแปรที่สําคัญ

ดังนั้นแนวคิดวิเคราะหที่สําคัญซึ่งมีอยู 2 แนวคิดที่อธิบายไดดีเกี่ยวกับการเปนประชาธิปไตย คือ

ทฤษฎีการเมือง ทฤษฏีสังคม-เศรษฐกิจและโครงสรางสังคม นั่นเอง

Page 42: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

29

1. ทฤษฎีการเมืองทฤษฎีการเมือง นั้นเปนเงื่อนไขสําหรับการเปนประชาธิปไตย เชน ปจจัยทางดาน

สังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ซึ่งจะเนนถึงปจจัยที่ใกลชิดและเรงดวนที่มีผลกระทบตอพฤติกรรม

ทางการเมือง (สุรชัย ศิริไกร, 2548) นั่นเอง

จอหน ฮิกเลย และ ไมเคิล เบอรตัน (John Higley and Michael Burton, 1989)

มองเห็นวาการเปน ประชาธิปไตยตองอาศัยความเห็นเอกฉันทของผูนําเกี่ยวกับ “กฎเกณฑและ

ระเบียบปฏิบัติทางการเมือง” (Rules and Codes of Political Conduct) ซึ่งนักการเมืองมองเห็น

วิธีการไมใชความรุนแรงวาเปนผลดีตอทุก ๆ ฝาย (Positive Sum) และนักการเมืองที่สําคัญ ๆ ใน

รัฐและสังคมมองประชาธิปไตยวาเปนวิธีการที่ดีที่สุดในการปกปอง ผลประโยชนการเมืองหรือ

แมแตการไดอํานาจ

อดัม เปรสชอรสกี้ (Adam Przeworski, 1991) กลาววาผูมีบทบาททางการเมือง

สนับสนุนประชาธิปไตย “ถาพวกเขาเชื่อวาการพายแพซ้ํา ๆ ในระบบประชาธิปไตยยังดีกวามี

อนาคตภายใตระบบอื่นนอกจากนี้ระบบประชาธิปไตยยังเปนระบบที่ดีที่เสนอคานิยมพื้นฐาน

ชุดหนึ่งซึ่งสําหรับหลาย ๆ กลุมแลวอาจจะเปนระบบที่ดี เพียงพอกวาทางเลือกอื่น ๆ คือ

มีความปลอดภัยจากการใชความรุนแรงโดยพลการ” ดังนั้น จึงเกิดรูปแบบของ ผูนําที่จํากัดหรือ

“ระบบบรรษัทประชาธิปไตย” (Corporatist Democracy) ซึ่งจะเปดทางสําหรับการมีสวนรวม ของ

ผูอื่นมากขึ้นในอนาคต

ทฤษฎีการเมืองหรือแนววิเคราะหของการเปลี่ยนถายไปสูระบบประชาธิปไตยนี้

สวนใหญ เกิดจากการ วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในลาตินอเมริกา ตามทฤษฎีนี้ฝาย

เสรีนิยมในรัฐบาลเผด็จการจะรวมพลัง กับกลุมตอตานในสังคมและริเริ่มของการเมืองเสรี ใน

เหตุการณเชนนั้น พวกเขาหวังวาจะสรางหรือสรางความชอบธรรมจากประชาชนขึ้นใหมและ

ปองกันพลังมวลชนไมใหกลับไปใชความรุนแรงในการเปลี่ยนแปลงการเมือง แตอยางไรก็ตาม

การใหเสรีภาพทางการเมืองจะปลดปลอยพลังสังคมเพื่อประชาธิปไตย ความกลัววาจะเกิด

“การจลาจลของประชาชน” จะทําให “กลุมนิยมประชาธิปไตย” “ฝายตอตานหัวไมรุนแรง” และ

“กลุมตอตาน หัวรุนแรง” สามารถบรรลุขอตกลงเกี่ยวกับแผนการสําหรับ “ประชาธิปไตยที่จํากัด”

ขอตกลงนั้นจะสราง ขบวนการประชาธิปไตยขึ้น (หรือสรางขึ้นมาใหม) แตจะใหหลักประกันแก

ทุกกลุมวาจะไดสวนแบงของอํานาจ (ซึ่งอาจจะเปนรากฐานของจุดเริ่มตนของอนาธิปไตย)

แตอยางไรก็ตาม นักทฤษฎีการเมืองหลายคนไดยอมรับวาปจจัยเรื่องการพัฒนา

ทางสังคมและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะพัฒนาการของระบบทุนนิยม รวมทั้งบทบาทของประเทศ

มหาอํานาจภายนอกวามีผลกระทบตอการ พัฒนาประชาธิปไตยในประเทศยุโรปตะวันออกและใน

Page 43: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

30

เอเชียตะวันออก เชน โบวายอมรับวาการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมใหทันสมัยโดยเฉพาะ

การพัฒนาของระบบทุนนิยมมีผลชวยสงเสริมการพัฒนาประชาธิไตย ในประเทศยุโรปตะวันออก

สวน สมิตเตอร และ คารล (Schmitter and Karl) ซึ่งศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาประชาธิปไตย

ระหวางกลุมประเทศลาตินอเมริกากับกลุมประเทศยุโรปใตและยุโรปตะวันออกไดตั้งขอสังเกตวา

การพัฒนาของสังคมและเศรษฐกิจชนชั้นและโครงสรางอาชีพมีผลตอการพัฒนาประชาธิปไตย

นอกจากนี้ บทบาทของสหภาพโซเวียตยังมีผลตอพฤติกรรมการเมืองของประเทศยุโรปตะวันออก

ในขณะที่ เอ็ดเวิรด ไฟรดแมน (Edward Friedman, 1994) ก็อธิบายวาสหรัฐอเมริกามีอิทธิพลตอ

การพัฒนาประชาธิปไตยในกลุมประเทศเอเชีย ตะวันออก

2. ทฤษฏีสังคม-เศรษฐกิจและโครงสรางสังคม (Social-economic and Social-structure Precondition)

ทฤษฎีสังคม - เศรษฐกิจและโครงสรางสังคมสนใจศึกษาเงื่อนไขหรือตัวแปรดาน

เศรษฐกิจ สังคม และ โครงสรางสังคมที่มีผลตอการพัฒนาระบบประชาธิปไตย ทฤษฎีนี้ตรงกัน

ขามกับแนววิเคราะหของทฤษฎีทาง การเมือง ซึ่งอาศัยการวิเคราะหสถานการณปจจุบันทันดวน

ในชวงเกิดวิกฤตการณ และศึกษายุทธศาสตรของการ ตัดสินใจของตัวผูนําการเมือง ทฤษฎี

เศรษฐกิจ - สังคมและโครงสรางสังคมของการเปนประชาธิปไตยจะใหความสําคัญตอ "เงื่อนไข

กอน" (Pre-Conditions) การเปลี่ยนแปลง อันติงตัน ไดกลาววา "ประชาธิปไตยสามารถจะเกิดขึ้น

ไดแมวาประชาชนจะไมตองการ" ทฤษฎีสังคม - เศรษฐกิจมองวาการพัฒนาเศรษฐกิจ และลัทธิทุน

นิยม เปนตัวแปรอิสระที่สําคัญ (Samuel Huntington, 1993) การเกิดขึ้นของชนชั้นใหม ชนชั้น

นายทุน และ/หรือ แรงงานจะลดอิทธิพลชนชั้น ศักดินาและรัฐ และสนับสนุนสถาบันผูแทน และ

ปูพื้นไปสูการมีสวนรวมทางการเมืองของมวลชนในระบบประชาธิปไตย

ซีมัวร สิปเสท (Seymour Lipset) กลาววา

"...ชาติมีความมั่งคั่งมากเทาใด โอกาสจะมีมากเทานั้นใน การรักษาระบบ

ประชาธิปไตย" แมวาลิปเสทจะกลาวถึงการรักษาระบบประชาธิปไตย

ความสัมพันธนี้ไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง โดยการประเมินความพรอม

ของประเทศหนึ่งสําหรับประชาธิปไตย ลิปเสทไดใชตัวแปรการพัฒนาเศรษฐกิจเหลานี้ คือ ความมั่งคั่ง (Wealth) การพัฒนาอุตสาหกรรม (Industrialization)

การเปนชุมชนเมือง (Urbanization) และการศึกษา (Education) และใชชนชั้น

กลาง วัฒนธรรมของพลเรือน (Civic Culture) ประชาสังคม (Civil Society) เปน

ดัชนีในการวิเคราะหพัฒนาการของระบบประชาธิปไตย”

Page 44: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

31

ภาพที่ 2.2

ตัวแบบของการพัฒนาประชาธิปไตยตามทฤษฎีสังคม – เศรษฐกิจ

(Socio-Economic Model of Democratization)

การพัฒนาเศรษฐกิจ การเปนประชาธิปไตย

(Economic Development) (Democratization)

ที่มา: S.M. Lipset, “Some Social Requister of Democracy : Ecenomic Developmental

and Political Segitimacy ,“ Amer : coon Politics Scienco Review Vol. 53 (Mor. 1959)

โดยทั่วไปทฤษฎีนี้มองวาการพัฒนาเศรษฐกิจกอใหเกิดปจจัยที่เอื้ออํานวยตอการ

เปนประชาธิปไตย หรือกอใหเกิดวัฒนธรรมพลเรือน (Civic Culture) และเกิดประชาสังคม (Civil

Society) เนื่องจาก

1. การพัฒนาเศรษฐกิจเอื้ออํานวยตอการเกิดทัศนคติแบบประชาธิปไตย ที่มี

ทัศนคติไมนิยมความ รุนแรงและมีความอดทน (Moderation and Toleration)

2. การพัฒนาเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้นทําใหระดับการศึกษาในสังคมสูงขึ้นลดขนาดของ

ชนชั้นลาง และทัศนคติที่นิยมความรุนแรงทางการเมืองและนโยบายการเมืองที่รุนแรงของชนชั้น

ลาง

3. ความมั่งคั่งที่มีเพิ่มมากขึ้นและความมั่นคงทางการเมืองที่เพิ่มขึ้นทําใหชนชั้นที่รํ่า

รวย (ชั้นสูงและ ชั้นกลาง) มีทัศนคติที่ใจกวางตอชนชั้นลางที่ยากจน ความมั่งคั่งยังทําใหชนชั้น

ปกครองมีทรัพยากร ทางการเมืองเพิ่มขึ้น (Political Resources) ทําใหการตอสูเกมสการเมืองไม

รุนแรงแบบเอาเปนเอาตาย หรือเปนแบบ "zero-sum" ที่ทําใหไมยินยอมประนีประนอม และ

กอใหเกิดความสัมพันธ แบบอุปถัมภ (Clientilistic Ties)

4. ความเจริญมั่งคั่งทางเศรษฐกิจทําใหเกิดการยอมรับในเรื่อง "ความคิดเห็นที่ตรง

ขาม" (Loyal Opposition) และประเพณีสากล เชน การปกครองโดยกฎหมายมีความเปนไปได

ชนชั้นกลาง(Middle Class)

วัฒนธรรมพลเรือน

(Civic Culture)ประชาสังคม/พื้นที่สาธารณะ

(Civil Society/Public

Sphere)

Page 45: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

32

5. การพัฒนาอุตสาหกรรม และเกิดเปนชุมชนเมือง (Industrialization and Sub

Urbanization) เกื้อหนุนตอการจัดตั้งองคกรมวลชนซึ่งจะเปนรากฐานทางสังคมของระบบ

ประชาธิปไตย

แนวคิดเกี่ยวกับชนชั้นกลาง

ความหมาย

การนิยามชนชั้นกลางไทย มีรากฐานทางทฤษฎีอยูอยางนอย 3 แนวทาง คือ

การนิยามชนชั้นกลางตามแนวคิดแบบมารกซิสต (ทั้งในระบบ 2 ชนชั้นและระบบ 3 ชนชั้น) และ

การนิยามชนชั้นกลางจากมุมมองของกลุมเวเบอเรียน โดยแนวคิดชนชั้นกลางนั้นมีมาตั้งแตสมัย

อริสโตเติล สําหรับสังคมไทยน้ันนักคิดสวนใหญยึดแนวทางในการนิยามชนชั้นกลางทั้ง 2 แนวทาง

แตไดอาศัยหลักคิดและการอธิบายในเชิงประวัติศาสตรไทย โดยมิไดยึดหลักการวิเคราะหตาม

แนวทางใดแนวทางหนึ่ง

ชนชั้นกลางตามแนวคิดของอริสโตเติล

อริสโตเติลนักปราชญชาวกรีก ที่บรรดานักรัฐศาสตรทั้งหลายพากันยกยองวาเปน

บิดาของวิชารัฐศาสตรนั้น อริสโตเติลเริ่มเรื่อง Politics ดวย การพรรณนาความเปนมาของรัฐ วา

เปนวิวัฒนาการทางธรรมชาติของมนุษย ซึ่งเริ่มจากปจเจกบุคคล แลวขยายออกไปเปนครอบครัว

จากครอบครัวเปนหมูบานจนถึงเมือง และนครรัฐในที่สุด ซึ่งเปนจุดสุดยอดทางพัฒนาการของ

มนุษย เมื่อมนุษยอยูเมืองเปนยอมมีความสามารถในการใชศักยภาพที่ซอนเรนอยูภายในตนให

เกิดผลทางอารยะธรรมไดอยางเต็มที่ กลาวคือ มนุษยสามารถดํารงชีวิตใหเปนชีวิตที่ดีไดอยาง

สมบูรณภายในขอบเขตของนครรัฐ

มนุษย มีความแตกตางจากสัตวชนิดอื่น ๆ ตรงที่สัตวอื่น ๆ นั้นสามารถดํารงชีวิตได

อยางอิสระอยูไดอยางเอกเทศหรืออยู เปนฝูง ๆ เพียงเพื่อตองการหาเลี้ยงชีพ แตมนุษยไมเพียงแต

ตองการสนองสัญญาตญาณ ความเปนสัตว หากอาจไมไดเหนือความเปนสัตว ดวยความประพฤติ

ปฏิบัติทางจริยธรรม เพื่อความสงบเรียบรอยและดีงาม กลาวอีกนัยหนึ่งคือ มนุษยไมมีหนาที่เพียง

การดํารงชีวิตเทานั้น หากตองดําเนินชีวิตไปในทางที่ดีอีกดวย

Page 46: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

33

สําหรับแนวคิดของอริสโตเติล มนุษยไมสามารถอยูอยางโดดเดี่ยวได ความจําเปนบังคับ

ใหมนุษยตองมีคูครองเพื่อสืบพันธุ นายตองมีบาวหรือทาสกรรมกรไวเพื่อชวยงาน หากจุดนี้เองที่

ครอบครัวเกิดขึ้น คูครองภายในครอบครัวบําบัดตัณหาราคะอันเปนสัญชาตญานความเปนสัตว

ดุจดังที่มนุษยตองกําจัดความหิวกระหาย รอน หนาว ความอับอาย ความเจ็บไขไดปวยตองการ

แสวงหาอาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย เพื่อชีวิตจะไดดํารงอยูได แตเทานั้นเปนสัตว ที่รูคิด

ฉะนั้นการอยูในครอบครัวก็ชวยใหมนุษยรูจักคิดในการที่จะทําหนาที่ชวยเหลือเกื้อกูลซึ่ งกัน

และกัน ดังบิดามีหนาที่ทางจริยธรรมตอบุตร และนายมีหนาที่ทางจริยธรรมตอทาสและกรรมกร

รัฐสมบูรณแบบ เปนแนวความคิดของ Aristotle ซึ่งแตกตางจากแนวความคิดเรื่อง

อุดมรัฐของ Plato โดย Aristotle หันมาสนใจอุดมการณของรัฐที่ดีมากกวาการกําหนดโครงสราง

อันสมบูรณตามแบบของอุดมรัฐ รัฐสมบูรณแบบ คือรัฐที่มีเจตนารมณสอดคลองกับเจตนารมณ

ของราษฎร

Aristotle อธิบายลักษณะของรัฐสมบูรณแบบโดยรัฐธรรมนูญในอุดมคติ ซึ่ง

Aristotle เห็นวารัฐธรรมนูญในอุดมคติ ตองแสดงใหเห็นถึงความสอดคลองของเจตนารมณของรัฐ

และของราษฎร และตองแสดงใหเห็นถึงชีวิตที่ดีของราษฎร ชีวิตที่ดี หมายถึง สิ่งที่ดีภายนอก สิ่งที่

ดีของรางกาย และสิ่งที่ดีของจิตใจ บุคคลจะสุขสมบูรณและมั่นคงไดก็ตองมีสิ่งดีสามประการนี้ แต

จะตองคํานึงถึงลําดับกอนหลังและความสัมพันธกันที่เหมาะสม มีความสนใจตอสิ่งดีภายนอกหรือ

วัตถุนิยมมากเกินไป ทําใหจิตใจผันแปรได ในขณะเดียวกันการเนนสิ่งที่ดีของรางกายหรือ

การพะวงอยูกับสภาพรางกายมาก เกินไปทําใหสิ่งที่ดีของจิตใจ หรือภาวะจิตใจออนแอได จึงควร

ใหสนใจสิ่งดีภายนอก สิ่งดีของรางกาย และสิ่งดีของจิตใจอยางสมดุลกัน

รัฐ ที่ดีจะวางลําดับกอนหลังของสิ่งดีภายนอก สิ่งดีของรางกาย และสิ่งดีของจิตใจ

เพื่อปลูกฝงหลักธรรมในหมูราษฎรของตน รัฐจะไมระราน หรือเอาเปรียบผูอื่นแตจะสนใจ

แตสันติภาพ และการแกไขปรับปรุงภายในแมวาจะคงมีกําลังทหารก็เพียงการปองกันรัฐ แตไมใช

อํานาจเพื่อรุกรานเพื่อนบาน

รัฐ สมบูรณแบบ ควรมีขนาดที่เหมาะสมที่จะปฏิบัติภารกิจใหลุลวงไปตาม

วัตถุประสงคอยางมี ประสิทธิภาพ รัฐที่ใหญเกินไปยากตอการบังคับใชกฎหมาย รัฐที่ดีจะตองมี

ระเบียบอยางดี ถาเล็กเกินไปจะขาดทรัพยากรที่จะเลี้ยงตัวเองได รัฐควรมีขนาดใหญพอที่จะมี

ทรัพยากรใหพอกับการเลี้ยงชีพของราษฎร และมีเวลาวางพอเพียงที่จะคิดอานและปฏิบัติหนาที่ใน

ฐานะราษฎร แตรัฐไมควรใหญและร่ํารวยไปกวานั้น เพราะจะทําใหเกิดความฟุมเฟอย

รัฐ สมบูรณแบบควรจะตั้งอยูในชัยภูมิที่มีอํานาจในการปองกันรัฐ โดยคํานึงถึง

การทหารและการพาณิชย มีความเปนไปไดที่รัฐจะกลับไปสนใจและใหความสําคัญกับการมี

Page 47: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

34

อํานาจทางเรือ และทรัพยสมบัติที่หลั่งไหลมาจากการพาณิชยทางทะเล ตองมีกําลังทางเรือที่

เหมาะสม แตเจาหนาที่ทางเรือจะตองอยูนอกวงสังคมทางการเมือง มิฉะนั้นแลว เจาหนาที่ทาง

เรือจะมีอํานาจเหนือราษฎร ในการพาณิชยรัฐควรซื้อสิ่งจําเปนเขา และขายสิ่งเหลือใชออกไป โดย

ไมควรตั้งตัวเปนนายหนา หรือพอคาเดินเรือใหกับรัฐอื่น ๆ และจุดเนนของการพาณิชย เพื่อเลี้ยง

ตัวเองได ไมใชเพื่อผลกําไร

งานหนาที่ของรัฐ 6 ประการที่ตองปฏิบัติ คือ เกษตรกรรม ศิลปกรรมและงานฝมือ

การปองกันรัฐ กรรมสิทธิ์ที่ดิน ศาสนา และการปกครอง แตมีปญหาวารัฐจะปฏิบัติหนาที่ ทั้ง

6 ประการ ใหสมดุลกันไดอยางไร Aristotle เสนอวา เกษตรกรรม และศิลปกรรม และงานฝมือ

เปนหนาที่ของราษฎรสวนใหญ การพาณิชยเปนหนาที่ของคนเฉพาะกลุม หนาที่ปองกันรัฐเปน

ของราษฎรวัยฉกรรจ การปกครองเปนหนาที่ของราษฎรวัยกลางคน และหนาที่ทางศาสนาเปนของ

ราษฎรวัยชรา ราษฎรกลุมตาง ๆ ปฏิบัติงานตามวัยที่เหมาะสม และเมื่อพนวัยก็จะเลิกปฏิบัติงาน

ราษฎรรุนตอไปจะมารับหนาที่แทนตอไป

สําหรับที่ดิน Aristotle เสนอ วา ที่ดินบางแหงจะตองเปนของกลางเพียงพอที่จะให

ผลิตรวมกัน ที่ดินนอกจากนั้นจะเปนของสวนตัว เจาของที่ดินแตละคน จะครองที่ดิน 2 แปลง

แปลงหนึ่งใกลเมือง และอีกแปลงหนึ่งอยูในทองที่ชายแดน จุดประสงคของการจัดแบบนี้ก็เพื่อให

ราษฎรมีความเสี่ยงเทา ๆ กัน เมื่อเกิดสงครามกับรัฐอื่น ๆ อยางไรก็ตามราษฎรที่ถือครองที่ดินมิได

ทํางานในที่ดินดวยตนเอง แตจะมีทาสหรือบาวทํางานจริง ๆ

รัฐสมบูรณแบบไดแกรัฐที่สามารถชวยสงเสริมใหราษฎรมีชีวิตที่ดี ซึ่งเปนไปได 3 ทาง

คือ

1. คุณสมบัติโดยธรรมชาติ หมายถึง ความสามารถของคนที่ไดมาจากธรรมชาติ

เปนคุณสมบัติที่ติดตัวคนมาโดยกําเนิด และรัฐไมอาจเพิ่มเติมได

2. อุปนิสัยอันเหมาะสม ซึ่งสามารถปรับปรุงไดดวยการศึกษาอบรม ที่รัฐสามารถ

สรางนิสัยอันเหมาะสมของราษฎรได

3. หลักการอันอุดมเหตุผล ซึ่งสามารถปรับปรุงโดยผานระบบการศึกษาเชนกัน

รัฐสมบูรณแบบยอมใหการศึกษาแกราษฎรเพื่อใหบรรลุถึงความดี Aristotle ไมได

วางรูปโครงระบบการศึกษาอันเหมาะสมอยางสมบูรณ แตมีขอเสนอแนะวา ระบบการศึกษา

จะตองกระทํารวมกันระหวางราษฎรทั้งปวงและจะตองเปนของสาธารณะ ไมใชระบบเอกชน ในรัฐ

สมบูรณแบบผูออนวัยอยูในความปกครองของผูสูงวัย และไดรับการศึกษาอบรมใหรูจักเคารพรัฐ

สมบูรณแบบ และเมื่อโตขึ้นจะเขาโรงเรียน ซึ่งมีหลักสูตรเนนการบํารุงสรางเสริมทางรางกาย และ

นิสัยจะประกอบดวย การอาน การเขียน วาดภาพและดนตรี

Page 48: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

35

สรุปไดวา ใหเขาใจวาขอเสนอของ Aristotle เปนขอเสนอสําหรับรัฐสมบูรณแบบ ซึ่ง

อาจจะไมสามารถนําไปใชในสภาพการณอื่นได แตกลาวไดวา Aristotle ใหบทเรียนยิ่งใหญที่สุด

บางอยางแกเรา หรือควรจะกลาววา Aristotle พยายามสอนเราใหมีจิตสํานึกในการจัดระเบียบ

การบริหารการปกครองของรัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในรัฐสมบูรณแบบ Aristotle ไดนําเสนอรัฐที่ดี

ที่สุด คือรัฐที่มีเจตนารมณ สอดคลองกับเจตนารมณของประชาชน

รูปแบบการปกครองในความหมายของอริสโตเติล

รูปแบบการปกครองที่ดี1. ราชาธิปไตย (Monarchy) เปนการปกครองโดยคนเดียว

2. อภิชนาธิปไตย (Aristocracy) เปนการปกครองโดยกลุมคน

3. โพลิตี ้(Polity) เปนการปกครองโดยคนจํานวนมาก

รูปแบบการปกครองที่ไมดี1. ทรราชย (Tyranny) เปนการปกครองโดยคนเดียว

2. คณาธิปไตย (Oligarchy) เปนการปกครองโดยกลุมคน

3. ประชาธิปไตย (Democracy) เปนการปกครองโดยคนจํานวนมาก

อริสโตเติลไดอธิบายวา รูปแบบการปกครองใดก็ตาม ที่สงเสริมใหผูปกครองใช

อํานาจเพื่อประโยชนสุขของสวนรวม ถือเปนรูปแบบที่ดี ในขณะเดียวกัน รูปแบบการปกครองที่

สงเสริมใหผูปกครองใชอํานาจเพื่อผลประโยชนสวนตนและพรรคพวก นั้น เปนรูปแบบที่ไมดี อริส

โตเติลไดแสดงความเห็นวา รูปแบบ Polity นั้น จัดเปนรูปแบบการปกครองที่ดีที่สุด และ มี

เสถียรภาพมากที่สุด อริสโตเติลไดอธิบายวา Polity เปนการปกครองโดยรัฐธรรมนูญ Constitutional

Government เปนรัฐที่ราษฎรสวนใหญเปนผูเลือกนักบริหาร ซึ่งมีหนาที่ในการปกปองผลประโยชน

สวนรวม การปกครองแบบ Polity จะเปนหลักการประนีประนอม ระหวางหลักการ 2 อยางคือ

เสรีภาพ และ ทรัพยสิน เปนการเชื่อมเสรีภาพของคนจน กับ ทรัพยสินของคนรวย เพื่อที่อํานาจ

สูงสุดจะไดไมอยูที่ชนชั้นใดชนชั้นหนึ่ง ไมวาจะเปนคนจน หรือ คนรวย อริสโตเติลยอมรับวา

อํานาจเปนของประชาชนดีกวา ที่จะเปนของคนเพียงไมกี่คน ที่มีศีลธรรม[Soft Break]รัฐแบบ

Polity ประกอบดวยชนชั้นใหญ ๆ 3 กลุม คือ คนรวย คนชั้นกลาง และ คนจน โดยเสถียรภาพของ

รัฐแปรตามชนชั้นกลาง กลาวคือ ถาหากชนชั้นกลางมีมาก รัฐก็จะมีเสถียรภาพมาก เพราะเหลา

คนชั้นกลาง จะระงับพลังของคนจน และ คนรวย ที่จะทําลายรูปแบบ Polity แลวกลับไปสูรูปแบบ

Democracy หรือ Oligarchy

Page 49: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

36

ทางฝายระบอบที่ดีนั้น อริสโตเติลถือวาราชาธิปไตยดีที่สุด เพราะถาคนคนหนึ่งดีและ

มีความสามารถแลว ยอมทําประโยชนใหแกราษฎรในรัฐไดมาก สวนอภิชนาธิปไตยรองลงมา

เพราะการปกครองรัฐระบอบนี้ ตองมีจํานวนชนชั้นปกครองมากขึ้น ยอมจะใหดีทีเดียวเลยไมได

แตก็อาจรักษาคุณธรรมของคณะคนกลุมนอยไดงายกวาระบอบโพลิตีหรือชนชั้นกลาง ทางฝาย

ที่ไมดีนั้น ระบอบทรราชยหรือทรราชาธิปไตยเลวที่สุด เพราะเมื่อคนสูงสุดเลวรายเสียแลว ยอม

เลวรายถึงที่สุด สวนคณาธิปไตยเลวรายนอยลงไป เพราะพวกเศรษฐีเปนเพียงพวกกลาง ๆ และมี

จํานวนหลายคน ถึงจะรวมหัวกันทําความชั่ว ก็ไมเลวรายเทาคน ๆ เดียวที่วางแผนและ บงการอยู

อยางมีอํานาจสิทธิ์ขาดเปนเอกเทศ โดยที่ประชาธิปไตยยอมเลวรายนอยที่สุด เพราะอยางนอยก็

ทําความเลวเพื่อพวกตน ซึ่งเปนคนหมูมาก เทากับวาคนหมูมากยอมไดผลประโยชนพลอยไดอยู

ดวย

จะเห็นไดวาอริสโตเติล มีทัศนะเกี่ยวกับระบอบประชาธิปไตยที่ไมดีเทาใดนัก เพราะ

เขามองวาประชาธิปไตย (ในรูปแบบของสภา) เปนระบอบการปกครองที่ไมคํานึงถึงประชาชน

ปลอยใหอํานาจทางการเมืองขึ้นอยูกับกรรมการหรือสภา ซึ่งชอบใชอํานาจอยางฟุมเฟอย หากแต

การปกครองแบบโพลิตี (polity) นั้นคือการปกครองโดยชนชั้นกลาง โดยอาศัยรัฐธรรมนูญเปน

หลักในการปกครอง จะเปนการปกครองที่ดีกวาหากจะตองใชรูปแบบการปกครองโดยคนหมูมาก

สาเหตุที่เขานิยมชมชอบใน ชนชั้นกลางเนื่องจากเขาพบวา รัฐทั่ว ๆ ไปมักจะ

ประกอบไปดวยคน 3 ชั้น คือ พวกร่ํารวย ซึ่งมักจะมี จํานวนไมมาก เห็นแกตัวและขาดความเห็น

อกเห็นใจและไมมีเหตุผล พวกยากจน ซึ่งมีจํานวนมาก แตมีความตองการที่ไมสิ้นสุดและมีความ

ละโมบ จึงเปนกลุมที่ขาดเหตุผลเชนเดียวกัน ถาใหคนสองกลุมอยูรวมกันในรัฐจะเกิดการปะทะ

ระหวางสองกลุม ดังนั้น ชนชั้นกลางจึงเปนกลุมคนที่มีเหตุผลมากกวาเพื่อน เพราะไมเห็นแกตัว

แบบคนมั่งมีและไมละโมบแบบพวกยากจน

อริสโตเติลยังมีความเห็นวา คนแตละชนชั้นในสังคมนั้น จะมีลักษณะเฉพาะของ

ตนเอง กลาวคือ คนร่ํารวยมีความรูวาจะปกครองอยางไร แตจะไมยอมรับในระเบียบขอบังคับ อีก

ทั้งยังมีความไดเปรียบกวาชนชั้นอื่น และ ยังมีความละโมบในเรื่องทรัพยสิน ในขณะที่คนจนมี

ความเขาใจยอมรับและเชื่อฟงในระเบียบขอบังคับ หากแตขาดน้ําใจ อิจฉาในทรัพยสมบัติของคน

รวย และยอมฟงการปลุกระดมที่สัญญาวาจะมีการแบงทรัพยสิน คน 2 ชนชั้นนี้มักจะแตกแยกและ

ขัดแยงกันอยางรุนแรง ดวยเหตุผลดังกลาว อริสโตเติล จึงเชื่อวา ชนชั้นกลางจะรับฟงเหตุผลมาก

ที่สุด เปนกลุมที่มีความสุขุมเยือกเย็น มีความอุตสาหะ และ เปนผูคอยเฝาดูการบริหารของรัฐ อริส

โตเติลใชชนชั้นกลางเปนกันชน ของโครงสรางชนชั้นทางสังคม

Page 50: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

37

อริสโตเติล ใหนิยามความหมายของชนชั้นกลาง คือ บุคคลที่ไมไดเปนเศรษฐีมีทรัพย

มาก หรืออภิชนที่มีแวดวงทางสกุลที่ตองปกปองผลประโยชนของตน หรือมหาชนคนสวนใหญที่มุง

จําเพาะประโยชนของฝายตนเทานั้น ชนชั้นกลางในทัศนะของอริสโตเติล จึงเปนกลุมที่มีมาก

พอควรและเปนที่ยอมรับทั้งฝายคนรวยและคนจน ทั้งนี้เพราะชนชั้นกลาง มีความสามารถในการ

ใชเหตุผลไดยิ่งกวาคนชั้นอื่น โดยท่ีคนรวยมักโอหังและคนจนมักมีความชั่วรายเล็ก ๆ นอย ๆ ติดตัว

อยูเสมอ นอกจากนี้แลวชนชั้นกลางยังไมฟุมเฟอยหรือทําการใหหมดตัวไปอยางงาย ๆ นอกจากนั้น

อริสโตเติลยังเชื่อวา ชนชั้นกลางมีความเหมาะสมที่สุดที่จะปองครองรัฐ เพราะบุคคลเหลานี้ไมมี

ความตองการย้ือแยงอะไรมากจากคนอื่น และไมตองการใหคนอื่นมาลวงสิทธิของพวกตน อริสโตเติล

ยังเสนอตอไปอีกวา รัฐที่ไมตองการรัฐประหารและสงครามกลางเมือง ควรหาทางใหคนชั้นกลาง

ขึ้นมาปกครองรัฐ โดยใหมีจํานวนเขาไปมากพอสมควร เพื่อความมั่นคงของรัฐและความผาสุขของ

ประชาชน

สังคมที่ดี คือ สังคมที่ทุก ๆ คนรูสึกเปนมิตรกัน และความรูสึกนี้จะเกิดขึ้นไดในเมื่อ

สมาชิก ของสังคม ทุก ๆ คน รูสึกวา มีฐานะเทาเทียมกัน ความเสมอภาคในทรรศนะของอริสโต

เติลนี้ มิไดหมายถึง ความเทาเทียมกันในทุก ๆ ดาน แตหมายความวาความ ยุติธรรมตามสวน

(Distributive Justice) ทุกคนมีฐานะ เปนราษฎรที่ เท า เทียมกัน แตสติปญญายอมมี ไม

เทากัน เพราะฉะนั้นหนาที่ ที่จะไดรับก็ยอมแตก ตางกันออกไป และ เกียรติที่ไดรับมากมาย

เพียงได ก็ตองขึ้นอยูกับ หนาที่ ๆ ปฏิบัติ วาจะอํานวยประโยชนให สังคมเพียงใด ซึ่งขึ้นอยูกับ

สติปญญาและความสามารถของบุคคล

อริสโตเติล ชี้แจงวา ”ราษฎรสามัญแตละคน อาจจะไมมีสติปญญาพอ ที่จะ

รับผิดชอบในการบริหาร ไมสามารถพิจารณาปญหา ตาง ๆ ดวยตนเองได ถึงแมวาราษฎรที่มี

จํานวนมากเหลานี้มารวมกัน แตก็จะทําใหเกิดปญหารวมซึ่งจะนําไปคิด พวกที่มีฐานะทาง

เศรษฐกิจที่ดี ที่มีการศึกษาสูง ๆ มีประสบการณมากกวา เขามาทําหนาที่บริหาร โดยวิธีนี้อํานาจ

ทางการ เมือง (Political Control) จึงอยูในมือของราษฎรสวนใหญ และผูที่ใชอํานาจในการ

ปกครองก็ใชอํานาจนี้ โดยความยินยอมของประชาชน (Government by Consent) นอกจากนี้

อริสโตเติล ยังมีความเห็นอีกวา รัฐควรจะมีความระมัด ระวังความขัดแยงในเรื่องเศรษฐกิจอีกดวย

และรัฐที่มั่นคงควรมี ชนชั้นกลาง มากกวา ชนอีก 2 ชั้น คือคนมั่งมีและคนยากจน

กลาวโดยสรุป ชนชั้นกลางเหมาะที่สุดที่จะปกครองรัฐดังที่เปนอยูตามความเปนจริง

เพราะพวกนี้ไมตองการยื้อแยงอะไรมากจากใครอื่น และก็ไมตองการใหใครอื่นมาลวงสิทธิของพวก

ตน พวกนี้ไมตองการวางแผนโคนลางพวกอื่น และก็ไมตองการใหผูอื่นมาวางแผนโคนพวกตน

Page 51: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

38

อริสโตเติล เชื่อวา การยึดหลักสายกลาง (Moderation) สังคมจะเปนสุข ถาในสังคม

มีแตคนมั่งมีและคนจนในสังคมก็จะมีแตนายกับบาว รัฐจะไมเปนรัฐของเสรีชน แตเปนรัฐของทาส

กับ นาย และจะเปนรัฐที่ดีไปไม ได ดังนั้นรัฐที่ดีจึงควรมีชนชั้นกลางมากกวาคน มั่งมีและคนจน

เพื่อคอยถวงดุลยอํานาจแหงสังคม

ชนชั้นกลางตามแนวคิดทฤษฎีมารกซิสต

ชนชั้นกลางนิยามในทางทฤษฎีตามแนวคิดมารกซิสตใหความสําคัญกับคน 2 ชนชั้น

และยอมรับ”ชนชั้นกลาง” มีความหมายตาม ”ชนชั้นกระฎมพี” ในสังคมกอนทุนนิยมที่พัฒนา

ตัวเองมาเปนนายทุนในความหมายของคํา ชนชั้นกลาง” ทั้งสองยอมมีความแตกตางกัน จาก

พัฒนาการเปนแนวคิดมารกซิสตใหมมีการพยายามอธิบายโครงสรางชนชั้นในสังคมทุนนิยม

สมัยใหมออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมวิเคราะหในระบบ 2 ชนชั้น และกลุมนักวิเคราะหตาม

แนวทาง 3 ชนชั้น ดังนี้ (ศิริพร ยอดกมลศาสตร, 2538, น.11-18, เรียบเรียงจาก Meyer, 1961,

น. 37-39)

1. กลุมนักวิเคราะหสังคมภายใตระบบโครงสราง 2 ชนชั้น ใหความสําคัญกับ

บทบาทของชนชั้นนายทุนและชนชั้นแรงงาน ซึ่งอยูคนละดานของผลประโยชนและอํานาจ นั่นคือ

ฝายหนึ่งเปนผูขูดรีด ขณะอีกฝายหนึ่งเปนผูถูกขูดรีด โดยพิจารณาวาภายใตการครอบงําของทุน

ซึ่งมีอยูทั่วไป การพิจารณาชนชั้นตามความสัมพันธกับปจจัยการผลิตคือพื้นฐานการพัฒนา

จิตสํานึก เปนการพิจารณาจิตสํานึกในระดับ ”ชนชั้นในตน” (Class in itself) ซึ่งในที่สุด

การพัฒนาความรูสึกทางชนชั้นจะกอใหเกิดชนชั้นที่มีจิตสํานึกในระดับ “ชนชั้นเพื่อตน” (Class for

Itself) และมีการรวมตัวตอสูของชนชั้นผูถูกขูดรีดอยางมีทิศทางตามที่เงื่อนไขเฉพาะทาง

ประวัติศาสตรไดกําหนดไว

2. กลุมนักวิเคราะหตามแนวทาง 3 ชนชั้น ใหความสําคัญกับการเติบโตของชน

ชั้นกลางวา เปนปรากฏการณของพัฒนาการระบบทุนนิยมสมัยใหม ในกลุมแนวคิดนี้นําโดย

Eduard Bernstein (1850-1932) เชื่อวาภายใตพัฒนาการของสังคมทุนนิยมที่ซับซอนอยางมาก

การกระจุกตัวทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น มิไดทําลายธุรกิจรายยอยที่หลากหลายแสดงถึงการคงอยู

อยางเปนอิสระของชนชั้นกลางเกา ซึ่งเปนผูประกอบการเอกชนขนาดกลางและเล็ก รวมถึง

ผูบริหารในกิจการบริการสาธารณะ เสริมดวยชนชั้นกลางในกลุมแรงงานปกขาว (White-collar

workers) และลูกจางในกิจการบริการสาธารณะ (Public Employees) เปนกลุมชนชั้นแรงงาน

(Working Class) ที่มีลักษณะแตกตางกันในดานการศึกษา อาชีพ และรายได แนวโนม

Page 52: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

39

การเพิ่มขึ้นของกลุมชนชั้นกลางนับเปนเครื่องบงชี้ที่สําคัญวา การวิเคราะหโครงสรางชนชั้นใน

สังคมทุนนิยมแบบดั้งเดิม (Classical Class Structure) ที่มีชนชั้นนายทุนชนชั้นแรงงานอยูในฐานะ

ตรงขามซึ่งกันและกัน โดยละเวนการกลาวถึงกลุมชนที่กระจัดกระจายอยูในระดับกลาง

(Intermediate Groups) เปนสิ่งที่ไมเพียงพอในการอธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นจริง นอกจากนี้

ระบบทุนนิยมยังมีความยืดหยุนในการปรับตัวของระบบอยางมาก กลาวคือ ระบบทุนนิยม

สามารถใชประโยชนจากการพัฒนาเทคโนโลยีในหลาย ๆ ดาน ทั้งทางดานการสื่อสาร การใช

รูปแบบการแลกเปลี่ยนใหมในระบบสินเชื่อ (Credit System) และการพัฒนาองคกรทางเศรษฐกิจ

ฯลฯ

ชนชั้นกลางในแนวคิดของกลุมเวเบอเรียน

นักคิดในกลุมเวเบอเรียนภายใตการนําของ Max Weber (1864-1920) ไดพยายาม

เสนอการจัดชวงชั้นทางสังคมที่มีความหลากหลาย โดยมีจุดเริ่มตนจากการกลาวหาถึงความไม

สมบูรณในแนวคิดมารก เพราะพัฒนาการที่สลับซับซอนของระบบทุนนิยม นักคิดสําคัญหลาย

คนในกลุมนี้พยายามวิพากษวิจารณความเหมาะสมในการนําแนวคิดวิเคราะหของมารกมาใชมา

อธิบายสังคมที่ตนดํารงอยู อาทิ Ralf Dahrendorf (1959) ยอมรับวาความขัดแยงทางชนชั้น

(Class Conflict) ตามแนวคิดของมารกเปนสวนสําคัญที่หลีกเลี่ยงไมไดในการวิเคราะหเรื่องชนชั้น

แตวาการวิเคราะหเรื่องโครงสรางชนชั้นของมารก โดยเฉพาะการใชปจจัยการผลิตเปนตัวชี้วัด

ฐานะทางชนชั้น นับเปนสวนที่มิอาจนํามาอธิบายสังคมสมัยใหมได การอธิบายความสัมพันธของ

คนในสังคมควรอธิบายความสัมพันธของอํานาจ (authority) หรือการที่ Frank Parkin ชี้ถึง

ความไมเพียงพอในการใชวิถีการผลิต (mode of production) อธิบายการจัดชวงชั้นทางสังคม

เพราะวิธีการดังกลาวใหความสําคัญแตเฉพาะมิติการผลิต โดยไมกลาวถึงอาชีพที่หลากหลายใน

สังคมสมัยใหม ซึ่งมีผลกระทบตอโครงสรางชนชั้นในสังคมสมัยใหมเปนอยางมาก

การวิเคราะหตามแนวคิดของกลุมเวเบอเรียน มีลักษณะสําคัญรวมกันประการหนึ่ง

คือ การพยายามนําเสนอแนวทางที่เปนไปไดในการวิเคราะหกลุมชนที่อยูระหวางคน 2 ชนชั้น

นั่นคือ การกลาวถึง “ชนชั้นกลาง” แมจะมีความแตกตางในการกลาวถึงชนชั้นกลางของนักคิดใน

กลุมนี้และมีการใชปจจัยในการวิเคราะหโดยปจจัยสําคัญที่ไมแตกตางไปจากการนําเสนอของ

Lockwood (1958, quoted in Abercrombie and Urry,1983, p. 20) นั่นคือ

1. สถานการณในทางตลาด (marker situation) ประกอบดวย แหลงที่มา และระดับ

รายได ความม่ันคงในอาชีพและโอกาสในความกาวหนาของอาชีพ

Page 53: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

40

2. สถานการณในทางการงาน (work situation) เปนความสัมพันธทางสังคม ซึ่ง

ปจเจกบุคคลถูกนําเขาไปพัวพันกับตําแหนงหนาที่ของเขาในกระบวนการแบงงานกันทํา

3. สถานการณในฐานะทางสังคม (Status Situation) เปนตําแหนงในอํานาจ

ตามลําดับชั้นของเกียรติและศักดิ์ศรี

C. Wright Mills (1951) เปนนักคิดผูหนึ่งที่อธิบายความแตกตางระหวางชนชั้นกลาง

เกา (The old Middle Classes) ไดแก นักธุรกิจขนาดเล็กที่มีความอิสระ ซึ่งตองตอสูกับระบบ

ผูกขาดของนายทุนขนาดใหญในโลกเกาตองมีปริมาณลดลงเรื่อย ๆ และชนชั้นกลางใหม (The

New Middle Class) คือ กลุมแรงงานรับจางที่เกิดและเติบโตเรื่อย ๆ ในกระบวนการพัฒนาระบบ

ทุนนิยมสมัยใหม อาจะเรียกวา พวกแรงงานปกขาว ก็ได ทั้งนี้งานของเขาไดใหความสําคัญแกการ

วิเคราะหกลุมแรงงานปกขาว โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของโครงสรางอาชีพ อันไดรับผล

มาจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี กลาวคือ การพัฒนาเทคโนโลยีมีผลตอกระบวนการแบง

งานกันทํา เพราะการพัฒนาเทคโนโลยีเปนผลที่เกิดขึ้นมาจากการทํางานของแรงงานเฉพาะดานที่

มิไดอยูในกระบวนการผลิต พรอมกันนั้นผลของการพัฒนาเทคโนโลยีดังกลาวก็ทําใหสถาน

ประกอบการของนักธุรกิจสามารถขยายขนาด สงผลใหเกิดความตองการแรงงานชนิดใหม ๆ นอก

ภาคการผลิต โดยเฉพาะแรงงานในสวนของการสงเสริมการขาย การขนสง การจัดการในภาค

การเงิน ฯลฯ และที่สําคัญคือการเติบโตในงานบริการของภาครัฐเพื่อการรองรับธุรกิจที่เติบโตได

กอใหเกิดแรงงานนอกภาคการผลิตอีกสวนหนึ่งดวย แรงงานนอกภาคการผลิตที่กลาวถึงทั้งหมดก็

คือ “แรงงานปกขาว” หรือ “ชนชั้นกลาง” เปนกลุมชนผูไรสมบัติคลายกับชนชั้นแรงงาน และมี

ลักษณะของงานที่หลากหลาย แมวาคนเหลานี้จะไมมีอํานาจเหนือทรัพยสิน ตองขายแรงงาน

และทํางานใหกับเจาของกิจการเพื่อใหไดรับคาจางเพื่อการครองชีพ แตการแบงฐานะทางชนชั้น

โดยใชอาชีพเปนตัวกําหนดชนชั้น สถานภาพและอํานาจสามารถทําใหเรามองเห็นชนชั้นกลาง

ผูมีอํานาจจากตําแหนงหนาที่การงาน มีความสัมพันธกับทรัพยสินผานสถาบันทางกฎหมาย

ซึ่งสะทอนผานรายได ทั้งนี้อาชีพสามารถแสดงถึงอํานาจและสะทอนใหเห็นถึงเกียรติและศักดิ์ศรี

ของบุคคล ดังน้ันการพิจารณาแรงงานปกขาวจากตําแหนงทางสถานภาพจริงจึงเปนสิ่งที่เหมาะสม

วาการใชปจจัยการทางเศรษฐกิจเปนตัวกําหนดในทัศนะเชนนี้

ขณะที่ Mills ใหความสําคัญกับปจจัยทางดานอาชีพใชสถานการณทางการงานเปน

เครื่องชี้วัดฐานะทางชนชั้น แต Dahrendorf (1959) ปฏิเสธการใชปจจัยทางดานอาชีพ แลวนํา

เรื่องอํานาจมาเปนปจจัยพื้นฐานของการกําหนดฐานะทางชนชั้น โดยกลาวถึงความแตกตาง

หลากหลายของชนชั้นกลางที่มิใชนายทุนหรือกรรมาชีพ แตเปนกลุมลูกจางรับเงินเดือน (Salaried

Employees) ผูมีตําแหนงทางอาชีพเปนสวนหนึ่งในลําดับชั้นตามแบบระบบราชการ (Bureaucratic

Page 54: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

41

Hierarchy) มีอํานาจตามสายงานบังคับบัญชา และบางสวนของชนชั้นกลางเหลานี้เปนสวนหนึ่ง

สําคัญที่ขาดไมไดในสถานประกอบการสมัยใหม อยางไรก็ตาม Dahrendorf ก็ไมสามารถอธิบาย

ขอบเขตขออาจไดชัดเจนนัก (Boundary Problem)

Anthony Giddens (1973) เปนนักคิดในกลุมเวเบอเรียนอีกผูหนึ่งที่พยายามนําเอา

แนวคิดเกี่ยวกับสถานการณในทางตลาดมาเปนองคประกอบสําคัญในการพิจารณาฐานะทางชน

ชั้นเขาเนนเรื่องขีดความสามารถในทางการตลาด (Market Capacity) และการเปนเจาของปจจัย

หลักในกระบวนการผลิต ไดแก ปจจัยการผลิต การศึกษาความสามารถทางดานเทคนิค

(Technical Qualifications) และพลังแรงงาน โดยกลาวถึงความชํานาญวาเปนทรัพยสินในตลาด

ซึ่งปจเจกบุคคลสามารถใชกําหนดความมั่นคง (Abercrombie and Urry, 1983, pp. 22-23)

สิ่งเหลานี้สามารถแสดงใหเห็นการแบงชนชั้นกลางตามสายงานบังคับบัญชา ซึ่งถือไดวาเปน

ทรรศนะที่เปนในทางเดียวกันกับ Dahrendorf

การพิจารณาความหลากหลายของกลุมชนชั้นกลาง ถูกนําเสนออยางชัดเจนในงาน

ของ Roberts and his co-authors (1997) โดยจัดแบงกลุมชนชั้นกลางทั้งหมดออกเปน 4 กลุม

ยอย ๆ ดังนี้ (Abercrombie and Urry, 1983, pp. 27-28)

1. กลุมผูยึดอํานาจทางการเมืองในทองถิ่น (หรือที่ในสังคมไทยมักเรียกวาเจาพอ

ทองถิ่น) มักเปนคนกลุมเล็ก ๆ ที่กระจุกตัวแทรกอยูระหวางชนชั้นแรงงาน(กลุมใหญ) กับชนชั้นบน

ผูมีอํานาจเปนกลุมที่ไดรับการอุปถัมภมากกวาชนชั้นกลางกลุมอื่น ๆ มีทรรศนะอนุรักษอํานาจเกา

2. กลุมแรงงานปกขาวซึ่งทํางานอยูในธุรกิจเอกชน เปนชนชั้นกลางกลุมใหญ

มีทรรศนะชอบความสะดวกสาย อันถือเปนลักษณะเฉพาะอยางหนึ่งของชนชั้นกลาง และทําให

คนกลุมนี้ดูราวกับเปนผูสนับสนุนกลุมอนุรักษ แตอีกดานหนึ่งพวกเขากลับจัดตั้งสหภาพแรงงาน

เพื่อตอสูกับฝายอนุรักษ

3. กลุมกรรมมาชีพปกขาว เปนชนชั้นกลางที่มีลักษณะคลายกลุมแรงงานในภาค

การผลิตถูกแบงจากคนสองพวกแรกชัดเจนจากการที่มีรายไดต่ําและมีการศึกษานอย คนกลุมนี้

มักรวมตัวเปนสหภาพเพื่อเคลื่อนไหวตอสูกับกลุมอนุรักษ พวกเขาจึงถูกมองวาเปนชนชั้นคนงาน

จริง ๆ

4. กลุมปกขาวเสรี สวนใหญเปนปญญาชน เปนผูมีการศึกษาสูงและทํางานในระดับ

หัวหนามีทัศนะที่แตกตางหลากหลาย

ซึ่งกลุมเวเบอเรียนมีการจัดลําดับชั้นทางสังคม โดยใชปจจัยสถานภาพทางสังคม

ไดแก อาชีพ รายได ที่มาของรายได ชนิดของที่อยูอาศัย และการศึกษา ซึ่งจัดแบงชนชั้นออกเปน

6 ระดับ ไดแก

Page 55: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

42

1. ชั้นสูงระดับสูง ไดแก พวกผูดีเกาหรือคนรวยเกา

2. ชั้นสูงระดับต่ํา ไดแก พวกผูดีใหมหรือคนมีฐานะใหม

3. ชั้นกลางระดับสูง ไดแก ผูมีอาชีพเปนหลักฐานและเปนเจาของทรัพยสินมาก

พอสมควร

4. ชั้นกลางระดับต่ํา ไดแก ผูมีอาชีพเปนพนักงาน เสมียน หรือแรงงานมีฝมือ

5. ชั้นต่ําระดับสูง ไดแก แรงงานหรือกรรมการที่มีฝมือหรือทักษะไมมากนัก

6. ชั้นต่ําระดับต่ํา ไดแก แรงงานหรือกรรมกรที่ไมมีฝมือหรือมีการศึกษานอย

ในเชิงวิพากษ ปรีชา เปยมพงศสานต (อางถึงใน สังศิต พิริยะรังสรรค และ ผาสุก

พงษไพจิตร, 2536, น. 78) กลาวถึงจุดออนสําคัญของแนวมารกซิสต และแนวเวเบอเรียน คือ เปน

การวิเคราะหที่มีลักษณะคอนขางนามธรรมอยางมาก เปนการอภิปรายเรื่องชนชั้นกลางที่เลื่อน

ลอย ไมมีความเชื่อมโยงกับความเปนจริง ชนชั้นกลางเปนเรื่องที่อยูบนกระดาษไมมีชีวิต ไมมี

ตัวตน ไมมีใครรูวาชนชั้นกลางกําเนิดมาจากไหนและอยางไร สําหรับสังคมไทยควรจะตองมอง

เรื่องการกอตัวและการรวมตัวของชนชั้นกลาง (class formation) ในเชิงประวัติศาสตรพัฒนาการ

นั่นหมายความวาตองทําความเขาใจวาชนชั้นกลางมีความหลากหลาย โดยตองมองไปที่

“กลุมชนชั้นทางสังคมที่เปนจริง” เชน กลุมขาราชการ กลุมลูกจางพนักงาน รัฐวิสาหกิจ กลุม

ปญญาชน กลุมพนักงาน ในระบบธุรกิจเอกชน กลุมนักธุรกิจ ผูจัดการ ผูบริหาร เปนตน

ชนชั้นกลางในประเทศไทย

นิธิ เอี่ยวศรีวงศ (อางถึงใน สังศิต พิริยะรังสรรค และ ผาสุก พงษไพจิตร, น. 49-65)

กลาวไววา “คนชั้นกลาง” เปนแนวคิดที่พยายามจะอธิบายความเปลี่ยนแปลงของสังคม โดย

พิจารณาถึงคนสวนใหญซึ่งเกิดขึ้นในสังคมที่ไมเคยมีคนกลุมนี้มากอน นั่นก็คือกลุมคนที่ไมสังกัด

อยูกับกลุมใหมซึ่งไมสังกัดอยูกับกลุมที่เปนผูปกครอง โดยในประวัติศาสตรเราอาจสืบยอนกําเนิด

และพัฒนาการของคนชั้นกลางไทยไดนานพอสมควร คนชั้นกลางไทยเปนผลผลิตใหมที่พึงเกิดขึ้น

ในระยะไมกี่ทศวรรษนี้ ซึ่งเมื่อจะกลาวถึงคนกลุมนี้ในนิยามใหมที่มีความรัดกุมขึ้น 4 ประการ

ไดแก

1. คนชั้นกลางไทยไมไดสังกัดในแวดวงของผูปกครองและไมไดสังกัดในแวดวงของ

ชาวนา กลาวคือ คนกลุมนี้ไมไดเปนเบี้ยลางของกลุมผูปกครองแตอาจรวมมือแลกเปลี่ยน

ผลประโยชนกับกลุมผูปกครอง

Page 56: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

43

2. คนชั้นกลางไมไดสังกัดกับกลุมผูปกครองและชาวนา ฉะนั้นจึงหลุดออกไปจาก

พันธนาการที่ผูกมัดผูปกครองและชาวนาดวย แตไมไดหมายความวาคนชั้นกลางเปนอิสระจาก

พันธการโดยสิ้นเชิง อิสรภาพของชนชั้นกลางเกิดขึ้นจากการผลิตของชนชั้นกลาง กลาวคือไมเปน

การผลิตเพื่อยังชีพเหมือนชาวนา ขณะเดียวกันก็ไมมีภาระหนาที่ของผูปกครองในการจรรโลง

อํานาจรัฐหรือศาสนา จึงไมมีความจําเปนจะตองรับพันธการตามจารีตประเพณีของคนสองกลุมนั้น

ฉะนั้นคนชั้นกลางกลายเปนเอกบุคคลที่มีเสรีภาพเต็มเปยมภายใตขอบังคับของกฎหมาย

3. คนชั้นกลางผลิตสินคาและบริการเพื่อมุงตลาดโดยตรง

4. คนชั้นกลางเปนกลุมคนที่สืบทอดสถานะของตนเองได หรือดํารงความเปนชนชั้น

ของตัวเอง ดวยทุนและการศึกษา ความรูประเภทวิชาชีพไมไดอาศัยกําเนิด หรือวัฒนธรรมชุมชน

ซึ่งทําใหมีการสรางกลุมรวมมือกันจากเครือญาติหรือการผลิตบางดาน ฉะนั้นคนชั้นกลางจึงไม

คอยมีสํานึกในความเปนปกแผนของตัวเอง เนื่องจากแตละคนจะสามารถเลื่อนสถานภาพของตน

ใหสูงขึ้น คนชั้นกลางจึงเปนกลุมที่มีความเปนพลวัตสูง

นอกจากนี้ นิธิ เอี่ยวศรีวงศ ไดกลาวถึง วัฒนธรรมของคนชั้นกลางไทย มีลักษณะ

ทางวัฒนธรรมที่สามารถพบไดในหมูคนชั้นกลางในสังคมอื่น แตยังคอนขางมีความเฉพาะ ดังนี้

1. คนชั้นกลางไทยมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับกลุมผูปกครองจึงทําใหวัฒนธรรม

ของคนชั้นกลางไทยมีความสืบเนื่องกับวัฒนธรรมของผูปกครองอยางสูง เพราะกลุมผูปกครองได

เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของตนเองอยางขนานใหญสองระลอก ไดแก สมัยตนรัตนโกสินทร และ

สมัยวัฒนธรรมตะวันตกเขาสูสังคมไทย เหตุผลอีกประการหนึ่งก็คือคนชั้นกลางตองพึ่งพาอํานาจ

ทางการเมืองของกลุมผูปกครองมาเปนเวลานาน จึงไมมีการพัฒนาวัฒนธรรมที่เปนอิสระ

2. ลักษณะโลกานุวัตร (Globalization) คนชั้นกลางสามารถเขาถึงกระแสหลักของ

วัฒนธรรมที่ครอบงําโลกไดดวยตนเอง และเขาถึงอยางใกลชิดกวากลุมอื่นในสังคม

3. ความใกลชิดทั้งโดยการแตงงาน การรวมกิจการและการพึ่งพิงอํานาจระหวางกัน

และกันของคนชั้นกลางและกลุมผูปกครอง ทําใหคนชั้นกลางไทยเปนมิตรกับวัฒนธรรมกลุม

ผูปกครองตามจารีตมากกวากลุมชาวนา ฉะนั้นธรรมชาติขิงชนชั้นกลางยอมมองขึ้นไปยัง

สถานภาพที่สูงขึ้นตลอดเวลา

4. ความคลายคลึงกันทางวัฒนธรรมของกลุมผูปกครองในอดีตอีกอยางหนึ่ง คือการ

แสดงความมั่งคั่งและการใชชีวิตที่แสดงถึงความมั่งคั่งอยางเปนที่สังเกตไดชัด เพื่อเปนเครื่อง

พิสูจนความมีบารมีของตนเอง ดังนั้นจึงเปนภาระหนาที่ที่คนชั้นกลางตองกระทํา ไมใชเปนเรื่อง

การตื่นเงินตื่นทองแตเปนการแสดงสถานภาพและการยอมรับของตนในสถานภาพนั้น ๆ

Page 57: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

44

5. มีอุดมคติเกี่ยวกับการปกครองวาเปนสวนหนึ่งของการสรางบุญบารมี รัฐบาลใน

อุดมคติคือรัฐบาลที่มีความเมตตาแตเขาไปแทรกแซงเขาไปในชีวิตของพลเมืองมาก ๆ คนชั้นกลาง

ไทยไมรังเกียจรัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชยแตตองเปนสมบูรณาญาสิทธิราชยที่เปยมไปดวย

ความกรุณา ทัศนะคติเชนนี้เปนพื้นฐานทอยางดีแกระบบเผด็จการและลัทธิรัฐนิยม (statism)

คนชั้นกลางไทยไมเปนฐานทางสังคมประชาธิปไตยมากนัก

6. ประชาธิปไตยอาจถูกชนชั้นกลางใชเปนเครื่องมือในการชวงชิงอํานาจทาง

การเมือง แตพันธะของชนชั้นกลางไทยตอประชาธิปไตยนั้นเบาบางเพราะขาดโลกทัศนที่เปนฐาน

ใหแกอุดมการณประชาธิปไตยได เชน ความเชื่อในการเทาเทียมกันของมนุษย ความเชื่อใน

เสรีภาพสวนบุคคล ความเชื่อในระบบการปกครองดวยกฎหมาย เปนตน

7. คนชั้นกลางไทยมีความเชื่อวาการพัฒนาคือความเปลี่ยนแปลงไปสูสิ่งที่ดีขึ้น มี

มาตรฐานของสิ่งที่ดีขึ้นเปนเรื่องเศรษฐกิจเพียงอยางเดียว เพราะความรุงเรืองทางเศรษฐกิจของ

บุคคลหรือชาติยอมหมายถึงการเริ่มตนดวยทรัพย ซึ่งจํานําไปสูอํานาจและบุญตามคติเดิม

8. คนชั้นกลางไทยสรางเครือขายความสัมพันธขึ้น แตไมใชเครือขายความสัมพันธที่

เกิดจากพันธะสัญญาเชิงกฎหมายอยางเดียว หากเปนเครือขายความสัมพันธที่มีพื้นฐานอยู

ความสัมพันธสวนบุคคลตามจารีตประเพณีเดิม

9. คนชั้นกลางไทยไมไดผลิตนักคิดของตนเอง จึงขาดการนิยามความหมายใหม

ดังนั้นอํานาจของคนชั้นกลางไทยจึงอยูที่เงินและอํานาจเทานั้น ไมมีรากฐานทางปรัชญา

ฉัตรทิพย นาถสุภา (อางถึงใน รสลิน ศิริยะพันธุ และคณะ, 2551, น. 32) กลาวถึง

การใชคํา “ชนชั้นกลาง” วาเปนการใชในบริบทที่เปนกลาง ๆ เพื่อเรียกพวกกระฎมพีหรือนายทุน

เพราะคําวา “นายทุน” มักใชความหมายของผูมีทรัพยสินเปนเจาของทุน จางแรงงานมา

ประกอบการอันกอใหเกิดผลผลิตที่สรางสวนเกินหรือกําไร ดังนั้น การใชคําวานายทุนจึงกอใหเกิด

ความหมายทางลบ ในฐานะผูขูดรีดหรือเอารัดเอาเปรียบ ขณะที่คําวา “กระฎมพี” ซึ่งเปนคําใน

ภาษาบาลี สันสกฤต หมายความถึง ผูมีทรัพยสินขนาดยอม แตแนวมารกซิสตไทยมักใชใน

ความหมายของอุตสาหกรรมขนาดใหญ ทําใหการใชคําวากระฎมพี มีนัยยะของความเปนซาย

มากเกินไป และมีความหมายไมแตกตางจากคําวานายทุน อยางไรก็ตามหากพิจารณาคําวา

กระฎมพีในบริบททางสังคมการเมืองไทย อาจหมายถึง คนที่มีสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมใน

กลุมที่มีอาชีพคาขาย พอคา รวมทั้งนักธุรกิจตั้งแตขนาดยอม ขนาดกลาง และขนาดใหญ ที่

สนับสนุนทุนเกาหรือมีนัยยะเปนขวาไดดวยเชนกัน

Page 58: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

45

ปรีชา เปยมพงศสานต (อางถึงใน สังศิต พิริยะรังสรรค และ ผาสุก พงษไพจิตร,

2536, น. 83-85) กลาวถึงการวิเคราะหชนชั้นกลางในสังคมไทยตองเริ่มตนจากเงื่อนไขทางประวัติ

ของไทย โดยมองมิติชนชั้นกลางยุคใหม ซึ่งประกอบไปดวย 4 ประการ

1. ชนชั้นกลางเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับปรากฏการณที่เราเรียกวา “พัฒนาการที่

เหลื่อมล้ํา” ของวิถีการผลิตแบบทุนนิยม อาจเรียกไดวาชนชั้นกลางไทยเปนผลผลิตจาก

กระบวนการทางประวัติศาสตรของระบบทุนนิยมซึ่งมาจากขางนอกและปรากฏชัดเจนตั้งแตป

พุทธศักราช 2500 เปนตนมาจนถึงปจจุบันยุคอุตสาหกรรมสมัยใหม ชนชั้นกลางไทยบางกลุมเปน

ผูบริหารธุรกิจสมัยใหมบางกลุมอยูในระบบและกลไกของรัฐ อาจกลาวไดวาชนชั้นกลางคือ

ตัวเชื่อมระหวางศูนยกลางทุนนิยมโลกกับทหารและประชาชนที่ยากไรทามกลางสังคมที่เต็มไป

ดวยความเหลื่อมล้ําหลายรูปแบบ

2. ชนชั้นกลางไทยเปนปรากฏการณที่เกี่ยวพันกับอํานาจรัฐ เปนตนตอสําคัญ

สําหรับการกอตัวและพัฒนาการของชนชั้นกลาง เมื่อทุนนิยมขยายตัวสถาบันและกลไกรัฐ

ก็ขยายตัวตามไปดวย พรอม ๆ กับกลุมชนที่เราเรียกวา “ขาราชการ” กลุมนี้เปนชนชั้นกลางที่ใหญ

ที่สุดกลุมหนึ่งในสังคมไทย

3. ในขณะที่การสะสมทุนและเศรษฐกิจขยายตัว เกิดวิกฤตเศรษฐกิจไดปรากฏ

ขึ้นมา รัฐไทยมีหนาที่จัดการกับวิกฤตตาง ๆ โดยใชยุทธศาสตรควบคุมกดดันและครอบงํา ดังนั้น

กลุมหนึ่งของชนชั้นกลางไทยจึงเขามาเกี่ยวพันกับการตอสูทางสังคมอยางหลีกเลี่ยงไมได

4. บทบาททางการเมืองของชนชั้นกลาง ปญหาสําคัญคือ ชนชั้นกลางไทยมีสวน

เสริมสรางเผด็จการทหาร หรือพัฒนาประชาธิปไตยอยางไร คําตอบคงอยูที่โครงสรางของ

ความสัมพันธระหวางชนชั้นนายทุน ชนชั้นกลาง รวมทั้งชนชั้นแรงงานบวกกับชาวนา ชาวไร

ดังนั้น ในอนาคตจะมีกลุมชนหลายกลุมมีบทบาทมากขึ้นอยางเดนชัดในการกําหนด

ทิศทางเศรษฐกิจการเมืองของสังคมไทย ซึ่งอาจเรียกวา “ชนชั้นกลางใหม” หมายถึงกลุมชนที่

กําเนิดมาและขยายตัวพรอม ๆ กับระบบทุนนิยมสมัยใหม อันเปนระบบที่ผูกพันกับทุนนิยมโลก

บุคคลเหลานี้มีหนาที่ที่ชัดเจนในการสงเสริมกระบวนการสะสมทุน การผลิตอุดมการณและ

แพรกระจายไปทุกภาคสวน ไดแก

1. การควบคุมดูแลกระบวนการแรงงาน และการบริหารงาน การสะสมทุน

2 . การปรับปรุ งเปลี่ ยนแปลงปจจัยการผลิตดานเทคนิค เชน นักวิชาการ

นักวิทยาศาสตร นักวิจัย ฯลฯ

3. การบริหารดานการเงินการตลาด เชน ผูมีอาชีพทางการตลาด การเงิน ธนาคาร

การบัญชี การประกันภัย

Page 59: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

46

4. การผลิตและโฆษณาดานอุดมการณทุนนิยม เชน ครู อาจารย ปญญาชน

ผูทํางานดานสวัสดิการสังคม งานวัฒนธรรม ฯลฯ

5. การควบคุมของกลไกรัฐ เชน เจาหนาที่ราชการ

ศิริพร ยอดกมลศาสตร ไดนิยามชนชั้นกลางไทยตามแนวทางของ วีระศักดิ์

สาเลยกานนท (2518) ซึ่งเปนบุคคลที่พยายามผสมผสานแนวคิดแบบมารกซิสตกับแนวคิดแบบ

เวเบอเรียน เพื่อนํามาอธิบายปากฎการณ เรื่องชนชั้นกลางในสังคมไทย โดยจัดแบงกลุมชนชั้น

กลางไทยออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ

1. พวกพอคา นายทุน ซึ่งเปนชนชั้นกลางเกาในสังคมไทยยุคกอนเปลี่ยนแปลง

การปกครอง 2475 คนกลุมนี้มักไมคอยมีบทบาทในการเคลื่อนไหวทางการเมืองมากนัก ไมวาจะ

เปนการปกครองในระบอบใดก็ตาม โดยเห็นวาคนกลุมนี้มีความทะเยอทะยานในการที่จะยกระดับ

หรือปรับเปลี่ยนฐานะของคนใหสูงขึ้น โดยมีความมุงมั่นในการพิทักษผลประโยชนของตนเอง

มากกวาของสวนรวม ซึ่งบอยครั้งมักพบวาคนกลุมนี้ใหความรวมมือกับผูนําเผด็จการในการ

กอบโกยผลประโยชนมากกวาที่เปนแรงผลักดันในการตอสูเรียกรองเพื่อสวนรวม

2. กลุมคนงานคอปกขาว ซึ่งถือวาเปนชนชั้นกลางใหมที่เกิดขึ้นในชวงของ

การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงประเทศใหสมัยใหมในรัชกาลที่ 5 ซึ่งกลุมนี้เปนคนกลุมใหญที่มี

ความหลากหลายในสังคมไทย โดยแบงเปน 4 กลุม ไดแก (1) กลุมนิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัย

(2) กลุมขาราชการ พลเรือน ทหาร ตํารวจชั้นผูนอย (3) กลุมปญญาชน อาจารยมหาวิทยาลัย

นักวิชาการ นักเขียน นักหนังสือพิมพ (4) กลุมลูกจางเอกชน เชน ลูกจางบริษัท หางราน วิสาหกิจ

ตาง ๆ

ซึ่งกลุมพอคาจัดเปนกลุมชนชั้นกลางเกาตลอดระยะเวลาที่ผานมา คนกลุมนี้แทบไม

มีบทบาทใด ๆ ในทางการเมือง สวนคนงานคอปกขาวจัดเปนกลุมคนชั้นกลางใหมที่มีความ

หลากหลายในสังคมไทยนั้น สวนหนึ่งก็เปนกลุมขาราชการสมัยใหมที่มีขนาดใหญที่เกิดขึ้นมา

พรอม ๆ กับการบริหารประเทศใหทันสมัย ซึ่งคนกลุมนี้มักจะถูกหลอหลอมใหมีความคิดในแบบ

อนุรักษนิยม โดยพยายามที่จะรักษาอํานาจของกลุมคนไวยาวนานที่สุดภายใตการปกครองแบบ

รวมศูนย ลักษณะดังกลาวเปนอุปสรรคตอการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยเปนอยางยิ่ง ในขณะ

ที่คนงานคอปกขาวอีกสวนคือ กลุมปญญาชนเสรี ซึ่งประกอบไปดวยนิสิต นักศึกษา อาจารย

มหาวิทยาลัย นักวิชาการ นักเขียน นักหนังสือพิมพ ซึ่งจัดไดวาเปนชนชั้นกลางหัวกาวหนา และ

เปนกลุมพลังสําคัญที่มีบทบาทในการตอสูเรียกรองทางการเมืองมาโดยตลอด ไมวาจะเปน 14

ตุลาคม 2528 หรือ 6 ตุลาคม 2519 แมวาในระยะหลังชวงเหตุการณพฤษภาทมิฬ (2535) จะมี

กลุมคนปกขาวกลุมอื่น เชน กลุมนักธุรกิจ นายธนาคาร ลูกจางบริษัทเอกชน หางราน วิสาหกิจ

Page 60: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

47

ฯลฯ เขามามีสวนรวมเปนจํานวนมากและมีบทบาทเรียกรองทางการเมืองที่โดดเดนกวา แตก็ถือ

ไดวากลุมปญญาชนเหลานี้เปนผูบุกเบิก และเปนแนวหนา เปนความหวังในการตอสู เพื่อ

ประชาธิปไตยที่มีความจริงใจอันที่จะสรางสรรค และพัฒนาประชาธิปไตยใหฝงรากลึกใน

สังคมไทยไดเปนอยางดี

รสลิน ศิริยะพันธุ และคณะ (2551, น. 39) สรุปคํานิยามชนชั้นกลางตามทรรศนะ

ของนักวิชาการไทยที่มีความคิดเห็นเหมือนกันวา “ชนชั้นถูกกําหนดโดยโลกของการทํางานและ

ระบบเศรษฐกิจ” และชนชั้นกลางคือคนที่มีความรู มีรายไดอยูในเกณฑดี ดํารงชีวิตอยูทามกลาง

ความทันสมัย รวมทั้งยอมรับวาความมั่นคงและความกาวหนาในทางการงานเปนสิ่งที่พวกเขา

ปรารถนา โดยไมวาจะนิยามชนชั้นกลางจากแนวคิดใด กลุมคนซึ่งถูกจัดใหเปนชนชั้นกลางที่

ปรากฏขึ้นในสังคมไทยประกอบดวยคน 2 กลุม ไดแก พอคา (รายยอย) และแรงงานคอปกขาว

เหตุผลสําคัญที่ทําใหพอคา (รายยอย) และแรงงานคอปกขาวถูกจัดใหสังกัดอยูในชนชั้นกลาง

เหมือนกันคือ การเปลี่ยนไปของโครงสรางระบบกรรมสิทธิ์ในสังคมทุนนิยมที่พัฒนาขึ้นมาอยาง

สลับซับซอน อาทิ การยอมรับให “ความรู” เปนทรัพย โดยออกกฎหมายลิขสิทธิ์และลิขสิทธิ์บัตร

ตาง ๆ อันสงผลใหกระบวนการผลิตหรือการผลิตนวัตกรรมตาง ๆ ซึ่งเคยเปนของสวนรวม

กลายเปนทรัพยสินสวนบุคคล ความรูในกระบวนการดังกลาวไดถูกทําใหกลายเปนสินคาในตลาด

ซึ่งผูจดทะเบียนเปนเจาของลิขสิทธิ์สามารถนํามาขายในตลาดได ดังนั้นการที่แรงงานคอปกขาวมี

ความรูที่ขายไดในตลาด (ไมวาจะเปนเพราะไดรับการศึกษาหรือการมีประสบการณ) พวกเขาจึง

อาจถูกพิจารณาวามี “ความรูเปนทุน” เชนเดียวกับพอคารายยอยที่มี “เงินเปนทุน” และดวยทุน

ของคนเหลานี้ไมอาจสรางสิทธิพิเศษใหกับผูเปนเจาของทุน พวกเขาจึงไมอาจสังกัดอยูรวมกับชน

ชั้นอภิสิทธิ์หรือชนชั้นบนได ซึ่งนอกจากปจจัยทางเศรษฐกิจ พอคารายยอย และแรงงานคอปก

ขาวยังมีลักษณะรวมที่สําคัญอีกประการหนึ่ง นั่นคือมีอุดมการณที่ตองการผลักดันใหระบบทุน

นิยมเคลื่ อนตัว ไปไดกว างและลึกในสั งคมไ ทย เนื่ องด วยคนกลุมนี้ เปนผลผลิตจาก

กระบวนการพัฒนาของระบบทุนนิยม โดยเฉพาะการขยายตัวอยางชัดเจนหลังปพุทธศักราช2501

ทําใหประวัติศาสตรของพวกเขาแยกไมออกและไมอาจบดบังภาพพัฒนาการของระบบทุนนิยม

Page 61: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

48

บทบาทชนชั้นกลางกับการเมืองไทย

ศิริพร ยอดกมลศาสตร (2538, น. 172-173) สรุปบทบาทของชนชั้นกลางในประเทศ

ไทยไววาภายใตพัฒนาการของระบบทุนนิยม ชนชั้นกลางในประวัติศาสตรไทยมีอุดมการณทาง

การเมืองแตกแยกเปน 2 แนวทาง คือ

1. กลุมที่ยึดถืออุดมการณผลประโยชนสวนรวม (Social Interest) มีเปาหมาย

หลักในการเปลี่ยนแปลงสังคมใหเกิดความเทาเทียมกันของทุกคนในสังคม เปนอุดมการณที่สืบ

ทอดมาจากอุดมการณสังคมนิยมที่ตองการลมระบบเจาขุนมูลนาย สลายระบบอุปถัมภ เรื่อยมา

จนถึงการตอตานการผูกขาดอํานาจทางเศรษฐกิจและการเมือง

2. กลุมที่ยึดถืออุดมการณผลประโยชนเฉพาะกลุม (Class Interest) มี

เปาหมายหลักในการเปลี่ยนแปลงสังคมไปสูระบบเศรษฐกิจเสรี การเมืองประชาธิปไตยในระบบ

รัฐสภา เปนกลุมที่กอตัวขึ้นในชวงของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ จึงเชื่อวาระบบทุนนิยมเปน

พัฒนาการสังคมที่ดีที่สุด

แมชนชั้นกลางสองกลุมจะมีอุดมการณทางการเมืองแตกตางกัน แตในชวงหนึ่งของ

ประวัติศาสตรชนชั้นกลางไดรวมตัวกันสรางแรงกดดันทางเศรษฐกิจการเมืองหลายครั้ง

แตเนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวของพันธนาการดั้งเดิมยังไมหมดไป การไมเขาใจสภาพที่แทจริงของ

