เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต...

344
เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน Foundation of Microeconomics ตลาดผลผลิต (Output Market) ภาคธุรกิจ (Firms) ภาคครัวเรือน (Households) ตลาดปจจัยการผลิต (Factor Market) Supply Demand Supply Demand Income Expenditure Income Expenditure ISBN 974-93471-3-7 ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ (ฉบับปรับปรุง) พิมพครั้งที4

Upload: others

Post on 03-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน Foundation of Microeconomics

ตลาดผลผลติ

(Output Market)

ภาคธุรกิจ (Firms)

ภาคครัวเรือน (Households)

ตลาดปจจัยการผลิต (Factor Market)

Supply Demand

Supply Demand

Income Expenditure

Income Expenditure

ISBN 974-93471-3-7

ธเนศ ศรวีิชัยลําพันธ

(ฉบับปรับปรงุ)

พิมพคร้ังท่ี 4

Page 2: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

Foundation of Microeconomics

ธเนศ ศรวิีชัยลําพันธ

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม (สงวนลิขสทิธิ์)

2548

Page 3: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบ้ืองตน Foundation of Microeconomics ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ พิมพครั้งท่ี 4, (ฉบับปรับปรุง), กันยายน 2548 จํานวน 1,000 เลม ISBN 974-93471-3-7 สงวนลิขสิทธิ์ พิมพท่ี: นพบุรีการพิมพ เชียงใหม ขอมูลทางบรรณานุกรม ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน = Foundation of Microeconomics.-- เชียงใหม : นพบุรีการพิมพ เชียงใหม, 2548. 322 หนา 1. เศรษฐศาสตรจุลภาค I. ช่ือเรื่อง 338.5 ISBN 974-93471-3-7

Page 4: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

คํานํา

ตําราเศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน (Foundation of Microeconomics) ฉบับพิมพครั้งท่ี 4 เลมนี้ ผูเขียนไดพยายามปรับปรุง แกไขขอผิดพลาดจากฉบับที่พิมพครั้งท่ี 1, 2 และ 3 เพื่อใหเนื้อหาวิชามีความสมบูรณยิ่งข้ึน และมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนตําราประกอบการเรียนการสอนกระบวนวิชา 751101 ของคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ท้ังนี้เนื่องมาจากตําราเศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตนมีผูเขียนเปนจํานวนมาก และมีความหลากหลายในเนื้อหาวิชา จะยึดหนังสือเลมใดเลมหนึ่งมาประกอบการเรียนการสอนนั้นเปนการยาก และสาเหตุหลักที่ไดจัดพิมพตําราเลมนี้ข้ึนมาใหมก็เนื่องมาจากตําราที่พิมพในครั้งท่ี 1, 2 และ 3 ไดจําหนายไปหมดแลว จึงสงผลใหนักศึกษาไมมีตําราเพื่อใชประกอบในการเรียน ดังนั้นเพื่อใหนักศึกษาไดมีตําราเรียนที่ดี และเปนพื้นฐานในการเรียนวิชาเศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน จึงทําใหผูเขียนตองปรับปรุงแกไขตําราเลมเดิมและจัดพิมพข้ึนมาใหมอีกครั้งหนึ่ง และผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวาตําราเลมนี้จะเปนประโยชนแกนักศึกษาและผูสนใจในวิชาเศรษฐศาสตรจุลภาคบางไมมากก็นอย ถึงแมจะไดมีการปรับปรุงแกไขขอผิดพลาดมาแลว แตผูเขียนเชื่อแนวาหนังสือเลมนี้ยังอาจมีขอผิดพลาดและขอบกพรองอยูอีก ดังนั้นผูเขียนจึงขอนอมรับการติชมและการชี้แนะขอบกพรอง และขอผิดพลาดทุกประการ สําหรับคุณความดีของตําราเลมนี้ผูเขียนขอมอบแดคุณพอตุม คุณแมอวน และครูบาอาจารยทุกทาน ผูซึ่งเปนที่เคารพรักอยางสูง และเปนผูมีพระคุณตอผูเขียน และขอมอบแดผูท่ีเปนกําลังใจใหกับผูเขียนตลอดมา และที่จะลืมเสียมิไดก็คือสมาชิกในครอบครัวคุณจรรยา ผูเปนภรรยาและลูกสาวธันยพรซึ่งเปนผูท่ีใหความรัก ความเขาใจ และเปนกําลังใจใหกับผูเขียนตลอดเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งผูเปนภรรยาไดชวยแนะนําและชวยเหลืองานบรรณานุกรมและเชิงอรรถเปนอยางดี ในทายท่ีสุดนี้ผู เขียนตองขอขอบคุณโครงการตํารามหาวิทยาลัยเชียงใหม ท่ีไดใหการสนับสนุนงบประมาณในการจัดพิมพครั้งนี้ (รองศาสตราจารยธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ) กันยายน 2548

Page 5: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

สารบัญ

หนา

บทที่ 1 เศรษฐศาสตรคืออะไร 1 ความหมายของเศรษฐศาสตร 2 เศรษฐศาสตรจุลภาคและเศรษฐศาสตรมหภาค 3 วิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร 4 ความสัมพันธระหวางเศรษฐศาสตรกับสาขาวิชาอื่น ๆ 6 ประโยชนของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร 8 ลักษณะของวิชาเศรษฐศาสตร 9 วิธีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร 10 เครื่องมือในการศึกษาทางเศรษฐศาสตร 12

บทที่ 2 ความรูเบ้ืองตนในการศึกษาเศรษฐศาสตร 19 ขอสมมติ 19 คําศัพทเฉพาะในวิชาเศรษฐศาสตร 21 ทรัพยากรการผลิต 21 สินคาและบริการ 22 การผลิต 23 การบริโภค 23 ความตองการ 24 เสนความเปนไปไดในการผลิต 24 การหมุนเวียนของกิจกรรมเศรษฐกิจ 28 ประสิทธิภาพ 30

บทที่ 3 ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและปญหาประชากร 31 ปญหาการจัดสรรทรัพยากรท่ีเปนวัตถุสิ่งของ 31 หลักของความขาดแคลน 31 หลักการเลือก 31

Page 6: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ii

ปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย 33 รูปแบบขององคการธุรกิจ 34 องคการธุรกิจของเอกชน 34 องคการธุรกิจของรัฐบาล 36

บทที่ 4 ระบบเศรษฐกิจ 39 ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 40 ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน 42 ระบบสังคมนิยม 42 ระบบคอมมิวนิสต 43 ระบบเศรษฐกิจแบบผสม 44

บทที่ 5 ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ 47 ดีมานด 47 ดีมานดตอราคา 47 ดีมานดตอรายได 49 ดีมานดตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ 51 ลักษณะของดีมานด 54 ตารางดีมานด และเสนดีมานด 55 การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ 57 การเคลื่อนยายเสนดีมานด 57 ปจจัยท่ีทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยาย 59 ดีมานดตลาด 60 ซัพพลาย 62 ตารางซัพพลาย 64 เสนซัพพลาย 64 ซัพพลายตลาด 65 การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย 67 การเคลื่อนยายเสนซัพพลาย 68 การกําหนดราคาและปริมาณดุลยภาพของตลาด 69

Page 7: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

iii

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ 72

บทที่ 6 ความยืดหยุน 79 ความหมายของความยืดหยุน 79 ความยืดหยุนของดีมานด 79 ความยืดหยุนของดีมานดตอราคา 79 การนําสูตรการวัดคาความยืดหยุนแบบจุดไปดัดแปลงใช 84 ความยืดหยุนของดีมานดกับรายรับรวม 85 ความแตกตางระหวางความชันกับความยืดหยุน 88 ลักษณะเสนดีมานดตามความยืดหยุน 90 ความยืดหยุนของดีมานดตอรายได 92 ความยืดหยุนของดีมานดตอราคาสินคาอื่น 94 ความยืดหยุนของซัพพลาย 97 การคํานวณคาความยืดหยุนของซัพพลาย 98 ลักษณะเสนซัพพลายตามความยืดหยุน 100 ปจจัยท่ีเปนตัวกําหนดความยืดหยุนของซัพพลาย 103 ประโยชนของความยืดหยุนของเสนดีมานดและซัพพลาย 104 ประโยชนในฐานะธุรกิจเอกชน 105 ประโยชนในฐานะที่เปนหนวยงานของรัฐ 105

บทที่ 7 การควบคุมและการประกันราคา 107 การควบคุมราคาสินคา 107 การประกันราคาสินคา 109 การจายเงินอุดหนุนใหกับเกษตรกร 111 การสงเสริมใหลดพื้นที่การเพาะปลูก 112 การหาตลาดตางประเทศเพิ่มข้ึน 113 การเปลี่ยนแปลงราคาสินคาเกษตรกรรม 115 การเก็บภาษีสินคาและการผลักภาระภาษี 116 การเก็บภาษีตามสภาพของสินคา 116 การเก็บภาษีตามมูลคาของสินคา 118

Page 8: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

iv

การเก็บภาษีจากผูขาย 120 การเก็บภาษีจากผูซื้อ 124

บทที่ 8 ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค 129 การวิเคราะหแบบนับจํานวนได 129 อรรถประโยชน 129 กฎการลดนอยถอยลงของอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย 130 ตารางและเสนอรรถประโยชน 131 ดุลยภาพของผูบริโภค 133 อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายและเสนดีมานด 137 สวนเกินของผูบริโภค 140 การวิเคราะหแบบนับลําดับที่ 142 เสนความพอใจเทากัน 142 อัตราสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการทดแทนกันของสินคา 2 ชนิด 145 เสนงบประมาณหรือเสนราคา 148 การเปลี่ยนแปลงเสนงบประมาณ 149 ดุลยภาพของผูบริโภค 151 การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบริโภค 153 ดีมานดของผูบริโภค 155 ผลการทดแทนกันและผลทางรายได 160 เสนดีมานดชดเชย 165

บทที่ 9 ทฤษฎีการผลิต 169 เทคโนโลยีและปจจัยการผลิต 169 เทคโนโลยี 169 ปจจัยการผลิต 170 การผลิต 170 ความหมายของระยะสั้นและระยะยาว 171 ฟงกช่ันการผลิต 171 ฟงกช่ันการผลิตคงที่ 172

Page 9: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

v

ฟงกช่ันการผลิตเพิ่มข้ึน 173 ฟงกช่ันการผลิตลดลง 173 การผลิตในระยะสั้น 174 ความหมายของผลผลิตชนิดตาง ๆ 174 ความสัมพันธของผลผลิตชนิดตาง ๆ และการแบงชวงการผลิต 175 กฎวาดวยการใชปจจัยการผลิตท่ีไมไดสัดสวน 178 กฎแหงการลดนอยถอยลงของผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย 178 การผลิตในระยะยาว 179 เสนผลผลิตเทากันและเสนตนทุนเทากัน 179 การใชสวนผสมของปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสม 187 เสนแนวทางการขยายการผลิต 192 กฎของผลไดตอการขยายขนาดการผลิต 193 การประหยัดและการไมประหยัดอันเกิดจากการขยายขนาดการผลิต 197

บทที่ 10 ตนทุนการผลิต 199 แนวคิดตนทุนทางเศรษฐศาสตร 199 ตนทุนคาเสียโอกาส 199 ตนทุนชัดแจงและตนทุนไมชัดแจง 200 ตนทุนเอกชนและตนทุนทางสังคม 201 ตนทุนการผลิตระยะสั้น 202 ตารางตนทุนการผลิต 203 เสนตนทุนประเภทตาง ๆ 204 ความสัมพันธระหวางตนทุนเฉลี่ยและตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย 207 ตนทุนการผลิตระยะยาว 208 ตนทุนรวมระยะยาว 209 ตนทุนเฉลี่ยระยะยาว 211 ตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะยาว 214

บทที่ 11 รายรับจากการผลิต 217 รายรับรวม รายรับเฉลี่ย และรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย 217

Page 10: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

vi

ตารางและเสนรายรับจากการผลิต 218 ตารางและเสนรายรับจากการผลิตในตลาดที่มีการผูกขาด 218 ตารางและเสนรายรับจากการผลิตในตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ 220 การหารายรับรวมจากเสน AR 222 การหาเสน MR จากเสน AR 223 รายรับรวม ตนทุนรวม และการทํากําไรสูงสุด 226