ระบบเศรษฐกิจที่ยังไดรับอิทธิพลจากความสัมพันธในระบบอุปถัมภ ระบบการเมืองก็ยังไม

สามารถกาวพนสภาพการรวมศูนยอํานาจในคนกลุมเล็ก ๆ ไมวาจะเปนขาราชการ นักการเมือง

สวนระบบสังคมบุญและอํานาจรวมถึงความเชื่อในสิ่งที่มองไมเห็นก็ยังมีบทบาทสําคัญ ทั้งหมดนี้

ทําใหชนชั้นกลางสวนใหญลืมเลือนเรื่องการพัฒนาจิตสํานึกทางชนชั้นและการตอสูเพื่อเปลี่ยนแปลง

สังคมไปสูความเสมอภาคเทาเทียมกัน การพัฒนาจิตสํานึกของชนชั้นกลางตองเริ่มตนจากการทํา

ความเขาใจฐานะและบทบาทที่แทจริงของตน เลิกยึดติดอยูกับความเชื่อเกา ๆ ลดการบริโภค

อยางฟุมเฟอย แลวหันมาสรางรากฐานทางการเมืองรวมกับชนชั้นลาง ทั้งชาวนา กรรมกร คนจน

เพื่อพัฒนาประเทศไปสูระบบเศรษฐกิจการเมืองประชาธิปไตยที่มีความเสมอภาคเทาเทียมกัน

การแสดงอํานาจทางเศรษฐกิจและการเมืองของชนชั้นกลางไดปรากฏออกมาใหเห็น

ในระยะเวลาไลเลี่ยกัน ในทางเศรษฐกิจชนชั้นกลางเริ่มแสดงอํานาจของตนในฐานะผูบริโภคผาน

การตอตานสินคาบางชนิดหรือบางบุคคลบางกลุมบางพวก สําหรับในทางการเมืองอํานาจของชน

ชั้นกลางอยูที่การเปนกลุมซึ่งมีความสามารถในการสรางประเด็นทางการเมือง และเมื่อเปน

ประเด็นทางการเมืองแลวก็สามารถดึงการสนับสนุนจากคนกลุมอื่นใหเขามายืนอยูขางเดียวกันได

ในประเด็นนั้น ๆ แตภาพลักษณการแสดงออกทางการเมืองของพวกเขามีลักษณะไมมั่นคง ทาง

Page 62: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

49

หนึ่งแสดงใหเห็นความตองการประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา มีการเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรเปนฝายจัดตั้งและควบคุมรัฐบาล แตอีกดานหนึ่งกลับมีใจเผื่อแผแกคนดีซึ่งไมไดลง

เลือกตั้งและมักพัวพันอยูกับระบบราชการ เพราะอยากใหคนเหลานี้เขามาคุมสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรอีกทีหนึ่ง ยิ่งกวานั้นบางครั้งก็ยอมรับเผด็จการทหารดวยความยินดี การแสดงความคิดเห็น

เกี่ยวกับระบอบการเมืองที่มีรูปแบบหลากหลายเหลานี้ ชนชั้นกลางตลอดระยะเวลายาวนานของ

ประวัติศาสตรการแสดงความคิดไดถูกปลูกฝงใหจํากัดการมองอยูในมิติทางเศรษฐกิจ การรวมตัว

กันของกลุมชนชั้นกลางจึงแสดงเปาหมายเพียงการสรางขอเรียกรองทางเศรษฐกิจ แตในชวง

ทศวรรษหลังนี้ภาวะเศรษฐกิจกับความมั่นคงทางการเมืองมีความสัมพันธตอกันอยางแนบแนน

ชนชั้นกลางจึงเริ่มสนใจปญหาการเมืองอีกครั้งหนึ่ง และเนื่องจากระบบเศรษฐกิจการเมืองในชวง

หลังประสบปญหาอยางมาก ชนชั้นกลางจึงมีการรวมตัวเพื่อสรางขอเรียกรองทางเศรษฐกิจ

การเมืองในเดือนพฤษภาคม 2535 เหตุการณครั้งนี้ไดแสดงใหเห็นถึงการสรางขอเรียกรองรวมกัน

ของชนชั้นกลางทุกกลุมเปนครั้งแรก แตก็ไมอาจยืนยันไดวาชนชั้นกลางไดมีพัฒนาการจิตสํานึก

ทางชนชั้น (รสลิน ศิริยะพันธุ และคณะ, 2551, น. 24)

ณรงค เพ็ชรประเสริฐ (2548, น. 217-218) กลาวไววา คนชั้นกลางโดยเฉพาะคนชั้น

กลางใหมจะเปนความหวังใหมของประชาธิปไตยในอนาคตหลังยุคไทยรักไทย เพราะสังคมไทย

พัฒนามาบนเสนทางที่แตกตางประชาธิปไตยที่เราไดมาลวนเปนบทบาทของชนชั้นกลาง

ทั้งเหตุการณ 2475 ก็นําโดยคนชั้นกลางและคนชั้นสูงสนับสนุน การปฏิวัติประชาธิปไตยป 2516

ก็คนชั้นกลาง แตเมื่อไดมาแลวคนชั้นกลางออนแอเกินไปคนชั้นสูง คนรวยจึงเขามาผูกขาด

ประชาธิปไตย ซึ่งเปนการทําลายมรดกของคนชั้นกลาง ทั้งนี้การพัฒนาการเมืองในอนาคตตอง

เกิดขึ้นจากคนชั้นกลางเทานั้น การเมืองจะพัฒนาเมื่อคนสวนใหญเขาใจการเมือง ผานการ

วิพากษวิจารณ ผานการตรวจสอบเพื่อยับยั้ง และการเมืองประชาธิปไตยจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อเกิด

สิ่งที่เรียกวา counter vailing power หรือพลังแหงการหวงดุล ที่เกิดจากความรูความเขาใจ

การรวมตัว การเกิดเอกภาพทางความคิดของกลุมคนแตละกลุมในสังคม ในทํานองเดียวกัน

สุริยะใส กตะศิลา (2550, น. 35) กลาวสอดคลองวา ชนชั้นกลางเปนพลังใหมทางการเมือง ซึ่ง

อางถึงเหตุการณการเขารวมชุมนุมกับพันธมิตรฯถือเปนโอกาสของ ครป. รูจักคนกลุมโดยเฉพาะ

กลุมคนชั้นกลาง ที่ผานมาคนเหลานี้ซุมซอนอยูและไมรูจะแสดงบทบาททางการเมืองอยางไร

พอมีเวทีพันธมิตรเกิดขึ้นคนกลุมนี้ก็มีที่ทางในการเขารวม ทําใหเห็นพลังใหมทางการเมือง

ฉันทนา บรรพศิริโชติ (2541) กลาวถึงพลังคนชั้นกลางในการเปลี่ยนแปลง โดยมอง

วาชนชั้นกลางออกมามีบทบาททางการเมืองนั้น เปนเรื่องของความไมมีอุดมการณทางการเมือง

แตก็ยังมีสวนอื่นที่สามารถทําใหชนชั้นกลางแสดงบทบาททางการเมือง นั่นคือ ผลประโยชนของ

Page 63: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

50

ชนชั้นกลาง แลวผลประโยชนนี้ก็เปนตัวขับเคลื่อนเหมือนกับวามีอุดมการณ และเหมือนกับวามา

พิทักษปกปองประชาธิปไตย ดังนั้นการที่ชนชั้นกลางมีบทบาททางการเมืองมักจะมีจุดยืนทาง

ผลประโยชนอยูดวย ทั้งนี้ชนชั้นกลางก็ยังคงเปนความคาดหวังของคนในสังคม เพราะชนชั้น

กลางมีศักยภาพ สามารถเขาถึงสื่อ มีทรัพยากร มีอาชีพการงาน มีเงิน เปนตน

กลาวโดยสรุป ชนชั้นกลางในสังคมไทยในเชิงนิยามความหมายมีนักวิชาการหลาย

ทานที่พยายามใหคํานิยามเชิงทฤษฎีทั้ง 2 แนวทาง คือแนวทางมารกซิสต และแนวทางเวเบอเรียน

อยางไรก็ตามมีนักวิชาการอีกกลุมหนึ่งพยายามผสมผสานระหวางสองแนวทางเพื่ออธิบายชนชั้น

กลางในสังคมไทย สวนใหญจัดแบงชนชั้นกลางเปน 2 กลุม คือ กลุมพอคา และกลุมแรงงานคอ

ปกขาว ซึ่งบทบาททางการเมืองของชนชั้นกลางกลุมหลังหรือกลุมแรงงานคอปกขาวมีบทบาทและ

เปนพลังขับเคลื่อนมาตั้งแตอดีต รวมทั้งในปจจุบันยังถูกคาดหวังจากชนชั้นอื่น ๆ ในสังคมที่จะ

นําไปสูการพัฒนาการเมืองใหเปนประชาธิปไตย เพราะชนชั้นกลางเปนชนชั้นที่มีอยูจํานวนมาก

มีการศึกษา มีงาน มีเงิน มีความรู และเขาถึงสื่อ ทรัพยากรตาง ๆ มากกวาชนชั้นอื่น

แนวคิดเกี่ยวกับการเมืองแนวใหม

ภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับ พุทธศักราช 2550 ดังกลาวคณะ

ผูรางรัฐธรรมนูญไดใหขอสังเกตถึงรัฐธรรมนูญฉบับนี้วานอกจากจะทําใหสิทธิเสรีภาพกับ

ประชาชนอยางกวางขวางแลว ยังตั้งขอสังเกตตอไปวารัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังใหเหตุผลวาการที่ให

สิทธิเสรีภาพกับประชาชนอยางกวางขวางดังกลาวเปนเพราะตองการให “ประชาชนเปนผูเลนไมใช

เปนผูดู” ซึ่งขอสังเกตดังกลาวเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญฉบับนี้สอดคลองกับแนวคิดเกี่ยวกับการเมือง

แบบใหมหรือการเมืองแนวใหม New Politics (วรวิทย มีมาก, 2546) ที่มีนักวิชาการหรือนักคิด

ชั้นนํานอกจาก Anthony Giddens แลวยังมีนักคิดชั้นนําอีกหลายคนที่ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับ

การเมืองแนวใหมเชน Calhoun, Cassese, Chen, Offe, Mouffe ฯลฯ ซึ่งที่มาของแนวคิดเกี่ยวกับ

การเมืองแนวใหมมีที่มาดังตอไปนี้คือ

1. เกิดจากความเสื่อมศรัทธาในระบอบประชาธิปไตยแบบผูแทนและระบบการเมือง

แบบรัฐสภา หรือการเมืองแนวเดิม (Old Politics) ขณะที่สังคมกําลังเผชิญกับปญหาตาง ๆ อยาง

มากมาย เชน โรคเอดส ความยากจน สิทธิมนุษยชน การทําลายสิ่งแวดลอม ฯลฯ และความ

ขัดแยงในรูปแบบใหม ซึ่งเปลี่ยนจากการเผชิญหนาระหวางประเทศมหาอํานาจมาเปนความ

ขัดแยงทางเชื้อชาติ เพศ ศาสนา วัฒนธรรม ฯลฯ

Page 64: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

51

แตการเมืองแนวเดิมกลับเนนการแขงขันกันระหวางพรรคการเมืองเพื่อเขาไปเปน

รัฐบาลและเนนการแกไขปญหาความขัดแยงที่ เกิดขึ้นมาโดยใชกฎหมายเปนหลัก ซึ่งการ

ดําเนินการภายใตความเชื่อเชนนี้แทนที่จะทําใหปญหาและความขัดแยงคลี่คลาย กลับทําให

สถานการณบานปลายออกไปและเพิ่มความซับซอนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ระบอบประชาธิปไตย

แบบผูแทนและระบบการเมืองแบบรัฐสภาหรือการเมืองแนวเดิม ยังเต็มไปดวยการฉอราษฎรบัง

หลวงและการกระทําที่เอื้อประโยชนใหแกพวกพอง

จากพฤติกรรมดังกลาวขางตนอาจกลาวไดวาการเมืองแนวเดิมพยายามจะกีดกัน

ประชาชนใหออกไปเปนเพียง “ผูดู” และ “ปฏิบัติตาม” สิ่งที่ “ผูแทน” ซึ่งได “อํานาจรัฐ” เปน

ผูกําหนดขึ้นเทานั้นตรงนี้จึงเปนสวนหนึ่งของที่มาของการเมืองแนวใหมดังนี้

1. ในแงของหลักการการเมืองแนวใหมมีฐานคติวาอํานาจมาจากประชาชน ไมไดมาจากการชวงชิงอํานาจรัฐของผูแทน อํานาจของประชาชนจะกระจายออกไปในทุกองคาพยพของสังคมไมรวมศูนยอยูที่รัฐหรือพรรคการเมืองไมกําหนดเขตแดนที่ชัดเจนระหวางรัฐกับประชาชนหรือระหวางภาครัฐกับภาคเอกชน การเมืองแนวใหมจึงมีอาณาบริเวณ (Space หรือ Sphere) ใหประชาชนเขาไปมีบทบาทในการตัดสินใจทางการเมืองเปนอยางมากแทนที่จะจํากัดอยูแตในรัฐสภาดังเชนการเมืองแนวเดิม

ดังนั้นรัฐและพรรคการเมืองจึงไมใชเปนสถาบันหลักในการตัดสินใจอีกตอไป เมื่อเปน

ดังนี้ ความหมายของ “การเมือง”จึงมิใชเรื่องของผลประโยชนหรือการจัดสรรแบงปนสิ่งที่มีคุณคา

หรืออํานาจในแงของการแยงชิงและการแขงขันอีกตอไปหากแตจะใหความสนใจในประเด็นที่

เกี่ยวพันกับประชาชนในฐานะที่เปนตัวแสดงหลักแทนเชน เพศ ภาษี วัฒนธรรม สิทธิ โอกาส ฯลฯ

การเมืองแนวเดิมตกอยูภายใตอิทธิพลของกลไกตลาดและการชี้นําของระบบทุน

นิยมเสรี การตกอยูภายใตการครอบงําของระบบเศรษฐกิจแบบนี้ จะเห็นไดจากการนําแนวคิด

ทันสมัยเขามาใชในประเทศกําลังพัฒนา เชน โลกาภิวัตน ธรรมาภิบาล การคาเสรี ฯลฯ ซึ่ง

แนวคิดเหลานี้ ประเทศมหาอํานาจและองคการระหวางประเทศไดนํามาใชกับประเทศที่ออนแอ

กวาโดยผานทางรัฐบาล และรัฐสภาในระบบการเมืองแนวเดิมเพื่อใหกระทําตามที่ประเทศ

มหาอํานาจและองคการระหวางประเทศตองการ

การกระทําแบบนี้นอกจากจะทําใหอํานาจอธิปไตยของประเทศกําลังพัฒนาตองสูญ

ไปแลวยังไดสงผลใหมีการทําลายทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไปอยางมากมาย รวมทั้งทําให

สิ่งแวดลอมเสื่อมโทรมลง

การเมืองแนวใหมเห็นวา แนวคิดนี้ไดสงผลใหเกิดการรุกรานที่ชอบธรรมจากประเทศ

ที่พัฒนากวาซึ่งอาจไมยุติเพียงเฉพาะดานเศรษฐกิจเทานั้น แตยังอาจนําไปสูการรุกรานทางทหาร

Page 65: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

52

ไดอีกดวย ดังนั้นการเมืองแนวใหมจึงคัดคานการใชแนวคิดทางเศรษฐกิจมาเปนตัวชี้นําทาง

การเมือง และเสนอใหมีการนําแนวคิดของ “การคิดระดับสากล และปฏิบัติระดับทองถิ่น” เขามาใช

แทนที่

การเมืองแนวเดิมท่ีลําดับชั้นของอัตลักษณ เชน เพศ ผิว เชื้อชาติ ศาสนา เปนตนและ

เฉพาะอัตลักษณใดอัตลักษณหนึ่งเทานั้นที่จะมีความเหนือกวาอัตลักษณอื่น ๆ การเมืองแนวเดิม

จะใหอภิสิทธิ์กับชนชั้นใดชนชั้นหนึ่งเทานั้น เชน การเมืองแบบเสรีนิยม จะใหความสําคัญตอ

ผูประกอบการขณะที่การเมืองแบบมารกซ จะใหความสําคัญตอชนชั้นกระฎมพี เปนตน

สวนการเมืองแนวใหม จะใหความสําคัญกับความเสมอภาคของบุคคลโดยไมนําเอาอัตลักษณ

เขามาเกี่ยวของ

การเมืองแนวเดิมใชวิธีการเจรจาตอรองและการแลกเปลี่ยนผลประโยชน โดยปกติรัฐ

ทั่วไปจะมองประชาชนผาน “แวน” ของการเมืองแนวเดิม โดยถือวาการเคลื่อนไหวตาง ๆ ของ

ประชาชนเปนการเคลื่อนไหวของ “คูกรณี” ที่มีผลประโยชนแอบแฝง แตการเมืองแนวใหมเห็นวา

ประชาชนไมใช “คูกรณี” และการเคลื่อนไหวของประชาชนไมใช “การประทวง” ดังนั้น การหา

ขอยุติโดยการใชการเจรจาตอรองจึงไมตรงประเด็น ทั้งนี้เพราะประชาชนไมมี “ผลประโยชน” ที่จะ

ไปเจรจาตอรองกับรัฐในลักษณะของ “คูกรณี” หากแตการเคลื่อนไหวของประชาชนเปนไปเพื่อ

ตองการชี้ใหรัฐเห็นถึงขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาและใหรัฐไดตระหนักถึงภัยที่จะ

เกิดขึ้นจากการดําเนินงานตามแนวทางที่รัฐกําหนด ซึ่งการกระทําเชนนี้จะเปนการสรางความหมาย

ใหมในทางการเมืองใหเกิดขึ้น

2. ความแตกตางระหวางการเมืองแนวใหม หรือการเมืองแบบใหม กับการเมืองแนวเดิมหรือการเมืองแนวเกากับบทบาทของชนชั้นกลางใหม (New Middle Class) ในการเมืองแนวใหม

โดยภาพรวมแลว ความแตกตางที่สําคัญระหวางการเมืองแนวเกากับการเมือง

แนวใหมสามารถประมวลไดดังน้ี

ประการแรก การเมืองแนวใหมไมศรัทธาในระบบการปกครองแบบรัฐสภาที่เปนอยู

เพราะเห็นวาไมมีที่วางหรือพื้นที่สาธารณะ (Public Sphere) ใหกับประชาชนธรรมดาในการเขาไป

มีสวนรวมในการตัดสินใจทางการเมืองอยางมีนัยสําคัญ

เนื่องจากเปนการเมืองของสถาบันที่นิยมใชความรุนแรงกับประชาชนในรูปแบบ

ตาง ๆ ไมวาจะเปนรัฐประชาชาติ รัฐบาล ระบบราชการ พรรคการเมือง นักการเมือง กลุมผลประโยชน

รวมตลอดถึงบรรดานักเทคนิควิชาการและผูเชี่ยวชาญตาง ๆ มากกวาเปนการเมืองของประชาชน

ธรรมดา

Page 66: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

53

กลาวอีกนัยหนึ่ง การเมือง แนวใหมไมเชื่อในเรื่องของ “ความเปนตัวแทนประชาชน”

ของสถาบันหลักทางการเมือง ฉะนั้น หัวใจของการเมืองแนวใหม จึงอยูที่การสรางการเมืองแบบ

ที่ใหประชาชนธรรมดามีบทบาทอยางแข็งขันในรูปของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม

(New Social Movements) และเห็นวาวิธีการดังกลาวของการเมืองแนวเดิมเปนเรื่องของการชวง

ชิงอํานาจรัฐ ที่ยังคงวนเวียนอยูในวัฏจักรของการเมืองแนวเกาที่รัฐเปนศูนยกลาง และเปนเพียง

การเปลี่ยนมือของอํานาจจากการกดขี่ของคนกลุมหนึ่ง ไปสูการใชอํานาจกดขี่ปราบปราม

ประชาชนของคนอีกกลุมหนึ่งเทานั้น แตกลไกแหงการกดขี่และความรุนแรง (นั่นคือรัฐและกลไก

ของรัฐ) ยังคงอยูเหมือนเดิม

ดวยเหตุผลตาง ๆ ขางตน การเมืองแนวใหมจึงเปนการเมืองที่ไมสนใจทั้งรัฐบาลและ

พรรคการเมืองในฐานะที่เปนตัวแสดงหลักทางการเมืองอยางการเมืองแนวเกา ไมสนใจการเมือง

และลงสมัครับเลือกตั้ง แตพยายามมองหาวิธีการสรางอํานาจแบบใหมที่อยูนอกวงการเมือง

แนวเกาใหได นับเปนการพยายามสรางคํานิยามหรือความหมายใหมใหกับสิ่งที่ เรียกวา

“การเมือง” เลยทีเดียววาการเมืองมิใชเรื่องของการแยงชิงอํานาจรัฐดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน

นอกจากนี้ในสวนที่เกี่ยวกับอํานาจ อํานาจไมไดกระจุกตัวหากแตอํานาจกระจาย

ทั่วไปในสังคม เมื่อเปนเชนนี้ จึงไมนาประหลาดใจเลยวาทําไม ทั้งการเมืองแนวใหมและขบวนการ

เคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม (Radical Democracy) จึงไมไดรับความสนใจจากสื่อมวลชน ไมวา

จะเปนหนังสือพิมพรายวันหรือโทรทัศน หรือจากแวดวงวิชาการโดยเฉพาะอยางยิ่งวงการ

รัฐศาสตร

ประการที่สอง การเมืองแนวใหมอยูที่มิไดใหความสําคัญกับเรื่องของความ

เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติ ซึ่งเปนสองปราการหลักที่ค้ําจุนการเมืองแนว

เกาแหงยุคสงครามเย็นไวเพราะเห็นวาการใหความสําคัญกับสองสิ่งนี้เทาที่ผานมาสรางปญหา

มากมายใหกับสังคมสมัยใหม โดยเฉพาะอยางยิ่งการทําลายลางทรัพยากรธรรมชิตและ

สิ่งแวดลอมภายใตขออางของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ / การพัฒนาอุตสาหกรรม

ตรงนี้แสดงให เห็นวาการเมืองแนวใหมสนใจการเมืองในบริบท (Contexts)

ที่กวางไกลกวาพรมแดนของรัฐชาติและอํานาจอธิปไตยเปนการเมืองที่มีโลกทัศนในระดับโลก

ประการที่สาม กลุมคนที่สนับสนุนหรือเปนฐานใหกับการเมืองแนวใหมเปนคนละ

ชุดกันกับของการเมืองแนวเกา กลาวคือ การเมืองแนวเกา หรือการเมืองแนวเดิม ไดรับการสนับสนุน

(ในอัตราที่แตกตางกัน) จากชนชั้นนายทุน ผูประกอบการ ชนชั้นกลาง และชนชั้นแรงงาน

ในขณะที่กลุมคนหลักที่สนับสนุนการเมืองแบบใหมไดแกกลุมคนที่เรียกขานกันใน

วาทกรรมวิชาการปจจุบันกระแสหนึ่งวา “ชนชั้นกลางใหม” ซึ่งมีลักษณะเดนอยูที่มีการศึกษาสูง

Page 67: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

54

รายไดดี อาศัยอยูในเมืองและเปนมืออาชีพในแขนงวิชาตาง ๆ เชน แพทย วิศวกร สถาปนิก

นักกฎหมาย นักบริหาร เปนตน ชนชั้นกลางใหม (New Middle Class) เหลานี้ไมพอใจกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ

และการเมืองที่ดํารงอยูในสังคม เพราะทําใหคุณภาพชีวิตตกต่ําลง จึงตองการเปลี่ยนแปลง

บทบาทของชนชั้นกลางใหมนี้เองที่ Offe ถือวาสําคัญมากและเปนตัวกําหนดความแตกตาง

ที่สําคัญระหวางการเมืองแนวเกากับการเมืองแนวใหม

นอกจากนี้ บทบาทของชนชั้นกลางโดยเฉพาะในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม

รูปแบบใหม แตกตางไปจากบทบาทของชนชั้นกลางเกาในการ “ผูนํา” ขบวนการอยางการเมือง

แบบเกา แตเขาไปในลักษณะรวมมือกับกลุมคนอื่น ๆ ที่ไมมีบทบาทหรือพื้นทางการเมืองแนวเกา

มากกวา เชน คนหนุมคนสาว

ประการที่สี่ การเมืองแนวใหมและขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหมอยูที่มิใช

เปนขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อประทวงหรือตอตานโดด ๆ อยางขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมือง

ในการเมืองแนวเกา แตเปนขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่มีเปาหมายเดนชัดอยูที่การชวงชิง

การนําไปในการสรางคํานิยามหรือความหมายชุดใหมใหกับสิ่งที่เรียกรอง / ตอสู / เคลื่อนไหว

โดยไมตกอยูภายใตเงื่อนไขหรือกติกาของการเมืองแนวเกา ดังตัวอยางของขบวนการสิทธิสตรี

“ใหม” ซึ่งมีเปาหมายในการเคลื่อนไหว มิใชการปลดปลอยตัวเองจากการครอบงําของเพศชาย

ดวยการเรียกรองความเสมอภาคและเทาเทียมกันกับเพศชาย แตอยูที่การโคนลมคาคํานิยามแบบ

เกา ๆ ที่ เปนตัวกําหนดความสัมพันธระหวางเพศชายกับเพศหญิงในสังคมลง จากที่กลาวมา

ประการที่สี่จะเห็นไดวา การเมืองแนวใหมในนัยนี้ จึงแตกตางไปจากการเมืองแนวเดิม อยาง

สิ้นเชิง เพราะการเมืองแนวใหมที่วานี้เปนการเมืองที่ไมมีแกนแทหรือสารัตถะ ในความหมายของ

สิ่งที่แนนอน หยุดนิ่งและตายตัว เชน รัฐ อํานาจรัฐ

ประการสุดทาย การเมืองแนวใหมใชยุทธศาสตรหรือวิธีที่ใชในการเคลื่อนไหวตอสู

คนละอยางกับการเมืองของกลุมผลประโยชนในการเมืองแบบเกา เนื่องจากมิไดเคลื่อนไหว

เรียกรองบนพื้นฐานของผลประโยชนแคบ ๆ และเฉพาะเจาะจงของกลุมตัวเอง

แตเคลื่อนไหวในประเด็นปญหาที่หลากหลายและกวางไกลมากดังกลาวมาแลว

ขางตน ยิ่งไปกวานั้น ยุทธศาสตรที่ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหมใชก็มิใชการประนีประนอม

ตอรอง หรือการประสานประโยชน อยางการเมืองเกาหรือการเมืองแนวเดิม แตเลือกใชวิธีการ

ปะทะ เผชิญหนา หรือแตกหักกันเลยทีเดียว ดังจะเห็นไดจากภาษาที่ขบวนการเหลานี้ใชในการ

เคลื่อนไหวเรียกรอง มักเปนภาษาที่คอนขางแข็งทื่อ ชัดแจงและมีความหมายดานเดียวคลายกับ

Page 68: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

55

การยื่นคําขาด เชน หยุดการตัดไมทําลายปา หยุดการสรางเขื่อนขนาดใหญ เลิกเอารัดเอาเปรียบ

สตรี เลิกสรางอาวุธนิวเคลียร เปนตน

สาเหตุที่เปนเชนนี้ สวนหนึ่งเปนผลมาจากเปาหมายในการเคลื่อนไหวของขบวนการ

ที่ตองการสรางคํานิยามหรือความหมายใหมใหกับสิ่งที่เรียกรอง มากกวาการปฏิรูป ปรับปรุง หรือ

เปลี่ยนแปลงอยางคอยเปนคอยไปอยางการเมืองแบบเกา สวนสาเหตุอีกประการหนึ่งเปนเพราะวา

ขบวนการเคลื่อนไหว ทางสังคมรูปแบบใหมไมมี “ทรัพยากร” อะไรจะไปแลกเปลี่ยนในการเจรจา

ตอรอง (ยกเวนยุติการเคลื่อนไหว) เนื่องจากมิใชกลุมผลประโยชนที่มีการจัดตั้งอยางเปนระบบ

แตมักเปนกลุมเฉพาะกิจที่รวมตัวกันอยางหลวม ๆ เฉพาะเรื่อง เฉพาะเหตุการณมากกวา ฉะนั้น

โอกาสที่จะทําใหการเจรจาตอรองมีผลบังคับใชในทางปฏิบัติจึงเปนเรื่องที่เปนไปไดยากมาก จึงไม

สามารถใชยุทธศาสตรการเจรจาตอรอง หรือการประสานประโยชนอยางการเมืองแนวเกาได

3. การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กับแนวคิดเกี่ยวกับ การเมืองแนวใหม หรือการเมืองภาคประชาชน หรือ ประชาธิปไตยทางเลือก และบทบาทของชนชั้นกลางไทยในชวงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่มีขอจํากัดบางประการ

ดังไดกลาวมาขางตนแลววาการเมืองแนวเกาหรือการเมืองแบบตัวแทนหรือระบบ

ประชาธิปไตยแบบตัวแทนไดกอใหวิกฤตศรัทธาหรือความเสื่อมศรัทธาที่มาจากสองสวนดังนี้

(ธงชัย วงศชัยสุวรรณ และ เทียนชัย วงศชัยสุวรรณ, 2540)

สวนแรกในสวนของประชาชน ประชาชนเสื่อมศรัทธาตอพรรคการเมือง รัฐบาล

และนักการเมืองมากขึ้น และมีสวนรวมทางการเมืองดวยการใชสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง

นอยลง

สวนที่สอง ในสวนของสถาบันการเมือง การยึดหลักการเสียงขางมากในระบอบ

ประชาธิปไตยแบบตัวแทนนั้นสามารถนําไปสูทรราชยของสวนใหญได อีกทั้งสถาบันทางการเมือง

ยังไมสามารถตอบสนองความคาดหวังหรือความตองการของกลุมคนตาง ๆ ที่หลากหลายสวน

เรื่องของความกังวลตอปญหาเสียงสวนใหญที่กดขี่เสียงสวนนอยนั้นไมใชเรื่องใหมกอนหนานี้

นักปรัชญาทางการเมืองหลายทานก็ไดมองเห็นปญหาเหลานี้อยูแลว

สําหรับสาเหตุบางดานของของวิกฤตการณหรือความเสื่อมศรัทธาที่มีตอการเมืองดัง

ไดกลาวมาขางตนนั้น มีดังตอไปนี้

สาเหตุประการที่หนึ่ง ของวิกฤตสืบเนื่องมาจากการนิยามประชาธิปไตยใน

ความหมายที่แคบ (Minimal Definitions) เชน นิยามประชาธิปไตยวาหมายถึงระบบในการบรรลุ

การตัดสินใจทางการเมืองที่ปจเจกบุคคลไดมาซึ่งอํานาจในการตัดสินใจโดยผานกระบวนการ

Page 69: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

56

แขงขันเพื่อใหไดคะแนนเสียงจากประชาชนในการเลือกตั้ง นิยามในลักษณะที่เนนความสําคัญของ

การเลือกตั้งจึงไดละเลยมิติอื่น ๆ ของประชาธิปไตยไป

แมการเลือกตั้งจะมีความสําคัญตอประชาธิปไตยแตการเลือกตั้งอาจเปนการปฏิเสธ

โอกาสของประชาชนบางกลุมที่จะลงแขงขันเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจ หรือเปนการปฏิเสธโอกาสใน

การเรียกรองหรือปกปองประโยชนของตน ทั้งนี้เพราะการเลือกตั้งไดเกิดขึ้นแคเพียงเปนชวง ๆ และ

ประชาชนก็มีทางเลือกจากการเสนอโดยพรรคการเมืองเทานั้น

ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยมในความหมายที่แคบนี้มีพื้นที่ทางการเมืองที่คับแคบ

ยิ่งเมื่อสภาพแวดลอมของโลกยุคสมัยใหมมีความเปนพหุลักษณและซับซอนเชื่อมโยงรวมทั้งมี

ความแตกตางหลากหลายมากขึ้นนั้นสงผลใหพลเมืองมองวา การผูกพันภักดีตอรัฐไมใชเรื่อง

สําคัญอีกตอไปและหันไปผูกพันตัวเองกับอัตลักษณที่มีลักษณะเฉพาะสวนและแยกยอยดังนั้น

รัฐบาลจึงเกิดวิกฤตแหงความเปนตัวแทนทางการเมือง หรือวิกฤตในดานความสามารถในการ

ปกครองอันสงผลใหเกิดวิกฤตแหงความชอบธรรมตามมาได (ศิโรตม คลามไพบูลย, 2546,

น. 113-115)

ประการที่สอง เปนสาเหตุจากรากฐานทางความคิดของประชาธิปไตยเสรีนิยมเอง

Macpherson กลาวไวในบทความ “รากฐานที่ผิดพลาดของประชาธิปไตยตะวันตก” (The False

Roots of Western Democracy) วารากฐานที่ผิดพลาดของประชาธิปไตยเสรี คือ ขอสันนิษฐาน

ของพวกประโยชนนิยมที่วา มนุษยโดยเนื้อแทคือผูบริโภคที่หวังประโยชนสูงสุดและทางที่ดีที่สุดใน

การทําใหธรรมชาติของมนุษยเปนจริงและเติมเต็มธรรมชาติดังกลาวของปจเจกบุคคลก็คือการให

ทุกสิ่งทุกอยางหรือใหสิ่งตาง ๆ มากที่สุดภายใตเงื่อนไขแบบตลาดที่เปดใหมีการแขงขันกัน

แมคเฟอรสันมองวาการยอมรับขอสันนิษฐานดังกลาวจะเปนการสรางความไมเสมอภาคระหวาง

คนมั่งมีกับคนยากจนใหมากยิ่งขึ้น

สําหรับในประเทศไทย การวิพากษวิจารณการเมืองแนวเดิมหรือประชาธิปไตยแบบ

ตัวแทนเกิดขึ้นมาในชวงหลังเหตุการณพฤษภาคม พุทธศักราช 2535 และการวิจารณไดเกิดมาก

ยิ่งขึ้นไปอีกในชวงเหตุการณชุมนุมขับไลนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร พุทธศักราช 2548

สําหรับเหตุการณหลังประชาชนเริ่มชุมนุมกันในนามของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

(พธม.) ตั้งแตวันที่ 11 กุมภาพันธ 2549 (นงนุช สิงหเดชะ, 2549)

สําหรับชวงหลังเหตุการณพฤษภาคม พุทธศักราช 2535 หลายฝาย ไดแกประชาชน

นักการเมือง นักวิชาการ สื่อมวลชนและองคกรเอกชนซึ่งสวนใหญคือชนชั้นกลาง ไดให

ความสําคัญกับการมีสวนรวมในทางการเมือง พัฒนาการที่เกิดขึ้นใหมคือ การที่ภาคประชาชน

เขามามีสวนรวมในการกําหนดหรือกอสรางเนื้อหาของรัฐธรรมนูญดวยซึ่งการกอสรางรัฐธรรมนูญ

Page 70: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

57

ฉบับนี้เปนการปรับทิศทางการเมืองไทยที่นาสนใจ ฉันทนา บรรพศิริโชติ ชี้วา นับเปนครั้งแรกที่มี

การตอรองระดับชาติระหวางชนชั้นนําที่ขับเคี่ยวแขงขันกันเองกับชนชั้นกลางและประชาชน และก็

ไมเคยมีครั้งใดที่ผานมาที่ประชาชนและชนชั้นกลางจะสามารถระดมกําลังของตนเองเพื่อผลักดัน

ระเบียบวาระทางการเมืองในระดับนี้ไดโดยไมสูญเสียเลือดเนื้อ

และนี่คือความสําคัญของการเคลื่อนไหวของพลเมือง ดังนั้นในสวนของเนื้อหา

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (ฉบับที่ยกเลิกไปแลว) นับตั้งแตกรอบ

เบื้องตนของการรางรัฐธรรมนูญ ของสภารางรัฐธรรมนูญสาระสําคัญของ รัฐธรรมนูญ จึงเปน

การสงเสริมการสรางการเมืองแนวใหมหรือภาคพลเมืองหรือการเมืองภาคประชาชนหรือ

ประชาธิปไตยทางเลือก หรือประชาธิปไตยแนวทางใหม ทั้งนี้เพื่อใหประชาชนรวมถึงชนชั้นกลาง

มีโอกาสในการมีสวนรวมทางการเมืองอยางแข็งขันหรืออยางเขมขนมากขึ้น

นอกจากนี้ยังไดมีนักวิชาการหรือนักวิจารณการเมืองไทยบางทานมองวา การอาศัย

แตสภาพในการแกไขปญหาตาง ๆ ของสังคมนั้นไมเพียงพอ ดังจะเห็นไดจากทรรศนะของ เสกสรร

ประเสริฐกุล ที่กลาววา

“ระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่เราใชกันอยูนั้นไมพอเพียงสําหรับการดูแลสังคม

โดยองครวม ผมไมคิดวากระบวนการทางการเมืองในสภาตาง ๆ เพียงอยางเดียวจะสามารถขจัดปดเปาทุกขรอนที่มีอยูในประเทศไทยใหหมดไป หากเราจําเปนตอง

ขยายกรอบประชาธิปไตยใหกวางขึ้น ไมใหจํากัดขอบเขตอยูแคการเลือกคนมากุม

อํานาจและปลอยใหประชาชนชนรอรับการดูแลอยางเฉื่อยเนือย” (เสกสรรค

ประเสริฐกุล, 2546)

แมเสกสรรจะเห็นความสําคัญของระบอบรัฐสภา การเลือกตั้ง สิทธิเสรีภาพและ

ความตั้งใจดีของนักการเมืองและชนชั้นนําบางทาน แตเสกสรรเห็นวาไมพอเพียง เขาชี้วาระบอบ

การเมืองควรขายสิทธิในการมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองของประชาชน ซึ่งหมายถึง

ประชาธิปไตยโดยตรง ใหประชาชนใชอํานาจบางดานไดโดยไมผานตัวแทน

สําหรับในชวงเหตุการณชุมนุมขับไลนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

พุทธศักราช 2548 นั้น สื่อตาง ๆ ไดวิพากษวิจารณขอเสียของระบบประชาธิปไตยตัวแทนหรือ

การเมืองแบบตัวแทนหรือการเมืองแนวเดิม ในประเทศไทยไวหลายประการ เชน

- การวางแผนโครงการขนาดใหญโดยไมเปดใหประชาชนมีสวนรวมในการ

ปรึกษาหารือ (สิริวิชญ)

- องคกรตรวจสอบการทํางานของรัฐบาลไมสามารถเปนที่พึ่งพาใหกับประชาชน

ปญหาวิกฤตความไววางใจตอตัวผูนํา (เพี้ยน นักเรียนนอก, 2529)

Page 71: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

58

นอกจากนี้ยังไดมีนักวิชาการอีกหลายทานไดออกมาวิพากษ วิจารณปญหาของ

ประชาธิปไตยไทย แบบตัวแทนหรือการเมืองแนวเดิม เชน ธเนศวร เจริญเมือง ที่กลาววา “ผมจึง

สรุปวา ประชาธิปไตยขณะนี้ เปนประชาธิปไตยที่มีการเลือกตั้ง มีพรรคการเมือง มีรัฐธรรมนูญ

แตมีวิธีการปฏิบัติการตามแบบเผด็จการหลายประการมาก

ทางฝายพรรคไทยรักไทยก็ใหนิยามประชาธิปไตยแบบตัวแทนไวอยางคับแคบดวย

การใหความสําคัญกับการเลือกตั้งและการอางความชอบธรรมในการเปนผูนําเพียงแคดวยคะแนน

เสียงสวนใหญเทานั้น ทัศนะดังกลาวน้ีสะทอนใหเห็นไดจาก สารไทยรักไทยที่กลาววา

“หากเมื่อใดประชาชนปฏิเสธไมยอมรับคําตัดสินของคะแนนเสียงเลือกตั้งและไม

ยอมรับวาอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทยโดยผานกระบวนการลงคะแนน

เสียงเลือกตั้ง ดังน้ันทุกฝายตองอดทนที่จะใหกลไกการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย

ซึ่งเริ่มตนไวอยางดีแลวสามารถพัฒนาตอไปสูคุณภาพใหมอยางยั่งยืน อยาขัดขวาง

หรือหยุดยั้งพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยไทย” (พรรคไทยรักไทย, 2005)

ขณะเดียวกัน นักวิชาการของไทยอยางเชน เสรี วงคมณฑา ก็ออกมาปฏิเสธ

แนวความคิดของนายกรัฐมนตรีที่อางความชอบธรรมในการเปนผูนําตามสารขางตน ดังที่ เสรี

วงศมณฑา (อางถึงใน กตัญู ประยุกตศิลป, 2549) ชี้วา

“ที่กลัวมาก ๆ คือคําพูดของนายกฯ ที่เกิดซ้ําแลวซ้ําเลาอีกวา จะเอาคะแนนเลือกตั้ง

ครั้งนี้มายืนยันวาเขาถูกตองแลวและคนที่ตอตานเขาเปนฝายผิดพอฟงอยางนี้เราก็

รูสึกวาเฮย พูดอยางนี้ไมได เพราะการเลือกตั้งมันเปนเพียงหนึ่งในกระบวนการ

ประชาธิปไตย ซึ่งการที่จะไดคะแนนเสียงเทาไร ปจจัยมีหลายขอไมไดมีปจจัยจากที่วา พ.ต.ท. ทักษิณ เปนนายกฯ ที่ดีจึงชนะ”

จากที่กลาวมาขางตนถึงทัศนะของนักวิชาการ สื่อมวลชนและผูชุมนุมประทวง ที่มี

ชนชั้นกลางรวมอยูดวย รวมถึงนักการเมืองฝายคานเกี่ยวกับความหมายของประชาธิปไตย (แบบ

ตัวแทน) จะเห็นไดวามีความแตกตางจากทัศนะของนายกรัฐมนตรีและพรรคไทยรักไทยมาก

ขณะที่ฝายแรกมองวาประชาธิปไตยรวมถึงการตรวจสอบการใชอํานาจของ

ผูปกครองและการเปดกวางใหภาคประชาชนมีสวนรวม แตฝายหลังมองวา ประชาธิปไตยคือ

กระบวนการที่ประชาชนเลือกตั้งผูนําใหมาบริหารประเทศ เห็นไดชัดเจนวาทัศนะฝายแรกมี

แนวทางแบบประชาธิปไตยทางเลือกขณะที่ฝายรัฐบาลยังยึดติดกับกรอบคิดประชาธิปไตยแบบ

ตัวแทน

อาจจะมีคําถามวาทําไมตองมีคําตอบเพราะนักวิชาการทั้งในและตางประเทศที่

กลาวตางเห็นประชาธิปไตยทางเลือกอยูในฐานะทางแกหรือทางออกหรือการนํามาเสริมจุดออน

Page 72: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

59

ประชาธิปไตยแบบตัวแทนเนื่องจากหลายฝายในประเทศมองวาประชาธิปไตยตัวแทนมีปญหา

และขอจํากัดการแสวงหาทางแกไขดวยการเปดกวางใหประชาชนมีสวนรวมมากขึ้นอันเปน

แนวทางที่ประชาธิปไตยทางเลือก (Alternative Democracy) ดังนั้นประเด็นนี้จึงเปนที่มาของ

การศึกษาของนักคิดประชาธิปไตยตะวันตกที่ไดนําเสนอทฤษฎีอยางเปนระบบ

4. ที่มาของทฤษฎีประชาธิปไตยทางเลือกหรือการเมืองแนวทางใหมหรือประชาธิปไตยแนวทางใหมที่นํามาเสริมการเมืองแบบตัวแทน

การศึกษาแนวคิดประชาธิปไตยตะวันตก ที่จะกลาวตอไปนี้จะเปนประโยชนในฐานะ

เปนบทเรียนเกี่ยวกับการมองปญหาและแนวทางแกไขปญหาตาง ๆ เกี่ยวกับประชาธิปไตยตัวแทน

โดยแนวคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยทางเลือกที่จะนํามาเสนอมีเพียง ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ

(Deliberative Democracy) ประชาธิปไตยแบบพหุนิยมรุนแรง (Radical Democracy) และ

ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม (Participatory Democracy) เทานั้นโดยขอกลาวโดยสังเขป

ดังตอไปนี้

4.1 แนวคิดประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม (Participatory Democracy) แนวคิด

ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมพัฒนาขึ้นจากการวิพากษวิจารณแนวคิดประธิปไตยแบบชนชั้นนํา

วิพากษวิจารณแนวคิดพหุนิยมคลาสสิคที่มองวาอาณาบริเวณทางการเมืองที่แข็งขันเปดใหเฉพาะกับ

รัฐบาล ผูนํากลุมประโยชน ขณะที่แนววิเคราะหแบบประชาธิปไตยชนชั้นนํา และพหุนิยมคลาสสิค

มองวาเสถียรภาพของประชาธิปไตยขึ้นอยูกับความเฉยชาของพลเมืองทั่วไป

สําหรับนักประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมกลับสงเสริมใหพลเมืองขยายการมีสวน

รวมอยางแข็งขันใหมากที่สุดและสงเสริมคุณธรรมในเรื่องความสมัครสมานสามัคคีเปนเอกภาพ

(Frank Cunningham, 2002)

4.2 ประชาธิปไตยแบบพหุนิยมรุนแรง (Radical Democracy) (Ernesto

Laclau and Chantal Mouffe, 1985) ในทัศนะของ Laclau และ Mouffe ซึ่งรวมกันเขียนหนังสือ

ชื่อ “การครอบครองความเปนใหญ และยุทธศาสตรแนวสังคมนิยม ไปสูการเมืองประธิปไตยแบบ

รุนแรง “Hegemony and Socialist Strategy : Towards a Radical Democratic Politics”

หนังสือเลมนี้ไดตีพิมพในป 1985 บริบท ณ เวลานั้น คือการตอสูทางสังคมใหม ๆ ปรากฏขึ้นเปน

จํานวนมากและมีความหลากหลายทั้งในประเทศอุตสาหกรรมเอง และในประเทศริมขอบของทุน

นิยม เชน การเคลื่อนไหวในนามของกลุมสตรีนิยม กลุมรักษสิ่งแวดลอม กลุมชาติพันธุ และกลุม

รักรวมเพศ เปนตน

อยางไรก็ตาม หากจะมีคําถามถามถึงความหมายของคําวาประชาธิปไตยแบบ

รุนแรง คืออะไร (Radical Democracy) ไดมีการอธิบายความหมายของคําดังกลาวดวยการ

Page 73: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

60

อธิบายแตละคําดังตอไปนี้ อันไดแกคําวา ประชาธิปไตย พหุนิยม และ รุนแรง วามีความหมายวา

อยางไรกอน

“ประชาธิปไตย” หมายถึง การมีจินตนาการแบบเสมอภาคนิยม จินตนาการ

ดังกลาวซึ่ง Laclau และ Mouffe ใหความหมายวาเปนการรับรูวามีความไมเสมอภาคบางอยางใน

สังคมและผูที่รับรูความไมเสมอภาคตองการที่จะตอสูเพื่อยุติความสัมพันธที่ไมเสมอภาคนั้น

จินตนาการดังกลาวเปนแรงผลักดันใหปจเจกบุคคลรวมตัวเปนกลุมเพื่อนรวมมือกันตอสู

“พหุนิยม” หมายถึง การมีเสรีภาพอยางกวาง โดย Laclau และ Mouffee ชี้วา

สังคมประชาธิปไตยควรจะสงเสริมใหประชาชนรวมกันเปนกลุมเพื่อเคลื่อนไหวใหมากมายหลาย

กลุม

“รุนแรง” หมายถึง การมีความเสมอภาค หรือความเปนอิสระเอกเทศ LacLau

และเสนอแนะใหกลุมที่ทําการตอสูทางการเมืองนั้นมีความเปนอิสระเอกเทศตอกัน ซึ่งหมายถึงแต

ละกลุมนั้นเสมอภาคกัน

Laclau และ Mouffe ไดชี้ใหเห็นวาสังคมประชาธิปไตยจะตองมีทั้งลักษณะที่เปน

พหุนิยม และลักษณะที่รุนแรง (ความเสมอภาค หรือความเปนอิสระเอกเทศ) เปนพหุจะเขมขน

รุนแรงไดก็ตอเมื่อ กลุมตาง ๆ มีความเปนอิสระเอกเทศ LacLau และ Mouffe มองวาในการ

สงเสริมความเสมอภาคนั้น ระเบียบสังคมจะตองปองกันการกระจุกตัวของอํานาจ Laclan และ

Mouffe การแกไขปญหาตาง ๆ ดวยการรวมศูนยอํานาจในรูปแบบตาง ๆ ที่สกัดกั้นไมใหผูกระทํา

การทางการเมืองเขามีสวนรวมอยางแข็งขันในการตอสูเพื่อความเสมอภาค โดยทั้ง 2 มองวาการ

ปฏิบัติคือการรวมศูนยของอํานาจเชนกัน

ดังนั้น ประชาธิปไตยแบบรุนแรงที่ไมเปนพหุนิยมคือประชาธิปไตยที่กลุมบางกลุม

เทานั้นที่มีความเปนอิสระเอกเทศ และกลุมเหลานี้กีดกันขอเรียกรองตองการของกลุมอื่น ๆ

เพราะฉะนั้นประชาธิปไตยแบบนี้จึงเขากันไมไดกับสภาพสังคมพหุนิยมที่พลเมืองมีความแตกตาง

หลากหลายและตองการความเปนอิสระเอกเทศ ในการขยายความเสมอภาคใหเปนไปอยาง

กวางขวาง

4.3 ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหรือ (Deliberative Democracy) แนวคิดเรื่อง

ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือหรือการตัดสินใจโดยการอภิปรายในทามกลางพลเมืองที่เสรีและ

เทาเทียมกันมีอายุเกาแกเทากับประชาธิปไตยที่ถือกําเนิดขึ้นมาในเอเธนสสมัยเพริคลิส

(Pericles) เมื่อ 5 B.C. (Joe Elster,1988) ลักษณะการปรึกษาหารือทางการเมืองในประชาธิปไตย

เอเธนส นั้นคือนักพูดจํานวนนอยที่อภิปรายถกเถียงน้ันตองชักจูงใจผูฟง

Page 74: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

61

ประชาธิปไตยเอเธนสสิ้นสุดลงใน 322 B.C สองพันปตอมาระบอบประชาธิปไตย

ไดปรากฏขึ้นอีกครั้งในรูปแบบตัวแทน การปรึกษาหารือทางการเมืองก็เปลี่ยนแปลงลักษณะไป

ดวยนักพูดในสมัชชาที่มาจากการเลือกตั้งไมตองพูดเพื่อชักจูงใจพลเมืองใหรวมตัดสินนโยบายแต

การปรึกษาหารือมีรูปแบบที่จํากัดวงไวแตกับชนชั้นนํา เชน นักการเมืองและผูเชี่ยวชาญที่ทํางาน

การเมือง

อยางไรหากจะมีคําถามวามีความแตกตางระหวางประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมและ

ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือหรือไม คําตอบนั้นตอบไดวา มีความแตกตาง

ความแตกตางของประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมและแบบปรึกษาหารืออยูตรง

ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือเนนวาการปรึกษาหารือสรางความชอบธรรมใหกับกระบวนการ

ตัดสินใจแบบรวมหมูแตประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมมองการเปนตัวแทนในแงลบ ขณะที่

ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือมองวา การเปนตัวแทนเปนสิ่งจําเปนในอาณาเขตรัฐขนาดใหญ

และก็นาปรารถนาดวย แตตัวแทนและพลเมืองตองรวมกันปรึกษาหารือ

จากที่กลาวมาทั้ งหมดถึงประชาธิปไตยทางเลือกทั้ ง 3 รูปแบบสรุปไดว า

ประชาธิปไตยทางเลือกมีจุดเนนการขยายพื้นที่ทางการเมืองหรืออํานาจในการตัดสินใจประเด็น

นโยบายทางการเมือง แนวทางการนําเสนอทางแกไขก็จึงเปนการเปดใหพลเมืองหลายฝายมีสวน

รวมในการตัดสินใจทางการเมืองมากยิ่งขึ้น

สําหรับเหตุผลที่สําคัญที่ตองกลาวถึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

2550 ในฐานะการเมืองแนวใหม หรือประชาธิปไตยแนวทางใหม หรือประชาธิปไตยทางเลือก

เพราะรัฐธรรมนูญฉบับนี้ดังไดกลาวมาในตอนตนแลววามองประชาชนเปน “ผูเลนไมใชผูดู”

เหมือนรัฐธรรมนูญฉบับกอนหนานี้ที่ใหน้ําหนักกับการเมืองแนวเดิม หรือการเมืองแนวเกา หรือ

การเมืองแบบตัวแทน หรือระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่ “ตัวแสดงหลักไดแก นักการเมือง

พรรคการเมือง” ที่ตอมาการเมืองแนวเกาหรือการเมืองแนวเดิมมีขอจํากัดมากมายดังที่ไดกลาวมา

ขางตนโดยสังเขป

ดังนั้น นักวิชาการทางตะวันตกจึงไดคิดการเมืองแนวใหมหรือการเมืองแบบใหมหรือ

ประชาธิปไตยทางเลือกหรือประชาธิปไตยแนวทางใหมมาเสริมจุดออนหรือขอจํากัดของการเมือง

แบบตัวแทน และตรงนี้จึงเปนที่มาที่ทําใหผูวิจัยวิเคราะหบริบททางการเมืองที่มีผลตอพฤติกรรม

ทางการเมืองของชนชั้นกลางไทยในชวง 2551-2553 จึงตองวิเคราะหบริบททางการเมืองภายใต

กรอบแนวคิดขางตนโดยบริบททางการเมืองในสวนที่ 1 เนนไปที่เจตนารมณของรัฐธรรมนูญ

พุทธศักราช 2550 ที่ตองการใหประชาชนเปนผูเลน หรือเปนตัวแสดงเพิ่มมากขึ้นซึ่งแนวคิดใน

ลักษณะดังกลาวเปนไปตามแนวคิดการเมืองแนวใหม

Page 75: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

62

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

บุญเลิศ ธีระตระกูล (2538, บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “การมีสวนรวมทางการ

เมืองของกรรมกรไทย: ศึกษาเฉพาะกรณีกรรมกรทาเรือแหงประเทศไทย” วามีปจจัยอะไรบานที่มี

อิทธิพลตอการเขามีสวนรวมทางการเมืองของบุคคลเหลานี้ โดยเขาไดศึกษาทั้งปจจัยพื้นฐานที่

เกี่ยวกับภูมิหลังสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมและปจจัยทางดานจิตสํานึกภายในของบุคคล

ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้

1. โดยทั่วไปแลว กรรมกรการทาเรือเขามีสวนรวมทางการเมืองในระดับต่ํา และ

กิจกรรมทางการเมืองที่กรรมกรเหลานี้ใหความสนใจและเขามีสวนรวมทางการเมืองมากที่สุดคือ

การเลือกตั้ง รองลงมาไดแก การประทวง การสื่อขาวสารทางการเมือง การมีบทบาทชุมชนและ

การเกี่ยวของกับพรรคการเมืองตามลําดับ

2. เมื่อพิจารณาปจจัยทางดานภูมิหลังหรือสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมของ

กรรมกรการทาเรือที่มีอิทธิพลตอการมีสวนรวมทางการเมืองแลวพบวา

- กรรมกรชายและหญิงเขามีสวนรวมทางการเมืองในระดับที่ไมแตกตางกันอยาง

มีนัยสําคัญ

- กรรมกรที่มีอายุตางกัน เขามีสวนรวมทางการเมืองในระดับที่ไมแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญ

- กรรมกรที่มีระดับการศึกษาตางกัน เขามีสวนรวมทางการเมืองในระดับที่

ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

- กรรมกรที่มีรายไดตางกัน เขามีสวนรวมทางการเมืองในระดับที่แตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญ

- กรรมกรที่เปนสมาชิกสหภาพแรงงานการทาเรือ เขามีสวนรวมทางการเมือง

มากกวากรรมกรที่ไมไดเปนสมาชิกสหภาพแรงงานการทาเรืออยางมีนัยสําคัญ

3. เมื่อพิจารณาปจจัยทางดานจิตสํานึกของบุคคล พบวา

- กรรมกรการทาเรือมีความรูสึกมีประสิทธิภาพทางการเมือง (Political

Efficiency) และความไววางใจทางการเมือง (Political Trust)

- ความรูสึกมีประสิทธิภาพทางการเมือง และความไววางใจทางการเมืองของ

กรรมกรการทาเรือ ไมมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมทางการเมืองอยางมีนัยสําคัญ

คุณาภา ธํารงมาศ (2552, น. บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องแนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวม

ทางการเมืองโดยตรงของประชาชนระหวางบทบัญญัติที่กํ าหนดไวในรัฐธรรมนูญแหง

Page 76: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

63

ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

ผลการศึกษาพบวา

1. แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชนระหวาง

บทบัญญัติที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กับรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เหมือนหรือตางกัน ดังนี้

1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการเขาชื่อเสนอกฎหมายรัฐธรรมนูญ 2550 ไดคงแนวคิด

ตามรัฐธรรมนูญ 2540 โดยแกไขจํานวนประชาชนที่จะเขาชื่อจากเดิมหาหมื่นคนเปนหนึ่งหมื่นคน

1.2 แนวคิดเกี่ยวกับการถอดถอนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง รัฐธรรมนูญฉบับ

2550 ไดคงหลักการตามรัฐธรรมนูญฉบับป 2540 โดยแกไขจํานวนประชาชนที่เขาชื่อจากเดิมหา

หมื่นคนเปนสองหมื่นคน

1.3 แนวคิดเกี่ยวกับการออกเสียงประชามติ รัฐธรรมนูญ 2550 ไดเพิ่มสิทธิของ

ประชาชนในการมีสวนรวมในทางการเมืองโดยตรงดวยการออกเสียงประชามติ ซึ่งจะมีการ

ดําเนินการไดทางใดทางหนึ่งใน 2 หลักการ คือ (1) คณะรัฐมนตรีเสนอใหมีการออกเสียงประชามติ

หรือ (2) มีกฎหมายบัญญัติใหเรื่องใดตองมีการออกเสียงประชามติ ทั้งนี้การออกเสียงประชามติ

ของประชาชนอาจใหมีผลเปนขอยุติหรือเปนการใหคําปรึกษาก็ได ซึ่งจะขึ้นอยูกับเรื่องที่จะ

ดําเนินการใหออกเสียงประชามติ ซึ่งแตกตางจากรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช

2540 ที่ใหมีผลเปนการใหคําปรึกษาเทานั้น

2. ปจจัยที่มีผลตอแนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน

ระหวางบทบัญญัติที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช2540 กับ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช2550 เหมือนหรือแตกตางกัน

2.1 ปจจัยสิทธิเลือกตั้งของประชาชน เปนปจจัยที่มีผลตอแนวคิดเกี่ยวกับการมี

สวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน รัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับไดกําหนดแนวคิดที่

เหมือนกันไดแก อายุ (กําหนดใหประชาชนอายุ 18 ปบริบูรณขึ้นไปมีสิทธิเลือกตั้ง) และมีสัญชาติ

ไทย

2.2 ปจจัยการใชสิทธิของประชาชนทางการเมือง รัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับได

กําหนดการใชสิทธิในการออกเสียงประชามติของประชาชนไวเหมือนกันทั้งในวิธีการใชสิทธิและใน

เรื่องจํานวนประชาชนที่ถือเอาเสียงสวนใหญของประชาชนเปนประชามติ

2.3 ปจจัยกระบวนการพิจารณาขององคกรตามรัฐธรรมนูญ ใชกฎหมาย

ประกอบรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญ 2540 ดังนั้นกระบวนการพิจารณาและกลไกตาง ๆ จึง

Page 77: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

64

เปนไปในทํานองเดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจากยังไมมีการออกกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ 2550

ออกมาแตอยางใด

2.4 ปจจัยการพิจารณาขององคกรตามรัฐธรรมนูญ โดยรัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับ

ไดผลการพิจารณา ดังนี้ (1) การเขาชื่อเสนอกฎหมาย ไดผลการพิจารณาที่เหมือนกันคือรัฐสภา

พิจารณาตราเปนพระราชบัญญัติบังคับใช (2) ถอดถอนจากตําแหนง ไดผลการพิจารณาที่

เหมือนกัน คือ ผูถูกถอดถอนพนจากตําแหนงและตัดสิทธิในการดํารงตําแหนงทางการเมือง หรือ

ในการรับราชการเปนเวลา 5 ป (3) การออกเสียงประชามติ ไดผลการพิจารณาที่เหมือนกัน คือ

เปนเพียงการใหคําปรึกษาคณะรัฐมนตรี แตที่แตกตางกัน คือ รัฐธรรมนูญ 2550 กําหนดใหถือมติ

ของประชาชนเปนขอยุติดวย ซึ่งรัฐธรรมนูญ 2540 ไมมีกําหนดไว

รสลิน ศิริยะพันธุ และคณะ (2551, น. บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมทาง

การเมืองของชนชั้นกลางกับพัฒนาการทางการเมืองไทย กรณีภาคเหนือ

ผลการศึกษาพบวา (1) พฤติกรรมทางการเมืองโดยภาพรวมของชนชั้นกลางใน

ภาคเหนือเขาไปมีสวนรวมทางการเมืองในระดับปานกลาง ซึ่งพฤติกรรมทางการเมืองที่แสดงออก

มากที่สุด คือ การใชสิทธิ์เลือกตั้ง (2) การพัฒนาทางการเมืองไทยในชวงหลังการปฏิรูปการเมือง

(พุทธศักราช 2540) เมื่อพิจารณาจากองคประกอบของการพัฒนาทางการเมือง ถือไดวามี

การพัฒนาการทางการเมืองไทยในระดับมาก แตถาพิจารณาจากการบรรลุเปาหมายของ

การพัฒนาการทางการเมืองแลว พัฒนาการทางการเมืองไทยอยูในระดับปานกลาง (3) พฤติกรรม

ทางการเมืองของชนชั้นกลางในภาคเหนือมีความสัมพันธกับองคประกอบและเปาหมายของ

การพัฒนาทางการเมืองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 องคประกอบของการพัฒนาการ

ทางการเมืองมีความสัมพันธกับเปาหมายของการพัฒนาทาการเมืองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่

ระดับ .01

นารีวรรณ กลิ่นรัตน (2550, น. บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องการมีสวนรวมทางการเมือง

ของชนชั้นกลางไทยในกระแสโลกาภิวัตน โดยมองพัฒนาการการมีสวนรวมทางการเมืองของชน

ชั้นกลางเปนหลัก และนําประเด็นเรื่องปจจัยที่มีผลตอบทบาทการมีสวนรวมทางการเมือง เชน

สถานการณทางการเมือง สภาวะทางเศรษฐกิจและระบบโลกมาพิจารณารวมกัน ผลการศึกษา

พบวา แมวาชนชั้นกลางไทยยังคงขยายจํานวนมากขึ้นตามปจจัยการขยายตัวทางเศรษฐกิจแบบ

ทุนนิยม และภายใตระเบียบโลกใหมที่ เรียกวาโลกาภิวัตน การมีสวนรวมของชนชั้นกลาง

โดยเฉพาะดานการเมืองถูกหวังไววาจะสามารถผลักดันใหการเมืองมุงไปสูแนวทางประชาธิปไตย

มากขึ้น โดยจากการพิจารณาบทบาทของชนชั้นกลางสามารถแบงออกเปน 2 แนวทางใหญ ๆ คือ

ชั้นกลางไทยที่มีสวนเกี่ยวกับเศรษฐกิจใหม โดยเฉพาะระบบเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตนที่มีทุนเสรี

Page 78: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

65

แทรกซึมเขาไปทุกอณูนั้น มักเขามามีสวนรวมทางการเมืองเมื่อมีการคาดการณวาจะสูญเสีย

ผลประโยชนทางดานเศรษฐกิจและอาจเผชิญกับความยากลําบาก เมื่อผลประโยชนของตนไดรับ

การแกไขแลว ก็พรอมที่จะหยุดการเคลื่อนไหวและไมไดคํานึงวาวิธีการที่จะไดมาซึ่งการตอบสนอง

ผลประโยชนของตนนั้นสอดคลองกับหลักการทางการเมืองหรือไมแตอยางใด ในขณะที่ชนชั้น

กลางที่มีสวนรวมทางการเมืองโดยเฉพาะในการแสดงความคิดตอการดําเนินนโยบายของรัฐอยาง

แข็งขันและเรียกรองใหรัฐหันมาเอาใจใสกับสวนอื่น ๆ ของสังคม และมักออกมาเคลื่อนไหวอยาง

สม่ําเสมอ กลับมีไมมากนักและมักจํากัดอยูในแวดวงการศึกษาเทานั้น

นฤมล หลอศรีแสงทอง (2544, น. บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมการ

สื่อสารกับความรูความเขาใจเรื่องการเลือกตั้งระบบใหมของประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งในจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา”

ผลการวิจัย พบวา

1. ประชาชนมีความรูความเขาใจเรื่องการเลือกตั้งระบบใหมในระดับปานกลาง

โดยมีคะแนนเฉลี่ยจากการวัดความเขาใจเรื่องการเลือกตั้งระบบใหม 7.24 คะแนน จากคะแนน

เต็ม 12 คะแนน

2. กลุมตัวอยางเกือบทั้งหมดไดรับขาวสารความรูเรื่องการเลือกตั้งระบบใหม โดยมี

พฤติกรรมการสื่อสารอยูในรูปแบบของการเปดรับสื่อแบบผสมผสาน คือ เปดรับขาวสารฯ จาก

สื่อตาง ๆ มากกวา 1 ประเภท ซึ่งกลุมตัวอยางสวนใหญเปดรับขาวสารฯ จากทั้งสื่อมวลชน

สื่อบุคคล และสื่อเฉพาะกิจ

3. กลุมตัวอยางเปดรับขาวสารเรื่องการเลือกตั้งระบบใหมจากสื่อมวลชนมากกวา

สื่อบุคคลและสื่อเฉพาะกิจ

- สื่อมวลชนที่กลุมตัวอยางเปดรับขาวสารฯ มากที่สุด คือ โทรทัศน รองลงมา

คือ หนังสือพิมพ และวิทยุ ตามลําดับ

- สื่อบุคคลที่กลุมตัวอยางเปดรับขาวสารฯ มากที่สุด คือ บุคคลในครอบครัว

รองลงมา คือ ผูใหญบาน และเพื่อน ตามลําดับ

- สื่อเฉพาะกิจที่กลุมตัวอยางเปดรับขาวสารฯ มากที่สุด คือ ปายกลางแจง

รองลงมา คือ แผนพับ และรถแห ตามลําดับ

4. การเปดรับสื่อแบบผสมผสานในรูปแบบการเปดรับสื่อ 3 ประเภทรวมกันนั้น

ทําใหกลุมตัวอยางมีความรู ความเขาใจเรื่องการเลือกตั้งระบบใหมมากกวาการเปดรับขาวสารฯ

จากสื่อมวลชนหรือสื่อบุคคลเพียงอยางเดียว โดยสื่อมวลชนมีบทบาทตอการสรางความรู

ความเขาใจเรื่องการเลือกต้ังระบบใหมใหกับประชาชนมากกวาสื่อบุคคลและสื่อเฉพาะกิจ

Page 79: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

66

5. ความรูความเขาใจเรื่องการเลือกตั้งระบบใหมของประชาชนมีความสัมพันธกับ

ความถี่ในการเปดรับขาวสารจากโทรทัศน อินเตอรเน็ต และจากครู รวมทั้งมีความสัมพันธกับ

ลักษณะทางประชากรศาสตรของประชาชน ไดแก เพศ การศึกษา อาชีพ และรายไดอีกดวย

(แตพบวา ไมมีความสัมพันธกับอายุ)

6. กลุมตัวอยางมีสวนรวมทางการเมืองมากพอสมควร โดยเกือบทั้งหมดคาดการณ

วาจะไปใชสิทธิเลือกตั้งในวันที่ 6 มกราคม 2544 และชวงกอนถึงวันเลือกตั้ง กลุมตัวอยาง

มากกวาครึ่งเคยพูดคุย และเปลี่ยนความคิดเห็นเรื่องการเลือกตั้งระบบใหมกับบุคคลอื่น

จินตนา ปญญาอาวุธ (2541, น. บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมทางการสื่อสาร

และอุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตยที่มีตอความรู ทัศนคติ และการมีสวนรวมในการ

ปฏิรูปการเมืองพุทธศักราช 2540 ของผูมีสิทธิ์เลือกตั้งกลุมอายุ 18-20 ป ในเขตกรุงเทพมหานคร

ผลการศึกษาพบวา

1. กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมการสื่อสารโดยภาพรวมทุกสื่อ (หนังสือพิมพ

วิทยุ โทรทัศนและสื่อบุคคล) นอย ปจจัยทางประชากรศาสตรที่มีผลตอพฤติกรรมการสื่อสารดาน

การปฏิรูปการเมืองโดยรวมไดแก เพศ

2. กลุมตัวอยางสวนใหญมีอุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตยโดยรวมอยูใน

ระดับกลาง ปจจัยทางประชากรศาสตรที่มีอิทธิพลตออุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตย

โดยรวม ไดแก การศึกษา แตเปนความสัมพันธเชิงผกผัน คือคนที่มีการศึกษาต่ํามีอุดมการณ

ประชาธิปไตยสูงกวาคนที่มีการศึกษาสูง สวนปจจัยดานพฤติกรรมการสื่อสารที่มีผลตออุดมการณ

ทางการเมืองแบบประชาธิปไตยโดยรวม ไดแก พฤติกรรมการสื่อสารดานการปฏิรูปการเมือง

โดยรวมทุกสื่อ และอานขาวปฏิรูปการเมืองจากหนังสือพิมพ

3. กลุมตัวอยางสวนใหญมีความรูในการปฏิรูปการเมืองต่ํา ปจจัยที่มีผลตอความรู

คือการศึกษาและอุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตยโดยรวม

4. กลุมตัวอยางสวนใหญมีทัศนคติตอการปฏิรูปการเมืองโดยรวมอยูในระดับปาน

กลางหรือเฉย ๆ ปจจัยดานพฤติกรรมการสื่อสารที่มีผลตอทัศนคติ ไดแก การเปดรับขาวปฏิรูป

การเมืองจากหนังสือพิมพและโทรทัศน นอกจากนี้อุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตย

โดยรวมมีผลตอทัศนคติดวย

5. กลุมตัวอยางสวนใหญมีสวนรวมตอการปฏิรูปการเมืองโดยรวมนอย ปจจัยดาน

พฤติกรรมการสื่อสารที่มีผลตอการมีสวนรวมปฏิรูปการเมืองโดยรวม ไดแก รายได แตเปน

ความสัมพันธเชิงผกผันคือ คนที่มีรายไดนอยมีสวนรวมมากกวาคนที่มีรายไดปานกลางและรายได

มาก นอกจากนี้อุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตยโดยรวมก็มีอิทธิพลตอการมีสวนรวม

Page 80: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

67

ตอการปฏิรูปการเมืองโดยรวมดวย สวนปจจัยดานพฤติกรรมการสื่อสารที่มีผลตอการมีสวนรวม

ปฏิรูปการเมืองโดยรวม ไดแก การเปดรับขาวปฏิรูปการเมืองจากวิทยุ โทรทัศนและสื่อบุคคล

สุนีย ตรีธนากร (2539, น. บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องโลกทัศนประชาธิปไตยของชนชั้น

กลางไทย ศึกษาเปรียบเทียบกลุมขาราชการประจํากับกลุมพนักงานองคกรเอกชน

ผลการวิจัยพบวา มีเพียงตัวแปรทางดานเพศและระดับการศึกษาเทานั้นที่มีผลตอ

การมีโลกทัศนประชาธิปไตยที่แตกตางกันของกลุมขาราชการกรมการปกครองและกลุมพนักงาน

ธนาคารกรุงเทพ โดยขาราชการและพนักงานเพศชายที่มีระดับการศึกษาสูงจะมีโลกทัศน

ประชาธิปไตยในเชิงบวกสูงกวาขาราชการและพนักงานธนาคารเพศหญิงที่มีการศึกษาต่ํา

นอกจากนี้ยังพบวา ความแตกตางในเรื่องอายุ ระดับรายได ระยะเวลาการทํางานและกลุมอาชีพ

ไมมีความสัมพันธตอการมีโลกทัศนประชาธิปไตยของทั้ง 2 กลุมแตประการใด เมื่อพิจารณาโลก

ทัศนประชาธิปไตยโดยภาพรวมของทั้ง 2 กลุมแลวพบวาทั้ง 2 กลุมตางก็มีโลกทัศนประชาธิปไตย

อยูในระดับปานกลาง แตมีความโนมเอียงวากลุมขาราชการกรมการปกครองจะมีโลกทัศน

ประชาธิปไตยในเชิงลบไดมากกวากลุมพนักงานธนาคารกรุงเทพ

เสนีย กลั่นกลา (2539, น. บทคัดยอ) ศึกษาเรื่อง ความมีสมรรถนะทางการเมืองของ

ชนชั้นกลาง ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานธนาคารในกรุงเทพมหานครผลการศึกษาพบวา

1. พนักงานธนาคารในกรุงเทพมหานครมีระดับความมีสมรรถนะทางการเมืองแบบ

ผูมีสวนรวม แบบไพรฟา (Subject Competence) ในระดับปานกลางคอนขางต่ํา และมีระดับ

ความมีสมรรถนะทางการเมืองแบบผูมีสวนรวมในการปกครอง(Citizen Competence) ในระดับ

ปานกลางคอนขางสูง

2. ความสัมพันธระหวางเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการทํางาน

ภูมิลําเนา การติดตามขาวสารทางการเมืองกับความมีสมรรถนะทางการเมืองแบบไพรฟา (Subject

Competence) ของชนชั้นกลาง พบวา เพศมีความสัมพันธกับความมีสมรรถนะทางการเมืองแบบ

ไพรฟา (Subject Competence) ในขณะที่อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการทํางาน ภูมิลําเนา

เดิม การติดตอขาวสารทางการเมืองไมมีความสัมพันธ

3. ความสัมพันธระหวางเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการทํางาน

ภูมิลําเนา การติดตามขาวสารทางการเมืองกับความมีสมรรถนะทางการเมืองในการปกครอง

(Citizen Competence) การติดตอสื่อสารทางการเมืองมีความสัมพันธกับความมีสมรรถนะทาง

การเมือง ในขณะที่เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการทํางาน และภูมิลําเนาเดิมไมมี

ความสัมพันธ

Page 81: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

68

ศิริพร ยอดกมลศาสตร (2538, น. บทคัดยอ) ทําการศึกษาเรื่อง “แนวคิดวาดวยชน

ชั้นกลางในสังคมไทย” โดยมุงสํารวจองคความรูและประมวลความรูที่เกี่ยวของกับเรื่องชนชั้น

กลางที่มีผูศึกษาไวในประเทศไทย โดยใหความสําคัญกับวิวาทะทางดานความหมายในทาง

ทฤษฎีของคําชนชั้นกลาง พัฒนาการและบทบาทของชนชั้นนี้ตอระบบทุนนิยม และความคาดหวัง

ตอชนชั้นนี้ในกระบวนการพัฒนาระบบทุนนิยม

ผลการศึกษา พบวา การกลาวถึงคํา “ชนชั้นกลาง” มีแนวคิดอยูเพียง 2 แนวทาง

ไดแก แนวคิดวิเคราะหแบบมารกซิส และแนวติดวิเคราะหแบบเวเบอรเรียน ซึ่งแมนักคิดใน

สังคมไทยนิยามชนชั้นกลางจากบริบทของสังคมไทย แตหากพิจารณาในรายละเอียดแลวพบวามี

อิทธิพลของสองแนวคิดขางตนอยูไมมากก็นอย จึงไมนาแปลกใจที่พอคา (รายยอย) และคนงาน

ปกขาวตางถูกกําหนดใหเปนชนชั้นกลาง ไมวาจะพิจารณาจากแนวคิดใดก็ตาม สวนพัฒนาการ

ของชนชั้นกลางในสังคมไทย แมสามารถแสดงใหเห็นพลังในการรวมตัวเคลื่อนไหวของคนกลุมนี้

มาหลายครั้งหลายครา แตเนื่องดวยพัฒนาการจิตสํานึกทางชนชั้นของชนชั้นกลางสวนใหญยังไม

เกิด ทําใหภาพลักษณของชนชั้นกลางดูเหมือน “คนโลเล” ที่ไมเอาแนกับระบบการเมืองแบบใด

ไมวาเผด็จการหรือประชาธิปไตย อยางไรก็ตาม เปนที่แนชัดวาชนชั้นกลางไทยในปจจุบันตองการ

พัฒนาระบบเศรษฐกิจเสรี ภายใตอุดมการณทุนนิยม ดังนั้น ภาพการรวมตัวตอสูของชนชั้นกลาง

ที่ปรากฏขึ้นในประวัติศาสตรไทย จึงแสดงใหเห็นถึงความตอเนื่องของการรวมกลุมชนชั้นกลาง

อยางคอยเปนคอยไป เพื่อสรางพลังกดดันใหความสัมพันธดั้งเดิมภายใตพันธนาการศักดินาคอย ๆ

สูญสลายไป

จากงานวิจัยที่ศึกษามาไมพบวามีการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้น

กลางกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวง

พุทธศักราช 2551-2553 ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาในประเด็นดังกลาว เพื่อสรางองคความรูใน

เรื่องพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางตอไป

Page 82: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

69

กรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัย

หลังจากที่ผูวิจัยไดทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของมาขางตน ผูวิจัยไดสรางกรอบ

แนวคิดในการวิจัยเรื่องพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553 ดังนี้

บริบท

- บริบททางการเมือง

- บริบททางเศรษฐกิจ

- บริบททางสังคม

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง

- การติดตามขอมูล

ขาวสารทางการเมือง

- การไปใชสิทธิเลือกตั้ง

- การไปรวมกลุมหรือ

เปนแนวรวมกับองคกร

ทางการเมือง

- การสนับสนุนพรรค

การเมือง

การเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทย

Page 83: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

บทที่ 3

ระเบียบวิธีวิจัย

การศึกษาเรื่องพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553 ผูวิจัยจึงได

ประยุกตใชวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methodology) ไดแก

1. การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประเภทกรณีศึกษาใชสําหรับ

วัตถุประสงควิจัยขอ 1 และ ขอ 2ในการเก็บรวบรวมขอมูล โดยใชเทคนิคการสัมภาษณแบบ

เจาะลึก (In-depth Interview) กับผูใหขอมูลหลัก (Key Informant) และเอกสารที่เกี่ยวของในสวน

ของการวิเคราะหขอมูลนั้น ผูวิจัยใชการวิเคราะหเชิงเนื้อหา (Content Analysis) และการวิเคราะห

เชิงอุปนัย (Inductive Analysis)การที่ผูวิจัยระบุวาเปนกรณีศึกษาเพราะในที่นี้จะกลาวถึง

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่รวมกลุมหรือ

เปนแนวรวมในการเคลื่อนไหวรวมกับกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) และ

กลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.)

2. การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ใชสําหรับวัตถุประสงคขอ 3 ที่เปน

การสํารวจความคิดเห็นเก่ียวกับการเมืองไทยและผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่

มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยสําหรับการเก็บรวบรวมขอมูลโดยใช

แบบสอบถาม (Questionnaires) ในสวนของการวิเคราะหขอมูลนั้นใช ความถี่ (f) รอยละ

(Percentage) คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

วิจัยเชิงคุณภาพ

เครื่องมือในการศึกษาวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ ใชเครื่องมือในการศึกษาเพื่อใหเขาถึงสาระในเรื่องที่วิจัยอยางแทจริง

โดยมีเทคนิคในการเก็บขอมูล ดังนี้

1. ใชการเก็บรวบรวมเอกสาร จากหนังสือ เอกสาร ตํารา แนวคิดและทฤษฎีที่

เกี่ยวของตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวของ ทั้งที่เปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อเปนแนวทาง

ในการศึกษาและหากรอบแนวคิดในการวิจัยตอไป

Page 84: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

71

2. ใชการสัมภาษณแบบเจาะลึก (In-depth Interviews) ในการเก็บขอมูลจาก

การสัมภาษณ ผูวิจัยใชการเก็บขอมูล กับกลุมผูใหขอมูลหลัก

กลุมผูใหขอมูลหลัก (Key Informants)

กลุมผูใหขอมูลหลักมี 4 กลุมโดยการเลือกกลุมผูใหขอมูลหลักใชวิธี เลือกลุมตัวอยาง

แบบเจาะจง (Purposive Sampling) สําหรับกลุมผูใหขอมูลหลัก 4 กลุมมี ดังนี้

กลุมที่ 1 กลุมนักวิชาการที่มีผลงานที่เกี่ยวของกับชนชั้นกลาง- รศ.รสลิน ศิริยะพันธุ

- ดร.ถวิลวดี บุรีกุล

กลุมที่ 2 กลุมนักรัฐศาสตรและการสื่อสารการเมือง- ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน

- ดร.นันทนา นันทวโรภาส

- ศ.ดร.ธีรภัทร เสรีรังสรรค

- รศ.ยุทธพร อิสรชัย

- ดร.วรวลัญช โรจนพล

กลุมที่ 3 กลุมนักการเมือง- นายสุริยะใส กตะศิลา

- นายสุพล ฟองงาม

- นายธีระชัย แสงแกว

กลุมที่ 4 กลุมชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพและปริมณฑล- ขาราชการและรัฐวิสาหกิจ

- เจาของธุรกิจและพนักงานเอกชน

- นักศึกษา

การจัดกระทําขอมูลหลังหรือการจัดระเบียบขอมูล (Data Processing)

ผูวิจัยนําขอมูลที่เก็บไดมาในรูปเอกสารและการสัมภาษณเจาะลึกมาจัดใหเปน

ระเบียบและหาแบบแผน (Pattern) หรือความสัมพันธของขอมูลเหลานั้น

Page 85: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

72

การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยไดนําขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณเจาะลึกและเจาะลึกและ เอกสารประกอบ

ตาง ๆ มาแยกแยะหรือมาจัดระเบียบขอมูลดังที่กลาวมาในขอ 1.3 ทั้งนี้เพื่อใหไดขอมูลที่สอดคลอง

ตามกรอบแนวคิดในการวิจัย จากนั้นผูวิจัยจึงนําขอมูลมาวิเคราะห เพื่อหาความสัมพันธ

ปรากฏการณตางๆ โดยการวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหาใชเทคนิคการวิเคราะห (Content Analysis)

และการวิเคราะหเชิงอุปนัย (Inductive Analysis)

วิจัยเชิงปริมาณ

ประชากรและกลุมตัวอยาง (Population and Samples)

กลุมผูใหขอมูลในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ กลุมชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพและ

ปริมณฑลไดแก กลุมนักธุรกิจ กลุมขาราชการประจํา และขาราชการการเมือง กลุมนักวิชาการ

กลุมวิชาชีพ (แพทย, พยาบาล, วิศวกร เปนตน) โดยใชการสุมตัวอยางแบบโควตา (Quota

Sampling) จํานวน 1,000คน แบงออกไดดังนี้

- กรุงเทพมหานคร จํานวน 200 คน

- จังหวัดปทุมธานี จํานวน 200 คน

- จังหวัดนนทบุรี จํานวน 200 คน

- จังหวัดสมุทรปราการ จํานวน 200 คน

- จังหวัดนครปฐม จํานวน 200 คน

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลเชิงปริมาณในครั้งนี้ มีจํานวน 1 ชุด คือ แบบสอบถาม

สําหรับกลุมตัวอยางชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จํานวน 1,000 ชุด โดยมี

คําถามตามตอนดังตอไปนี้

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานสวนบุคคลและบริบทแวดลอมตอพฤติกรรมทางการเมืองของ

ชนชั้นกลาง แบบสอบถามเปนแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ประกอบดวย เพศ อายุ ระดับ

การศึกษา อาชีพ และรายได

Page 86: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

73

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของชนชั้นกลางที่มีตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของ

ไทย

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่มีตอ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยในขั้นนี้ เปนแบบสอบถาม (Questionnaire) มีขั้นตอน

การสรางดังนี้

1. วัตถุประสงคขอ 3 นํามาสรางแบบสอบถาม โดยคําถามแตละขอประกอบดวย

ขอคําถามและตัวเลือกคําตอบจํานวน 5 ตัวเลือกที่มีน้ําหนักคะแนน 5 ระดับ โดยใชมาตร

ประมาณคา (Rating Scale) ซึ่งเปนมาตรการวัดของ Rensis Likert

ระดับคะแนน 5 หมายถึง ระดับการมีสวนรวมทางการเมืองระดับมากที่สุด

ระดับคะแนน 4 หมายถึง ระดับการมีสวนรวมทางการเมืองระดับมาก

ระดับคะแนน 3 หมายถึง ระดับการมีสวนรวมทางการเมืองระดับปานกลาง

ระดับคะแนน 2 หมายถึง ระดับการมีสวนรวมทางการเมืองระดับนอย

ระดับคะแนน 1 หมายถึง ระดับการมีสวนรวมทางการเมืองระดับนอยที่สุด

2. นํารางแบบสอบถามและคูมือการใชแบบสอบถามมาเสนออาจารยที่ปรึกษา

ตรวจสอบความครอบคลุมตามวัตถุประสงคของการวิจัย

3. จัดทําแบบสอบถามและคูมือการใชแบบสอบถาม

4. นําแบบสอบถามไปใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คนและผูเชี่ยวชาญใหคําแนะนํา

เกี่ยวกับความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางและภาษาที่ใช

5. จัดทําแบบสอบถามฉบับสมบูรณเพื่อนําไปใชเก็บขอมูลตอไป

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

1. ขอมูลปฐมภูมิ เก็บโดยใชแบบสอบถาม

2. ขอมูลทุติยภูมิเก็บจากเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัย

Page 87: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

74

การวิเคราะหขอมูล

การวิ เคราะหขอมูล เพื่อหาคาทางสถิติ โดยใช โปรแกรมสํา เร็จรูป โดยใน

แบบสอบถามตอนที่ 1 เปนขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จะประมวลผลโดยใชความถี่

และคารอยละ แบบสอบถามตอนที่ 2 เปนการสํารวจความคิดเห็นของชนชั้นกลางที่มีตอการเมือง

ในระบอบประชาธิปไตยของไทยและผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่มีตอ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยทางการเมือง ประมวลผลโดยคาเฉลี่ย ( ) และ

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

1. การสรางเกณฑและการใหคะแนน (พรศักดิ์ ผองแผว และ พลศักดิ์ จิรไกรศิริ,

2524)

เนื่องจากแบบสอบถามเปนแบบ Rating Scale ดังนี้ หลังจากผูวิจัยเก็บรวบรวม

ขอมูลจากกลุมตัวอยางเปนที่เรียบรอยแลว ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดมาสรางเกณฑและนํามาใหคะแนน

ตามน้ําหนักคะแนน ดังนี้

คาเฉลี่ยอยูระหวาง 1.00-1.49 แสดงวา มีนอยที่สุด

คาเฉลี่ยอยูระหวาง 1.50-2.49 แสดงวา มีนอย

คาเฉลี่ยอยูระหวาง 2.50-3.49 แสดงวา มีปานกลาง

คาเฉลี่ยอยูระหวาง 3.50-4.49 แสดงวา มีมาก

และคาเฉลี่ยอยูระหวาง 4.50-5.00 แสดงวา มีมากที่สุด

Page 88: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

บทที่ 4

บริบททางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางไทยในเขตกรุงเทพมหานคร

และปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551 -2553

การศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551 – 2553” ใน

บทนี้จะเปนการนําเสนอผลการวิเคราะหเกี่ยวกับบริบททาง การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ในชวง

พุทธศักราช 2551-2553 ที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางไทยโดยการนําเสนอ

ผลการวิเคราะหในบทนี้ ผูวิจัยจะขอนําเสนอตามวัตถุประสงคขอที่ 1 ที่ศึกษาบริบททางการเมือง

เศรษฐกิจและสังคมที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในชวงพุทธศักราช 2551-

2553 โดยในการวิเคราะหบทนี้จะเปนการวิเคราะหตามวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเครื่องมือที่ใช

ทั้งเอกสารที่เกี่ยวของและการสัมภาษณเจาะลึกกับผูทรงคุณวุฒิ หรือกับผูใหขอมูลหลักโดย

ในการวิเคราะหถึงบริบททางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของ

ชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551 – 2553 ผูวิจัยจะนํากรณี

ที่มีการเคลื่อนไหวชุมนุมทางการเมืองรวมกับกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.)

เปนกรณีศึกษาที่จะนํามาใชในการวิเคราะหซึ่งเปนการวิเคราะหจากเอกสารท่ีเกี่ยวของเปนหลัก

ตอจากนั้นผูวิจัยจะวิเคราะหถึงบริบททางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ ที่กลาวมา

มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางหรือไมอยางไร ซึ่ งจะเปนการวิ เคราะหจากการ

สัมภาษณเจาะลึกกับผูทรงคุณวุฒิเปนหลัก จากวัตถุประสงคดังกลาวผูวิจัยไดแบงการนําเสนอ

บริบทออกเปน 3 ประเด็นดังนี้

1. บริบททางการเมืองไดสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางชวง

พุทธศักราช 2551 –2553อยางไร

2. บริบททางสังคมไดสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในชวง

พุทธศักราช 2551 -2553 อยางไร

3. บริบททางเศรษฐกิจไดสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551 -2553 อยางไร

Page 89: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

76

บริบททางการเมืองที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ชวงพุทธศักราช 2551-2553

บริบททางการเมืองที่นํามากลาวถึงในการวิเคราะหในสวนนี้จะวิเคาะหภายใต

รัฐธรรมนูญฉบับพุทธศักราช 2550 และแนวคิดการเมืองแนวใหมหรือประชาธิปไตยทางเลือกที่ให

ความสําคัญกับประชาชนที่เปน “ผูเลน” ไมใช “ผูดู” รวมทั้งการที่ผูวิจัยไดนําปรากฏการณหรือ

ความเคลื่อนไหวทางการเมืองในชวงป 2551-2553 ที่ปรากฎในรูปของความขัดแยงทางอุดมการณ

ทางการเมือง การชุมนุมประทวงของกลุมการเมืองตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในแตละรัฐบาลและชนชั้นกลาง

ไดเขามามีพฤติกรรมทางการเมืองหรือเขามามีสวนรวมทางการเมืองไมวาจะเปนในลักษณะของ

การติดตามขาสารขอมูลทางการเมืองหรือการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับกลุมพันธมิตร

ประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.)

กอนการขึ้นมาบริหารประเทศของรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช รัฐบาลที่บริหาร

ประเทศในชวงนั้นคือรัฐบาลที่มาจากพรรคไทยรักไทย นําโดย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่ง มีนโยบาย

พรรคที่ตอบสนองความตองการของคนในชนบทระดับรากหญา และตอบสนองความตองการของ

ชนชั้นกลางระดับลางสุดที่อาศัยอยูในชนบทที่เปนชนชั้นกลางระดับลางสุด (นิธิ เอี่ยวศรีวงศ และ

คณะ, 2552) ซึ่งมีจํานวนมากกวาชนชั้นอื่น ๆ ทั้งหมดรวมกัน ดังนั้น ทุกครั้งที่มีการเลือกตั้ง พรรค

ไทยรักไทย จึงมีโอกาสชนะการเลือกต้ังเสมอ และทําใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) ของพรรค

การเมืองจํานวนมากที่สุดเขามาเปนแกนกลางในการจัดต้ังรัฐบาล

สวนชนชั้นกลางสวนใหญซึ่งมีความสามารถในการบริโภคเกินวันละ 136 บาทขึ้นไป

จะอยูในเขต เมือง แมวาในเมืองก็มีชนชั้นกลางในระดับลาง (บริโภคไดไมเกินวันละ 68-136 บาท)

และยังมีคนจน (รายไดไมเกิน 34 บาทตอวัน) อยูไมนอยเชนกัน แตชนชั้นกลางระดับลางและ

คนจนในเขตเมืองขาดการจัดตั้งที่จะสามารถแสดงออกทางการเมืองไดจึงทําใหเสียงทางการเมือง

ของเขาไมคอยมีความหมายมากนัก ยกเวนมีกรณีหรือเหตุการณพิเศษบางครั้งเทานั้น

สวนชนชั้นกลางในเมืองที่เปนพันธมิตรของนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

ในเขตเมืองมีอยูกลุมเดียวคือชนชั้นกลางระดับบนสุด อาทิเชน นักธุรกิจอุตสาหกรรม นักลงทุน

แตความเปนพันธมิตรนี้ก็ตั้งอยูไดไมนาน ในที่สุดกลุมใหญกลุมหนึ่งก็แตกออกมากลายเปน

ปรปกษของนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ทั้งสนับสนุนในที่ลับและที่แจง

การที่นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทยรักไทยเขามาตอบสนอง

ความคาดหวังและความใฝฝน ของชนชั้นกลางในระดับลางในหัวเมืองชนบท (เพื่อประโยชนของ

Page 90: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

77

คนเหลานั้น หรือเพื่อประโยชนทางการเมือง ของนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรค

การเมืองก็ตาม) ทําใหพรรคไทยรักไทยไดรับการเลือกตั้งอยางทวมทนตั้งแตแรก แมยังไมอาจ

จัดตั้งรัฐบาลพรรคการเมืองเดียวได แตก็ทําลายอํานาจตอรองทางการเมืองของพรรคการเมืองอื่น

จนหมดสิ้น ที่สําคัญกวานั้นคือทําลายอํานาจการตั้งและลมรัฐบาลของชนชั้นกลางในเขตเมืองลง

โดยสิ้นเชิง

การเมืองไทยในชวงนี้ปรากฏวามีความตื่นตัวทางการเมืองของชนชั้นกลางระดับลาง

ในหัวเมืองชนบท และชนชั้นกลางระดับกลางขึ้นไปในเขตเมือง ทั้งสองผายมีจํานวนเพิ่มขึ้น

อยางมโหฬาร และทั้งสองฝาย ในระยะหลังตางมีสํานึกถึงความจําเปนในวิถีชีวิตที่จะตองเขามา

มีสวนรวมในการกําหนดนโยบายสาธารณะมาถึงตรงนี้จะเห็น ไดวาระบบการเมืองในชวงนี้

อยูในชวงการปรับตัวเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้นดังนี้

1. การปรับตัวของระบบการเมืองเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ นั้นไมไดเปนผล

มาจาก ความคิดของนักปราชญเทากับการคลี่คลายของสถานการณไปตามครรลองของมัน

แตกวาจะลงตัวซึ่งก็ คือมีการยอมรับจากหลาย ๆ กลุมในสังคมไดนั้นบางครั้งก็ตองผานการนองเลือด

การยึดอํานาจ การ ชะงักงันเปนเวลานาน ๆ ความวุนวายทางการเมือง การตกลงประนีประนอม

(ซึ่งไมมีใครไดอะไรเต็มรอย ทําใจไวดวยวา win-win situation ไมอาจเกิดขึ้นไดงาย ๆ ใน

สถานการณเชนนี้) เราไดแตพยายาม ชวยกันไมใหเกิดเหตุการณเลวรายในกระบวนการปรับตัว

เทานั้น

2. การปรับตัวของระบบการเมืองตองใชเวลานานกวาจะลงตัว และเกิดการอํานวย

เสถียรภาพทางการเมืองได หากยอนกลับไปดูประวัติศาสตรจะเห็นวา นับตั้งแตปลายรัชกาลที่ 5

ความไมพอใจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยก็เริ่มคุกรุนขึ้นแลว แตกวาจะเกิดการปฏิวัติ 2475

ก็ตองใช เวลากวาสองทศวรรษ แมเมื่อเกิดการปฏิวัติแลว การเมืองก็ยังไมนิ่งจนสืบมาอีกหลายป

ทีเดียว

อยางไรก็ตาม นิธิ เอี่ยวศรีวงศ มีขอสังเกตเกี่ยวกับชนชั้นกลางในเขตเมืองดังนี้

“เราจําเปนตองเขาใจความวาวุนใจของชนชั้นกลางในเขตเมืองปจจุบันใหดี มิฉะนั้น

แลวจะไมมีความเห็นใจเหลือสําหรับขอเรียกรองและการสรางสายสัมพันธทาง

การเมืองของเขาในชวงนี้ ระบอบรัฐธรรมนูญ (ที่เริ่มดวยรัฐธรรมนูญ 2540) ซึ่งพวกเขามีสวนผลักดันอยางแข็งขัน กลับดึงเอาอํานาจทางการเมืองที่พวกเขาเคยมีไป

จากเขา เบื้องหนาของพวกเขา คือความไมแนนอนในนโยบายสาธารณะตาง ๆ

เพราะรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งไมไดอยูในความควบคุมของเขาอีกแลว แมแต

การโกงกินกัน อยางโจงแจง (คนชั้นกลางในเขตเมืองไมไดรังเกียจคอรรัปชั่น แต

Page 91: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

78

รังเกียจ ความโจงแจงเพราะเทากับทาทายอํานาจของพวกเขาโดยตรง) เสียงกนดา

ของเขาก็ไมกระทบตอความมั่นคงของรัฐบาลอีกตอไป ตราบเทาที่รัฐบาลนั้นยัง

รักษาเสียงของชนบทไวได พวกเขากลายเปนพันธมิตรกับทุกฝายที่มีผลประโยชนเหนียวแนนอยูในระบบการเมืองแบบเดิม กับทหารซึ่งพวกเขาเคยลุกขึ้นมาสูเพื่อลด

อํานาจของกองทัพในการเมืองลง มาแลว กับฝายจารีตนิยมซึ่งเขาเคยแอบซุบซิบ

เสียดสีมากอน กับฝายตุลาการกับนายทุนนักธุรกิจบางกลุม หรือแมแตกับระบบ

ราชการ ซึ่งพวกเขาเคยเห็นวาไรสมรรถภาพและไดแตเปนเครื่องมือของนักการเมือง

ในดานอุดมการณเขาไมตองการ(หรือบางคนอางวา “ยัง” ไมตองการ) ให ประชาธิปไตยไทยขยายตัวมากไปกวานี้พวกเขาไมไวใจกระบวนการของ

ประชาธิปไตย หวาดระแวงวากระบวนการนั้นยอมทําลายสถานะของตน อยาง

หลีกเลี่ยงไมได “ปฏิรูปการเมือง” กลายเปนคําขวัญและคําปลุกใจ ของพวกเขา”

(นิธิ เอี่ยวศรีวงศ และคณะ, 2552)

จากที่กลาวมาขางตนถึงพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางระดับลางในหัวเมือง

ชนบทและชนชั้น กลางในเมืองเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลระดับบนสุดที่เคยเปนพันธมิตร

และตอมาก็ไดเปนปรปกษตอรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นั้น แสดงใหเห็นวาบริบททาง

การเมืองในระบอบธนาธิปไตย สมัย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในชวง พุทธศักราช 2544-2549 นั้นได

สงผลทําใหชนชั้นกลางทั้ง 2 ระดับไดเขามามีพฤติกรรมทางการเมืองในรูปแบบตาง ๆ กัน

การที่ชนชั้นกลางในเมืองโดยเฉพาะในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลไดเขามา

มีสวนรวมหรือมีพฤติกรรมทางการเมืองโดยเฉพาะชวงพุทธศักราช 2549ในฐานะเปนแนวรวมกับ

กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ในรูปแบบตาง ๆ อาทิ การติดตามขาวสาร

ทางการเมืองการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมือง เชนกลุมพันธมิตรตลอดจน

การสนับสนุนพรรคการเมืองอยางเชน ประชาธิปตย ในชวงแรก ๆ ชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานคร

และปริมณฑล สวนใหญทราบและรับรูมาจากผูสงสารคือกลุมพันธมิตรและสื่อมวลชนเปนตน

ที่ทําการสงสารผานชองทางตาง ๆ เชน จากหนังสือพิมพผูจัดการรายวันจากรายการเมืองไทยราย

สัปดาหจากเวทีอภิปรายเชน สะพานมัฆวานและสื่อสมัยใหมอื่น ๆ เชน เฟสบุค ทวิสเตอร

ในลักษณะตาง ๆ เหตุผลเพราะรัฐบาลพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร มีปญหาในการบริหารประเทศ

ในเรื่องของการคอรรัปชั่นเชิงนโยบายรวมไปถึงการขัดกันของผลประโยชน (Conflict of Interest)

ทําใหประชาชนและชนชั้นกลางไมพอใจในการคอรรัปชั่นดังกลาวของรัฐบาลพ.ต.ท. ทักษิณ

ชินวัตรดังกลาวขางตนผลจึงทําใหชนชั้นกลางในเขตเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเขามา

มีสวนรวมกับกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.)ที่กอตั้งขึ้นอันเนื่องมาจากความไม

Page 92: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

79

ไววางใจตลอดจนความไมพอใจในการบริหารประเทศของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในชวง

พุทธศักราช 2544-2549 และในระหวางการชุมนุมตอตานขับไล รัฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ก็ได

เกิดการทํารัฐประหารของคณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย

ทรงเปนประมุข (คปค) ภายหลังการทํารัฐประหารก็ไดมีการจัดทํารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย 2550 ที่ไดกลาวเกี่ยวกับเรื่องนี้มาแลว

ทั้งหมดที่กลาวมาขางตนคือบริบททางการเมืองสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

ที่ไดสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในหัวเมืองชนบทและชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

ในลําดับตอไปผูวิจัยจะวิเคราะหถึงบริบทและเหตุการณทางการเมืองที่สงผลตอ

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางทั้งที่อยูในหัวเมืองชนบท และชนชั้นกลางในเมืองในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553 ซึ่งลําดับเหตุการณไดดังนี้

ชวงที่ 1 การทํารัฐประหารโดยคณะ คมช.

จากเหตุการณ รัฐประหาร พุทธศักราช 2549 และสถานการณการเมืองสมัยรัฐบาล

ทหาร โดยมีผูบัญชาการเหลาทัพรวมกัน แถลงการณผานทางโทรทัศนรวมการเฉพาะกิจแหง

ประเทศไทยในคืนวันที่ 19 กันยายน พุทธศักราช 2549 โดยใชชื่อเรียกคณะรัฐประหารวา

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข นําโดย

พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ไดทํารัฐประหารยึดอํานาจการปกครองแผนดินจากรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ

ชินวัตร ซึ่งภายหลังการทํารัฐประหารเปนผลทําให พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ตองลี้ภัยทางการเมือง

ไปยังตางประเทศ

ภายหลังจากการทํารัฐประประหารคณะรัฐประหารเริ่มทําการสอบสวนขาราชการซึ่ง

ถูกแตงตั้ง ในสมัยรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรและในขณะเดียวกันการแตงตั้งนายทหาร

ประจําป พุทธศักราช 2550 นายทหารซึ่งเปนที่ไววางใจของคณะรัฐประหารก็ถูกแตงตั้งแทนที่

นายทหารซึ่งภักดีตอรัฐบาลชุด พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรพรอมกันนั้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน

พุทธศักราช 2549 คณะรัฐประหารไดประกาศวาศาล รัฐธรรมนูญและองคกรอิสระอื่นซึ่งถูกกอตั้ง

ขึ้นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จะตองถูกยกเลิกทั้งหมด รวมทั้งมี

การแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นตรวจสอบรัฐบาลของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรที่เรียกวา คณะกรรมการ

ตรวจสอบการกระทําที่กอใหเกิดความเสียหายแกรัฐ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ถูกรางขึ้นมาใหม โดย

Page 93: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

80

คณะกรรมการที่มาจากการแตงตั้งของคณะรัฐประหาร และเมื่อรางรัฐธรรมนูญฉบับนี้เสร็จสิ้น ได

กําหนดการลงประชามติใหมีขึ้นในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2550 ซึ่งฝายผูสนับสนุนรางรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 วาไดแกไขจุดออนของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย พุทธศักราช 2540 เกือบทุกมาตรา และผูสนับสนุนหลักที่เห็นไดชัด ก็คงหนีไมพนกลุมของ

สภารางรัฐธรรมนูญ และคมช. ที่ตางรณรงคใหประชาชนออกไปรับราง และจะไดมีการเลือกตั้ง

เกิดขึ้น ซึ่งจากผลคะแนนการลงประชามติอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 19 ส.ค. 2550 มีผูมาใชสิทธิ

ออกเสียงทั้งหมด 45,092,955 คน ผูที่มาใชสิทธิออกเสียงมีจํานวน 25,978,954 คน มีคะแนน

เห็นชอบ 14 ลานเสียง หรือรอยละ 57.81 และไมเห็นชอบ 10 ลานเสียง หรือรอยละ 42.19

(ผูจัดการรายวัน, 21 สิงหาคม 2550)

ชวงที่ 2 การเขามาของพรรคพลังประชาชน

เมื่อมีการประกาศหลังจากประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช 2550 จึงไดมีการจัดการเลือกตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พุทธศักราช 2550 ซึ่งผล

การเลือกตั้งปรากฏวาผูสมัครการเลือกตั้งพรรคพลังประชาชนไดรับเลือกมากที่สุด จํานวน 233 ที่

นั่ง รองลงมา คือ พรรคประชาธิปตยไดรับเลือกตั้งจํานวน 165 ที่นั่ง สงผลใหนายสมัคร สุนทรเวช

หัวหนาพรรคพลังประชาชน ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 มกราคม พุทธศักราช 2551

และจัดตั้งคณะรัฐมนตรีชุดแรกเม่ือวันที่ 6 กุมภาพันธ พุทธศักราช 2551

กระทั่ง วันที่ 25 พฤษภาคม พุทธศักราช 2551 กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ

ประชาธิปไตย (พธม.) ออกมาชุมชน โดยใช“ยุทธศาสตรดาวกระจาย” หรือ “แผนสูรบ ดาวกระจาย”

มีกลุมมวลชน ประมาณ 100-200 คนเดินทางไปยังสถานที่สําคัญหลายแหง เชน สํานักงาน

ตํารวจแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง เพื่อทวงถามการตรวจสอบทุจริตในรัฐบาล

สมัยพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รวมทั้งเรงรัดคดีการทุจริตการเลือกตั้งของนายยงยุทธ ติยะไพรัช และ

คดีความ อื่น ๆ ที่ เกี่ยวของกับสมาชิกกลุมการเมืองของอดีตนายก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

นอกจากนั้นกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ยังมีการวิพากษวิจารณรัฐบาลสมัย

นายสมัคร สุนทรเวช เชน การยินยอมใหฝายกัมพูชายกปราสาทเขาพระวิหารขึ้นทะเบียนเปน

มรดกโลกแตเพียงฝายเดียว และความพยายามแกไขรัฐธรรมนูญเพื่อนิรโทษกรรมใหแก

พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

วันที่ 26 สิงหาคม พุทธศักราช2551 กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

(พธม.) เคลื่อนไหวเขายึดทําเนียบรัฐบาล ใชชื่อเรียกวา “ปฏิบัติการไทยคูฟา” โดยแกนนํากลุม

Page 94: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

81

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ไดใชยุทธศาสตรดาวกระจาย โดยนํามวลชน

กระจายไปตามสถานที่ตาง ๆ ไดแก สถานีโทรทัศนเอ็นบีที กระทรวงการคลัง กระทรวงคมนาคม

และกลุมมวลชนอีกสวนหนึ่งรวมกันอยูบริเวณสะพาน มัฆวานรังสรรค และบริเวณรอบทําเนียบ

รัฐบาล ซึ่งกลุมผูชุมนุมบางสวนไดเริ่มเขาปดลอมบริเวณรอบ ทําเนียบรัฐบาล ทั้งดานถนน

พิษณุโลกและฝงกระทรวงศึกษาธิการ ดานสะพานอรทัย บริเวณสะพานชมัยมรุเชฐและดาน

สะพานเทวกรรมรังรักษ ตั้งแตเชามืด และปดลอมประตูเขา-ออกทําเนียบรัฐบาลทั้ง 8 ประตู

ในชวงบายกลุมผูชุมนุมไดพังประตูเหล็กดานตรงขามกระทรวงศึกษาธิการและทยอยเดินเทาจาก

สะพานมัฆวานรังสรรคเขาไปรวมตัวกันบริเวณสนามหญาดานหนาตึกไทยคูฟา ซึ่งผูชุมนุม

บางสวนไดปนเขาสูทําเนียบรัฐบาลทางสะพานชมัยมรุเชษดวย หลังจากนั้น กลุมพันธมิตร

ประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ที่มีชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมา

รวมกลุมเปนแนวรวมที่เคลื่อนขบวน โดยใชยุทธศาสตรดาวกระจายเริ่มทยอยเขาสูทําเนียบและ

ประกาศชัยชนะที่สามารถเขายึดทําเนียบรัฐบาลไดสําเร็จ ขณะเดียวกันกลุมที่สนับสนุนรัฐบาล

นายสมัคร สุนทรเวช และสนับสนุน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรหรือที่ เรียกกันวากลุมแนวรวม

ประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ หรือ “กลุม นปช.” ไดมีการชุมนุมบริเวณทองสนามหลวง

ซึ่งเปนผลใหทั้งกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) และกลุมแนวรวมประชาธิปไตย

ตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) เกิดเหตุปะทะกัน ระหวางทั้งสองฝาย จนมีผูเสียชีวิต 1 คน ใน

ที่สุดทําใหนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีประกาศสถานการณฉุกเฉิน

วันที่ 9 กันยายน พุทธศักราช 2551 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันทวินิจฉัยใหนาย

สมัคร สุนทรเวช พนจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในคดีจัดรายการ ชิมไปบนไป และ ยกโขยง 6 โมงเชา

ซึ่งถือวาเปน คุณสมบัติตองหาม ทําใหสภาผูแทนราษฎรมีการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม

ไดแก นายสมชาย วงษสวัสดิ์ ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี

วันที่ 24-25 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2551 กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

(พธม.) ที่มีชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมารวมกลุมเปนแนวรวม ไดเขาปดลอม

ทาอากาศยานสุวรรณภูมิและทาอากาศยานดอนเมือง เพื่อตอรองกับนายกรัฐมนตรี นายสมชาย

วงศสวัสดิ์ใหลาออกจากตําแหนง ซึ่งสงผลใหเที่ยวบินทุกเที่ยวหยุดทําการ โดยนายเสรีรัตน

ประสุตานนท กลาววาเหตุการณในครั้งนี้ทําใหทาอากาศยานสุวรรณภูมิสูญเสียรายไดไปกวา 350

ลานบาท นอกจากนี้ผูประกอบการขนสงสินคาทางอากาศยังสูญเสียรายไดกวา 25,000 ลานบาท

โดยยังไมรวมความเสียหายของสายการบินตาง ๆ อีกจํานวนหนึ่ง ตอมาสหภาพยุโรป (อียู) ได

ออกแถลงการณเรียกรองใหกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ออกไปจากทา

อากาศยานสุวรรณภูมิและดอนเมืองอยางสงบ และกลาววาการชุมนุม ประทวงกําลังทําให

Page 95: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

82

ภาพลักษณของประเทศไทยเสียหายอยางมากแถลงการณจากเอกอัครราชทูตอียู ประจําประเทศ

ไทยยังไดเรียกรองใหทุกฝายรวมแกไข วิกฤตการณทางการเมืองในไทยอยางสันติ เคารพใน

กฎหมาย และสถาบันประชาธิปไตยของประเทศ และอียู เคารพสิทธิในการประทวงและ

ปราศจากการแทรกแซงปญหาการเมืองภายในของไทย แตเห็นวาการกระทําของกลุมผูประทวงใน

ครั้งนี้ เปนการกระทําที่ไมเหมาะสมอีกทั้งยังเปนการทําลายภาพลักษณของประเทศไทยในสายตา

ของนานาประเทศ

วันที่ 1 ธันวาคม พุทธศักราช 2551 พล.ต.จําลอง ศรีเมือง ไดประกาศใหผูชุมนุมที่

อยูบริเวณทําเนียบรัฐบาลยายการชุมนุมไปที่ทาอากาศยานทั้งสองแทน เนื่องจากการตอสูที่ทา

อากาศยานทั้งสองแหงไดผลมากกวาการปกหลักที่ ทําเนียบรัฐบาลและมีความปลอดภัยตอชีวิต

และทรัพยสินของประชาชนมากกวา รวมทั้งเพื่อเปดเสนทาง เสด็จพระราชดําเนิน เนื่องในงาน

เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในวันที่ 5 ธันวาคม กลุมพันธมิตรประชาชน

เพื่อประชาธิปไตย ใชพื้นที่ชุมนุมบริเวณทาอากาศยานดอนเมืองและทาอากาศยานสุวรรณภูมิ

จนกระทั่งประกาศยุติการชุมนุม

วันที่ 3 ธันวาคม พุทธศักราช2551 กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

(พธม.) ไดประกาศยุติการชุมนุมทั้งที่ทําเนียบรัฐบาล ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และทาอากาศ

ยานดอนเมือง หลังจากมีคําวินิจฉัยคดียุบพรรคพลังประชาชนและพรรครวมรัฐบาลอีก 2 พรรค

อันเนื่องมาจากกรณีทุจริตการเลือกตั้งของนายยงยุทธ ติยะไพรัช ซึ่งกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ

ประชาธิปไตย (พธม.) ไดออกแถลงการณฉบับที่ 27/2551 ประกาศยุติการชุมนุมซึ่งใชเวลา

ตอเนื่องยาวนานที่สุดในประวัติศาสตรการ เมืองไทย โดยระยะเวลา 193 วัน อันเนื่องจาก

การชุมนุมไดบรรลุวัตถุประสงคที่ไดตั้งไว คือ

1. สามารถพิทักษรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดเปน

ผลสําเร็จ จนทําใหเกิดการยุบพรรคการเมืองฝายรัฐบาลที่ทุจริตการเลือกตั้งถึง 3 พรรคการเมือง

2. รัฐบาลนายสมชาย วงศสวัสดิ์ซึ่งกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

(พธม.) ถือเปนรัฐบาลหุนเชิดของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรพันจากอํานาจโดยปริยายจากคดียุบพรรค

โดยกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) กลาวถึงผลจากคําวินิจฉัยของ

ศาลรัฐธรรมนูญในครั้งนี้วา แสดงใหเห็นวา การไดอํานาจในการบริหารราชการแผนดินที่ผานมา

นั้นไมใชวิถีทางของประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ แตเปนการไดมาซึ่งอํานาจดวยการทุจริต

การเลือกตั้ง และเปนบทพิสูจนที่แสดงใหเห็นวาการชุมนุมของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ

ประชาธิปไตย นั้นเปนความถูกตองชอบธรรมเปนที่ประจักษ ดังนั้น จึงขอประกาศยุติการชุมนุมทั้ง

ที่ ทําเนียบรัฐบาล สนามบินสุวรรณภูมิ และสนามบินดอนเมือง ในวันที่ 3 ธันวาคม 2551

Page 96: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

83

ชวงที่ 3 การเขามารับตําแหนงของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

การเขามารับตําแหนงนายกรัฐมนตรีของ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ทําใหกลุมแนวรวม

ประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) ที่มีชนชั้นกลางระดับลางในชนบทเขารวมดวย

และกลุมผูสนับสนุน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เกิดความไมพอใจเปนอยางมากมีพฤติกรรมของ

การผลประทวงโหขับไลนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เมื่อไปปฏิบัติหนาที่ในพื้นที่ตางๆ เหตุการณที่มี

ความรุนแรงและเปนขาวใหญไปทั่วโลกคือ การประทวงและเหตุการณจลาจล เมษายน พุทธศักราช

2552 ที่กลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) บุกเขาสถานที่จัดการประชุม

สุดยอด ผูนําอาเซียนออกเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 กลุมผูสนับสนุน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

เริ่มการชุมนุมครั้งใหญ โดยมีผูเขารวมกวา 100,000 คน และ รวมตัวกันบริเวณทําเนียบรัฐบาล

การชุมนุมดังกลาวไดขยายตัวไปยังพัทยา ซึ่งเปนสถานที่จัดการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่

4 ในขณะที่เดินทางไปยังสถานที่ประชุมนั้น กลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ

(นปช.)ไดมีการปะทะกับกลุมคนเสื้อน้ําเงิน แตในที่สุดกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการ

แหงชาติ (นปช.)ก็สามารถบุกเขาสถานที่ประชุม และทําใหการประชุมถูกยกเลิกตอมาเมื่อ

สถานการณมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จึงประกาศสถานการณฉุกเฉินใน

จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ค. 2552 และก็ไดประกาศยกเลิกในวันเดียวกันในขณะที่มี

คนออกความเห็นวา การเคลื่อนไหวของคนเสื้อแดง โดยเฉพาะการบุกเพื่อลมการประชุมอาเซียน

นั้น ทําใหรัฐบาลเสียความนาเชื่อถือในสายตาประชาคมโลก อีกทั้งยังสรางความเสียหายทาง

เศรษฐกิจเปนอยางมาก (วิสิษฐ เดชกุญชร, มติชนรายวัน, “ถึงเวลาที่คนไทยตองสู”, วันที่

18 พฤษภาคม 2553)

การประทวงเริ่มลุกลามในเขตกรุงเทพมหานคร จนเกิดเหตุปะทะกันระหวางกลุมผู

ชุมนุมทั้งฝาย ตอตานและฝายสนับสนุนรัฐบาล และประชาชนผูอยูอาศัยทั่วไป จนนายอภิสิทธิ์

เวชชาชีวะ ตองประกาศสถานการณฉุกเฉินในกรุงเทพมหานครและพื้นที่โดยรอบอีกแหงหนึ่ง และ

มีการกลาววา “ถาใคร มีความยินดีทามกลางความเสียหายของประเทศ จะถือวาเปนศัตรูของ

ชาต”ิ

ตอมาในวันที่ 13 เมษายน 2552 ทหารในเครื่องแบบเต็มชุดไดสลายการชุมนุมที่แยก

ดินแดง ใกลกับอนุสาวรียชัยสมรภูมิมีผู ไดรับบาดเจ็บราว 70 คน สวนทางกลุมแนวรวม

ประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) ไดมีการกลาวอางวามี ผูเสียชีวิต 1 คน จากกระสุนปน

ของทหาร สวนฝายกองทัพไดออกมาปฏิเสธ ในวันเดียวกันยังไดมีการปดสถานีดีสเตชัน และวิทยุ

ชุมชนบางแหง เนื่องจากตองสงสัยวาสนับสนุนกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการ

Page 97: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

84

แหงชาติ (นปช.) เหตุปะทะกันยังคง มีขึ้นในหลายจุดของกรุงเทพมหานครและไดมีหมายจับ

พ.ต.ท. ทักษิณชินวัตร และแกนนํา นปช. อีก 13 คนในชวงดึก ไดมีกลุมคน ซึ่งสวนใหญเปนชาว

ชุมชนนางเลิ้ง ปะทะกับกลุมคนเสื้อแดงจนชาวชุมชน นางเลิ้งเสียชีวิต 2 คนจากกระสุนปน

(โกวิทย พวงงาม, “ถารักชาติจงหยุดเผาเมือง เผาเมือง,” คอลัมนประชาคมทองถิ่น, วันที่

10 พฤษภาคม 2553)

อยางไรก็ตาม สถานการณเริ่มมีความตึงเครียดมากยิ่งขึ้น เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ

พุทธศักราช 2553 ศาลฎีกาแผนกผูดํารงตําแหนงทางการเมืองมีคําพิพากษายึดทรัพยมูลคา

46,000 ลานบาทของอดีต นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรและในวันตอมาเย็นวันที่

27 กุมภาพันธ 2553 ระเบิดเอ็ม 67 ถูกโยนมาจากมอเตอรไซคดานนอกธนาคารกรุงเทพสามสาขา

ตนเดือนมีนาคม พุทธศักราช 2553 กลุมผูประทวง นปช. ไดมาบรรจบกันที่กรุงเทพเพื่อแสดง

ความตองการใหนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประกาศ เลือกตั้งใหม การเคลื่อนไหวดังกลาว

นําโดยกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) ประกอบดวยกลุมผูสนับสนุน

ประชาธิปไตย กลุม ผูสนับสนุนอดีตนายกรัฐมนตรีพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรตอมา ไดมีการประทวง

โดยการรับบริจาคเลือดของผูชุมนุมไปเทดานนอกของบานพักนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

ในเวลาตอมาขอเสนอของกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ

(นปช.)ไดรับการปฏิเสธจากรัฐบาล ทําใหกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ

(นปช.)ไดเพิ่มความกดดัน มากยิ่งขึ้นโดยในวันที่ 10 เมษายน 2553 ผูชุมนุมไดเขายึดสถานี

เผยแพรโทรทัศน ทําให นายกรัฐมนตรีกลาวใหสัญญาวาจะฟนฟูประเทศใหกลับคืนสูภาวะปกติ

วันที่ 11 เมษายน 2553 การปะทะกันระหวางกลุมผูชุมนุมและทหารทําใหมีผูเสียชีวิต 18-19 คน

(ในจํานวนนี้มีทหาร 1 นาย) และอีกมากกวา 800 คน ไดรับบาดเจ็บ (โกวิทย พวงงาม, “บทเรียน

วิกฤตเผาบาน เผาเมือง,” คอลัมนประชาคมทองถิ่น, วันที่ 25 พฤษภาคม 2553)

ความตึงเครียดยังดําเนินตอไป เมื่อมีการชุมนุมสนับสนุนรัฐบาลปรากฏขึ้นพรอมกับ

การชุมนุม ตอตานรัฐบาล วันที่ 22 เมษายน 2553 เหตุระเบิดหลายครั้งในกรุงเทพมหานครทําใหมี

ผูเสียชีวิต อยางนอย 1 คน และมีผูไดรับบาดเจ็บอีกมากกวา 85 คน ในจํานวนนี้มีชาวตางชาติ 4

คนรวมอยูดวย เหตุการณดังกลาวที่เกิดขึ้นไดสงผลกระทบตอการบริหารงานของรัฐบาลไมวาจะ

เปนการบริหารราชการ แผนดินซึ่งทําใหเกิดความเสียหายอยางประเมินคาไมไดจะเห็นไดวา การ

เคลื่อนไหวของแนวรวมประชาธิปไตยขับไลเผด็จการแหงชาติ (นปช.) ไมใชเพราะความยากจน

และไมไดรูสึกวาตัวเองยากจนแตอยางใด แตเปนการเคลื่อนไหวดวยสาเหตุความคับของใจ

นอกจากนี้ เหตุผลของคนเสื้อแดงที่ออกมาเคลื่อนไหวดวยสาเหตุความคับของใจ

(เกษียร เตชะพีระ, 2553) มีประเด็นดังตอไปนี้

Page 98: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

85

ประการแรก ขอคับของใจนั้นไมใชปญหาเศรษฐกิจ แมวาในทางภววิสัย (ตัวเลข)

คนเหลานั้น ไมใชคนรวยแตเขาคิดวาฐานะความเปนอยูของเขาอาจดีขึ้นกวานี้ได (เชน มีความมั่นคง

มากขึ้น) ดวย นโยบายทางการเมือง และดวยเหตุดังนั้นขอเรียกรองของพวกเขาจึงเปน “การเมือง”

นั้นคือการยุบสภา

ควรกลาวไวดวยวาทามกลางความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วนั้น ชีวิตคนไทย

ในระดับกลาง สูญเสีย “ความมั่นคง” ไปมากในหมูคนเสื้อแดง หลักประกันสุขภาพถวนหนาให

ความมั่นคงดานสุขภาพ ในระดับที่นาพอใจ เพราะความเจ็บปวยของสมาชิกครอบครัวในทุกวันนี้

อาจหมายถึงความลมสลายทาง เศรษฐกิจของครอบครัวทั้งหมดอยูไดเสมอ ๆ ความสามารถที่จะ

เขาถึงแหลงเงินกูในอัตราดอกเบี้ย เทากับเงินกูในระบบ ก็มีสวนชวยเสริมความมั่นคงแกชีวิตของ

คนชั้นกลางระดับลางเชนเดียวกัน เพราะความจําเปนตองเขาถึงเงินสดในคราวจําเปนเกิดขึ้นแก

คนในชีวิตสมัยใหมเสมอ

ในหมูคนเสื้อเหลือง จํานวนหน่ึงอาจบรรลุความมั่นคงทางเศรษฐกิจในระดับที่สูงกวา

แตความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของสังคมทําใหสูญเสียความม่ันคงดานสังคมไปมากเชนกัน รูสึกตัว

วาโดดเดี่ยวอางวาง ทามกลางสังคมสมัยใหมที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ ฉะนั้นจึงมีการเรียกหาระบบ

คุณคาเกา ๆ ที่เชื่อวา ครั้งหนึ่งเคยมีในสังคมไทย เชน การเรียกรอง ศีลธรรม ความเอื้อเฟอเผื่อแผ

ความพอเพียง ครอบครัวแบบเดิม วัฒนธรรมไทย ซึ่งก็คือระบบความสัมพันธทางสังคมแบบที่

ตัวคุนเคยหรือเชื่อวาเปนอุดมคติแบบไทย

ประการที่สอง ขอคับของใจทางการเมืองของคนเสื้อแดงคือตองการพื้นที่ทาง

การเมืองของตนซึ่งเปนอิสระจากการครอบงําและชักใยของชนชั้นนํา ในทัศนะเสื้อแดง

ประชาธิปไตยซึ่งเปนระบอบการปกครองของไทยเวลานี้ ปดกั้นมิใหพวกเขามีพื้นที่ทางการเมือง

เหลืออยู แมวามีการเลือกตั้งตามวาระในกฎหมาย แตผลของการเลือกตั้งนั้นกลับถูกชนชั้นนํา

บิดเบือนจนไรความหมาย เชน กอรัฐประหารทําใหผลการเลือกตั้งเปนหมัน รวมทั้งการเคลื่อนไหว

ทางการเมืองของฝายตนถูกปดกั้น หรือที่เรียกกันวา สองมาตราฐาน แลวตั้งรัฐบาลชุดใหมที่ไม

สะทอนผลการเลือกตั้งขึ้นมาบริหารประเทศ

ขอเรียกรองทั้งสามขอของคนเสื้อแดงนั้น สอดรับกันและกันอยางมีนัยยะสําคัญ

ไมใชขอเรียกรองที่จะตอบสนองเปนขอ ๆ โดยไมเกี่ยวเนื่องสัมพันธกัน ดังนั้นขอเสนอใหมีการ

เลือกตั้งในเดือนพฤศจิกายน 2553 จึงไมนําไปสูความสําเร็จ เพราะเทากับละทิ้งปญหาเรื่องสอง

มาตรฐานไวใหเปนไปตามเดิม คนตายไปกวา 20 คนที่ราชดําเนินในวันที่ 10 เมษายน 2553จะ

ปลอยใหตายไปโดยไมมีผูรับผิดชอบ ก็เทากับยอมรับสองมาตรฐานตอไปนั่นเอง

จากเหตุการณที่เกิดขึ้นหลายครั้ง มีนักวิชาการดานการปกครองทองถิ่นวิเคราะห

Page 99: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

86

เกี่ยวกับเหตุการณและปรากฏการณทางการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศไทยที่ผานมาเห็นไดจาก

คอลัมนประชาคมทองถิ่น รองศาสตราจารย ดร.โกวิทย พวงงาม ของสยามรัฐสัปดาหวิจารณ

(วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2554) มีขอความตอนหนึ่งวา

“การพัฒนาประเทศโดยเปาหมาย ตองการใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอาชีพ มี

รายไดอยางพออยูพอกิน และมีความสามารถที่จะดํารงชีวิตที่ตนเองสามารถ

พึ่งตนเองได ซึ่งถาหากคนในสังคมพึ่งตนเองได คําวา “ชองวาง” ระหวางฐานะความ

เปนอยูและการครอบครองปจจัยก็อาจจะไมมีความเหลื่อมล้ําและมีความแตกตาง

กันมากนัก ผมจึงเขาใจวา ในประเทศที่พัฒนาแลว โดยที่ประชาชนสวนใหญเปน “ชนชั้นกลาง” กลาวคือคนสวนใหญของประเทศมีฐานะความเปนอยูที่สามารถ

พึ่งตนเองได ดังนั้น กลาวสําหรับสังคมไทยเราตองทําให “ชนชั้นลาง (รากหญา)”

หรือที่เรียกวา “คนจน” หลุดพนและกาวไปสู “ความเปนชนชั้นกลาง” คือ การมี

คุณภาพชีวิตที่ดี มีความสามารถที่จะพึ่งตนเองได ผมจึงเขาใจวาโจทยใหญหรือ

ภารกิจใหญของรัฐบาลใหม ก็คือ การทําใหชนชั้นลางขยับฐานะตนเองไปสู “ความเปนชนชั้นกลาง” นั้นเอง”

“การเลือกตั้งของสังคมไทย ในแตละครั้งที่ผานมา เราพบขอมูลวา คนในเมืองหรือ

กลุมชนชั้นกลาง มีพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) แตกตาง

ไปจากคนในชนบทหรือกลุมคนจน และจึงมักจะมีคํากลาววา “คนชนบทตั้งรัฐบาล

แตคนในเมืองลมรัฐบาล”จากที่กลาวถึงบริบททางการเมืองของทั้ง 3 สวนที่ไดกลาวมาขางตนนั้น สวนหนึ่งจะ

เปนการเคลื่อนไหว ของกลุมพันธมิตรเพื่อขับไลรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ตอมาไดมีการทํา

รัฐประหารของ คมช. ตอจากนั้นเปนการเคลื่อนไหวทางทางการเมืองของกลมพันธมิตรประชาชน

เพื่อประชาธิปไตย เพื่อตอตานรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวชและนายสมชาย วงศสวัสดิ์ และ

ประการสุดทายเปนความขัดแยงของกลุมพันธมิตร (เสื้อเหลือง) และ กลุม นปช. (เสื้อแดง) ที่

ประกอบไปดวยชนชั้นกลางระดับกลางขึ้นไปที่อยูในเขตเมืองของมวลชนเสื้อเหลือง โดย

จุดประสงคของการเคลื่อนไหวนั้นเปนการตอตานรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ถึง รัฐบาลนาย

สมชาย วงศสวัสดิ์ เพราะสาเหตุมาจากการทุจริตคอรรัปชั่น และการขัดกันของผลประโยชน

สวนกลุม นปช. (เสื้อแดง) ประกอบไปดวยชนชั้นกลางระดับลางที่อาศัยในเขตชนบท โดยมี

จุดประสงคสําคัญ 3 ขอที่กลาวมาในขางตนโดยเฉพาะการตอตานการเขามาเปนรัฐบาลของ

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะนั้นเอง ผลสะทอนใหเห็นไดวาการเขามามีสวนรวมหรือมีพฤติกรรมทาง

การเมืองนั้นเปนการเขามาของชนชั้นกลางแทบทั้งสิ้นอันเนื่องมาจากบริบททางการเมืองที่เกิดขึ้น

Page 100: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

87

ในระหวางปพุทธศักราช 2551-2553

นอกจากนี้ จากการสัมภาษณเจาะลึกกับกลุมผูใหขอมูลหลักพบวาบริบททาง

การเมืองสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางแตละพฤติกรรมในชวงพุทธศักราช

2551-2553 ดังนี้

1. การติดตามขอมูลขาวสารทางการเมืองผลจากการสัมภาษณ พบวา ทามกลางกระแสความขัดแยงทางการเมืองและ

วิกฤติทางการเมือง ในปจจุบันนั้น ทําใหการสื่อสารทางการเมืองไทยไดมีกระบวนการนํา

เทคโนโลยีที่ทันสมัย เชน การใชอินเทอรเน็ต มาเปนเครื่องมือในการตอสูทางการเมืองของแตละ

ฝายไมวาจะเปน Facebook Twitter หรือแมกระทั่ง Clip VDO ทาง Youtube ที่ตางฝายก็นําเสนอ

มุมมองและขอมูลที่สนับสนุนฝายของ ตนเองวาถูกตอง รวมทั้งการใชการ VDO Link, Phone-In

ในการตอสูและโตตอบกันในการสื่อสารทางการเมืองในยุคปจจุบันตลอดจนการสรางวาทกรรม

ทางการเมือง ไมวาจะเปน “ไพรกับอํามาตย” หรือ ศัพทที่สื่อความหมายทางการเมือง เชน เหวง

เปนตน ทําใหพื้นที่ทางการเมืองนอกจากเปนพื้นที่บนทอง ถนนแลว ยังมีพื้นที่สาธารณะทาง

อินเทอรเน็ตซึ่งไมจําเปนตองแสดงตัวตนที่แทจริงของตนเองและ สามารถแสดงความคิดเห็นได

อยางเต็มที่

กลุมการเมืองทางอินเทอรเน็ตเปนชุมชนเสมือนจริงที่ไมมีการพบปะกัน แตมี

แนวความคิดหรือวัตถุประสงคที่เหมือนกัน และรวมตัวกันทางชุมชนออนไลน ทําใหมิติทาง

การเมืองมีการเปลี่ยนแปลงมาสูเครือขายทางสังคมรูปแบบใหม (New Social Network) หาก

ยอนกลับไปถึงเหตุการณพฤษภาทมิฬ ที่เอามือถือมาเปนเครื่องมือในการรวมกลุมทางการเมือง

หรือแสดงออกทางการเมือง ที่เรียกกันวา “มอบมือถือ” ก็มีพลังเปนอยางมากในสมัยนั้นทําใหเห็น

ถึงพัฒนาการของการใชเครื่องมือการสื่อสารทาง การเมืองเปนลําดับ

ปจจุบันแมวารัฐบาลจะมีมาตรการตาง ๆ ทั้งดานการบังคับใชกฎหมายและ

มาตรการในการ เจรจาจนกระทั่งมาถึงเหตุการณที่เกิดความสูญเสียชีวิตและไดรับบาดเจ็บ ทั้ง

ผูชุมนุมและเจาหนาที่ทหาร ในวันที่ 10 เมษายน 2553 ที่ผานมานั้น แตรัฐบาลก็ยังไมสามารถ

จัดการความขัดแยงทางการเมืองและ ทําใหเกิดความสงบเรียบรอยภายในบานเมืองได

ดังนั้น กระบวนการทําความจริงใหปรากฏวาเหตุการณในวันที่ 10 เมษายนนั้นวา

เปนการ ทําที่เกิดจากกลุมใดที่ทํารายเขนฆาประชาชน และเจาหนาที่ทหาร ซึ่งที่ผานมาไดมีการใช

เทคโนโลยีสมัยใหม ทั้ง สถานีโทรทัศน สถานีวิทยุ และอินเทอรเน็ต ไดแก twitter, facebook,

youtube มาเปน เครื่องมือในการสื่อสารทางการเมืองและการคนหาขอเท็จจริง และเปนหลักฐาน

ในเหตุการณที่เกิดขึ้นจนเปนขอโตแยงระหวางกัน ทําใหเกิดความสับสนแกประชาชนโดยทั่วไปวา

Page 101: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

88

แหลงขอมูลจากที่ใดเปน ขอเท็จจริง

อีกมิติหนึ่งทางการเมือง คือ การมีสวนรวมทางการเมืองของกลุมออนไลนทาง

facebook ที่มีการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองซึ่งมีทั้งฝายสนับสนุนและฝายตอตาน ไดมีการ

รวมกลุมกันเปน ชุมชนเสมือนจริงทางการเมือง ตลอดจนการนําขอมูลขาวสารมาใชในการ

สนับสนุนอุดมการณความเชื่อ ของตนและหักลางทําลายความเชื่อถือของขอมูลอีกฝายหนึ่งเปน

เสมือนสงครามขอมูลขาวสาร (War of Information) ทําใหเห็นถึงพัฒนาการของการสื่อสารทาง

การเมืองของประเทศไทย ซึ่งเริ่มจากการ สื่อสารแบบทางเดียวมาเปนการสื่อสารแบบสองทาง

และมีการโตตอบทางการสื่อสารมากขึ้น ทําใหเกิดการสรางการเมืองแบบเสมือนจริง (Virtual

Politics) มากขึ้นตามลําดับ และการสื่อสารทางการเมืองจากท่ี รัฐเปนผูกุมอํานาจเพียงผูเดียวมาสู

การที่ประชาชนมีสวนรวมในการสื่อสารมากย่ิงขึ้น ดังนั้น การที่ประชาชนทั่วไปไดรับขอมูลขาวสาร

และการสื่อสารทางการเมืองจําเปนอยางยิ่งจะตองมีการพิจารณา อยางพินิจพิเคราะหถึงขอมูล

ดวยความมีเหตุมีผล และรูเทาทันขอมูลขาวสารที่เปนขอเท็จจริงทาง การเมือง และหนวยงานที่

เกี่ยวของทั้งรัฐบาล สื่อมวลชน ควรมีมิติการสื่อสารเพื่อสรางความกระจางใน เหตุการณที่เกิดขึ้น

และไขปญหาขอสงสัยตาง ๆ รวมทั้งเปดเผยขอมูลที่เปนขอเท็จจริง

อยางก็ตามบริบททางการเมืองขางตนมีผลตอการติดตามขอมูลขาวสารทาง

การเมืองในประเด็นที่เกี่ยวชองทางของการรับรูขอมูลขาวสารที่แตกตางหลากหลายเชนกัน กลุม

ชนชั้นกลางที่มีโอกาสรับรูขอมูลขาวสารที่หลากหลายชอง อาทิ โทรทัศน วิทยุ อินเตอรเน็ต หรือแม

กระทั้งชองเคเบิ้ลทีวีที่มีการวิเคราะหสถานการณทางการเมืองจากนักวิชาการทั้งในและ

ตางประเทศ บริบทเหลานี้จะมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของคนชั้นกลางเชนกัน ดัง

คําสัมภาษณของนายธีระชัย แสนแกว ที่วา

“ผมคิดวารับบรูขอมูลขาวสารที่แตกตางหลากหลายชองทางมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของคนรับสารมาก เนื่องจากคนที่มีชองทางการรับรูที่หลากหลายจะทํา

ใหเกิดการคิดวิเคราะหที่มีขอมูลครบถวนมากกวา คนที่รับรูขอมูลขาวสารเพียง

ชองทางเดียวหรือจากสื่อประเภทเดียวสํานักเดียวปญหาที่ผานมาของสังคมไทย

สวนหนึ่งเกิดจากรับรูขอมูลขาวสารเพียงชนิดเดียว หรือประเภทเดียว เชื่อแลวเชื่อ

เลย ฟงแลวฟงเลย ไมเกิดการคิดหรือวิเคราะหแตอยางใด ประเด็นการรับรูขอมูลขาวสารเปนสิ่งสําคัญมากในขณะนี้ที่อาจารยคิดวาจําเปนตอคนไทยทุกคน ไม

เพียงแตคนชั้นกลางเพียงอยางเดียว” (นายธีระชัย แสงแกว, สัมภาษณ, วันที่ 15

มกราคม 2554)

Page 102: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

89

2. การไปใชสิทธิเลือกตั้งการไปใชสิทธิเลือกตั้ง หมายถึง กระบวนการทางประชาธิปไตยแบบทางออม

(Indirect Democracy) ที่เปดโอกาสใหประชาชนไดเลือกตัวแทนของตนเขามาดํารงตําแหนงตาง ๆ

โดยสวนใหญ จะหมายถึง ตําแหนงทางการเมืองการเลือกตั้งเปนกลไกการใชอํานาจอธิปไตยหรือ

การมีสวนรวม ทางการเมืองของประชาชนผูเปนเจาของอํานาจอธิปไตย โดยการไปใชสิทธิเลือกตั้ง

เลือกผูแทนที่มี นโยบายตรงกับความตองการของตนเอง ใหไปใชอํานาจอธิปไตยแทนตนดวย

ความชอบธรรม การที่บุคคลที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งเปนบุคคลทั่วไปที่อายุเขาตามเกณฑที่

กฎหมายกําหนด ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งมีอิสระอยางเต็มที่ มีการกําหนดวาการเลือกตั้งแตละ

ครั้งจะไดผูแทนที่ไปปฏิบัติหนาที่ในรัฐสภาไดเปนระยะเวลากี่ป บางประเทศอาจจะเสนอเวลาให

เปน 4 ป หรือ 6 ป กําหนดใหแตละคน สามารถเขาไปเลือกตั้งในคูหาเลือกตั้งไดครั้งละ 1 คน และ

ไมจํา เปนจะตองบอกใหคนอื่นทราบวาตัวเองเลือกตั้งใครผูที่เลือกตั้งทุกคนมีสิทธิในการออกเสียง

ไดเพียง 1 เสียงเทากัน และตองมีการดูแลการเลือกตั้งไมใหมีการทุจริต

ผลจากการสัมภาษณ พบวา พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลดานการไปใชสิทธิเลือกตั้งนั้น การไปใชสิทธิ์มันขึ้นอยูกับปจจัย

หลายอยาง กลาวคือชนชั้นกลางมีตนทุนในการดําเนินชีวิตที่สูง การเลือกตั้งในแตละครั้งนั้นไม

เปนไปอยางที่คาดหวัง อาจจะมีการโมฆะทําใหประชาชนไมอยากไปอีกในครั้งตอไป ปจจัยอีก

ประการหนึ่ง คือ การสงผูสมัครเขารับเลือกตั้งหรือนักการเมืองคือมีนโยบายที่ไมแตกตางจากพรรค

อื่น ทุกพรรคมีนโยบายที่คลายคลึงทําใหการไปใชสิทธิ์เลือกตั้งหรือการไมไปใชสิทธิเลือกตั้งไมมีผล

หรือทําใหการดําเนินชีวิตของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตางไปจากเดิมมาก

นัก ซึ่งผลการศึกษาดังกลาวสอดคลองกับคําสัมภาษณของเมธา จันทรแจมจรัส ที่วา

“สําหรับผมคิดแบบนี้ครับ ผมคิดวาคนกรุงเทพและคนปริมณฑลที่มีการศึกษา

พอสมควร หรือที่เราเรียกกันอยางหรู ๆ วา คนชั้นกลาง นี้ครับ ในสวนที่เกี่ยวกับ

พฤติกรรมการไปใชสิทธิเลือกตั้งของคนเหลานี้ ผมคิดวาพวกเขารับรูดีวาเปนสิทธิ

และหนาที่ แตบางครั้งการไปเลือกตั้งของพวกเขาก็ไมอาจจะเปลี่ยนแปลง

ประเทศได เนื่องจากเสียงหรือคะแนนสวนใหญอยูที่ตางจังหวัด ประเด็นสําคัญเลือกไปหลายครั้งก็โมฆะ เลือกแลวเลือกอีกสวนปจจัยในการเลือกนั้น ผมคิดวา

นโยบายของพรรคการเมืองไมใชปจจัยที่สําคัญสําหรับคนชั้นกลาง สิ่งที่สําคัญ

คือ ความดี ความซื่อสัตย และคุณภาพของนักการเมืองตางหาก ที่คนกรุงเทพ

สวนใหญเลือกเขามา เห็นจากผลการเลือกตั้งที่ผานมาหลาย ๆ ครั้ง” (นายเมธา

จันทรแจมจรัส, สัมภาษณ, วันที่ 25 มกราคม 2554)

Page 103: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

90

อยางไรก็ตาม กระบวนการเลือกตั้งของสังคมไทย หากจะใหชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลไปใชสิทธิ์เลือกตั้งเพิ่มขึ้นนั้นจะตองมีการพัฒนาการเลือกตั้งใหเปน

ระบบมีความบริสุทธิ์ ยุติธรรมซึ่งอาจตองใชเวลานาน

นอกจากนั้นมุมมองของกลุมผูใหขอมูลหลัก อาทิ นักวิชาการบางทานมองวา

พฤติกรรมการใชสิทธิ์ เลือกตั้งของชนชั้นกลางนั้น เปนเพียงการนําคนเขาสูกระบวนการ

ประชาธิปไตยแตไมไดหมายความวาประชาธิปไตยจะดีหรือยั่งยืน เพราะฉะนั้นเราควรปลูกฝง

ตั้งแตเกิด การมองผลของการกระทําทางประชาธิปไตยจึงควรมองมากกวา เชิงสถาบันสังคมจึงมี

ผลมากเพราะถาสังคมนั้นยึดมั่นในกระบวนการทางประชาธิปไตย ทําใหคนใน สังคมเห็น

ความสําคัญของกระบวนการทางประชาธิปไตย สถาบันทางการเมืองที่จะเอาชนะใจชนชั้นกลางได

จึงควรสรางกระบวนการมีสวนรวมใหประชาชนมีสวนรวมในการการเมืองแนวใหมหรือการเมือง

ภาคประชาชน

3. การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมืองหมายถึง บุคคลที่ เปนสวนหนึ่งของ พรรคการเมือง เปนผูที่สมัครใจเขารวม

กิจกรรมของพรรคโดยถูกตองเปนทางการ โดยทั่วไปอาจแบงได เปน 2 กลุม คือ กลุมผูนําหรือ

ผูบริหารพรรค และกลุมสมาชิกหรือผูสนับสนุนพรรค ซึ่งในประเทศ ประชาธิปไตยจะตองมีความ

รวมมือระหวางคน 2 กลุมนี้เปนอยางดี ผูนําคือผูสรางชื่อเสียงหรือสรางภาพ ใหแกพรรค ในขณะนี้

สมาชิกและผูสนับสนุนจะตองเขามามีสวนรวมอยางจริงจัง ซึ่งในระบบการเมือง สมัยใหมกลุม

สมาชิกและผูสนับสนุนนี้จะเปนกลุมที่บทบาทอยางสําคัญในการผลักดันนโยบาย และเกื้อกูล

พรรคการเมืองนั้น ๆ ใหประสบความสําเร็จไดในที่สุด

อนึ่งในระบบพรรคการเมืองสมัยใหมยังอาจแบงสมาชิกออกไดเปน 2 ประเภท คือ

สมาชิกที่มี กิจกรรมในพรรคอยางเขมแข็ง (Active Members) กับสมาชิกที่อาจจะมีกิจกรรมกับ

พรรคนอย แตมี ความจงรักภักดีตอพรรคสูง (Loyal Members) ในขณะที่การเปนการไปรวมกลุม

หรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมืองก็มีลักษณะเชนเดียวกัน กลาวคือ เปนการรวมกลุมกัน

อยางเขมแข็ง มีการดําเนิน กิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่อง และการรวมกลุมแบบหลวมเปนกลุมทาง

การเมืองแบบวิพากษวิจารณการเมือง ไมเกิดกิจกรรมทางการเมืองแตอยางไร

ผลจากการสัมภาษณเจาะลึกกับกลุมผูใหขอมูลหลัก พบวาบริบททางการเมืองที่

ไดกลาวมานั้นมีผลตอพฤติกรรมของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดานการไป

รวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองนั้น สถานการณการรวมกลุมทางการเมืองของชน

ชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มตนขึ้นนับตั้งแตมีการชุมนุมของกลุมคนเสื้อ

เหลือง และเกิดการตอสูเรียกรองจน เกิดการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง มากระทั่งถึงการชุมนุมของ

Page 104: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

91

กลุมคนเสื้อแดงในปจจุบัน การชุมนุมดังกลาวถือเปนภาพที่เคยชินจนเปนที่นากังวลของสังคมไทย

ที่เมื่อมีการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง การรวมกลุมของผูที่ไมสนับสนุนรัฐบาลฝายตรงขามกับตนเอง

ก็จะกลับมาดําเนินรอยตามเติมอีกครั้ง วังวนที่ไมจบสิ้นของสถานการณการชุมนุม กลายเปน

ปญหาใหญหลวงในสังคมไทย ซึ่งหากพิจารณาถึงปญหาทางการเมืองเมืองไทยทั้งหมดนี้ พบวา

การรวมกลุมทางการเมืองของประชาชนโดยเฉพาะชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑลเกิดจาก “ปญหาจากการทุจริตคอรัปชั่น ที่เปนปญหาหยั่งรากลึกในสังคมไทยมานาน

ปญหาดังกลาวจึงกลายเปนสวนหนึ่งของที่มาของความขัดแยงและกอใหเกิดการเคลื่อนไหวทาง

การเมืองอยางมากเชนในปจจุบัน ในชวงปลายป 2552 ที่ผานมาการรวมกลุมทางการเมืองของ

กลุมชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่สนใจการเมืองไดกอใหเกิดความ

เปลี่ยนแปลงในสังคมไทยในหลายมุมมองจนสามารถ กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง

ดังนี้

(1) กลุมชนชั้นกลางเหลานั้น ไดพิสูจนใหเห็นวาการสรางพลังมวลชนที่มี

เปาหมายรวม กันอยาง แนวแนนั้นเปนไปไดจริง และทําใหการเมืองบนทองถนนมีพลังกดดัน

การเมืองภาคนักการเมือง และกลุม อํานาจอื่น ๆ เชน ทหาร องคมนตรี ตุลาการ สื่อมวลชนให

เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ตนตองการไดใน ระดับหนึ่ง และกลุมคนเสื้อแดงก็กําลังสรางการเมือง

บนทองถนนในทํานองเดียวกัน เพียงแตมีเปาหมายของการเปลี่ยนแปลงที่ตางกัน

(2) คุณูปการของกลุมชนชั้นกลางที่สนใจการเมือง คือการเปดโปงใหสังคมเห็น

ธาตุแทและ อันตราย ของ ‘ทุนนิยมสามานย’ หรือที่เรียกกันวา 'ระบอบทักษิณ' ซึ่งหมายถึง

พฤติการณของกลุมทุน ธุรกิจการเมืองที่ใชเงินซื้อพรรคการเมือง และนักการเมืองและซื้อเสียงเพื่อ

เขามายึดอํานาจรัฐ เปนเผด็จ การรัฐสภา และใชอํานาจรัฐเพื่อผลประโยชนของตนเองและพวก

พองภายใตนโยบาย โครงการ วิธีบริหารจัดการ และการแทรกแซงวุฒิสภา องคกรอิสระ สื่อมวลชน

ฯลฯ ทั้งหลายทั้งปวงที่มีจุดยืนอยูบน 'ความทับซอนกัน' ระหวางผลประโยชนสวนตัวกับ

ผลประโยชนของชาติ

(3) คุณูปการของกลุมชนชั้นกลางอีกกลุมหนึ่งที่สนใจการเมือง คือ การเปดโปง

ใหเห็นธาตุแท และอันตรายของ 'อํามาตยาธิปไตย' ซึ่งหมายถึงเครือขายชาราชการที่เกาะเกี่ยวยึด

โยงกันภายใต วัฒนธรรมอํานาจ นิยมอุปถัมภนิยม และเครือขายเหลานี้เขามาแทรกแซงอํานาจรัฐ

เพื่อสรางอํานาจ ตอรองและรักษาผล ประโยชนของตนเอง ทั้งการแทรกแซงโดยตรง เชน การทํา

รัฐประหาร หรือ แทรกแซงโดยออม เชน การอยูเบื้องหลังการจัดตั้งรัฐบาล การแตงตั้งโยกยายผูนํา

เหลาทัพหรือ ขาราชการระดับสูง เปนตน

จากการปรากฏการณการรวมกลุมของคนที่สนใจการเมืองโดยเฉพาะชนชั้นกลาง

Page 105: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

92

ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนั้น ทําใหสังคมไทยไดรับรูเกี่ยวกับอันตรายของ 'ทุนนิยม

สามานย' และ 'อํามาตยาธิปไตย' มีงานทางวิชาการนําเสนอมาพอสมควรแลว แตยังเปนที่รับรู

เฉพาะในแวดวงผูสนใจปญหาบานเมืองในเชิงลึกเทานั้น ซึ่งสะทอนจากคําสัมภาษณของนายเมธา

จันทรแจมจรัส ที่วา

“ผมคิดวาการเคลื่อนไหวของกลุมการเมืองที่เกิดขึ้นในชวงไมกี่ปที่ผานมานี้ ทั้งที่

พวกเขาไดมี โอกาสได เขาร วมหรือไม ได เขาร วมก็ตาม อาจารยคิดว า

ปรากฎการณและเหตุการณความรุนแรงทางการเมืองที่เกิดขึ้นนั้น นาจะเปนบท

เรียนรูที่ดีใหกับคนไทยได อันตรายที่เกิดจากการคอรรั่ปชั่น อันตรายที่เกิดจาก

ระบบอุปถัมภ หากคนไทยทุกคนเรียนรูสิ่งเหลานี้ไดจะเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศใหมีคุณภาพมากขึ้นได แตที่เปนอยูในปจจุบัน กลับกลายเปนวา

ยังเกิดความขัดแยงอันมีสาเหตุที่เกิดจากการไมเรียนรูรวมกันของคนไทย อันนี้

ประเด็นนี้ผมคิดวานาหวง” (นายเมธา จันทรแจมจรัส, สัมภาษณ, วันที่

25 มกราคม 2554)

4. การสนับสนุนทางการเมืองการสนับสนุนทางการเมือง หมายถึง เปนการกระทําที่เกื้อหนุน การเกื้อหนุนใน

ทางบวกจะ มีขึ้นเมื่อระบบการเมืองตอบสนองความตองการของคนกลุมนั้น ถาในทางลบเมื่อ

ระบบการเมืองไม สามารถตอบสนองความตองการหรือไมสนใจใยดีกับคนกลุมนั้น และขึ้นอยูกับ

วัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมนั้น ๆ

ผลจากการสัมภาษณเจาะลึก พบวาบริบททางการเมืองมีผลตอการสนับสนุนทาง

การเมืองก็ยังใหการสนับสนุนทางการเมืองไมสูงนัก เพราะชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑลใหความสําคัญกับการเมืองเปนชวง ๆ ซึ่งในความเปนจริงแลวนั้นรัฐธรรมนูญบัญญัติ

สิทธิทางการเมืองไวมากมายแตคนสวนใหญไดเพียงการไปใชสิทธิเลือกตั้งและการประทวงเทานั้น

ทั้ง ๆ ที่ ที่จริงแลวการประทวงไมควรจะเกิดขึ้นถาประชาชนไดสิทธิอื่น ๆ ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติขึ้น

แตคนสวนใหญ มักคิดวาการประทวงเปนสิ่งที่ชัดเจนและเห็นผลไดงายที่สุดเพราะจะทําใหเห็นวา

คนเดือดรอนเพราะ รัฐบาลขาดประสิทธิภาพในการแกไขปญหาในขณะเดียวกันการเขาชื่อสอง

หมื่นรายชื่อก็มีกระบวนการ ตาง ๆ มากมาย ในขณะรัฐธรรมนูญไมไดเขียนอยูบนรากฐานของคน

ไทยอยางแทจริง ดังคําสัมภาษณของธีระชัย แสนแกว ที่วา

“ประชาธิปไตยก็เหมือนกับการนํามัมมี่ที่ไมมีจิตวิญญาณเขามาเพราะฉะนั้น

ประชาธิปไตยของเราจึงมีแตรางไมมีวิญญาณ คือมีแตชื่อประชาธิปไตยแตคนไทย

ไมเคยมีจิตวิญญาณประชาธิปไตย ยกตัวอยางเชน สิ่งที่เปนประชาธิปไตย ไดแก

Page 106: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

93

เสรีภาพ ภราดรภาพ เสมอภาค หรือตองมีคานิยมเคารพความเห็นของคนอื่นซึ่งคน

ไทยมัวแต เรียกรองสิทธิของตนเองจนกระทั้งลืมคิดไปวาคนอื่นก็มีสิทธิเหมือนกัน

ถาตราบใดก็ตามที่ประชากรของ เราไมมีคุณลักษณะของประชาธิปไตยเหมือนคนในประเทศที่ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแลว ความเปนประชาธิปไตยก็เกิดขึ้น