บทที่ 12 ตลาดในระบบเศรษฐกิจ 229 ความหมายของตลาดในทางเศรษฐศาสตร 229 ลักษณะของตลาดในระบบเศรษฐกิจ 230 ตลาดที่มีการแขงขันอยางสมบูรณ 230 ตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณ 231 โครงสรางตลาดแบบตาง ๆ 234 ขอดีและขอเสียของตลาดแขงขันสมบูรณและตลาดผูกขาด 236 บทที่ 13 การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต 241 การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดแขงขันสมบูรณ 241 เสนดีมานดท่ีผูผลิตแตละรายเผชิญ 242 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะสั้น 243 เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะสั้น 245 ดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะยาว 247 การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด 251 ดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะสั้น 251 ดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะยาว 253 การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดผูขายนอยราย 254 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะสั้น 255 การแขงขันโดยไมใชราคา 258 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะยาว 259 การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดผูกขาดแทจริง 259 ดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะสั้น 260

Page 11: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

vii

ดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะยาว 267

บทที่ 14 ตลาดปจจัยการผลิต 269 ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต 269 ดีมานดสืบเนื่อง 270 ดีมานดรวม 271 ทฤษฎีวาดวยผลิตภาพสวนเพิ่มหนวยสุดทาย 271 ปจจัยท่ีกําหนดดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต 273 ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตในตลาดแบบตาง ๆ 274 ซัพพลายของปจจัยการผลิต 284 ซัพพลายของปจจัยการผลิตคงที่ 285 ซัพพลายของปจจัยการผลิตท่ีอยูในตลาดปจจัยการผลิตท่ีผูซื้อผูกขาด 285 เสนซัพพลายของปจจัยการผลิตในธุรกิจที่มีการแขงขันสมบูรณ 286 ดุลยภาพของตลาดปจจัยการผลิต 287 ตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีการแขงขันสมบูรณ 288 ตลาดผูซื้อผูกขาด 289 ตลาดผูขายผูกขาด 290 ตลาดทั้งผูซื้อและผูขายผูกขาด 290

บทที่ 15 ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต 293 คาเชา 293 ความหมายและลักษณะของคาเชา 293 ทฤษฎีคาเชาของริคารโด 294 ทฤษฎีผลิตภาพหนวยสุดทายของปจจัยประเภทที่ดิน 296 คาเชาทางเศรษฐกิจ 298 คาเชาทางเศรษฐกิจที่มีสภาพ "กึ่งคาเชา" 298 คาจาง 299 อัตราคาจาง 299 ดีมานดสําหรับแรงงาน 300 ซัพพลายของแรงงาน 301

Page 12: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

viii

การกําหนดคาจางดุลยภาพ 304 ความไมสมบูรณของตลาดแรงงาน 305 สหภาพแรงงานและการกําหนดคาจาง 306 ความแตกตางของคาจาง 309 ดอกเบี้ย 309 การกําหนดอัตราดอกเบี้ย 310 ทฤษฎีปริมาณเงินกู 311 ทฤษฎีความตองการถือเงิน 313 บทบาทของดอกเบี้ยในระบบเศรษฐกิจ 316 กําไร 317 ทฤษฎีกําไรท่ีเกี่ยวกับความเสี่ยงในการดําเนินกิจการและความไมแนนอน 318 ทฤษฎีกําไรท่ีเกี่ยวกับการปรับปรุงและการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ 319 ทฤษฎีกําไรท่ีเกี่ยวกับการไดเปรียบในฐานะของกิจการ 320 บรรณานุกรม 321

Page 13: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

สารบัญรูปภาพ

หนา รูปที่ 1.1 การสรางทฤษฎีดวยวิธีการอนุมานและวงจรชีวิตของทฤษฎีเศรษฐศาสตร 11 รูปที่ 1.2 แสดงเสนปริมาณความตองการซื้อสินคา X 14 รูปที่ 1.3 แสดงการหาความชันของเสนใด ๆ 15 รูปที่ 1.4 แสดงคาสูงสุด 17 รูปที่ 1.5 แสดงคาต่ําสุด 18 รูปที่ 2.1 แสดงเสนความเปนไปไดในการผลิตขาวและขาวโพดในสัดสวนตาง ๆ 25 รูปที่ 2.2 แสดงการเคลื่อนยายเพิ่มสูงข้ึนของเสน PPC 26 รูปที่ 2.3 แสดงลักษณะตาง ๆ ของเสน PPC 28 รูปที่ 2.4 แสดงการหมุนเวียนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กรณี 2 ภาคกิจกรรม 29 รูปที่ 5.1 แสดงเสนดีมานดของสินคาปกติ (normal goods) 50 รูปที่ 5.2 แสดงเสนดีมานดของสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) 51 รูปที่ 5.3 แสดงเสนดีมานดสําหรับสินคาทดแทนกัน 52 รูปที่ 5.4 แสดงเสนดีมานดสําหรับสินคาท่ีใชควบคูกันหรือใชประกอบกัน 53 รูปที่ 5.5 แสดงเสนดีมานดของลิ้นจี่ 55 รูปที่ 5.6 แสดงเสนดีมานดของสินคาท่ีไมเปนไปตามกฎแหงดีมานด 56 รูปที่ 5.7 แสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ 57 รูปที่ 5.8 แสดงการเคลื่อนยายเสนดีมานด 58 รูปที่ 5.9 แสดงเสนดีมานดตลาดของลิ้นจี่ 61 รูปที่ 5.10 แสดงเสนซัพพลายของลิ้นจี่กระปอง 65 รูปที่ 5.11 แสดงการหาซัพพลายตลาดของสมเขียวหวาน 66 รูปที่ 5.12 แสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย 67 รูปที่ 5.13 แสดงการเคลื่อนยายเสนซัพพลาย 68 รูปที่ 5.14 แสดงการหาจุดดุลยภาพจากเสนดีมานดและเสนซัพพลาย 71 รูปที่ 5.15 แสดงการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพเนื่องจากเสนดีมานดเปลี่ยนแปลงในขณะที่ 72 เสนซัพพลายคงที่

Page 14: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

x

รูปที่ 5.16 แสดงการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพเนื่องจากเสนซัพพลายเปลี่ยนแปลงในขณะที่ 73 เสนดีมานดคงที่ รูปที่ 5.17 แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพเนื่องจากเสนดีมานดและเสนซัพพลาย 75 ลดลงพรอมกัน รูปที่ 5.18 แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพเนื่องจากเสนดีมานดและเสนซัพพลาย 75 เพิ่มข้ึนพรอมกัน รูปที่ 5.19 แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพเนื่องจากเสนดีมานดเพิ่มข้ึน 76 แตเสนซัพพลายลดลง รูปที่ 5.20 แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพเนื่องจากเสนดีมานดลดลง 77 แตเสนซัพพลายเพิ่มข้ึน รูปที่ 6.1 แสดงการคํานวณคาความยืดหยุนแบบชวง 81 รูปที่ 6.2 แสดงการคํานวณคาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนแบบจุด 83 รูปที่ 6.3 การวัดคาความยืดหยุนแบบจุดของเสนดีมานดท่ีเปนเสนตรง 84 รูปที่ 6.4 การวัดคาความยืดหยุนแบบจุดของเสนดีมานดท่ีเปนเสนโคง 85 รูปที่ 6.5 แสดงความสัมพันธระหวางรายรับรวมกับความยืดหยุนแบบตาง ๆ 87 รูปที่ 6.6 แสดงคาความยืดหยุนที่แตกตางกันบนเสนดีมานดท่ีเปนเสนตรง 89 รูปที่ 6.7 ดีมานดไมมีความยืดหยุนเลย 90 รูปที่ 6.8 ดีมานดมีความยืดหยุนนอย 90 รูปที่ 6.9 ดีมานดมีความยืดหยุนคงที่ 91 รูปที่ 6.10 ดีมานดมีความยืดหยุนมาก 91 รูปที่ 6.11 ดีมานดมีความยืดหยุนมากที่สุด 92 รูปที่ 6.12 การหาความยืดหยุนเสนซัพพลายของสินคา X 99 รูปที่ 6.13 ซัพพลายไมมีความยืดหยุนเลย 101 รูปที่ 6.14 ซัพพลายมีความยืดหยุนนอย 101 รูปที่ 6.15 ซัพพลายมีความยืดหยุนคงที่ 102 รูปที่ 6.16 ซัพพลายมีความยืดหยุนมาก 102 รูปที่ 6.17 ซัพพลายมีความยืดหยุนมากที่สุด 103 รูปที่ 7.1 การควบคุมราคาน้ําตาลทราย กรณีท่ีดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนมาก 107 รูปที่ 7.2 การควบคุมราคาน้ําตาลทราย กรณีดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนนอย 109

Page 15: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

xi

รูปที่ 7.3 การประกันราคาขาวเปลือก 110 รูปที่ 7.4 การจายเงินอุดหนุนเกษตรกร 111 รูปที่ 7.5 การสงเสริมใหลดพื้นที่การเพาะปลูก 112 รูปที่ 7.6 การขยายตลาดตางประเทศเพิ่มข้ึน 113 รูปที่ 7.7 การปรับตัวเขาหาจุดดุลยภาพตามทฤษฎีใยแมงมุม 114 รูปที่ 7.8 แนวโนมการปรับตัวของราคาเขาสูดุลยภาพ 115 รูปที่ 7.9 แสดงการจัดเก็บภาษีจากผูขายตามสภาพของสินคา 117 รูปที่ 7.10 แสดงการจัดเก็บภาษีจากผูซื้อตามสภาพของสินคา 117 รูปที่ 7.11 แสดงการจัดเก็บภาษีจากผูขายตามมูลคาของสินคา 118 รูปที่ 7.12 แสดงการจัดเกบ็ภาษีจากผูซื้อตามมูลคาของสินคา 119 รูปที่ 7.13 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อ กรณีความยืดหยุนของดีมานด 120 ของสินคาเทากับศูนย รูปที่ 7.14 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อ กรณีความยืดหยุนของดีมานดมีคานอย 121 รูปที่ 7.15 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อ กรณีความยืดหยุนของดีมานดมีคา 122 คงที่เทากับหนึ่ง รูปที่ 7.16 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อ กรณีความยืดหยุนของดีมานดมีคามาก 123 รูปที่ 7.17 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อ กรณีความยืดหยุนของดีมานด 124 มีคามากที่สุด รูปที่ 7.18 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขาย กรณีท่ีซัพพลายมีคาความยืดหยุน 125 เทากับศูนย รูปที่ 7.19 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขาย กรณีท่ีซัพพลายมีคาความยืดหยุนนอย 126 รูปที่ 7.20 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขาย กรณีท่ีซัพพลายมีคาความยืดหยุน 127 เทากับหนึ่ง รูปที่ 7.21 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขาย กรณีท่ีซัพพลายมีคาความยืดมาก 128 รูปที่ 7.22 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขาย กรณีท่ีซัพพลายมีคาความยืดมากที่สุด 128 รูปที่ 8.1 แสดงความสัมพันธระหวาง TU กับ MU ในการบริโภคสินคา A 132 รูปที่ 8.2 แสดงดุลยภาพของผูบริโภคในการบริโภคสินคา X 134 รูปที่ 8.3 แสดงเสนดีมานดตอราคาของสินคา Y 139 รูปที่ 8.4 แสดงสวนเกินของผูบริโภค 141

Page 16: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

xii

รูปที่ 8.5 แสดงสวนเกินของผูบริโภคเมื่อราคาสินคาเปลี่ยนแปลง 141 รูปที่ 8.6 แสดงเสนความพอใจเทากัน 143 รูปที่ 8.7 แสดงแผนภาพเสนความพอใจเทากัน 143 รูปที่ 8.8 แสดงเสน IC1 ตัดกับเสน IC2 144 รูปที่ 8.9 แสดงอัตราสวนเพิ่มของการทดแทนกันระหวางสินคา X และสินคา Y 146 รูปที่ 8.10 แสดงเสน IC ท่ีสินคา X และสินคา Y ทดแทนกันไดไมสมบูรณ 147 รูปที่ 8.11 แสดงเสน IC ท่ีสินคา X และสินคา Y ทดแทนกันไดอยางสมบูรณ 147 รูปที่ 8.12 แสดงเสน IC ท่ีสินคา X และสินคา Y ทดแทนกันไมได 148 รูปที่ 8.13 แสดงเสนงบประมาณหรือเสนราคา 148 รูปที่ 8.14 แสดงการเคลื่อนยาย(shift)เสนงบประมาณ 150 รูปที่ 8.15 แสดงการเคลื่อนยาย(shift)ของเสนงบประมาณ กรณีราคาสินคาเปลี่ยนแปลง 151 รูปที่ 8.16 แสดงดุลยภาพของผูบริโภคที่บริโภคสินคา X และสินคา Y 152 รูปที่ 8.17 แสดงการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบริโภคเนื่องมาจากราคาสินคา 153 เปลี่ยนแปลง รูปที่ 8.18 แสดงการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบริโภคเนื่องมาจากรายไดท่ีแทจริง 154 เปลี่ยนแปลง รูปที่ 8.19 แสดงการหาเสน Engel curve หรือ income demand curve จากเสน IEP 155 รูปที่ 8.20 แสดงการหาเสน Engel curve หรือ income demand curve จากเสน IEP 157 รูปที่ 8.21 แสดงลักษณะสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) และสินคาปกติ 158 (normal goods) รูปที่ 8.22 แสดงการหาเสนดีมานดตอรายไดจากเสน PCC หรือเสน PEP 159 รูปที่ 8.23 แสดงผลทางการทดแทนกันและผลทางรายไดของสินคาปกติ 161 รูปที่ 8.24 แสดงผลทางการทดแทนกันและผลทางรายไดของสินคาดอยคุณภาพ 162 รูปที่ 8.25 แสดงผลทางการทดแทนกันและผลทางรายไดของสินคาแบบ Giffen goods 164 รูปที่ 8.26 แสดงเสนดีมานดชดเชย (compensated demand) 166 รูปที่ 9.1 แสดงฟงกช่ันการผลิตคงที่ 172 รูปที่ 9.2 แสดงฟงกช่ันการผลิตเพิ่มข้ึน 173 รูปที่ 9.3 แสดงฟงกช่ันการผลิตลดลง 174 รูปที่ 9.4 แสดงการแบงชวงการผลิต 176

Page 17: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

xiii

รูปที่ 9.5 แสดงความสัมพันธของปจจัยการผลิตบนเสน Isoquant 180 รูปที่ 9.6 แสดงแผนภาพของเสนผลผลิตเทากัน 181 รูปที่ 9.7 แสดงการเปลี่ยนอัตราสวนผสมของการใชปจจัยการผลิต 182 รูปที่ 9.8 แสดงเสนตนทุนเทากัน 184 รูปที่ 9.9 แสดงการยายเสนตนทุนเทากัน กรณีราคาของปจจัยการผลิตท้ังสอง 186 เปลี่ยนแปลงในสัดสวนเดียวกัน รูปที่ 9.10 แสดงการยายเสนตนทุนเทากัน กรณีท่ีราคาปจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่ง 186 เปลี่ยนแปลง รูปที่ 9.11 แสดงการผสมปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสม 187 รูปที่ 9.12 แสดงการผสมปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสม 189 รูปที่ 9.13 แสดงการผสมปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสม กรณีกําหนดตนทุนรวมมาให 191 รูปที่ 9.14 แสดงเสนแนวทางขยายการผลิต 193 รูปที่ 9.15 แสดงเสนผลผลิตเทากันในกรณีของผลไดตอขนาดเพิ่มข้ึน 194 รูปที่ 9.16 แสดงเสนผลผลิตเทากันในกรณีของผลไดตอขนาดคงที่ 195 รูปที่ 9.17 แสดงเสนผลผลิตเทากันในกรณีของผลไดตอขนาดลดลง 196 รูปที่ 10.1 แสดงตนทุนรวม TC, TVC และ TFC 205 รูปที่ 10.2 แสดงการหาตนทุนเฉลี่ยคงที่ (AFC) 205 รูปที่ 10.3 แสดงการหาเสน ATC จากเสน TC 206 รูปที่ 10.4 แสดงความสัมพันธระหวางเสน ATC กับเสน AVC 206 รูปที่ 10.5 แสดงการหาเสน MC จากเสน TC 207 รูปที่ 10.6 แสดงความสัมพันธระหวางเสนตนทุนเฉลี่ยและเสนตนทุนสวนเพิ่ม 208 หนวยสุดทาย รูปที่ 10.7 แสดงความสัมพันธระหวางเสนตนทุนรวมระยะสั้นกับเสนตนทุนรวม 210 ระยะยาว รูปที่ 10.8 แสดงเสนตนทุนรวมระยะยาวที่เปนเสนโคงเรียบ 210 รูปที่ 10.9 แสดงเสน LAC และเสน SAC ท่ีมีจํานวนจํากัด 212 รูปที่ 10.10 แสดงเสนตนทุนเฉลี่ยระยะยาวที่เปนเสนโคงเรียบและเสนตนทุนเฉลี่ย 213

ระยะสั้นที่มีจํานวนอินฟนิตี้ (∞)

Page 18: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

xiv

รูปที่ 10.11 แสดงความสัมพันธระหวางตนทุนเฉลี่ย และตนทุนหนวยสุดทายท้ังใน 214 ระยะสั้นและระยะยาว รูปที่ 11.1 แสดงความสัมพันธระหวางเสน TR, AR และ MR ในตลาดผูกขาด 220 รูปที่ 11.2 แสดงความสัมพันธระหวางเสน TR, AR และ MR ในตลาดแขงขันสมบูรณ 222 รูปที่ 11.3 แสดงการหารายรับรวมของผูผลิตจากเสน AR หรือเสนดีมานด 222 รูปที่ 11.4 การหาเสน MR จากเสน AR ท่ีเปนเสนตรงลาดลงจากซายไปขวา 223 รูปที่ 11.5 การหาเสน MR จากเสน AR ท่ีเปนเสนตรงขนานกับแกนนอน 224 รูปที่ 11.6 การหาเสน MR จากเสน AR ท่ีเปนเสนโคง 225 รูปที่ 11.7 แสดงความสัมพันธระหวางรายรับรวม ตนทุนรวม และกําไร 227 รูปที่ 13.1 ลักษณะของเสนดีมานดในตลาดแขงขันสมบูรณ 242 รูปที่ 13.2 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะสั้นกรณีกําไรสูงสุด 243 รูปที่ 13.3 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะสั้นกรณีขาดทุนต่ําสุด 245 รูปที่ 13.4 การหาเสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะสั้น 246 รูปที่ 13.5 แสดงเสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะสั้น 247 รูปที่ 13.6 ดุลยภาพการผลิตของผูผลิตแตละรายในระยะยาว 248รูปที่ 13.7 เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะยาวเมื่อตนทุนเฉลี่ยตอหนวยลดลง 249รูปที่ 13.8 เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะยาวเมื่อตนทุนเฉลี่ยตอหนวยคงที่ 250 รูปที่ 13.9 เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะยาวเมื่อตนทุนเฉลี่ยตอหนวยเพิ่มข้ึน 250 รูปที่ 13.10 ราคาและปริมาณดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะสั้นกรณีกําไรสูงสุด 252 รูปที่ 13.11 ราคาและปริมาณดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะสั้นกรณีขาดทุนต่ําสุด 253 รูปที่ 13.12 ราคาและปริมาณดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะยาว 254 รูปที่ 13.13 ผลของการลดตนทุนการผลิตรถยนตในอุตสาหกรรมรถยนต 256 รูปที่ 13.14 ลักษณะของเสนดีมานดหักมุม 257 รูปที่ 13.15 ราคาและปริมาณดุลยภาพของผูผลิตในตลาดผูขายนอยราย 258 รูปที่ 13.16 ลักษณะเสนดีมานดและเสน MR ในตลาดผูกขาด 260 รูปที่ 13.17 ดุลยภาพของผูผลิตผูกขาดในระยะสั้นกรณีกําไรสูงสุด 261 รูปที่ 13.18 ดุลยภาพของผูผลิตผูกขาดในระยะสั้นกรณีกําไรขาดทุนนอยท่ีสุด 263 รูปที่ 13.19 การผลิตของผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาล กรณีการใชทรัพยากร 265 ท่ีมีประสิทธิภาพ

Page 19: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

xv

รูปที่ 13.20 การผลิตของผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาล กรณีการใชทรัพยากร 265 มากเกินไป รูปที่ 13.21 การผลิตของผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาล กรณีการใชทรัพยากร 266 นอยเกินไป รูปที่ 13.22 การกําหนดการผลิตของผูผลิตผูกขาดในระยะยาว 267 รูปที่ 14.1 แสดงเสน VMP ของการใชแรงงาน 276 รูปที่ 14.2 เสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต 277 รูปที่ 14.3 เสนดีมานดสําหรับแรงงานกรณีอยูในตลาดปจจัยแขงขันสมบูรณและ 280 ตลาดผลผลิตอยูในตลาดแขงขันไมสมบูรณ รูปที่ 14.4 เสนซัพพลายของปจจัยการผลิตคงที่ (fixed factor) 285 รูปที่ 14.5 เสนซัพพลายของปจจัยการผลิตในตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีผูซื้อผูกขาด 286 หรือเสนซัพพลายของปจจัยการผลิตในตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณ รูปที่ 14.6 เสนซัพพลายของปจจัยการผลิตในธุรกิจที่มีการแขงขันสมบูรณ 287 รูปที่ 14.7 ราคาและปริมาณดุลยภาพของตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีการแขงขันสมบูรณ 288 รูปที่ 14.8 ราคาและปริมาณดุลยภาพในตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีผูซื้อผูกขาด 289 รูปที่ 14.9 ราคาและปริมาณดุลยภาพในตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีผูขายผูกขาด 290 รูปที่ 14.10 ราคาและปริมาณดุลยภาพของปจจัยการผลิตท่ีมีผูซื้อและผูขายผูกขาด 291 รูปที่ 15.1 แสดงการกําหนดคาเชาท่ีดินตามแนวคิดของริคารโด 295 รูปที่ 15.2 แสดงคาเชาท่ีดินที่ข้ึนอยูกับดีมานดและซัพพลายของที่ดิน 296 รูปที่ 15.3 แสดงคาเชาของปจจัยประเภทที่ดิน 297 รูปที่ 15.4 แสดงลักษณะของเสนซัพพลายของแรงงานโดยทั่วไป 302 รูปที่ 15.5 แสดงเสนซัพพลายของแรงงานที่แตกตางไปจากเสนซัพพลายท่ัว ๆ ไป 304 รูปที่ 15.6 แสดงการกําหนดคาจางดุลยภาพในตลาดแรงงานที่มีการแขงขันอยางสมบูรณ 305 รูปที่ 15.7 การเรียกรองข้ึนคาจางโดยการเพิ่มดีมานดสําหรับแรงงาน 307 รูปที่ 15.8 การเรียกรองข้ึนคาจางโดยการลดซัพพลายของแรงงาน 308 รูปที่ 15.9 แสดงดีมานดสําหรับเงินกู 312 รูปที่ 15.10 แสดงเสนซัพพลายของเงินที่จะใหกูยืม 312 รูปที่ 15.11 แสดงอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ 313 รูปที่ 15.12 แสดงเสน Demand for Money 315

Page 20: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

xvi

รูปที่ 15.13 แสดงเสน Supply of Money 315 รูปที่ 15.14 แสดงการกําหนดอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ 316

สารบัญตาราง

หนา ตารางที่ 1.1 แสดงความสัมพันธระหวางราคาสินคา X กับปริมาณความตองการ 13 ซื้อสินคา X

Page 21: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

xvii

ตารางที่ 2.1 ปริมาณผลผลิตขาวและขาวโพดที่ระบบเศรษฐกิจสามารถผลิตไดจาก 25 การใชปจจัยการผลิตท้ังหมด ตารางที่ 5.1 ปริมาณความตองการซื้อลิ้นจี่ของผูบริโภคคนหนึ่ง ณ ระดับราคาตาง ๆ 55ตารางที่ 5.2 ปริมาณความตองการเสนอซื้อลิ้นจี่ของผูบริโภค ณ ระดับราคาตาง ๆ 60 ในตลาดแหงหนึ่ง ตารางที่ 5.3 แสดงปริมาณลิ้นจี่กระปองท่ีผูขายคนหนึ่งยินดีจะเสนอขาย ณ ระดับราคา 64 ตาง ๆ ตารางที่ 5.4 แสดงปริมาณเสนอขายสมเขียวหวาน ณ ระดับราคาตาง ๆ ในตลาด 66 แหงหนึ่ง ตารางที่ 5.5 แสดงดีมานดและซัพพลายของขาวสารในตลาดแหงหนึ่ง 70 ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ตารางที่ 6.1 รายรับรวมและคาความยืดหยุน 86ตารางที่ 6.2 แสดงความสัมพันธระหวางความยืดหยุนตอราคากับ รายรับรวม 88 ตารางที่ 8.1 แสดงอรรถประโยชนรวมและอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย 131 ในการดื่มกาแฟ ตารางที่ 8.2 แสดงอรรถประโยชนรวมและอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย 132 ของสินคา A ตารางที่ 8.3 แสดงอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคา X และ Y 135 ตารางที่ 8.4 แสดงอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของกาซื้อสินคาท้ัง 3 ชนิด 136 ตารางที่ 8.5 แสดงอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคา X และสินคา Y 137 ตารางที่ 8.6 แสดงปริมาณซื้อสินคา Y ณ ระดับราคาตาง ๆ 139 ตารางที่ 8.7 แสดงจํานวนตาง ๆ ของสินคา X และสินคา Y ท่ีทําใหผูบริโภคไดรับ 142 ความพอใจเทากัน ตารางที่ 8.8 แสดงอัตราสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการทดแทนกันระหวางสินคา X 146 และสินคา Y ตารางที่ 9.1 แสดงการเปลี่ยนแปลงจํานวนผลผลิตเมื่อใชปจจัยผันแปรใหทํางาน 176 รวมกับปจจัยคงที่ ตารางที่ 9.2 แสดงความสัมพันธระหวางคาของ TP, MP และ AP 177 ตารางที่ 9.3 แสดงสัดสวนตาง ๆ ของการใชปจจัยการผลิต 2 ชนิดท่ีใหผลผลิตเทากัน 180