ไดยาก จนทุกวันนี้คนไทยก็ไมมีคานิยมประชาธิปไตย เพราะพื้นฐานของคนไทยถูก

ปกครอง เราใชวัฒนธรรมอุปถัมภซึ่งไมใชประชาธิปไตยในทางตรงกันขามกลับ

ขัดแยงกับ ประชาธิปไตยอยางสิ้นเชิงเพราะการไดรับการอุปถัมภก็เปรียบเสมือน

ทาสของเขาซึ่งเปนขอเท็จจริงใน สังคมเพราะไมมีเสรีภาพในการเลือก ในการคิด ดังนั้นปญหาที่แทจริงคือคนไทยสวนใหญไมมีคานิยม แบบประชาธิปไตยซึ่ง

วัฒนธรรมนี้แผกระจายไปถึงการปกครองสวนทองถิ่นเพราะคนเราไมมีความเปน

ประชาธิปไตยในตัวเองและครอบครัว” (นายธีระชัย แสนแกว, สัมภาษณ, วันที่

15 มกราคม 2554)

อยางไรก็ตาม ขอสังเกตบางประการที่หนึ่ง ซึ่งชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานคร

และปริมณฑลมีโอกาสพัฒนาขึ้นทุกวันนี้ก็พัฒนาขึ้นแตพัฒนาไปเรื่อย ๆ และพัฒนาในเชิงที่เปน

ประชาธิปไตยเพราะวิธีการแสดงออกเชนการชุมนุมเรียกรองซึ่งเปนวิถีประชาธิปไตย เมื่อการเลือก

ผูแทนเขามาทําหนาที่รัฐบาลหากเห็นวาไมดีทางออก คือการประชาสัมพันธใหผูอื่นรูและเปลี่ยนไป

ใน แนวทางที่ถูกตองในระยะเวลาที่เหมาะสม เพราะไมเห็นดวยกับการประทวง แมการประทวง

เปนสิทธิที่ทําไดแตก็ทําใหระบบลมเหลว

ขอสังเกตประการที่สอง ชนชั้นกลางควรจะมีแนวคิดใดที่จะใหการเมืองพัฒนา

ตอไป ถามองในเรื่องการมีสวนรวมหรือพฤติกรรมทางการเมือง ถือวาเปนการพัฒนาเพราะไม

จําเปนวาจะตองมีเพียงการมีสวนรวมเลือกตั้งเทานั้นซึ่งก็ถือวาเปนสิ่งที่ดี เพียงแตวาในประเด็นที่

กระตุนใหมีสวนรวมคือสิ่งที่ตองคิดใหมากวาการเขามามีสวนรวมกันกระตุนใหเกิดการปกครองใน

ระบอบประชาธิปไตยหรือไม หรือแทที่จริงแลวเปนเพียงความไมพอใจในตัวบุคคล หรือพรรค

การเมือง ในอนาคต ประชาชนนาจะเขามามีสวนรวมมากขึ้นเพียงแต อาจจะมีการเขามา

มีสวนรวมในรูปแบบของม็อบมากขึ้น แตในเรื่องของการเลือกตั้งยังไมตางจากเดิม ถาเปนเรื่องการ

ใชสิทธิในกฎหมายตาง ๆ ก็จะไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม แตประเด็นของการเรียกรองเพิ่มมากขึ้น

เปนการมีสวนรวมในอีกลักษณะหนึ่งแตการมีสวนรวมตรงนี้อาจไมกอใหเกิดการพัฒนา

ประชาธิปไตยก็ได ถามีการประทวงกันมากรัฐบาลแกไขปญหาไมได เสถียรภาพรัฐบาลไมมีก็ไม

เปนประชาธิปไตยก็ตองลมซึ่งถาลม แบบยุบสภาหรือลาออกก็ไมเปนไรเพราะเปนวิถีทาง

ประชาธิปไตยแตถาเปนการลมโดยผูไมมีอํานาจหนาที่เขามายึดอํานาจถือวาไมมีการพัฒนา

Page 107: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

94

ประชาธิปไตย การยึดอํานาจยังสามารถเกิดขึ้นไดอีกเพราะบานเมืองยังอยูในภาวะไมปกติสุข

เปาหมายของการพัฒนาคือการระดมพลและการมีสวนรวม พฤติกรรมตาง ๆ จะนําไปสูการเปน

ประชาธิปไตยคือถาเรามองเรื่องการระดมพลถาคนที่เชามามีสวนรวม รูวานี่เปนวิถีทางหนึ่งของ

การพัฒนาประชาธิปไตยจะเปนการพัฒนาประชาธิปไตยแตถาเขาไมสามารถ เชื่อมโยงได เพราะ

เขาใชความรุนแรงก็จะไมเปนประชาธิปไตย กรณีนักธุรกิจที่เขามาเรียกรองจากการ เสียประโยชน

ที่ราชประสงคเขาเหลานั้นมีสิทธิเรียกรองถารัฐบาลไมสามารถดูแลเขาไดเพียงแตพลังการ

เรียกรองของกลุมตาง ๆ มันต่ําและเรียกรองเพียงกลุมตนเองโดยอาศัยความสัมพันธแบบพวกพอง

การ พัฒนาทางการเมืองตองใชเวลา เมื่อเทียบกับตางประเทศที่ตองใชเวลามายาวนานเปนรอยป

เมื่อเทียบกับประเทศไทยที่เพิ่งเปลี่ยนการปกครองมาเพียงไมกี่ป

สรุปผลจากการศึกษา พบวาบริบททางการเมืองมีผลตอพฤติกรรมหรือการมีสวนรวม

ทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551 -2553

เปนการกระทําของประชาชนที่มีจุดประสงค เพื่อใหมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของรัฐบาล

ทั้งการคัดคานและการสนับสนุนรัฐบาลที่มีพฤติกรรม การบริหารที่ไมชอบธรรมทางการเมืองและมี

การคอรรัปชั่นเชิงนโยบายเปนตน ซึ่งที่ผานมาสวนใหญชนชั้นกลางจะมีการแสดงออกทาง

การเมืองเพื่อเปนการกดดันและคัดคานรัฐบาลแตการกดดันและคัดคานดังกลาวไมจําเปนตอง

ไดรับผลสําเร็จเสมอไป การมีสวนรวมทางการเมืองในหลายเรื่องอาจจะลมเหลวที่จะกดดันรัฐบาลได

เชน การชุมนุมประทวงอาจไมเกิดผลแตอยางใดตอนโยบายของรัฐบาลหรือการลงคะแนนเสียง

เลือกตั้ง ผูสมัครของตนอาจจะไมไดรับการเลือกตั้ง เปนตน ผลของการมีสวนรวมทางการเมือง

ในชวงป พุทธศักราช 2551 -2553 มีประเด็นที่สําคัญ ดังนี้

ประการที่ 1 กลุมชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจะมีการ

รวมกลุมทาง การเมืองตามทัศนคติความเชื่อทางการเมืองของตนเอง โดยการรวมกลุมมักจะใช

เวลาหลังเลิกงานและวันหยุด โดยมีปจจัยที่สําคัญจากการรับสื่อที่ตนเองชอบเปนสําคัญ

ประการที่ 2 เทคโนโลยีและระบบสื่อสารแบบไรพรมแดน โดยเฉพาะอินเตอรเน็ต

และเว็บไซตเปนพื้นที่ที่ชนชั้นกลางใชเปนเวทีในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองมากยิ่งขึ้น

ประการที่ 3 พฤติกรรมทางการเองหรือการมีสวนรวมทางการเมืองอาจไมมีผล

เปลี่ยนแปลงตอการตัดสินใจของผูนําหรือ รัฐบาลแตอยางใด แมวาผูมีสวนรวมมีวัตถุประสงค

กดดันรัฐบาล ซึ่งหลายครั้งพบวาการมีสวนรวมทางการเมืองจะมีผลมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับ

อํานาจทางการเมืองของผูมีสวนรวมซึ่งมักมีพลังอํานาจทางการเมืองไมมากนักและไมสามารถ

ผลักดันการตัดสินใจของรัฐบาลไดตลอดเวลาและทุก ๆ เรื่อง แตถาหากมีการรวมกลุมในลักษณะ

การเปนแนวรวมกับกลุมการเมืองที่มีทัศนคติที่สอดคลองกันจะมีพลังอํานาจในการกดดันหรือการ

Page 108: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

95

เคลื่อนไหวทางการเมือง

ผลของพฤติกรรมการมีสวนรวมทางเมืองของคนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑล สามารถ สรุปไดวา บริบททางการเมืองที่เกิดขึ้นชวงพุทธศักราช 2551-2553 นั้น

มีผลมากตอการแสดงออก การมีสวนรวมทางการเมืองมีหลายรูปแบบ เชน การติดตามขาวสาร

ทางการเมือง การไปออกเสียงเลือกตั้ง การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมือง

บริบททางสังคมที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ชวงพุทธศักราช 2551-2553

กอนที่จะวิเคราะหผูวิจัยจะขอกลาวถึงสังคมและการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยใน

อดีต และตอมาพัฒนามาเปนสังคมแบบพหุนิยม (Pluralistic Society) มองผานแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (จุมพล หนิมพานิช, 2552) รวมทั้งการที่สังคมไทยในปจจุบันได

กลายไปเปนสังคมขอมูลขาวสาร (Information Society) ซึ่งจะทําใหเห็นวาบริบททางสังคมนั้น

สงผลตอพฤติกรรมกทางการเมืองของชนชั้นกลางเชนไร

สังคมไทยในอดีตประชาชนสวนใหญอยูในชนบท มีอาชีพทําการเกษตร มีการทํานา

ทําไร ทําสวน และเลี้ยงสัตว ใหความสําคัญเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม

ในบางภาคประชาชนมีฐานะความเปนอยูที่ยากจน เชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่

บางภาค ประชาชนมีอาชีพ มีรายไดดี เชน ภาคใต จึงเปนปจจัยที่สนับสนุนให ประชาชนมีโอกาส

ในการศึกษามาก

ขณะเดียวกันเปนสังคมที่เรียบงายและพึ่งตนเองเกือบทุกดาน ความตองการในเรื่อง

ตาง ๆ มีนอย การติดตอชื้อขายซึ่งกันและกันมีบางเทาที่จําเปน คนสวนใหญรูจักมักคุนกันและ

ชอบชวยเหลือเกื้อกูลกันและกัน อยางไรก็ตาม มาในระยะหลังสังคมไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงไป

อยางมาก ซึ่งสวนหนึ่งที่สําคัญเปนผลเนื่องมาจากการพัฒนาโดยเฉพาะ

การพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตั้งแตฉบับที่ 1 จนกระทั่งถึง

ฉบับที่ 10 ที่ทําใหเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมไดเปลี่ยน แปลงไปอยางมาก

ยกตัวอยาง ภายหลังที่ไดมิการใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1

และฉบับที่ 2 ผลปรากฏวาโครงสรางพื้นฐานไดรับการพัฒนา ทําใหสังคมไทยมีเครือขายเสนทาง

คมนาคม มีความเจริญกาวหนาในหลาย ๆ ดาน อาทิ มีรายไดประชาชาติและรายไดตอหัว

ประชากรเพิ่มขึ้น ประชาชนที่อยูในเมืองมีฐานะดีขึ้น แตมีขอสังเกตวาในสวนของภูมิภาค

Page 109: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

96

ประชาชนที่อยูในภูมิภาค โดยเฉพาะในชนบทไดรับผลมาจากการพัฒนาหรือการเปลี่ยนแปลง

ดังกลาวนอย กอใหเกิดความไมเปนธรรมทางสังคม โดยเฉพาะทางดานการ กระจายรายได

กลาวคือ ผลของการพัฒนาตามแผนฯ ทั้ง 2 ฉบับ ทําใหประชากร ภาคกลางมีรายได

ดีกวาประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือถึง 3 เทา มากกวาประชาชนในภาคเหนือ 2 เทาตัว

และมากกวาภาคใตประมาณ 1 เทาตัวขณะเดียวกันเกิดการหลั่งไหลจากประชากรจากชนบทเขาสู

กรุงเทพ ๆ เพื่อมาหางานทําในเมือง และการเปลี่ยนแปลงอันเปนผลจากการพัฒนาดังกลาว

ยังทําใหประชากรในชนบทยังยากจนอยู

มาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 และ 4 แมรัฐบาลจะ

พยายามใช มาตรการดานการกระจายรายได และการบริการสังคมใหเห็นชัดเจน แตยังไมไดชวย

ใหดีขึ้น ผลของการพัฒนายังทําใหเกิดชองวางทางสังคม ระหวางคนในเมืองและชนบท กอใหเกิด

ชองวางระหวางคนรวยกับคนจน ซึ่งเปนคนสวนใหญที่อยูในภูมิภาคอื่น ไดแก ชาวนา ชาวไร

นอกจากนั้น ประชากรในชนบทที่ลาหลังยังขาดบริการดานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

มาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 รัฐจึงไดพยายามขยายและ

กระจาย บริการสังคมเพื่อพัฒนาและเปลี่ยนแปลงสังคมในภูมิภาคใหเจริญกาวหนา โดยการ

เปลี่ยนแปลงดังกลาวพยายามใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางดาน การศึกษา สาธารณสุข

ขณะเดียวกันพยายามสรางงานในชนบทใหเกิดขึ้น อยางกวางขวาง ซึ่งผลของการพัฒนาก็ไดผล

ในบางเรื่อง เชน เรื่องของสาธารณสุขที่มีโรงพยาบาลชุมชนเมื่อสิ้นป 2529 ถึงรอยละ 73.5 ของ

อําเภอและกิ่งอําเภอทั้งหมด

มาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 - 10 ผลของการพัฒนาแม

จะกอให เกิดผลดี แตก็มีปญหาตามมาทั้งทางดานเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ภาพรวมผลของ

แผนพัฒนาไดทําใหการเปลี่ยนแปลงทางสังคม อาทิ การเปลี่ยนแปลงดังกลาวนอกจากจะทําให

สังคมชนบทมีสภาพเปนสังคมเมืองมากขึ้นแลว ก็มีการเปลี่ยนแปลงทางดานคานิยม วัฒนธรรม

ทั้งทางดานวัตถุและดานที่ไมเกี่ยวของกับวัตถุ นอกจากนั้นก็มีการเปลี่ยนแปลงใน เรื่องของ

บทบาทสถานภาพของคนในสังคมโดยเฉพาะในชนบท

จากที่กลาวถึงสังคมและการเปลี่ยนของสังคมไทยผานแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติขางตน 3 ชวงได (สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, 2551,น.103-130) ดังนี้

ชวงที่ 1 เนนการสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการกระจายรายไดเปนชวงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 หรือระหวาง พุทธศักราช 2540-2544 โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ ฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 เนนการสรางโครงสรางพื้นฐานในการรองรับยุทธศาสตรการ

Page 110: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

97

พัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการนําเขา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 เปน

แผนที่เริ่มกําหนด เปาหมายหลักและกลยุทธการลดชองวางระหวางรายไดและความเปนอยูของ

ประชาชนในภูมิภาคและชนบทแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 มุงเนนการ

สรางความเปนธรรมในสังคม ดวยการลดความเหลื่อมล้ําของฐานะทางเศรษฐกิจของประชากรให

นอยลง และกําหนดแนวทางการพัฒนาสวนรวมที่เนนการกระจายรายไดและการพัฒนาภาคและ

ทองถิ่นอยางเปนระบบขึ้นเปนครั้งแรก มีเปาหมายที่จะขจัดความยากจนในพื้นที่ชนบทและเขต

เมืองที่มีปญหาเศรษฐกิจและการวางงานสูง โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ

รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่เฉพาะที่มีปญหาความยากจน ปญหาสังคม และความมั่นคง ดวยมาตรการ

ปรับปรุงโครงสรางการผลิต ทั้งการกระจายและการเพิ่มผลผลิตในภาคเกษตร การเชื่อมโยงภาค

เกษตรกับอุตสาหกรรม การแปรรูปการเกษตรและใชวัตถุดิบในทองถิ่นที่จะกอใหเกิดการมีงานทํา

อยางไรก็ตามแมวาการพัฒนาในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 จะมุงเนนการวางรากฐานทางเศรษฐกิจ เพื่อ

เรงรัดใหเกิดการขยายตัวทาง เศรษฐกิจสวนรวม และเริ่มใหความสําคัญกับการลดชองวางระหวาง

รายได แตก็ไดใหความสําคัญทางสังคมโดยการพยายามการสรางความเปนธรรมในสังคม

ชวงที่ 2 เนนพื้นที่เปาหมายและการกระจายความเจริญสูภูมิภาค เปนชวงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 - แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 หรือชวง พุทธศักราช 2525-2539 เปนชวงที่ปรับการพัฒนาประเทศเปนแนวใหม ยึดพื้นที่เปนหลักในการ

วางแผน มีการกําหนดนโยบายที่มุงแกไขปญหาความยากจน และ กําหนดแผนงานที่ มีผลในทาง

ปฏิบัติอยางเปนระบบและตอเนื่องจนกระทั่งเริ่มเห็นถึงความจําเปนของการนําแนวคิดการพัฒนา

อยางยั่งยืนมาใชในชวงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 เปนระยะของการปรับกลยุทธการ

พัฒนาที่หันมายึดพื้นที่เปนหลักในการสรางสมดุลของการพัฒนาเนนการกระจายรายไดและความ

เจริญเติบโตไปสูภูมิภาคทั้งนี้เพื่อนําไปสูการแกปญหาความยากจนในชนบท โดยไมมีมีการกําหนด

นโยบายการพัฒนาชนบทแนวใหมที่มุงแกไข ปญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของ

คนในพื้นที่เปาหมายชนบทยากจนใน 37 จังหวัดขึ้นเปนครั้งแรกและไดเริ่มระบบการบริหารการ

พัฒนาชนบทภายใต “คณะกรรมการพัฒนาชนบทแหงชาติ” (กชช.) ซึ่งเปนองคกรประสานงาน

ระดับชาติที่มีการจัดโครงสรางการบริหารงานตั้งแตระดับชาติลงไปจนถึงระดับตําบล

การดําเนินงานในชวงนี้ทําใหเกิดการ ปรับปรุงทั้งแนวทางการบริหาร การพัฒนาระบบขอมูล

การ กําหนดนโยบาย การจัดสรรโครงการและการดําเนินโครงการพัฒนาชนบทในระดับตาง ๆ ซึ่ง

เปนจุดเริ่มตนของการดําเนินแผนงานโครงการอยางเปนขั้นตอนและตอเนื่องในแผนตอ ๆ ไป

Page 111: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

98

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 เริ่มใหความสําคัญตอการมีสวนรวม

การวางแผนจากระดับลาง มุงการกระจายรายไดและความเจริญเติบโตไปสูภูมิภาคและชนบท

มากขึ้นมีการขยายพื้นที่เปาหมายการพัฒนาชนบทเพื่อลดความยากจนใหครอบคลุมชนบท

ทั่วประเทศ โดยสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการแกไขปญหาของตนเองและชุมชนใหมากขึ้น

และใหความสําคัญกับการแกไขปญหาการผลิตดานเกษตรกรรมการสงเสริมการตลาด การจางงาน

เพื่อใหประชาชนมีอาหารเพียงพอตอการบริโภคมีรายไดเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันพยายามใหคนใน

ชนบทสามารถเขาถึงบริการพื้นฐานทางสังคมในการดํารงชีวิต และสามารถพึ่งพาตนเองใหไดมาก

ที่สุด นอกจากนี้ไดดําเนินการบริหารการพัฒนาชนบทที่เปนระบบมากยิ่งขึ้น มีการพัฒนาเครื่องมือ

ที่ใชในการ บริหารงาน เชน มีระบบขอมูล กชช. 2 ค และเริ่มใชระบบขอมูล จปฐ. และใชแผนพัฒนา

จังหวัดเปนเครื่องมือกระจายอํานาจใหจังหวัดกําหนดพื้นที่เปาหมายของตน เปนตน

มาถึงตรงนี้กลาวไดวาในระยะ 10 ป ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ฉบับที่ 5 ถึง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 (พุทธศักราช 2525-2535) นับไดวา

ไดมีการแปลงแผนและนโยบายที่เกี่ยวของกับการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคและชนบท

รวมทั้งการลด ความยากจนใหเกิดผลในทางปฏิบัติ เปนชวงที่หนวยงานตาง ๆ นําแผนไปใชในการ

ดําเนินงานเปนอยางมาก แมวานโยบายและการดําเนินงานยังคงมีลักษณะแยกสวนเปนรายสาขา

อยูมาก แตผลจากการวางรากฐานการแกไขปญหาทําใหเศรษฐกิจและสังคม ขยายตัวในระดับสูง

ชวยคลี่คลายปญหาทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีเรื้อรัง

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 จึงเริ่มมีแนวคิด “การพัฒนาอยาง

ทั่วถึง” ขึ้น มีการกําหนดวัตถุประสงคการพัฒนาที่มุงใหเกิดความสมดุลของการพัฒนาดานการ

เติบโตทางเศรษฐกิจกับการกระจายรายได และที่สําคัญไดมีการใหความสําคัญกับทางสังคมดังนี้

การพัฒนาทรัพยากรมนุษยคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม โดยไดกําหนดกลุมเปาหมายการกระจาย

รายได และกําหนดแนวนโยบายและมาตรการตาง ๆ ที่มีลักษณะผสมผสานในขณะเดียวกันมีการ

เชื่อมโยงระหวางสาขาและพื้นที่อยางเปนระบบชัดเจนขึ้น รวมทั้งการดําเนินยุทธศาสตรลดความ

ยากจนโดยใชนโยบายการกระจายรายไดและการกระจายผลการพัฒนาสูภูมิภาคและชนบท

ควบคูไปกับการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหมในภูมิภาค รวมทั้งการพัฒนาสิ่งแวดลอมและบริหาร

จัดการทรัพยากรธรรมชาติอีกทั้งยังเปนครั้งแรกที่ใหความสําคัญและเริ่มมีนโยบายในการพัฒนา

แกไขปญหาคนยากจนในเมือง เนนการเพิ่มรายไดและความมั่นคงทางอาชีพที่อยูอาศัย และการ

ยกระดับคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม ซึ่งสามารถผลักดันใหเกิดผลในทางปฏิบัติไดอยางเปน

รูปธรรม โดยคณะรัฐมนตรีไดอนุมัติ “โครงการพัฒนาคนจนในเมือง” พรอมทุนประเดิมจํานวน

1,250 ลานบาท เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2535 เปนผลใหมีการจัดตั้ง “สํานักงาน พัฒนาชุมชนเมือง

Page 112: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

99

(พชม.)” เปนหนวยงานพิเศษ สังกัดการเคหะแหงชาติ ดําเนินงานภายใตหลักการที่มีองคกร

ชุมชนเปนแกนหลักในการพัฒนา และมี กระบวนการออมทรัพยและสินเชื่อเปนเครื่องมือสนับสนุน

การพัฒนา ปจจุบัน (2549) พชม. เปลี่ยนเปนสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน อยูภายใต กระทรวง

พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

ในชวงปลายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 ไดเกิดวิกฤตการณ

ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ สถาบันการเงินภาคเอกชนลมละลาย คาเงินบาทลดลง ลูกจางใน

บริษัทเอกชนตองถูกใหออกจากงานจํานวนมากที่ไปมีผลตอสังคมไทยในชวงนั้นอยางมาก

นอกจากที่ไดสงผลทางเศรษฐกิจเองสถานการณเชนนี้ นักวิชาการ จํานวนมากวิเคราะหวา เกิด

จากยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไมสมดุล การมุงเนนพัฒนาเศรษฐกิจมากเกินไปกอใหเกิด

การเก็งกําไร เกิดชองวาง ระหวางเมืองกับชนบท ระหวางคนรวยกับคนจน คนสวนใหญไมไดรับ

ผลพวงจากยุทธศาสตรการพัฒนาเชนนี้

ชวงที่ 3 เนนคนเปนศูนยกลางของการพัฒนาและเศรษฐกิจ พอเพียง เปนชวงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ฉบับที่ 9 และฉบับที่ 10

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที 8 นับเปนจุดเปลี่ยนแนวคิดและ

กระบวนทัศนการพัฒนาประเทศที่เนน “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” และใชเศรษฐกิจเปน

เครื่องชวยพัฒนาใหคนมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พรอมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนา

แบบแยกสวน มาเปนบูรณาการแบบองครวมมีกระบวนการพัฒนาที่เชื่อมโยงกันในทุกเรื่อง และ

เปดโอกาสใหทุกฝายใน สังคมมีสวนรวมในทุกขั้นตอนของการพัฒนา นอกจากนี้ยังเปนแผนแรกที่

ไดกําหนดแนวทางการแปลงแผนไปธุรการปฏิบัติที่ยึดหลักการพื้นที่ ภารกิจ และการมีสวนรวม

(Area Function-Participation: AFP)

การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศนในการพัฒนาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติฉบับ ที่ 8 เปนผลจากการพัฒนา ในชวง 7 แผนในระยะเวลากวา 3 ทศวรรษที่ผานมา ที่

สรุปไดวา “เศรษฐกิจดี สังคมมีปญหาการพัฒนาไมยั่งยืน” การเรงรัดพัฒนาเศรษฐกิจตลอด

ระยะเวลาที่ผานมาทําใหทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม เสื่อมโทรมลงเปนลําดับซึ่งเปน

การพัฒนาที่ไมไดคํานึงถึง ตนทุนและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม มองขาม

คุณคาของความเปนคน ละเลยภูมิปญญา และวิถีชีวิตความเปนอยูบนพื้นฐานของความเปนไทย

ยอมจะสงผลตอการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคตไดตอไป

กลยุทธการลดความยากจนในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8

จึงแตกตางไปจากอดีตที่ผานมาโดยในแผนนี้ไดกําหนดกลยุทธการพัฒนาอยางเปนองครวม และ

มีเปาหมายชัดเจนที่มุงจะลดความยากจนทั้งในเมืองและชนบท ทั้งเมืองมาจากการมองปญหา

Page 113: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

100

ความยากจนในชวงนี้มิไดพิจารณาเฉพาะความขัดสนดานรายได แตมองครอบคลุมถึง

ความยากจนในเชิงโครงสรางที่ เกิดจากความขัดสนในหลาย ๆ ดาน ที่มีผลทําใหคนขาดศักยภาพ

ในการดํารงชีวิต โดยคนสวนใหญขาดการศึกษาหรือไดรับการศึกษานอย ขาดที่ทํากิน หรือมีที่ทํา

กินขนาดเล็ก ขาดการรวมกลุม และขาดขอมูลขาวสารความรู เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ ขณะที่มี

ภาระการพึ่งพิงสูง และไมสามารถเขาถึง บริการของรัฐและความชวยเหลือตาง ๆ ของรัฐ ยกเวน

บริการดานสุขภาพที่ นับวาผลสําเร็จอยูในระดับคอนขางดี

กลยุทธการลดความยากจนของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8

ดังกลาว หากสามารถดําเนินการไดตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่ตั้งไว ก็จะสงผลตอการลด

ความยากจนลงได แตเมื่อเริ่มใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ก็ไดเกิดปญหาวิกฤติ

เศรษฐกิจทําใหปญหาความยากจนกลับเพิ่มพูนอีกครั้งหนึ่ง โดยในชวงสิ้น แผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 มีสัดสวนคนจนรอยละ 11.4 ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีจํานวน

6.8 ลานคน แตหลังจากวิกฤติเศรษฐกิจ สัดสวนคนจนกลับ เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 15.9 คิดเปนคนจน

9.9 ลานคนในป 2542 โดยคนจนสวน ใหญรอยละ 69 ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม

จากวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ทําใหตองปรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ฉบับที่ 8 ใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป เปลี่ยนวิกฤตที่เกิดขึ้นใหเปนโอกาส

ในการสรางความเขมแข็งของชุมชนและเครือขาย ประชาสังคม โดยผานกระบวนการพัฒนาแบบมี

สวนรวมของชุมชนสงผลใหชุมชนและ ประชาคมในระดับตาง ๆ ไดมีโอกาสเพิ่มพูนศักยภาพ

ในการเรียนรูและเลือก ตัดสินใจหาแนวทางแกไขปญหาที่เหมาะสมสอดคลองกับศักยภาพของ

ตนเองมากยิ่งขึ้น

สวนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 เปนแผนยุทธศาสตรที่เนนให

เกิด “การพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย” โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาแบบ

องครวมและการพัฒนาอยางมี “ดุลยภาพ” ทั้ง ดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดลอม

เพื่อใหคนในสังคมมีความสุขถวนหนา สามารถพึ่งตนเอง และกาวทันโลก โดยยังคงรักษา

เอกลักษณของความเปนไทย จึงกําหนดเปาหมายการพัฒนาประเทศใหมจากเดิมที่มุงสราง

ความร่ํารวยดวยการเติบโตทางเศรษฐกิจเปนหลักไปสูการพัฒนาประเทศที่มีรากฐานที่ เขมแข็ง

มีการกระจายผลประโยชนไดอยางทั่วถึง สามารถแกปญหาความยากจนและกระจายรายได

รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถและโอกาสในการพึ่งตนเอง พรอมทั้งยกระดับรายไดและคุณภาพชีวิต

ของคน สวนใหญของประเทศ จุดเดนของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 คือ

การนํา “ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” มาเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศเพื่อสรางความเชื่อมโยง

ระหวางเศรษฐกิจมหภาคและเศรษฐกิจชุมชนใหเกื้อกูลกันจากการที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงโดยมองแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

Page 114: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

101

แหงชาติ ขางตนกลาวไดวาไดทําให เริ่มเปดกวางที่นําไปสูการเคลื่อนที่ทางสังคม (Social

Mobility) เปดโอกาสใหคนที่มีภูมิหลังที่จัดวาอยูในชนชั้นต่ํา เชน กรรมกรและชาวนาชาวไร

สามารถเปลี่ยนมาเปนบุคคลที่มีวิชาชีพใหม เชน อาชีพแพทย นักกฎหมาย นายชาง เปนตน เกิด

การขยายตัวของชุมชน

ขอสังเกตวาการขยายตัวของชุมชนเมืองดังกลาวสวนมากมักเปนการขยายตัว ในเขต

เทศบาลทั่วประเทศ และเขตนครหลวงอันไดแกกรุงเทพมหานคร ซึ่งกลาวกันวาผลของการพัฒนา

ตามแผนพัฒนาฯ ขางตน นอกจากทําให กรุงเทพมหานคร และเมืองในเขตเทศบาลขยายตัวแลว

ยังทําใหไดรับประโยขน จากการพัฒนามากที่สุดจากการสํารวจการตลาดในป 2529 พบวา

ครอบครัวที่มีรายไดต่ํากวา 2,000 บาทตอเดือน อยูในเขตชนบทของตางจังหวัดถึงรอยละ 56 ซึ่ง

เปนอัตราสวนที่สูงกวาที่เปนอยูในป 2525 ที่ในปนี้ครอบครัวที่มีรายไดต่ํากวา 2,000 บาทตอเดือน

มีอยูในชนบทเพียง รอยละ 51 ตรงนี้แสดงใหเห็นถึงสังคมที่แตกตางระหวางเมืองกับชนบท อัน

เนื่องมาจากการพัฒนาเปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตน

ดังนั้น ในกรณีของสังคมเมืองโดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร นอกจากจะมีการขยายตัว

ของชุมชนเปนแหลงที่คนในชนบทยายถิ่นเขามาอยูอาศัย เพี่อหางานทําแลว ยังเปนศูนยกลางของ

ความเจริญในทุก ๆ ตาน ไมวา จะเปนดานเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา แหลงทองเที่ยว เกิด

การพัฒนาดาน ธุรกิจอุตสาหกรรมที่ทําใหเกิดอาชีพใหมทางดานบริการ ทําใหกรุงเทพมหานคร

ขยายตัวขึ้นเรื่อย ๆ เกิดปญหาประชากรแออัด ทําใหรัฐบาลตอง มีการพัฒนาเมืองหลักในภูมิภาค

เกิดขึ้น

ในภาพรวม ผลของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ทําใหคน ในสังคมเมือง

ไดรับประโยชนไมวาจะเปนดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือดานอื่น ๆ ในสวนของการ

เปลี่ยนแปลงทางสังคม ผลของการพัฒนา เปลี่ยนแปลงดังกลาวทําใหเกิดการขยายตัวของชุมชน

เมือง อันเปนผลมาจากการเพิ่มของประชากร โดยเฉพาะการยายถิ่น ทําใหเกิดความแออัดและ

มีปญหาอื่น ๆ ตามมา

ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมดังกลาวไดทําใหเกิด กลุมอาชีพใหม ๆ

ที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงทางชนชั้น เชน จากชนชั้นลาง มาเปนชนชั้นกลางที่ประกอบไปดวย

ผูปฏิบัติงานที่ใชวิชาชีพและวิชาการ เชน แพทย ทนายความ พอคา นักธุรกิจ เจาของรานคาขนาด

กลางและ ขนาดยอมในเขตสังคมเมือง เจาหนาที่ของฝายบริหารระดับกลางของธนาคาร และ

ธุรกิจเอกขน รวมทั้งขาราชการระดับลาง

ในป 2503 ซึ่งเปนปกอนที่มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับแรก

มีชนชั้นกลางเพียง 174,000 คน มาในป 2513 เพิ่มเปน 284,000 คน ในป 2530 มีชนชั้นกลาง

Page 115: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

102

ไดแกบุคคลผู เปนสมาชิกครอบครัว ที่มีรายไดระหวาง 8 ,000 - 14 ,999 บาทตอเดือน

ในกรุงเทพมหานคร 1,800,000 คน ในจํานวนนี้เปนคนหนุมสาว วัยระหวาง 25 - 35 ปที่ อาจเรียก

ไดวาเปนชนชั้นกลางสมัยใหม ประมาณ 1,200,000 คน ในป 2538 ไดมีการสํารวจพบวา ชนชั้น

กลางในกรุงเทพมหานคร คือกลุมที่มีรายไดเดือนละ 17,500 - 34,999 บาท ในกลุมนี้มีคนอายุ 25

- 30 ป ถึง 704,000 คน ในจํานวน 2,013,000 คน และถาใชเกณฑรายไดระหวาง 8,000 - 14,999

บาทตอครอบครัว จะมีคนในกรุงเทพมหานคร ถึงเกือบ 2 ลานคนที่มีรายไดตอ ครอบครัวอยูใน

เกณฑนี้ ชนชั้นกลางเหลานี้เปนกลุมประชากรที่มีศักยภาพ ทางการเมืองสูง วัฒนธรรมทาง

การเมืองของชนชั้นนี้เปนวัฒนธรรมที่ เกี่ยวโยงกับเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคมเปนหลัก ชนชั้นนี้

โดยทั่วไปเริ่ม ปรากฏตัวขึ้นพรอม ๆ กับการเขามามีบทบาทของระบบเศรษฐกิจแบบ ตลาดใน

สังคมไทย

ชนชั้นกลางเหลานี้มักจะมีคนหนุมสาวที่เปนครอบครัวเล็ก ๆ ทํางานทั้ง 2 คน มี

การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา มีลักษณะ เปนคนทันสมัย ในแงความคิดไดรับอิทธิพล

จากวัฒนธรรมตะวันตก

นอกจากนี้คนเหลานี้ยังชอบเดินทางทองเที่ยวชอบอานหนังสือ ฟงวิทยุ ดู โทรทัศน

ติดตามขาวสารบานเมือง เปนตน (ชัยอนันต สมุทรวาณิช, 2538)

อยางไรก็ตาม ตามความเปนจริงแลวการขยายตัวของชนชั้นกลาง ในยุคนี้คือ ยุค

กอนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับแรก แมดานหนึ่งพวกเขาถูกพิจารณาวาเปน

ผลผลิตของกระบวนการพัฒนา ระบบทุนนิยมเปนกลุมชนที่หลากหลาย ดํารงชีวิตอยูทามกลาง

พลังตลาด โดยมีกฎหมายหรือสัญญาเปนเครื่องผูกมัดพันธะที่มีตอกัน

แตในอีกดานหนึ่งพวกเขากลับถูกพิจารณาวาเปนกลุมชนมี บทบาทตอการสราง

ความเจริญทางเศรษฐกิจและสงเสริมการแพรกระจาย ของวิถีชีวิตแบบทุนนิยมเพราะพวกเขาเปนกลุมที่ตองควบคุมการดําเนินไปของระบบ เศรษฐกิจ การเติบโต

ของกิจการตาง ๆ จะขาดพวกเขาไมได เนื่องจากพวกเขาเปนกลุมที่มีความรูความชํานาญในดาน

การผลิตและการตลาด รวมถึงการนํานวัตกรรมใหม ๆ ที่ปรากฏขึ้นมาใชในสังคมไทย (ศิริพร

ยอดกมลศาสตร, 2538) ในสวนของความผูกพันระหวางชนชั้นกลางกับระบบเศรษฐกิจ ปรากฏวา

ความผูกพันดังกลาวไดเขามาบดบังบทบาททางการเมืองของ พวกเขาในระหวางนี้แมแตในชวงป

2522 - 2531 ซึ่งเปนยุคแหงความเฟองฟูของการเลือกตั้งปญญาชน ทั้งนักวิชาการนักเขียน

นักหนังสือพิมพและชนชั้นกลางกลุมอื่น ๆ ตางก็ใหความสนใจกับความกาวหนาทางเศรษฐกิจ

การรวมกลุมของชนชั้นกลางในชวงนี้สวนใหญก็เปนไปเพื่อสรางขอเรียกรองทางเศรษฐกิจ เพื่อ

การขึ้นเงินเดือนหรือสวัสดิการทางสังคมตาง ๆ เปนสําคัญ

ในขณะที่กลุมนิสิตนักศึกษาซึ่งเคยมีบทบาทในยุคประชาธิปไตยเบงบานในชวง 3 ป

Page 116: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

103

หลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ก็ออนพลังลง

ในแงดังกลาวจึงไมนาแปลกใจเลยที่การกลาวถึงชนชั้นกลางระหวางนี้จะมองเห็น

เพียงศักยภาพของพวกเขาในฐานะผูซื้อรุนใหมที่มีกําลังซื้อสูงและมีรสนิยมแบบใหม ๆ ในสายตา

ของบรรดานักวิจัยทางการตลาดเทานั้นและการเปลี่ยนแปลง สังคมดังกลาวทําใหชนชั้นกลางเขามี

พฤติกรรมทางการเมือง

อยางไรก็ตาม ในชวงเวลาตอมาชนชั้นกลางไดกลับมาแสดงบทบาททางการเมืองอีก

ตอง เริ่มจากการแสดงความรูสึกเบื่อหนายกับสภาพทางการเมืองที่เต็มไปดวยเรื่องคอรรัปชั่น

การทะเลาะวิวาทแยงชิงอํานาจและผลประโยชนกันอยางไมมีวันสิ้นสุดของนักการเมืองและ

การแสดงความไมพอใจกับการเมืองระบอบประชาธิปไตยที่เปนอยู จนกระทั่งเกิดขบวนการ

“คุณธรรมนําการเมือง” ขึ้นมาเปนทางเลือกใหมในสังคม

นอกจากนี้ การขยายตัวของระบบทุนนิยมไดสงผลใหชนชั้นกลาง (โดยเฉพาะกลุม

นักลงทุนในตลาดหลักทรัพย) ตระหนักถึงความสําคัญของความมั่นคงทางการเมืองที่มีผลกระทบ

ตอระบบเศรษฐกิจ และยอมรับวาการรับรูขาวสารขอมูลทางการเมืองเปนสิ่งจําเปน

ดังนั้น พวกเขาจึงกลายมาเปนผูสนใจการเมืองอยางไมรูตัว และนี่คือการเปลี่ยนแปลง

และนี่คือการเปลี่ยนแปลงบทบาทอยางสําคัญของชนชั้นกลางในทศวรรษหลังนี้

อยางไรก็ตาม ผลสืบเนื่องจากความไมพอใจระบอบการเมืองที่ ดํารงอยู กอปรกับ

ปญหาทางเศรษฐกิจในชวงหลัง ทําใหชนชั้นกลางจํานวนหนึ่งตัดสินใจเขารวมการชุมนุม ในเดือน

พฤษภาคม 2535 แมการเขารวมเหตุการณครั้งนี้จะไมสามารถชี้ชัดถึงเจตนารมณของชนชั้นกลาง

ทั้งหมด แตก็อาจถือไดวานี่เปนปรากฏการณครั้งสําคัญในประวัติศาสตรไทย เพราะเหตุการณครั้ง

นี้ไดทําใหมีการรวมตัวเพื่อสรางขอเรียกรองทางเศรษฐกิจ การเมืองรวมกันของชนชั้นกลางทุกกลุม

เปนครั้งแรก

กลาวคือ ขณะที่กลุมพอคา (รายยอย) ซึ่งไมเคยแสดงบทบาท ทางการเมืองรวมกับ

ชนชั้นกลางกลุมอื่น ๆ ไดกลายมาเปนผูเขารวมการ ชุมนุมที่มีปริมาณคอนขางมาก ถึงแมพวกเขา

จะเขารวมชุมนุมเฉพาะใน เวลาเย็นและกลับไปในตอนดึก แตดวยเหตุที่คนกลุมนี้มีกําลังทรัพย

และ กําลังสติปญญา ทําใหการสรางขอเรียกรองสามารถขยายวงออกไปไดอยางกวางขวางชนชั้น

กลางกลุมอื่นก็มีการแสดงออกในรูปแบบที่แตกตางกันออกไป

ในการเขารวมในการชุมนุมดังกลาวของชนชั้นกลางจะกระทําดวยเหตุผลที่แตกตาง

หลากหลาย แตอยางนอยพวกเขาก็มีเปาหมายรวมกันในการตอตานอํานาจรัฐเผด็จการ (โดย

ทหาร) ที่อาจยอนกลับมา อัน เปนการแสดงใหเห็นชัดวา ชนชั้นกลางมีความตองการระบบ

เศรษฐกิจ เสรีการเมือง ประชาธิปไตย (ในรูปแบบ) เพื่อทําใหระบบทุนนิยมที่กําลัง ชะลอตัวลง

Page 117: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

104

สามารถขับเคลื่อนไปไดดังเดิมภายใต “ความสงบทางการเมือง” ในระบอบประชาธิปไตย

ภายหลังเหตุการณในเดือนพฤษภาคม 2535 ชนชั้นกลางเริ่มถูก กลาวขานวาเปน

กลุมผูที่มีอํานาจทางเศรษฐกิจและทางเมืองอยางแทจริง บางแนวคิดถึงกับเชื่อวาชนชั้นกลางเปน

ชนชั้นที่ยึดถือทางเดินที่เปนกลาง และประนีประนอมมากกวาชนชั้นอื่น ๆ ทําใหการแสดงออกของ

ชนชั้นนี้ กลายเปนเครื่องตัดสินและชี้ทางออกใหกับปญหาในสังคมไดอยางถูกตอง

ขณะที่บางแนวคิด แมยอมรับวาชนชั้นกลางสามารถเขามา ครอบครองอํานาจที่

แทจริง (โดยมิไดใหทหารเปนตัวแทนในการปกครองอีกตอไป) แตอํานาจก็จะหมุนเวียนอยูในกลุม

ชนชั้นกลางซึ่งจะตอสูแยงชิงการเปนใหญกันเองตอไปการชี้ทางออกของสังคมยังตองอาศัยสมาชิก

ของชนชั้นลางในกลุมกรรมกรและชาวนาชาวไรซึ่งจะลุกขึ้นมาขับไลชนชั้นกลาง ออกไปอีกระลอกหนึ่ง

จะเห็นไดวาการพิจารณาทั้งสองแนวทางตางยอมรับ วาชนชั้นกลางไดปรากฎตัวและมีบทบาทนํา

ในสังคมไทย โดยมิไดกลาวถึง แมแตนอยวาอํานาจทางเศรษฐกิจและการเมืองของชนชั้นกลาง

ที่แทเปน อยางไรกันแน

อยางไรก็ตาม แมชนชั้นกลางสามารถแสดงอํานาจทางเศรษฐกิจการเมือง และสังคม

แตภาพลักษณการแสดงออกทางการเมืองของพวกเขามีลักษณะไมมั่นคงทางหนึ่งแสดงใหเห็น

ความตองการประชาธิปไตยในระบบรัฐสภามีการเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนฝาย

จัดตั้งและควบคุมรัฐบาลแตอีกดานหนึ่งกลับมีใจเผื่อแผแกคนดีซึ่งไมไดลงเลือกตั้งและมักพัวพัน

อยูกับระบบราชการ เพราะอยากใหคนเหลานี้เขามาคุมสมาชิกสภาผูแทนราษฎรอีกทีหนึ่ง

ยิ่งกวานั้นบางครั้งก็ยอมรับระบบเผด็จการทหารดวยความยินดี การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ

ระบบเศรษฐกิจระบบสังคมและโดยเฉพาะการเมืองที่มีรูปแบบหลากหลายเชนนี้ แมจะมิใชเรื่อง

แปลกใหมในประวัติศาสตรของชนชั้นกลาง แตการที่ชนชั้นกลาง (กลุมแนวคิดเสรีผูซึ่งแตเดิมไม

เคยแสดงความคิดเห็นขัดแขงกับฝายอนุรักษ) ใหการสนับสนุนฝายแนวคิดประชาธิปไตยอยาง

ออกนอกหนาในชวงหลังเหตุการณพฤษภาคม 2535 ยอมสามารถใชเปนเครื่องทํานายแนวโนม

ของระบบสังคมเศรษฐกิจการเมืองไทยในอนาคตไดเปนอยางดี

จากที่กลาวขางตน สรุปไดวา การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทยที่ เกิดขึ้นทั้งในสังคม

ชนบทและในสังคมเมองเปนผลของการพัฒนาตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ตั้งแตฉบับที่หนึ่งเปนตนมา ทําใหประชากรจํานวนเพิ่มขึ้น ทําใหเกิดการขยายตัวของชุมชนหรือ

สังคมเมือง เกิดกลุมอาชีพใหมในสังคมไทยที่สําคัญ ไดแก กลุมธุรกิจ กลุมนิสิตนักศึกษา กลุมผูใช

แรงงานเปนตน

ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมดังกลาวทําใหเกิดกลุมอาชีพใหมดังได

กลาวมาที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงทางชนชั้นจากชนชั้นลางมาเปนชนชั้นกลาง

Page 118: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

105

คําถามมีวา ทําไมจึงเกิดชนชั้นกลางเหลานี้ขึ้น คําตอบอธิบายไดวาสังคมเมือง

มีการพัฒนา มีการเปลี่ยนแปลง เปนสังคมสมัยใหมมากขึ้น โครงสรางทางสังคม เศรษฐกิจ

การเมือง มีความยุงยากสลับซับซอน ขณะเดียวกันจะมีความหลากหลายในผลประโยชนทําให

นําไปสูการมีความขัดแยงในผลประโยชนมากขึ้น ประกอบกับการที่มีการขัดแยงตอสูแขงขันกัน

ในทางเศรษฐกิจการเมืองที่ไดขยายตัวและมีความรุนแรงมากขึ้น ทําใหมีการเกิดขึ้นภายใต

เงื่อนไขความสลับซับซอนของสังคมสมัยใหม

ในดังกลาวจะเห็นไดวา หากจะมีคําถามการกอเกิดและบทบาทหนาที่ของกลุมตาง ๆ

รวมทั้งกลุมชนชั้นกลาง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพจึงขึ้นอยูกับปจจัยใดคําตอบตอบไดวา

เพราะการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่กาวมาเปนสังคมเมืองหรือสังคมสมัยใหมมาก

มีมากเพิ่มขึ้น

กลาวอีกนัยหนึ่ง ปริมาณและคุณภาพของกลุมตาง ๆ ขึ้นอยูกับระดับการพัฒนา

สังคม เศรษฐกิจ การเมือง กลาวคือ การพัฒนาหรือการเปลี่ยนแปลงทางสังคมยังไมกาวหนา

ยังไมทันสมัยคือยังเปนเรื่องของการเกาะติดอยูกับแนวคิดดานบุคคลความสัมพันธสวนตัวบุคคล

เปนอยางมากโอกาสของการเกิดกลุมตาง ๆ รวมทั้งบทบาทของกลุมจะมีนอยของความขัดแยง

ดังกลาว

แตในกรณีของสังคมไทย แมสังคมจะมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงมากขึ้นกวาเดิม

แตมีขอสังเกตวาในระยะแรก ๆ กลุมตาง ๆ รวมทั้งชนชั้นกลางที่เกิดขึ้นยังคงมีลักษณะเกาะติดอยู

กับแนวคิดดานบุคคลและความสัมพันธสวนบุคคล

ดังนั้น กลุมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นระยะแรก ๆ จึงยังมีลักษณะของความไมเขมแข็งแตมา

ในระยะหลังกลุมตาง ๆ มีหลากหลายกลุมรวมทั้งกลุมชนชั้นกลางมีการพัฒนา

ขณะเดียวกันมีความแตกตางหลากหลายทางสังคมของชนชั้นวิชาชีพของ

กลุมวิถีชีวิต สังคมไทยเกิดภาวะที่เราเรียกวามีความเปนพหุสังคมพหุวัฒนธรรมที่ปรากฏชัดเจน

ขึ้นโดยเฉพาะหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ซึ่งเราอาจสรุปความเปนพหุวัฒนธรรม

ในสังคมไทยไดดังตอไปนี้ (ธีรยุทธ บุญมี, 2548)

พหุลักษณ (Plurality) ทางความคิด ปรากฏชัดหลัง 14 ตุลาคม 16 แตมาขยายตัว

กวางขวางในรูปการตอสูของ NGOs กลุมสิทธิ กลุมสตรี กลุมอนุรักษสภาพแวดลอมในราว

ชวงหลังป 2525 เปนตนมา แตมาเกิด เปนพหุนิยม คือการยอมรับความตาง การดํารงอยูของ

สวนที่ตางก็ในชวงการปฏิรูปการเมืองในป 2540 นี้เอง และยังไมอยูในลักษณะพหุนิยมเต็มที่นัก

คือระดับการเคารพและอดกลั้นซึ่งกันและกันยังไมสูงนัก

พหุลักษณทางดานสังคม คือ ความตางในคนทองถิ่นตาง ๆ อาชีพ ชุมชน เมืองตาง ๆ

Page 119: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

106

เริ่มปรากฏกวางขวางตั้งแตตนสมัยจอมพล สฤษดิ์ และขยายตัวมากขึ้นโดยเฉพาะในลักษณะ

อาชีพตลอดมาแตคอย ๆ มา เกิดพหุนิยม คือการยอมรับในความตาง อดกลั้นตอความตาง กระทั่ง

ชื่นชมตอความตางทางวัฒนธรรม เริ่มจากการสรางความนาตื่นตาตื่นใจ Exoticization ของ

อาหารปา อาหารอีสานในราว พุทธศักราช 2510 จนอาหารปา อาหารอีสาน อาหารปกษใต

อาหารเหนือกลายมาเปนสวนหนึ่งของ อาหารคนเมือง เปนพหุวัฒนธรรมในดานอาหารทุกภาค

ในชวงทศวรรษ 2530 เชนเดียวกับพหุวัฒนธรรมของอาหารนานาชาติ เชน ญี่ปุน อเมริกัน เม็กซิโก

อินเดีย ก็เกิดจากกระแสโลกาภิวัตนในชวงใกล ๆ กันนี้

กระบวนการยอมรับความตางทางชาติพันธุจีน-ไทย ปรากฏ ในชวงราวป 2510 เปน

ตนมา ในแงความสําเร็จทางธุรกิจ แตยังมีเสนแบง ความตางทางชาติพันธุจีน-ไทย แตความตาง

ดังกลาวระหวางจีน-ไทย หายไปประมาณป 2525 ซึ่งนักธุรกิจ ชนชั้นกลาง นักวิชาชีพเชื้อสายไทย-

จีนเปน Role-Model ความสําเร็จในแงตาง ๆ การยอมรับพระเอก นางเอกที่มีหนาตาแบบจีน เชน

ฉัตรชัย เปลงพานิช เพ็ญ พิสุทธิ์ อรพรรณ พานทอง โจ-เจ วรรธนะสิน ก็เกิดขึ้นในชวงหลังจากนั้น

ไมนานจน ทศวรรษปจจุบันก็มีการยอมรับความงาม ความสวยแบบทุกชาติพันธุการ แตงงาน

ระหวางราชนิกูลกิติยากรกับจิราธิวัฒนก็สะทอนการยอมรับความ ตางในชาติพันธุอยางชัดเจน

ความแตกตางในรสนิยม การแตงตัว วิถีชีวิต เกิดชัดเจนจากการเคลื่อนไหวของ

นักศึกษา ปญญาชน โดยผานอิทธิพลร็อกแอนดโรล และฮิปปในทศวรรษ 60s และ 70s มา

ขยายตัวชัดเจนในชวงที่มีการใชคํา Lifestyle อยางกวางขวางในราวป 2530 เปนตนมา ซึ่งบงถึง

การยอมรับใน ลักษณะพหุนิยมดวย รวมหนึ่งทศวรรษมาแลวที่คนไทยไมกังวลตอการ แตงตัวของ

วัยรุนชีวิตเกย เลสเบี้ยน การอยูกันโดยไมแตงงาน การยอมรับ ความเทาเทียมของสตรี ฯลฯ

ชัดเจนมากขึ้นตั้งแตชวงนี้เปนตนมา

จากที่กลาวมาขางตนแสดงใหเห็นวา สังคมและการเมืองไทย กําลังกาวเขาสู

ความเปนพหุสังคม พหุวัฒนธรรม หรือการมีความหลากหลาย ทั้งในทางอํานาจ ความเชื่อ

ความคิด รสนิยมความงาม วิถีชีวิต ฯลฯ มากยิ่งขึ้น ลักษณะความหลากหลายดังกลาวมีจุดแข็ง

หลาย ๆดาน เชน เปนที่มาของพลังความคิดสรางสรรค (Creativity) การยืดหยุน อดกลั้น ปรับตัว

และเปนที่มาของคุณคาเพิ่มในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองดวย อยางไรก็ตาม มีขอสังเกตในประการแรกก็คือ พหุนิยมที่กลาวมาขางตน ก็เปนภาระที่หนักอึ้งในทางสังคมและการเมืองที่

จะตองยอมรับ คานิยมหลักการใหม ๆ ที่อดกลั้น เปดกวาง อาศัยการปรึกษาหารือมากกวาการใช

อํานาจในการแกปญหาและการจัดการ ขอสังเกตประการที่สอง ก็คือ ลักษณะวัฒนธรรมไทย มี

ความหลากหลายเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันมีสภาพหรือมีสภาวะดังตอไปนี้ (ธีรยุทธ บุญมี, 2548)

การแบงชั้นเหยียดหยามระหวางวัฒนธรรมสูง-ต่ําลดลง เมื่อมีการใสใจความรู

Page 120: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

107

ทองถิ่น ทําใหเริ่มมีการรณรงคในเรื่องการอนุรักษศิลปะ พื้นบาน งานหัตถกรรม ที่เห็นไดชัดเจนคือ

การประกาศเชิดชูศิลปนแหงชาติในสาขาศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น ตั้งแตป 2529

วัฒนธรรมชาวบาน วัฒนธรรมพื้นถิ่นไดรับการยกยอง มีพื้นที่มากขึ้น เพราะ

วัฒนธรรมเหลานี้เปนตัวแสดงออกถึงความหลากหลายทาง วัฒนธรรมอยางไมแหงแลงตายตัว

ทําใหเกิดการนําไปประยุกตใชจนเกิดความนิยมในเวทีสาธารณะมากขึ้น ดังกรณีความนิยม

ในอาหารทองถิ่น เชน สมตํา ไกยาง น้ําพริกหนุม ขาวซอย ฯลฯ ที่เริ่มเกิดขึ้นในชวงหลังป 2500

เปนตนมา และในป 2543 KFC เลย เชสเตอรกริลล ฯลฯ ไดนําเมนู อาหารเหลานี้เปนเมนูหลัก

ในการนําเสนอ เชน ไกแซบ ลาบไก หรือเลย สยามคลาสสิก

การกระจายอํานาจวัฒนธรรมเชิงพื้นที่และกลุมชาติพันธุ ดีขึ้น ซึ่งเกิดจากการสลัด

ความเปนศูนยกลางที่กรุงเทพมหานครทิ้งไป และใสใจ ในเรื่องราวหรือตัวตนของประวัติศาสตร

ทองถิ่น ศาสนา และประเพณี จนมีการรื้อฟนและสรางตัวตนขึ้นมาใหม ไมวาจะเปนพิพิธภัณฑ

จาทวี พิพิธภัณฑซาไก พวน โซง จนรวมไปถึงการจัดรายการวิทยุเปนภาษา ทองถิ่น ปกาเกอญอ

มง แตที่ยังขาดคือการใสใจกับวัฒนธรรมประเพณีของ มุสลิม ภาษายาวี หรือเพลงยาวีที่นิยม

ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต คือ ดะห กําปงปแช และบาดูริง

ความสูงต่ําของวัฒนธรรมตะวันตก-ไทยลดลง เห็นไดจากการไมเกรงกลัวภาษาของ

ตะวันตกจนเห็นภาษาอังกฤษเปนเรื่องธรรมดา วัฒนธรรมฝรั่งก็ถูกมองเปนของธรรมดามากข้ึน

ชนชั้นลาง ชาวบานเริ่มมีพลังตอรองกับรัฐหรือชนชั้นสูงกวามากขึ้นซึ่งสืบเนื่องมาจาก

ตัวตนที่เดนชัดและความรูทองถิ่นที่มีการใสใจมากขึ้นนั่นเอง ทําใหเกิดการตอรองในพื้นที่

สาธารณะมีมากขึ้นดวย เชน การ ตอรองในเรื่องของการจัดการทรัพยากรโดยชุมชน หรือการตอรอง

ของ ชาวบานในประเด็นการมีสวนรวมและการแสดงความคิดที่แตกตางในการ วางแผนงาน

ดังกรณีของโครงการอนุรักษและพัฒนากรุงรัตนโกสินทร

วัฒนธรรมเปนเครื่องบงชี้พลังสรางสรรคของสังคม โดย เปรียบเทียบชนชั้นกลางลาง

และชนชั้นลางไทยมีพลังสรางสรรคมากกวา ชนชั้นอื่น ๆ โดยสามารถแจกแจงไดดังนี้

(1) ชวงตั้งแตป 2500 - 14 ตุลาคม 2516 ขาราชการ เทคโน- เครตที่มาจากชน

ชั้นสูงเปนกลุมนําทางความรูและความคิด ทวาตั้งแต หลังยุค 14 ตุลา จนถึงปลายยุคนายชวน

หลีกภัย ชนชั้นกลางไดเขามามี บทบาทแทนแตปจจุบันกําลังตกยุคขาราชการเริ่มถดถอย ชนชั้น

กลาง กลายเปนชนชั้นบริโภคแตขาดความกาวหนา ในขณะที่นายทุนกลุมเทคโนโลยีการสื่อสาร

บันเทิง” และกลุมเก็งกําไร ผูนําทางเศรษฐกิจกาวเขา มาเปนผูนําความคิดและการเมืองนาจะอยู

ตอไปอีกนาน

(2) ชนชั้นกลางมีการศึกษาตามระบบ มักเปนมืออาชีพหรือ มนุษยเงินเดือนใหกับ

Page 121: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

108

กลุมทุน แตเราจะเห็นความแปลกใหม สรางสรรคจากชนชั้นกลางระดับลางที่ไมประสบ

ความสําเร็จจากการศึกษาในระบบ เชน การคารายยอย ของที่ระลึก ของประดับ ซึ่งการสรางสรรค

ใหมเหลานี้ได กลายเปนอุตสาหกรรมใหญโตตอมา เชน การนวดอโรมาสมุนไพร ผลิตภัณฑ

เกี่ยวกับความงาม จนรวมไปถึงอาหาร ขนมที่หลากหลาย เชน ขนมเปยะ โรตี น้ําพริก ไวน เปนตน

(3) ชนชั้นลางกาวหนามากขึ้น เพราะเกิดจากการสะสมประสบการณทําใหมีพลังใน

การดิ้นรน สรางสรรค ยุทธวิธีและการตอรอง เพื่อให ตัวเองอยูรอดหรือมีศักดิ์ศรีเทาเทียมกับชนชั้น

ที่สูงกวา

(4) การเกิดความนิยมวัฒนธรรมหลาย ๆ ชาติพันธุ (Multi Culturalism) และ

มีแนวโนมที่ดีและยอมรับซึ่งกันและกันมากขึ้น เชน การ ยอมรับเพลงหมอลําที่เริ่มเกิดขึ้นตั้งแต

ป 2525 การยอมรับอารยธรรมทองถิ่นของชุมชนประวัติศาสตรตาง ๆ ในการสรางความเปน

อนุสรณสถาน ของพื้นที่ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชวงป 2530 - 2540

ในปจจุบันจะเห็นไดวาสังคมกําลังเปลี่ยนแปลงไปจากยุคที่ไมมีความสลัลซับซอนใน

อดีตมาเปนสังคมที่มีความวุนวาย จากความเรียบงายกลายเปนสังคมที่ไรระเบียบ โดยเฉพาะคน

ในสังคมตองยอมรับการอยูรวมกัน เรียกไดวาเปนยุคสังคมขาวสารขอมูลซึ่งเปนรูปแบบของสังคม

สมัยใหมนั้นกําลังอยูในกระแสโลกาภิวัฒน เพราะความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ

(Information Technology) ที่มีการสื่อสารกันไดอยางรวดเร็วมากยิ่งขึ้นโดยผานระบบ

คอมพิวเตอรดวยการใชอินเตอรเน็ต เชนการรับสงขอมูลขาวสาร การสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส

(E-mail) รวมไปถึงการสื่อสารผานระบบ Social Network

สังคมยุคขอมูลขาวสารนั้น เปนสังคมที่มีการใชสารสนเทศรูปแบบตาง ๆ เพื่อ

ประกอบการตัดสินใจทั้งเพื่อประโยชนสวนตนหรือสวนรวม รวมไปถึงผลประโยชนทางการเมือง

อีกดวย ในสังคมยุคขอมูลขาวสารนั้นทําใหชนชั้นกลางซึ่งมีโอการสในการเขาถึงเทคโนโลยีนั้น

ไดรับขอมูลขาวสารที่ตรงกับความตองการไดอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและ

เทคโนโลยีคมนาคมหรือการสื่อสารขอมูล ดังนั้นอาจกลาวไดวาลักษณะของสัมคมยุคขอมูล

ขาวสารนั้น เปนสังคมที่มีการใชสารสนเทศอยูบนสื่อที่เปนเอกสาร สิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส เปน

สังคมที่มีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ IT เพื่อการไดมา จัดเก็บ สืบคน และการประมวลผลรวมไป

ถึงการเผยแพรขอมูลขาวสารใหตองกับความตองการและทันเวลา เปนสังคมที่ผูใชสามารถใช

เทคโนโลยีไดดวยตนเองทั้งทางตรงและทางออม

ในโลกยุคขาวสาร (Information Society) เปนสังคมที่ใหความสําคัญกับเทคโนโลยี

สารสนเทศ จนอาจกลาวไดวา Information is Power คือผูที่สามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศที่มี

คุณคาและทันสมัยได ผูนั้นยอมมพลังหรืออํานาจ หรือไดเปรียบผูอื่น เนื่องจากขอมูลขาวสารนั้น

Page 122: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

109

เปนสิ่งที่มีคาและมีความสําคัญอยางยิ่งตอตัวบุคคลและสังคมรวมไปถึงการพัฒนาการเมืองซึ่งจะ

เปนผลดีตอการพัฒนาระบบการเมืองรวมไปถึงการพัฒนาประชาธิปไตยอยางแทจริง

การที่สังคมไทยเขาสูยุคขอมูลขาวสารทําใหพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง

ไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีการสื่อสารทางการเมืองไดอยางรวดเร็วไมวาจะเปน

การรับ-สงขอมูลขาวสาร ตลอดจนการเขาถึงขอมูลขาวสารไดโดยงาย ในชวงพุทธศักราช 2551-

2553 นั้นจะเห็นวามีพฤติกรรมทางการเมืองที่สื่อสารผานเทคโนโลยีสารสนเทศรวมไปถึงระบบ

Social Network ซึ่งเปนสื่อสมัยใหมเชน Facebook Twitter มากยิ่งขึ้นเนื่องจากชนชั้นกลางเปน

ผูที่มีทรัพยากรและมีโอกาสเขาถึงทรัพยาการนั่นเอง จะเห็นตัวอยางเชน การแสดงความคิดเห็น

หรือการแสดงทัศนะทางการเมืองของตนผานเวบบอรดตาง ๆ รวมไปถึงการนัดชุมนุมทางการเมือง

เปนตน

จากที่ผูวิจัยไดกลาวถึงบริบททางสังคมโดยเฉพาะในชวงกอนที่ผูวิจัยทําการศึกษา

และชวงที่ผูวิจัยทําการศึกษาที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในรูปแบบตาง ๆ

อาทิ การติดตามขาวสารทางการเมือง การไปใชสิทธิเลือกตั้ง การเปนสมาชิก กลุม สมาคม

องคกรทางการเมืองรวมทั้งการสนับสนุนพรรคการเมือง ผานสื่อสมัยใหมตาง ๆ อาทิ สื่อบุคคล

เวทีการอภิปราย สื่อมวลชนประเภทตาง ๆ สื่อ Internet เปนตน ในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑล ในชวง 2551-2553 เปนการวิเคราะหจากเอกสารที่เกี่ยวของและการวิเคราหจาก

การสัมภาษณเจาะลึกกับกลุมผูใหขอมูลหลัก ดังน้ี

โดยทั่วไปเวลาที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจะเปนการเปลี่ยนแปลงใน

พฤติกรรมทางสังคม ของมนุษย ซึ่งมักเปนการเปลี่ยนแปลงในระบบความสัมพันธและสิทธิ หนาที่

บทบาท สถานภาพของ บุคคลและกลุม และโดยทั่วไปมักรวมเอาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่

หมายถึงการเปลี่ยนแปลงในแบบแผนการดําเนินชีวิต อันไดแกการเปลี่ยนแปลงในธรรมเนียม

ประเพณี กฎหมาย ความเชื่อ คานิยม เปนตน เขาไวดวย

ในสังคมไทยระยะหลัง ๆ มีกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญที่ควรทําความเขาใจอยู

อยางนอย 5 กระบวนการ (สุริชัย หวันแกว, 2540)

1. การทําใหเปนอุตสาหกรรม (Industrialization) หมายถึงกระบวนการพัฒนาการ

เทคโนโลยี การใชวิทยาศาสตรการประยุกตในการขยายผลิตกรรมขนาดใหญดวยกําลังเศรษฐกิจ

เพื่อตลาดการคาอันกวางใหญ โดยการใชแรงงานที่ชํานาญเฉพาะอยาง (พจนานุกรมศัพทสังคม

วิทยาอังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2549, น. 187)

2. การทําใหเปนเมือง (Urbanization) หมายถึง “กระบวนการที่ชุมชนกลายเปน

เมือง หรือการเคลื่อนยายของผูคน หรือการดําเนินการงานเขาสูบริเวณ หรือการขยายตัวของเมือง

Page 123: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

110

ออกไปทางพื้นที่การเพิ่มจํานวนประชากรหรือการดําเนินการตาง ๆ มากขึ้น (พจนานุกรมศัพท

สังคมวิทยาอังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2549, น. 409) เราอาจรวมความหมายของ

กระบวนการนี้ไดวา ไดแก การขยายวิถีชีวิตแบบชาวเมืองโดยผานการแพรของไฟฟา ถนนหนทาง

และสื่อมวลชนตาง ๆ โทรทัศนและภาพยนตร ทําใหรสนิยมและความตองการของชาวชนบท

เปลี่ยนแปลงไปในทางที่คลายชาวเมืองมากขึ้น

3. การทําใหเปนประชาธิปไตย (Democratization) ประชาธิปไตย หมายถึง

กระบวนการแพรขยายของปรัชญาหรือระบบสังคมแบบหนึ่งที่เนนการที่ประชากรมีสวนรวม และ

ควบคุมกิจกรรมของชุมชนในฐานะเปนตัวของมันเอง โดยไมคํานึงถึงคุณลักษณะเฉพาะบุคคล ยศ

สถานภาพ หรือทรัพยสมบัติ (พจนานุกรมศัพทสังคมวิทยาอังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน,

2549, น. 109)

4. การแพรของการจัดองคการสมัยใหม (Bureaucratization) หมายถึงการแพรของ

ระบบ บริหารงานโดยมีเจาหนาที่ตามลําดับชั้น ซึ่งแตละคนตองรับผิดชอบตอผูบังคับบัญชาของ

ตน (พจนานุกรมศัพทสังคมวิทยาอังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2549, น. 49) โดยปกติ

มักจะมีปรากฏในองคการรัฐบาลในสวนบริหารตาง ๆ แตก็มีอยูในธุรกิจการอุตสาหกรรม

การเกษตร สหภาพแรงงาน องคการศาสนาและธนาคาร การที่มีกฎเฉพาะระเบียบตายตัวใชทั่วไป

แลว อาจเปนผลดี ในทางปองกันการเลือกปฏิบัติและเพิ่มประสิทธิภาพ แตการยึดระเบียบอาจทํา

ใหลาชาไมเต็มใจรับผิดชอบ

5. กระบวนการสรางคนชายขอบ (Marginalization) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทาง

สังคมที่ เหลื่อมล้ํามากยิ่งขึ้น โดยเกิดขึ้นขณะที่เกิดความจําเริญเติบโตเศรษฐกิจในระดับสูง เปน

ผลดีมากแกคน สวนหนึ่งในเขตเมืองหรืออุตสาหกรรม แตก็ทําใหคนอีกสวนหนึ่งอยูหางไกลจาก

การมีสวนรับผลประโยชนของการเปลี่ยนแปลงไปทุกที ตัวอยางเชน การพัฒนาเมืองใหเจริญใน

ดานตาง ๆ ขณะเดียวกันก็กอให เกิดแหลงสลัมสําหรับคนจํานวนมากดวย การพัฒนาชนบทให

ทันสมัยดวยไฟฟาและถนน แตขณะเดียวกันกลับผลักดันใหคนที่ยากจนคนแคนตองอพยพจาก

บานในชนบทไปรับจางในรูปแบบตาง ๆ มากขึ้น กระบวนการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ดังกลาวขางตนนี้

ถือไดวาเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรมที่สําคัญในสมัยปจจุบัน แนวโนมของ

กระบวนการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ บางทีก็ปรากฏออกเปน นโยบายหรือแผนพัฒนา บางทีก็เปน

กระบวนการที่กวางขวางเพราะความจําเปนของเงื่อนไขเศรษฐกิจสังคม ที่เปลี่ยนไป และบางสวน

ก็เปนลักษณะของการปรับตัวของผูคนในสังคมในลักษณะของขบวนการทางสังคม เราจึง

จําเปนตองทําความเขาใจกับปฏิกิริยาของสมาชิก ในสังคมในลักษณะของพฤติกรรมรวม และ

ในลักษณะของขบวนการทางสังคมตอไป

Page 124: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

111

คําถามมีวาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมดังกลาวเกิดควบคูกับการเปลี่ยนแปลงทาง

การเมืองการปกครองไทยไหมคําตอบ ตอบไดวาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในลักษณะดังกลาวได

เกิดควบคูกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไทยในแงที่มีความสัมพันธและสามารถสงผลกระทบ

ซึ่งกันและกัน ตั้งแตอดีตจนกระทั่งถึงปจจุบัน

ยกตัวอยาง เชน ในสมัยรัชกาลที่ 4 ซึ่งเปนชวงที่สังคมไทยตองปรับตัวใหทันสมัย

ซึ่งเปนผลมาจาก การทําสนธิสัญญาเบาวริงใน พุทธศักราช 2398 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไมใช

เพียงมีแตการเปลี่ยนแปลงทาง สังคม ในแงของการปรับปรุงขนบธรรมเนียมประเพณีใหทันสมัย

สงเสริมเรื่องของการศึกษาใหกับ ประชาชน เจานาย พระบรมวงศานุวงศ เปนตน

ในแงของการเมืองการปกครองก็ไดมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือปฏิรูปใหทันสมัย

เชนเดียวกันและผลของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นไดสงผลทําใหเกิด

การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครองในเวลาตอมา โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงทาง

การเมือง 2475 ที่สวนหนึ่งเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีคนในรุนใหมที่ไดรับ

การศึกษาตองการใหมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย

มาเปนระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และในที่สุดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง

การปกครองดังกลาวก็ได เกิดขึ้น

อยางไรก็ตาม ผลของการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองก็หาไดทําใหสังคมไทย

มีการปกครองแบบประชาธิปไตยเกิดขึ้นไม

ดังที่ไดกลาวมาในเรื่องของสังคมการเมืองไทยในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง

2475 ถึงปจจุบันวาการเมืองการปกครองไทยตั้งแตเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กอน 14

ตุลาคม 2516 เปนการ เมืองการปกครองในระบอบอํามาตยาธิปไตย ตั้งแตเหตุการณ 14 ตุลาคม

2516-ปจจุบัน เปนการเมือง การปกครองในระบอบธนาธิปไตย ที่การเมืองแบบหลังไดทําใหมีการ

ใชการเมืองเพื่อประกอบธุรกิจ ทําใหระบบการเมืองไทยมีลักษณะเปน “วณิชยาธิปไตย” และมีการ

ใชอํานาจเงินเพื่อเขาสูตําแหนงทางการเมืองทําใหเกิดสภาพ “ธนาธิปไตย” หรืออธิปไตยทาง

เงินตรา ทําใหการเมืองเปนเรื่องของเงินตรา (Money Politics) (ลิขิต ธีรเวคิน, 2535)

การที่การเมืองไทยเปนเชนนั้นสวนหนึ่งสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่

เกิดขึ้นใหความ สําคัญกับเรื่องของวัตถุ

ยกตัวอยาง เชน ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ระบบเศรษฐกิจของไทยเปนระบบ

เศรษฐกิจที่เรียก กันวาเปนแบบทุนนิยมสมัยใหม ที่ เนนการลงทุนของภาคเอกชน ในชวงนี้

ความสัมพันธระหวางกลุมธุรกิจกับกลุมผูนําทางการเมืองและผูนําในระบบราชการ เปน

ความสัมพันธในเชิงอุปถัมภที่ตางฝายตางประสานแลกเปลี่ยนผลประโยชนระหวางกัน

Page 125: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

112

ผลของการเติบโตทางเศรษฐกิจและการขยายตัวของทุนนิยมสมัยใหมดังกลาว ทําให

ชนชั้น นายทุนทั้งไทยและตางประเทศระดมสะสมทุนและสรางความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของตน

ทําใหสังคมไทย เปนสังคมวัตถุนิยมที่มีการใหความสําคัญกับวัตถุ โดยเฉพาะเงินตรามากกวา

จิตใจ ที่สําคัญก็คือ การที่สังคมการเมืองไทยอยูในระบอบธนาธิปไตย ทําใหการเมืองไทยดําเนินไป

เหมือนธุรกิจอยางหนึ่ง คือมีการลงทุนซื้ออํานาจทางการเมือง และเมื่อไดอํานาจมาแลวก็มี

แสวงหา ผลประโยชนจากอํานาจในประโยชนสวนตัวและธุรกิจการเมือง (พงศเพ็ญ ศกุนตาภัย,

2538, น. 58)

ผลทําใหกลุมนักธุรกิจนายทุนที่หวังจะมีบทบาทและมีอํานาจทางการเมืองเริ่มใหเงิน

สนับสนุน นักการเมืองพรรคการเมือง ตลอดจนเริ่มมีการรวมตัวกันจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นมาเอง

และเหนืออื่นใด “เงิน” ไดเริ่มเขามามีบทบาทที่สําคัญในทางการเมือง ไมวาจะในรูปแบบของการ

เปนปจจัยสําคัญในการ เอาชนะคูตอสูในสนามเลือกตั้งหรือเปนปจจัยสําคัญในการสยบเสียง

คัดคานหรือเสียงสนับสนุนในสภา ผูแทนราษฎร

ผลทําใหพรรคการเมืองตองมีนายทุนประจําที่มักจะมีโอกาสไดเขามาเปน

กรรมการบริหารพรรค และหลายคนอาสาสมัครรับเลือกตั้งดวยตนเอง และเมื่อระบบเศรษฐกิจ

เจริญเติบโต รายจายในการรณรงค หาเสียงสูง จนทําใหนายทุนประจําที่มีเพียงไมกี่คนไมสามารถ

รับภาระได พรรครณรงคก็จะใชวิธีขยาย ฐานการสนับสนุนทางการเงินดวยการสรางสายสัมพันธ

กับกลุมทุนขนาดใหญ และถาพรรคมีโอกาสจัด ตั้งรัฐบาลยึดกุมอํานาจรัฐได ก็จะตอบแทนดวย

การกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจไปในทางที่เอื้อประโยชนตอกลุมทุนเหลานั้น และในระหวางที่

ยึดกุมอํานาจรัฐไดก็มักจะมีการแกงแยงตําแหนง รัฐมนตรี ระหวางกันเพราะถาหากไดตําแหนง

รัฐมนตรี ก็จะไดใชตําแหนงดังกลาวแสวงหาผลประโยชน ทางการเมือง โดยใชอํานาจทางการเมืองที่

ตนมีตามตําแหนงดูดซับสวนเกินทางเศรษฐกิจ ทั้งที่ชอบ ดวยกฎหมาย และไมชอบดวยกฎหมาย

(รังสรรค ธนะพรพันธ, 2544, น. 109) โดยวิธีการกุมกลไกของรัฐในการจัดสรรทรัพยากรแผนดิน

มีการผันงบประมาณแผนดินและงบพยุงราคาพืชผลลงสูฐานที่มั่นทางการเมือง

นอกจากนี้ ยังมีการแสวงหาผลประโยชนสวนบุคคลจากระบวนการจัดซื้อจัดจางใน

ระบบราชการรวมตลอดจนการจัดสัมปทาน เปนตน (รังสรรค ธนะพรพันธ, 2544, น. 216) ใน

ตอนหลังการแสวงหาผลประโยชนในการเมืองไทยรุนแรงมากจนในที่สุดนําไปสูการปฏิรูปการ

ปกครองในป 2549 ในที่สุด

โดยสรุปจากที่กลาวขางตน ผลของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ทําใหสังคมไทยให

ความสําคัญกับวัตถุ โดยเฉพาะเงินตรามากกวาจิตใจ ไดมีผลตอการเมืองการปกครองของไทย

ในแงของการทําใหการเมืองการปกครองในระบอบธนาธิปไตยที่ทําใหเปนสวนหนึ่งของการที่ตองมี

Page 126: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

113

การปฏิรูปการเมืองการปกครองไทย ทําใหเกิดรัฐธรรมนูญฉบับ 2540 ที่หลังจากใชไป 4 ป แลว

ยังมีปญหาซึ่งไมสามารถทําใหการเมืองไทยเปนการเมืองในระบอบประชาธิปไตยโดยอยางแทจริง

จากการที่สังคมการเปลี่ยนแปลงดังไดกลาวมาผลทําใหเปนที่มาของเหตุผลหรือ

สาเหตุของการที่ชนชั้นกลางไทยในระยะตอมาไดมีการขยายตัวมากเพิ่มขึ้น

สําหรับเหตุผลหรือสาเหตุชนชั้นกลางไทย ขยายตัวมากขึ้น เกิดขึ้นจากสาเหตุ

ดังตอไปนี้ (จุรี วิจิตรวาทการ, 2528, น. 897-898)

1. ระบบเศรษฐกิจขยายตัวตามแนวทางของการพัฒนาประเทศ ภาคเอกชนได

ขยายตัวอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะสถาบันการเงิน ธนาคาร และอุตสาหกรรมตาง ๆ ไดเจริญเติบโต

ขึ้นมากจนประมาณ 1 ป พุทธศักราช 2525-2526 การขยายตัวในภาคเอกชนไดเปดโอกาสใหมี

ตําแหนงหนาที่การงานมากมาย โดย เฉพาะบริษัทใหญไดมีการปรับปรุงระบบบริหารใหทันสมัย

ซึ่งรวมถึงการใหสวัสดิการและความมั่นคงแก พนักงาน ดังนั้นอาชีพในภาคเอกชนเริ่มมี

ความหมายและคุณคามากขึ้น นอกจากคาตอบแทนจะสูงกวา ภาครัฐแลวยังใหความมั่นคงและ

สวัสดิการซึ่งในอดีตภาคเอกชนไมไดใหอยางแพรหลาย

2. ภาครัฐบาลจําเปนตองขยายคัวเพื่อดูแลใหบริการแกประชาชนที่เพิ่มขึ้นและ

ความตองการของ สังคมที่มีความสลับซับซอนมากยิ่งขึ้น ภาครัฐไดขยายตัว ซึ่งเปดโอกาสให

บุคคลในสังคมมีโอกาสทํางาน ในภาครัฐเพิ่มขึ้นภายในระยะเวลา 10-20 ปที่ผานมา หนวย

ราชการขยายตัวอยูเสมอและดวยยุทธวิธีตาง ๆ บางครั้งการขยายตัวมีเหตุผลและความจําเปน

เพียงพอ แตบางครั้งก็มิไดเปนเชนนี้

3. การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมผานการปฏิสัมพันธกับวัฒนธรรมตะวันตกและ

อื่น ๆ (Culture Contact) นํามาซึ่งรูปแบบของสังคมและวิถีชีวิตของชนชั้นกลางในสังคมอื่น สังคม

อเมริกันและสังคมญี่ปุน ปจจุบันมีจํานวนชนชั้นกลางมากกวาชนชั้นอื่น ๆ วิถีชีวิตของชนชั้นกลาง

คือรูปแบบและชีวิตชาวอเมริกัน และชาวญี่ปุน คนไทยเริ่มรับรูและเลียนแบบลักษณะหลาย

ประการของวิถีชีวิตชนชั้นกลางโดยรูตัวและ ไมรูตัว

4. เหตุผลประการสุดทายของการกําเนิดชนชนกลางก็คือการศึกษาโอกาสใน

การศึกษาสรางความทะเยอทะยานและความตองการในตัวบุคคลที่จะมีชีวิตที่พึงปรารถนา มีชีวิต

ที่ดีขึ้นกวาเดิม โดยเฉพาะอยางยิ่งมีเกียรติและมีศักดิ์ศรีในตัวเอง การศึกษาจึงเปนสาเหตุและ

กลไกซึ่งนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางชนชั้นของสังคมไทย ถามีการศึกษาและไดงานทําที่ดี

โอกาสของบุคคลในสังคมที่จะกาวหนาขึ้นก็จะมีมากกวาคนที่มีการศึกษาและไดงานทําที่ไมดี ใน

แงดังกลาวถือวาการศึกษาชวยเสริมใหคนมีฐานะดีขึ้นโดยสามารถเขยิบมาในตําแหนงตาง ๆ ที่เรา

เรียกวา ชนชั้นกลาง

Page 127: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

114

ในสวนลักษณะของชนชั้นกลางไทยในชวงที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะมากกวา

สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต

ชนชั้นกลางไทยในชวงที่มีการขยายตัวนี้ จะมีลักษณะดังตอไปนี้ (จุรี วิจิตรวาทการ,

2528)

ประการที่หนึ่ง ภรรยามักจะทํางานนอกบาน เพื่อจุนเจือฐานะทางเศรษฐกิจของ

ครอบครัวและเพื่อความตองการมีอาชีพอิสระเพราะพอมีความรูความสามารถ

ประการที่สอง ระดับการศึกษาของสามีภรรยาอยูในเกณฑดี และใหความสนใจกับ

การศึกษา ของบุตรอยางจริงจัง เพราะเชื่อวาการศึกษาคือกลไกแหงความสําเร็จในชีวิต ในเมื่อพอ

แมไดพัฒนาตน เองเพราะมีการศึกษาจึงเนนใหลูกเรียนมากและดีที่สุด พอแมเขาใจวาการแขงขัน

ทางการศึกษาเพิ่มขึ้น ทุกวัน จึงพยายามสงเสริมและเตรียมใหลูกพรอมโดยมีการใหเรียนพิเศษ

เสริมทักษะตาง ๆ เชน ใหเรียนรูหลักสูตรคอมพิวเตอรสําหรับเด็ก เรียนเปยโน หัดวายน้ํา เปนตน

ประการที่สามลักษณะของครอบครัวเปนรูปแบบครอบครัวเดี่ยวมากกวารูปแบบ

ขยาย เฉพาะครอบ ครัวประกอบดวยพอแม ลูก หรืออาจจะมีญาติผูใหญอยูดวยบาง แตแกนของ

ครอบครัวคือ พอ แม ลูก

ประการที่สี่ ลักษณะการครองเรือนอยูกันตามลําพัง ในบานเดี่ยวตามหมูบานจัดสรร

หรือทาวนเฮาส หรือคอนโดมิเนียม สวนใหญจะอยูบานจัดสรร ซึ่งสวนใหญชื้อมาโดยระบบเงิน

ผอน

ประการที่หา ภายในบานมีอุปกรณเครื่องใชทันสมัยตาง ๆ เชน โทรทัศน ตูเย็น วิทยุ

เครื่องใช ไฟฟาตาง ๆ ตลอดจนวิดีโอ ในปหลัง ๆ นี้ความสําคัญของวัตถุเปนที่ยอมรับกันดี ความ

สนใจที่จะ เพิ่มพูนของใช สมบัติตาง ๆ มีอยูในชนชั้นกลาง เพราะไดเปนเหยื่อของระบบธุรกิจทุน

นิยมในประเทศ ซึ่งมุงเนนจะขายสินคาตลอดเวลา

ประการที่หก รถยนตเปนสิ่งจําเปนและเปนสัญลักษณของความสําเร็จและเกียรติ

ศักดิ์ของชนชั้นกลาง การอยูหางไกลจากใจกลางเมืองทําใหรถยนตเปนพาหนะที่คอนขางจําเปน

แตในเวลาเดียวกันรถยนตคือ เครื่องบงชี้วาเจาของรถไดเปนสมาชิกชนชั้นกลางอยางสมบูรณ

ประการที่เจ็ด ลูกจะไดรับความสนใจจากพอแม และมีความสําคัญวาเด็กในยุคกอน

จะเห็นไดจาก รานขายเสื้อผา เครื่องเลนและสินคานารักแตไมจําเปนสําหรับเด็ก ๆ สังคมไทยไดให

ความสําคัญตอเด็ก มากขึ้นกวาในอดีตและเห็นเด็กเปนเหยื่อที่ดีที่จะใหพอแมจายเงิน ชนชั้นกลาง

คือลูกคาใหมที่ดีของรานขายของเด็กเหลานี้

ประการที่แปด รูปแบบของครอบครัวที่ดีและสมบูรณจําลองแบบจากสังคมตะวันตก

โดยเนนวา พอแมและลูกจะตองใชเวลาดวยกัน ทํากิจกรรมรวมกันอยางใกลชิด ดังนั้นพอแมจึง

Page 128: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

115

พยายามพาลูกออก ไปเที่ยวรับประทานอาหารนอกบานบาง โดยรูปแบบนี้ไดเนนบทบาทของพอ

ในครอบครัว แตในสังคมชนชั้นกลางไทยพอยังอาจจะมีบทบาทนอยกวาพอในสังคมตะวันตก แต

ไมนอยกวาพอในสังคมญี่ปุน

ประการที่เกา แนวความคิดเกี่ยวกับสันทนาการ คือใหมีการพักผอนหยอนใจตามที่

ตากอากาศ ตาง ๆ จึงมีการนําพาครอบครัวไปตากอากาศ และบางครั้งก็ไปเที่ยวประเทศใกลเคียง

ดวย การทองเที่ยว ตางประเทศเปนสิ่งที่กระทําอยางแพรหลาย ปจจุบันนี้ชนชั้นกลางไดไปเที่ยว

ตางประเทศมากขึ้นกวาอดีต บริษัทนําเที่ยวอํานวยความสะดวกในเรื่องนี้โดยไดเปลี่ยนความคิด

ในอดีตที่วาชนชั้นสูงสามารถจะเที่ยว ตางประเทศแตลําพัง

ประการที่สิบ วิธีการจายตลาดและซื้อของกินของใชก็ไดเปลี่ยนแปลง ไปดวยชนชั้น

กลางเริ่มใช ตลาดซูเปอรมาเก็ตมากขึ้น ในอดีตฝรั่งและชนชั้นสูงเทานั้นที่เขารานประเภทดังกลาว

ในปจจุบันนี้ซูเปอร คือ รานขายของที่ชนชั้นกลางใชเปนประจําสําหรับสิ่งของ อาหารบาง และ

เครื่องใชทั่วไป ลักษณะพิเศษ ตาง ๆ ดังกลาวแสดงใหเห็นวาชนชั้นกลางผิดจากชนชั้นอื่นและเปน

ชนชั้นที่กําเนิดมาใหมในสังคมไทย

ในอนาคตชนชั้นกลางคงจะมีการขยายตัวตอไป เพราะมีปจจัยทางเศรษฐกิจ

การศึกษา คานิยม จากภายนอกประเทศและภายในประเทศเอื้อตอการพัฒนา ตอการขยายตัว

เชนเดียวกับความเชื่อ คานิยม ศักดิ์ศรี เกียรติยศ ตลอดจนวิถีชีวิตของชนชั้นกลางจะไดรับการ

เผยแพรใหกวางขวางยิ่งขึ้น

สําหรับประเภทของชนชั้นกลางไทยในชวงที่มีการขยายตัวดังที่ ไดกลาวมา

นักวิชาการมีความเห็นวา ถึงแม “ชนชั้นกลาง” อาจมีความแตกตางหลากหลายกัน เชน อาจแบง

ออกไดเปนชน ชั้นกลางระดับบน ชนชั้นกลางระดับกลาง และชนชั้นกลางระดับลาง แตมี

หลักเกณฑ 4 ประการประกอบกัน ที่อาจใชตัดสินความเปนชนชั้นกลางของไทยได คือ (ธงชัย

วงศชัยสุวรรณ และ เทียนชัย วงศชัยสุวรรณ, 2541, น. 8-9)

1. การศึกษา ชนชั้นกลางควรมีการศึกษาสูงกวาระดับประถมศึกษา โดยเฉพาะ

อยางยิ่ง การศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย

2. รายได ชนชั้นกลางควรมีระดับรายไดสูงพอสมควร ดร.ฉลองภพ มีความเห็นวา

คนชั้นกลาง ควรมีรายไดไมต่ํากวาปละ 175,000 บาท เอนก เหลาธรรมทัศน มีความเห็นวารายได

ของชนชั้นกลาง ระดับลางจนถึงชนชั้นกลางระดับบน คือ 10,000-49,000 บาทตอเดือน (อเนก

เหลาธรรมทัศน, 2536, น. 10) แตนักวิชาการบางคนมี ความเห็นวาในตางจังหวัดคนชั้นกลางอาจ

มีรายไดต่ํากวานั้นก็ได เชน นิธิ เอียวศรีวงศ มีความเห็นวา ในจังหวัดเชียงใหมคนที่มีรายได

เดือนละ 6,000 บาท ก็อาจเปนชนชั้นกลางได

Page 129: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

116

3. วัฒนธรรมบริโภคนิยม ลักษณะทางวัฒนธรรมที่เดนชัดของชนชั้นกลางคือบริโภค

นิยม

4. อาชีพของชนชนกลาง เกษียร เตชะพีระ ไดใหคํานิยมชนชั้นกลางไทยอยางกวาง ๆ

ในแง ของอาชีพวา ไดแกผูประกอบอาชีพนักเทคนิค นักบริหาร ผูจัดการ นักธุรกิจ พอคา เจาของ

ราน เสมียน และแรงงานฝมือที่กินเดือนอยูทั้งในภาครัฐและเอกชน (เกษียร เตชะพีระ, 2539,

น. 52)

เสนห จามริก (2535, น. 118) ไดแบงอาชีพของชนชั้นกลางไทยออกเปน 3 กลุม คือ

(ก) เจาของกรรมสิทธิ์ พอคารายยอย นักธุรกิจ ผูอํานวยการ นักบริหาร ชางเทคนิคทั้งในทาง

เกษตร พาณิชยและอุตสาหกรรม (ข) บุคคลในงานอาชีพอิสระ เชน ครูอาจารย แพทย

นักกฎหมาย ทนายความ นักเขียน ศิลปน ฯลฯ (ค) ขาราชการ รวมทั้งนายทหารชั้นสัญญาบัตร

เอนก เหลาธรรมทัศน (2538, น. 118) ไดจําแนกชนชั้นกลาง ไทยออกเปน 2 ปก คือ ปกนักธุรกิจ

วิชาชีพ ซึ่งประกอบดวย นักบริหาร ผูจัดการ ผูชํานาญการใน บริษัท โรงงาน ธนาคาร และธุรกิจ

เงินทุนหลักทรัพย หรือแพทย พยาบาล ทนายความ สถาปนิก วิศวกรเปนตน และปกของนักปฏิรูป

ซึ่งไดแก นักศึกษา อาจารย นักวิชาการหัวกาวหนา และนักเคลื่อนไหวขององคกรพัฒนาเอกชน

ในสวนของวัฒนธรรมของชนชั้นกลางไทยในชวงที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยทั่วไป

ชนชั้นกลางไทยในชวงนี้จะมีวัฒนธรรมดังตอไปนี้ (นิธิ เอียวศรีวงศ , อางถึงใน สังศิต

พิริยะรังสรรค และ ผาสุก พงษไพจิตร, น. 60-65)

ประการที่หนึ่ง ชนชั้นกลางหรือคนชนกลางไทยมีความสัมพันธอยาง ใกลชิดกับ

ผูปกครอง จึงทํา ใหวัฒนธรรมของชนชั้นกลางไทยมีความสืบเนื่องกับวัฒนธรรมของผูปกครอง

อยางสูง

ประการที่สอง ลักษณะโลกาภิวัตน เปนอีกวัฒนธรรมหนึ่งของวัฒนธรรมคนชั้นกลาง

ไทยในปจจุบัน

ประการที่สาม คนชั้นกลางไทยเปนมิตรกับวัฒนธรรมของกลุมผูปกครองตามจารีต

มากกวา วัฒนธรรมของชาวนา

ประการที่สี่ คนชั้นกลางไทยมีวัฒนธรรมคลายคลึงกับวัฒนธรรมของกลุมผูปกครอง

ในแงของการ แสดงความมั่งคั่ง

ประการที่หา พันธะของชนชั้นกลางตอประชาธิปไตยเบาบาง เพราะขาดโลกทัศน

ที่จะเปนฐานใหแกอุดมการณประชาธิปไตยได

ประการที่หก คนชั้นกลางไทยเชื่อในเรื่องการพัฒนาที่หมายถึงการเปลี่ยนแปลง

ในทางที่ดีขึ้น

Page 130: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

117

จากที่กลาวถึงบริบททางสังคมชวงกอนและชวงที่ทําการศึกษา วาจะสงผลตอ

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงปพุทธศักราช

2551-2553 ไดมากนอยแคไหน เกี่ยวกับเรื่องนี้ในทัศนะของ เกษียร เตชะพีระ ที่ไดกลาวไวในมติ

ชนวา เมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคม-เศรษฐกิจขึ้น มาในระยะปจจุบัน พุทธศักราช 2552

ระบบการเมืองก็ตองปรับตัวรับกับความเปลี่ยนแปลงนั้น ทานกลาวถึงการปรับตัวของระบบการ

เมืองไทยนับตั้งแตความเปลี่ยนแปลงทางสังคม-เศรษฐกิจในสมบูรณาญาสิทธิราชย นํามาซึ่งการ

ปฏิวัติ 2475 ไลมาเรื่อยจนถึง 14 ตุลาคม และปจจุบัน พุทธศักราช 2552

ระหวางที่ระบบการเมืองยังปรับตัวไมได ยอมเกิดความขัดแยงตึงเครียด ขัดแยงกัน

ปะทะกัน หาทางออกไมเจอ ทุกอยางชะงักงันไปหมด จนกวาระบบการเมืองจะสามารถปรับตัว

(โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง) รองรับลักษณะใหมทางสังคม-เศรษฐกิจที่เกิดขึ้น

เกี่ยวกับเรื่องนี้ นิธิ เอี่ยวศรีวงศ (2552, น. 32-33) ไดกลาววาตนเองเห็นดวยกับ

เกษียรทุกประการแตทานไมไดบอกวาความเปลี่ยนแปลงทางสังคม-เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแก

สังคมไทยในชวงทายนี้คืออะไร นิธิ เอี่ยวศรีวงศ จึงพยายามหาและสรางคําอธิบายขึ้น ดังนี้

“ผมคิดวาตั้งแตทศวรรษ 2520 เปนตนมา ชนบทไทยประสบความเปลี่ยนแปลง

อยางรวดเร็ว เกษตรกรรมเพื่อยังชีพซึ่งเคยเปนสัดสวนที่สําคัญในรายไดของประชาชนเพิ่มพังสลาย เศรษฐกิจตลาดรุกเขาไปในชีวิตของผูคนมากขึ้นตามลําดับ

ในขณะเดียวกัน อุตสาหกรรมและธุรกิจก็รุกเขาไปสูชนบทมากขึ้น เพื่อใชทั้ง

ทรัพยากรและกําลังแรงงาน การผลิตเพื่อเลี้ยงตนเองในไรนาขนาดเล็กทําไดยากขึ้น

คนที่หันมาสูการผลิตปอนตลาดยิ่งประสบการขาดทุนจนในที่สุดตองหยุดผลิต”

ในสภาพเชนนี้เกิดอะไรขึ้นแกประชาชนในชนบท สวนหนึ่งไดหันเขาหางานอื่นที่มี

ลักษณะประจํามากขึ้นในเศรษฐกิจสมัยใหมโดยเฉพาะลูกหลานของชาวนารวยที่ไดรับการศึกษา

ครอบครัวมีสายสัมพันธกวางขวางนอกหมูบาน เชน เปนนายหนาของบริษัทปุย, บริษัทรับซื้อ

พืชผลการเกษตร ทํางานประจําในเมือง เปนผูรับเหมารายยอย เปนนายหนาแรงงาน ฯลฯ คน

เหลานี้หรือครอบครัวของคนเหลานี้อาจมีทุนมากพอที่จะอยูในการเกษตรตอไป โดยรวบรวมที่ดิน

ใหกวางใหญมากพอสําหรับการใชหรือจางงานเครื่องจักรและผลิตเชิงพาณิชยอยางเขมขนอีกสวน

หนึ่งที่พอมีทุนอยางบาง ก็ “ซื้องานใหตนเอง” ดวยการลงทุนเปนนักธุรกิจรายยอย เชน รับทําผม

แตงหนา ขายของชํา ขายกวยเตี๋ยว เขาเมืองเปนซาเลง ขายลอตเตอรี่ ทํารถกับขาวตามซอย

ฯลฯ แนนอนวาสวนใหญขายแรงงาน สวนที่เหลือคือคนจนที่ไปไหนไมรอด ยังตกคางในชนบทมี

งานทําเปนฤดูกาลในภาคเกษตรกรหรือภาคอื่น ฉะนั้นรายไดจึงยิ่งต่ําซ้ําตองมีชีวิตในชนบทซึ่ง

ความสัมพันธเชิงอุปถัมภ (แลกเปลี่ยนบนมาตรฐานของคุณคาดวย) ไดกลายเปนความสัมพันธเชิง

Page 131: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

118

ตลาด” ในประเด็นนี้ นิธิ ตั้งขอสังเกตวา ควรกลาวดวยวาคนเหลานี้ไดหลุดลอยไปจากรัฐ กลาวคือ

รัฐเองก็เขาไมถึง ในขณะที่นโยบายสาธารณะตั้งแตระดับตําบลขึ้นไปถึงรัฐ ก็ไมไดผนวกเอาคน

กลุมนี้ไว (นิธิ เอี่ยวศรีวงศ, 2552, น. 33)

ในทัศนะของนิธิ เอี่ยวศรีวงศ เห็นวาหากมองในแงสังคมชนบทไทยมีคนอยูสอง

จําพวก คือ ชนชั้นกลางและคนจน (ไมนับที่รวยเปนลานซึ่งก็มีเพิ่มขึ้นดวย การที่ชนชั้นกลางระดับ

ลางสุดมีรายได 68-136 บาท ดังที่ไดกลาวมาแลวจึงมีกําลังจะใชจายไดในจํานวนดังกลาว จึงทํา

ใหชนชั้นกลางในชนบทมีความคาดหวังตอชีวิตคลายชนชั้นกลางในเมือง (ซึ่งจํานวนมากมีกําลังใช

จายไดสูงกวานั้นมาก) เชน ลงทุนดานพยาบาลสูง ฯลฯ แตในขณะเดียวกัน พวกเขาอยูใกลชิดกับ

คนจนในชนบท แมวาแตกตางจากคนจน แตก็ประสบปญหาบางอยางคลายกัน เชน แมวาเขาถึง

แหลงเงินกูไดมากกวาคนจน แตก็ไมมากพอสําหรับการขยายธุรกิจ สาธารณูปโภคที่ไมเพียงพอ

จํานวนมากไมใชมนุษยเงินเดือน และถึงเปนมนุษยเงินเดือน ก็มักทํางานที่ไดรายไดไมมาก

พอที่จะบรรลุความคาดหวังในชีวิตไดอยางมั่นคง เชนกําลังจะสงลูกหลานใหไดเรียนสูง ๆ ซึ่ง

ตองการคาใชจายเพิ่มขึ้น และดวยเหตุดังนั้น สัดสวนของรายจายเพื่อคาอาหารจึงยังสูงอยูคลาย

คนจน

ผลทําใหชนชั้นกลางระดับลางสุดในหัวเมืองชนบทกลายเปนประชากรสวนใหญของ

ชนบทไทย ที่สวนใหญมีรายไดจากงานจางและธุรกิจเล็ก ๆ นอย ๆ แมมีรายไดมากกวาคนจน แต

ความมั่นคงทางเศรษฐกิจนั้นเกี่ยวโยงกับนโยบายของรัฐบาล มากกวาการพึ่งพาธรรมชาติและ

ความสัมพันธที่ดีทางสังคมอยางท่ีเคยเปนมาในอดีต ในขณะเดียวกันวิธีชีวิตของชนชั้นกลางทําให

ไดรับขาวสารขอมูลมากขึ้น

ในอดีตกลาวไดวาชนบทไทยไมมีเครื่องมือทางการเมืองที่จะเขาไปกําหนดนโยบาย

สาธารณะใด ๆ สําหรับพวกเขาไมมีพรรคการเมืองไมมีสื่อ ไมมีพื้นที่ในหมูบานตําบลการ

แสดงออกทางการเมือง ฯลฯ จึงเปนธรรมดาที่ยังตองเกาะอยูกับกลไกทางการเมืองแบบเดิมคือ

เครือขายหัวคะแนน (แมกระนั้น ผมก็เชื่อวาเนื้อหาความสัมพันธกับหัวคะแนนนาจะเปลี่ยนไป นา

เสียดายที่ยังไมมีการศึกษาเรื่องนี้จริงจัง) หรือการประทวงในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง

สวนคนจนที่ เรียกวา “จนดักดาน” ในหมูบาน ซึ่งมีจํานวนนอยกวา ยอมไมมี

ทางเลือกอื่นนอกจากพอใจอยูในอุปถัมภของเครือขายหัวคะแนน แตเพราะอยูใกลชิดกับชนชั้น

กลาง ยอมรับเอาความคาดหวังนั้นก็เปนประโยชนกับตนดวย เชน การเขาถึงแหลงเงินกูไดงายขึ้น

หรือสาธารณูปโภคที่อาจใชประโยชนไดบาง

ดังนั้น เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดในชนบทชวงสองทศวรรษที่ผานมา

ทําใหระบบการเมืองที่ทอดทิ้งคนชนบทเปนไปไมไดอีกแลว เพราะคนชนบทมีสํานึกทางการเมือง

Page 132: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

119

ระดับชาติ ซึ่งแปลวาตองการนโยบายสาธารณะที่ตอบรับผลประโยชนของตน และนโยบายของ

พรรคไทยรักไทยในชวงกอนป 2551 เขามาในจังหวะนี้พอดี เชน กองทุนหมูบาน กองทุนกูยืมเพื่อ

การศึกษา สงเด็กแตละอําเภอไปศึกษาตอตางประเทศดวยเงินจากหวยบนดิน หรือแมแตบัตรทอง

30 บาท รักษาทุกโรค ลวนตอบสนองชนชั้นกลางระดับลางสุดในหัวเมืองชนบททั้งสิ้น สวนคนจน

ประเภท “ดักดาน” นั้น มีเหตุหลายประการที่ทําใหเขาไมถึงบริการเหลานี้ หรืออยางนอยก็เขาไม

ถึงอยางเต็มที่ คนจนประเภทนี้จะไดประโยชนจากนโยบายสาธารณะก็ตอเมื่อนโยบายนั้นมุงเปด

ทรัพยากรการผลิตในทองถิ่นใหแกเขา แตนโยบายของพรรคไทยรักไทยไมไดคํานึงถึงสวนนี้เลย

และยังอาจทําตรงกันขามดวยซ้ํา ไมวาจะเปนกรณีปากมูล กรณีจะนะ หรือแผนการที่จะทําโฉนด

ทะเล

แตคนจนประเภทนี้มีนอยกวา สวนใหญไมมีสํานักทางการเมืองระดับชาติ และถึง

อยางไรก็ตองอยูในเครือขายอุปถัมภของหัวคะแนนอยูแลว เกี่ยวกับเรื่องดังกลาว นิธิ เอี่ยวศรีวงศ

ตั้งขอสังเกตวา

“ผมคิดวาความนิยมอยางทวมทนที่พรรคไทยรักไทยไดรับจากชนบทไทย เกิดขึ้นจาก

นโยบายเหลานี้ ขอนี้ใคร ๆ ก็รูและพูดกันอยูแลวเพียงแตวามักไมคอยแยกแยะวาที่

จริงแลวชนบทไทยมีคนหลายชั้นอยูที่นั่น มีผลประโยชนทางสังคม เศรษฐกิจที่สลับซับซอน เพราะชนบทไทยไมไดหยุดนิ่ง แตผันแปรไปจากมโนภาพที่คนชั้นกลาง

ในเมืองเคยมีไปโดยสิ้นเชิงแลว”

“ยิ่งไปกวานั้น แทนที่เราจะพูดถึงชนบทเรากลับพูดถึงสวนภูมิภาคของไทย ซึ่งจะยิ่ง

พบความสลับซับซอนไปกวานั้นเสียอีกเพราะมีชนชั้นกลางที่สามารถจับจายใชสอย

ไดเกินวัน 136 บาท เพิ่มขึ้นอีกมาก ทั้งในสวนที่เปนเมืองและสวนที่เปนชนบท (มากหรือนอยก็ตาม) ตัวเลขของนักเศรษฐกิจศาสตรซึ่งศึกษาเปรียบเทียบชนชั้นกลางใน

ประเทศกําลังพัฒนา 13 ประเทศทั่วโลก (ที่อางขางตน) ประมาณกําลังการบริโภค

ของชนชั้นกลางกลุมนี้ตอวันที่ 204-340 บาท นโยบายสาธารณะที่คนกลุมนี้ตองการ

อาจไมตรงกับชนชั้นกลางระดับลางสุด และดวยเหตุดังนั้นจึงไมไดนิยมชมชอบ

พรรคไทยักไทยอยางเหนียวแนนนัก อาจแปรเปลี่ยนความนิยมไปไดตามขอมูลขาวสารที่ไดรับ เชน จํานวนมากในปจจุบันรับเอเอสทีวีและรวมกลุมกันเปนพันธมิตร

ประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในตางจังหวัด” (นิธิ เอี่ยวศรีวงศ, 2552, น. 36)

ในชวงนี้เขตเมืองในไทยขยายตัวอยางรวดเร็วโดยเฉพาะในทศวรรษทายนี้ ใน

ปจจุบัน ประชากรไทยสวนใหญอาศัยอยูในเขตเมือง นอกจากนี้ชนชั้นกลาง (ในทุกระดับรายได

และรายจาย) ก็เพิ่มขึ้นในเขตเมืองอยางรวดเร็ว ซึ่งเปนปรากฏการณปกติในการพัฒนาและการ

Page 133: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

120

ขยายตัวของเมือง

ชนชั้นกลางในเขตเมืองในทัศนะของนิธิ เอี่ยวศรีวงศ คือผูที่ไดรับผลโดยตรงจากการ

ขยายตัวของประชาธิปไตยนับจาก 14 ตุลาคมเปนตนมา ในขณะเดียวกันก็ไดรับติดตามขาวสาร

ขอมูลเพิ่มขึ้นพรอมกันไปกับการขยายตัวดานการศึกษาเปนลูกคาสําคัญของสื่อระดับชาติ

จึงเปนธรรมดาที่ชนชั้นกลางเหลานี้จะตื่นตัวทางการเมืองมากกวาคนกลุมอื่นใด มีสํานึกถึง

ความเชื่อมโยงในระดับสากล หรือที่เรียกวาโลกาภิวัตน จึงชื่นชมมาตรฐานแบบฝรั่งทั้งในทาง

สังคมการเมืองมากตามไปดวย เมื่อมองพี่นองในชนบทวายากจนไรการศึกษา จึงเห็นสมควรแกน

นโยบายสาธารณะประเภทสาธารณะกุศล คือชวยเขาเพื่อใหเขาชวยตัวเองไดแตการที่จะใหคนใน

ชนบทลุกขึ้นมาใชสิทธิทางการเมือง เพื่อรวมกําหนดนโยบายสาธารณะยังอยูนอกเหนือมโนภาพ

ของชนชั้นกลางในเขตเมือง

แมมีพรรคการเมืองที่เกาะความนิยมของคนกลุมนี้อยูบาง แตไมมีพรรคการเมืองใด

ที่ปลอดจากเครือขายหัวคะแนนโดยสิ้นเชิงพรรคการเมืองจึงไมอาจดําเนินนโยบายรองรับ

ความตองการของคนกลุมนี้ไดเต็มรอย

อยางไรก็ตาม ชนชั้นกลางในเขตเมืองสามารถสรางแรงกดดันทางการเมืองไดสูง

จึงมิไดเปนผูลมรัฐบาลอยางเดียว ที่จริงแลวชนชั้นกลางในเขตเมืองเปนผูตั้งรัฐบาลดวย โดยอาศัย

เครื่องมือที่สงมาจากตางจังหวัด นั่นก็คือ ส.ส. ซึ่งสังกัดหลายพรรคเปนลักษณะเบี้ยหัวแตก

รัฐบาลมาจากการรวมตัวกันจัดตั้งของหลายพรรคการเมือง ฉะนั้น แมวาชนชั้นกลางในเขตเมือง

ไมสามารถเลือกใครมาเปนนายกรัฐมนตรีได เพราะนั่นเปนผลจากคะแนนเสียงในชนบท แตชนชั้น

กลางในเขตเมืองสามารถกําหนดวาใครควรเปนรัฐมนตรีไดบางระดับหนึ่งรวมทั้งกําหนดขอบเขต

การกระทําและนโยบายของนายกรัฐมนตรีไดในระดับสูง

ในระบบการเมืองแบบเดิมนั้นชนชั้นกลางในเขตเมืองไดกดดันมิใหนายกรัฐมนตรีซึ่ง

ไมไดมาจากคะแนนเสียงเลือกตั้งของตนใหตั้งรัฐบาล หรือไมกลาใหบางคนคุมกระทรวงใหญเชน

มหาดไทย ในขณะเดียวกันก็ระแวดระวังวากระทรวงสําคัญโดยเฉพาะทางเศรษฐกิจ ตองมีคนที่มี

ฝมือตามมาตรฐานของชนชั้นกลางในเขตเมืองเปนผูดูแล

และอยางที่ทราบกันอยูแลว หากไมพอใจก็ยังรวมพลังกดดันจนรัฐบาลอยูไมได (นิธิ

เอี่ยวศรีวงศ, 2552, น. 37-39)

อยางไรก็ตามตอมาเมื่อเกิด นปช. หรือคนเสื้อแดงที่มีแนวรวมคือชนชั้นกลางระดับ

ลางในหัวเมืองชนบทก็ไดเขารวมชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมือง (ดังที่ไดกลาว มาในบริบททาง

การเมืองสวนที่ 3 ตอนท่ี 3.1)

โดยปกติแลวชนชั้นกลางดังกลาวในหัวเมืองชนบทแสดงใหเห็นถึงลักษณะนิสัย

Page 134: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

121

ที่สําคัญดังตอไปนี้ อันดับแรกคือมีความปรารถนาแบบชนชั้นกลาง เชน การเขาถึงแหลงเงินกู

การประกันสุขภาพ และการศึกษาสําหรับบุตรหลาน

อันดับตอมาคือ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจจะเกี่ยวโยงกับนโยบายของรัฐบาล

มากกวาประชากรกลุมอื่น ๆ คนกลุมนี้อยูในสวนที่จะไดรับผลประโยชนจากการพัฒนาการ

กระจายการใชจายภาครัฐไปยังภาคชนบทมากที่สุด ไมวาจะเปนในรูปของการอุดหนุนราคาขาว

การเพิ่มแหลงเงินกูยืม หรือการศึกษาและการสาธารณสุขที่ดีขึ้น

และอันดับสุดทายซึ่งเกิดควบคูมากับกระแสโลกาภิวัตนก็คือ การไดรับขาวสารมาก

ขึ้นและมีความตื่นตัวทางการเมืองระดับชาติอยางเต็มที่ ชนชั้นกลางระดับลางจากหัวเมืองชนบท

จะแตกตางจากชาวนาที่ยากจนที่สุดในขอที่วาคนกลุมหลังจะยึดติดและไดรับอิทธิพลจาก

หัวคะแนนของพรรคการเมืองมากกวาคนกลุมแรก

ในชวงนี้ชวงกอนเวลาที่ทําการศึกษาความสําเร็จทางการเมืองของพรรคไทยรักไทย

สวนใหญเกิดมาจากความสามารถในการผสมผสานแนวนโยบายใหตรงกับความตองการของกลุม

การเมืองขนาดใหญ ทรงพลัง และขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อย

ดังนั้น พรรคไทยรักไทยจึงสามารถกุมฐานเสียงนี้ไวไดอยางเหนียวแนน และทําให

พรรคยังคงชนะการเลือกตั้งโดยไดเสียงขางมากในการเลือกตั้งทั่วไปทุกครั้ง

เกี่ยวกับเรื่องนี้ขัดแยงกับการซื้อเสียงในอดีตซึ่งเกี่ยวพันกับนักการเมืองที่แขงกันดวย

การหาเงินมาจายใหกับหัวคะแนนเพื่อใหไดคะแนนเสียงจากคนในชนบท ความสามารถเฉพาะตัว

เชนนี้ไดรับการสืบทอดมาหลายทศวรรษ สงผลใหเสียงจากชนบท ความสามารถเฉพาะตัวเชนนี้

ไดรับการสืบทอดมาหลายทศวรรษ สงผลใหเสียงจากชนบทแตกเปนสวน ๆ

แตในทางกลับกันพรรคไทยรักไทยไดคะแนนเสียงดวยการนําความตองการของ

พวกเขามาบรรจุลงในวาระแหงชาติ หัวคะแนนทองถิ่นยังคงเปนกลไกทางการเมืองที่สําคัญ

ในขณะเดียวกันผูมีสิทธิออกเสียงในชนบทก็มีความตองการในหลาย ๆ ดาน

ในทัศนะของนิธิเรียกชนชั้นกลางที่มีบทบาทเปนผูนําในการเมืองไทยมาชานานวาชน

ชั้นกลางระดับสูงในเมือง หรือ Urban Upper Middle Class (UMC) คือ ชนชั้นกลางที่มีฐานะ

ดีกวาซึ่งอาศัยอยูในกรุงเทพมหานครและในเขตปริมณฑล คนกลุมนี้รวมถึงพนักงานบริษัทและ

ขาราชการ ซึ่งตองการประชาธิปไตย ตอตานอภิสิทธิ์ชนและการแทรกแซงของทหาร คนกลุมนี้เอง

ที่รวมประทวงและโคนลมรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร ในป 2535

นอกจากนี้ นิธิ ยังเห็นวาชนชั้นกลางระดับสูงและระดับกลางในเมืองกําลังอยู

ในภาวะสับสนและทอแทโดยเฉพาะในชวง พุทธศักราช 2523-2533 คนกลุมนี้ไมพอใจกับระบอบ

ประชาธิปไตยที่ไมเต็มใบ แตอยางไรก็ตาม การกระจายตัวของ ส.ส. (จากชนบท) เปนเบี้ยหัวแตก

Page 135: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

122

กอใหเกิดรัฐบาลผสมที่ออนแอสงผล หรือสงอิทธิพลในการเลือกนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี

มากกวาสัดสวนที่ตัวเองมีอยู นอกจากนั้น การแสดงออกถึงความไมพึงพอใจและการประทวงแบบ

พอเปนพิธีของคนกรุงเทพมหานคร ก็เพียงพอที่จะลมรัฐบาลผสมที่ออกนอกลูนอกทางได

กลาวอีกนัยหนึ่งไดวาระเบียบทางการเมืองแบบเกาที่ดําเนินไปไดดีพอสมควรในชวง

พุทธศักราช 2523-2533 คือการที่คนกรุงเทพมหานคร รวมใชอํานาจทางการเมืองรวมกับชนชั้นสูง

และทหารนั่นเอง

ในชวงกอนเวลาที่ทําการศึกษาชนชั้นกลางระดับสูงในเมืองมักไมสนับสนุนพรรคไทย

รักไทยและพรรคพลังประชาชน เพราะตองสูญเสียอิทธิพลทางการเมืองไปจากการที่พรรคไทยรัก

ไทยหรือพรรคพลังประชาชนมีฐานเสียงในชนบทที่แข็งแกรง ซึ่งทําใหพรรคไทยรักไทยตอมาถูกยุบ

พรรคกลายเปนพรรคพลังประชาชน และปจจุบันคือพรรคเพื่อไทยที่มี นปช. หรือคนเสื้อแดงที่มี

แนวรวมกัน ไดแกชนชั้นกลางระดับลางในหัวเมืองชนบท ไดเขามามีสวนรวมทางการเมืองรูปแบบ

ตาง ๆ ที่รวมเอาการชุมนุมทางการเมืองโดยเฉพาะการตอตานในชวงที่รัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

เขามาบริหารประเทศ

สวนชนชั้นกลางระดับกลางในเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลก็ไดเขามา

มีสวนรวมทางการเมืองในหลายรูปแบบรวมทั้งการชุมนุมกับกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อ

ประชาธิปไตย (พธม.) ในหลายชวง (ดังที่กลาวมาในสวนที่ 3 ตอนที่ 3.1 บริบททางการเมืองที่

สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล)

และอีกสวนหนึ่งของการมีพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางจะอยูในรูปของ

การติดตามขาวสารทางการเมืองการเขารวมเคลื่อนไหวชุมนุมกับพันธมิตรรวมทั้งการไปใชสิทธิ

เลือกตั้งตลอดทั้งยังไดเปนแนวรวมหรือสมาชิกกับกลุมการเมืองโดยเฉพาะกลุมพันธมิตร

ในการเคลื่อนไหวชุมนุมทางการเมือง ดังปรากฏในบริบททางสังคมที่กลาวมาในสวนที่ 1 สวนที่ 2

และ

โดยสรุปจากที่กลาวมาขางตนถึงบริบททางการเมืองที่วิเคราะหจากเอกสารที่

เกี่ยวของไดกลาวมาในสวนที่ 2.1 ไดสงผลตอพฤติกรรมทางการเมือง ของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553 คอนขางมาก

นอกจากนี้ ผูวิจัยจะวิเคราะหจากการสัมภาษณผูใหขอมูลหลักพบวาบริบททาง

สังคมมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางระดับกลางในเมืองแมจะมีรายไดสูงกวาชน

ชั้นกลางระดับลางในหัวเมืองชนบท

จากการสัมภาษณเจาะลึกกับกลุมผูใหขอมูลหลักหรือผูทรงคุณวุฒิดานตาง ๆ ยัง

พบวา บริบททางสังคมมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้

Page 136: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

123

1. การใหความสนใจติดตามขอมูลขาวสารทางการเมือง พบวา พฤติกรรมของ

ชนชั้นชนกลางมีความสนใจในการติดตามขอมูลขาวสารที่มากขึ้น และมีรูปแบบชองทางในการ

สื่อสารที่หลากหลายเนื่องจากความเจริญกาวหนาในอุปกรณสื่อสารตาง ๆ ซึ่งเปนผลมาจากการ

การเปดเสรีทางการคา ที่เกี่ยวของกับกิจการโทรคมนาคมของรัฐบาล นอกจากนั้นยังมีการติดตาม

สถานการณการชุมนุมจากเวทีการชุมนุมตางจากการถายทอดสดที่บาน เนื่องจากกลุมชนชั้นกลาง

ติดตามขอมูลขาวสารเพื่อใชเปนขอมูลในการวางแผนการใชชีวิต วางแผนในการเดินทาง

นอกจากนั้นการติดตามขอมูลขาวสารของชนชั้นกลางยังจะทําใหมีโอกาสและชองทางในการ

ประกอบอาชีพที่ดีขึ้นของตนเองและสมาชิกในครอบครัวอีกดวย ดังคําสัมภาษณของ ตรึงใจ

บูรณสมภพ ที่วา

“ทุกวันนี้คนจะตองสนใจขอมูลขาวสารทางการเมืองใหมาก ๆ โดยเฉพาะประเด็น

ทางการเมือง ประเด็นทางสังคม ซึ่งคนสามารถเขาถึงสื่อตาง ๆ ไดงายและรวดเร็ว

มากยิ่งขึ้น สามารถเลือกชองหรือรายการที่ตนเองสนใจไดเลย อยากดูตอนไหนก็ได

อยากฟงตอนไหนก็ได ไมอยากฟงรายการไหนกดทิ้ง คนมีตัวเลือกมากขึ้น แต

อาจารยมีประเด็นวา การเลือกเสพสื่อที่ตนเองชอบนั้น มันทําใหพฤติกรรมของเราเปลี่ยนไป ทําใหใจแคบ ไมรับฟงความคิดเห็นที่แตกตาง อันนี้ ประเด็นนี้ตองระวังให

ดี ถึงจะเรียกตัวเองวาชนชั้นกลางของสังคมก็ตาม แตอาจารยคิดวาเราจะตองเสพ

สื่อที่หลากหลายมุมมอง ฟงในแงมุมที่แตกตางออกไปหลาย ๆ แงมุมเพราะในที่สุด

แลวเราจะรูไดวา สิ่งที่เราเคยรู เคยเห็นเคยสัมผัส แทจริงแลวเขาสรางเรื่องมาทั้งนั้น

เราตองฟงและติดตามอยางมีสติมีเหตุผลในการติดตามรับฟงขอมูลขาวสาร”

(ศาสตราจารย ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ, สัมภาษณ, วันที่ 6 มกราคม 2554)

2. การไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง พบวา พฤติกรรมและจํานวนของชนชั้นกลางที่ไปใช

สิทธิ์เลือกตั้งนั้นยังไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก เพราะกลุมคนสวนใหญยังเกิดความรูสึกวา

นโยบายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมของคนในประเทศยังไมดีพอ เนื่องจาก

ยังคงมีสถานการณความขัดแยงที่รุนแรง การเรียกรองสิทธิที่มากเกินไป ตลอดจนการทุจริต

คอรรัปชั่นยังมีมากอยูในระบบการเมืองของประเทศไทย ทําใหการไปใชสิทธิ์เลือกตั้งของชนชั้น

กลางยังไมมีการเปลี่ยนแปลงแตอยางไร ซึ่งสะทอนใหเห็นจากบทสัมภาษณที่วา

“พฤติกรรมของกลุมคนชนชั้นกลางนั้น ผมคิดวา ในประเด็นการลงคะแนนเสียง

เลือกตั้งนั้นยังเหมือนเดิม ไมตางจากเดิมมากเพราะเหมือนกัน เพราะผมคิดวา คน

ในสังคมไทยยังเจอกับปญหาเดิม ๆ เลือกมากี่คนกี่คน ก็ยังเกิดปญหาเดิม ๆ

Page 137: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

124

โดยเฉพาะกิจกรรมที่เปนประโยชนและสรางสรรคสังคม ” (นายเมธา จันทรแจมจรัส,

สัมภาษณ, วันที่ 25 มกราคม 2554)

3. การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมือง จากการ

สัมภาษณผูทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นตรงกันวา บริบททางสังคมมีผลตอพฤติกรรมของกลุมชนชั้น

กลางในประเด็นการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมือง เนื่องจากการที่ชนชั้น

กลางเขารวมกลุมหรือเปนแนวรุมกับองคการทางการเมืองนั้นเปนชองทางที่สําคัญและเปนโอกาส

ที่จะทําใหสังคมการพัฒนาไปในทางที่เจริญกาวหนาทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบาน

4. การการสนับสนุนพรรคการเมือง จากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิสวนใหญมี

ความคิดเห็นตรงกันวา บริบททางสังคมมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของกลุมชนชั้นกลาง ใน

ประเด็นการสนับสนุนพรรคการเมือง พบวา ในชวง พุทธศักราช 2551–2553 นั้นกลุมชนชั้นกลาง

ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนั้น มีการสนับสนุนพรรคการเมืองมีมากขึ้นกวาเดิม โดยมี

การพิจารณาถึงนโยบายของพรรคที่มุงเนนพรรคการเมืองที่รักษาผลประโยชนของชาติบานเมือง

เปนหลัก ดําเนินกิจการของพรรคการเมืองที่มุงเนนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ

พระเจาอยูหัว ซึ่งสะทอนใหเห็นจากบทสัมภาษณที่วา

“การสนับสนุนพรรคการเมือง กับบริบททางสังคมผมคิดวาไปดวยกัน ตองดูกระแสของสังคมวามุงเนนและใหความสําคัญกับประเด็นใดมาก เชน แนวทางเศรษฐกิจ

พอเพียง แนวทางแบบทุนนิยม ผมคิดวาชนชั้นกลางสวนหนึ่งที่มีความรูมากพอวา

สุดทายชีวิตจะเปนอยางไรนั้น เขาจะเริ่มมองความมั่นคงและความปลอดภัยในการ

ดําเนินชีวิต การรูจักการสรางภูมิคุมกันใหกับตนเอง และผมคิดวา คนสวนใหญที่

เปนชนชั้นกลางยังมีความนิยมและใหการสนับสนุนในนโยบายทางสังคมของพรรค

ประชาธิปตยดวยดีตลอดมา” (นายธีระชัย แสนแกว, สัมภาษณ, วันที่ 15 มกราคม

2554)

กลาวโดยสรุปแลว บริบททางสังคม โดยเฉพาะดานการที่สังคมเปลี่ยนแปลงเปน

สังคม พหุนิยม พหุวัฒนธรรม และโดยเฉพาะเปนสังคมขาวสารขอมูลไดสงผลตอพฤติกรรมทาง

การเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553มรู

ปของการที่ ทําใหประชาชนสามารถใชเปนชองทางในการเขามามีสวนรวมทางการเมืองไดอยาง

จริงจัง ดังที่ผูวิจัยไดวิเคราะหมาจากทั้งเอกสารที่เกี่ยวของจากการสัมภาษณเจาะลึกกับกลุมผูให

ขอมูลหลักที่กลาวมาขางตน

Page 138: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

125

บริบททางเศรษฐกิจที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ชวงพุทธศักราช 2551-2553

กอนที่จะวิเคราะหบริบททางเศรษฐกิจที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้น

กลางไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

ผูวิจัยจะขอกลาวถึงตัวแบบของ Lipset ทั้งที่กลาวมาในบทที่ 2 กลาวนัยหนึ่งนั่นก็คือ

ผลของบริบททางเศรษฐกิจหรือผลของการพัฒนาเศรษฐกิจที่มีความเจริญมั่งคั่ง เปนตน ทําใหเกิด

ชนชั้นกลางและ Civic Culture ทําใหสังคมของประเทศนั้นมีความเปนประชาธิปไตยเพิ่มขึ้น

โดยทั่วไปตัวแบบของ Lipset มองวาการพัฒนาเศรษฐกิจหรือบริบททางเศรษฐกิจ

กอใหเกิดปจจัยที่กอใหเกิดชนชั้นกลาง Civic Culture และเกิดประชาสังคม (Civil Society) และ

ทําใหชนชั้นกลางเขาไปมีสวนรวมทางการเมืองอันนําไปสูการเปนประชาธิปไตยเพิ่มขึ้น

เนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้นทําใหระดับการศึกษาในสังคมสูงขึ้น ลด

ขนาดของชนชั้นลาง และทัศนคติที่นิยมความรุนแรงทางการเมืองและนโยบายการเมืองที่รุนแรง

ของชนชั้นลาง

สําหรับความมั่งคั่งที่เพิ่มมากขึ้นและความมั่นคงทางการเมืองที่เพิ่มขึ้นทําใหชนชั้นที่

ร่ํารวย ที่รวมเอาชนชั้นสูงและชนชั้นกลางเขาไวดวยตาง มีทัศนคติท่ีใจกวางตอชนชั้นลางที่ยากจน

ความมั่งคั่งยังทําใหชนชั้นปกครองมีทรัพยากรทางการเมืองเพิ่มขึ้น (Political

Resources) ทําใหการตอสูเกมสการเมืองไมรุนแรงแบบเอาเปนเอาตาย หรือเปนแบบ “Zero-

Sum” ที่ทําใหไมยินยอมประนีประนอมและกอใหเกิดความสัมพันธแบบอุปถัมภ

นอกจากนี้ความเจริญมั่งคั่งทางเศรษฐกิจทําใหเกิดการยอมรับในเรื่อง “ความคิดเห็น

ที่ตรงขาม” และประเพณีสากล เชน การปกครองโดยกฎหมายมีความเปนไปได

สวนการพัฒนาอุตสาหกรรมและการเกิดเปนชุมชนเมืองเกื้อหนุนตอการจัดตั้งองคกร

มวลชนซึ่งจะเปนรากฐานทางสังคมของระบบประชาธิปไตย

นอกจากนี้ก็ยังมีนักรัฐศาสตรอีกหลายทานที่มีความคิดเห็นเชนเดียวกับ Lipset อาทิ

เชน Samuel Huntingtion เปนตนที่ มองวามีบริบททาง สังคม – เศรษฐกิจ และการเมืองที่ทํา

ใหเกิดชนชั้นกลางและชนชั้นกลางที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมดีจะเขาไปมีสวนรวมทางการเมือง

ทําใหมีความเปนประชาธิปไตย

Page 139: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

126

ขอบกพรองของทฤษฎีสังคม เศรษฐกิจของ Lipset แตอยางไรทฤษฎีนี้ก็มีขอบกพรองหรือจุดบกพรองโดยเฉพาะในประเด็นตอไปนี้

1. โดยทั่วไปแนวคิดของทฤษฎีนี้ละเลยผลกระทบของรัฐพัฒนา (Developmental

State) ที่มีตอการพัฒนาประชาธิปไตยและไมไดพิจารณาอยางรอบคอบถึงความเชื่อมโยงระหวาง

การพัฒนาเศรษฐกิจ และการมีวัฒนธรรมแบบ Civic Culture ตลอดจนความสัมพันธระหวาง

การพัฒนาประชาธิปไตยไมไดอธิบายพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลที่เปลี่ยนแปลงไป หรือ

แตกตางไปตามจังหวะและเสถียรภาพของการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง

2. ชนชั้นนายทุนอาจไมแสดงบทบาทสําคัญหรือเปนผูมีบทบาทผูทําในการเรียกรอง

เสรีภาพเกี่ยวกับการกอตั้งพื้นที่สาธารณะ (Public Sphere) เกี่ยวกับเรื่องนี้ Cheng และ

Haggard ไดยืนยันวาประเทศกําลังพัฒนาชนชั้นนายทุนที่ประกอบดวยชนชั้นกลางระดับกลาง

และระดับสูงไมไดเปนผูสนับสนุนการเมืองในระบอบประชาธิปไตยยกตัวอยางการปฏิรูปกฎหมาย

และการเมืองแทนที่ชนชั้นนายทุนจะเปนผูสนับสนุนในการปฏิรูปดังกลาวกับการกลายเปนชนชั้น

ปญญาชนและรัฐเปนผูมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนการปฏิรูปดังกลาว (T.J. Tunjen Cheng

and S. Hygard Tuiman, 1990, pp. 63-74)

3. ที่สําคัญสมมติฐานที่กลาวมาขางตนวามีความเชื่อมโยงระหวางการเศรษฐกิจกับ

ความเปนประชาธิปไตย โดยผานการเติบโตของชนชั้นกลาง (Middle Class) ที่มีการศึกษาและ

โครงสรางสังคมเศรษฐกิจ ที่ทันสมัยก็ไมไดเกิดขึ้นในทุกประเทศเนื่องจากวัฒนธรรมแบบ Civic

Culture ก็ไมไดเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติผลทําใหความเปนประชาธิปไตยบางก็ไมไดมาจากการมีระดับ

การพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคม

4. ในทัศนะของ R. Scalupino เห็นวา คานิยม ของประเทศเอเชีย บางประเทศเนน

อํานาจหนาที่ของคุณธรรม การเชื่อฟงตามลัทธิศาสนาที่พวกตนยึดถือเปนตน มากกวา คานิยม

แบบประชาธิปไตย เชน เรื่องความเสมอภาค หรือความเทาเทียมกันเพราะฉะนั้น Scalapino จึง

เห็นวาวัฒนธรรมอยางเชนวัฒนธรรมขงจื๊อ ไมไดชวยทําใหการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

เกื้อกูลตอการพัฒนาความเปนประชาธิปไตย (R. Scalapino, 1993, p. 71)

ผลจึงทําใหประเทศเอเซียบางประเทศมีการพัฒนาความเปนประชาธิปไตยที่ซึ่งไม

รวดเร็วเทาที่ควร

แมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จะใชปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียงและการใชระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือทุนนิยมแตถาจะกลาวจากโครงการวิจัยเศรษฐกิจ

ชุมชนหมูบานไทยที่สนับสนุนโดย สวว. มูลนิธิปญญาโครงการวิจัยเศรษฐกิจชุมชนหมูบานไทย

และมูลนิธิน้ําใจในสังคม ซึ่ง ถาพิจารณาจากโครงการวิจัยเศรษฐกิจชุมชนฯ ดังกลาวโดยเฉพาะ

Page 140: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

127

จากโครงการวิจัยเศรษฐกิจชุมชนหมูบานกลาง การวิจัยชั้นนี้ไดพบวา ระบบเศรษฐกิจไทย

ประกอบดวยเศรษฐกิจสองระบบคือ 1) ระบบเศรษฐกิจชุมชน 2) ระบบเศรษฐกิจทุนหรือ

เศรษฐกิจแบบเสรี หรือระบบเศรษฐกิจทุนนิยม และระบบเศรษฐกิจทั้งสองระบบประกอบขึ้นเปน

เศรษฐกิจแหงชาติ

แตในการกลาวถึงบริบททางเศรษฐกิจที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้น

กลางในรูปแบบตาง อาทิ เชน การติดตามขาวสารทางการเมือง การไปรวมกลุมหรือเปนแนว

รวมกับองคการทางการเมืองรวมทั้งการเขารวมชุมนุมประทวงตลอดจนการสนับสนุนพรรค

การเมืองสวนใหญ ชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรับรูรับทราบจากสื่อบุคคล

สื่อมวลชนประเภทตาง ๆ เวทีการเมือง และสื่อสมัยใหมที่มีการใชอยางแพรหลายในงานวิจัยนี้จะ

ขอกลาวเฉพาะบริบททางเศรษฐกิจเสรีหรือเศรษฐกิจทุนนิยมเทานั้น และถาจะกลาวถึงบริบท

เศรษฐกิจทุนนิยมของไทยหากจะกลาวถึงบริบททางเศรษฐกิจในอดีตประกอบดวยบริบทเศรษฐกิจ

ในชวงที่ทําการศึกษาก็จะทําไดภาพของบริบททางเศรษฐกิจที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของ

ชนชั้นกลางในชวงทําการศึกษาชัดเจนขึ้น

เมื่อเปนเชนนี้ทางผูวิจัยจะขอกลาวโดยสรุปเกี่ยวกับบริบททางเศรษฐกิจในอดีตที่

ผานมองแผนพัฒนาฉบับที่ 1 ถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 โดยสังเขปดังนี้ นับตั้งแตเริ่มแผนพัฒนา

เศรษฐกิจ ฉบับที่ 1 พุทธศักราช 2504 มาจนจบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 พุทธศักราช 2529 รวม

ระยะเวลา 25 ป นั้น เศรษฐกิจของประเทศโดยสวนรวมเติบโตสูงมากเมื่อเทียบกับประเทศกําลัง

พัฒนา ดวยกัน

ในชวงนี้รายไดประชาชาติโดยรวมเพิ่มขึ้น 18 เทา จาก 58 ,900 ลานบาท ใน

พุทธศักราช 2504 เปน 1,110,960 ลานบาท ใน พุทธศักราช 2529 รายไดเฉลี่ยตอประชากรหนึ่ง

คนเพิ่มขึ้นประมาณ 10 เทา เปน 21,584 บาท ตอคน ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นได แมวาในชวงเวลาสวน

ใหญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 ที่ 4 และที่ 5 จะหมดไปกับการ แกปญหาเศรษฐกิจเพื่อรักษา

เสถียรภาพทางการเงินและการคลังของประเทศเอาไว โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงแผน พัฒนาฯ

ฉบับที่ 5 มีปญหาเศรษฐกิจที่รุมเราเขามาหลายดานเศรษฐกิจไทยตองเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจ

ตกต่ําตาม เศรษฐกิจโลกเผชิญกับการแขงขันและการกีดกันทางการคา แตใน พุทธศักราช 2529

ซึ่งแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 สิ้นสุดลง ดุลการคา ดุลการชําระเงิน รวมตลอดถึงฐานการคลังของ

รัฐบาลกลับมั่นคงแข็งแรงเศรษฐกิจไทยพรอมจะ ฟนตัวกาวไปขางหนาอีกครั้งหนึ่ง นโยบายดาน

การฟนฟูเศรษฐกิจและรักษาเสถียรภาพดานการเงินและการคลังนับวาไดผลเหลือปญหาดานการ

วางงานที่จะตอง (นวพร เรืองสกุล, 2545, น. 340-360)

นโยบายของรัฐบาลดานการพัฒนาประเทศใหมีความเจริญเติบโตทางดาน

Page 141: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

128

อุตสาหกรรมก็นับวาประสบความสําเร็จเชนเดียวกัน ตัวเลขผลผลิตรวมของประเทศแยกตามภาค

การผลิต แสดงใหเห็นวาผลผลิตของภาค อุตสาหกรรมเติบโตรวดเร็วและมีสัดสวนในผลผลิตรวม

ของประเทศสูงกวาภาคเกษตรมาตั้งแต พุทธศักราช 2525 และนโยบายดานการสนับสนุนการ

สงออกสินคาอุตสาหกรรมก็ประสบผลสําเร็จเชนเดียวกัน การสงออกสินคาอุตสาหกรรมมีปริมาณ

สูงขึ้นเปนลําดับ จนถึง พุทธศักราช 2528 การสงออกสินคาอุตสาหกรรมมีมูลคาสูงกวาสินคา

เกษตรเปน ปแรก และเมื่อดูโดยรวมจากรายการสินคาสงออกจะเห็นไดวาประเทศไทยมีสินคา

สงออกที่หลากหลายมากขึ้น นโยบายที่ไมบรรลุเปาหมายที่ตั้งไวคือนโยบายดานสังคม แมวาจะได

มีการเพิ่มการใหบริการดานสังคม เพิ่มขึ้น เชน โครงการสาธารณสุขมูลฐาน และโครงการการ

ใหบริการดานโภชนาการ รวมทั้งการลงทุนในดานการ ชลประทานไปแลวก็ตาม ก็ยังไมสามารถ

แกปญหาความยากจนของประชาชนในชนบทได รายไดในชนบทที่ พึ่งพิงการเกษตรมิไดดีขึ้น

ผลผลิตตอไรยังไมดีขึ้น ดังนั้นในขณะที่คนไทยบางคนดํารงชีวิตอยูอยางฟุมเฟอย เหลือกินเหลือใช

คนไทยอีกจํานวนไมนอยกลับมีรายไดไมพอเพียงที่จะเลี้ยงครอบครัวถูกหลักโภชนาการทั้ง ๆ ที่

ทํางานเต็มที่แลว ในพุทธศักราช 2529 ยังมีคนอีกรอยละ25 อยูในระดับมีไมพอกินคือมีรายไดกวา

ระดับความยากจนที่องคการสหประชาชาติกําหนด เมื่อชองวางระหวางชนบทกับเมืองกวางขึ้น จึง

เกิดการอพยพถิ่นที่อยูจาก ชนบทสูเมือง เปนปญหาตอเนื่องอีกเรื่องหนึ่ง และยังมีการสงออก

แรงงานทั้งหญิงและชายไปเปนแรงงานในตางประเทศ

จากที่กลาวมาขางตนถึงบริบททางเศรษฐกิจในชวง 2504-2539 จะเห็นไดวา

เศรษฐกิจของประเทศไทยไดผานชวงของเศรษฐกิจตกต่ํามา และเศรษฐกิจไทยในชวงตอมาคือ

2530-2537 พบวามาเริ่มฟนตัวอยางรวดเร็วใน พุทธศักราช 2530 รัฐบาลไดแกไขปญหาหลาย

ประการในชวงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 ที่การเงินและการคลังของประเทศประสบปญหา จนทํา

ใหประเทศไทยผานพนปญหามาได โดยไมประสบปญหาการคลังขาดดุล และดุลการชําระเงินขาด

ดุลมาก จนเปนปญหาหนี้สินลนพนตัวดังที่เกิดขึ้นในบางประเทศที่มีนโยบายการเงิน และการคลัง

ไมเขมงวด เทาประเทศไทย

ในชวง พุทธศักราช 2530 นี้เชนกันที่เศรษฐกิจโลกฟนตัว หลายประเทศมีการปรับ

โครงสรางอุตสาหกรรม ภายในของตน และประเทศที่พัฒนาแลวบางประเทศหันมาสรางฐานการ

สงออกสินคาในประเทศที่สาม โดยนําเงิน มาลงทุนตั้งโรงงานผลิตสินคาอุตสาหกรรมเพื่อสงออก

ในประเทศที่คาแรงต่ํากวาแทนการผลิตในประเทศของตน และประเทศไทยก็อยูในขายไดรับการ

ลงทุนเหลานี้ดวย ทําใหตัวเลขการลงทุนของไทยสูงขึ้นอยางไมเคยปรากฎมากอน ในชวงตั้งแต

พุทธศักราช 2531 - 2533 เศรษฐกิจไทยเฟองฟูมากจนกระทั่งไดรับการกลาวขานวาเปนยุคทอง

ของเศรษฐกิจไทย และหากการดําเนินนโยบายเปนไปอยางถูกตองกับสถานการณแลว เศรษฐกิจ

Page 142: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

129

ไทยก็จะสามารถขยายเวลาของยุคทองออกไปไดอีก

เหตุการณทั้งภายในและภายนอกประเทศหลายประการ สงเสริมใหเศรษฐกิจและ

การคาของโลกขยายตัว ทางดานตางประเทศภายหลังการแตกสลายของกลุมสนธิสัญญาวอรซอร

ใน พุทธศักราช 2532 ก็นับวาสิ้นสุดของยุค สงครามเย็นที่เงินและทรัพยากรจํานวนมหาศาลถูกใช

ไปในการสะสมอาวุธยุทโธปกรณ ใน พุทธศักราช 2533 เยอรมนีตะวันตกและเยอรมนีตะวันออกก็

รวมเปนประเทศเดียวกัน ตามมาดวยสหภาพโซเวียตที่แยกออกเปนประเทศเล็ก ประเทศนอยถึง

15 ประเทศ เหตุการณตาง ๆ เหลานี้ ทําใหกลุมประเทศในอินโดจีนเริ่มหันมามุงนโยบายเศรษฐกิจ

มากขึ้น และจีนก็เริ่มปรับปรุงประเทศอยางรวดเร็ว การรบกันมิไดสิ้นสุดลงไปทีเดียวนัก ใน

ตะวันออกกลางเกิด สงครามอาวเปอรเซีย ใน พุทธศักราช 2534 และจนถึงทุกวันนี้โลกก็ยังมิได

สงบจากสงครามทองถิ่น ซึ่งชนชาติตาง ๆ พยายามหาทางปกครองตัวเอง และแยงชงดินแดนกัน

ตั้งแตในพมา อินเดีย ตลอดไปจนถึงคาบสมุทรบอลขาน และแอฟริกา นับวาเปนสงครามในอีก

รูปแบบหนึ่งจากเดิมที่เปนการเผชิญหนากันระหวางอุดมการณคนละคาย ความพยายามที่จะ

ฟนฟูเศรษฐกิจในยุโรปตะวันออก ดึงเงินทุนจํานวนมิใชนอยไปจากยุโรปตะวันตก สหรัฐอเมริกาก็มี

ปญหาภายในประเทศ ประกอบกับการตองชวยเหลือเม็กซิโกที่ประสบปญหาทางเศรษฐกิจ

ทางดานเอเชียแมญี่ปุนจะยังลงทุนในเอเชียอาคเนยอยูบาง แตก็มีชาติอื่น ๆ คือ ไตหวัน และ

ฮองกงซึ่งเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม ขยายการลงทุนเขามาในภูมิภาคนี้ดวย เพื่อใชภูมิภาคนี้

เปนฐานการผลิตสินคาเพื่อสงออก

จากการที่กลาวถึงการที่เศรษฐกิจโลกฟนตัวในสวนของเศรษฐกิจไทยตลอดชวงเวลา

นับตั้งแต พุทธศักราช 2530 เปนตนมาการขยายตัวของผลิตภัณฑรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้น มาก

โดยเฉพาะอยางยิ่งระหวาง พุทธศักราช 2531 - 2533 อัตราการขยายตัวเกินรอยละ 10 ตอป

ตอเนื่องกัน นับเปนการขยายตัวที่สูงเกินที่ระบบเศรษฐกิจจะรับได สงแรงกดดันทําใหระดับสินคา

สูงขึ้น เกิดการขาดแคลนคนงานใน บางระดับ โรงแรม และอาคารสํานักงานไมพอเพียง การ

กอสรางขยายตัวรวดเร็ว เพื่อสนองความตองการที่อยู อาศัย และที่พักผอนของประชาชนที่มีเงิน

เพิ่มมากขึ้น และนักลงทุนจากตางประเทศ และนักธุรกิจไทยที่ตองการ พื้นที่สํานักงานและขยาย

โรงงาน เกิดการขาดแคลนวัสดุกอสรางที่จําเปน และยังเกิดการติดขัดที่สาธารณูปโภค ตาง ๆ อัน

เดิมเปนบริการของรัฐ ขยายตัวไมทันกับความตองการที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วทั้งในกรุงเทพมหานคร

และตางจังหวัด เชน บริการโทรศัพท ถนนหนทาง ทาเรือ และบริการที่เกี่ยวของกับการบรรจุ และ

ขนสงสินคาระหวาง ทาเรือกับโรงงานในกรุงเทพมหานคร การจราจรติดขัดอยางหมดหนทางแกไข

หากไมปรับเปลี่ยนนโยบายเสียใหมใหทัน กับความเปลี่ยนแปลงดานประชากรในกรุงเทพมหานคร

ตั้งแต พุทธศักราช 2534 เปนตนมา อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจชลอลงบาง แตก็

Page 143: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

130

ยังอยูในขั้นสูง ซึ่งเปน ปรากฏการณที่เกิดขึ้นทั่วทั้งภูมิภาคนี้ เมื่อนักลงทุนจากตางประเทศเห็นพอง

กันวาบริเวณเอเชียแปซิฟก เปนเขต ที่มีศักยภาพจะเติบโตตอเนื่องไปไดอีกยาวนาน เพราะมี

ทรัพยากรพรอม และมีตลาดรองรับสินคาพรอม เนื่องจากเปนภูมิภาคที่มีประชากรหนาแนน เมื่อ

การลงทุนชลอลงบาง ทําใหประเทศไทยพอมีเวลาจะจัดการแกไขปญหา ดานความไมพรอมดาน

ตาง ๆ ไดบาง ในสวนที่เกี่ยวของกับภาคเอกชน สามารถขจัดปญหาเรื่องการขาดแคลน วัตถุดิบได

มีโรงงานปูนซีเมนตเพิ่มขึ้น และมีอาคารสํานักงาน และนิคมอุตสาหกรรมเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว

จนถึงขั้นมีมากเกินความตองการไปบางในบางแหง

อยางไรก็ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจดังกลาวเปนการขยายตัวอันเกิดจากแรง

กระตุนในภาคเอกชนเอง การลงทุน ในชวงนี้นับวาสูงมากและสูงเกินกวาเงินออมของประเทศ เปน

ที่นาสังเกตวาภาคเศรษฐกิจที่ทําหนาที่ออม คือภาค รัฐบาล ซึ่งมีงบประมาณเกินดุลอยาง

สม่ําเสมอนับตั้งแต พุทธศักราช 2531 เปนตนมา นับวาฐานะการคลังของประเทศ มั่นคงอยางไม

เคยปรากฏมากอน ในสวนของเงินออมในประเทศที่มีไมเพียงพอนั้น ระบบเศรษฐกิจพึ่งพาเงินทุน

จากตางประเทศ สวนหนึ่งของเงินลงทุนที่ไหลเขามา เปนเงินที่ตางประเทศนําเขามาลงทุนใน

ประเทศโดยตรงใน กิจการตาง ๆ อีกสวนหนึ่งเปนเงินที่ธุรกิจของไทยกูยืมจากตางประเทศมาใช

และอีกสวนหนึ่งเปนเงินที่ตางประเทศ นําเขามาลงทุนซื้อหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหง

ประเทศไทย เงินทุนไหลเขามาในตลาดหลักทรัพย ชวย ทําใหบริษัทที่จดทะเบียนอยูในตลาด

หลักทรัพยสามารถระดมทุนสวนหนึ่งไปใชในการขยายกิจการของตนเองได อยางสะดวก และ

เงินทุนเหลานี้มีสวนผลักดันใหดัชนีหุนของตลาดหลักทรัพยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในบางชวงเวลา

แตถึงแมวาประเทศไทยจะยังคงเปนที่ดึงดูดใจของนักลงทุนจากตางประเทศ ก็ยังมีความจาเปน

จะตองหาลูทางใน การเพิ่มเงินออมภายในประเทศของภาคเอกชนใหมากยิ่งขึ้น เพื่อรักษาอัตรา

การขยายตัวของการลงทุน และ ผลผลิตของประเทศไวในระดับสูงอยางตอเนื่องและมั่นคง ดวย

การยืนบนขาของตัวเองแทนการพึ่งพิงเงินทุนจากตางประเทศจนมากเกินควร เพราะเงินทุนจาก

ตางประเทศสามารถเปลี่ยนแปลงไหลเขาไหลออกอยางรวดเร็วจน เปนอันตรายตอเสถียรภาพทาง

เศรษฐกิจของประเทศได

ตอมาภายหลังป 2529 แผนพัฒนาของไทยก็มาถึง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ ฉบับที่ 6 และ 7 เปนการสะทอนใหเห็นถึงปญหาของเศรษฐกิจไทยที่ตองไดรับการแกไข

เยียวยาดวยนโยบายไดอยาง ชัดเจน กลาวคือ ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 และ 7 แมจะยังกําหนด

เปาหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดย รวมเอาไว แตความสําคัญหันมาอยูที่การเพิ่ม

ประสิทธิภาพการใชปจจัยการผลิตและการเพิ่มคุณภาพทั้งคุณภาพ สินคาเพี่อใหแขงขันได

ในตลาดโลก และคุณภาพของคนอันเปนทั้งปจจัยการผลิตและเปนผูบริโภคสินคาและบริการที่มี

Page 144: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

131

การผลิตขึ้นมา ทางดานการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนั้น ระบบเศรษฐกิจที่มีธุรกิจเอกชนเปน

ตัวจักรสําคัญ สามารถเติบใหญแข็งแรงตอไปไดเอง อันเปนผลจากการฟูมฟกดูแลของรัฐบาล

ในชวงเวลาที่ผาน ๆ มา และความ สามารถในการประกอบการของนายทุนและแรงงานไทย

ผสมผสานกับทุนและเทคโนโลยีจากตางประเทศ

ในชวงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 (พุทธศักราช2530 - 2534 กําหนดเปาหมายทาง

เศรษฐกิจเอาไววาจะใหเศรษฐกิจ ขยายตัวในอัตราไมต่ํากวารอยละ 5 ตอป เพื่อรองรับแรงงาน

ใหมที่จะเขามาสูตลาดแรงงาน สวนทางดานสังคม ตองการพัฒนาคุณภาพคนใหเปนผูที่สามารถ

พัฒนาสังคมตอไปได และยกระดับคุณภาพชีวิตคนยากจนทั้งที่อยู ในชนบทและในเมืองขึ้นมา

ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 มีแผนปฏิบัติงานทั้งหมด 10 แผนงานหลัก

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 (พุทธศักราช 2535 - 2539) ไดมีการวางกรอบนโยบาย

กําหนดทิศทางที่จะบริหารระบบ เศรษฐกิจสังคมและทรัพยากรของประเทศ ใหมีการพัฒนา

ตอเนื่องไดยั่งยืนตอไป รองรับการเปลี่ยนแปลงขั้นรากฐานทางเศรษฐกิจของไทย การเปลี่ยนแปลง

อุดมการณทางการเมืองของโลกและการเตรียมพรอมเพื่อการ แขงขันในเวทีการคาโลก

วัตถุประสงคก็เพี่อใหเกิดความสมดุลของการพัฒนาประเทศ ระหวางการขยายตัวเชิงปริมาณกับ

การพัฒนาในคุณภาพที่ใหความสําคัญกับการกระจายรายได การยกระดับคุณภาพสิ่งแวดลอม

และคุณภาพชีวิต เพื่อใหเปนการเติบโตอยางมีเสถียรภาพ มิใหเกิดชองวางในสังคม หรือ

การกระจุกตัวของสินทรัพยมากเกินไป อันอาจจะบั่นทอนความมั่นคงของประเทศในระยะยาวได

1. การสรางเศรษฐกิจไทยใหกาวไปสูความเปนเศรษฐกิจการสรางเศรษฐกิจไทยใหกาวไปสูความเปนเศรษฐกิจดานหนาของภูมิภาค แยก

เปน 3 ดานดวยกัน

1.1 กําหนดใหเศรษฐกิจไทยขยายตัวตอเนื่องในอัตราประมาณรอยละ 8.2 ตอป

โดยรักษาระดับอัตรา เงินเฟอไมใหเกินรอยละ 5.6 ตอป การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดไมสูงกวารอยละ

5.2 ของรายไดประชาชาติ ในการขยายตัวดังกลาว จําเปนตองปรับโครงสรางการผลิต เพิ่ม

ประสิทธิภาพการผลิต และปรับปรุงระบบการเงินดวย

ดานการเกษตรยังจําเปนตองขยายตัวตอไป โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการ

ผลิต ทั้งในดานการใชปจจัย ที่ดิน แรงงาน และเทคโนโลยีใหไดผลผลิตสูงขึ้น ในขณะที่พื้นที่

เพาะปลูกขาวและเกษตรดั้งเดิมจะลดลง และแรงงานในภาคเกษตรจะลดลง

1.2 ดานอุตสาหกรรมและการสงออก จะขยายตัวในระดับสูงตอไป และกําหนด

อุตสาหกรรมเปาหมาย 6 สาขาเปนครั้งแรก เพื่อปูพื้นฐานใหอุตสาหกรรมมีฐานเชื่อมโยงครบวงจร

มีความไดเปรียบทางการผลิต การคา และมีมูลคาเพิ่มสูง และแขงขันไดในตลาดโลก คืออุตสาหกรรม

Page 145: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

132

การเกษตร สิ่งทอ และเครื่องนุงหม อิเล็กทรอนิกส ปโตรเคมีและเหล็กกลา นอกจากนั้น เนื่องจาก

การคาตางประเทศจะเปดกวางมากขึ้น จําเปนจะตองสรางองคกรการเจรจาการคาใหมีเอกภาพ

และวางแผนเจรจาการคากับตางประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน อุตสาหกรรมก็ตองพรอมจะ

แขงขันในตลาดในประเทศมากขึ้นดวย เพราะการเปดการคาใหเสรีขึ้น หมายถึงวาตลาด

ภายในประเทศก็จะมีสินคานําเขาจากตางประเทศเขามาแขงขันแยงชิงผูบริโภคมากขึ้นดวย เปนตน

2. การสรางความเปนธรรมในสังคมสรางความเปนธรรมในสังคม โดยเจาะกลุมเปาหมาย 6 กลุมใน 3 พื้นที่ และรัฐใช

งบประมาณเพื่อเพิ่มสวัสดิการใหแกกลุมดอยโอกาสและพื้นที่ทองถิ่นชนบทยากจนมากขึ้น และ

เพิ่มบทบาทขององคกรทองถิ่นและ องคกรเอกชนมาเสริมนโยบายการกระจายการพัฒนาออกสู

ภูมิภาค

2.1 กลุมเปาหมายดานกระจายรายได และยกระดับการดํารงชีพขั้นพื้นฐาน คือ

กลุมเกษตรกรยากจน ในชนบท กลุมแรงงานรับจางในภาคเกษตรกรรม กลมผูประกอบอาชีพ

สวนตัวขนาดเล็กในเมือง กลุมลูกจางเอกชน ที่มีรายไดนอย กลุมขาราชการและพนักงานของรัฐ

และกลุมชวยเหลือตนเองไมได ซึ่งทั้งหมดนี้ที่อยูในขายยากจนคิดเปนรอยละ 24 ของประชากรทั้ง

ประเทศ หรือเกือบ 14 ลานคน โดยจะลดลงใหเหลือต่ํากวารอยละ 20 ใน ป 2539

2.2 สําหรับพื้นที่เปาหมายที่จะกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมไปให

คือ พื้นที่ชนบทลาหลัง พื้นที่เขตเศรษฐกิจใหม และพื้นที่เมืองศูนยกลางความเจริญของแตละภาค

เปนตน

3. การสรางคุณภาพชีวิตใหดีขึ้นการสรางคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น ในสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป คือ

3.1 การยกระดับทักษะและคุณภาพของทรัพยากรมนุษยทั้งในดานการศึกษา

สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดลอม

3.2 กําหนดเปาหมายลดมลพิษทางน้ํา อากาศ กากของเสียในเขตเมืองใหญ

โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขต กรุงเทพมหานคร เปนตน

จากที่กลาวถึงปรากฏการณทางเศรษฐกิจหรือการทางเศรษฐกิจหรือบริบททาง

เศรษฐกิจจากแผนพัฒนา ฉบับที่ 1 - ฉบับที่ 7 จะเห็นไดวาปญหาของการพัฒนาที่ถือวาลมเหลว

ที่เห็นไดชัดก็คือปญหาชองวางหรือความเลื่อมล้ําทางรายไดระหวางเมืองกับชนบท ระหวางคนรวย

กับคนจนเปนตน และยังเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป 2540

เหลานี้ทําใหเปนที่มาของแผนพัฒนาฉบับที่ 8 ฉบับที่ 9 และฉบับที่ 10 หันมาเนน

การพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งนี้สงเนื่องมาจากในการเรงพัฒนาเศรษฐกิจของไทยตลอดระยะเวลาที่ผาน

Page 146: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

133

มาไดมีการใชทรัพยากรธรรมชาติไปอยางมาก ในระยะแรกที่เริ่มมีการปลูกพืชเศรษฐกิจก็มีการรุก

พื้นที่ปามาขยายเปนพื้นที่เพาะปลูกแหลงใหม ๆ

ตอมาเมื่อมีการพัฒนาอุตสาหกรรม ความตองการใชที่ดิน และทรัพยากรธรรมชาติ

ก็ยิ่งมีมากขึ้น ทั้งเพี่อประโยชนในดานการสรางพื้นที่อุตสาหกรรม ขยายพื้นที่เพาะปลูก และการหา

ทรัพยากรมาใชในกิจกรรมอุตสาหกรรม ไมวาจะเปนการขุดแร การสรางโรงโมหิน การผลิต

ปูนซีเมนต และอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่ตองการพื้นที่ และ ตองการทรัพยากรธรรมชาติ

นอกจากนี้การพัฒนาอุตสาหกรรมก็กอใหเกิดตนทุนการผลิตแอบแฝงในรูปของขยะ

อุตสาหกรรมที่กอใหเกิดความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอมอีกดวย นี่คือสิ่งที่ประเทศโดยสวนรวม

ไดจายไปเปน คาทดแทนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

เหลานี้ทําใหเปนที่มาวาเราจําเปนตองหันมาทบทวนกันวาเราจะขยายการผลิตและ

การ บริโภคไปเรื่อย ๆ โดยไมใสใจกับผลที่นํามาใชเปนวิธีการแกปญหาและจากที่กลาวมาจะเห็น

วาการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในระยะแรกรัฐชวยสนับสนุนมาตอนหลังเอกชนเปนผูผลักดันหรือ

กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือในอดีตเราผานชวงที่มีรัฐชวยกํากับสนับสนุนเศรษฐกิจตอมาสูระบบ

เศรษฐกิจผลักดันโดยภาคเอกชน แตปจจุบันเรากําลังหวนกลับไปใหภาคการเมืองเปนผูขับดัน

เศรษฐกิจอีกครั้ง คลายยุทธศาสตรที่ญี่ปุน เกาหลีใต ไตวัน สิงคโปรเคยใชเม่ือ 50 ปกอน

ที่เปนเชนนั้นเพราะกอนวิกฤตเศรษฐกิจคนรวย ชนชั้นกลางไทยเพลิดเพลินกับฟอง

สบูของนโยบายการเงินเสรี หลังวิกฤตรัฐบาลเดินตามไอเอ็มเอฟ แตภาคสังคมสวนใหญเสนอ

แนวทางปรับทุนเปนไทย (ซึ่งไดแก การใชเศรษฐกิจพอเพียง ชาตินิยม ชุมชนนิยม)

มาถึงตรงนี้หากจะมีคําถามถามวาบริบทหรือสถานการณทางเศรษฐกิจที่ เกิดขึ้น

ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 พุทธศักราช 2540-44 ฉบับที่ 9 พุทธศักราช 2545-2549 และฉบับที่

10 พุทธศักราช 2550-2554 มีความเกี่ยวของกับสถานการณทางการเมืองบางไหม คําตอบตอบ

ไดวามีความเกี่ยวของ

ทั้งนี้เพราะสถานการณทางการเมืองอาจจะไมเลวรายยืดยาวนานนับทศวรรษเชนที่มี

การประเมินไวแตถามีการทบทวนบริบทในแงของประวัติศาสตรการเมืองของไทยตั้งแตเริ่ม

เปลี่ยนแปลงการปกครอง ชี้ใหเห็นวาการเมืองไทยจะถูกแบงออกเปนสองระยะคือ ระยะดุลยภาพ

และระยะเปลี่ยนผานไปสูดุลยภาพใหม

(1) ระยะดุลภาพทางการเมืองในแตละชวงมีระยะเวลายาวนานไมเทากัน (2) แต

ระยะเปลี่ยนผานระหวางดุลยภาพนั้นจะใชเวลาประมาณ 5-7 ป

เมื่ออิงตามหลักเกณฑดังกลาวกลาวไดวาชวงนี้ไทยจึงอยูระหวางระยะเปลี่ยนผาน

ไปสูดุลภาพใหม เราไมมีทางรูเลยวาดุลยภาพทางการเมืองแบบใหมจะเปนเชนไร แตเรารูวาชวง

Page 147: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

134

เปลี่ยนผานมักจะเปนชวงเวลาที่มีความเสี่ยงและความไมแนนอนทางการเมืองสูงและไรขีดจํากัด

ในแงดังกลาวดุลยภาพทางการเมืองจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อความขัดแยงในการแบง

สรรอํานาจไดคลี่คลายไปสูกรอบการเมืองใหม อนาคตทางการเมืองจะถูกจัดสรรขึ้นใหมและเปนที่

ยอมรับของผูเลนหรือแสดงหลัก

“ดุลยภาพ” ทางการเมืองดังกลาวมิไดหมายความถึงเถียรภาพทางการเมือง ความ

ขัดแยงทางการเมืองและแมแตการปฏิวัติรัฐประหารสามารถเกิดขึ้นไดภายใต “ดุลยภาพ” แตอยู

บนพื้นฐานของการรับรูขอแตกตางใด ๆ จะไดรับการขจัดอยางรวดเร็ว ทั้งนี้ปจจัยของความขัดแยง

นั้นพอที่จะคาดการณไดและกําหนดขอบเขตไดชัดเจนโดยที่รัฐบาลสามารถปฏิบัติตามนโยบายได

โดยไมติดขัด แตการเปลี่ยนผานของดุลยภาพจากขั้วหนึ่งไปสูอีกขั้วหนึ่งเปนบริบทหรือสถานการณ

ที่ไมสามารถคาดเดาไดและอาจมีมีความตอเนื่องใด ๆ มาถึงตรงนี้ เรามองไดวาไทยเขาสู

ระยะเปลี่ยนผานนี้ตั้งแต พุทธศักราช 2547

ขณะเดียวกันการแยงชิงตอสูอํานาจที่เกิดขึ้นเปนบริบททางการเมืองที่มีความไม

แนนอนและดูเหมือนความขัดแยงในครั้งนี้จะเปนไปโดยไรขอบเขตกฎเกณฑทางสังคมและ

ความลดหลั่นของอํานาจของแตละชนชั้นที่เคยเปนที่ยอมรับไดถูกลวงละเมิด

คงจะเร็วเกินไปที่จะทํานายวาโครงสรางทางการเมืองใหมในอนาคตจะเปนไป

ในรูปแบบใด เนื่องจากความขัดแยงทางการเมืองที่มีอยูในขณะนี้เพิ่งเริ่มขึ้น พุทธศักราช 2549

ดังนั้น ไทยคงจะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอยางรุนแรงไปอีกสามสี่ป

กอนที่ดุลยภาพทางการเมืองใหมจะถูกสถาปนาขึ้น

และในระหวางนั้นมีคําถามถามวาเศรษฐกิจไทยจะทรุดตัวไปอีกไหม คําตอบไดวา

แนนอน เปนไปไดวาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะกลางของไทยมีโอกาสที่จะทรุดตัวลงไป

อีก เพราะเห็นไดชัดวาอุปสรรคสําคัญที่ขัดขวางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย ในระยะ

ยาวก็คือการลงทุนมีนอยดังจะเห็นไดจากกราฟดานลาง ทั้งการลงทุนภาครัฐและเอกชนมี

คาต่ํากวาคาเฉลี่ยกวาหน่ึงชวงคาเบี่ยงเบนมาตรฐานมานานหลายปแลว (ศุภวุฒิ สายเชื้อ, 2552,

น. 62-63)

อยางไรก็ตาม ความวุนวายทางการเมืองที่เกิดขึ้นในขณะนี้ ทําใหการฟนฟูการลงทุน

ในชวงสองสามปขางหนาเปนไปไดยาก ในขณะเดียวกันภาคการสงออกของไทยยังมีการขยายตัว

อยางตอเนื่องและหลากหลายโดยการสงออกอาจจะเปนพลังขับเคลื่อนการของประเทศอีกครั้ง

ภาคการสงออกเติบโตขึ้นถึง 23.1 เปอรเซ็นต ในชวงครึ่งปแรกของป 2551 ถือวาเปนความสําเร็จ

อันงดงามอยางหนึ่งซึ่งสวนใหญเปนผลมาจากการเปลี่ยนเปาหมายจากตลาดที่พัฒนาแลว ไปสู

ตลาดเกิดใหมซึ่งมีอุปสงคเขมแข็งกวา

Page 148: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

135

การสงออกดังกลาวแทที่จริง คือการขายสินคาเพื่อการบริโภคของตางประเทศและ

ถามองเชนนี้การสงออกก็ไมไดแตกตางจากสินคาเพื่อการบริโภคภายในประเทศ

อยางไรก็ตามหัวใจสําคัญของเรื่องนี้ก็คือ การเติบโตและความเจริญรุงเรืองในระยะ

ยาวไมไดเกิดขึ้นจากการสงออกโดยตรง แตเกิดมาจากปจจัยหลัก 4 ประการ ไดแก ปริมาณของ

แรงงานที่เพิ่มขึ้น การเพิ่มปริมาณของทรัพยากรธรรมชาติ ความกาวหนาทางเทคโนโลยีและ

การลงทุนเนื่องจากการเพิ่มจํานวนแรงงานทําใหผลตอบแทนตอแรงงานที่ไดลดลง และ

การแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มเติมตองอาศัยการลงทุนเนื่องจากการเพิ่มจํานวนแรงงาน

ทําใหผลตอบแทนตอแรงงานที่ไดลดลง และการแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มเติมตองอาศัย

การลงทุนปจจัยหลักของการเจริญเติบโตในระยะยาวจึงมาจากการลงทุนและเทคโนโลยีซึ่งแฝงอยู

ในการลงทุนนั่นเอง

หากกลาวโดยสรุป บริบททางเศรษฐกิจไมสามารถฟนฟูการลงทุนอันเนื่องมาจาก

ความขัดแยงทางการเมือง เปนความเสี่ยงที่ชัดเจนที่สุดซึ่งนาจะมีผลตอศักยภาพการเติบโตทาง

เศรษฐกิจของไทยใน 4-5 ปขางหนา (ศุภวุฒิ สายเชื้อ, 2552, น. 67)

ประเด็นคือการที่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยที่ทรุดตัวลงมาดังที่ไดกลาว

มากอนนี้แลวดูจะไมคอยมีผลหรือสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง แมจะมี

ความเห็นของนักวิชาการบางทานจากคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จะไดกลาว

ในการอภิปรายครั้งหนึ่งเกี่ยวกับฐานะทางเศรษฐกิจของคนเสื้อเหลืองที่มีแนวรวมคือชนชั้นกลาง

ระดับกลางในเมือง และคนเสื้อแดงที่มีแนวรวมคือชนชั้นกลางระดับลางในหัวเมืองชนบทวา ฐาน

ของคนเสื้อเหลืองดีกวาคนเสื้อแดงดังคํากลาวของนักวิชาการทานนั้นดังนี้

“จากการลงสํารวจกลุมคนเสื้อแดงและเสื้อเหลืองในจังหวัดนครปฐม อุบลราชธานี

และเชียงใหม พบวาคนเสื้อเหลืองมีฐานะทางเศรษฐกิจและการศึกษาดีกวาคนเสื้อแดงเล็กนอย

แตทั้งสองกลุมลวนเปนชนชั้นกลางดวยกัน เพียงแตสัดสวนของคนเสื้อเหลืองที่อยูระดับ

ประกันสังคมมีสูงกวาคนเสื้อแดง

และดวยเหตุดังนั้น คนเสื้อแดงจึงใชบริการของนโยบาย “ประชานิยม” เชน 30 บาท

หรือกองทุนหมูบานสูงกวาคนเสื้อเหลืองและออกจะพอใจกับนโยบายนี้มาก

คําถามมีวา เหตุใดคนเสื้อแดงจึงออกมาชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมืองคําตอบนั้น

คอนขางชัดวาไมใชเพราะปจจัยทางเศรษฐกิจเพราะความยากจนและเสื้อแดงเองไมไดรูสึกวา

ตัวเองยากจน

ตรงกันขาม คนเสื้อเหลืองเสียอีกที่รูสึกวาตัวยากจน มีสัดสวนสูงกวาเสื้อแดง

(ยากจนตามความรูสึกไมใชยากจนตามตัวเลข) ยิ่งกวานั้นคนเสื้อแดงก็ไมไดออกมาเคลื่อนไหว

Page 149: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

136

เพราะความเลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจ

เหตุผลที่คนเสื้อแดงยกขึ้นมาสามอันดับแรกในการออกมาเคลื่อนไหวชุมนุมทาง

การเมืองก็คือ สองมาตรฐาน ตอตานการรัฐประหารและตอตานนายอภิสิทธิ์ เวชาชาชีวะ ขึ้นสู

ตําแหนงอยางไมชอบธรรม (ตามระบอบประชาธิปไตย) (นิธิ เอี่ยวศรีวงศ, 2553, น. 120-121)

ในดานความเหลื่อมล้ําทางอื่น อภิชาต ยังกลาววา

“เสื้อแดงในภาคกลาง (นครปฐม) และภาคเหนือ (เชียงใหม) ไมคอยมีสํานึกวาตัว

ถูกดูถูกเหยียดหยาม ในขณะที่เสื้อแดงในภาคอีสาน (อุบลราชธานี) มีสํานึกดานนี้

สูง” (นิธิ เอี่ยวศรีวงศ, 2553, น. 21) กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ เสื้อแดงภาคอีสาน

มีสํานึกถึงความเหลื่อมล้ําดานวัฒนธรรมสูงกวาภาคกลางและภาคเหนือ ที่จริงถอยคําดูถูกเหยียดหยามคนเสื้อแดง เชน “ควาย” “ถอย” ฯลฯ ดูเหมือนไมได

เจาะจงไปที่เสื้อแดงอีสานแตมี “ปม” ที่สืบทอดในทัศนคติของชนชั้นกลางมานาน

ที่คนอีสานสํานึกได”

จากที่กลาวมาขางตนมีขอสังเกตประการแรกคือ แมการออกมาเคลื่อนไหวมาชุมนุม

ของคนเสื้อแดงที่มีแนวรวมคือชนชั้นกลางระดับลางในหัวเมืองชนบท และคนเสื้อเหลืองที่ออกมา

เคลื่อนไหวออกมาชุมนุมที่มีแนวรวมคือชนชั้นกลางระดับกลางในเขต กรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑล แตขอสังเกตประการที่สองก็คือคนเสื้อแดงชัดเจนเลยไมไดออกมาเคลื่อนไหวชุมนุม

เพราะปญหาเศรษฐกิจคือความยากจนเปนหลักคนแมเสื้อแดงเองยังอยากใหฐานะความเปนอยู

ของพวกเขาที่รวมเอาแนวรวมชนชั้นกลางระดับลางในหัวเมืองชนบทเขาไวดวย ดีขึ้นกวาเดิม

รวมทั้งการที่พวกเขาจะสามารถเขาถึงแหลงเงินกูในอัตราดอกเบี้ยเทากับเงินกูในระบบเปนตน แต

เหตุผลหลักของการออกมาเคลื่อนไหวชุมนุม เพราะปจจัยทางการเมืองมากกวาดังที่ไดกลาวมา

กอนหนาที่แลว

สํ า หรับคนเ สื้ อ เหลื องที่ มี เป นแนว ร วมคือชนชั้ นกลางระดับกลา งในเข ต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวนหนึ่งแมจะมีความรูสึกวาพวกตนบรรลุความมั่นคงทาง

เศรษฐกิจในระดับที่สูงกวาคนเสื้อแดง (นิธิ เอี่ยวศรีวงศ, 2553, น. 121) แตเหตุผลของการออกมา

เคลื่อนไหวชุมนุมก็เพราะปจจัยทางการเมือง

เพราะฉะนั้นพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่ออกมาเคลื่อนไหวชุมนุม

ตลอดจนการติดตามขาวสารทางการเมือง การสนับสนุนพรรคการเมืองของคนเสื้อทั้งสองสี จึง

นาจะไมใชเกิดจากบริบททางเศรษฐกิจเทาไรนัก ยกตัวอยาง เหตุผลที่คนเสื้อแดงออกมาชุมนุม

เคลื่อนไหว ดังที่ไดกลาวมาในบริบททางการเมืองแลววาเกิดจากการที่ปจจัยทางการเมืองไทยที่มี

สองมาตรฐาน การมีความตองการที่ตองการตอตานการรัฐประหารและที่สําคัญคือความตองการ

Page 150: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

137

ในการตอตานรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ที่ขึ้นสูตําแหนงอยางไมชอบธรรม (ตามระบอบ

ประชาธิปไตยในแงของพวกเขา)

สวนคนเสื้อเหลืองที่มีแนวรวมคือชนชั้นกลางระดับกลาง โดยเฉพาะในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่ออกมาเคลื่อนไหวชุมนุม ติดตามขาวสารทางการเมือง เปนตน

สวนสําคัญหรือปจจัยสําคัญปจจัยหนึ่งเกิดจากปจจัยทางการเมืองนั่นคือ พรรค

การเมืองที่คนเสื้อแดงสนับสนุนในชวงนั้นคือพรรคพลังประชาชน ทําใหคนเสื้อเหลืองและแนวรวม

ไมสามารถทําการตรวจสอบไดอยางเต็มที่เพราะถูกลดทอนประสิทธิภาพในการตรวจสอบ

นอกจากนี้คนเสื้อเหลืองและแนวรวมยังตองการสิทธิการประทวงในพื้นที่สาธารณะ (Public

Sphere) รวมทั้งการมีหลักประกันที่กฎหมายเปดใหมีเสรีภาพอยางเต็มที่เปนตน

โดยสรุปผลจากการวิเคราะหบริบททางเศรษฐกิจที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมือง

ของชนชั้นกลาง ที่ไดวิเคราะหจากเอกสารพบวา บริบททางเศรษฐกิจมีผลตอพฤติกรรมทาง

การเมืองคอนขางนอย ทั้งนี้สวนหนึ่งเกิดจากตัวแบบของ Lipset ที่มีขอบกพรองเมื่อนํามาใชใน

ประเทศแถบเอเชียรวมทั้งประเทศไทยกับอีกประการหนึ่งการที่ชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานคร

และปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553 มารวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับกลุมพันธมิตรเพราะ

เหตุผลทางการเมืองและสังคมมากกวาเหตุผลทางเศรษฐกิจ

นอกจากนี้ จากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิดานตาง ๆ ยังพบวา บริบททางเศรษฐกิจ

มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้

1. การสนใจติดตามขอมูลขาวสาร การวิเคราะหพฤติกรรมทางการเมืองในดาน

การติดตามขาวสารขอมูลทางการเมืองนี้ พบวา พฤติกรรมของชนชั้นชนกลางมีความกระตื้อรนที่

จะสนใจขาวสารทางการเมืองมากขึ้น ดวยเหตุผลคือ ไมทราบวาสถานการณทางการเมืองใน

ขณะนั้นมีลักษณะความขัดแยงและความรุนแรงมากนอยเพียงใดและพวกตนควรจะเขาไปมีสวน

รวมมากนอยแคไหนซึ่งเกิดจากการวิเคราะหในบริบททางการเมืองที่กลาวมากอนหนานี้ที่ไดพบวา

ชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553 ไดเขามามีสวนรวม

มากแตในบริบททางเศรษฐกิจนั้นพบวาชนชั้นกลางติดตามขาวสารทางการเมืองดวยเหตุผลของ

การประกอบอาชีพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นอกจากนี้การติดตามขอมูลขาวสาร

กอนไปทํางานจะชวยในการวางแผนกอนการเดินทางได และหลีกพื้นที่ที่มีการชุมนุม ซึ่งสะทอนให

จากการสัมภาษณ ดังนี้

“ทุกวันนี้นะครับ พวกเราคนชั้นกลางในสังคมไทยจะตองมีการวางแผนตาง ๆ

กอนจะตัดสินใจทําอยางใดอยางหนึ่ง เชน การวางแผนกอนการเดินทางเพื่อ

หลีกเลี่ยงพื้นที่ที่การชุมนุม ทุกวันนี้ผมคิดวาประชาชน คนชั้นกลางทั้งหลายตอง

Page 151: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

138

เผชิญกับความไมแนนอนดานตาง ๆ ที่มีสาเหตุสําคัญมาจากการการเมืองที่ไม

มั่นคง” (นายปยะ ประยงค, สัมภาษณ, วันที่ 12 ธันวาคม 2553)

ในประเด็นดังกลาวสอดคลองกับคําสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิอีกทาน ที่มีความคิดเห็น

วา บริบททางเศรษฐกิจวามีผลตอพฤติกรรมการรับรูขอมูลขาวสารทางการเมืองของชนชั้นกลาง

กลาวคือ การที่ชนชั้นกลางมีขอมูลขาวสารที่เพียงพอจะมีผลตอการประกอบอาชีพของตนเอง

ดังนั้น ชนชั้นกลางในชวงที่ผานมา ( พุทธศักราช 2551 – 2553) จะสนใจติดตามขอมูลขาวสารทาง

การเมืองเพื่อเหตุผลทางเศรษฐกิจเทานั้นดังคําสัมภาษณที่วา

“อาจารยคิดวา ในชวงนั้นหรือแมกระทั่งตอนนี้คะ ชนชั้นกลางจะสนใจติดตาม

ขอมูลขาวสารเปนอยางมากนะคะ เพราะการที่ชนชั้นกลางสนใจติดตามขอมูลขาวสารนั้น ทําใหพวกเขารูจักชองทางในการทํามาหากิน ชองทางในการ

ประกอบอาชีพ ชองทางในการแสวงหาผลประโยชนของตนเอง ซึ่งอาจารยคิดวา

สําคัญในประเด็นนี้คะ” (รองศาสตราจารยรสริน ศิริยะพันธุ, สัมภาษณ, วันที่ 28

มกราคม 2554)

จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวา ชนชั้นกลางในสังคมไทยนั้นจะมีพฤติกรรมทาง

การเมืองในประเด็นที่เกี่ยวของกับการใหความสนใจติดตามขอมูลขาวสารทางการเมือง จากการ

สัมภาษณผูทรงคุณวุฒิทําใหทราบวา กลุมชนชั้นกลางติดตามขอมูลขาวสารเพื่อใชเปนขอมูลใน

การวางแผนการใชชีวิต วางแผนในการเดินทาง นอกจากนั้นการติดตามขอมูลขาวสารของชนชั้น

กลางยังจะทําใหมีโอกาสและชองทางในการประกอบอาชีพที่ดีขึ้นของตนเองและสมาชิกใน

ครอบครัว

2. การไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง พบวา พฤติกรรมและจํานวนของชนชั้นกลางที่ไปใช

สิทธิ์เลือกตั้งนั้นยังไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก เพราะกลุมคนสวนใหญยังเกิดความรูสึกวา ระบบ

อุปถัมภยังดํารงอยูในระบบการเมืองของประเทศไทย และกลุมผลประโยชนทางการเมืองก็ยังมี

ทายาทในการสืบทอดอํานาจทางการเมืองมาอยางตอเนื่อง และยังคงมีอิทธิพลสูงตอการพัฒนา

ทางการเมืองและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ทําใหคนชั้นกลางไปไดคิดวาการสละเวลาเพื่อไปใช

สิทธิ์เลือกตั้งหรือการสละเวลาเขารวมกิจกรรมทางการเมืองจะสามารถสงผลตอการเปลี่ยนแปลง

ทางการเมืองของประเทศแตประการใด อยางไรก็ตามการซื้อสิทธิ์ ขายเสียงในการไปลงคะแนน

เสียงเลือกตั้งนั้นไมสามารถโนมนาวใหกลุมคนชั้นกลางไปใชสิทธิ์เลือกตั้งได ดังคําสัมภาษณของ

ผูทรงคุณวุฒิทานหนึ่งที่กลาววา

“พฤติกรรมของกลุมชนชั้นกลางนั้น ผมคิดวา ในประเด็นการลงคะแนนเสียง

เลือกตั้งนั้นยังเหมือนเดิม ไมตางจากเดิมมากเพราะ เลือกตั้งไปคนเดิม ๆ ก็เขา

Page 152: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

139

มา แตยังดีหนอย ผมคิดวา คนชั้นกลางยังมีศักดิ์ศรี ไปขายเสียงในการใชสิทธิ์

เลือกตั้ง ผมคิดวาชนชั้นกลางยังมีความมั่นคงในประเด็นนี้ ” (นายเมธา

จันทรแจมจรัส, สัมภาษณ, วันที่ 25 มกราคม 2554)

มุมมองดังกลาวที่มีความเห็นวา บริบททางเศรษฐกิจมีผลตอพฤติกรรมของชนชั้น

กลางในประเด็นการไปใชสิทธิ์เลือกตั้งทั้งมีมุมมองที่เห็นวา กลุมคนชนชั้นกลางมีพฤติกรรมและ

จํานวนในการไปใชสิทธิ์เลือกตั้งเทาเดิม และบางทานมองวานาจะมากขึ้นจากเดิมนั้น แตอยางไร

ก็ตาม มีมุมมองของผูทรงคุณวุฒิบางทานวา การพฤติกรรมการไปใชสิทธิ์เลือกตั้งของกลุมชนชั้น

กลางมีแนวโนมที่ลดต่ําลง เนื่องจากลุมคนชั้นกลางมีความหวาดระแวงตอผลการเลือกตั้ง ที่เกิดขึ้น

ที่ไมแนนอน วาพรรคการเมือง นักการเมืองที่ตนเองเลือกจะไดรับเลือกตั้งหรือไม เนื่องจากเกิด

เหตุการณและความรุนแรงทางการเมืองเกิดขึ้น เชน การทําปฏิวัติรัฐประหาร การยึดอํานาจ การ

ประทวงที่มีความรุนแรงในขณะนั้น สาเหตุหรือปจจัยดังกลาวนั้นจะทําใหชนชั้นกลางไปใชสิทธิ์

เลือกตั้งมีจํานวนลดนอยลง

3. การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมือง จากการสัมภาษณ

ผูทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นตรงกันวา บริบททางเศรษฐกิจมีผลตอพฤติกรรมของกลุมชนชั้นกลาง

ในประเด็นการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมือง เนื่องจาก การที่ชนชั้นกลางไป

รวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองคอนขางนอยเพราะจากการสัมภาษณเจาะลึก

สรุปไดวาเหตุผลของการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองที่ เปนผลมาจาก

บริบททางเศรษฐกิจเปนเหตุผลสวนบุคคล หรือมองในรูปผลประโยชนสวนตนเทานั้นเปนชองทางที่

สําคัญและเปนโอกาสที่ดีในการประกอบอาชีพ การดําเนินธุรกิจ และการแสวงหาผลประโยชน

ใหกับตนเอง

4. การการสนับสนุนพรรคการเมือง จากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิสวนใหญมี

ความคิดเห็นตรงกันวา บริบททางเศรษฐกิจมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของกลุมชนชั้นกลาง

ในประเด็นการสนับสนุนพรรคการเมือง พบวา ในชวง พุทธศักราช 2550 – 2553 นั้นกลุมคนชนชั้น

กลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนั้น มีการสนับสนุนพรรคการเมืองที่ตนชื่นชอบและตน

ไดรับผลประโยชนซึ่งสะทอนใหเห็นจากบทสัมภาษณที่วา

“การสนับสนุนพรรคการเมือง ผมคิดวาชนชั้นกลุมผูที่อาจจะกลาวไดวาเปน

บุคคลที่มีความรู มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดี คงไมหลับหูหลับตาสนับสนุนพรรคการเมืองใด พรรคการเมืองหนึ่ง อยางไมมีเหตุผลหรอกครับ แตผมคิดวา การที่

เขาจะสนับสนุนพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งนั้นเกิดจากการที่เคาไดรับ

ประโยชนจากพรรค และจากการพิจารณาคุณสมบัติของผูนําพรรคและคณะ

Page 153: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

140

บริหารพรรค วามีความสามารถที่เพียงพอตอการแกไขปญหาทางเศรษฐกิจของ

บานเมืองไดมากนอยแคไหนตางหาก” (นายธีระชัย แสนแกว, สัมภาษณ,

วันที่ 15 มกราคม 2554)

กลาวโดยสรุปจากการวิเคราะหจากการสัมภาษณเจาะลึกจากกลุมผูทรงคุณวุฒิถึง

บริบททางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในชวง พุทธศักราช 2551 -2553 วาจะมีผลตอพฤติกรรมการมีสวน

รวมทางการเมืองของกลุมชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลหรือไมในประเด็น การ

ใหความสนใจในการติดตามขอมูลขาวสารทางการเมืองการไปใชสิทธิ์เลือกตั้งการไปรวมกลุมหรือ

แนวรวมกับองคการทางการเมืองและการสนับสนุนพรรคการเมือง ผลจากการวิเคราะหจากการสัมภาษณเจาะลึกกับกลุมผูทรงคุณวุฒิพบในลักษณะที่สอดคลองจากการวิเคราะหจากเอกสารที่กลาวมากอนหนานี้นั่นคือบริบททางเศรษฐกิจมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551 -2553 คอนขางนอย

Page 154: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

บทที่ 5

ผลสํารวจความคิดเห็นและพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช 2551-2553

การที่ผูวิจัยมีวัตถุประสงคขอที่ 2 นี้ เนื่องจากผูวิจัยเห็นวาถาชนชั้นกลางมีความรู

ความเขาใจในการเมืองระบอบประชาธิปไตยในชวงที่ผูวิจัยทําการศึกษาดีก็จะสงผลตอพฤติกรรม

ทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

ที่จะไปสงเสริม สนับสนุนการเมืองในระบอบประชาธิปไตยใหเปนประชาธิปไตยที่แทจริง

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของชนชั้นกลาง

เพศ

ตารางที่ 5.1

ขอมูลทั่วไปจําแนกตาม เพศ

n = 1000

ประชากรเพศ

จํานวน รอยละ

ชาย 448 44.8

หญิง 552 55.2

รวม 1000 100.0

จากตารางที่ 1 แสดงขอมูลทั่วไปจําแนกตามเพศ ปรากฏผลดังนี้

จากการศึกษา พบวา สวนใหญกลุมตัวอยางเปนเพศหญิง จํานาน 552 คน คิดเปน

รอยละ 55.2 รองลงมา รอยละ 44.8 เปนเพศชาย มีจํานาน 448 คน

Page 155: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

142

อายุ

ตารางที่ 5.2

ขอมูลทั่วไปจําแนกตามอายุ

n = 109

ประชากรอายุ

จํานวน รอยละ

ต่ํากวา 20 ป 0 0.0

20-25 ป 156 15.6

26 – 30 ป 400 40.0

31-35 ป 234 23.4

36-40 ป 126 12.6

41 -45 ป 39 3.9

46-50 ป 8 0.8

51-60 ป 24 2.4

61 ปขึ้นไป 13 1.3

รวม 1000 100.0

จากตารางที่ 2 แสดงขอมูลทั่วไปจําแนกตามอายุ ปรากฏผลดังนี้

จากการศึกษา พบวา สวนใหญ รอยละ 40.0 มีอายุอยูระหวาง 26 – 30 ป มี

จํานวน 400 คน รองลงมา รอยละ 23.4 มีอายุอยูระหวาง 31-35 ป มีจํานวน 234 คน และ

รอยละ 15.6 มีอายุอยูระหวาง 20-25 ป มีจํานวน 156 คน ตามลําดับ

Page 156: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

143

ระดับการศึกษา

ตารางที่ 5.3 ขอมูลทั่วไปจําแนกตามระดับการศึกษา

n = 1000

ประชากรระดับการศึกษา

จํานวน รอยละ

ต่ํากวาปริญญาตรี 137 17.3

ปริญญาตรี 736 73.6

ปริญญาโท 91 9.1

ปริญญาเอก 0 0

รวม 1000 100.0

จากตารางที่ 3 แสดงขอมูลทั่วไปจําแนกตามระดับการศึกษา ปรากฏผลดังนี้จากการศึกษา พบวา สวนใหญ รอยละ 73.6 มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี มี

จํานวน 736 คน รองลงมา รอยละ 17.3 มีการศึกษาอยูในระดับต่ํากวาปริญญาตรี มีจํานวน 137คน และรอยละ 9.1 มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาโท มีจํานวน 91 คน ตามลําดับ

อาชีพ

ตารางที่ 5.4 ขอมูลทั่วไปจําแนกตาม อาชีพ

n = 1000

ประชากรอาชีพ

จํานวน รอยละ

รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ 177 17.7

ลูกจางบริษัทเอกชน 400 40.0

เจาของกิจการ 339 33.9

อื่น ๆ (แมบาน นักศึกษา พนักงานราชการ พนักงานขับรถ)

84 8.4

รวม 1000 100.0

Page 157: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

144

จากตารางที่ 4 แสดงขอมูลทั่วไปจําแนกตามอาชีพ ปรากฏผลดังนี้

จากการศึกษา พบวา สวนใหญ รอยละ 40.0 มีอาชีพเปนลูกจางบริษัทเอกชน มี

จํานวน 400 คน รองลงมา รอยละ 33.9 มีอาชีพเปนเจาของกิจการ มีจํานวน 339 คน และรอยละ

17.7 มีอาชีพรับราชการ / รัฐวิสาหกิจ มีจํานวน 177 คน ตามลําดับ

รายไดตอเดือน

ตารางที่ 5.5

ขอมูลทั่วไปจําแนกตามรายไดตอเดือน

n = 1000

ประชากรรายไดตอเดือน

จํานวน รอยละ

ต่ํากวา 10,000 บาท 70 7.0

10,000 – 20,000 บาท 378 37.8

20,001 – 30,000 บาท 272 27.2

30,001 – 40,000 บาท 73 7.3

40,001 – 50,000 บาท 84 8.4

มากกวา 50,000 บาท 123 12.3

รวม 1000 100.0

จากตารางที่ 5 แสดงขอมูลทั่วไปจําแนกตามรายไดตอเดือน ปรากฏผลดังนี้

จากการศึกษา พบวา สวนใหญ รอยละ 37.8 มีรายไดตอเดือน อยูระหวาง 10,000

– 20,000 บาท มีจํานวน 378 คน รองลงมา รอยละ 27.2 มีรายไดตอเดือน อยูระหวาง 20,001 –

30,000 บาท มีจํานวน 272 คน และรอยละ 12.3 มีรายไดตอเดือนมากกวา 50,000 บาท

มีจํานวน 123 คน ตามลําดับ

Page 158: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

145

สถานภาพทางครอบครัว

ตารางที่ 5.6

ขอมูลทั่วไปจําแนกตามสถานภาพทางครอบครัว

n = 1000

ประชากรสถานภาพทางครอบครัว

จํานวน รอยละ

โสด 322 32.2

สมรส 559 55.9

หยาราง / หมาย 22 2.2

อยูดวยกันแตไมไดจดทะเบียนสมรส 97 9.7

รวม 1000 100.0

จากตารางที่ 6 แสดงขอมูลทั่วไปจําแนกตามสถานภาพทางครอบครัว ปรากฏผล

ดังนี้

จากการศึกษา พบวา สวนใหญ รอยละ 55.9 มีสถานภาพสมรส มีจํานวน 559 คน

รองลงมา รอยละ 32.2 มีสถานภาพโสด มีจํานวน 322 คน และรอยละ 9.7 มีสถานภาพอยู

ดวยกันแตไมไดจดทะเบียนสมรส มีจํานวน 97 คน ตามลําดับ

Page 159: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

146

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของชนชั้นกลางตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

ตารางที่ 5.7

ความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

X S.D.แปล

ผล

1. นักการเมืองและ

ขาราชการทุกวันนี้

เชื่อถืออะไรไมไดไม

ซื่อสัตย ฉอราษฎรบัง

หลวง

251

(25.1)

638

(63.8)

60

(6.0)

20

(2.0)

31

(3.1)

4.05 0.81 มาก

2. การเมืองการปกครอง

ที่เปนอยูในปจจุบัน

เปนเรื่องของผูมี

อํานาจไมใชเปนเรื่อง

ของประชาชน

278

(27.8)

545

(54.5)

165

(16.5)

11

(1.1)

1

(0.1)

4.08 0.69 มาก

3. บุคคลในคณะรัฐบาล

และนักการเมืองเปน

ผูที่ทานมีความรูสึก

วาไมนาเชื่อถือไม

สามารถไววางใจได

มากกวาเดิม

334

(33.4)

462

(46.2)

136

(13.6)

47

(4.7)

21

(2.1)

4.04 0.91 มาก

4. รัฐธรรมนูญเปนกลไก

สําคัญของการเมือง

การปกครอง

โดยเฉพาะการ

สงเสริมการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตย

286

(28.6)

577

(57.7)

115

(11.5)

6

(0.6)

16

(1.6)

4.11 0.74 มาก

Page 160: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

147

ตารางที่ 5.7 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

5. รัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย

2550 ไดเปดโอกาสให

หากทานและ

ประชาชนโดยทั่วไปมี

สิทธิมีเสียง หรือมีสวน

รวมทางการเมือง

กวางขวางเพิ่มขึ้นมาก

กวาเดิม

301

(30.1)

543

(54.3)

151

(15.1)

5

(0.5)

0

(0)

4.14 0.67 มาก

6. ที่กลาวกันวา

ประชาธิปไตย คือ การ

ปกครองของประชาชน

โดยประชาชน เพื่อ

ประชาชนทานคิดวา

นาจะไมเปนความจริง

335

(33.5)

427

(42.7)

197

(19.7)

31

(3.1)

10

(1.0)

4.04 0.86 มาก

7. การที่ทานเขาไปมีสวน

รวมกิจกรรมทางการ

เมืองรวมกับคนอื่นเปน

สิ่งที่มีประโยชน และ

นาจะเปนผลดีตอ

การเมืองในภาพรวม

244

(24.4)

532

(53.2)

192

(19.2)

25

(2.5)

7

(0.7)

3.98 0.77 มาก

Page 161: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

148

ตารางที่ 5.7 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

8. การเมืองไทยปจจุบันไมมี

อะไรดีขึ้นกวาเดิม พรรค

การเมืองไทยนักการเมือง

ไมมีความรูความสามารถ

ที่สอดคลองกับบริบททาง

การเมืองเศรษฐกิจและ

สังคมในปจจุบันที่

เพียงพอแลวยังชอบ

แสวงหาผลประโยชนสวน

ตนและยังตามขัดแยงกัน

ระหวางกาลเวลา

273

(27.3)

528

(52.8)

169

(16.9)

14

(1.4)

16

(1.6)

4.02 0.80 มาก

9. การเมืองการปกครอง

ปจจุบันเปนเรื่องที่สับสน

วุนวายจนประชาชนทั่วไป

ไมสามารถเขาใจวา

รัฐบาลและนักการเมือง

ทํางานตามบทบาทหนาที่

ของตนและทําอะไรกันอยู

316

(31.6)

514

(51.4)

135

(13.5)

2

(0.2)

33

(3.3)

4.07 0.86 มาก

10. ปจจุบันการเมืองไทยมี

พัฒนาการทางการเมืองที่

ดีขึ้นกวาเดิมชนชั้นกลางมี

ความเขาใจสนใจติดตาม

ขาวสารการเมืองเพิ่มขึ้น

255

(25.5)

522

(52.2)

210

(21.0)

13

(1.3)

0

(0.0)

4.01 0.71 มาก

Page 162: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

149

ตารางที่ 5.7 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

X S.D.แปล

ผล

11. การเมืองการปกครองใน

ปจจุบันเปดโอกาสให

ทานและประชาชน

สามารถถอดถอน เขาชื่อ

เสนอกฎหมายทําประชา

พิจารณครบถวน

ตรวจสอบการทํางาน

พรรคการเมือง

นักการเมืองและรัฐบาล

ไดมากขึ้นกวาเดิม

300

(30.0)

546

(54.6)

128

(12.8)

23

(2.3)

3

(0.3)

4.11 0.73 มาก

12. นักการเมืองไมวาจะเปน

รัฐบาลหรือฝายคานไม

มีความนาเชื่อถือนา

ศรัทธาในภาพรวมไมมี

คุณภาพและ

ความสามารถมาก

กวาเดิม

195

(19.5)

535

(53.5)

177

(17.7)

82

(8.2)

11

(1.1)

3.82 0.87 มาก

13. ทานคิดวาตัวทานและ

ประชาชนควรมีสวนรวม

ในการกําหนดทิศทาง

ของการเมืองการ

ปกครองมติในการ

กําหนดนโยบายการวาง

แผนการตัดสินใจสงผล

กระทบตอตัวทานมาก

เพิ่มขึ้น

311

(31.1)

499

(49.9)

177

(17.7)

8

(0.8)

5

(0.5)

4.11 0.74 มาก

Page 163: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

150

ตารางที่ 5.7 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

14. บางครั้งการเมืองการ

ปกครองเปนเรื่องที่

สลับซับซอนยุงยาก

เกินกวาตัวทานจะ

เขาใจ

368

(36.8)

460

(46.0)

156

(15.6)

16

(1.6)

0

(0.0)

4.18 0.74 มาก

15. รัฐบาลและเจาหนาที่

ของรัฐมักจะไมสนใจ

กับปญหาของหาก

ทานรวมทั้งปญหา

ของประชาชนไมวา

จะเปนปญหา

เศรษฐกิจสังคมและ

การเมืองเทาที่ควร

356

(35.6)

539

(53.9)

100

(10.0)

5

(0.5)

0

(0.0)

4.24 0.64 มาก

ที่สุด

16. การที่ทานมีสวนรวม

ทางการเมืองรูปแบบ

ตาง ๆ อาทิการสนใจ

ติดตามขาวสาร

ทางการเมืองการไป

ใชลงคะแนนเสียง

เลือกตั้งถือเปนวิธีที่

สําคัญที่สุดในการ

ดําเนินการบริหาร

ประเทศ

369

(36.9)

425

(42.5)

188

(18.8)

15

(1.5)

3

(0.3)

4.14 0.79 มาก

Page 164: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

151

ตารางที่ 5.7 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

17. การกําหนดใหการ

เลือกตั้งเปนหนาที่

ถาผูไมไปใชสิทธิ

เลือกตั้งอาจจะตองเสีย

ประโยชนอื่น ๆ บาง

ประการเปนสิ่งที่

ถูกตอง

330

(33.0)

458

(45.8)

209

(20.9)

3

(0.3)

0

(0.0)

4.11 0.73 มาก

18. นักการเมืองและ

รัฐบาลควรจะใหความ

สนใจในสิ่งที่ตัวทาน

และประชาชนเห็นวา

เปนปญหาหรือเปน

ความตองการของตัว

ทานและประชาชน

มากกวาความตองการ

ของนักการเมือง

458

(45.8)

429

(42.9)

90

(9.0)

23

(2.3)

0

(0.0)

4,32 0.73 มาก

ที่สุด

19. ผลของการที่ทานมี

สวนรวมการเมือง

โดยตรง อาทิ การลง

ประชามติการทํา

ประชาพิจารณในเรือง

ตาง ๆ มีอิทธิพลตอ

การกําหนดนโยบาย

รวมถึงตัดสินใจใน

เรื่องสําคัญของรัฐบาล

ไดเปนอยางมาก

336

(33.6)

548

(54.8)

104

(10.4)

12

(1.2)

0

(0.0)

4.20 0.66 มาก

Page 165: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

152

ตารางที่ 5.7 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

20. การทําใหวุฒิสมาชิกมา

จากการสรรหาและมา

จากการเลือกตั้งของตัว

ทานและ ประชาชนจะ

ชวยทําใหการเมืองใน

ระบอบประชาธิปไตยของ

ไทยมีประสิทธิภาพมากขึ้น

425

(42.5)

406

(40.6)

164

(16.4)

5

(0.5)

0

(0.0)

4.25 0.73 มาก

ที่สุด

21. การเปลี่ยนแปลงทาง

การเมืองรวมทั้งเศรษฐกิจ

และสังคมเปนสิ่งที่เปนไป

ไดถาตัวทานและ

ประชาชนแตละคน

สามารถเขาไปมีบทบาท

ในการนํามาซึ่งการ

เปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ได

490

(49.0)

353

(35.3)

133

(13.3)

21

(2.1)

0

(0.0)

4.31 0.78 มาก

ที่สุด

22. ทานคิดวา สถาบัน

กระบวนการ และกลไก

ทางการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทย

ตามรัฐธรรมนูญฉบับ

2550 เปนสิ่งที่สําคัญที่

ชวยทําใหรัฐบาลฝาย

คานทําหนาที่ที่ถูกตอง

ตามกฎหมาย

318

(31.8)

508

(50.8)

148

(14.8)

26

(2.6)

0

(0.0)

4.11 0.74 มาก

คาเฉลี่ยรวม 4.09 0.75 มาก

Page 166: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

153

จากตารางที่ 5.7 ที่แสดงความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทย ปรากฏผลดังนี้

ความคิดเห็นของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช

2551-2553 เกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย ในภาพรวมพบวา กลุมตัวอยางมี

ความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองไทยในปจจุบัน อยูในระดับมาก ( = 4.09)

และเมื่อพิจารณาไปตามรายละเอียดตามรายขอผลปรากฏดังนี้

1. ชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเห็นวา นักการเมืองและ

ขาราชการทุกวันนี้เชื่อถืออะไรไมได ไมซื่อสัตย ฉอราษฎรบังหลวง ในภาพรวม พิจารณาคาระดับ

เฉลี่ยเทากับ 4.05 ซึ่งอยูในระดับมากเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.09)

2. การเมืองการปกครองที่เปนอยูในปจจุบันเปนเรื่องของผูมีอํานาจไมใชเปนเรื่อง

ของประชาชน พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.08 ซึ่งอยูในระดับมากเชนเดียวกันเมื่อเปรียบเทียบ

กับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.09)

3. บุคคลในคณะรัฐบาลและนักการเมืองเปนผูที่ทานมีความรูสึกวาไมนาเชื่อถือ

ไมสามารถไววางใจไดมากกวาเดิมเมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.04 ซึ่งอยูในระดับมาก

และเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.09)

4. รัฐธรรมนูญเปนกลไกสําคัญของการเมืองการปกครอง โดยเฉพาะการสงเสริม

การปกครองระบอบประชาธิปไตยเมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.11 ซึ่งอยูในระดับมาก และ

เมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.09)

5. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2550 ไดเปดโอกาสใหหากทานและประชาชน

โดยทั่วไปมีสิทธิมีเสียง หรือมีสวนรวมทางการเมืองกวางขวาง เพิ่มขึ้นมากกวาเดิม เมื่อพิจารณา

คาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.14 ซึ่งอยูในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( =

4.09)

6. ที่กลาวกันวาประชาธิปไตย คือ การปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อ

ประชาชนทานคิดวานาจะไมเปนความจริงจากการศึกษา และเมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ

4.04 ซึ่งอยูในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.09)

7. การที่ทานเขาไปมีสวนรวมกิจกรรมทางการเมืองรวมกับคนอื่นเปนสิ่งที่มี

ประโยชน และนาจะเปนผลดีตอการเมืองในภาพรวม และเมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 3.98

ซึ่งอยูในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.09)

การที่ผลความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของ

ไทย ตามตารางท่ี 5.7 มีคาเฉลี่ย โดยภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 4.09)

Page 167: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

154

ทั้งนี้นาจะเปนเพราะการเมืองไทยในอดีตและปจจุบันไดมีนักการเมืองที่มาจาก

นักธุรกิจ และเมื่อเขามามีอํานาจทางการเมืองก็เริ่มที่จะใชเงินซื้อเสียงในการเลือกตั้ง รวมทั้ง

ความตองการที่จะเขามาดํารงตําแหนงรัฐมนตรี และเมื่อไดตําแหนงตามที่ตนตองการแลวก็ใช

ตําแหนงทางการเมืองนั้นเปนฐานในการสนับสนุนภาคธุรกิจของตน และหาเงินไดจาก

การพิจารณาอนุมัติโครงการตาง ๆ โดยไดคาตอบแทนเขามาเกี่ยวของ ผลทําใหมีการใชเงินใน

แทบทุกขั้นตอน

นอกจากนี้ ไดสงผลกระทบโดยตรงตอการเมืองของไทย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ตั้งแตป

2531 เปนตนมา (ลิขิต ธีรเวคิน, 2534, น. 216) จนถึงชวงปพุทธศักราช 2544-ปจจุบันจะเห็นไดวา

เปนการเมืองในระบอบประชาธิปไตยที่นําไปสูความเสื่อมศรัทธาและเสียความชอบธรรม

ดังตอไปนี้ (ลิขิต ธีรเวคิน, 2542, น. 414-417)

ประการแรก ปญหาการใชเงินซื้อเสียงเพื่อเขาสูตําแหนงทางการเมือง

ประการที่สอง ปญหาเรื่องการแยงชิงตําแหนง อํานาจ

ประการที่สาม ปญหาการแสวงผลประโยชนจากตําแหนงระดับสูง

ประการสุดทาย ปญหาการแสดงอํานาจบาตรใหญของนักการเมืองในการเขาสู

ตําแหนงอํานาจดวยการใชตําแหนง อํานาจ การกระทําที่เยยหยันกฎหมายทาทายความถูกตอง

ทํานองครองธรรม

การที่นักการเมือง และคณะรัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรีตลอดจนขาราชการเปนตน

มีพฤติกรรมทางการเมืองเชนนั้นมีสาเหตุดังนี้

ประการแรก เปนเพราะขอจํากัดของกาเรมืองแนวเดิม หรือการเมืองแบบตัวแทน

หรือการเมืองในระบอบประชาธิปไตย แบบตัวแทนที่ไดกลาวไวแลวในบทที่ 4

ประการที่สอง บริบททางสังคมไทยในชวงหลัง นอกจากจะเปนสังคมพหุนิยม

(Pluralistic Society) แลวที่มีกลุมหลากหลายประกอบดวยรัฐธรรมนูญ ตั้งแตฉบับพุทธศักราช

2540 และ 2550 ใหสิทธิเสรีภาพตลอดจนการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนทุกกลุมอยาง

กวางขวางรวมทั้งสื่อในปจจุบัน นอกจากจะมีสื่อมากขึ้นและสื่อสมัยใหม อาทิ Internet เปนตน ทํา

ใหชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมนฑลซึ่งมีการศึกษา อาชีพ รายไดที่มั่นคงตางรับรู

นอกจากเรื่องเศรษฐกิจ สังคมแลว ยังสามารถรับรูเรื่องการเมือง และพฤติกรรมของนักการเมือง

ไทยวามีพฤติกรรมอยางที่ปรากฎในตารางที่ 5.7 จริง

การที่ความคิดเห็นของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลปรากฎ

ออกมาตามที่กลาวมาในขางตนนาจะเปนสัญญานที่สงผลดีตอการเมืองไทยในปจจุบันและ

อนาคต

Page 168: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

155

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ในชวง 2551-2553 ที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

การใหความสนใจติดตามขาวสารขอมูลทางการเมืองที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

ตารางที่ 5.8

ความสนใจติดตามขาวสารขอมูลทางการเมือง

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

X S.D.แปลผล

1. การที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมืองจากสื่อมวลชนและ Internet ทําใหทานเขาใจการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในปจจุบันมากนอยเพียงใด (2551-2553)

195(19.5)

585(58.5)

204(20.4)

9(0.9)

7(0.7)

3.95 0.70 มาก

2. การที่ทานสนใจติดตามการและระดับทองถิ่นรณรงคหาเสียงทางการเมืองของนักการเมืองระดับชาติและระดับทองถิ่น ทําใหทานไดเรียนรูและเขาใจกระบวนการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย อาทิวิถีชีวิตและหลักการแบบประชาธิปไตย เปนตน มากนอยเพียงใด

358(35.8)

420(42.0)

205(20.5)

17(1.7)

0(0.0)

4.11 0.78 มาก

Page 169: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

156

ตารางที่ 5.8 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

3. ทานคิดวาการที่ทานสนใจ

ติดตามขาวสารทางการ

เมือง อาทิ การบริหารงาน

ของรัฐบาล การทําหนาที่

ของฝายคาน ทําใหทาน

เขาใจและตระหนักบทบาท

ของฝายบริหารหรือ

ฝายรัฐบาลและฝายคาน

มากนอยเพียงใด

300

(30.0)

444

(44.4)

232

(23.2)

24

(2.4)

0

(0.0)

4.02 0.79 มาก

4. การที่ทานสนใจติดตาม

ขาวสารของการเมืองจาก

สื่อประเภทตาง ๆ ของ

พฤติกรรมนักการเมือง

อาทิมีการทุจริต คอรัปชั่น

ตลอดทุกรัฐบาลทําใหทาน

เกิดความเบื่อหนายใน

พฤติกรรมนักการเมือง

มากนอยเพียงใด

315

(31.5)

491

(49.1)

180

(18.0)

14

(1.4)

0

(0.0)

4.10 0.73 มาก

Page 170: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

157

ตารางที่ 5.8 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

5. การที่ทานสนใจติดตาม

ขาวสารทางการเมือง อาทิ

ในการพูดคุยกับผูที่สนใจ

ทางการเมืองดวยกันตาม

พื้นที่สาธารณะ อาทิ ราน

กาแฟ สนามเด็กเลน

สวนสาธารณะ ทําใหมี

ความรอบรูและรูลึก

เกี่ยวกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทย

เพิ่มขึ้นมากนอยเพียงใด

364

(36.4)

393

(39.3)

238

(23.8)

5

(0.5)

0

(0.0)

4.11 0.78 มาก

6. การที่ทานสนใจติดตาม

ขาวสารทางการเมืองอยู

ตลอดเวลาผานสื่อตาง ๆ

ทําใหทานเขาใจวา

การเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยบรรดา

นักการเมืองสวนใหญเวลา

ตอสูกันทางการเมืองมัก

ตอสูภายใต กติกา อาทิ

กฎหมาย โดยไมใชความ

รุนแรงทางการเมือง

289

(28.9)

496

(49.6)

210

(21.0)

5

(0.5)

0

(0.0)

4.06 0.71 มาก

Page 171: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

158

ตารางที่ 5.8 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

7. การที่ทานมีโอกาส

แลกเปลี่ยนพูดคุยถึงเรื่อง

การเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทย

หนาที่เกี่ยวกับ บทบาท

หนาที่ของพรรคการเมือง

กลุมผลประโยชน ทําให

ทานไดเรียนรู เขาใจถึง

หลักการประชาธิปไตยที่

สําคัญ อาทิ หลักเสียงขาง

มากการเคารพเสียงขาง

นอย มากนอยเพียงใด

315

(31.5)

559

(55.9)

103

(10.3)

21

(2.1)

2

(0.2)

4.16 0.70 มาก

8. การที่ทานสนใจติดตาม

ขาวสารทางการเมืองอยู

เสมอ ทําใหทานอยาก

เห็นหรือปรารถนาที่จะเห็น

การเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยมีพัฒนาการ

ไปในทางที่ดีขึ้น กวาที่

ผานมาและเห็นวาการเมือง

ในระบอบนี้ชวยแกปญหา

ใหกับตัวทานและ

ประชาชนไดมากกวา

ระบอบเผด็จการ

332

(33.2)

523

(52.3)

126

(12.6)

19

(1.9)

0

(0.0)

4.16 0.71 มาก

Page 172: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

159

ตารางที่ 5.8 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

9. การที่ทานสนใจติดตาม

ขาวสารทางการเมืองผาน

สื่อตาง ๆ อยางตอเนื่องทํา

ใหทานเขาใจถึงความจริง

ทางการเมือง เชน

รัฐธรรมนูญ รัฐบาล รัฐสภา

ตลอดจนสิทธิเสรีภาพของ

ตัวทานในฐานะประชาชน

หรือพลเมืองมากนอย

เพียงใด

288

(28.8)

466

(46.6)

240

(24.0)

6

(0.6)

0

(0.0)

4.03 0.74 มาก

10. การทานสนใจติดตาม

ขาวสารทางการเมืองแมจะ

ไมบอยครั้งนักแตก็ชวยทํา

ใหทานเขาใจวาผูที่มีสิทธิ

อํานาจทางการเมืองไดแก

รัฐบาล รัฐสภา ขาราชการ

เปนตน

280

(28.0)

491

(49.1)

206

(20.6)

23

(2.3)

0

(0.0)

4.02 0.76 มาก

คาเฉลี่ยรวม 4.07 0.74 มาก

จากตารางที่ 5.8 แสดง การใหความสนใจติดตามขาวสารขอมูลทางการเมือง

ปรากฏผล ในภาพรวมอบูในระดับมาก ( = 4.07) และเมื่อพิจารณาเปนรายขอก็พบวามีคาเฉลี่ย

อยูในระดับมากดังนี้

1. การที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมืองจากสื่อมวลชนและ Internet ทําให

ทานเขาใจการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในปจจุบันมากนอยเพียงใด (2551-2553)

Page 173: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

160

จากการศึกษา พบวา กลุมตัวอยาง มีความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง อยูในระดับมาก

พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 3.95 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.07)

2. การที่ทานสนใจติดตามการและระดับทองถิ่นรณรงคหาเสียงทางการเมืองของ

นักการเมืองระดับชาติและระดับทองถิ่น ทําใหทานไดเรียนรูและเขาใจกระบวนการเลือกตั้งใน

ระบอบประชาธิปไตย อาทิวิถีชีวิตและหลักการแบบประชาธิปไตย เปนตนมากนอยเพียงใด จาก

การศึกษา พบวาพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.11 ซึ่งอยูในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบกับ

คาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.07)

3. ทานคิดวาการที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง อาทิ การบริหารงานของ

รัฐบาล การทําหนาที่ของฝายคาน ทําใหทานเขาใจและตระหนักบทบาทของฝายบริหารหรือ

ฝายรัฐบาลและฝายคานมากนอยเพียงใด พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.02 ซึ่งอยูในระดับมาก

และเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.07)

4. การที่ทานสนใจติดตามขาวสารของการเมืองจากสื่อประเภทตาง ๆ ของ

พฤติกรรมนักการเมือง อาทิมีการทุจริต คอรัปชั่น ตลอดทุกรัฐบาลทําใหทานเกิดความเบื่อหนาย

ในพฤติกรรมนักการเมืองมากนอยเพียงใด พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.10 ซึ่งอยูในระดับมาก

และเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.07)

5. การที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง อาทิในการพูดคุยกับผูที่สนใจทาง

การเมืองดวยกันตามพื้นที่สาธารณะ อาทิ รานกาแฟ สนามเด็กเลน สวนสาธารณะ ทําใหมีความ

รอบรูเกี่ยวและรูและรูลึกเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยเพิ่มขึ้นมากนอย

เพียงใด พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.11 ซึ่งอยูในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ย

ในภาพรวม ( = 4.07)

6. การที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมืองอยูตลอดเวลาผานสื่อตาง ๆ ทําให

ทานเขาใจวาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยบรรดานักการเมืองสวนใหญเวลาตอสูกันทาง

การเมืองมักตอสูภายใตกติกา อาทิกฎหมาย โดยไมใชความรุนแรงทางการเมือง พิจารณาคาระดับ

เฉลี่ยเทากับ 4.06 ซึ่งอยูในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวม ( = 4.07)

7. การที่ทานมีโอกาสแลกเปลี่ยนพูดคุยถึงเรื่องการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของ

ไทย หนาที่เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของพรรคการเมืองกลุมผลประโยชนทําใหทานไดเรียนรู เขาใจถึง

หลักการประชาธิปไตยที่สําคัญ อาทิ หลักเสียงขางมากการเคารพเสียงขางนอย มากนอยเพียงใด

พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.16 ซึ่งอยูในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยใน

ภาพรวม ( = 4.07)

Page 174: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

161

การไปใชสิทธิเลือกตั้งของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลของไทย

ตารางที่ 5.9

การไปใชสิทธิเลือกตั้ง

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

X S.D.แปล

ผล

1. การที่ทานไปใชสิทธิ

เลือกตั้งทุกครั้งในชวง

2551-2553 ทําใหทาน

ตระหนักและเห็น

ความสําคัญของ

กระบวนการทางการเมือง

ในระบอบประชาธิปไตย

มากนอยเพียงใด

222

(22.2)

543

(54.3)

226

(22.6)

9

(0.9)

0

(0.0)

3.97 0.69 มาก

2. ทานคิดวาการเลือกตั้ง

เปนที่มาของความชอบ

ธรรมทางการเมืองของ

พรรคการเมืองที่มีเสียง

มากที่มีสิทธิจะจัดตั้ง

รัฐบาลมากกวาพรรค

การเมืองที่มีเสียงนอยกวา

263

(26.3)

463

(46.3)

254

(25.4)

20

(2.0)

0

(0.0)

3.96 0.77 มาก

3. ทานคิดวานโยบายที่แต

ละพรรคการเมือง

นํามาใชในการหาเสียง

มีความสําคัญตอการที่

ทานไปใชสิทธิ์ในการ

เลือกตั้งมากนอย

เพียงใด

298

(29.8)

541

(54.1)

139

(13.9)

22

(2.2)

0

(0.0)

4.11 0.71 มาก

Page 175: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

162

ตารางที่ 5.9 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

X S.D.แปลผล

4. ทานคิดวาการซื้อสิทธิขายเสียงเปนอุปสรรคตอพัฒนาการทางการเมืองไทยทั้งในระยะสั้นและระยะยาวมากนอยเพียงใด

397(39.7)

471(47.1)

125(12.5)

7(0.7)

0(0.0)

4.25 0.69 มากที่สุด

5. ทานคิดวา กกต. ควรจัดการใหการซื้อสิทธิขายเสียงในการเลือกตั้งใหหมดไป เชน สิ่งที่มีความจําเปนหรือมีความสําคัญตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

377(37.7)

469(46.9)

147(14.7)

7(0.7)

0(0.0)

4.21 0.71 มากที่สุด

6. การที่ทานไปใชสิทธิในการเลือกตั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น ทานคิดวานอกจากเปนเรื่องของสิทธิหนาที่ของพลเมืองที่ดีและการมีจิตใจ หรือจิตสํานึก ของความเปนประชาธิปไตยแลวยังแสดงถึงการที่ทานมีความเชื่อมั่นไววางใจตอการเมืองระบอบนี้มากนอย เพียงใด

214(21.4)

660(66.0)

110(11.0)

9(0.9)

7(0.7)

4.06 0.64 มาก

Page 176: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

163

ตารางที่ 5.9 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

X S.D.แปล

ผล

7. เวลาทานไปใชสิทธิในการเลือกตั้งสวนใหญทานจะเลือกพรรคการเมืองทานจะพิจารณาจากนโยบายอุดมการณของพรรคที่ยึดหลักของประโยชนของคนสวนใหญเปนหลักมากกวาอยางอื่น

272

(27.2)

573

(57.3)

150

(15.0)

5

(0.5)

0

(0.0)

4.11 0.65 มาก

8. การที่ทานไปออกเสียงเลือกตั้งไมวาจะบอย ๆ หรือทุกครั้ง เปนเพราะตัวทานเองมีความตื่นตัวตลอดจนมีความกระตือรือรนและปรารถนาที่เขามามีบทบาทในการเมืองระบอบประชาธิปไตยของไทย

346

(34.6)

484

(48.4)

135

(13.5)

28

(2.8)

7

(0.7)

4.13 0.79 มาก

9. เหตุผลของการที่ทานไปใชสิทธิ์เลือกตั้งนอกจากเหตุผลที่กลาวมากอนหนานี้แลว ยังเปนเพราะทานสนใจปญหาการเมืองที่เกิดขึ้น

258

(25.8)

509

(50.9)

189

(18.9)

30

(3.0)

17

(1.7)

3.96 0.83 มาก

Page 177: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

164

ตารางที่ 5.9 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

X S.D.แปล

ผล

10. หลายคนไปเลือกตั้งเพราะเห็นวาเปนหนาที่ตามกฎหมายแตสําหรับตัวทาน การที่ทานไปใชสิทธิเลือกตั้งเพราะทานเชื่อ “ในประสิทธิภาพทางการเมืองของตัวทานวาทานสามารถเปลี่ยนแปลงการเมืองได

292

(29.2)

506

(50.6)

191

(19.1)

11

(1.1)

0

(0.0)

4.07 0.72 มาก

11. โดยทั่วไปคนที่ความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพทางการเมืองที่ตางกัน นาจะสืบเนื่องมาจากการที่บุคคล เหลานั้นมีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมที่แตกตางกัน

327

(32.7)

459

(45.9)

189

(18.9)

25

(2.5)

0

(0.0)

4.08 0.78 มาก

12. ทานคิดวาการที่ทานไปใชสิทธิเลือกตั้งไมวาระดับใดเปนเพราะทานเชื่อวายิ่งมีคนไปใชสิทธิเลือกตั้งยิ่งมากก็นาจะทําใหประชาธิปไตยของไทยยิ่งมีความเปนประชาธิปไตย เพิ่มขึ้น

264

(26.4)

554

(55.4)

166

(16.6)

16

(1.6)

0

(0.0)

4.06 0.70 มาก

Page 178: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

165

ตารางที่ 5.9 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

X S.D.แปล

ผล

13 การที่ทานไปใชสิทธิ

เลือกตั้งทานคิดวาทานเปน

ผูที่สามารถแสดงบทบาท

และอิทธิพลในทาง

การเมืองที่สามารถไป

เปลี่ยนแปลงรัฐบาลที่

ลมเหลวในการ

บริหารประเทศได

240

(24.0)

477

(47.7)

250

(25.0)

17

(1.7)

16

(1.6)

3.90 0.83

คาเฉลี่ยรวม 4.06 0.73 มาก

จากตารางที่ 5.9 พบวาการไปใชสิทธิเลือกตั้งของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานคร

และปริมณฑลปรากฏผลในภาพรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก ( = 4.06) และเมื่อพิจารณา

รายขอปรากฎผลดังนี้

1. การที่ทานไปใชสิทธิเลือกตั้งทุกครั้งในชวง 2551-2553 ทําใหทานตระหนักและ

เห็นความสําคัญของกระบวนการทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยมากนอยเพียงใด

จากการศึกษา พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 3.97 ซึ่งอยูในระดับมาก

2. ทานคิดวาการเลือกตั้งเปนที่มาของความชอบธรรมทางการเมืองของพรรค

การเมืองที่มีเสียงมากที่มีสิทธิจะจัดตั้งรัฐบาลมากกวาพรรคการเมืองที่มีเสียงนอยกวา มากนอย

เพียงใด จากการศึกษา พบวาเมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 3.96 ซึ่งอยูในระดับมาก

3. ทานคิดวานโยบายที่แตละพรรคการเมืองนํามาใชในการหาเสียงมีความสําคัญ

ตอการที่ทานไปใชสิทธิ์ ในการเลือกตั้งมากนอยเพียงใด จากการศึกษา พบวา เมื่อพิจารณาคา

ระดับเฉลี่ยเทากับ 4.11 ซึ่งอยูในระดับมาก

4. ทานคิดวาการซื้อสิทธิ์ขายเสียงเปนอุปสรรคตอพัฒนาการทางการเมืองไทยทั้งใน

ระยะสั้นและระยะยาวมากนอยเพียงใด จากการศึกษา พบวา พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.25

ซึ่งอยูในระดับมากที่สุด

Page 179: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

166

5. ทานคิดวา กกต. ควรจัดการใหการซื้อสิทธิ์ขายเสียงในการเลือกตั้งใหหมดไป เชน

สิ่งที่มีความจําเปนหรือมีความสําคัญตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยมากนอย

เพียงใด จากการศึกษา พบวา เมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.21 ซึ่งอยูในระดับมากที่สุด

6. การที่ทานไปใชสิทธิในการเลือกตั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น ทานคิดวา

นอกจากเปนเรื่องของสิทธิหนาที่ของพลเมืองที่ดีและการมีจิตใจ หรือจิตสํานึกของความเปน

ประชาธิปไตยแลวยังแสดงถึงการที่ทานมีความเชื่อมั่นไววางใจตอการเมืองระบอบนี้มากนอย

เพียงใด จากการศึกษา พบวา เมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.06 ซึ่งอยูในระดับมาก

7. เวลาทานไปใชสิทธิในการเลือกตั้งสวนใหญทานจะเลือกพรรคการเมืองทานจะ

พิจารณาจากนโยบายอุดมการณของพรรคที่ยึดหลักของประโยชนของคนสวนใหญเปนหลัก

มากกวาอยางอื่น จากการศึกษา เมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.11 ซึ่งอยูในระดับมาก

การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมือง

ตารางที่ 5.10

การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมือง

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

X S.D.แปล

ผล

1. ทานคิดวาในระบอบ

การปกครองแบบ

ประชาธิปไตยการไป

รวมกลุมหรือเปน

แนวรวมกับองคกร

ทางการเมืองเพื่อคงไว

ซึ่งการแสดงออกหรือ

เรียกรองผลประโยชน

ของตนตอรัฐบาลที่

บริหารประเทศ

ขณะนั้นมีความจํา

เปนมากนอยเพียงใด

329

(32.9)

446

(44.6)

212

(21.2)

4

(0.4)

9

(0.9)

4.08 0.79 มาก

Page 180: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

167

ตารางที่ 5.10 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

2. การที่ทานการไป

รวมกลุมหรือเปน

แนวรวมกับองคกร

ทางการเมืองให

ผลประโยชนตอตัว

ทานตอครอบครัว

และสังคมที่ทาน

อาศัยอยูมากนอย

เพียงใด

237

(23.7)

504

(50.4)

239

(23.9)

20

(2.0)

0

(0.0)

3.95 0.74 มาก

3. ทานคิดวาการไป

รวมกลุมหรือเปนแนว

รวมกับองคกร

ทางการเมืองอยูถามี

จํานวนมาก

แสดงออกในรูปของ

การเรียกรอง การ

เคลื่อนไหว การ

ตอรอง การ

ประนีประนอมการ

เจรจาตอรอง

ตลอดจนการคิดคน

ทางการเมืองเพื่อให

ไดมาซึ่งผลประโยชน

ที่ตองการไดมากนอย

เพียงใด

263

(26.3)

532

(53.2)

183

(18.3)

20

(2.0)

2

(0.2)

4.03 0.73 มาก

Page 181: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

168

ตารางที่ 5.10 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

4. ทานคิดวาการไป

รวมกลุมหรือเปน

แนวรวมกับองคกร

ทางการเมืองเปน

สิทธิเสรีภาพที่ทาน

พึงทําไดตาม

รัฐธรรมนูญฉบับ

ปจจุบันมากนอย

เพียงใด

230

(23.0)

559

(55.9)

192

(19.2)

14

(1.4)

5

(0.5)

3.99 0.72 มาก

5. การที่ทานไมอยากไป

รวมกลุมหรือเปน

แนวรวมกับองคกร

ทางการเมืองใด ๆ

เลยเพราะทานขาด

ความศรัทธาในตัว

นักการเมือง ทานคิด

วานักการเมือง สวน

ใหญไมนาไววางใจ

370

(37.0)

516

(51.6)

107

(10.7)

5

(0.5)

2

(0.2)

4.24 0.67 มาก

ที่สุด

6. การที่ทานเขารวม

ชุมนุมกับแนวรวม/

องคการทางการเมือง

ตาง ๆ เชน เพราะ

ทานคิดวาเปนสิทธิ

เสรีภาพ

367

(36.7)

430

(43.0)

188

(18.8)

5

(0.5)

10

(1.0)

4.13 0.80 มาก

Page 182: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

169

ตารางที่ 5.10 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

X S.D.แปลผล

7. ประเด็นที่ทําใหทานเขารวมการชุมนุมประทวง หรือ การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับ องคกรทางการเมืองเพราะทานวาประเด็นของการเคลื่อนไหวดังกลาว เปนเรื่องผลประโยชนของประชาชนโดยทั่วไป

328(32.8)

508(50.5)

153(15.3)

9(0.9)

2(0.2)

4.15 0.71 มาก

8. การที่ทานการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองใดก็ตาม ทานคิดวาเปนเพราะการมีความสํานึกในผลประโยชน

370(37.0)

420(42.0)

194(19.4)

15(1.5)

1(0.1)

4.14 0.78 มาก

9. เหตุผลสําคัญของการที่ทานการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองเปนเพราะทานจะไดพลังหรือมีอํานาจตอรองทางการเมืองกับรัฐบาล หรือฝายอื่น ๆ ไดตามสิทธิการเมือง

303(30.0)

491(49.1)

199(19.9)

5(0.5)

2(0.2)

4.08 0.72 มาก

Page 183: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

170

ตารางที่ 5.10 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

X S.D.แปลผล

10. สิ่งสําคัญของการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองคือ กลุมนอกจะตองมีพลังอํานาจแลวยังควรมีทรัพยากรทางการเมืองหรือทรัพยากรอํานาจ จึงจําใหการเรียกรองของกลุมบรรลุผล

368(36.8)

439(43.9)

165(16.5)

27(2.7)

1(0.1)

4.14 0.79 มาก

11. ทานคิดวากลุมผลประโยชนทางการเมืองกับพรรคการเมืองมีเปาหมายเหมือนกันหรือแตกตางกัน

307(30.7)