Page 22: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

xviii

จํานวน 100 หนวย ตารางที่ 10.1 แสดงตนทุนการผลิตประเภทตาง ๆ ในระยะสั้นของการผลิตสินคา 203 ชนิดหนึ่ง ตารางที่ 11.1 แสดงการหาคา TR ,AR และ MR จากราคาและปริมาณขายระดับตาง ๆ 219 ในตลาดผูกขาด ตารางที่ 11.2 แสดงการหาคา TR ,AR และ MR จากราคาและปริมาณขายระดับตาง ๆ 221 ในตลาดแขงขันสมบูรณ ตารางที่ 11.3 รายรับรวม ตนทุนรวม และกําไรสูงสุด 227 ตารางที่ 12.1 ลักษณะและโครงสรางของตลาดที่มีการแขงขันแบบตาง ๆ 235 ตารางที่ 14.1 แสดงความสัมพันธระหวางแรงงาน ผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทายและ 275 มูลคาของผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย : กรณีตลาดผลผลิตและตลาด ปจจัยการผลิตเปนตลาดแขงขันสมบูรณ ตารางที่ 14.2 แสดงดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตของผูผลิต 276 ตารางที่ 14.3 แสดงความสัมพันธระหวางแรงงาน รายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทายจาก 279

การใชปจจัยการผลิต : กรณีตลาดปจจัยการผลิตเปนตลาดแขงขันสมบูรณ แตตลาดผลผลิตแขงขันไมสมบูรณ

Page 23: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทที่ 1 เศรษฐศาสตรคืออะไร (What is Economics)

เศรษฐศาสตรเปนวิชาท่ีคอนขางใหมเมื่อเทียบกับวิชารัฐศาสตร หรือวิชาสังคมมนุษยวิทยาหรือวิชาอื่นๆในสายสังคมศาสตร การศึกษาทางดานสังคมศาสตรสวนใหญเปนการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย ซึ่งแตละสาขาวิชาก็จะมองพฤติกรรมของมนุษยคนละแงคนละมุม โดยที่นักรัฐศาสตรการปกครองอาจมองพฤติกรรมของมนุษยในแงของการรวมตัวของคนกลุมตางๆ หรือนักสังคมมนุษยวิทยาอาจมองพฤติกรรมของมนุษยในแงของความแตกตางในดานวัฒนธรรมประเพณีของคนแตละกลุม สวนนักเศรษฐศาสตรก็อาจจะมองพฤติกรรมของมนุษยในแงของการทําใหเกิดความอยูดีกินดีของมนุษยในสังคม ซึ่งเกี่ยวของกับการทํามาหากินของมนุษยเราโดยตรง เมื่อคนเรามาอยูรวมกันก็มีการผลิต และการแลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกัน เพื่อสนองความตองการของมนุษยซึ่งมีอยูอยางไมจํากัด ในขณะที่ทรัพยากรการผลิตในโลกนี้มีอยูอยางจํากัด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรจึงเกิดข้ึนเพื่อนํามาใชแกไขปญหาเศรษฐกิจ ใหมีการใชทรัพยากรการผลิตอยางประหยัดเพื่อผลิตเปนสินคาและบริการใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และจําหนายผลผลิตไปใหผูคนใชบําบัดความตองการไดอยางทั่วถึง เพื่อความอยูดีกินดีของมนุษยชาติ เมื่อพิจารณาถึงวิชาเศรษฐศาสตรจะเห็นไดวาเศรษฐศาสตรเปนวิชาท่ีคอนขางใหม และเปนศาสตรคอนขางจะแปลกกวาศาสตรอื่น ๆ ท่ีอยูในสายสังคมศาสตร นั่นคือ เศรษฐศาสตรเปนทั้งสังคมศาสตรและในขณะเดียวกันก็ยังมีความเปนวิทยาศาสตรอยูในตัวดวย กลาวคือ ท่ี เปนสังคมศาสตร ก็เพราะวาเศรษฐศาสตรเปนวิชาท่ีศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย (human behavior)ในฐานะที่รวมกันอยูในสังคม มีการใชทรัพยากรรวมกัน และในขณะเดียวกันที่มองวาเศรษฐศาสตรเปนวิทยาศาสตรดวยก็เพราะวาเศรษฐศาสตรเปนวิชาท่ีศึกษาถึงเหตุผลตางๆที่มีตอกัน โดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร อันไดแก เครื่องมือทางคณิตศาสตรและสถิติเขาชวยในการวิเคราะหเหตุการณ หรือสถานการณตางๆที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมของมนุษยแลวสามารถสรางเปนทฤษฎีหรือกฏขึ้นมาได ทฤษฎีหรือกฏที่สรางขึ้นมาไดนี้สามารถนําไปใชเปนเครื่องมือทํานายเหตุการณหรือพยากรณเหตุการณท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนประโยชนตอการกําหนดนโยบาย หรือวางแผนในดานตางๆ

Page 24: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 2

1. ความหมายของเศรษฐศาสตร (Meaning of Economics)

เศรษฐศาสตร ภาษาอังกฤษใชคําวา “ economics ” ซึ่งมาจากภาษากรีกวา " oikos " ตามความหมายเดิม economics หมายถึงศาสตรท่ีเกี่ยวกับการจัดการครอบครัว (household management) ตอมาความหมายเศรษฐศาสตรไดรับการปรุงแตงจากนักเศรษฐศาสตรในแตละยุคแตละสมัย และเนื่องจากเศรษฐศาสตรเปนสาขาหนึ่งของสังคมศาสตร จึงเปนการยากที่จะใหคํานิยามแนชัดลงไปวาเศรษฐศาสตรมีความหมายวาอยางไร ท้ังนี้ข้ึนอยูกับวาจะมองสาระสําคัญของวิชานี้ไปในแงใด ความหมายของคําวาเศรษฐศาสตรตามคํานิยามของนักเศรษฐศาสตรหลายทาน มีดังตอไปนี้

1) Pual A. Samuelson ใหคําจํากัดความไวในหนังสือ Economics วา " เศรษฐศาสตร เปนศาสตรท่ีวาดวยวิธีการท่ีมนุษยและสังคมจะโดยมีการใชเงินหรือไมก็ตาม เพื่อท่ีจะเลือกใชทรัพยากรการผลิตท่ีมีอยูอยางจํากัด (ซึ่งอาจนําทรัพยากรนี้ไปใชอยางอื่นไดหลายทาง) เพื่อนําไปผลิตสินคาตางๆเปนเวลาตอเนื่องกัน และจําหนายจายแจกสินคาเหลานั้นไปยังประชาชนทั่วไปและกลุมคนในสังคมเพื่อการบริโภคทั้งในปจจุบันและอนาคต " 1

2) Alfred Marshall ใหคําจํากัดความไวในหนังสือ Principle of Economics : An introductory volume วา " เศรษฐศาสตร คือวิชาท่ีวาดวยการกระทําของมนุษยในการดํารงชีวิตธรรมดา ศึกษาวามนุษยหารายไดมาไดอยางไร และใชจายไปอยางไร ดังนั้นเศรษฐศาสตรจึงเปนวิชาท่ีวาดวยการศึกษาเรื่องเกี่ยวกับเศรษฐกิจประการหนึ่ง และที่สําคัญกวาก็คือเปนสวนหนึ่งของการศึกษาเรื่องของมนุษย " 2

3) Richard G. Lipsey, Peter O. Steiner and Douglas D. Purvis ใหคําจํากัดความไวในหนังสือ Economics วา " เศรษฐศาสตร เปนการศึกษาถึงวิธีการในการเลือกใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อสนองความตองการที่มีอยูไมจํากัดของมนุษย " 3

1 Pual A. Samuelson and William D. Nordhaus, Economics. ( 12 th. ed. ; New York : McGraw - Hill Book

Company,1983), P. 4.

2 Alfred Marshall , Principle of Economics : An introductory volume. (8 th. ed. ; London : Macmillan and

Company Limited,1966), P. 1.

3 Richard G. Lipsey, Peter O. Steiner and Douglas D. Purvis, Economics. (8 th. ed. ; New York : Haper & Row,

Publisher,1987), P. 3.

Page 25: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรคืออะไร

3

4) Roy J. Ruffin & Pual R. Gregory ใหคําจํากัดความไวในหนังสือ Principles of Economics วา " เศรษฐศาสตรเปนการศึกษาถึงวิธีการในการเลือกใชทรัพยากรท่ีอยูอยางจํากัดไปเพื่อการผลิต การแลกเปลี่ยน และการบริโภคสินคาและบริการ " 1

5) ปจจัย บุนนาค และสมคิด แกวสนธิ ใหคําจํากัดความไวในหนังสือ จุลเศรษฐศาสตร วา " เศรษฐศาสตร เปนวิชาท่ีศึกษาถึงการนําเอาทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัด มาซื้อขายแลกเปลี่ยนหรือนํามาประกอบกัน ผลิตเปนสินคาดวยความประหยัด และไปจําแนกแจกจายเพื่อบําบัดความตองการของมนุษยในสังคม " 2 6) วันรักษ มิ่งมณีนาคิน ใหคําจํากัดความไวในหนังสือ หลักเศรษฐศาสตรจุลภาค วา " เศรษฐศาสตร คือ ศาสตรท่ีศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหนทางในการใชทรัพยากรการผลิตอันมีอยูจํากัด สําหรับการผลิตสินคาและบริการเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด " 3 จากคํานิยามทั้งหลายของนักเศรษฐศาสตรเหลานี้พอสรุปไดวา " เศรษฐศาสตร คือวิชาที่ศึกษาถึงทางเลือกในการจัดสรรทรัพยากรการผลิตอันมีอยูอยางจํากัด เพ่ือนําไปผลิตเปนสินคาและบริการ แลวนําไปจําหนายจายแจกใหกับมนุษยในสังคมที่มีความตองการไมจํากัด ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและกอใหเกิดประโยชนสูงสุด "

2. เศรษฐศาสตรจุลภาคและเศรษฐศาสตรมหภาค (Microeconomics and Macroeconomics)

เศรษฐศาสตรจุลภาคเปนวิชาท่ีศึกษาเศรษฐกิจของหนวยยอยในเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภค การกําหนดราคาของสินคาแตละชนิด ศึกษาเรื่องตนทุนและปริมาณการผลิตสินคาของแตละอุตสาหกรรมในตลาดแบบตาง ๆ การกําหนดราคาของปจจัยการผลิตและในเรื่องผลตอบแทนของปจจัยการผลิต ตลอดไปจนถึงการศึกษากลไกตลาด และการใชระบบราคาเพื่อการจัดสรรสินคาและ

1 Roy J. Ruffin & Paul R. Gregory, Principles of Economics.(Illinois : Scott, Foresman and Company,1983),P.4.

2 ปจจัย บุนนาค และสมคิด แกวสนธิ, จุลเศรษฐศาสตร. (พิมพคร้ังที่ 11 ; กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

2534), หนา 3. 3 วันรักษ มิ่งมณีนาคิน, หลักเศรษฐศาสตรจุลภาค. (พิมพคร้ังที่ 9 ; กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2539), หนา 2.

Page 26: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 4

บริการหรือทรัพยากรอื่นๆ ทฤษฎีท่ีใชในการวิเคราะหเศรษฐศาสตรจุลภาคไดแก ทฤษฎีผูบริโภค ทฤษฎีการกําหนดราคาของปจจัยการผลิต ซึ่งทฤษฎีเหลานี้รวมกันเรียกวา ทฤษฎีราคา (price theory) สวนเศรษฐศาสตรมหภาคนั้น เปนการศึกษาหนวยเศรษฐกิจเปนสวนรวมทั้งระบบซึ่งเปนการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับรายไดประชาชาติ ระดับราคาสินคาและบริการโดยทั่วไป ศึกษาหาความสัมพันธระหวางรายได การบริโภค การออม และการลงทุน ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับระดับการจางงานโดยทั่วไป การใชจายของรัฐบาล การจัดเก็บภาษี การคลังสาธารณะ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ ทฤษฎีท่ีสําคัญในการศึกษาเศรษฐศาสตรมหภาค ไดแก ทฤษฎีการกําหนดรายไดและการจางงาน ซึ่งประกอบดวยทฤษฎีปลีกยอยตางๆอีกมากมายหลายทฤษฎี ตามแนวทางการศึกษาเศรษฐศาสตรมหภาคเนนใหรัฐบาลเขามามีบทบาทในการควบคุม และกําหนดนโยบายตางๆใหกับระบบเศรษฐกิจโดยสวนรวม เศรษฐศาสตรท้ังสองสวนนี้มีความเกี่ยวพันกันอยางใกลชิดซึ่งจะตองศึกษาใหเขาใจทั้งสองสวน ท้ังนี้เพราะวาการที่จะศึกษาและเขาใจพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจตางๆ เมื่อศึกษาในลักษณะรวม(aggregate) แลวจําเปนจะตองเขาใจพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจตาง ๆ ในแตละหนวย วามีลักษณะอยางไร แตท้ังนี้มิไดหมายความวา สิ่งท่ีเปนจริงในระบบยอยจะตองเปนจริงเสมอไปเมื่อศึกษาในลักษณะรวม ยกตัวอยางเชน นายแดงเปนพอคาท่ีผลิตสินคา A ออกมาขายเพิ่มมากขึ้นโดยสมมติใหสิ่งอื่น ๆ คงที่ ราคาสินคา A ยอมจะลดลง แตถาบังเอิญนายแดงเปนพอคาคนหนึ่งในจํานวนพอคาท่ีมีมากมายหลายคนที่ผลิตสินคา A ออกมาขายในตลาดทั้งประเทศ การศึกษาในลักษณะรวมอาจไมแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในระดับราคาสินคา A ก็ได ดังนั้นจึงควรที่จะมีความเขาใจในลักษณะของการศึกษาทั้งสองสวนนี้วา การศึกษาในลักษณะรวมไมใชเปนการรวมหนวยยอย ๆ เขาดวยกัน แตเปนการศึกษาในลักษณะที่เปนสวนยอยและสวนรวมของระบบเศรษฐกิจเทานั้น ซึ่งมีวัตถุประสงคของการศึกษาที่ไมเหมือนกัน

3. วิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร (Evolution of Economics)

แนวคิดทางดานเศรษฐศาสตรไดเริ่มข้ึนระหวางคริสตศตวรรษที่ 13-16 ซึ่งเปนระยะที่การคาทางยุโรปไดเจริญขึ้นหรือเปนระยะที่เกิดลัทธิพาณิชยนิยม (mercantilism) ข้ึนโดยมีแนวนโยบายการคาระหวางประเทศที่พยายามสงสินคาออกไปขายใหไดมากกวาท่ีจะสั่งสินคาเขามาและอาศัยอํานาจของรัฐบาลในการหาตลาดตางประเทศ วิชาเศรษฐศาสตรไดเริ่มเปนศาสตรจริงๆเมื่อ Adam Smith ไดเขียนหนังสือเศรษฐศาสตร เลมแรกของโลกชื่อ An Inquiry into Nature and Causes of the Wealth of Nation เมื่อป ค.ศ. 1776

Page 27: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรคืออะไร

5

วิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร อาจสรุปไดเปน 3 ระยะดวยกันคือ ระยะแรก เปนเศรษฐศาสตรตามแนวคิดของกลุมคลาสสิค (classical economics) ท่ีสนับสนุนใหประเทศตางๆมีระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ใหเสรีภาพแกภาคเอกชนในการผลิตและบริโภค โดยที่ภาครัฐบาลไมควรเขาไปยุงเกี่ยว หนาท่ีของรัฐบาลควรใหความสําคัญเกี่ยวกับมั่งค่ัง (wealth) และเรื่องการกินดีอยูดีหรือสวัสดิการ (welfare) นักเศรษฐศาสตรท่ีมีช่ือในยุคนี้คือ John Stuart Mill ซึ่งใหคํานิยามวิชาเศรษฐศาสตรวา "เปนศาสตรของการผลิตและการแบงสรรความมั่งค่ัง" ระยะที่ 2 เปนแนวความคิดของกลุม นีโอ-คลาสสิค(neo-classical economics) ซึ่งรับชวงตอจากแนวคิดของกลุมคลาสสิค แนวคิดของกลุมนี้ไดเสนอแนะใหใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดเพื่อการผลิตและกอใหเกิดประโยชนสูงสุด และไดกลายมาเปนเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตรจุลภาค(microeconomics) ตอมาในปลายคริสตศตวรรษที่ 19 นักเศรษฐศาสตรช่ือ Alfred Marshall ไดเขียนหนังสือช่ือ The Theory of Firm ซึ่งเปนที่มาของเศรษฐศาสตรจุลภาค ระยะที่ 3 เริ่มข้ึนในระยะที่ประเทศตางๆตองประสบกับปญหาการวางงานในชวงตอนตนคริสตศตวรรษที่ 20 นักเศรษฐศาสตรชาวอังกฤษชื่อ John Maynard Keynes ไดเสนอวิธีการแกปญหาการวางงาน โดยใชนโยบายการเงินและนโยบายการคลังไวในหนังสือช่ือ The General Theory of Employment Interest and Money ซึ่งเปนการอธิบายถึงการวางงานโดยทั่วๆไปเกิดข้ึนไดอยางไร และรัฐบาลสามารถใชนโยบายการเงินและการคลังเขาไปแกไขปญหาสภาวะเศรษฐกิจตกต่ําและปญหาการวางงานไดอยางไร แนวความคิดของ Keynes เกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจเปนลัทธิเสรีนิยมรูปใหม คือระบบเสรีวิสาหกิจ (free enterprise system) และทฤษฎีวาดวยการมีงานทํา (the theory of employment) ซึ่งเปนที่มาของเศรษฐศาสตรมหภาค (macroeconomics)

3.1 วิวัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตรในประเทศไทย 1

วิชาเศรษฐศาสตรของไทยเลมแรกเกิดข้ึนเมื่อ พระยาสุริยาวัตรไดเรียบเรียงข้ึนเปนหนังสือช่ือ "ทรัพยศาสตรเบื้องตน" และไดพิมพข้ึนเมื่อป พ.ศ. 2454 ซึ่งอธิบายทฤษฎีมูลคาตามแนวคิดของนักเศรษฐศาสตรกลุมคลาสสิค และไดยกตัวอยางประเทศไทยประกอบ แตรัฐบาลในสมัยนั้นขอรองไมใหเผยแพร จนกระทั่งหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองแลวจึงไดนํามาจัดพิมพข้ึน และใหช่ือใหมวา "เศรษฐศาสตรวิทยาภาคตน เลม 1" ในป พ.ศ. 2459 กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ไดเขียนหนังสือข้ึนช่ือวา "ตลาดเงินตรา" แตก็ยังมิไดมีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรกันโดยตรง จนกระทั่งไดมีการจัดตั้ง

1 ปรีดา นาคเนาวทิม, เศรษฐศาสตรจุลภาค 1. (พิมพคร้ังที่ 7 ; กรุงเทพ ฯ : ป.สัมพันธพาณิชย, 2530) , หนา 11-12.

Page 28: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 6

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมืองข้ึนเมื่อป พ.ศ. 2477 จึงไดมีการสอนวิชาเศรษฐศาสตรกันอยางจริงจังตามแนวหนังสือเศรษฐศาสตรของฝรั่งเศสเปนสวนใหญ การเรียนการสอนสมัยนั้นไดรวมอยูในหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรไดหยุดชะงักไประยะหนึ่งระหวางสงครามโลกครั้งท่ี 2 จนในที่สุดไดมีการแยกหลักสูตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมืองออกเปน 4 คณะดวยกัน คณะเศรษฐศาสตรก็เปน 1 ใน 4 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรจึงไดจัดใหมีการศึกษาวิชาตางๆในดานเศรษฐศาสตรในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทโดยตรง วิชาเศรษฐศาสตรไดรับการสนับสนุนมากขึ้นในระยะที่ประเทศไทยไดมีการวางแผนพัฒนาการเศรษฐกิจ ฉบับแรกเมื่อป พ.ศ. 2504 ซึ่งไดศึกษาขอบขายการลงทุนทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน และชักชวนใหชาวตางประเทศเขามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น รัฐบาลไดตั้งคณะกรรมการชุดตางๆเพื่อดําเนินงานทางดานพัฒนาเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนใหนักเศรษฐศาสตรเขามารวมงานกับรัฐบาลใน 2 ทางดวยกัน คือ แนวทางที่ 1 ใหนําความรู และวิธีการทางดานเศรษฐศาสตรการคลังและการเงินมาใชประกอบการบริหารงานดานการคลังรัฐบาลและการเงินของประเทศ โดยรัฐบาลยอมรับวิธีการทางดานเศรษฐศาสตรมากขึ้นกวาเดิม แนวทางที่ 2 ใหนําความคิดเห็นของนักเศรษฐศาสตรมาประกอบกัน และไดปรับปรุง พรอมท้ังจัดตั้งหนวยงานทางดานเศรษฐกิจ เชน จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สํานักงบประมาณ สํานักงานคณะกรรมการตรวจสอบการปฏิบัติเกี่ยวกับภาษีอากรและรายไดอื่นๆ ของรัฐ (สํานักงาน ก.ต.ภ.) เปนตน เพื่อปรับปรุงระบบการผลิต การคลัง และระบบภาษีอากรของประเทศตามแนวคิดทางดานเศรษฐศาสตร ปจจุบันวิชาเศรษฐศาสตรมีความจําเปนตอการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ จนไดรับการเผยแพรเพิ่มมากขึ้น และไดมีการเรียนการสอนวิชาเศรษฐศาสตรในระดับมัธยม วิทยาลัย และระดับมหาวิทยาลัย

4. ความสัมพันธระหวางเศรษฐศาสตรกับสาขาวิชาอื่นๆ

ความรูทางดานเศรษฐศาสตรสามารถที่จะนําไปประยุกตใชใหเขากับสาขาวิชาอื่นๆไดหรืออาจกลาวไดวาเศรษฐศาสตรมีความสัมพันธกับสาขาวิชาตาง ๆ มากมายดังตอไปนี้ 1) เศรษฐศาสตรกับบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตรศึกษาถึงธุรกิจตางๆเปนสวนรวมในฐานะท่ีเปนหนวยหนึ่งท่ีมีบทบาทสําคัญทางดานการผลิต การบริโภค การตลาด และการขนสง เพื่อจัดจําแนกแจกจายผลผลิตท่ีได สวนบริหารธุรกิจเปนการศึกษาเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจอยางมี

Page 29: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรคืออะไร

7

ประสิทธิภาพเพื่อใหมีกําไรสูงสุด และกอใหเกิดความเจริญเติบโต เศรษฐศาสตรกับบริหารธุรกิจจึงมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด นั่นคือ นักเศรษฐศาสตรท่ีดีจะตองเขาใจวิธีการดําเนินงานของนักธุรกิจ และนักธุรกิจที่ดีจะตองมีความรอบรูและใชความรูทางดานเศรษฐศาสตรติดตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศหรือของโลกไดเปนอยางดี 2) เศรษฐศาสตรกับรัฐศาสตร เศรษฐศาสตรนับไดวามีความสัมพันธกันอยางใกลชิดกับรัฐศาสตรการปกครอง เพราะการที่จะปกครองใหประเทศมีความมั่งค่ังและมั่นคงไดนั้นจะตองมีความเจริญทางเศรษฐกิจเปนรากฐาน ประชาชนมีความอยูดีกินดี หากประเทศชาติขาดความมั่นคงทางการเมือง ไมมีความสงบเรียบรอย โจรผูรายชุกชุม ผูคนระส่ําระสายไมเปนอันทํามาหากิน เศรษฐกิจของประเทศก็ยากที่จะมีเสถียรภาพและเจริญเติบโตได รัฐจะตองใชท้ังรัฐศาสตรและเศรษฐศาสตรในการบริหารบานเมืองเพื่อใหการเมืองและเศรษฐกิจ มีเสถียรภาพควบคูกันไป 3) เศรษฐศาสตรกับนิติศาสตร นิติศาสตรเปนเรื่องของกฎเกณฑท่ีมนุษยรวมกันสรางข้ึนมาเพื่อบังคับใหทุกคนปฏิบัติตามและใหมนุษยอยูรวมกันอยางมีความสุข ในการออกกฎหมายเพื่อใชบังคับในบางครั้งจะตองใชความรูทางดานเศรษฐศาสตรสนับสนุนเพื่อปองกันไมใหสังคมเดือดรอน เชน เมื่อเกิดภาวะเงินเฟอซึ่งมีผลทําใหราคาสินคาท่ัวไปสูงข้ึน คาของเงินลดลงทําใหผูมีรายไดประจําเดือดรอน ซึ่งเปนเรื่องราวทางดานเศรษฐศาสตร รัฐจะตองแกไขโดยการออกกฎหมายควบคุมราคาสินคาเพื่อปองกันไมใหประชาชนเดือดรอน 4) เศรษฐศาสตรกับสังคมวิทยา สังคมวิทยาเปนการศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษยในดานตางๆสังคมวิทยาจะชวยใหนักเศรษฐศาสตรเขาใจในพฤติกรรมของมนุษยเกี่ยวกับมูลเหตุจูงใจ บทบาทของสถาบัน การศึกษา ศาสนา ในสวนที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้นสังคมวิทยาและเศรษฐศาสตรจึงมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน 5) เศรษฐศาสตรกับประวัติศาสตร ประวัติศาสตรเปนการศึกษาถึงความเปนมาของเหตุการณตางๆที่เกิดข้ึนในอดีตท่ีเกี่ยวกับสังคมมนุษย ประวัติศาสตรจึงเปนเครื่องมือท่ีจะชวยใหการ ศึกษาทางดานเศรษฐศาสตรเขาใจไดดียิ่งข้ึนเพราะเศรษฐศาสตรก็มีวิวัฒนาการมาตามยุคสมัยเชนกัน 6) เศรษฐศาสตรกับศึกษาศาสตร การศึกษามีสวนชวยใหประชาชนเขาใจปญหาเศรษฐกิจวาเปนอยางไร ในขณะเดียวกันเศรษฐศาสตรก็มีสวนชวยใหการจัดการทางดานการศึกษาของชาติใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการจัดสรรทรัพยากรเพื่อใหการศึกษาแกประชากรของประเทศ นั่นคือ เศรษฐศาสตรกับศึกษาศาสตรจึงมีความสัมพันธตอกัน

Page 30: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 8

7) เศรษฐศาสตรกับจิตวิทยา จิตวิทยาศึกษาถึงสิ่งจูงใจที่ทําใหมนุษยแสดงพฤติกรรมตางๆออกมา สวนเศรษฐศาสตรก็สนใจที่จะศึกษาถึงพฤติกรรมมนุษยในสังคม เชน พฤติกรรมของผูบริโภค และพฤติกรรมของผูผลิต นั่นคือ ตางก็เปนการศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษยเหมือนกัน 8) เศรษฐศาสตรกับภูมิศาสตร ภูมิศาสตรเปนการศึกษาถึงสภาพดินฟา อากาศ ทําเลที่ตั้ง ความรูทางดานภูมิศาสตรจะชวยใหนักเศรษฐศาสตรสามารถวิเคราะหเรื่องตางๆไดดียิ่งข้ึน เชน การเลือกทําเลที่ตั้งแหลงผลิตสินคาวาจะตั้ง ณ บริเวณใดจึงจะชวยใหลดตนทุนการขนสงไดดีท่ีสุด เปนตน นอกจากนี้เศรษฐศาสตรยังมีความเกี่ยวของกับสาขาวิชาอื่นๆอีกมากมาย เชน คอมพิวเตอร สถิติ คณิตศาสตร การแพทย การสาธารณสุข วิศวกรรมศาสตร เกษตรศาสตร ฯลฯ

5. ประโยชนของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร

วิชาเศรษฐศาสตรเปนวิชาท่ีมีความสําคัญมากทั้งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต ท้ังนี้เพราะเศรษฐศาสตรเปนวิชาท่ีใหความรูตางๆซึ่งแทรกอยูและเปนประโยชนในชีวิตประจําวันของทุกคน ไมวาจะเปนผูบริโภค ผูผลิต เจาของปจจัยการผลิตหรือผูประกอบการ ซึ่งพอจะสรุปไดดังนี้

5.1 ฐานะผูบริโภค

ในฐานะที่เปนผูบริโภค เมื่อมีความรูความเขาใจในวิชาเศรษฐศาสตรจะทําใหเปนผูบริโภคที่มีความฉลาด กลาวคือ (1) รูจักใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดเพื่อการบริโภค โดยใชไปในทางที่ดีท่ีสุดจนกอใหเกิดประโยชนหรือความพอใจแกตนเองสูงสุด (2) สามารถจําแนกชนิดของสินคาและบริการที่มีประโยชนได เพื่อนํามาใชบําบัดความตองการของตนเองและของคนในครอบครัวไดดวยราคาที่ประหยัดท่ีสุด (3) สามารถประมาณการคาใชจายและกําหนดแผนการบริโภคการออมไดอยางเหมาะสมยิ่งข้ึน (4) สามารถคาดคะเนสถานการณทางเศรษฐกิจ เชน การเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาและบริการ และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆไดอยางถูกตองและมีเหตุผล

5.2 ฐานะผูผลิตและเจาของปจจัยการผลิต

ในฐานะที่เปนผูผลิตและเจาของปจจัยการผลิต หากเปนผูท่ีมีความรูความเขาใจในหลักของวิชาเศรษฐศาสตรจะทําใหเปนผูผลิตและเจาของปจจัยการผลิตท่ีมีความสามารถ กลาวคือ

Page 31: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรคืออะไร

9

(1) สามารถที่จะจัดสรร หรือแจกจายสินคาและบริการท่ีตนผลิตไดนั้นไปยังผูท่ีสมควรไดรับสินคานั้นมากที่สุด และตามความตองการของบุคคลเหลานั้น (2) สามารถคาดคะเนความตองการในวัตถุดิบ และปจจัยการผลิตอื่นๆไดถูกตอง ตลอดจนสามารถคาดคะเนความตองการของผูบริโภคในสินคาท่ีตนผลิต (3) สามารถประหยัดคาใชจายหรือลดตนทุนการผลิต ตลอดจนสามารถแขงขันกับบุคคลอื่นๆไดซึ่งจะมีผลทําใหการดําเนินธุรกิจของตนเปนไปดวยดี (4) สามารถเลือกใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดหรือทําใหเกิดผลตอบแทนสูงสุด

5.3 ฐานะผูกําหนดนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ

ในฐานะที่เปนผูกําหนดนโยบายเศรษฐกิจของประเทศชาติ หากเปนผูท่ีมีความรูทางดานเศรษฐศาสตรจะทําใหสามารถรอบรูและชวยใหตัดสินใจไดถูกตองยิ่งข้ึน นอกจากนั้นยังทําให (1) เขาใจปญหาทางเศรษฐกิจไดเปนอยางดี และสามารถนําไปใชในการกําหนดนโยบายและการแกไขปญหาทางเศรษฐกิจใหมีประสิทธิภาพจนกอใหเกิดประโยชนแกประเทศชาติยิ่งข้ึน (2) สามารถจัดลําดับความสําคัญของโครงการตางๆตามระดับความจําเปน และตามความตองการของประชาชนของประเทศ (3) สามารถจัดสรรทรัพยากรตาง ๆ เพื่อใหบริการแกทุกๆฝายไดอยางทั่วถึงเทาท่ีสามารถจะทําได (4) สามารถวางนโยบายทางเศรษฐกิจ เพื่อสรางความมั่งค่ังและความมั่นคงใหแกประเทศไดดียิ่งข้ึน

6. ลักษณะของวิชาเศรษฐศาสตร

วิชาเศรษฐศาสตรไมวาจะเปนเศรษฐศาสตรจุลภาคหรือเศรษฐศาสตรมหภาคอาจแบงออกไดเปน 2 ลักษณะดวยกัน กลาวคือ

6.1 เศรษฐศาสตรวิเคราะห (Economics Analysis or Positive Economics)

เศรษฐศาสตรวิเคราะห เปนลักษณะของวิชาเศรษฐศาสตรท่ีศึกษาถึงปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนโดยอาจเปนปรากฏการณท่ีเคยเกิดข้ึนในอดีต หรือท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน หรือเปนที่คาดหมายวาจะเกิดข้ึนในอนาคตวาปรากฏการณนั้นเปนอยางไร เกิดข้ึนไดอยางไร และมีผลเปนอยางไร โดยไมคํานึงถึงวาสิ่งเหลานั้นจะเปนที่พึงปรารถนาของสังคมหรือไมเพียงใด ตัวอยางเชน การศึกษาตลาด

Page 32: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 10

ผูกขาดก็จะเปนการเรียนรูวาลักษณะของตลาดผูกขาดเปนอยางไร ผูผลิตท่ีอยูภายใตตลาดผูกขาดมีอํานาจในการกําหนดปริมาณการผลิต หรือราคาสินคาท่ีตนผลิตอยูมากกวาผูผลิตท่ีอยูในตลาดแบบ อื่น ๆ ซึ่งกอใหเกิดผลกระทบตอผูบริโภคโดยทั่วไปและไมเปนที่พึงปรารถนาของสังคม เปนตน

6.2 เศรษฐศาสตรนโยบาย (Economics Policy or Normative Economics)

เศรษฐศาสตรนโยบาย เปนลักษณะของวิชาเศรษฐศาสตรท่ีศึกษาปรากฎการณตางๆวาเปนที่พึงปรารถนาของสังคมหรือไม เพียงใด และควรเขาไปแกไขอยางไร ซึ่งเปนการศึกษาเพื่อกําหนดแนวทางที่ถูกตอง หรือเปนการกําหนดนโยบายวาควรจะเปนเชนใด เชน กรณีการศึกษาตลาดผูกขาดในแนวของเศรษฐศาสตรนโยบายก็จะเปนการศึกษาวา พฤติกรรมของผูผูกขาดที่เปนอยูนั้นเปนสิ่งท่ีถูกตองและสมควรหรือไมเพียงใด หากการวิเคราะหช้ีใหเห็นวาพฤติกรรมดังกลาวนั้นเปนสิ่งไมเหมาะสม ดังนั้นแนวทางที่เหมาะสมควรจะเปนอยางไร การศึกษาเศรษฐศาสตรวิเคราะหเปนลักษณะของวิทยาศาสตร (science) แขนงหนึ่ง เพราะขอสรุปหรือกฎเกณฑท่ีไดจากการศึกษาเปนสิ่งท่ีสามารถทดสอบได และมีความเปนเหตุเปนผล สวนการศึกษาทางดานเศรษฐศาสตรนโยบายไมอาจถือเปนวิทยาศาสตรไดท้ังนี้เพราะในการศึกษาเศรษฐศาสตรนโยบายนั้นผูท่ีศึกษาจะตองนําเรื่องของจริยธรรม คุณธรรม และกฎเกณฑตางๆของสังคมเขามารวมพิจารณาดวย และการที่จะพิจารณาวาพฤติกรรมหนึ่งๆเปนพฤติกรรมที่ถูกตองเหมาะสมและเปนท่ีตองการของสังคมหรือไมเพียงใดนั้น เปนเรื่องท่ีจะตองใชวิจารณญาณสวนบุคคลเขามาเกี่ยวของอยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งความเหมาะสมในทัศนะของแตละบุคคลยอมแตกตางกันไป การกําหนดกฎเกณฑท่ีตายตัวจึงไมอาจกระทําได

7. วิธีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร (Methodology of Economics)

ในการศึกษาทางดานเศรษฐศาสตรสามารถที่จะแบงวิธีการศึกษาออกเปน 2 วิธี กลาวคือ

7.1 วิธีการอนุมาน (Deductive Method)

วิธีการอนุมานหรือเรียกวาวิธีนิรนัย เปนวิธีท่ีศึกษาหาผลจากสาเหตุ โดยเริ่มตนศึกษาจากการใชเหตุผลพิจารณาเรื่องราวท่ีตองการจะศึกษา และตั้งเปนสมมติฐาน (hypothesis) ข้ึนมากอน จากนั้นจึงพิจารณาหลักฐาน หรือขอมูลท่ีไดจากประสบการณท่ีเกิดข้ึนจริงมาประกอบเพื่อนําไปสรุปสมมติฐาน และตั้งเปนกฎหรือทฤษฎี วิธีการอนุมานเปนการศึกษาโดยการตั้งกฎหรือทฤษฎีไวกอนในรูปของสมมติฐาน แลวจึงไปศึกษาคนควาหาขอมูล ขอเท็จจริงมาชวยอธิบายเสริมกฎหรือทฤษฎีใน