491(49.1)

184(18.4)

14(1.4)

4(0.4)

4.08 0.75 มาก

12. ทานคิดวาสหภาพแรงงานสมาคมนักธุรกิจเปนเปนกลุมผลประโยชนที่ตั้งขึ้นมาเพื่อเปนปากเปนเสียงของกลุมของตนมากนอยเพียงใด

357(35.7)

448(44.8)

187(18.7)

7(0.7)

1(0.1)

4.15 0.74 มาก

13. ทานคิดวาการมีกลุมผลประโยชนที่จัดตั้งดวยตนเองเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก ชวยถวงดุลไมใหรัฐใชอํานาจเกินไปไดมากนอยเพียงใด

481(48.1)

335(33.5)

154(15.4)

29(2.9)

1(0.1)

4.26 0.83 มากที่สุด

Page 184: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

171

ตารางที่ 5.10 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

X S.D.แปลผล

14. ทานคิดวาการเมืองไทย

มีกลุมผลประโยชน

ที่เกิดจากจัดตั้งโดยรัฐ

มากกวากลุม

ผลประโยชนที่จัดตั้งดวย

ตนเองมากนอยเพียงใด

381

(38.1)

494

(49.4)

174

(17.4)

13

(1.3)

1

(0.1)

4.11 0.73 มาก

คาเฉลี่รวม 4.10 0.75 มาก

จากตารางที่ 5.10 แสดงใหเห็นภาพรวมของการเปนการไปรวมกลุมหรือเปนแนว

รวมกับองคกรทางการเมืองปรากฏผล คาเฉลี่ยโดยรวมอยูในระดับมาก ( = 4.10) แตเมื่อ

พิจารณารายขอผลปรากฎดังนี้

1. ทานคิดวาในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยการไปรวมกลุมหรือเปน

แนวรวมกับองคกรทางการเมือง เพื่อคงไวซึ่งการแสดงออกหรือเรียกรองผลประโยชนของตนตอ

รัฐบาลที่บริหารประเทศขณะนั้นมีความจําเปนมากนอยเพียงใด จากการศึกษาเมื่อพิจารณาคา

ระดับเฉลี่ยเทากับ 4.08 ซึ่งอยูในระดับมาก

2. การที่ทานการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองใหผลประโยชน

ตอตัวทานตอครอบครัวและสังคมที่ทานอาศัยอยูมากนอยเพียงใด จากการศึกษาเมื่อพิจารณาคา

ระดับเฉลี่ยเทากับ 3.95 ซึ่งอยูในระดับมาก

3. ทานคิดวาการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองที่ทานเปน

สมาชิกอยูถามีจํานวนมากแสดงออกในรูปของการเรียกรอง การเคลื่อนไหว การตอรอง

การประนีประนอมการเจรจาตอรองตลอดจนการคิดคนทางการเมืองเพื่อใหไดมาซึ่งผลประโยชนที่

ตองการไดมากนอยเพียงใด จากการศึกษาเมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.03 ซึ่งอยูในระดับ

มาก

Page 185: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

172

4. ทานคิดวาการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองเปนสิทธิ

เสรีภาพที่ทานพึงทําไดตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันมากนอยเพียงใดจากการศึกษา พบวา เมื่อ

พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 3.99 ซึ่งอยูในระดับมาก

5. การที่ทานไมอยากไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองใด ๆ เลย

เพราะทานขาดความศรัทธาในตัวนักการเมือง ทานคิดวานักการเมืองสวนใหญไมนาไววางใจจาก

การศึกษา พบวา เมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.24 ซึ่งอยูในระดับมากที่สุด

6. การที่ทานเขารวมชุมนุมกับแนวรวม/องคกรทางการเมืองตาง ๆ เชน เพราะทาน

คิดวาเปนสิทธิ เสรีภาพ จากการศึกษา พบวา เมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.13 ซึ่งอยูใน

ระดับมาก

7. ประเด็นที่ทําใหทานเขารวมการชุมนุมประทวง หรือการไปรวมกลุมหรือเปน

แนวรวมกับ องคกรทางการเมืองเพราะทานวาประเด็นของการเคลื่อนไหวดังกลาว เปนเรื่อง

ผลประโยชนของประชาชนโดยทั่วไป จากการศึกษา พบวาเมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ

4.15 ซึ่งอยูในระดับมาก

การสนับสนุนพรรคการเมือง

ตารางที่ 5.11

การสนับสนุนพรรคการเมือง

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

X S.D.แปล

ผล

1. ทานคิดวาในระบอบ

การปกครองแบบ

ประชาธิปไตยของ

การสนับสนุนพรรค

การเมืองในรูปแบบ

ตาง ๆ ที่ไมผิด

กฎหมาย เปนเรื่องที่

มีความสําคัญมาก

นอยเพียงใด

186

(18.6)

530

(53.0)

256

(25.6)

16

(1.6)

12

(1.2)

3.86 0.77 มาก

Page 186: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

173

ตารางที่ 5.11 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

2. ทานคิดวาพรรค

การเมืองที่ทานชื่น

ชอบ ทานเปนสมาชิก

เมื่อมีโอกาสเปน

รัฐบาลบริหาร

ประเทศ ทาน คิดวา

พรรคการเมือง

ดังกลาวสามารถ

สรางศรัทธาความ

เชื่อมั่นความไววางใจ

ใหเกิดกับตัวทานและ

สมาชิกมากนอย

เพียงใด

371

(37.1)

491

(49.1)

135

(13.5)

2

(0.2)

1

(0.1)

4.22 0.68 มาก

3. พรรคการเมืองใน

ระบอบประชาธิปไตย

ควรทําหนาที่ใหเปนที่

พึงพอใจของ

ประชาชนและควรนํา

นโยบายของพรรคที่

ใชในการหาเสียงมา

บริหารประเทศอยาง

จริงจังมากนอย

เพียงใด

342

(34.2)

494

(49.4)

150

(15.0)

12

(1.2)

2

(0.2)

4.16 0.72 มาก

Page 187: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

174

ตารางที่ 5.11 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุดX

S.D.แปล

ผล

4. ในปจจุบันทานคิดวา

พรรคการเมืองที่ทาน

สนับสนุนหรือเปน

สมาชิกทําหนาที่เปน

ตัวแทนหรือเปน

สะพานที่เชื่อมโยง

ระหวางตัวทานกับ

รัฐบาลไดมากนอย

เพียงใด

232

(23.2)

498

(49.8)

254

(25.4)

16

(1.6)

0

(0.0)

3.94 0.74 มาก

5. การที่ทานบริจาคเงิน

วัสดุ สิ่งของใหกับ

พรรค การเมืองที่

ทานชื่นชอบเปน

เพราะทานคิดวาจะ

ไดทําใหพรรค

การเมืองที่ทาน

สนับสนุนสามารถ

นําไปใชในนโยบาย /

โครงการที่เปน

ประโยชนกับ

ประชาชนโดยทั่วไป

ไดมากนอยเพียงใด

372

(37.2)

418

(41.8)

207

(20.7)

3

(0.3)

0

(0.0)

4.15 0.75 มาก

Page 188: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

175

ตารางที่ 5.11 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

X S.D.แปลผล

6. การที่ทานไมเห็นดวยที่จะไปสนับสนุนพรรคการเมืองในปจจุบัน เพราะพรรคการเมืองสวนใหญขาดความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่

357(35.7)

525(52.5)

116(11.6)

2(0.2)

0(0.0)

4.23 0.65 มากที่สุด

7. การที่ทานไมอยากเขาไปยุงเกี่ยวตลอดจนสนับสนุนกับพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง เปนเพราะพรรคการเมืองไทยในปจจุบัน ทุจริต คอรัปชั่นนอกเหนือไปจากการมีพฤติกรรมทางการเมืองที่ไมนาไววางใจ

394(39.4)

481(48.1)

123(12.3)

2(0.2)

0(0.0)

4.26 0.67 มากที่สุด

8. การที่ทานและเพื่อน ๆ ตางเปนสมาชิกพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่งเปนเพราะทานเชื่อมั่นศรัทธาตอการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

331(33.1)

474(47.4)

191(19.1)

4(0.4)

0(0.0)

4.13 0.72 มาก

Page 189: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

176

ตารางที่ 5.11 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

X S.D.แปลผล

9. เวลาที่ทานใหการ

สนับสนุนพรรคการเมือง

ที่ทานชื่นชอบทาน

สนับสนุนเพราะผลงาน

ที่พรรคการเมืองนั้นมี

ผลงานที่เปนประโยชน

ตอประชาชนโดยรวม

มากกวาเหตุผลอยางอื่น

305

(30.5)

479

(47.9)

199

(19.9)

3

(0.3)

14

(1.4)

4.05 0.79 มาก

10. การแขงขันในทาง

การเมืองของพรรคการ

เมืองไทยในปจจุบันมัก

เปนไปในทิศทางที่ไม

คอยมีความชอบธรรม

ทางการเมือง

291

(29.1)

509

(50.9)

184

(18.4)

13

(1.3)

3

(0.3)

4.07 0.74 มาก

11. ทานคิดวาการทํา

หนาที่ของพรรคการ

เมืองไทยในปจจุบันไม

วาการทําหนาที่ในฐานะ

เปนตัวแทน ประชาชน

หรือการทําหนาที่ทาง

นิติบัญญัติในรัฐสภา

เปนที่นาพึงพอใจมาก

นอยเพียงใด

207

(20.7)

441

(44.1)

304

(30.4)

34

(3.4)

14

(1.4)

3.79 0.85 มาก

Page 190: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

177

ตารางที่ 5.11 (ตอ)

n = 1000

ระดับความคิดเห็น

รายละเอียดขอความ มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

X S.D.แปลผล

12. ปจจุบันทานรูสึกเบื่อ

หนายหรือเอือมระอากับ

การแสดงบทบาทหนาที่

ที่ควรจะเปนของพรรค

การเมืองไทยมากนอย

เพียงใด

248

(24.8)

447

(44.7)

245

(24.5)

44

(4.4)

16

(1.6)

3.86 0.89 มาก

13. ทานคิดวาพรรคการ

เมืองไทยในปจจุบันยัง

เปนความหวังหรือที่พึ่ง

ของประชาชนโดยทั่วไป

ไดมากนอยเพียงใด

225

(22.5)

479

(47.9)

234

(23.4)

41

(4.1)

21

(2.1)

3.84 0.88 มาก

คาเฉลี่รวม 4.04 0.75 มาก

จากตารางที่ 5.11 แสดงการสนับสนุนพรรคการเมือง ปรากฏผลวาคาเฉลี่ยใน

ภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 4.04) และเมื่อพิจารณารายขอปรากฎผลดังนี้

1. ทานคิดวาในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยของการสนับสนุนพรรค

การเมืองในรูปแบบตาง ๆ ที่ไมผิดกฎหมาย เปนเรื่องที่มีความสําคัญมากนอยเพียงใด จาก

การศึกษา พบวา เมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 3.86 ซึ่งอยูในระดับมาก

2. ทานคิดวาพรรคการเมืองที่ทานชื่นชอบ ทานเปนสมาชิกเมื่อมีโอกาสเปนรัฐบาล

บริหารประเทศ ทานคิดวาพรรคการเมืองดังกลาวสามารถสรางศรัทธาความเชื่อมั่นความไววางใจ

ใหเกิดกับตัวทานและสมาชิกมากนอยเพียงใด จากการศึกษา

3. พรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตยควรทําหนาที่ใหเปนที่พึงพอใจของ

ประชาชนและควรนํานโยบายของพรรคที่ใชในการหาเสียงมาบริหารประเทศอยางจริงจังมากนอย

เพียงใด จากการศึกษา พบวา เมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.16 ซึ่งอยูในระดับมาก

Page 191: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

178

4. ในปจจุบันทานคิดวาพรรคการเมืองที่ทานสนับสนุนหรือเปนสมาชิกทําหนาที่เปน

ตัวแทนหรือเปนสะพานที่เชื่อมโยงระหวางตัวทานกับรัฐบาลไดมากนอยเพียงใดจากการศึกษา

พบวา พิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 3.94 ซึ่งอยูในระดับมาก

5. การที่ทานบริจาคเงิน วัสดุ สิ่งของใหกับพรรคการเมืองที่ทานชื่นชอบเปนเพราะ

ทานคิดวาจะไดทําใหพรรคการเมืองที่ทานสนับสนุนสามารถนําไปใชในนโยบาย / โครงการที่เปน

ประโยชนกับประชาชนโดยทั่วไปไดมากนอยเพียงใด พบวาเมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ

4.15 ซึ่งอยูในระดับมาก

6. การที่ทานไมเห็นดวยที่จะไปสนับสนุนพรรคการเมืองในปจจุบัน เพราะพรรค

การเมืองสวนใหญขาดความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ อาทิ หนาที่ตามนิติบัญญัติ เชนไมเขา

รวมประชุม เปนตน จากการศึกษา พบวา เมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ 4.23 ซึ่งอยูในระดับ

มากที่สุด

7. การที่ทานไมอยากเขาไปยุงเกี่ยวตลอดจนสนับสนุนกับพรรคการเมืองใดพรรค

การเมืองหนึ่ง เปนเพราะพรรคการเมืองไทยในปจจุบัน ทุจริต คอรัปชั่นนอกเหนือไปจากการมี

พฤติกรรมทางการเมือง ที่ไมนาไววางใจ จากการศึกษา พบวา เมื่อพิจารณาคาระดับเฉลี่ยเทากับ

4.26 ซึ่งอยูในระดับมากที่สุด

โดยสรุปจากผลการศึกษา ความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้น

กลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวง 2551-2553 ที่มีผลตอการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทย ตั้งแตพฤติกรรมทางการเมือง คือการใหความสนใจติดตามขาวสารขอมูล

ทางการเมือง การไปใชสิทธิเลือกตั้ง การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมืองและ

การสนับสนุนพรรคการเมือง ในภาพรวมปรากฏดังตารางที่ 5.12

Page 192: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

179

ตารางที่ 5.12

ความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางใน

เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวง 2551-2553 ที่มีผล

ตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

โดยภาพรวม

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง

ในชวง 2551-2553X . S.D.

ระดับความ

คิดเห็น

การใหความสนใจติดตามขาวสารขอมูลทาง

การเมือง

4.07 0.74 มาก

การไปใชสิทธิเลือกตั้ง 4.06 0.73 มาก

การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกร

ทางการเมือง

4.10 0.75 มาก

การสนับสนุนพรรคการเมือง 4.04 0.75 มาก

พฤติกรรมทางการเมืองโดยรวม 4.06 0.74 มาก

หมายเหต:ุ คาเฉลี่ย ( ) ที่นํามาเสนอในตารางที่ 5.12 จากคาเฉลี่ยในภาพรวมของแตละพฤติกรรม

ทางการเมืองของชนชั้นกลางในเชต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวง 2551-2553 ซึ่งนํามาจาก

การหาคาแฉลี่ยของตารางที่ 5.8-5.11

จากตารางที่ 5.12 นั้นซึ่งเปนการสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของพฤติกรรมทาง

การเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวง 2551-2553 ซึ่งในภาพรวมไม

วาจะเปนพฤติกรรมทางการเมืองในเรื่องการใหความสนใจติดตามขาวสารขอมูลทางการเมืองที่มี

คาเฉลี่ยในระดับมาก ( = 4.07) การไปใชสิทธิ์เลือกตั้งก็มีคาเฉลี่ยในระดับมาก ( = 4.06)

เชนเดียวกับพฤติกรรมทางการเมืองในแงของการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการ

เมืองก็มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก( = 4.10)และนอกจากนั้นพฤติกรรมทางการเมืองที่สนับสนุน

พรรคการเมืองก็มีคาเฉลี่ยที่มาก ( = 4.04)

การที่ผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่มีตอการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยปรากฎดังที่กลาวมาขางตนเปนเพราะสวนหนึ่งนาจะมีผลมาจาก

Page 193: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

180

รัฐธรรมนูญฉบับพุทธศักราช 2540 ที่มีลักษณะเปนทั้งการเมืองแนวเดิมหรือการเมืองภาคตัวแทน

นั้นไดคูขนานไปกับการเมืองแนวใหม การเมืองภาคประชาชนหรือประชาธิปไตยแนวทางใหมหรือ

ประชาธิปไตยทางเลือก ผลจึงทําใหประชาชนทุก ๆ กลุมรวมทั้งชนชั้นกลาง (วัชรา ไชยสาร, 2545,

น. 8-9) มีพฤติกรรม ที่สอดคลองแนวคิดของ “การเมืองแนวใหม”

ผลจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ฉบับดังกลาวมีสวนทําใหประชาชนรวมทั้งชนชั้น

กลางไดรับสิทธิในการดําเนินการประชาพิจารณ (Public Hearing) หรือการเขาชื่อถอดถอน

นักการเมืองออกจากตําแหนง หรือการใหประชาชนริเริ่มเสนอกฎหมายเขาสูสภาโดยตรงเปนตน

(เอนก เหลาธรรมทัศน, 2543, น. 53)

อีกสวนหนึ่งเปนผลจากรัฐธรรมนูญฉบับ 2550 ยังไดใหความสําคัญกับการเมืองแนว

ใหมหรือการเมืองภาคประชาชนหรือประชาธิปไตยทางเลือกเพิ่มขึ้นจึงทําใหชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลตระหนักวา ประชาธิปไตยเปนมากกวากากบาตบัตรเพื่อลงคะแนน

เสียงเลือกตั้ง กลาวคือ ประชาธิปไตยเปนเรื่องของการเขารวมกิจกรรมทางการเมืองของประชาชน

อยางแข็งขันตั้งแตการติดตามขาวสารขอมูลทางการเมือง การถกเถียง การอภิปราย การ

วิพากษวิจารณ และการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ การติดตาม การดําเนินนโยบาย รวมทั้ง

โครงการตาง ๆ ของรัฐ ทั้งนี้เพราะในระบอบประชาธิปไตบแบบตัวแทน หรือการเมืองแบบตัวแทน

ที่เปนอยูนั้น มองการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน หมายถึงการที่ประชาชนสามารถเขาไป

มีสวนรวมไดเพียงแคการคัดเลือกเทานั้น แตในทางกลับกันรัฐธรรมนูญ 2550 ใหประชาชนทุกลุม

สามารถทําการควบคุม การตรวจสอบ และการถอดถอนตัวแทนของพวกเขาตามกระบวนการที่

บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญหรือตัวบทกฏหมาย ทั้งนี้เพื่อใหเปนไปตามหลักการที่วา บรรดาตัวแทน

ประชาชนเหลานี้จะตองเปนผูที่ไดรับฉันทามติจากประชาชน ปฏิบัติหนาที่และดําเนินการบริหาร

ประเทศตามอาณัติที่ประชาชนมอบให ตลอดจนสามารถตรวจสอบไดจากฝายประชาชน ซึ่งเปน

หลักการสําคัญอันหนึ่งที่เปนสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

ทั้งนี้เพื่อเปนการทําใหการเมืองภาคประชาชนเปนสิ่งที่คูขนานกับการเมืองแบบตัวแทน ที่ทําให

ประชาชนสามารถเขามามีสวนรวมในทางการเมืองไดอยางแทจริง

โดยสรุปจากความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางใน

เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในชวง 2551-2553 ที่มีตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทย ซึ่งปรากฎผลดังตารางที่ 5.8-5.11 และโดยเฉพาะตารางที่ 5.12 ผูวิจัยจึงเห็นวาเปนเรื่อง

ที่ดีตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในอนาคตซึ่งอาจจะเปนการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยอยางแทจริงก็ได

Page 194: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

181

หรือกลาวอีกนัยหนึ่งไดวาการที่ผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551 -2553 ที่มีตอการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยเชนนั้น ดังที่กลาวมาในในเบื้องตนนั้นผูวิจัยขออธิบายการปรากฎการณที่เกิดขึ้นผล

ที่เปนเชนนั้นอาจเปนเพราะนับตั้งแตเปลี่ยนแปลงการปกครองป พุทธศักราช 2475 เปนตนมา

ประเทศไทยมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยซึ่งกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบการเมือง

ทางดานโครงสรางอยางมากมาย

อยางไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองดังกลาว กลับมิไดมีการเตรียมการ

เปลี่ยนแปลงปจจัยดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของใหสอดคลองกับ โครงสรางทางการเมืองที่เปลี่ยนไป เชน

การสรางวัฒนธรรมทางการเมืองใหม การใหความรูแกประชาชนในทางการเมืองและแนวปฎิบัติที่

ถูกตองของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอีกทั้งยังไมมีการปรับปรุงและเตรียมพื้นฐานทาง

สังคมการเมืองที่เหมาะสม จึงสงผลใหระบอบประชาธิปไตยของไทยไมบรรลุวัตถุประสงคของการ

พัฒนาทางการเมือง ตลอดจนทําใหการเมืองไทยประสบกับภาวะไรเสถียรภาพ ขาดความชอบ

ธรรม ขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางการเมืองตลอดมา อันเปนปญหาอุปสรรคที่สําคัญ

อยางยิ่งตอการพัฒนาทางการเมือง

หากกลาวถึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตย (ธีรภัทร เสรีรังสรรค, 2541)

โดยทั่วไปมักจะใหความสนใจไปที่ “ระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน” (Representative

Democracy) หรือที่ เรียกวา “ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา” ที่ใชระบบผูแทนเปนตัวแสดง

หลัก ระบบนี้กําลังเกิดวิกฤติในประเทศตาง ๆ ที่ประชาชนผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งมักประทวงการ

กระทําของนักการเมือง เพราะประชาชนเริ่มตระหนักวานักการเมืองไมสามารถแกปญหาใหแกตน

ไดนักการเมืองไมไดเปนตัวแทนความทุกขรอนของประชาชนอีกตอไป แตไดกลายเปนกลุมที่มุง

แสวงหาผลประโยชนสวนตัว เชน การคอรรัปชั่นเชิงนโยบาย หรือมีพฤติการณเขาลักษณะ

ผลประโยชนทับซอน หรือการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตัวกับผลประโยชนสวนรวม เปนตน

นอกจากนี้ ในปจจุบันมีปญหาทางสังคมตาง ๆ เกิดขึ้นหลายประการ อาทิ ปญหา

ความยากจนปญหาสิทธิมนุษยชนรวมทั้งความขัดแยงในรูปแบบใหม ๆ เปนตน หากแตปรากฏวา

“การเมืองแนวเดิม” หรือการเมืองแบบตัวแทนกลับเนนการแขงขันกันระหวางพรรคการเมือง เพื่อ

เขาไปเปนรัฐบาล และเนนการแกไขปญหา รวมทั้งความขัดแยงที่เกิดขึ้นดังกลาว โดยใชกฎหมาย

เปนหลักตลอดจนระบอบประชาธิปไตยแบบผูแทนและระบบการเมืองแบบรัฐสภา ยังเต็มไปดวย

การฉอราษฎรบังหลวง จากพฤติกรรมดังกลาวจะเห็นไดวา “การเมืองแนวเดิม” ไดกีดกันประชาชน

ออกไปเปนเพียง “ผูดู” และ “ผูปฏิบัติตาม” สิ่งที่ “ผูแทน” หรือ “ตัวแทน” ที่ได “อํานาจรัฐ” ไปจาก

ประชาชนเปนผูกําหนดขึ้น

Page 195: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

182

ดังนั้น “การเมืองแนวใหม” ที่มีฐานคติวาอํานาจมาจากประชาชนไมไดมาจากการ

ชวงชิงอํานาจรัฐของผูแทนอํานาจของประชาชนจะกระจายออกไปทุกองคาพยพของสังคม ไมรวม

ศูนยอยูที่รัฐบาลหรือพรรคการเมือง รวมทั้งไมมีการกําหนดเขตแดนที่ชัดเจนระหวางรัฐกับ

ประชาชนหรือระหวางภาครัฐกับภาคเอกชน

ในแงดังกลาวจะเห็นไดวา “การเมืองแนวใหม” เปนการเมืองที่ใหประชาชนเขาไปมี

บทบาทในการตัดสินใจทางการเมืองเปนอยางมาก แทนที่จะอยูเพียงในบริบทของรัฐบาล และ

รัฐสภา ดังเชน “การเมืองแนวเดิม” ดังกลาว หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง “การเมืองแนวใหม” เปน

การเมืองที่ใหความสนใจประชาชนในฐานะตัวแสดงหลัก ไมใช “การเมืองแนวเดิม” ที่มุงเนนเรื่อง

ของการจัดสรรอํานาจหรือสิ่งที่มีคุณคาในแงของการแยงชิงและการแขงขันกันอีกตอไป

ปรากฏการณดังกลาว สะทอนใหเห็นวาในปจจุบัน ระบบการเมืองของโลก กําลังกาว

สูการเมืองที่มุงเนนการมีสวนรวมของประชาชน การเมืองในระบบรัฐสภา โดยผูแทนราษฎรกําลัง

เกิดวิกฤติในหลายประเทศ ประชาชนผูออกเสียงเลือกตั้ง ประทวงนักการเมือง เพราะพวกเพิ่ม

ตระหนักวานักการเมืองไมสามารถแกปญหาใหแกประชาชนไดและไมไดเปนตัวแทนความทุกข

ยากของประชาชนอีกตอไป แตกลายเปนกลุมที่มุงแสวงหาประโยชนสวนตัวหรือการคอรรัปชั่นทาง

การเมืองนั่นเองในหลาย ๆ ประเทศสิ่งที่เรียกวา “ธุรกิจการเมือง” ไดเกิดขึ้น บริษัทขามชาติและ

บริษัทขนาดใหญภายในชาติเริ่มหาประโยชนโดยตรงจากรัฐและงบประมาณแผนดิน การลงทุน

ทางการเมืองจึงเกิดขึ้น การหาเสียงกลายเปนการซื้อเสียง การเปนผูแทน ราษฎรจึงกลายเปนการ

ลงทุนแบบหนึ่ง พรรคการเมืองไดกลายเปนที่รวมตัวของกลุม อิทธิพลและพวกมาเฟย รัฐและ

อํานาจรัฐไดกลายเปนแหลงแสวงหาผลกําไรของ บรรดานักการเมืองและนายทุน ซึ่งเปน

ปรากฏการณใหมของระบอบประชาธิปไตย แบบตัวแทน และในที่สุดไดนํามาซึ่งปญหาทาง

เศรษฐกิจ เพราะรัฐตองใชเงินจํานวนมหาศาลในการดําเนินโครงการตาง ๆ โดยไมคุมคาและ

กอใหเกิดการขยายตัวของ ชองวางระหวางคนรวยจํานวนนอยกับประชาชนที่ยากจนจํานวนมาก

แทนที่รัฐจะเปนศูนยกลางในการแกวิกฤติของสังคม แตรัฐกลับกลายเปนศูนยกลางวิกฤติของ

สังคมเสียเอง

การสรางการเมืองแนวใหม หรือประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมซึ่งเปนรูปแบบหนึ่งของ

ประชาธิปไตยทางเลือก จําตองมีเงื่อนไขหรือองคประกอบที่สําคัญ ดังนี้

ประชาชนสามารถหยิบยกประเด็นปญหา เสนอแนะวิธีการแกปญหา และเขาไปมี

สวนรวมในการตัดสินใจขั้นสุดทายได

มีการประชุมปรึกษาหารือแบบหันหนาเขาหากัน เพื่อจะทําใหเกิดแนวทาง แกปญหา

ที่เปนไปได มีการถกเถียงกันจนไดขอสรุปที่เปนวิธีการแกปญหาที่ดีที่สุดขึ้น

Page 196: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

183

เกิดแนวความคิดที่แตกตางหลากหลายเปนอยางมาก เพราะทุกคนตองการเสนอ

ทัศนะหรือมุมมองของตนเอง

มีแนวโนมวาการตัดสินใจใด ๆ ก็ตามจะมีลักษณะเปนแบบฉันทานุมัติ (consensus)

ที่ทุกคนมีความเห็นสอดคลองตองกันทั้งหมด มากกวาจะใชวิธีการลง คะแนนเสียงซึ่งจะใชเสียง

สวนใหญเปนตัวชี้ขาดในการตัดสินใจเลือกทางเลือกใดทาง

จากองคประกอบดังกลาว สามารถสรุปไดวาการเมืองแนวใหมหรือประชาธิปไตยแบ

มีสวนรวมเนนการเปดโอกาสใหทุกคนเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาของตนเอง

อยางเสมอภาคกัน (equality) เปนสําคัญ โดยเฉพาะความเสมอภาคในการแสดง ความคิดเห็น

เกี่ยวกับการตัดสินใจไดอยางเต็มที่ในแตละขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจ ตั้งแตขั้นตอนการ

เลือกประเด็นปญหา การเสนอทางเลือกตาง ๆ ในการแก ปญหาจนถึงการตัดสินใจขั้นสุดทายที่จะ

เลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งในการแกปญหานั้น การตัดสินใจรวมกันดังกลาวจะทําใหสมาชิก

ภายในกลุมมีความสุขและ เกิดความรูสึกเปนเจาของหรือผูกพันกับกลุมของตนเองมากขึ้น

หลักสําคัญของประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมคือ การที่ทุกคนมีสวนเกี่ยวของ กับทุก

ขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจอยางเต็มที่ และใชวิธีการประชุมแบบหันหนาเขาหากันโดยไม

จํากัดเวลาในการถกเถียงเพื่อใหบรรลุการตัดสินใจแบบฉันทานุมัติ การบรรลุจุดประสงคดังกลาว

จะชวยใหกลุมสามารถรักษาความเสมอภาคและความ เปนอันหนึ่งอันเดียวกันได นอกจากนั้น

วิธีการประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมยังกอให เกิดขอดีอีกประการหนึ่ง นั่นคือมีสวนชวยใหปจเจกชน

แตละคนสามารถเปนพลเมือง ที่ดีของประเทศได และเปนที่ยอมรับวาการมีสวนรวมในการตัดสินใจ

เปนพื้นฐานของ การฝกการเรียนรูใหเห็นถึงความแตกตางของบุคคลไดเปนอยางดี และในทาง

ปฎิบัติของการมีสวนรวมนั้น บุคคลในกลุมสามารถมีอิทธิพลและควบคุมสิ่งตาง ๆ ไดดวยตัว ของ

พวกเขาเองความรูสึกแบบนี้จะทําใหพวกเขารูสึกวาตนเองเปนคนที่มีประสิทธิภาพ ทางการเมือง

(Political Efficacy) และจะทําใหความรูสึกแปลกแยกทางการเมืองลดนอยลงไป (Political

Alienation) จนทําใหเกิดความปรารถนาที่จะเขามามีสวนรวมใน ชุมชนทางการเมืองของตนเอง

อยางตื่นตัวมากขึ้น

การมีสวนรวมในทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยแบบมี สวนรวม

หรือที่เรียกกันวา “ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม” เปนประชาธิปไตยแบบ ทางเลือกที่เปดโอกาสให

ประชาชนมีสวนรวมในทางการเมืองการปกครองในระดับตาง ๆ มากขึ้นโดยใหประชาชนมีอํานาจ

ในการควบคุมและตรวจสอบการทํางานของผูที่ได รับการเลือกตั้งใหใชอํานาจอธิปไตยแทนตน

ดวย ประชาชนมิใชมีอํานาจ โดยเปนที่มาแหงอํานาจการปกครองหรือมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง

เทานั้น หรืออาจกลาวไดวา “ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม” อยูระหวางประชาธิปไตยทางตรง เชน

Page 197: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

184

การออกเสียงประชามติ การเขาชื่อเสนอรางกฎหมาย การถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนงเปนตน

กับประชาธิปไตยแบบมีตัวแทนหรือประชาธิปไตยทางออมที่ประชาชนมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง

อยางเดียว

แมวาการเมืองภาคประชาชนจะเปนการเปดพื้นที่ทางการเมืองใหมที่จะมีความ

เขมแข็งมากขึ้นเรื่อย ๆ ในทางการเมืองไทย และเปนที่มาของโครงสรางทางการ เมืองใหมที่ปรากฏ

อยูในรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช2540 ไมวาจะเปนการเขามีสวนรวมของ ประชาชนโดยเฉพาะที่

เกี่ยวกับการกําหนดนโยบายอันมีผลกระทบตอวิถีชีวิตของตน หรือการใหประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ

มากขึ้นก็ตาม แตในทางกลับกันโครงสรางทางการเมืองใหมอื่น ๆ กลับมีปญหารุนแรงมากขึ้นทุกที

โดยเฉพาะความลมเหลว ของการเมืองในระบบรัฐสภา (Parliamentary Politics) และการแทรกแซง

องคกรอิสระ ตาง ๆ จากนักการเมือง แมวารัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2540 จะเปดพื้นที่ทางการเมือง

ใหม ๆ ใหกับการเมืองภาคประชาชนเปนการเมืองแบบมีสวนรวม (Participative Politics)

มากกวาการเมืองแบบตัวแทน (Representative Politics) แตรัฐธรรมนูญฉบับนี้กลับไมสงเสริมให

ประชาชนทั่วไปเขามามีสวนรวมในการเมืองในระบบรัฐสภา ทั้งในระบบพรรคการเมืองและอํานาจ

ในการจัดสรรผลประโยชนรวมถึงการตรวจสอบควบคุม รัฐบาล ดังจะเห็นไดจากการที่องคกรอิสระ

ตาง ๆ ถูกแทรกแซงจากนักการเมืองในลักษณะของการสงตัวแทนของกลุมตนเขาไปดํารงตําแหนง

คณะกรรมการในองคกร อิสระเพื่อรักษาอํานาจและตอรองผลประโยชนของกลุมตน

จากสภาพการณที่ “การเมืองแนวเดิม” ซึ่งเปนระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย

ผานตัวแทนกําลังเกิดวิกฤติการณรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จึงถูกยก

รางขึ้นบนพื้นฐานของ “การเมืองแนวใหม” และใหประชาชนเขาไปมีสวนรวมทางการเมืองในฐานะ

เปนตัวแสดงหลัก ลักษณะของ “การเมืองแนวใหม” ดังกลาว ก็คือ “ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม”

(Participatory Democracy) ระบบการเมือง แบบนี้เนนการเขาไปสวนรวมทางการเมืองของ

ประชาชน ในฐานะตัวแสดงหลักที่เปน รูปธรรมเดนชัดที่ไมเคยปรากฏมากอนในรัฐธรรมนูญฉบับที่

ผานมาของไทยเพื่อใหสิทธิ เสรีภาพของ ประชาชนถูกรับรองใหเปนจริงไดในทางปฏิบัติ

Page 198: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

บทที่ 6

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่องพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช 2551 -2553

มีวัตถุประสงคเพื่อ

1. เพื่อศึกษาบริบททางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ที่มีผลตอพฤติกรรมทาง

การเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

2. เพื่อศึกษาผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่มีผลตอการเมืองใน

ระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

3. เพื่อสํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางและผล

ของพฤติกรรมทางการเมืองดังกลาวที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553โดยใชการวิจัยแบบผสมผสานระหวาง

การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)

ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม (Questionnaires) กับกลุมชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวน 1,000 ชุด โดยผูวิจัยใชการวิเคราะหขอมูลหาความถี่คา

รอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ในการวิเคราะหขอมูล

ในครั้งนี้

สรุปผลการวิจัย

ผูวิจัยสรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงคที่กลาวมาขางตน

1. วัตถุประสงคขอที่ 1 บริบททางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช 2551-2553 โดยกรณีศึกษาการเขารวมกับเสื้อเหลืองในฐานะเปนแนวรวมและเสื้อ

แดงซึ่งสวนใหญเปนชนชั้นกลางระดับลางในหัวเมืองชนบท

1.1 บริบททางการเมืองที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช 2551-2553 มากทั้งนี้เพราะประการที่หนึ่ง

Page 199: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

186

เกี่ยวของกับบริบททางการเมือง อาทิ รัฐธรรมนูญฉบับ พุทธศักราช 2550 ไดใหประชาชนเปนผู

เลนไมใชผูดู

ตามแนวคิดของการเมืองแนวใหมหรือการเมืองภาคประชาชนหรือประชาธิปไตย

ทางเลือกที่เพิ่มอํานาจใหกับประชาชนทุกกลุมรวมทั้งการใหสิทธิเสรีภาพและการมีสวนรวม

ทางการเมืองอยางกวางขวางตลอดจนบริบททางการเมืองดานนโยบายการเมืองการบริหารของ

แตละรัฐบาลในพุทธศักราช 2551-2553 และบริบทดานปรากฏการณทางการเมืองที่เกิดในชวงนี้

มีความแตกแยกขัดแยงระหวางกลุมการเมืองบางกลุมกับรัฐบาล และระหวางกลุมการเมือง

ดวยกันที่มีชนชั้นกลางมารวมกลุมมาเปนแนวรวมประกอบประชาชนกลุมตาง ๆ รวมทั้งชนชั้นกลาง

ตางมีความกระตือรือรนและมีจิตสํานึกทางการเมือง ซึ่งจากบริบททางการเมืองดังกลาวจึงได

สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมาก

1.2 บริบททางสังคมที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช 2551-2553 คอนขางมากทั้งนี้เพราะโดยผูวิจัย

วิเคราะหมองผานแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 1-10 ที่ไดพัฒนาสังคม การเปลี่ยนแปลง

ทางสังคมไทยจากสังคมประเพณี เปนสังคมพหุนิยม พหุวัฒนธรรม ขณะเดียวกันแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ดังกลาวโดยเฉพาะเริ่มตั้งแตสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ได

กอใหเกิดชนชั้นกลางที่ในระยะแรกมีจํานวนไมมากนัก แตตอมาในระยะหลัง ๆ มีจํานวนที่เพิ่มขึ้น

และเริ่มเขามามีพฤติกรรมทางการเมืองรวมกับศูนยนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย และกลุม

การเมืองอื่น ๆ จนกระท่ังถึงเหตุการณพฤษภาคมทมิฬ พุทธศักราช 2535 เรื่อยมาประกอบบริบท

สังคมไทยระยะหลังเปนสังคมขาวสารขอมูลทําใหชนชั้นกลางสนใจติดตามขาวสารขอมูลทาง

การเมืองรวมถึงการมีพฤติกรรมทางการเมืองอื่น ๆ อาทิ การรวมกลุมกันเปนแนวรวมกับกลุม

การเมืองอื่น จากบริบททางสังคมดังกลาวจึงสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองอื่น ๆ อาทิ

การรวมกลุมเปนแนวรวมกับกลุมการเมืองอื่น ๆ เปนตน จากบริบททางสังคมดังกลาวจึงสงผลตอ

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช

2551-2553 คอนขางมาก

1.3 บริบททางเศรษฐกิจที่สงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช 2551-2553 คอนขางนอย เพราะตัวแบบของ

Lipset ที่นํามาเปนกรอบแนวคิดในการวิจัยใชไมไดกับประเทศในเอเชียรวมทั้งไทยในหลาย

เงื่อนไขดังที่ไดกลาวรายละเอียดในบทที่ 4) รวมทั้งตัวบริบททางเศรษฐกิจตัวมันเองไมไดเปน

เงื่อนไขสําคัญของปรากฏการณทางการเมืองที่เกิดขึ้นชวงพุทธศักราช 2551-2553

Page 200: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

187

2. ความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยและความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีผลตอการเมืองระบอบประชาธิปไตยของไทย

2.1 ความคิดเห็นของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเกี่ยวกับ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยชวงพุทธศักราช 2551-2553 พิจารณาจากการใช

แบบสอบถามผูวิจัยพบวา ความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยตามตารางที่ 7 ที่มีคาเฉลี่ยโดยภาพรวมออกมาในระดับมากและเมื่อพิจารณาเปนรายขอ

ตั้งแตขอ 1-ขอ 16 ที่สอบถามทั้งเรื่องของสถาบันของการเมือง อาทิรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้ง

ตัวระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตยของไทย ตลอดจนพฤติกรรมทางการเมืองของนักการเมือง

พรรคการเมืองการเมือง เปนตน ตางมีคาเฉลี่ยที่อยูในระดับมากทั้งสิ้น

2.2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยชวงพุทธศักราช

2551-2553 จากการใชแบบสอบถามผูวิจัยพบวาพฤติกรรมทางการเมืองทั้ง 4 ดาน ตั้งแตการให

ความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง / การไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง / การไปรวมกลุมหรือเปน

แนวรวมกับองคกรทางการเมือง / การสนับสนุนพรรคการเมืองการเมือง มีผลตอการเมือง

ในระบอบประชาธิปไตยของไทยในชวง 2551-2553 โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยในระดับมาก ( =

4.06)

การอภิปรายผลการวิจัย

บริบททางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจที่มีหรือสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช 2551-2553

1. บริบททางการเมืองที่มีหรือสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช 2551-2553 มาก ดังที่ไดกลาว

มาในบทที่ 4 วาบริบททางการเมืองอัน ไดแก สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550 ที่ให

ประชาชนกลุมตาง ๆ เปนตัวแสดงหรือเปนผูเลนผูดูตามแนวคิดของการเมืองแนวใหม นโยบาย

ทางการเมืองของแตละรัฐบาลในชวงนี้ที่ทําการศึกษาและปรากฏการณทางการเมืองในชวง 2551-

2553 ที่ไดกลาวรายละเอียดมาในบทที่ 4 ไดทําใหชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑลเขามาเปนแนวรวมกับคนเสื้อเหลืองโดยมีพฤติกรรมทางการเมืองในรูปแบบตาง ๆ ตั้งแต

Page 201: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

188

สนใจติดตามขาวสารทางการเมืองโดยเปนแนวรวมเคลื่อนไหวกับกลุมการเมืองตาง ๆ ดังที่ได

กลาววาชนชั้นกลางไดเขามารวมกับกลุมคนเสื้อเหลืองในฐานะแนวรวมในขณะที่ชนชั้นกลางในหัว

เมืองชนบทไดเขารวมมีสวนรวมในการเคลื่อนไหวทางการเมืองกับคนเสื้อแดงในรูปตาง ๆ

เชนเดียวกันดังท่ีกลาวมาในบทที่ 4

ทั้งนี้เนื่องมาจากบริบททางการเมืองในขณะนั้นรวมทั้งเหตุผลทางการเมืองของคน

กลุมเสื้อเหลืองที่เปนเหตุผลทางการเมือง อาทิ การปกปองสถาบัน กษัตริย การตอตานพฤติกรรม

ทางการเมืองของผูนําทางการเมืองที่ทําเพื่อตัวเองมีทั้งการคอรัปชั่น เชิงนโยบาย การขัดแยงกัน

ระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม (Conflict of Interest) รวมที่มาใชอํานาจ

เผด็จการรัฐสภา เปนตน ซึ่งบริบททางการเมืองในแงดังกลาวทําใหชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลซึ่งสวนใหญที่เขามาเคลื่อนไหวทางการเมืองรูปแบบตาง ๆ ยอมรับ

พฤติกรรมทางการเมืองของผูนําทางการเมืองในขณะนั้น (ดังที่กลาวมา) ไมไดจึงเขามามี

พฤติกรรมทางเมืองดังที่กลาวมาขางตนปรากฏการณที่เกิดขึ้นดังกลาวคลายกับกรณีของ

คณะกรรมการรณรงคเพื่อประชาธิปไตย (ครป.) ที่เห็นวาบริบททางการเมืองโดยเฉพาะในชวง

เหตุการณรัฐประหาร โดยคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ในชวงนั้นมีโครงสราง

ที่ประกอบดวยชนชั้นกลาง อาทิ นักวิชาการและนักเคลื่อนไหวทางดานประชาธิปไตยและสิทธิ

มนุษยชน เปนตน ไดออกมาคัดคานการที่ พล.อ. สุจินดา คราประยูร ผูนําคณะรักษาความสงบ

เรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี

คณะกรรมการรณรงคเพื่อประชาธิปไตย (ครป.) เปนองคกรหนึ่ง ที่มีบทบาทสําคัญ

ในการเคลื่อนไหวระหวางเดือน เมษายน-พฤษภาคม พุทธศักราช 2535 จึงออกมาคัดคานการสืบ

ทอดอํานาจของคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) แมภายหลังเหตุการณพฤษภาทมิฬ

สถานการณทางการเมืองจะคลี่คลายไป ในทางที่ดีขึ้นไดรัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีมาจาก ส.ส.

แตคณะกรรมการรณรงคเพื่อประชาธิปไตย (ครป.) เห็นวาโครงสรางของสังคมไทยยัง มิไดเปน

ประชาธิปไตยที่เอื้อตอคนสวนใหญอยางแทจริง โดยเฉพาะคนระดับพื้นฐานอันเปนเกษตรกรและ

แรงงาน ระบบรัฐสภายังผูกขาดโดยนักการเมือง ระบบราชการ และระบบการศึกษา ที่รวมศูนยอยู

นอกเหนือการควบคุมตรวจสอบของประชาชน ยังผลใหประชาชนไมสามารถมีสวน รวมในทาง

การเมืองอยางแทจริงคณะกรรมการรณรงคเพื่อประชาธิปไตย (ครป.) จึงดําเนินกิจกรรมโดยยึด

แนวทางอิสระ ไมฝกใฝทางการเมืองกับพรรคการเมืองการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง

มุงการรณรงคเคลื่อนไหวเพื่อไปสูการปฏิรูปการเมืองทั้ง ระบบ โดยใน พุทธศักราช 2540

คณะกรรมการรณรงคเพื่อประชาธิปไตย (ครป.) รวมกับ เครือขายองคกรประชาธิปไตย และ

องคกรประชาชน ในนาม 30 องคกรประชาธิปไตย ไดมีการใชรูปแบบการเคลื่อนไหว “ชูธงเขียว

Page 202: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

189

เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับใหม” และรวบรวมประมวลขอคิดเห็นในการราง รัฐธรรมนูญจากประชาชน

ทั่วประเทศ นําเสนอตอ สภารางรัฐธรรมนูญและรวมผลักดันรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน จนผาน

รัฐสภาในที่สุด1 เปนตน

2. บริบททางสังคมที่มีหรือสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ชวงพุทธศักราช 2551-2553 คอนขางมาก

สืบเนื่องมาจากที่กลาวมาในสรุปผลการวิจัยวาบริบททางสังคมในชวงกอนที่

ทําการศึกษาและชวงที่ทําการศึกษา 2551-2553 วาสังคมไทยและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย

ไดทําใหสังคมไทยเปนสังคมพหุนิยม (Pluralistic Society) ที่ในชวงนี้ได มีจํานวนชนชั้นกลางที่

เพิ่มขึ้นอยางกวางขวางที่มีการศึกษาดีมีอาชีพมีรายไดที่มั่นคง ซึ่งการที่สังคมไทยเปนสังคม

พหุนิยมดังกลาวทําใหสังคมไทยมีลักษณะทั้งพหุนิยมทางสังคมและพหุทางวัฒนธรรม

ขณะเดียวกันตองการพื้นที่สาธารณะ (Public Sphere) คือพื้นที่ทางการเมืองที่เปน

พื้นที่ที่กลุมประชาชนกลุมตาง ๆ เขามาพูดคุยในประเด็นเนื้อหาที่เรื่องของผลประโยชนสวนรวม

โดยมีเปาหมายเพื่อผลประโยชนของสาธารณะไมใชเพื่อผลประโยชนสวนตัวโดยผลของการพูดคุย

กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงบางอยางซึ่งรัฐบาลกอนหนานี้โดยเฉพาะในชวง 2544-2548 พื้นที่

สาธารณะที่จะแสดงความคิดเห็นผานสื่อมวลชนทั้งสมัยเกาสมัยใหมทําไดยากลําบาก ซึ่งบริบท

ทางสังคมดังที่กลาวมาขางตน จึงทําใหชนชั้นกลางโดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑลเขามามีสวนรวมทางการเมืองรูปแบบตาง ๆ ดังท่ีไดกลาวในบทที่ 4

3. บริบททางเศรษฐกิจที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตปริมณฑลในชวง 2551-2553 ที่ปรากฏผลจากการสรุปผลการวิจัย ขอ 3 (และดังปรากฏ

รายละเอียดในบทที่ 4) สรุปไดวาบริบททางเศรษฐกิจที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้น

กลางคอนขางนอย ซึ่งไมเปนไปตามตัวแบบของ Lipset ที่มีเนื้อหาโดยสรุปวาหากมีการพัฒนา

เศรษฐกิจที่มีการเจริญเติบโต และทําใหเกิดความมั่งคั่ง เปนตน ที่นําไปสูการเกิดชนชั้นกลาง

วัฒนธรรมทางการเมืองแบบ Civic Culture ตลอดจนการจํากัดพื้นที่สาธารณะที่ไปเกื้อกูลตอการ

พัฒนามาเปนประชาธิปไตยแตตัวแบบของ Lipset ก็มีขอบกพรองโดยเฉพาะถานํามาใชกับ

ประเทศบางประเทศในเอเชียที่รัฐมีบทบาทเปนหลักเปนหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจ

1อานรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ไดใน ฐปนรรต พรหมอินทร จุมพล หนิมพานิช และ

ยุทธพร อิสรชัย, การเมืองภาคประชาชนกับประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมศึกษากรณีองคกร

พัฒนาเอกชน, 2548, น. 42-43.

Page 203: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

190

นอกจากนี้ ชนชั้นกลางและชนชั้นนายทุนบางครั้งก็ไมแสดงบทบาทในความเปนผูนํา

ในการเรียกรองสิทธิเสรีภาพ

เหลานี้ถือเปนสวนหนึ่งที่ทําใหบริบททางเศรษฐกิจสงผลตอพฤติกรรมทางการเมือง

คอนขางนอยและตอไปนี้คือตัวอยางที่จะยืนยันวาหากบริบททางเศรษฐกิจ ในอีกแงหนึ่งคือในแง

ของ อาทิ ความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจในฐานะบริบททางเศรษฐกิจที่สงผลตอพฤติกรรมทาง

การเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงกอนและชวง 2551-2553

ไมมากหรือคอนขางนอย

แตถานําบริบททางสังคม อาทิ ความเหลื่อมล้ําทางสังคม หรือความเหลื่อมล้ําทาง

วัฒนธรรม เขามาวิเคราะหรวมดวยจะเห็นไดชัดวา บริบททางสังคมในรูปของความเหลื่อมล้ําทาง

สังคมหรือวัฒนธรรมสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑลมากกวาทั้งในชวงกอนและชวงเวลาที่ทําการศึกษา (ที่เขามารวมกับกลุมพันธมิตร

ประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในฐานะเปนแนวรวม)

ความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยและผลของความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

1. ความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

การที่ชนชั้นกลางใหความเห็นเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

โดยภาพรวมมีคาเฉลี่ยระดับมาก ( = 4.09) ไมวาจะเปนนักการเมืองและขาราชการ เชื่อถือ

อะไรไมได การเมืองการปกครองที่เปนอยูในปจจุบันเปนเรื่องของอํานาจ การที่บุคคลในคณะ

รัฐบาลและนักการเมืองเปนผูที่ไมมีความรูสึกวานาเชื่อถือไมสามารถไววางใจ เปนตน เหตุผลที่

เปนเชนนั้นนอกจากจะสืบเนื่องมาจากการเมืองของไทยในอดีตและปจจุบันเปนการเมืองใน

ระบอบ ธนาธิปไตยและกอใหเกิดปญหาตอการเมืองไทยในแงการเมืองไทยในชวงดังกลาวที่มี

ปญหาการใชเงินในทุก ๆ เรื่อง อาทิ นอกจากการใชเงินซื้อเสียง ซื้อตําแหนงแลวมีปญหาการแยง

ชิงตําแหนง อํานาจ เปนตน

ทั้งนี้อีกเหตุผลหนึ่งที่นาจะเปนขอจํากัดของการเมืองไทยในชวงดังกลาวเปน

การเมืองแบบเดิมหรือการเมืองแบบตัวแทนที่นักการเมือง พรรคการเมืองการเมือง เปนตน เปนตัว

แสดงหลัก ที่บรรดานักการเมืองพรรคการเมืองการเมืองตางแสวงหาผลประโยชนสวนตนและพวก

Page 204: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

191

พองในทางที่ไมถูกตองชอบธรรม แทนที่จะทําเพื่อผลประโยชนเพื่อประชาชนสวนรวม ซึ่งเหตุผลใน

ขอนี้จึงเปนที่มาสวนหนึ่งทําใหรัฐธรรมนูญตั้งแต ฉบับ 2540 เริ่มใหความสําคัญกับการเมืองภาค

ประชาชนหรือการเมืองแนวใหม หรือประชาธิปไตยทางเลือกในที่ใหประชาชนกลุมตาง ๆ รวมทั้ง

ชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนตัวแสดง หรือเปนผูเลนไมใชผูดู โดยให

อํานาจกับประชาชน ในการทําประชาพิจารณการมีสวนรวมในการติดสินใจการกําหนดนโยบาย

เปนตน ขณะเดียวกันพฤติกรรมทางการเมืองของพรรคการเมืองการเมืองนักการเมืองดังที่กลาว

มาขางตนไดเกิดขึ้นซ้ําซาก

ผลจึงทําใหชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีความคิดตอ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย ที่มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากดังที่กลาวมา

2. ผลของความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในพฤติกรรมตาง ๆ ไมวาจะเปนเรื่องของการสนใจติดตามขาวสารทางการเมืองการไปใชสิทธิ

เลือกตั้ง การเปนสมาชิกหรือแนวรวมกับกลุม สมาคม องคกรทางการเมืองที่อยูในระดับมากทุก ๆ

พฤติกรรม ประเด็นนี้นอกจากจะเปนเพราะรัฐธรรมนูญฉบับ พุทธศักราช 2540 และโดยเฉพาะ

ฉบับปจจุบัน 2550 ที่ เพิ่มอํานาจใหกับประชาชนกลุมตาง ๆ รวมทั้งชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลไมวาจะเปนเรื่องของการใหสิทธิเสรีภาพตาง ๆ อยางกวางขวาง

แลว ยังใหการมีสวนรวมทางการเมืองในรูปแบบตาง ๆ เพิ่มขึ้นอยางกวางขวาง เชนเดียวกัน เปน

ตน ประกอบกับบริบททางการเมืองสังคมไทยในชวงกอนและที่ไดกลาวมาในบทที่ 4 สงผลตอ

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางประกอบกับชนชั้นกลางไทยในระยะหลังมีพฤติกรรมทาง

การเมืองที่เกษียร เตชะพีระที่ไดกลาวมาในบทที่ 4 และบทที่ 5 วาชนชั้นกลางไทยมีความ

กระตือรือรน และมีจิตสํานึกทางการเมืองสูงและกวางขวางแพรหลายอยางไมเคยเปนมากอน

พรอมกัน เกษียรยังไดอางถึงไชยันต รัชชกูล แหงมหาวิทยาลัยพายัพที่มีทัศนะคลายกันคือไชยันต

บอกวามันแผกวางขนานกับนักศึกษาสมัยหลัง 14 ตุลาคม 2516 ยังเทียบไมได (เกษียร เตชะพีระ,

2553, น. 99)

ขอคนพบจากการวิจัย

การศึกษาเรื่องพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวง 2537-2553 เกิดขอคนพบอันจะ

Page 205: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

192

เปนประโยชนในการเปนขอมูลพื้นฐานตองานวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการมีสวนรวม

ทางการเมืองของชนชั้นกลางในสังคมไทยหลายประการ ดังตอไปนี้

1. บริบททางการเมืองที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง ซึ่ง

คนพบวา บริบททางการเมืองมีผลตอพฤติกรรมหรือการมีสวนรวมทางการเมืองของชนชั้นกลางใน

เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวงดังกลาวนั้น เปนการกระทําของประชาชนที่มีจุดประสงค

เพื่อใหมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของรัฐบาล ทั้งการคัดคานและการสนับสนุนรัฐบาลที่มีพฤติ

กรรมการบริหารที่ไมชอบธรรมทางการเมืองและมีการคอรรัปชั่นเชิงนโยบาย ซึ่งที่ผานมาสวนใหญ

ชนชั้นกลางจะมีการแสดงออกทางการเมืองเพื่อเปนการกดดันและคัดคานรัฐบาลแตการกดดัน

และคัดคานดังกลาวไม ไดรับผลสําเร็จเสมอไป โดยบทบาทของชนชั้นกลางตอการมีสวนรวม

ทางการเมืองในหลายเรื่องอาจจะลมเหลวในการที่จะกดดันรัฐบาลได เชน การชุมนุมประทวงอาจ

ไมเกิดผลแตอยางใดตอนโยบายของรัฐบาลหรือการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ผูสมัครของตนอาจจะ

ไมไดรับการเลือกตั้ง เปนตน นอกจากนั้นยังพบวา กลุมชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและ

ปริมณฑลจะมีการรวมกลุมทาง การเมืองตามทัศนคติความเชื่อทางการเมืองของตนเอง โดยการ

รวมกลุมมักจะใชเวลาหลังเลิกงานและวันหยุด โดยมีปจจัยที่สําคัญจากการรับสื่อที่ตนเองชอบ

เปนสําคัญ โดยมีเทคโนโลยีและระบบสื่อสารแบบไรพรมแดน โดยเฉพาะอินเตอรเน็ต และเว็บไซต

เปนพื้นที่ที่ชนชั้นกลางใชเปนเวทีในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองมากยิ่งขึ้น โดยพฤติกรรม

ทางการเองหรือการมีสวนรวมทางการเมืองอาจไมมีผลเปลี่ยนแปลงตอการตัดสินใจของผูนําหรือ

รัฐบาลแตอยางใด แมวาผูมีสวนรวมมีวัตถุประสงคกดดันรัฐบาล ซึ่งหลายครั้งพบวาการมีสวนรวม

ทางการเมืองจะมีผลมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับอํานาจทางการเมืองของผูมีสวนรวมซึ่งมักมีพลัง

อํานาจทางการเมืองไมมากนักและไมสามารถผลักดันการตัดสินใจของรัฐบาลไดตลอดเวลาและ

ทุก ๆ เรื่อง แตถาหากมีการรวมกลุมในลักษณะการเปนแนวรวมกับกลุมการเมืองที่มีทัศนคติที่

สอดคลองกันจะมีพลังอํานาจในการกดดันหรือการเคลื่อนไหวทางการเมือง

2. บริบททางการสังคมที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง ซึ่ง

คนพบวาบริบททางสังคมมีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในประเด็นตาง ๆ อาทิ ทํา

ใหพฤติกรรมของชนชั้นชนกลางมีความสนใจในการติดตามขอมูลขาวสารที่มากขึ้น และมีรูปแบบ

ชองทางในการสื่อสารที่หลากหลายเนื่องจากความเจริญกาวหนาในอุปกรณสื่อสารตาง ๆ ซึ่งเปน

ผลมาจากการการเปดเสรีทางการคา ที่เกี่ยวของกับกิจการโทรคมนาคมของรัฐบาล นอกจากนั้น

ยังมีการติดตามสถานการณการชุมนุมจากเวทีการชุมนุมตางจากการถายทอดสดที่บาน เนื่องจาก

กลุมชนชั้นกลางติดตามขอมูลขาวสารเพื่อใชเปนขอมูลในการวางแผนการใชชีวิต วางแผนในการ

เดินทาง นอกจากนั้นการติดตามขอมูลขาวสารของชนชั้นกลางยังจะทําใหมีโอกาสและชองทางใน

Page 206: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

193

การประกอบอาชีพที่ดีขึ้นของตนเองและสมาชิกในครอบครัวอีกดวย นอกจากนั้นยังพบวา ของชน

ชั้นกลางที่ไปใชสิทธิ์เลือกตั้งนั้นยังไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก เพราะกลุมคนสวนใหญยังเกิด

ความรูสึกวา นโยบายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมของคนในประเทศยังไมดีพอ

เนื่องจากยังคงมีสถานการณความขัดแยงที่รุนแรง การเรียกรองสิทธิที่มากเกินไป ตลอดจน

การทุจริตคอรรัปชั่นยังมีมากอยูในระบบการเมืองของประเทศไทย ทําใหการไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง

ของชนชั้นกลางยังไมมีการเปลี่ยนแปลงแตอยางไร สําหรับประเด็นการไปรวมกลุมหรือเปน

แนวรวมกับองคการทางการเมือง เนื่องจากการที่ชนชั้นกลางเขารวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับ

องคการทางการเมืองนั้นเปนชองทางที่สําคัญและเปนโอกาสที่จะทําใหสังคมการพัฒนาไปในทาง

ที่เจริญกาวหนาทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบาน สวนในประเด็น การการสนับสนุนพรรคการเมือง พบวา ชนชั้นกลางมีการสนับสนุนพรรคการเมืองมีมากขึ้นกวาเดิม โดยมีการพิจารณาถึงนโยบาย

ของพรรคที่มุงเนนพรรคการเมืองที่รักษาผลประโยชนของชาติบานเมืองเปนหลัก ดําเนินกิจการ

ของพรรคการเมืองท่ีมุงเนนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวกลาวโดย

สรุปแลว บริบททางสังคม โดยเฉพาะดานการที่สังคมเปลี่ยนแปลงเปนสังคม พหุนิยม

พหุวัฒนธรรม และโดยเฉพาะเปนสังคมขาวสารขอมูลไดสงผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชน

ชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทําใหประชาชนสามารถใชเปนชองทางในการเขา

มามีสวนรวมทางการเมืองไดอยางจริงจัง

3. บริบททางการเศรษฐกิจที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง ซึ่งคนพบวาบริบททางเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลง และหลายครั้งมีสาเหตุมากจากการ

เปลี่ยนแปลงทางการเมือง ทําใหพฤติกรรมของชนชั้นชนกลางมีความกระตื้อรนที่จะสนใจขาวสาร

ทางการเมืองมากขึ้น เพื่อจะชวยในการวางแผนสําหรับการทําธุรกรรมหรือการวางแผนดานงาน

เงินของครอบครัวมากขึ้น นอกจากนั้นการติดตามขอมูลขาวสารของชนชั้นกลางยังจะทําใหมี

โอกาสและชองทางในการประกอบอาชีพที่ดีขึ้นของตนเองและสมาชิกในครอบครัว นอกจากนี้ยัง

พบวา กลุมชนชั้นกลางมีความเขาใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมของนักการเมืองวายังคงมีอิทธิพลสูงตอ

การพัฒนาทางการเมืองและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ทําใหคนชั้นกลางไปไดคิดวาการสละเวลา

เพื่อไปใชสิทธิ์ เลือกตั้งหรือการสละเวลาเขารวมกิจกรรมทางการเมืองจะสามารถสงผลตอการ

เปลี่ยนแปลงทางการเมืองของประเทศแตประการใด อยางไรก็ตามการซื้อสิทธิ์ ขายเสียงในการไป

ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งน้ันไมสามารถโนมนาวใหกลุมคนชั้นกลางไปใชสิทธิ์เลือกตั้งได ดังนั้นสิ่งที่

สําคัญพบวา บริบททางเศรษฐกิจมีผลตอพฤติกรรมของชนชั้นกลางในประเด็นการไปใชสิทธิ์

เลือกตั้งทั้งมีมุมมองที่เห็นวา กลุมคนชนชั้นกลางมีพฤติกรรมและจํานวนในการไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง

เทาเดิม และบางทานมองวานาจะมากขึ้นจากเดิมนั้น แตอยางไรก็ตาม มีมุมมองของผูทรงคุณวุฒิ

Page 207: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

194

บางทานวา การพฤติกรรมการไปใชสิทธิ์เลือกตั้งของกลุมชนชั้นกลางมีแนวโนมที่ลดต่ําลง

เนื่องจากลุมคนชั้นกลางมีความหวาดระแวงตอผลการเลือกตั้ง ที่เกิดขึ้นที่ไมแนนอน วาพรรค

การเมือง นักการเมืองที่ตนเองเลือกจะไดรับเลือกตั้งหรือไม เนื่องจากเกิดเหตุการณและ

ความรุนแรงทางการเมืองเกิดขึ้น เชน การทําปฏิวัติรัฐประหาร การยึดอํานาจ การประทวงที่มี

ความรุนแรงในขณะนั้น สาเหตุหรือปจจัยดังกลาวนั้นจะทําใหชนชั้นกลางไปใชสิทธิ์เลือกตั้งมี

จํานวนลดนอยลง นอกจากนั้นยังพบวา บริบททางเศรษฐกิจเปนเหตุผลสวนบุคคล หรือมองในรูป

ผลประโยชนสวนตนเทานั้นเปนชองทางที่สําคัญและเปนโอกาสที่ดีในการประกอบอาชีพ

การดําเนินธุรกิจ และการแสวงหาผลประโยชนใหกับตนเอง

4. ความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย ซึ่งคนพบหลายประเด็น ดังตอไปนี้

4.1 ชนชั้นกลางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเห็นวา นักการเมืองและ

ขาราชการทุกวันนี้เชื่อถืออะไรไมได ไมซื่อสัตย ฉอราษฎรบังหลวง

4.2 การเมืองการปกครองที่เปนอยูในปจจุบันเปนเรื่องของผูมีอํานาจไมใชเปน

เรื่องของประชาชน

4.3 บุคคลในคณะรัฐบาลและนักการเมืองเปนผูที่ท านมีความรู สึกว า

ไมนาเชื่อถือไมสามารถไววางใจไดมากกวาเดิม

4.4 รัฐธรรมนูญเปนกลไกสําคัญของการเมืองการปกครอง โดยเฉพาะ

การสงเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย

4.5 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2550 ไดเปดโอกาสใหหากทานและ

ประชาชนโดยทั่วไปมีสิทธิมีเสียง หรือมีสวนรวมทางการเมืองกวางขวาง เพิ่มขึ้นมากกวาเดิม

4.6 ที่กลาวกันวาประชาธิปไตย คือ การปกครองของประชาชน โดยประชาชน

เพื่อประชาชนทานคิดวานาจะไมเปนความจริงจากการศึกษา

4.7 การที่ทานเขาไปมีสวนรวมกิจกรรมทางการเมืองรวมกับคนอื่นเปนสิ่งที่มี

ประโยชน และนาจะเปนผลดีตอการเมืองในภาพรวม

5. ความคิดเห็นของชนชั้นกลางการใหความสนใจติดตามขาวสารขอมูลทางการเมือง ซึ่งคนพบหลายประเด็น ดังตอไปนี้

5.1 กลุมตัวอยางมีความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

5.2 กลุมตัวอยางสนใจติดตามการและระดับทองถิ่นรณรงคหาเสียงทาง

การเมืองของนักการเมืองระดับชาติและระดับทองถิ่น ทําใหทานไดเรียนรูและเขาใจกระบวนการ

เลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย อาทิวิถีชีวิตและหลักการแบบประชาธิปไตย เปนตน

Page 208: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

195

5.3 ก ลุ ม ตั ว อ ย า ง มี คว า ม ส น ใ จ ติ ด ต า ม ข า ว ส า ร ท า ง ก า ร เ มื อ ง อ า ทิ

การบริหารงานของรัฐบาล การทําหนาที่ของฝายคาน ทําใหทานเขาใจและตระหนักบทบาทของ

ฝายบริหารหรือฝายรัฐบาลและฝายคาน

5.4 กลุมตัวอยางมีความสนใจติดตามขาวสารของการเมืองจากสื่อประเภท

ตาง ๆ ของพฤติกรรมนักการเมือง อาทิมีการทุจริต คอรัปชั่น ตลอดทุกรัฐบาลทําใหทานเกิดความ

เบื่อหนายในพฤติกรรมนักการเมือง

5.5 กลุมตัวอยางมีความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง อาทิในการพูดคุย

กับผูที่สนใจทางการเมืองดวยกันตามพื้นที่สาธารณะ อาทิ รานกาแฟ สนามเด็กเลน

สวนสาธารณะ ทําใหมีความรอบรูเกี่ยวและรูและรูลึกเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยเพิ่มขึ้น

5.6 กลุมตัวอยางมีความสนใจติดตามขาวสารทางการเมืองอยูตลอดเวลาผาน

สื่อตาง ๆ ทําใหทานเขาใจวาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยบรรดานักการเมืองสวนใหญเวลา

ตอสูกันทางการเมืองมักตอสูภายใตกติกา อาทิกฎหมาย โดยไมใชความรุนแรงทางการเมือง

5.7 กลุมตัวอยางมีความมีโอกาสแลกเปลี่ยนพูดคุยถึงเรื่องการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทย หนาที่เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของพรรคการเมืองกลุมผลประโยชนทําใหทาน

ไดเรียนรู เขาใจถึงหลักการประชาธิปไตยที่สําคัญ อาทิ หลักเสียงขางมากการเคารพเสียงขางนอย

6. ความคิดเห็นของชนชั้นกลางตอการไปใชสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งคนพบหลาย

ประเด็น ดังตอไปนี้

6.1 กลุมตัวอยางคิดวา การที่ทานไปใชสิทธิเลือกตั้งทุกครั้งในชวง 2551-2553

ทําใหทานตระหนักและเห็นความสําคัญของกระบวนการทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

มากขึ้น

6.2 กลุมตัวอยางคิดวาการเลือกตั้งเปนที่มาของความชอบธรรมทางการเมือง

ของพรรคการเมืองที่มีเสียงมากที่มีสิทธิจะจัดตั้งรัฐบาลมากกวาพรรคการเมืองที่มีเสียงนอย

มากขึ้น

6.3 กลุมตัวอยางคิดวานโยบายที่แตละพรรคการเมืองนํามาใชในการหาเสียงมี

ความสําคัญตอการที่ทานไปใชสิทธิ์ในการเลือกตั้งมากขึ้น

6.4 กลุมตัวอยางคิดวาการซื้อสิทธิ์ขายเสียงเปนอุปสรรคตอพัฒนาการทาง

การเมืองไทยทั้งในระยะสั้นและระยะยาวมากขึ้น

Page 209: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

196

6.5 กลุมตัวอยางคิดวาสํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งควรจัดการให

การซื้อสิทธิ์ขายเสียงในการเลือกตั้งใหหมดไป เชน สิ่งที่มีความจําเปนหรือมีความสําคัญตอ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยมากขึ้น

6.6 กลุมตัวอยางคิดวาการไปใชสิทธิในการเลือกตั้งในระดับชาติและระดับ

ทองถิ่น ทานคิดวานอกจากเปนเรื่องของสิทธิหนาที่ของพลเมืองที่ดีและการมีจิตใจ หรือจิตสํานึก

ของความเปนประชาธิปไตยแลวยังแสดงถึงการที่ทานมีความเชื่อมั่นไววางใจตอการเมืองระบอบนี้

มากขึ้น

6.7 กลุมตัวอยางคิดวาการไปใชสิทธิในการเลือกตั้งสวนใหญจะเลือกพรรค

การเมืองทานจะพิจารณาจากนโยบายอุดมการณของพรรคที่ยึดหลักของประโยชนของคน

สวนใหญเปนหลักมากกวาอยางอื่นเพิ่มมากขึ้น

7. ความคิดเห็นของชนชั้นกลางตอการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคการทางการเมือง ซึ่งคนพบหลายประเด็น ดังตอไปนี้

7.1 กลุมตัวอยางคิดวาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยการไปรวมกลุม

หรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมือง เพื่อคงไวซึ่งการแสดงออกหรือเรียกรองผลประโยชนของ

ตนตอรัฐบาลที่บริหารประเทศขณะนั้นมีความจําเปนมากขึ้น

7.2 กลุมตัวอยางคิดวาการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมือง

ใหผลประโยชนตอตัวทานตอครอบครัวและสังคมที่ทานอาศัยอยูมากขึ้น

7.3 กลุมตัวอยางคิดวาการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมือง

ที่ทานเปนสมาชิกอยูถามีจํานวนมากแสดงออกในรูปของการเรียกรอง การเคลื่อนไหว การตอรอง

การประนีประนอมการเจรจาตอรองตลอดจนการคิดคนทางการเมืองเพื่อใหไดมาซึ่งผลประโยชน

ที่ตองการไดมากขึ้น

7.4 กลุมตัวอยางคิดวาการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมือง

เปนสิทธิเสรีภาพที่ทานพึงทําไดตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันมากนอยขึ้น

7.5 กลุมตัวอยางคิดวาการที่ประชาชนไมอยากไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับ

องคกรทางการเมืองใด ๆ เลยเพราะทานขาดความศรัทธาในตัวนักการเมือง ทานคิดวา

นักการเมืองสวนใหญไมนาไววางใจ

7.6 กลุมตัวอยางคิดวาการที่เขารวมชุมนุมกับแนวรวม/องคกรทางการเมืองตาง ๆ

เชน เพราะคิดวาเปนสิทธิ เสรีภาพ

Page 210: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

197

7.7 กลุมตัวอยางคิดวาประเด็นที่ทําใหประชาชนเขารวมการชุมนุมประทวง หรือ

การไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับ องคกรทางการเมืองเพราะทานวาประเด็นของการเคลื่อนไหว

ดังกลาว เปนเรื่องผลประโยชนของประชาชนโดยทั่วไป จ 8. ความคิดเห็นของชนชั้นกลางตอการสนับสนุนพรรคการเมือง ซึ่งคนพบ

หลายประเด็น ดังตอไปนี้

8.1 กลุ มตัวอยางคิดว าในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยของ

การสนับสนุนพรรคการเมืองในรูปแบบตาง ๆ ที่ไมผิดกฎหมาย เปนเรื่องที่มีความสําคัญมาก

8.2 กลุมตัวอยางคิดวาพรรคการเมืองที่ชื่นชอบ และเปนสมาชิกเมื่อมีโอกาสเปน

รัฐบาลบริหารประเทศ พรรคการเมืองดังกลาวนั้นจะสามารถสรางศรัทธาความเชื่อมั่น

ความไววางใจใหเกิดขึ้นได

8.3 กลุมตัวอยางคิดวาพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตยควรทําหนาที่ให

เปนที่พึงพอใจของประชาชนและควรนํานโยบายของพรรคที่ใชในการหาเสียงมาบริหารประเทศ

อยางจริงจัง

8.4 กลุมตัวอยางคิดวาพรรคการเมืองที่สนับสนุนหรือเปนสมาชิกทําหนาที่เปน

ตัวแทนหรือเปนสะพานที่เชื่อมโยงระหวางประชาชนกับรัฐบาลได

8.5 กลุมตัวอยางคิดวาการที่บริจาคเงิน วัสดุ สิ่งของใหกับพรรคการเมืองที่ตน

ชื่นชอบเปนเพราะคิดวาจะไดทําใหพรรคการเมืองที่ทานสนับสนุนสามารถนําไปใชในนโยบาย /

โครงการที่เปนประโยชนกับประชาชนโดยทั่วไปได

8.6 กลุมตัวอยางคิดวาการที่ไมเห็นดวยที่จะไปสนับสนุนพรรคการเมืองใน

ปจจุบัน เพราะพรรคการเมืองสวนใหญขาดความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ อาทิ หนาที่ตาม

นิติบัญญัติ เชนไมเขารวมประชุม เปนตน

8.7 กลุมตัวอยางคิดวาการที่ไมอยากเขาไปยุงเกี่ยวตลอดจนสนับสนุนกับพรรค

การเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง เปนเพราะพรรคการเมืองไทยในปจจุบัน ทุจริต คอรัปชั่น

นอกเหนือไปจากการมีพฤติกรรมทางการเมือง ที่ไมนาไววางใจ

สิ่งที่สําคัญที่สุดในการคนพบคือ ผลการสํารวจความคิดเห็นของชนชั้นกลางในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลปรากฏออกมาตามที่กลาวมาในขางตนนาจะเปนสัญญาณที่สงผล

ดีตอการเมืองไทยในปจจุบันและอนาคต

Page 211: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

198

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะเกี่ยวกับเรื่องพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลชวง 2537-2553

1. ถาเปนไปตามแนวคิดของ Samuel Huntington ที่กลาวถึงสงครามเปน

ประชาธิปไตย ในแนวคิดที่กวางโดยชี้ใหเห็นถึงคลื่นของการเปนประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในอดีต

อีกทั้งยังระบุถึงคลื่นที่ยอนกลับ คือการไมเปนประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในหลาย ๆ ประเทศ ซึ่งเปลี่ยน

จากประชาธิปไตยกลับไปสูการมีรัฐบาลที่เปนเผด็จการอีก และบางครั้งก็มีการเปนประชาธิปไตย

ในภายหลังอีกครั้งหวังจากการบรรยายครั้งนั้นเขาไดเขียนหนังสือ ที่ชื่อ The Third Wave:

Democratization in the Late Twentieth Century

Huntington (1991) นิยามคําวาประชาธิปไตยในลักษณะของกระบวนการ วา

ระบบการเมืองในศตวรรษที่ 20 จัดเปนประชาธิปไตยหากผูมีอํานาจตัดสินใจมาจากากรเลือกตั้ง

ที่สุจริต และยุติธรรมซึ่งผูสมัครับเลือกตั้งสามารถแขงขันกันอยางเสรี ประชาธิปไตยยังเปนการที่

ประชาชนมีเสรีภาพในการพูด การพิมพ การรวมกลุม และการดําเนินการที่มีความจําเปนใน

การอภิปรายทางการเมืองและการหาเสียงเลือกตั้ง

ขณะเดียวกับถาเงื่อนไขของสังคมหรือบริบทสังคมอีกชุดหนึ่งที่มีสวนสงเสริม

ประชาธิปไตย คือโครงสรางของสังคม (Social Structure) นั้น ๆ ประกอบดวยกลุมและชนชั้น

ไดแก ชนชั้นตาง ๆ ที่รวมเอกชนชั้นกลางเขาไวดวย และชนชั้นทางสังคมดังกลาวชวยจํากัดอํานาจ

ของรัฐและกลุมผูนําในสังคม Samuel Huntington เห็นวาบริบทหรือเงื่อนไขทางสังคมดังกลาวจะ

สงผลตอความเปนประชาธิปไตยเพิ่มขึ้น ซึ่งผูวิจัยเห็นดวย

ดังนั้น ผูวิจัยจึงขอเสนอแนะวาหากจะใหพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง

ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลสงผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในทางที่

เปนประชาธิปไตยอยางแทจริง ผูมีอํานาจตองดําเนินการตามขอเสนอของ Huntington ทั้งในเรื่อง

การเลือกตั้งที่สุจริต ยุติธรรม ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในเรื่องตาง ๆ และ โครงสรางทางสังคมตอง

ประกอบดวยชนชั้นกลางและตองมีโครงสรางที่ประกอบไปดวยกลุมชนชั้นตาง ๆ ที่ชวยจํากัด

อํานาจรัฐ (Samuel Huntington, 1984, p. 202)

2. ผูวิจัยเห็นวารัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน 2550 ที่เปนรัฐธรรมนูญที่ใหประชาชนกลุม

ตาง ๆ เปนผูเลนไมใชผูดูแตเปนตัวแสดงขณะเดียวกันพยายามลดอํานาจบทบาทของนักการเมือง

Page 212: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

199

ในการเมืองแนวเดิมหรือการเมืองแบบตัวแทน โดยการใหความสําคัญกับการเมืองภาคประชาชน

มากยิ่งขึ้น

ในแงดังกลาวผูวิจัยขอเสนอแนะวาผูมีอํานาจหรือรัฐบาลชุดใดก็ตามที่ขึ้นมา

บริหารประเทศเวลาจะดําเนินการอะไรตองใหการเมืองภาคประชาชนเขามามีบทบาทหรือมีสวน

รวมตั้งแตการกําหนดนโยบาย การตัดสินใจ การทําประชาพิจารณ เปนตน อยางจริงจังไมใชการมี

สวนรวมแคเปนพิธีเหมือนที่ผานมาในอดีต

ทั้งนี้เพราะในปจจุบันมีการใหความสําคัญกับประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม

Participatory Democracy ซึ่งถือเปนรูปแบบหรือประชาธิปไตยทางเลือกขณะเดียวกัน ไดมีการ

เรียกรองเพื่อมีสวนรวมในทุก ๆ ระดับของกระบวนการทางนโยบาย ทั้งนี้เพราะประชาธิปไตยแบบ

มีสวนรวม (Participatory Democracy) เปนการกระจายอํานาจและทรัพยากรตาง ๆ และเปน

การที่คนทุกกลุมมีอํานาจในการตัดสินใจโดยอํานาจควรไดรับการจัดสรรในระหวางประชาชน เพื่อ

ทุก ๆ คนไดมีโอกาสที่จะมีอิทธิพลตอกิจกรรมสวนรวม

จึงกลาวไดวาประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมจัดเปนการกระจายอํานาจและเปน

การมีประชาธิปไตยอยางกวางขวางของกระบวนการทางการเมืองทั้งในระดับทองถิ่นและ

ระดับชาติ

จากที่กลาวมาขางตน เราสามารถสรุปหลักการหรือองคประกอบสําคัญของคําวา

ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม ไดดังนี้ คือการใหประชาชนมีสวนรวมในการเมืองและการบริหาร

มีการกระจายอํานาจในการตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากรตาง ๆ ในระหวางประชาชนกลุมตาง ๆ

รวมทั้งกลุมชนชั้นกลางใหเทาเทียมกัน ซึ่งอํานาจในการตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากรตาง ๆ

นั้น จะสงผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนมีการเพิ่มการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ

ของประชาชนมีความยืดหยุนได กลาวคือ มีโครงสรางการทํางานที่สามารถตรวจสอบได

มีความโปรงใสและคํานึงถึงความตองการทรัพยากรของผูมีสวนรวม และการมีสวนรวมของ

ประชาชนมีทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ

3. ผูวิจัยเห็นวาพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางไทยในเขตกรุงเทพมหานคร

และปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553 หรือกอนหนานี้ ไมคอยมีความตอเนื่องผูวิจัยจึงขอ

เสนอแนะวานาจะสงเสริมใหมีหรือสรางปจจัยเหลานี้ที่จะไปสงผลตอการเขามามีสวนรวมทาง

การเมืองของประชาชนทุกกลุมรวมทั้งชนชั้นกลางใหเกิดขึ้นโดยกลุม บุคคลองคกร สมาคม ที่มี

บทบาทที่เกี่ยวของปจจัยเหลานี้ ไดแก (W. Lester Mibrath and M.L. Goel, 1977)

1) สิ่งเราทางการเมือง (Political Stimulate) Milbrath และ Goel อธิบายวา

กอนที่การกระทําทางการเมืองจะเกิดขึ้นไดนั้นบุคคลจะตองคอย ๆ ไดรับสิ่งเราจากสิ่งแวดลอม

Page 213: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

200

สิ่งเราทางการเมืองนี้เชนการพูดคุยเกี่ยวกับการเมือง การไดรับขาวสารขอมูลไดงายหรืออยูใน

องคกรที่เกี่ยวของกับกิจกรรมทางการเมืองบางรูปแบบ เปนตน ซึ่งทั้งสองไดรวบรวมผลการศึกษา

ของนักวิชาการหลายทานและในหลายประเทศ พบวา

1.1) ยิ่งบุคคลที่ไดรับสิ่งเราทางการเมืองมากเทาใด เขายิ่งมีแนวโนมวาจะ

เขามีสวนรวมทางการเมือง และจะเขารวมในลักษณะที่ลึกมากขึ้นเทานั้น

1.2) บุคคลที่เขามีสวนรวมในการพูดคุยเกี่ยวกับการเมืองอยางไมเปน

ทางการ จะมี แนวโนมวาจะไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และเขามีสวนรวมทางการเมืองในรูปแบบ

อื่น ๆ มากกวา พวกที่ไมมีการพูดคุยเรื่องการเมือง

1.3) ชนชั้นกลางมักจะไดรับสิ่งเราทางการเมืองมากกวาชนชั้นกรรมกร

2) ปจจัยสวนบุคคล (Personal Factors) Milbrath และ Goel ไดแยกปจจัย

สวนบุคคล ออกเปน 5 ปจจัย ไดแก ทัศนคติ ความเชื่อ ลักษณะทางบุคลิกภาพ การสืบลักษณะ

นิสัยมาจาก บิดามารดา และความตองการในเชิงจิตวิทยา อยางไรก็ตาม ในการศึกษาวิจัย

เกี่ยวกับพฤติกรรม ทางการเมืองไดมีการนําปจจัยตาง ๆ ดังกลาวมาทําการศึกษาเพียง 3 ปจจัย

แรกเทานั้นสวนปจจัย ที่เหลือนั้นยังไมเคยนํามาศึกษาเพราะการวัดเปนไปไดยาก ทัศนคติและ

ความเชื่อนี้มักจะมีความสัมพันธอยางมากกับพฤติกรรม สวนบุคลิกภาพจะถูกประกอบขึ้นดวย

ปจจัยภูมิหลังหรือ ปอนขอกําหนดตาง ๆ ใหเขาสูกรอบการรับรูและแสดงออกมาเปนความเชื่อหรือ

ทัศนคติซึ่งทั้งสอง ไดรวบรวมขอคนพบจากการวิจัยหลายผลงานพบวา

2.1) บุคคลยิ่งมีความสนใจและหวงใยเรื่องการเมือง มีแนวโนมจะเขามีสวน

รวมทางการเมืองมากขึ้น

2.2) บุคคลที่รูสึกหรือมีความเชื่อมั่นในประสิทธิผลของตนหรือเชื่อใน

ความสามารถของตน มีแนวโนมที่จะเขาไปมีสวนรวมในการเมืองมากกวาบุคคลที่ไมรูสึกเชนนี้

2.3) บุคคลที่มีสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมสูง โดยเฉพาะมีระดับ

การศึกษาสูง มีแนวโนมในทางจิตวิทยาวาจะเขาไปเกี่ยวของกับการเมืองมาก

3) สิ่งแวดลอมทางการเมือง (Political Setting) สิ่งแวดลอมทางการเมืองในที่นี้

ประกอบดวย 3 สวน คือ

3.1) กฎกติกาทางการเมือง เชน สิทธิในการเลือกตั้งความถี่ของการเลือกตั้ง

หรือ จํานวนเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการเลือกตั้ง เปนตน ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่จะมีผลกระทบตอ

แนวโนมของการมีสวนรวมทางการเมืองในรูปของการไปใชสิทธิเลือกตั้ง

3.2) สถาบันทางการเมือง โดยเฉพาะระบบพรรคการเมืองการเมือง

กลาวคือระบบพรรคการเมือง การเมืองจะมีผลกระทบตอแบบแผนและอัตราของการมีสวนรวม

Page 214: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

201

ทางการเมืองของประชาชน ซึ่ง งานวิจัยหลายเรื่อง พบวา ยิ่งพรรคการเมืองการเมืองมีการแขงขัน

กันมาก อัตราของการมีสวนรวมก็จะยิ่ง สูงขึ้น กลาวคือ การแขงขันของพรรคการเมืองการเมือง

นาจะสงผลตอการมีสวนรวม โดยการกระตุนความสนใจในการรณรงคหาเสียงและทําใหประชาชน

รูสึกถึงความพยายามของปจเจกบุคคลในการที่จะ มีผลกระทบถึงผลที่จะออกมา ซึ่งถาการแขงขัน

ของพรรคการเมืองการเมืองไมทําใหประชาชนเกิดความสนใจ และไมเกิดความรูสึกถึงความมี

ประสิทธิภาพ การแขงขันนั้นก็อาจจะมีผลตอการมีสวนรวม เพียงเล็กนอยเทานั้น

4) ตําแหนงทางสังคม (Social Position) ตําแหนงทางสังคม ไดแก ระดับ

การศึกษา รายได อาชีพ ถิ่นที่อยูอาศัย เพศ อายุ ศาสนา เชื้อชาติ ฯลฯ ปจจัยตาง ๆ นี้ เปนตัวแปร

ที่ใชใน การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมือง ซึ่งสวนใหญเปนงานวิจัยในเชิงปริมาณ

เนื่องจากเปนตัวแปรที่สามารถเห็นไดชัดและวัดไดงาย อยางไรก็ตามตําแหนงทางสังคมไมไดทําให

เกิดการมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงแตจะเปนตัวแปรที่สนับสนุนตัวแปรทางดานทัศนคติและ

บุคลิกภาพ ทั้งสองไดรวบรวมขอคนพบจากการวิจัยหลายผลงาน พบวา

4.1) บุคคลที่อยูใกลศูนยกลางของสังคม มีแนวโนมวาจะเขาไปมีสวนรวม

ทางการเมือง มากกวาบุคคลที่อยูหางไกล

4.2) บุคคลยิ่งอยูในชนชั้นสูงขึ้น มีแนวโนมวาจะเขามีสวนรวมทางการเมือง

มากกวา บุคคลที่อยูในชนชั้นที่ต่ํากวา

4.3) บุคคลยิ่งมีการศึกษาสูง มีแนวโนมวาจะเขามีสวนรวมทางการเมือง

มากกวา บุคคลที่มีการศึกษาต่ํากวา

4.4) บุคคลที่มีฐานะดีมีแนวโนมวาจะเขามีสวนรวมทางการเมืองมากกวา

บุคคลที่มีฐานะดอยกวา

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป

1. ในการวิจัยครั้งตอ ๆ ไป ควรจะมีการศึกษาวิจัยในหัวขอทํานองนี้ในภาคตาง ๆ

ของประเทศทั้ง 4 ภาค โดยทําในรูปของการวิจัยเชิงปริมาณผสมผสานการวิจัยเชิงคุณภาพก็ได

2. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบบทบาทของชนชั้นกลางกับชนชั้นลางหรือชนชั้นราก

หญา กับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย โดยรูปแบบของการวิจัยจะวิจัยในรูปของการ

วิจัยเชิงคุณภาพหรือวิจัยเชิงปริมาณตามลําดับก็ได

Page 215: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

บรรณานุกรม

หนังสือ

เกษียร เตชะพีระ. (2553). สงครามระหวางสีในคนวันเดือนมืด. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ Open

books.

. (2539). จินตนาการชาติที่ไมเปนชุมชน ชนชั้นกลางลูกจีนกับชาตินิยมโดยรัฐของไทย. กรุงเทพฯ: ไอเดียสแควร.

แกวสรร อติโพธิ. (ม.ป.ป). หยุดระบอบทักษิณ. เอกสารสําเนา.

เกียรติกร พากเพียรศิลป และคณะ. (2552). ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: 179 การพิมพ.

คณิต ณ นคร และคณะ. (2545). รัฐธรรมนูญกับกระบวนการยุติธรรม.กรุงเทพฯ: วิญูชน.

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (2550). รวมบทความ ศึกษา รูจัก วิพากษ คนชั้นกลาง. กรุงเทพฯ: บริษัทมิสเตอรก็อบป (ประเทศไทย) จํากัด.

คุณาภา ธํารงมาศ. (2552). แนวคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน.กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

จินตนา ปญญาอาวุธ. (2541). พฤติกรรมการสื่อสารและอุดมการณทางการเมืองแบบ. กรุงเทพฯ:

ม.ป.ท.

จุมพล หนิมพานิช. (2531). ทฤษฎีการสื่อสาร. เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาโครงการ

ปรณรงคทันตสาธารณสุขแหงชาติ.

. (2552). กลุมผลประโยชนกับการเมืองไทยแนวเกา แนวใหม และกรณีศึกษา.

กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

จุมพล รอดคําดี. (2531). ทฤษฎีการสื่อสาร. เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาโครงการปรณรงค

ทันตสาธารณสุขแหงชาติ.

จุรี วิจิตรวาทการ. (2528). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและผลกระทบตอการเมือง. เอกสารการ

สอนชุดวิชาพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมของการเมืองไทย สาขาวิชารัฐศาสตร

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชัยอนันต สมุทวณิช. (2527). “ระบบราชการกับการมีสวนรวมของประชาชน : พิจารณาในแงมหภาค” การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ.

. (2533). รัฐกับสังคมไทย : ไตรลักษณรัฐไทยในพหุสังคมสยาม. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 216: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

203

. (2538). ไตรลักษณกับการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา

มูลนิธิคอนราด อาคานาว.

ณรงค เพชรประเสริฐ. (2548). คนชั้นกลางไทยในกระแสทุนนิยม. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

ธงชัย วงศชัยสุวรรณ และ เทียนชัย วงศชัยสุวรรณ. (2541). รายงานวิจัยเรื่อง การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนชั้นกลาง. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการ

สภาผูแทนราษฎร.

ธเนศ วงคเนาวา (บรรณาธิการ). (2550). รัฐศาสตรสารฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ธีรยุทธ บุญมี. (2548). การเปลี่ยนแปลงสังคม วัฒนธรรมการเมืองครั้งที่ 2 ของไทย. กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพสายธาร.

. (2548). ชาตินิยมและหลังชาตินิยม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสายธาร.

. (2549). หลังเลือกตั้งจะเกิดวิกฤตการณประชาธิปไตยทั้งระบบ. กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพสายธาร.

นวพร เรืองสกุล. (2545). “การขยายตัวของระบบ ทุนนิยมชวง 2500-2539.” เอกสารการสอน

ชุดวิชาประวัติศาสตรไทย สาขาวิชาศิลปศาสตร มสธ. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

นิธิ เอี่ยวศรีวงศ. (2553). การเมืองของเสื้อแดง. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด บุค.

. “วัฒนธรรมของคนชั้นกลางไทย.” ใน สังศิต พิริยะรังสรรค และ ผาสุก พงษไพจิตร

(บรรณาธิการ), หนา 60-65. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

นิธิ เอี่ยวศรีวงศ และคณะ. (2552). ประชาธิปไตยระยะเปลี่ยนผาน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ

Openbook.บวรศักดิ์ อุวรรโณ. (2552). บทบาทสื่อกับการปฏิรูปการเมือง. เอกสารการปาฐกกาพิเศษ.

ณ หองอิศราอมันตกุล ชั้น 3 วันที่18 พฤษภาคม 2552. สมาคมนักขาว

นักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และ ถวิลวดี บุรีกุล. (2548). ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม (พิมพครั้งที่ 2).

นนทบุรี: สถาบันพระปกเกลา.

บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2531). เทคนิคการสรางเครื่องมือรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัย.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพศรีอนันต.

ปาริชาต สถาปตานนท. (2547). ระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 217: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

204

ปุระชัย เปยมสมบูรณ. (2546). คนดีไมมีเสื่อม มั่นคง ซื่อสัตย ตรงไปตรงมา. กรุงเทพ ฯ. อนิเมท

กรุป.

พงพันธ อยุรานนท. (2546). เศรษฐกิจชุมชนหมูบานกองกลาง. กรุงเทพฯ: สกว.

พงศเพ็ญ ศกุนตาภัย. (2538). “ประเด็นปญหาอนาคตของระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย.”

ใน รวมบทความวิชาการรัฐศาสตร, หนา 58. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัย

ธรรมธิราช. เนื่องในโอกาสครบรอบ 17 ป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช

ครบรอบ 13 ป รัฐศาสตร.พรศักดิ์ ผองแผว. (2526). ขาวสารทางการเมืองของคนไทย. กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ.

พรศักดิ์ ผองแผว และ พลศักดิ์ จิรไกรศิริ (บรรณาธิการ). (2524). วัฒนธรรมทางการเมืองไทย.

กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย.

พิชัย วาสนาสง. (2523 ). “บทบาทของกลุมผลประโยชนตอประชาธิปไตย.” ใน สรุปการอภิปราย

เรื่องผลกระทบจากบทบาททางสื่อมวลชนที่มีตอการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย.

การประชุมทางวิชาการคณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง. กรุงเทพฯ:

บพิธการพิมพ.

เพ็ญแข แสงแกว. (2541). การวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาคณิตศาสตร,

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2545). สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

. รายงานการวิจัย เมืองไทย : ศึกษากรณีภาคเหนือ. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มั่น พัธโนทัย. (2535). “ชนชั้นกลางในกรุงเทพมหานคร : อํานาจทางการเมืองไทย.” มติชน

(27 มิถุนายน 2535) : 8.

รสลิน ศิริยะพันธุ และคณะ. (2551). พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับพัฒนาการ

ทางการระบบใหมของประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ระวีวรรณ ประกอบผล. (2529). “พฤติกรรมการสื่อสารทางการเมือง.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา

พฤติกรรมศาสตรการสื่อสาร (หนวยที่ 9). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัย

ธรรมมาธิราช.

รังสรรค ธนะพรพันธ. (2544). คูมือการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 218: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

205

ราชบัณฑิตยสถาน. (2549). พจนานุกรมศัพทสังคมวิทยาอังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.

พิมพครั้งที่ 3. ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: Imprint.

ฤกษ ศุภศิริ. (2553). ประวัติยอการเมืองไทยในรอบทศวรรษ. กรุงเทพฯ: โพสตบุค.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2527). ทฤษฎีพัฒนาการเมือง. กรุงเทพฯ: ศูนยวิจัยคณะรัฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

. (2534). “การพัฒนาประชาธิปไตยในยุคปจจุบัน.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาไทย

กับการพัฒนาประเทศใหทันสมัย, หนา 216. นนทบุรี: สํานักพิมพ มสธ.,

. (2535). การเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

. (2542). “ระบอบการปกครองระบบประชาธิปไตย : วิสัยทัศนในสองทศวรรษหนา.”

ใน รวมบทความวิชาการ 50 ป คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, หนา

414-417. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

วรวิทย เจริญเลิศ. (2536). “ชนชั้นกลางกับเหตุการณพฤษภาคม : ฝายประชาธิปไตยหรือรัฐ

ปฏิบัติการ 7.” ใน ชนชั้นกลางบนกระแสประชาธิปไตยไทย, หนา 131. ผาสุก

พงษไพจิตร และ สังศิต พิริยะรังสรรค (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: 179 การพิมพ.

วรวิทย มีมาก. (2546). “ แนววิเคราะหการเมืองหลังพฤติกรรมศาสตร.” ใน ประมวลสาระสําคัญ

ชุด วิชาการวิเคราะหการเมืองและระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร. บัณฑิตศึกษา

สาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: สํานักพิมพ มสธ.,

วัชรา ไชยสาร. (2545). การเมืองภาคประชาชน พัฒนาการการมีสวนรวมทางการเมือง

ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมและพหุการเมือง. กรุงเทพฯ: สํานักเมฆขาว.

. (2545). การเมืองภาคประชาชน. กรุงเทพฯ: ห.ก.จ. วี.เจ. พริ้นติ้ง.

วาสนา นานวม. (2552). ลับ ลวง พลาง มหากาพยมนตดํา เหลือง –แดง. กรุงเทพฯ: โพสตบุค.

ศุภวุฒิ สายเชื้อ. (2552). “ดุลยภาพใหมทางการเมืองในป 2544-2555.” ใน ประชาธิปไตยใน

ระยะเปลี่ยนผาน, หนา 61. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ open book.

สถิต นิยมญาติ. (2524). สังคมวิทยาการเมือง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด.

สมาคมนักขาวและวิทยุโทรทัศน. (2546). การใชสื่อในการเมืองยุคใหม. รายงานประจําป

สมาคมนักขาวและวิทยุโทรทัศน.

สมบัติ ธํารงธัญวงศ. (2545). การเมือง: แนวความคิดและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ

เสมาธรรม.

. (2549). การเมืองการปกครองไทย ยุคเผด็จการ-ยุคปฏิรูป. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ

เสมาธรรม.

Page 219: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

206

. (2549). การเมือง แนวคิดและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเสมาธรรม.

. (2552).การเมืองการปกครองไทย: ยุคเผด็จการ-ยุคปฏิรูป . กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ

เสมาธรรม.

สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2551) สังคมไทย : ลักษณะการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา. ขอนแกน :

ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยขอนแกน

สวนิต ยมาภัย. (2526). การสื่อสารของมนุษย. กรุงเทพฯ: 68 การพิมพ.

สังศิต พิริยะรังสรรค. (2536). ”ลูกจางคนเมืองกับเหตุการณพฤษภาทมิฬ.” ใน รังศิต พิริยะรังสรรค

และ ผาสุก พงษไพจิตร (บรรณาธิการ). ชนชั้นกลางในกระแสประชาธิปไตยไทย.

กรุงเทพฯ: สํานักพิมพการพิมพ.

สังศิต พิริยะรังสรรค และ ผาสุก พงษไพจิตร. (2536). ชนชั้นกลางบนกระแสประชาธิปไตยไทย

สื่อสารการเมือง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพการพิมพ.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. รายงานสภาวะการศึกษาไทย

ป 2551-2552 บทบาทการศึกษากับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม: 4

สุจิต บุญบงการ. (2537). การพัฒนาทางการเมืองของไทย : ปฏิสัมพันธระหวางทหารสถาบันทาง

การเมือง และการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุชาติ ประสิทธิรัฐสินธุ. (2532). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ: สถาบัน

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สุภางค จันทวานิช. (2534). รายงานผลการวิจัยการจัดชวงชั้นทางสังคม : เกียรติภูมิของอาชีพ

ตางๆ ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุรชัย ศิริไกร. (2548). รายงานการวิจัยการพัฒนาการเมืองเปรียบเทียบระหวางจีนกับไทย.

กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุริชัย หวันแกว. (2540). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

สุริยะใส กตะศิลา. (2550). สุริยะใส กตะศิลา. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

เสกสรร ประเสริฐกุล. (2548). การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ:

อมรินทรพริ้นติ้ง.

เสนห จามริก. (2535). รัฐธรรมนูญและสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และ 60 ป ประชาธิปไตยไทย.

พิมพครั้งที่ 2 (ฉบับแกไขและเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง.

Page 220: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

207

เสริน ปุณณะหิตานนท และ แนงนอย นะมาตร. (2520). การวิจัยเกี่ยวกับทัศนคติและความรู

ความเขาใจทางการเมืองและพฤติกรรมในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ:

สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เอนก เหลาธรรมทัศน . (2536). ม็อบมือถือ ชนชั้นกลางและนักธุรกิจกับการพัฒนา

ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: มติชน.

. (2538). สองนัคราประชาธิปไตย แนวทางการปฏิรูปการเมืองเศรษฐกิจเพื่อ

ประชาธิปไตย กรุงเทพฯ: มติชน.

. (2537). ฤาจะเปนยักษที่เพิ่งตื่น : ชนชั้นกลางกับการเมืองไทย,” ใน ม็อบมือถือ :

ชนชั้นกลางและนักธุรกิจกับพัฒนาการประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: พิฆเนศ พริ้นติ้ง

เซ็นเตอร.

. (2543). การเมืองของพลเมือง : สูสหัสวรรษใหม. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ

คบไฟ.

บทความ

กตัญู ประยุกตศิลป. (2549). “ยามนี้ทุกคนตองเลือกขาง มันปนเรื่องความดีกับความไมดี.”

เสรี วงษมณฑา. เนชั่นสุดสัปดาห, 14 (24 มีนาคม 2549).

เกษม ศิริสัมพันธ. (2539). “ชนชั้นกลาง (1).” ผูจัดการรายวัน (14 กุมภาพันธ 2539) : 8

ฉันทนา บรรพศิริโชติ. (2541). “ความขัดแยงในสังคมไทย: ชองวางของการรับรูและทําความ

เขาใจ”.บทความนําเสนอในการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง ความขัดแยงในสังคมไทย

ยุควิกฤตเศรษฐกิจฯ, ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ, (7 พฤศจิกายน 2541).

ชวลิต ธูปตากอง. (2518). “ความลมเหลวของการสรางชนชั้นกลางในประเทศไทย.” ทองถิ่น 15, 5

(พฤษภาคม 2518), หนา 46-48.

ธงชัย วงศชัยสุวรรณ และ เทียนชัย วงศชัยสุวรรณ. (2540). “ ประชาธิปไตย:ประชาธิปไตย

เสนทางเดินจากประชาธิปไตยโดยตรงสูประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม.” รัฐศาสตร,

24 (กุมภาพันธ 2540).

ธีรภัทร เสรีรังสรรค. (2541). รูปแบบรัฐบาลในระบบรัฐสภาไทยระหวาง พ.ศ.2518-2539.

กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

นงนุช สิงหเดชะ. (2549). ก็เพราะ ‘ชาต’ิ สําคัญจึงตองลุกขึ้นโวยวาย. มติชนรายวัน (22 มีนาคม

2549).

Page 221: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

208

นิธิ เอี่ยวศรีวงศ. (2525). “วัฒนธรรมกระฎมพีกับวรรณกรรมรัตนโกสินทร.” วารสารธรรมศาสตร, 11(1).

. (2551). “การปรับระบบการเมือง (4 ตอน).” มติชนรายวัน, (25 สิงหาคม และ

1,8 และ 15 กันยายน 2551).

ประวิทย โรจนพฤกษ. (2550). Nation (5 กันยายน 2551).

พรรคไทยรักไทย. “สารไทยรักไทย ฉบับที่ 4 : ประชาธิปไตยหายไปไหน.” Bangkok Post(20 March 2005).

เพี้ยน นักเรียนนอก. “เรื่องโมฯ นักเรียนนอก: ทําไมความไววางใจจึงเปนเรื่องสําคัญ.”

เนชั่นสุดสัปดาห, 4 (24 กุมภาพันธ).

ลิขิต ธีรเวคิน. (2538). “เสียงของประชาชนคือเสียงสวรรค.“ มติชนรายวัน (1 กรกฎาคม 2538).

ศิโรตม คลามไพบูลย. (2546). “บนเสนทางสูเสรีประชาธิปไตย : คําถามตอทฤฤษฎีการเมืองรวม

สมัย.” รัฐศาสตรสาร, 24, ฉบับพิเศษ (พฤศจิกายน 2546), หนา 113-115.

สิริวิชญ. “รายงานพิเศษ: ริ้วรอย เผด็จการในประชาธิปไตยไทย.” เนชั่นสุดสัปดาห, 4 (ฉบับที่

718).

เสกสรร ประเสริฐกุล. (2546). “ประเทศไทยบนเสนทางประชาธิปไตย : บทสํารวจปญหาและ

ทางออก.” สยามรัฐสัปดาหวิจารณ, 50 (24-30 ตุลาคม 2546).

หนังสือพิมพ /วารสาร

โกวิทย พวงงาม. “คอลัมนประชาคมทองถิ่น หนังสือพิมพ.” สยามรัฐ. วันที่ 12 กรกฎาคม 2554.

“รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.” ผูจัดการรายวัน.

วันที่ 21 สิงหาคม 2550.

วิสิษฐ เดชกุญชร. “ถึงเวลาที่คนไทยตองสู.” มติชนรายวัน. วันที่ 18 พฤษภาคม 2553

วิทยานิพนธ

จินตนา ปญญาอาวุธ. (2541). พฤติกรรมการสื่อสารและอุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ที่มีตอความรู ทัศนคติ และการมีสวนรวมในการปฏิรูปการเมือง พ.ศ. 2540 ของผูมีสิทธิเลือกตั้งกลุมอายุ 18-20 ป ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน,

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 222: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

209

ทวีศักดิ์ หงษทอง. (2553). การรับรูขาวสารทางการเมืองของชาวภูมิซร็อลจากรัฐบาล ศึกษากรณี

ของผูมีสิทธิเลือกตั้งกลุมอายุ 18-20 ป ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ

ปริญญามหาบัณฑิต, คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน,

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

นฤมล หลอศรีแสงทอง. (2544). พฤติกรรมการสื่อสารกับความรูความเขาใจเรื่องการเลือกตั้ง

สํานักงานธนาคารในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต,

คณะรัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

นารีวรรณ กลิ่นรัตน. (2550). การมีสวนรวมทางการเมืองของชนชั้นกลางไทยในกระแสโลกาภิ

วัตน. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต, คณะรัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

บุณฑริกา เจี่ยงเพ็ชร. (2543). พฤติกรรมการสื่อสารทางการเมืองผานสื่อมวลชน สื่อบุคคล สื่อ

อินเตอรเน็ตและทัศนคติทางการเมืองแบบประชาธิปไตยที่มีตอความรู ทัศนคติ และ

กิจกรรมการมีสวนรวมทางการเมืองที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งระบบใหมของกลุมผูใช

อินเตอรเน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธวารสารศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาสื่อสารมวลชน, คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน,

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

บุญเลิศ ธีระตระกูล. (2538). การมีสวนรวมของกรรมกรไทย ศึกษากรณีกรรมการทาเรือแหง

ประเทศไทย. ปริญญานิพนธ คณะรัฐศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย (อัดสําเนา)

วีรวัฒน เปรมประชา. (2528). การสื่อสารทางการเมืองกับการมีสวนรวมทางการเมือง: ศึกษา

เฉพาะกรณีพนักงานการไฟฟานครหลวง. สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต

คณะรัฐศาสตร สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ศิริพร ยอดกมลศาสตร. (2538). แนวคิดวาดวยชนชั้นกลางในสังคมไทย. วิทยานิพนธปริญญา

มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรการเมือง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

สุนีย ตรีธนากร. (2539). โลกทัศนประชาธิปไตยของชนชั้นกลางไทย : ศึกษาเปรียบเทียบกลุม

ขาราชการประจํากับกลุมพนักงานองคกรเอกชน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต,

สาขาวิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เสนีย กลั่นกลา. (2539). ความมีสมรรถนะทางการเมืองของชนชั้นกลาง : ศึกษาเฉพาะกรณี

พนักงานธนาคารในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต

สาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 223: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

210

สัมภาษณ

ธีระชัย แสงแกว (15 มกราคม 2554)

เมธา จันทรแจมจรัส (25 มกราคม 2554)

ปยะ ประยงค (12 ธันวาคม 2553)

Books

Abercrombie, Nicholas and Urry, John. (1983). Capital, labour, and the middle classes.

London : G. Allen & Unwin.

Almond, Gabriel A. (1960). “Introduction : A Functional Approach to comparative

Politics.” in Gabriel ; A. Almond and James S. Coleman (ed.). The Politics

of the Developing Area, pp.45-52. Princeton: Princeton University Press.

Berlo, David K. (1960). The Process of communication. New York: Holt, Rinehart and

Winston, Inc.

Cheng, T.J. Tunjen and Tuiman, S. Hygard. “in Transition.” Journal of Democracy, Vol. 1

No. 2 (Spring 1990) : pp. 63-74

Cunningham, Frank. (2002). Theories of Democracy: A Critical Introduction.

Contemporary Political Philosophy New York: Routledge.

Deustch, Karl W. (1963). The Nerves of Government. New York: Free Press.

Friedman, Edward ed. (1994). The Politics of Democratization: Generalizing East Asian

Experiences. Boulder, CO: Westview Press.

Higley, John and Burton, Michael G. (1989). The Elite Variable in Democratic Transitions

and Breakdowns. American Sociological Review .

Huntington, Samuel P. (1993). The Clash of Civilizations?, in "Foreign Affairs", vol. 72,

no. 3, Summer.

. (1984). The Strategic Imperative: New Policies for American Security.

Ballinger.

Katz, Elihu, and Lazarsfeld, Paul F. (1955). Personal Influence: The Part Played by

People in the Flow of Mass Communication. New York: Free Press.

Page 224: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

211

Lipset, S.M. “Some Social Requister of Democracy : Ecenomic Developmental and

Political Segitimacy ,“ Amer : coon Politics Scienco Review Vol. 53

(Mor. 1959).

McClosky, Herbert. (1968). “Political Participation.” In International Encyclopedia of the

Social Science, Vol. 12:252. New York: The Macmillan Company, The Free

Press.

Phongpaichit, Pasuk and Baker, Chris. (2008). “Thaksins Populism.” Journal of

Contomporary Asia, 38 : 1 (February 2008), pp. 62

Pool, Ithiel de Sola. (1968). “communication, Political.” in David Shills (ed.). International

Encyclopedia of Social Science Vol.3, pp. 90-92. New York : The Macmillan

Company and The Free Press.

Przeworski, Adam. (1991). Democracy and the Market; Political and Economic Reforms

in Eastern Europe and Latin America. New York: Cambridge University.

Roberts, W. Rhy. (1964). Rhetorica, “The Works of Aristotle”, W.D.Rose (ed.) Vol. XI

: 6. London: Oxford Iniversity Press.

Roger, Everett M. and Shoemaker, Floyd F. (1971).Communication of Innovations.

New York: The Free Press.

Rush, Michael and Althoff, Phillip. (1971). An Introduction to Political Sociology.

London: Thomas Nelson and Sons Limited.

Schremm, Wilbur. (1978). “Nature of Communication Between Humans.” In The Process

and Effects of Mass Communication (eds.). Urbana, ILL.: University of

Illinois Press.

Laclau, Ernesto and Mouffe, Chantal (1985). Hegemony and Socialist Strategy Towards

a Radical Democratic Politics. London : Verso.

Page 225: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

ภาคผนวก

Page 226: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

213

ภาคผนวก ก.

แบบสอบถามประกอบการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยในเขตกรุงเทพและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

คําชี้แจง

เนื่องดวยขาพเจา นายจําลอง พรมสวัสดิ์ เลขทะเบียนนักศึกษา 4911116 กําลัง

ศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก ในการนี้ขาพเจา

กําลังจัดทําดุษฎีนิพนธ เรื่อง พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553เพื่อเปนการศึกษา

บริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในชวง

พุทธศักราช 2551-2553 ที่ผานมา ตลอดจนศึกษาผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่

มีผลตอการเมืองไทยในยุคปจจุบัน และสํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของ

ชนชั้นกลางที่มีตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของ

การศึกษา ขาพเจาจึงขอความรวมมือและความอนุเคราะหจากทาน โดยขอทําการสัมภาษณ /

สอบถามขอมูลพื้นฐานสวนตัวของทาน พรอมกับความคิดเห็นและทัศนะของทานที่เกี่ยวของกับ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้

อนึ่งขอมูลที่ไดรับจากทานจะนําไปประมวลผลในภาพรวมเพื่อประโยชนทางวิชาการ

ขาพเจาขอรับรองวา ดวยจรรยาบรรณของการวิจัย ผลการศึกษาวิจัยในครั้งนี้จะไมกอใหเกิด

ผลเสียตอทานแตอยางใด

นายจําลอง พรมสวัสดิ์

นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก

ผูวิจัย

Page 227: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

214

ตอนที่ 1 ขอมูลสวนตัวและบริบทแวดลอมตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง

1. เพศ

( ) ชาย ( ) หญิง

2. อายุ

( ) ต่ํากวา 20 ป ( ) อายุ 20-25 ป ( ) อายุ 26 – 30 ป

( ) อายุ 31-35 ป ( ) อายุ 36-40 ป ( ) อายุ 41 -45 ป

( ) อายุ 46-50 ป ( ) อายุ 51-60 ป ( ) อายุ 61 ปเปนตนไป

3. ระดับการศึกษา

( ) ต่ํากวาปริญญาตรี ( ) ปริญญาตรี

( ) ปริญญาโท ( ) ปริญญาเอก

4. อาชีพ

( ) รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ

( ) ลูกจางบริษัทเอกชน

( ) เจาของกิจการ

( ) อื่นๆ ระบุ..........................................

5. รายไดตอเดือน

( ) ต่ํากวา 10,000 บาท

( ) 10,000 – 20,000 บาท

( ) 20,001 – 30,000 บาท

( ) 30,001 – 40,000 บาท

( ) 40,001 – 50,000 บาท

( ) มากกวา 50,000 บาท

6. สถานภาพทางครอบครัว

( ) โสด ( ) สมรส

( ) หยาราง / หมาย ( ) อยูดวยกันแตไมไดจดทะเบียนสมรส

7. ทานใหความสนใจเกี่ยวกับการเมืองมากนอยเพียงใด

( ) มากที่สุด ( ) มาก

( ) ปานกลาง ( ) นอย ( ) นอยที่สุด

Page 228: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

215

คําชี้แจง กรุณาทําเครื่องหมาย หรือเติมคําหรือขอความลงในชองวางที่กําหนดตอนที่ 2 พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง

2.1 สํารวจความคิดเห็นของชนชั้นกลางเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในปจจุบัน

รายละเอียดขอความมาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

1. นักการเมืองและขาราชการทุกวันนี้ เชื่อถืออะไร

ไมได ไมซื่อสัตย ฉอราษฎรบังหลวง

2. การเมืองการปกครองที่เปนอยูในปจจุบันเปน

เรื่องของผูมีอํานาจไมใชเปนเรื่องของประชาชน

3. บุคคลในคณะรัฐบาลและนักการเมืองเปนผูที่

ทานมีความรูสึกวานาเชื่อถือไมสามารถไม

ไววางใจไดมากกวาเดิม

4. รัฐธรรมนูญเปนกลไกสําคัญของการเมือง

การปกครอง โดยเฉพาะการสงเสริมการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตย

5. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2550 ได

เปดโอกาสใหหากทานและประชาชนโดยทั่วไป

มีสิทธิมีเสียง หรือมีสวนรวมทางการเมือง

กวางขวางเพิ่มขึ้นมากกวาเดิม

6. ที่กลาวกันวาประชาธิปไตย คือ การปกครอง

ของปะชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชนทาน

คิดวานาจะไมเปนความจริง

7. การที่ทานเขาไปมีสวนรวมกิจกรรมทางการ

เมืองรวมกับคนอื่นเปนสิ่งที่มีประโยชน และ

นาจะเปนผลดีตอการเมืองในภาพรวม

Page 229: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

216

รายละเอียดขอความมาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

8. การเมืองไทยปจจุบันไมมีอะไรดีขึ้นกวาเดิม

พรรคการเมืองไทยนักการเมืองไมมีความรู

ความสามารถที่สอดคลองกับบริบททาง

การเมืองเศรษฐกิจและสังคมในปจจุบันที่

เพียงพอแลวยังชอบแสดงหาผลประโยชนสวน

ตนและยังตามขัดแยงกันระหวางกาลเวลา

9. การเมืองการปกครองปจจุบันเปนเรื่องที่สับสน

วุนวายจนประชาชนทั่วไปไมสามารถเขาใจวา

รัฐบาล และนักการเมืองทํางานตามบทบาท

หนาที่ของตนและทําอะไรกันอยู

10. ปจจุบันการเมืองไทยมีพัฒนาการทาง

การเมืองที่ดีขึ้นกวาเดิมชนชั้นกลางมีความ

เขาใจสนใจติดตามขาวสารการเมืองเพิ่มขึ้น

11. การเมืองการปกครองในปจจุบันเปดโอกาสให

ทานและประชาชนสามารถถอดถอน เขาชื่อ

เสนอกฎหมายทําประชาพิจารณครบถวน

ตรวจสอบการทํางานพรรคการเมือง

นักการเมืองและรัฐบาลไดมากขึ้นกวาเดิม

12. นักการเมืองไมวาจะเปนรัฐบาลหรือฝายคานมี

ความนาเชื่อถือนาศรัทธาในภาพรวมมี

คุณภาพและความสามารถมากกวาเดิม

13. ทานคิดวาตัวทานและประชาชนควรมีสวนรวม

ในการกําหนดทิศทางของการเมืองการ

ปกครองมติในการกําหนดนโยบายการวาง

แผนการตัดสินใจสงผลกระทบตอตัวทานมาก

เพิ่มขึ้น

Page 230: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

217

รายละเอียดขอความมาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

14. บางครั้งการเมืองการปกครองเปนเรื่องที่สนับ

ซับซอนยุงยากเกินกวาตัวทานจะเขาใจ

15. รัฐบาลและเจาหนาที่ของรัฐมักจะไมสนใจกับ

ปญหาของหากทานรวมทั้งปญหาปญหาของ

ประชาชนไมวาจะเปนปญหาเศรษฐกิจสังคม

และการเมืองเทาที่ควร

16. การที่ทานมีสวนรวมทางการเมืองรูปแบบ

ตางๆ อาทิการสนใจติดตามขาวสารทางการ

เมืองการไปใชลงคะแนนเสียงเลือกตั้งถือเปน

วิธีที่สําคัญที่สุดในการดําเนินการบริหาร

ประเทศ

17. การกําหนดใหการเลือกตั้งเปนหนาที่ผูไมไปใช

สิทธิเลือกตั้งอาจจะตองเสียประโยชนอื่นๆ

บางประการเปนสิ่งที่ถูกตอง

18. นักการเมืองและรัฐบาลควรจะใหความสนใจ

ในสิ่งที่ตัวทานและประชาชนเห็นวาเปน

ปญหาหรือเปนความตองการของตัวทานและ

ประชาชนมากกวาความตองการของ

นักการเมือง

19. ผลของการที่ทานมีสวนรวมการเมืองโดยตรง

อาทิ การลงประชามติการทําประชาพิจารณ

ในเรืองตางๆ มีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบาย

รวมถึงตัดสินใจในเรื่องสําคัญของรัฐบาลได

เปนอยางมาก20. การทําใหวุฒิสมาชิกมาจากการสรรหาและมา

จากการเลือกตั้งของตัวทานและ ประชาชนจะ

ชวยทําใหการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยมีประสิทธิภาพมากขึ้น

Page 231: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

218

รายละเอียดขอความมาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

21. การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองรวมทั้งเศรษฐกิจ

และสังคมเปนสิ่งที่เปนไปได โดยที่ตัวทานและ

ประชาชนแตละคนสามารถเขาไปมีบทบาทใน

การนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ได

22. ทานคิดวา สถาบัน กระบวนการ และกลไก

ทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

ตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2550 เปนสิ่งที่สําคัญที่

ชวยทําใหรัฐบาลฝายคานทําหนาที่ที่ถูกตอง

ตามกฎหมายเพิ่มขึ้น

ตอนที่ 2 พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในชวง 2551-2553 ที่มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย

รายละเอียดขอความมาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

1. การใหความสนใจติดตามขาวสารขอมูลทางการเมือง1.1 การที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

จากสื่อมวลชนและ Internet ทําใหทานเขาใจ

การเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยใน

ปจจุบันมากนอยเพียงใด (2551-2553)

1.2 การที่ทานสนใจติดตามการและระดับทองถิ่น

รณรงคหาเสียงทางการเมืองของนักการเมือง

ระดับชาติและระดับทองถิ่น ทําใหทานได

เรียนรูและเขาใจกระบวนการเลือกตั้งใน

ระบอบประชาธิปไตย อาทิ วิถีชีวิตและ

หลักการแบบประชาธิปไตย เปนตน มากนอย

เพียงใด

Page 232: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

219

รายละเอียดขอความมาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

1.3 ทานคิดวาการที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง อาทิ การบริหารงานของรัฐบาล การทําหนาที่ของฝายคาน ทําใหทานเขาใจและตระหนักบทบาทของฝายบริหารหรือฝายรัฐบาลและฝายคานมากนอยเพียงใด

1.4 การที่ทานสนใจติดตามขาวสารของการเมืองจากสื่อประเภทตางๆ ของพฤติกรรมนักการเมือง อาทิ มีการทุจริต คอรัปชั่น ตลอดทุกรัฐบาลทําใหทานเกิดความเบื่อหนายในพฤติกรรมนักการเมืองมากนอยเพียงใด

1.5 การที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง อาทิ ในการพูดคุยกับผูที่สนใจทางการเมืองดวยกันตามพื้นที่สาธารณะ อาทิ รานกาแฟ สนามเด็กเลน สวนสาธารณะ ทําใหมีความรอบรูเกี่ยวและรูและรูลึกเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยเพิ่มขึ้นมากนอยเพียงใด

1.6 การที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมืองอยูตลอดเวลาผานสื่อตางๆ ทําใหทานเขาใจวาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยบรรดานักการเมืองสวนใหญเวลาตอสูกันทางการเมืองมักตอสูภายใตกติกา อาทิกฎหมาย โดยไมใชความรุนแรงทางการเมือง

1.7 การที่ทานมีโอกาสแลกเปลี่ยนพูดคุยถึงเรื่องการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย หนาที่เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของพรรคการเมืองกลุมผลประโยชนทําใหทานไดเรียนรู เขาใจถึงหลักการประชาธิปไตยที่สําคัญ อาทิ หลักเสียงขางมากการเคารพเสียงขางนอย มากนอยเพียงใด

Page 233: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

220

รายละเอียดขอความมาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

1.8 การที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

อยูเสมอ ทําใหทานอยากเห็นหรือปรารถนาที่

จะเห็นการเมืองในระบอบประชาธิปไตยมี

พัฒนาการไปในทางที่ดีขึ้นกวาที่ผานมาและ

เห็นวาการเมืองในระบอบนี้ชวยแกปญหา

ใหกับตัวทานและประชาชนไดมากกวาระบอบ

เผด็จการ

1.9 การที่ทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

ผานสื่อตางๆ อยางตอเนื่องทําใหทานเขาใจถึง

ความจริงทางการเมือง เชน รัฐธรรมนูญ

รัฐบาล รัฐสภา ตลอดจนสิทธิเสรีภาพของตัว

ทานในฐานะประชาชนหรือพลเมืองมากนอย

เพียงใด

1.10 การทานสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

แมจะไมบอยครั้งนักแตก็ชวยทําใหทานเขาใจ

วาผูที่สิทธิอํานาจทางการเมืองไดแก รัฐบาล

รัฐสภา ขาราชการ เปนตน

2. การไปใชสิทธิเลือกตั้ง2.1 การที่ทานไปใชสิทธิเลือกตั้งทุกครั้งในชวง

2551-2553 ทําใหทานตระหนักและเห็น

ความสําคัญของกระบวนการทางการเมืองใน

ระบอบประชาธิปไตยมากนอยเพียงใด

2.2 ทานคิดวาการเลือกตั้งเปนที่มาของความชอบ

ธรรมทางการเมืองของพรรคการเมืองที่มีเสียง

มากที่มีสิทธิจะจัดตั้งรัฐบาลมากกวาพรรค

การเมืองที่มีเสียงนอยกวา มากนอยเพียงใด

Page 234: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

221

รายละเอียดขอความมาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

2.3 ทานคิดวานโยบายที่แตละพรรคการเมือง

นํามาใชในการหาเสียงมีความสําคัญตอการที่

ทานไปใชสิทธิ์ในการเลือกตั้งมากนอยเพียงใด

2.4 ทานคิดวาการซื้อสิทธิ์ขายเสียงเปนอุปสรรค

ตอพัฒนาการทางการเมืองไทยทั้งในระยะสั้น

และระยะยาวมากนอยเพียงใด

2.5 ทานคิดวา กกต. ควรจัดการใหการซื้อสิทธิ์ขาย

เสียงในการเลือกตั้งใหหมดไป เชน สิ่งที่มี

ความจําเปน หรือมีความสําคัญตอการเมือง

ในระบอบประชาธิปไตยของไทยมากนอย

เพียงใด

2.6 การที่ทานไปใชสิทธิในการเลือกตั้งใน

ระดับชาติและระดับทองถิ่น ทานคิดวา

นอกจากเปนเรื่องของสิทธิหนาที่ของพลเมือง

ที่ดีและการมีจิตใจ หรือจิตสํานึกของความ

เปนประชาธิปไตยแลวยังแสดงถึงการที่ทานมี

ความเชื่อมั่นไววางใจตอการเมืองระบอบนี้

มากนอยเพียงใด

2.7 เวลาทานไปใชสิทธิในการเลือกตั้งสวนใหญ

ทานจะเลือกพรรคการเมืองทานจะพิจารณา

จากนโยบายอุดมการณของพรรคที่ยึดหลัก

ของประโยชนของคนสวนใหญเปนหลัก

มากกวาอยางอื่น2.8 การที่ทานไปออกเสียงเลือกตั้งไมวาจะบอยๆ

หรือทุกครั้ง เปนเพราะตัวทานเองมีความ

ตื่นตัวตลอดจนมีความกระตือรือรนและ

ปรารถนาที่เขามามีบทบาทในการเมือง

ระบอบประชาธิปไตยของไทย

Page 235: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

222

รายละเอียดขอความมาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

2.9 เหตุผลของการที่ทานไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง

นอกจากเหตุผลที่กลาวมากอนหนานี้แลว ยัง

เปนเพราะทานสนใจปญหาการเมืองที่เกิดขึ้น

ตลอดจนมีความเลื่อมใสในคุณธรรมจริยธรรม

ของนักการเมืองที่ทานชื่นชอบ

2.10 หลายคนไปเลือกตั้งเพราะเห็นวาเปนหนาที่

ตามกฎหมายแตสําหรับตัวทาน การที่ทานไป

ใชสิทธิเลือกตั้งเพราะทานเชื่อ “ใน

ประสิทธิภาพทางการเมืองของตัวทานวาทาน

สามารถเปลี่ยนแปลงการเมืองได

2.11 โดยทั่วไปคนที่ความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพ

ทางการเมืองที่ตางกัน นาจะสืบเนื่องมาจาก

การที่บุคคลเหลานั้นมีฐานะทางเศรษฐกิจ

สังคมที่แตกตางกัน

2.12 ทานคิดวาการที่ทานไปใชสิทธิเลือกตั้งไมวา

ระดับใดเปนเพราะทานเชื่อวายิ่งมีคนไปใช

สิทธิเลือกตั้งยิ่งมากก็นาจะทําให

ประชาธิปไตยของไทยยิ่งมีความเปน

ประชาธิปไตย เพิ่มขึ้น

2.13 การที่ทานไปใชสิทธิเลือกตั้งทานคิดวาทาน

เปนผูที่สามารถแสดงบทบาทและอิทธิพล

ในทางการเมืองที่สามารถไปเปลี่ยนแปลง

รัฐบาลที่ลมเหลวในการบริหารประเทศได

Page 236: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

223

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

3. การเปนสมาชิกกลุม / สมาคม / องคกรทางการเมือง3.1 ทานคิดวาในระบอบการปกครองแบบ

ประชาธิปไตย การไปรวมกลุมหรือเปนแนว

รวมกับองคกรทางการเมืองเพื่อคงไวซึ่งการ

แสดงออกหรือเรียกรองผลประโยชนของตน

ตอรัฐบาลที่บริหารประเทศขณะนั้นมีความจํา

เปนมากนอยเพียงใด

3.2 การที่ทานการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับ

องคกรทางการเมืองใหผลประโยชนตอตัวทาน

ตอครอบครัวและสังคมที่ทานอาศัยอยูมาก

นอยเพียงใด

3.3 ทานคิดวาการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับ

องคกรทางการเมืองที่ทานเปนสมาชิกอยูถามี

จํานวนมากแสดงออกในรูปของการเรียกรอง

การเคลื่อนไหว การตอรอง การ

ประนีประนอมการเจรจาตอรอง ตลอดจนการ

คิดคนทางการเมืองเพื่อใหไดมาซึ่ง

ผลประโยชนที่ตองการไดมากนอยเพียงใด

3.4 ทานคิดวาการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับ

องคกรทางการเมืองเปนสิทธิเสรีภาพที่ทานพึง

ทําไดตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันมากนอย

เพียงใด

3.5 การที่ทานไมอยากการไปรวมกลุมหรือเปน

แนวรวมกับองคกรทางการเมืองเมืองใดๆ เลย

เพราะทานขาดความศรัทธาในตัวนักการเมือง

ทานคิดวา นักการเมืองสวนใหญไมนา

ไววางใจ

Page 237: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

224

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

3.6 การที่ทานเขาการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองตางๆ เชน พราะทานคิดวาเปนสิทธิ เสรีภาพที่

3.7 ประเด็นที่ทําใหทานเขารวมการชุมนุมประทวง หรือเดินขนานกับกลุมสมาคม / องคกรทางการเมืองเพราะทานวาประเด็นของการเคลื่อนไหวดังกลาว เปนเรื่องผลประโยชนของประชาชนโดยทั่วไป

3.8 การที่ทานการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองใดก็ตามทานคิดวาเปนเพราะการมีความสํานึกในผลประโยชนที่คนเปนสมาชิกจะมีรวมกัน

3.9 เหตุผลสําคัญของการที่ทานการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองเปนเพราะทานจะไดพลังหรือมีอํานาจตอรองทางการเมืองกับรัฐบาล หรือฝายอื่นๆ ไดตามสิทธิการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

3.10 สิ่งสําคัญของการไปรวมกลุมหรือเปนแนวรวมกับองคกรทางการเมืองคือ กลุมนอกจะตองมีพลังอํานาจแลวยังควรมีทรัพยากรทางการเมืองหรือทรัพยากรอํานาจจึงจําใหการเรียกรองของกลุมบรรลุผล

3.11 ทานคิดวากลุมผลประโยชนทางการเมืองกับพรรคการเมืองมีเปาหมายเหมือนกันหรือแตกตางกัน

3.12 ทานคิดวาสหภาพแรงงานสมาคมนักธุรกิจเปนเปนกลุมผลประโยชนที่ตั้งขึ้นมาเพื่อเปนปากเปนเสียงของกลุมของคนมากนอยเพียงใด

Page 238: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

225

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

3.13 ทานคิดวาการมีกลุมผลประโยชนที่จัดตั้ง

ดวยตนเองเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก ชวยถวงดุล

ไมใหรัฐใชอํานาจเกินไปไดมากนอยเพียงใด

3.14 ทานคิดวาการเมืองไทยมีกลุมผลประโยชนที่

เกิดจากจัดตั้งโดยรัฐมากกวากลุม

ผลประโยชนที่จัดตั้งดวยตนเองมากนอย

เพียงใด

4. การสนับสนุนพรรคการเมือง4.1 ทานคิดวาในระบอบการปกครองแบบ

ประชาธิปไตยของการสนับสนุนพรรค

การเมืองในรูปแบบตางๆ ที่ไมผิดกฎหมาย

เปนเรื่องที่มีความสําคัญมากนอยเพียงใด

4.2 ทานคิดวาพรรคการเมืองที่ทานชื่นชอบ ทาน

เปนสมาชิกเมื่อมีโอกาเปนรัฐบาลบริหาร

ประเทศ ทานคิดวาพรรคการเมืองดังกลาว

สามารถสรางศรัทธาความเชื่อมั่นความ

ไววางใจใหเกิดกับตัวทานและสมาชิกมาก

นอยเพียงใด

4.3 พรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตยควรทํา

หนาที่ใหเปนที่พึงพอใจของประชาชนและควร

นํานโยบายของพรรคที่ใชในการหาเสียงมา

บริหารประเทศอยางจริงจังมากนอยเพียงใด

4.4 ในปจจุบันทานคิดวาพรรคการเมืองที่ทาน

สนับสนุนหรือเปนสมาชิกทําหนาที่เปนตัวแทน

หรือเปนสะพานที่เชื่อมโยงระหวางตัวทานกับ

รัฐบาลไดมากนอยเพียงใด

Page 239: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

226

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

4.5 การทานทานบริจาคเงิน วัสดุ สิ่งของใหกับ

พรรคการเมืองที่ทานชื่นชอบเปนเพราะทาน

คิดวาจะไดทําใหพรรคการเมืองที่ทาน

สนับสนุนสามารถนําไปใชในนโยบาย /

โครงการที่เปนประโยชนกับประชาชน

โดยทั่วไปได

4.6 การที่ทานไมเห็นดวยที่จะไปสนับสนุนพรรค

การเมืองในปจจุบัน เพราะพรรคการเมืองสวน

ใหญขาดความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่

อาทิ หนาที่ตามนิติบัญญัติ เชนไมเขารวม

ประชุม เปนตน

4.7 การที่ทานไมอยากเขาไปยุงเกี่ยวตลอดจน

สนับสนุนกับพรรคการเมืองใดพรรคการเมือง

หนึ่ง เปนเพราะพรรคการเมืองไทยในปจจุบัน

ทุจริต คอรัปชั่น นอกเหนือไปจากการมี

พฤติกรรมทางการเมืองที่ไมนาไววางใจ

4.8 การที่ทานและเพื่อนๆ ตางเปนสมาชิกพรรค

การเมืองพรรคใดพรรคหนึ่งเปนเพราะทาน

เชื่อมั่นศรัทธาตอการปกครองรอบอบ

ประชาธิปไตยของไทยที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง

ไปในทางที่ดีขึ้น

4.9 เวลาที่ทานใหการสนับสนุนพรรคการเมืองที่

ทานชื่นชอบทานสนับสนุนเพราะผลงานที่

พรรคการเมืองนั้นมีผลงานที่เปนประโยชนตอ

ประชาชนโดยรวมมากกวาเหตุผลอยางอื่น

Page 240: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

227

รายละเอียดขอความ มาก

ที่สุด

มาก ปาน

กลาง

นอย นอย

ที่สุด

4.10 การแขงขันในทางการเมืองของพรรค

การเมืองอาทิ เชน ในการเลือกตั้งควรเปนการ

แขงขันเพื่อใหประชาชนสนับสนุนพรรคที่ทาน

ชื่นชอบใหไดเสียงมากที่สุดไมวาจะโดยวิธีใดก็

ตาม

4.11 ทานคิดวาการทําหนาที่ของพรรคการ

เมืองไทยในปจจุบันไมวาการทําหนาที่ใน

ฐานะเปนตัวแทนประชาชนหรือการทําหนาที่

ทางนิติบัญญัติในรัฐสภาเปนที่นาพึงพอใจ

มากนอยเพียงใด

4.12 ปจจุบันทานรูสึกเบื่อหนายหรือเอือมระอากับ

การแสดงบทบาทหนาที่ที่ควรจะเปนของพรรค

การเมืองไทยมากนอยเพียงใด

4.13 ทานคิดวาพรรคการเมืองไทยในปจจุบันยัง

เปนความหวังหรือที่พึ่งของประชาชน

โดยทั่วไปไดมากนอยเพียงใด

ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม

..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

ขอขอบพระคุณสําหรับการใหขอมูล

Page 241: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

ภาคผนวก ข.

แบบสัมภาษณประกอบการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ของไทยในเขตกรุงเทพและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553

คําชี้แจง

เนื่องดวยขาพเจา นายจําลอง พรมสวัสดิ์ เลขทะเบียนนักศึกษา 4911116 กําลัง

ศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก ในการนี้ขาพเจา

กําลังจัดทําดุษฎีนิพนธ เรื่อง พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยในเขตกรุงเทพและปริมณฑลชวงพุทธศักราช 2551-2553เพื่อเปนการศึกษา

บริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในชวง

พุทธศักราช 2551-2553 ที่ผานมา ตลอดจนศึกษาผลของพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางที่

มีผลตอการเมืองไทยในยุคปจจุบัน และสํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของ

ชนชั้นกลางที่มีตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของ

การศึกษา ขาพเจาจึงขอความรวมมือและความอนุเคราะหจากทาน โดยขอทําการสัมภาษณ /

สอบถามขอมูลพื้นฐานสวนตัวของทาน พรอมกับความคิดเห็นและทัศนะของทานที่เกี่ยวของกับ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้

อนึ่งขอมูลที่ไดรับจากทานจะนําไปประมวลผลในภาพรวมเพื่อประโยชนทางวิชาการ

ขาพเจาขอรับรองวา ดวยจรรยาบรรณของการวิจัย ผลการศึกษาวิจัยในครั้งนี้จะไมกอใหเกิด

ผลเสียตอทานแตอยางใด

นายจําลอง พรมสวัสดิ์

นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก

ผูวิจัย

Page 242: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

229

ตอนที่ 1 ขอมูลสวนตัวของผูใหสัมภาษณ

1. ชื่อผูใหสัมภาษณ ...........................................................................................

2. ตําแหนง ........................................................................................................

3. ระดับการศึกษา .............................................................................................

4. กลุมผูใหขอมูล

� กลุมนักวิชาการที่มีผลงานที่เกี่ยวของกับชนชั้นกลาง

� กลุมนักรัฐศาสตร นักเศรษฐศาสตรการเมืองและการสื่อสารการเมือง

� กลุมนักการเมือง

� กลุมชนชั้นกลาง

ตอนที่ 2 พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง

1. ทานคิดวาพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางมีพฤติกรรมทางการเมืองในรูปแบบใดบาง

1.1 การใหความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.2 การไปใชสิทธิเลือกตั้ง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.3 การเปนสมาชิกกลุม / สมาคม องคการทางการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.4 การสนับสนุนพรรคการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Page 243: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

230

ตอนที่ 3 บริบทที่มีผลตอพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง

1. ทานคิดวา บริบททางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ในชวง พ.ศ. 2551 – 2553 มีผลตอ

พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลาง อยางไร

1.1 บริบททางเศรษฐกิจ

1.1.1 การใหความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.1.2 การไปใชสิทธิเลือกตั้ง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.1.3 การเปนสมาชิกกลุม / สมาคม องคการทางการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.1.4 การสนับสนุนพรรคการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.2 บริบททางการเมือง

1.2.1 การใหความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.2.2 การไปใชสิทธิเลือกตั้ง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.2.3 การเปนสมาชิกกลุม / สมาคม องคการทางการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.2.4 การสนับสนุนพรรคการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Page 244: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

231

1.3 บริบททางสังคม

1.3.1 การใหความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.3.2 การไปใชสิทธิเลือกตั้ง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.3.3 การเปนสมาชิกกลุม / สมาคม องคการทางการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

1.3.4 การสนับสนุนพรรคการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2. ทานคิดวาพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางอันไดแก การใหความสนใจติดตามขาวสาร

ทางการเมือง , การไปใชสิทธิเลือกตั้ง, การเปนสมาชิกกลุม/สมาคม องคการทางการเมือง

และการสนับสนุนพรรคการเมืองในสังคมไทยปจจุบันมีผลตอการเมืองในระบอบ

ประชาธิปไตยของไทยหรือไมอยางไร ในประเด็นดังตอไปนี้

2.1 การระดมพลและการมีสวนรวมทางการเมือง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2.2 การเสริมสรางความเปนประชาธิปไตย

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

3. หากสภาพสังคมไทยยังมีสภาพเปนอยางปจจุบัน ที่มีทั้งวิกฤตทางเศรษฐกิจ สังคม และ

การเมืองอยางรอบดาน ทานคิดวาพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางในประเทศไทยใน

อนาคตจะมีลักษณะเปนอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 245: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

232

ตอนที่ 4 ทานคิดวาพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางไทยในชวง 2551-2553 มีผลตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยเชนไร

1. การใหความสนใจติดตามขาวสารทางการเมือง1.1 ทําใหทานเขาใจการเมืองในเรื่องตอไปนี้ ...................................................................

...............................................................................................................................

1.2 ทําใหทานไดเรียนรูและเขาใจกระบวนการทางการเมือง อาทิ ประมาณการเลือกตั้งวา

เปนที่มาของความชอบธรรมของรัฐบาล ของนักการเมือง ..........................................

...............................................................................................................................

1.3 ทําใหทานเขาใจและตระหนักถึงบทบาทในการทําหนาที่ของนักการเมืองทั้งฝายที่เปน

รัฐบาลและฝายคาน เชน ฝายรัฐบาลทําหนาที่ ...........................................................

ฝายคานทําหนาที่ ....................................................................................................

1.4 การที่ทานเกิดความเบื่อหนายไมอยากเขาไปยุงเกี่ยวกับการเมือง เพราะพรรคการเมือง

นักการเมืองมีแตคนทุจริต คอรัปชั่น ไมนาเชื่อถือ ไมนาไววางใจ ตัวอยางเชน การทุจริต

เรื่อง.........................................................................................................................

การไมนาเชื่อไววางใจ เชน ........................................................................................

1.5 ทําใหทานมีความรอบรูและรูลึกเกี่ยวกับการเมืองในระบอบประชาธิปไตย อาทิ การรอบ

รูในเรื่อง ..................................................................................................................

การรูลึกเกี่ยวกับการเมืองไทย เชน ...........................................................................

1.6 ทําใหทานคิดวาการตอสูของนักการเมืองไทย มักไมเปนไปตามกติกา ใชเสียงมากลาก

ไป ไมคอยใชเหตุผลหรือเหตุผลที่ใช เพื่อพวกของตัวเอง ยกตัวอยางเชน .....................

...............................................................................................................................

1.7 ทําใหทานไดเรียนรูและเขาใจถึงหลักการของการเมืองในระบอบประชาธิปไตยรวมทั้ง

ความเปนจริงทางการเมืองใครคือผูมีสิทธิ อํานาจทางการเมือง ยกตัวอยางเชน ..........

...............................................................................................................................

1.8 ทําใหทานเห็นวาการเมืองระบอบประชาธิปไตยของไทย บรรดานักการเมือง พรรค

การเมือง คํานึงถึงผลประโยชนของกลุมของพวกตนยกตัวอยางเชน .............................

...............................................................................................................................

Page 246: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

233

2. การไปใชสิทธิเลือกตั้ง2.1 ทําใหทานตระหนึกและเห็นความสําคัญ ของกระบวนการทางการเมืองในระบบ

ประชาธิปไตย วาใหความสําคัญกับการเลือกตั้ง โดยถือวาเปนที่มาของการใหความ

ไววางใจหรือความยินยอมของประชาชน

1) .........................................................................................................................

2) .........................................................................................................................

3) .........................................................................................................................

4) .........................................................................................................................

2.2 ทําใหทานเรียนรูวาพรรคการเมืองที่จัดตั้งรัฐบาลหรือเปนแกนนําในการจัดตั้งรัฐบาล

ตองเปนพรรคการเมืองที่มีเสียงขางมากหรือมีเสียงมากเปนผูมีสิทธิกอน ยกตัวอยาง

กรณีของการจัดตั้งรัฐบาล

1) สมัย ..................................................................................................................

2) สมัย ..................................................................................................................

3) สมัย ..................................................................................................................

4) สมัย ..................................................................................................................

2.3 ทําใหทานเบื่อหนายเลยไมอยากเขาไปยุงเกี่ยวกับการเมืองเพราะการเมืองไทยเปน

เพราะยังมีการใชเงินและวัตถุสิ่งของเปนปจจัยหลักในการใหไดมาซึ่งคะแนนเสียง ใน

การเลือกตั้ง ยกตัวอยางการเลือกตั้งในพื้นในเขต

1) สมัย ..................................................................................................................

2) สมัย ..................................................................................................................

3) สมัย ..................................................................................................................

4) สมัย ..................................................................................................................

2.4 การที่ทานยังไปใชสิทธิเลือกตั้งเปนเพราะทานยังเห็นวาการไปใชสิทธิดังกลาวเปนเรื่อง

ของการเปนพลเมืองดี การที่ทานยังเชื่อมั่นไววางใจตอการเมืองในระบบนี้ทานเห็นวา

เหตุผลดังกลาวมีความเหมาะสมหรือไม เพราะอะไร ..................................................

...............................................................................................................................

2.5 เวลาทานเห็นคนไปใชสิทธิเลือกตั้งนอยทานคิดวาเปนเพราะคนไทยขาดความ

กระตือรือรนมีความเฉื่อยชาหรือเบื่อหนายการเมือง ทานเห็นดวยหรือไมเพราะเหตุใด

...............................................................................................................................

...............................................................................................................................

Page 247: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

234

2.6 การที่ทานยังไปใชสิทธิ์ในการเลือกตั้งทุกครั้งหรือนานๆ ครั้งเพราะทานยังมีนักการเมือง

ไทยบางคน พรรคการเมืองบางพรรค ยังมีความนาเลื่อมใส ในคุณธรรมจริยธรรมอยู

ยกตัวอยาง นักการเมือง พรรคการเมืองที่มีคุณสมบัติเชนนี้..........................................

...............................................................................................................................

2.7 ทานเขาใจคําวา “การเชื่อมั่นประสิทธิภาพทางการเมืองของตน” หรือไมเวลาทานไปใช

สิทธิเลือกตั้งและทานเขาใจความหมายดังกลาวเชนไร ยกตัวอยาง ...............................

...............................................................................................................................

2.8 การทานไปใชสิทธิเลือกตั้งสาเหตุสวนหนึ่งเพราะทานคิดวาทานสามารถเปลี่ยนแปลง

รัฐบาลที่ลมเหลว ในการบริหารประเทศได ยกตัวอยางกรณีของรัฐบาลที่บริหารงาน

ลมเหลวแลวทําใหทานไปใชสิทธิเลือกตั้ง

1) สมัย ..................................................................................................................

2) สมัย ..................................................................................................................

3) สมัย ..................................................................................................................

4) สมัย ..................................................................................................................

3. การเปนสมาชิกกลุม / สมาคม / องคกรทางการเมือง 3.1 การที่ทานเปนสมาชิก / สมาคม องคกรทางการเมือง เพราะอะไร ................................

...............................................................................................................................

3.1.1 ผลประโยชนที่ทานหรือกลุมของทานพึงไดรับ ยกตัวอยางเชน ...........................

......................................................................................................................

3.1.2 อะไรมีไวเพื่อตอรอง ประนีประนอม ผลประโยชนกับรัฐบาล ยกมาสัก 2-3

ตัวอยาง ........................................................................................................

......................................................................................................................

3.1.3 เรื่องของสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน พ.ศ. 2550 และทานเห็นวา

เรื่องนี้มีความสําคัญเพราะ ..............................................................................

3.2 การที่ทานไมเปนสมาชิก กลุม / สมาคม / องคกรทางการเมือง เพราะ ........................

...............................................................................................................................

3.2.1 ทานขาดความศรัทธา เชื่อถือ นักการเมือง พรรคการเมือง กลุม / สมาคมที่ทาน

จะเปนสมาชิกเพราะมีพฤติกรรมทางการเมืองที่ไมนาไววางใจยกตัวอยาง การ

เมืองไทยในสมัยใด .........................................................................................

Page 248: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

235

3.2.2 กลุม / สมาคม องคกรทางการเมืองที่ไมมีผลงานหรือเปนประโยชนตอ

สมาชิกตอตัวทาน จงยกตัวอยางกลุม / สมาคม / องคกร ทางการเมืองที่ไมมี

ผลงาน เชน

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

3.3 การที่ทานเขารวมชุมนุมกับกลุม สมาคม / องคกรทางการเมืองที่ทานเปนสมาชิกเปน

เพราะ

3.3.1 ทานตองการทําตามอุดมการณตามความคิดความเชื่อของกลุม / สมาคม /

องคกรที่ทานเปนสมาชิก เชนกลุม / สมาคม / องคกรทางการเมือง

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

3.3.2 ทานเห็นและตระหนักวา การเคลื่อนไหวและการแสดงออกดังกลาวของกลุม /

สมาคม / องคกรทางการเมือง เปนประโยชนตอสวนรวมและตอการเมืองใน

ระบอบประชาธิปไตย อาทิ กรณีที่เปนประโยชนตอสวน เชน

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

กรณีที่เปนประโยชนตอการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ยกตัวอยางเชน

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

Page 249: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

236

3.4 การที่จะใหกลุม / สมาคม / องคกรทางการเมืองที่ทานเปนสมาชิกมีหลักอํานาจในการ

ชุมนุมเคลื่อนไหว กดดัน รัฐบาล หรือตอตาน นักการเมือง พรรคการเมือง ที่มี

พฤติกรรม ที่ไมนาไววางใจทานคิดวา พลังอํานาจที่ควรมีไดแก ...................................

...............................................................................................................................

3.4.1 การมีจํานวนสมาชิกที่มีความเชื่อมีอุดมการณที่คลายคลึงกันเปนจํานวนมาก

ทานคิดวาควรมีจํานวนมากสักเทาไร

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

3.4.2 แกนนําของกลุม / สมาคม / องคกรทางการเมืองควรตองมีทักษะในการระดม

ทรัพยากรของเศรษฐกิจการเมืองเชน

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

3.4.3 แกนนําตองรูกลยุทธและโจทกทางการเมืองของรัฐบาลวาเมื่อไรควรรุก เมื่อไร

ควรถอยเพื่อตั้งรับ ยกตัวอยาง เชนถารัฐบาลบริหารงานลมเหลว แกนนําก็จะรู

วาตอนนี้ควรใชกลยุทธเชนไร

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

3.5 พรรคการเมืองกับกลุมผลประโยชน

3.5.1 มีบทบาทหนาที่หรือเปาหมายหลักเหมือนหรือตางกัน

3.5.1.1 เหมือนกันคือ

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

Page 250: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

237

3.5.1.2 ตางกันคือ

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

3.5.2 การเกิดขึ้นของกลุมผลประโยชน สมาคม หรือองคกรทางการเมืองในการ

เมืองไทยที่ทานเปนสมาชิกสวนเปนกลุมจัดตั้งดวยตนเองหรือเปนกลุมที่รัฐกล

ไกลรัฐเปนคนจัดตั้ง .........................................................................................

3.5.2.1 จัดตั้งดวยตนเองเหตุผลเพราะ ............................................................

......................................................................................................................

3.5.2.2 รัฐกลไกรัฐเขาไปชวยจัดตั้งเหตุผลเพราะ .............................................

......................................................................................................................

4. การสนับสนุนพรรคการเมือง4.1 การที่สนับสนุนพรรคการเมืองที่ทานชื่นชอบทานสนับสนุนในรูปแบบใด

4.1.1 การบริจาค ....................................................................................................

4.1.2 ไปลงคะแนนเสียไปชวยหาเสียงและวิธีการอื่นๆ อาทิเชน

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

4.1.3 ไปชวยชักชวนเพื่อนบานเพื่อนทํางาน เพื่อรวมอุดมการณมาเปนสมาชิกและ

วิชาการอื่นๆ เชน

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

4.2 การทําหนาที่บทบาทของพรรคการเมืองที่ทานสนับสนุนในปจจุบันทานทานคิดวา

สามารถทําหนาที่บทบาท ..........................................................................................

Page 251: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

238

4.2.1 ทั้งหนาที่บทบาทในสภาและนอกสภาไดเหมาะสมไดดียกตัวอยางในสภา

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

4.2.2 บางครั้งบางเรื่องทําไดดียกตัวอยางเชน

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

บางครั้งบางเรื่องยังทําหนาที่ที่จะบกพรองยกตัวอยาง เชน

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

4.3 การที่ทานไมปรารถนาหรือไมอยากสนับสนุนพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งเปน

เพราะ ....................................................................................................................

1) ................................................................................................................

2) ................................................................................................................

3) ................................................................................................................

4) ................................................................................................................

4.3.1 ในความคิดเห็นของทาน ทานคิดวาพรรคการเมืองสวนใหญยังมีพฤติกรรมไมนา

ไววางใจ เชน

1) ในเรื่อง .....................................................................................................

2) ในเรื่อง .....................................................................................................

3) ในเรื่อง ......................................................................................................

4) ในเรื่อง ......................................................................................................

4.3.2 พรรคการเมืองนั้นขาดอุดมการณขาดจุดยืนทางการเมือง เชน

1) ขาดจุดยืนเรื่อง............................................................................................

2) ขาดจุดยืนเรื่อง............................................................................................

Page 252: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

239

3) ขาดจุดยืนเรื่อง............................................................................................

4) ขาดจุดยืนเรื่อง ..........................................................................................

4.3.3 พรรคการเมืองสวนใหญขาดความรับผิดชอบตอประชาชน เพราะมัวแตทําเพื่อ

ผลประโยชนของตนเอง เชน

1) เรื่อง ..........................................................................................................

2) เรื่อง ..........................................................................................................

3) เรื่อง ..........................................................................................................

4) เรื่อง ..........................................................................................................

4.3.4 ทานคิดวาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยในปจจุบัน พรรคการเมืองมี

จํานวน ...........................................................................................................

1) มากไปเพราะ ..........................................................................................

2) กําลังดีเพราะ ............................................................................................

3) นอยไปเพราะ ...........................................................................................

ขอเสนอแนะอื่นๆ..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................

Page 253: พฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นกลางกับการเมืองในระบอบ 2553mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2554/F_Chamlong_

240

ประวัติการศึกษา

ชื่อ นายจําลอง พรมสวัสดิ์

วันเดือนปเกิด 23 มีนาคม 2503

วุฒิการศึกษา เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารการเมือง)

วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2549