Page 33: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรคืออะไร

11

ภายหลัง การสรางกฎหรือทฤษฎีในทางเศรษฐศาสตรโดยวิธีการอนุมานนี้จะมีข้ันตอนดวยกันอยู 3 ข้ันตอน กลาวคือ (1) การตั้งสมมติฐาน (hypothesis) (2) สรุปนัยสําคัญของสมมติฐานที่ตั้งไวเพื่อวางเปนกฎหรือทฤษฎีในทางเศรษฐศาสตร (3) ทดสอบวากฎหรือทฤษฎีท่ีตั้งข้ึนมานั้นใชไดหรือไม โดยการพิจารณาจากผลหรือขอเท็จจริงท่ีเกิดข้ึน หากขอเท็จจริงหรือผลสรุปที่เกิดข้ึนสวนใหญเปนไปตามกฎหรือทฤษฎีท่ีตั้งไว กฎหรือทฤษฎีดังกลาวก็ถูกตอง และสามารถนําไปใชประโยชนตอไปได

รูปที่ 1.1 การสรางทฤษฎีดวยวิธีการอนุมานและวงจรชีวิตของทฤษฎีเศรษฐศาสตร 1

7.2 วิธีการอุปมาน (Inductive Method)

วิธีการอุปมานหรือเรียกวาวิธีอุปนัย เปนวิธีการศึกษาเหตุจากผลซึ่งเปนวิธีการศึกษาที่ตรงกันขามกับวิธีอนุมาน กลาวคือ กอนที่จะตั้งเปนกฎหรือทฤษฎีข้ึนมาจะตองรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริง หรือปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนจริงอยางเปนระบบเสียกอน แลวจึงนําเอาขอมูลดังกลาวมาวิเคราะหหรือประมวลผลเพื่อท่ีจะสรุปเปนกฎหรือทฤษฎีตอไป หรืออาจกลาวไดวาการศึกษาโดยวิธีการอุปมานดังกลาวเปนการสรุปจากความจริงในสวนยอยหรือเปนการสืบหาขอเท็จจริงเสียกอนแลวจึงตั้งเปนกฎ

1 วันรักษ มิ่งมณีนาคิน, หลักเศรษฐศาสตรจุลภาค, หนา 7.

ทิ้งทฤษฎีที่ไมถูกตอง

การปรับปรุงทฤษฎีใหสมบูรณ หรือสรางทฤษฎีใหม

นิยาม ขอสมมติสมมติฐาน

สรุปสาระสําคัญโดยใชลําดับแหงเหตุผล

การทดสอบความถูกตองของทฤษฎี

การใชประโยชนจากทฤษฎีเพื่ออธิบายทํานาย และวางนโยบายแกไขปญหาเศรษฐกิจ

Page 34: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 12

หรือทฤษฎีข้ึนมา การสรางกฎหรือทฤษฎีโดยวิธีการอุปมานสามารถแบงข้ันตอนออกไดเปน 3 ข้ันตอน ดังนี้ (1) เก็บรวบรวมขอมูล หรือขอเท็จจริงตางๆในเรื่องท่ีตองการจะศึกษา (2) การหาขอสรุปจากขอมูลหรือขอเท็จจริงตางๆโดยการวิเคราะหหรือประมวลผลจะใชวิธีการทางสถิติ คณิตศาสตร หรือเศรษฐมิติเขาชวย แลวจึงสรุปเปนกฎหรือทฤษฎี (3) การทดสอบความถูกตองของกฎหรือทฤษฎี โดยใชวิธีการเชนเดียวกันกับการทดสอบในวิธีการอนุมาน อยางไรก็ตามการสรางกฎหรือทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรเปนการยากที่จะชี้ชัดลงไปวากฎหรือทฤษฎีใดไดมาจากการศึกษาโดยวิธีการอนุมานหรือวิธีการอุปมานซึ่งในบางครั้งการสรางกฎหรือทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรอาจจะตองใชวิธีการศึกษาทั้งวิธีการอนุมานและวิธีการอุปมานรวมกัน

8. เคร่ืองมือในการศึกษาทางเศรษฐศาสตร (Tools of Economic Analysis)

เนื่องจากเศรษฐศาสตรเปนทั้งสังคมศาสตรและในขณะเดียวกันก็เปนวิทยาศาสตรดวยนั้น ในการศึกษาทางเศรษฐศาสตรจึงตองอาศัยเครื่องมือทางคณิตศาสตรและสถิติเขาชวยในการอธิบายทฤษฎีใหชัดเจนเขาใจไดงายยิ่งข้ึน เครื่องมือในการศึกษาทางเศรษฐศาสตรจึงประกอบไปดวย

8.1 ฟงกชั่น (Function)

ฟงกช่ัน (function) เปนการแสดงความสัมพันธกันระหวางตัวแปรตั้งแต 2 ตัวข้ึนไป ซึ่งไดแกตัวแปรอิสระ (independent variables) จะอยูทางดานขวามือของฟงกช่ัน สวนตัวแปรที่อยูทางซายมือเรียกวาตัวแปรตาม (dependent variable) จะมีคาเปลี่ยนแปลงไปตามตัวแปรอิสระ เชน

QX = ƒ(PX,PY,I,T) .......................(1)

โดยท่ี QX = ปริมาณความตองการซื้อสินคา X PX = ราคาของสินคา X PY = ราคาของสินคา Y I = รายไดของผูบริโภค T = รสนิยมของผูบริโภค จากความสัมพันธในรูปของฟงกช่ันจะทําใหทราบถึงความสัมพันธวาปริมาณความตองการซื้อสินคา X ข้ึนอยูกับ ราคาของสินคา X ราคาของสินคา Y รายไดของผูบริโภค และรสนิยมของ

Page 35: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรคืออะไร

13

ผูบริโภคตามลําดับ แตไมสามารถระบุทิศทางไดอยางชัดเจนวาความสัมพันธระหวางตัวแปรตามกับตัวแปรอิสระเปนไปในทิศทางใด และเปนอยางไร

8.2 สมการ (Equation)

สมการ (equation) เปนการแสดงความสัมพันธกันระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามโดยสามารถระบุทิศทาง และกําหนดคาความสัมพันธไดอยางแนนอน ซึ่งลักษณะความสัมพันธอาจจะเปนเสนตรงหรือเสนโคงใด ๆ ก็ได เชน

QX = 20 - 5PX .......................(2)

การอธิบายในทางเศรษฐศาสตรบางครั้งตองอาศัยสมการชวยในการอธิบาย เชน กรณีนี้ปริมาณความตองการซื้อสินคา X (QX) ข้ึนอยูกับราคาสินคา X (PX) ถา PX= 2 บาทตอหนวย ปริมาณความตองการซื้อ X จะเทากับ 10 หนวย

8.3 ตารางตัวเลข (Schedule)

ตารางตัวเลข (schedule) เปนตารางที่แสดงตัวเลขที่ไดจากความสัมพันธในรูปของฟงกช่ันและสมการซึ่งเปนการอธิบายใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆในเชิงตัวเลข ยกตัวอยางเชน ความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงราคาสินคา X (PX) จะมีผลทําใหปริมาณความตองการซื้อสินคา X (QX) เปลี่ยนแปลงไปอยางไร จากสมการที่ (2) จะไดตัวเลข ดังตารางที่ 1.1

ตารางที่ 1.1 แสดงความสัมพันธระหวางราคาสินคา X กับปริมาณความตองการซื้อสินคา X

PX

(บาท/kg) QX

(kg) 1 2 3

15 10 5

8.4 กราฟ (Graph)

Page 36: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 14

กราฟ (graph) ในการอธิบายทฤษฎีตางๆ หรือการแสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรใดๆ ในทางเศรษฐศาสตรมีความจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองอาศัยรูปภาพชวยอธิบาย เพื่อใหเกิดความเขาใจงายและชัดเจนยิ่งข้ึน ยกตัวอยางเชน จากตัวเลขในตารางที่ 1.1 เราสามารถนําตัวเลขมาสรางเปนรูปกราฟไดดังรูปที่ 1.2

รูปที่ 1.2 แสดงเสนปริมาณความตองการซื้อสินคา X

8.5 คาความชัน (Slope)

คาความชัน (slope) ของเสนใดๆ หมายถึง อัตราสวนการเปลี่ยนแปลงในแนวแกนตั้งตอการเปลี่ยนแปลงในแนวแกนนอน ถากําหนดใหแกนตั้งคือ ราคาของสินคา X (PX) และแกนนอนคือ ปริมาณของสินคา X (QX) ดังนั้น สูตรการหาคาคาความชัน (slope) สามารถเขียนไดดังนี้

Slope X

X

PQ

Δ

โดยท่ี

ΔPX = การเปลี่ยนแปลงของราคาสินคา X

ΔQX = การเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินคา X เมื่อกําหนดใหเสนความตองการซื้อสินคา X หรือเสนดีมานดสําหรับสินคา X คือ เสน DX ดังรูปที่ 1.3

QX(kg)

PX(บาท/kg)

DX

3

2

1

0 5 10 15

Page 37: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรคืออะไร

15

(ก) (ข)

รูปที่ 1.3 แสดงการหาความชันของเสนใด ๆ

ความชัน(slope)ของเสนตรงใดๆจะมีคาคงที่ตลอดทั้งเสน แตสําหรับความชันของเสนโคงแลว จะมีคาไมเทากันตลอดทั้งเสน ความชัน ณ จุดใดบนเสนโคงจะมีคาเทากับความชันของเสนตรงที่ลากสัมผัสกับเสนโคงนั้น ๆ เชน ความชันของเสนโคง ณ จุด A ในรูป (ข) จะมีคาเทากับความชันของเสนตรงที่ลากสัมผัสกับเสนโคง ณ จุด A ดังนั้นการศึกษาในทางเศรษฐศาสตรเพื่อวิเคราะหถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงจึงจําเปนตองอาศัยคาของความชัน(slope)ชวยในการอธิบาย

8.6 คารวม คาเฉลี่ย และคาสวนเพ่ิมหนวยสุดทาย (Total , Average and Marginal Value)

การศึกษาที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตางๆในทางทางเศรษฐศาสตร เราสามารถวัดออกมาเปนตัวเลขไดในหลายรูปแบบเชน วัดออกมาเปนคารวม คาเฉลี่ย และคาสวนเพิ่มหนวยสุดทาย กลาวคือ 1) คารวม (Total Value) คือ คาท่ีไดจากการรวมคาตัวแปรอิสระตางๆที่เกิดข้ึนทั้งหมดเชน รายไดรวม ตนทุนการผลิตรวม รายจายเพื่อการบริโภครวม กําไรรวม เปนตน 2) คาเฉลี่ย(Average Value) คือ อัตราสวนของคารวมตอหนวยท่ีเกิดข้ึนในตัวแปรอิสระ เชน รายรับเฉลี่ยตอหนวย ตนทุนเฉลี่ยตอหนวย คาใชจายในการบริโภคเฉลี่ยตอเดือน เปนตน 3) คาสวนเพ่ิมหนวยสุดทาย (Marginal Value) คือ การพิจารณาวาเมื่อตัวแปรอิสระไดเปลี่ยนแปลงไปจากคาเดิม 1 หนวยแลวจะทําใหตัวแปรตามจะเปลี่ยนแปลงไปจํานวนเทาใด หรือก็คือ

PX

ΔPX

A

ΔPX

DX

ΔQX

QX O

QX DX

ΔQX

PX

O

Page 38: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 16

คาความชันของเสนตรงหรือของเสนโคงนั่นเอง ในการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรนิยมท่ีจะ วิเคราะหถึงคาสวนเพิ่มหนวยสุดทายเพื่อดูถึงการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่กําลังศึกษานั้น ๆ เชน ตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MC) รายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MR) ความโนมเอียงในการบริโภคหนวยสุดทาย (MPC) และความโนมเอียงในการออมหนวยสุดทาย (MPS) เปนตน

8.7 คาสูงสุดและคาตํ่าสุด (Maximum and Minimum Value)

ในการวิเคราะหทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรสวนใหญโดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานเศรษฐศาสตรจุลภาคนิยมท่ีจะวิเคราะหถึงคาสูงสุดและต่ําสุด ซึ่งในที่นี้จะขอแยกพิจารณาดังนี้ 1) คาสูงสุด (Maximum Value) เราสามารถหาคาสูงสุดไดโดยวิธีการทางแคลคูลัส และรูปกราฟ เชน สมมติใหสมการ TR เปนดังนี้

TR = 10 + 12Q - Q2 ........................(3)

ณ จุดท่ีสูงสุดของเสน TR คา slope ของเสน TR = 0

หา first order condition โดยการ dif. คา TR เทียบกับ Q ก็จะได

dTRdQ = 0

dTRdQ = 12 - 2Q = 0 .......................(4)

2Q = 12

∴ท่ีปริมาณ Q = 6 หนวย TR จะมีคาสูงสุด เพื่อเปนการตรวจสอบวา ณ ท่ี Q = 6 จะเปนคาสูงสุดหรือต่ําสุด ข้ันตอนตอไปจะตองหาคา second order condition โดยการ dif. ครั้งท่ีสองในสมการที่ไดจากการ dif. ครั้งแรก หรือ dif. สมการที่ (4) เทียบกับ Q แลวดูเครื่องหมายที่ออกมา ถามีคาเปนบวกก็แสดงวาเปนคาต่ําสุด แตถามีคาเปนลบก็แสดงวาเปนคาสูงสุด จาก (4) จะไดคา second order เทากับ

2

2d TRd Q

= -2

Page 39: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรคืออะไร

17

คาของ 2

2d TRd Q

มีคาติดลบแสดงวา TR ท่ี Q = 6 ซึ่งมี slope = 0 เปนคาสูงสุด

นอกจากจะหาคาสูงสุดโดยวิธีแคลคูลัสแลวเรายังสามารถหาไดจากรูปกราฟอีกทางหนึ่งดังรูปที่ 1.4

รูปที่ 1.4 แสดงคาสูงสุด

จากรูปที่ 1.4 เมื่อกําหนดใหเสน TR คือเสนรายรับรวม และกําหนดให Q คือปริมาณผลผลิต คารายรับรวมสูงสุดจะอยูท่ีจุด P หรือ ท่ีระดับผลผลิตเทากับ Q1 ณ จุด P คา slope ของเสน TR = 0 พอดี 2) คาตํ่าสุด (Minimum Value) ในการหาคาต่ําสุดก็เชนเดียวกันเราสามารถหาคาไดโดยวิธีทางแคลคูลัส และจากรูปกราฟ เชน สมมติใหสมการ AC = 500 - 30Q + 1.5 Q2 ......................(5) slope ของ AC ณ จุดต่ําสุดจะตองเทากับศูนย

หา first order condition โดยการ dif. คา AC เทียบกับ Q จะได

dACdQ = -30 + 3Q = 0 ......................(6)

คา Q จากสมการที่ (6) จะได Q = 10 เพื่อตรวจสอบวา ณ ท่ี Q = 10 หนวย AC จะเปนคาสูงสุดหรือต่ําสุด ข้ันตอนตอไปจะตองหาคา second order condition โดยการ dif. ครั้งท่ีสองในสมการที่ไดจากการ dif. ครั้งแรกเทียบกับ Q หรือ dif. สมการ (6) เทียบกับ Q แลวดูเครื่องหมายที่ออกมา ถามีคาเปนบวกก็แสดงวาเปนคาต่ําสุด แตถามีคาเปนลบก็แสดงวาเปนคาสูงสุด

P

TR

TR slope = 0

Q Q1 O

Page 40: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 18

หา second order condition จากสมการที่ (6) จะไดวา

2

2d ACd Q

= 3

∴ ณ ท่ีปริมาณผลผลิตเทากับ 10 หนวย ตนทุนเฉลี่ยจะต่ําสุด นอกจากจะหาคาต่ําสุดโดยวิธีแคลคูลัสแลวเรายังสามารถหาไดจากกราฟอีกทางหนึ่งดังรูปที่ 1.5

รูปที่ 1.5 แสดงคาต่ําสุด

จากรูปที่ 1.5 กําหนดให AC คือตนทุนเฉลี่ยตอหนวย และ Q คือปริมาณผลผลิต ตนทุนเฉลี่ยตอหนวยต่ําท่ีสุดจะอยูท่ีจุด D หรือ ณ ปริมาณผลผลิตเทากับ Q2 คาความชัน (slope) ของเสน AC = 0 ในการวิเคราะหถึงคาสูงสุดหรือต่ําสุดโดยการ dif. ทางแคลคูลัส เมื่อเราทราบแลววาคาความชัน(slope)ของเสนโคงท่ีมีคาสูงสุดหรือต่ําสุดจะมีคาเทากับศูนย แตเรายังไมอาจจะทราบไดอยางแนชัดวาจุดดังกลาวนั้นเปนจุดสูงสุด หรือเปนจุดต่ําสุด เพราะตางก็มีคาความชันเทากับศูนยเหมือนกัน(slope = 0) ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะตองพิสูจนโดยการ dif. ครั้งท่ีสองในสมการที่ ไดจากการ dif. ครั้งแรกเพื่อดูเครื่องหมายที่ได หรือดูการเปลี่ยนแปลงของคาความชันหลังจากที่ถึงจุดสูงสุดหรือต่ําสุดแลว ถาคาท่ีไดมีคาเปนบวกก็แสดงวา ณ จุดนั้นเปนจุดต่ําสุดเพราะเมื่อถึงจุดต่ําสุดแลวเมื่อตัวแปรอิสระเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึนอีกหนึ่งหนวยคาความชันของเสนจะเริ่มมีคาเปนบวก แตถาคาท่ีไดมีคาเปนลบก็แสดงวาจุดนั้นเปนจุดสูงสุดเพราะเมื่อถึงจุดสูงสุดแลวเมื่อตัวแปรอิสระเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึนอีกหนึ่งหนวยคาความชันของเสนนั้นจะเริ่มมีคาเปนลบ

slope = 0

AC AC

D

Q O Q2

Page 41: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทที่ 2 ความรูเบื้องตนในการศึกษาเศรษฐศาสตร

(Basic Knowledge of Economics) การศึกษาในวิชาเศรษฐศาสตร ถาจะใหเขาใจอยางลึกซึ้งแลวจําเปนจะตองเขาใจถึงขอสมมติ(assumption) และความหมายของศัพทเฉพาะ (technical terms) ตางๆในทางเศรษฐศาสตรเสียกอน เพราะไมเชนนั้นอาจทําใหผูท่ีศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรเกิดความสับสนได ดังนั้นในบทนี้จึงตองการที่จะทําความเขาใจเกี่ยวกับขอสมมติ คําศัพทเฉพาะตางๆในทางเศรษฐศาสตรดังตอไปนี้ กลาวคือ

1. ขอสมมติ (Assumption)

การศึกษาทฤษฎีในทางเศรษฐศาสตรใหเขาใจนั้นจะตองทราบถึงเงื่อนไขหรือขอสมมติเสียกอน เพราะไมเชนนั้นอาจจะทําใหเกิดความเขาใจผิดวา ทําไมเหตุการณตางๆที่เกิดข้ึนจึงไมเปนไปตามทฤษฎีท่ีกลาวอางเลย การสรางทฤษฎีใด ๆ ก็ตามในทางเศรษฐศาสตรนั้นจําเปนจะตองมีเงื่อนไขมีขอสมมติเปนสําคัญ เพราะปรากฎการณตางๆที่เกิดข้ึนในสังคมมีข้ันตอนและกระบวนการที่สลับซับซอนมาก เราไมสามารถที่ทําการศึกษาไดทุกแงทุกมุม เนื่องจากปจจัยตางๆทางสังคมเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลาจึงยากที่จะศึกษาไปพรอมๆกันทุกตัว ดังนั้นจึงมีการต้ังขอสมมติข้ึนมาเพื่อชวยใหการศึกษาสามารถอธิบายไดงายและสะดวกยิ่งข้ึน ทฤษฎีในทางเศรษฐศาสตรท่ีศึกษากันมานั้นไมไดเปนจริงในทุกกรณีแตจะเปนจริงในบางกรณีหรือภายใตเงื่อนไขหรือขอสมมติท่ีมีอยูเทานั้น อยางไรก็ตามทฤษฏีใดๆในทางเศรษฐศาสตรก็ยังสามารถที่จะอธิบายหรือคาดคะเนพฤติกรรมของคนในสังคมไดตราบใดที่ยังไมมีทฤษฎีใหมๆ มาหักลางทฤษฎีเดิมและเมื่อใดที่มีทฤษฎีใหมข้ึนมาอธิบายและสามารถหักลางทฤษฎีเดิมได ทฤษฎีเดิมก็จะถูกยกเลิกไปในที่สุด

Page 42: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 20

ขอสมมติในวิชาเศรษฐศาสตร จึงหมายถึง การกําหนดเงื่อนไขหรือกําหนดขอตกลงเพื่อใหการศึกษาวิเคราะหทฤษฎีในทางเศรษฐศาสตรเปนไปอยางมีเหตุผลและงายตอการเขาใจ ดังนั้นขอสมมติในทางเศรษฐศาสตรจึงสามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภทใหญ ๆ คือ 1

1.1 ขอสมมติเกี่ยวกับพฤติกรรมของแตละบุคคล

ขอสมมติเกี่ยวกับพฤติกรรมของแตละบุคคล สามารถแยกพิจารณาไดเปน 2 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 เปนกรณีท่ีบุคคลอยูในฐานะผูบริโภค เราจะตั้งขอสมมติวาผูบริโภคทุกคนมีรายไดคงที่ และมีความตองการที่จะไดรับความพอใจสูงสุดจากการบริโภคสินคาและบริการและการที่ผูบริโภคจะไดรับความพอใจสูงสุดนั้นจะตองมีขอสมมติตอไปอีกคือ (1) ผูบริโภคทุกคนเปนผูท่ีมีเหตุผล กลาวคือ ถาตั้งใจจะซื้อสินคาชนิดใดแลวพอไปถึงรานคาจะไมเปลี่ยนใจไปซื้อสินคาอื่น ๆ (2) ผูบริโภคมีรสนิยมคงที่ กลาวคือ ผูบริโภคสามารถที่จะเปรียบเทียบความพอใจจากการบริโภคสินคาและบริการแตละชนิดได หรือสามารถที่จะจัดลําดับความสําคัญของสินคาแตละชนิดได กรณีที่ 2 เปนกรณีท่ีบุคคลอยูในฐานะผูผลิต ขอสมมติท่ีเราตั้งก็คือผูผลิตทุกคนตองการแสวงหากําไรสูงสุด (maximize profit) เปนที่ตั้ง

1.2 ขอสมมติที่เกี่ยวของกับสภาพของโลกหรือสภาวะแวดลอม

ขอสมมติท่ีเกี่ยวของกับสภาพของโลกหรือสภาวะแวดลอม เชน สภาพทางภูมิศาสตร ตลอดจนสภาพทางธรรมชาติ ซึ่งอาจจะแตกตางกันในแตละทองถิ่น ขอสมมติประเภทนี้มักจะเปนขอสมมติเกี่ยวกับขอเท็จจริง (facts) ตางๆ เชน ธรรมชาติจะเปนสิ่งกําหนดฤดูกาลในการเก็บเกี่ยวผลผลิต ขอสมมติเหลานี้จะนําไปสูขอสมมติท่ีวาทรัพยากรตาง ๆ ยอมมีความขาดแคลนเมื่อเปรียบเทียบกับความตองการของมนุษย

1.3 ขอสมมติที่เกี่ยวกับความสัมพันธของสถาบันตาง ๆ

ขอสมมติท่ีเกี่ยวกับความสัมพันธของสถาบันตางๆ เชน ความสัมพันธระหวางสถาบันเศรษฐกิจกับสถาบันการเมืองโดยมีขอสมมติในระบบเศรษฐกิจที่มีการเมืองมั่นคงหรือมีเสถียรภาพการ

1 Alfred W. Stonier and Douglas C. Hague, A Textbook of Economic Theory. (3rd. ed, ; London : Longman Group Limited, 1964), pp.1-4.

Page 43: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความรูเบื้องตนในการศึกษาเศรษฐศาสตร 21

พัฒนาทางเศรษฐกิจจึงจะเปนไปอยางราบรื่น แตถาหากสถาบันการเมืองใดไมมีเสถียรภาพแลวยอมมีผลกระทบตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

2. คําศัพทเฉพาะในวิชาเศรษฐศาสตร (Technical Terms)

ในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรมีความจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองเขาใจความหมายของคําศัพทเฉพาะกอน แลวจึงจะศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรไดอยางเขาใจ คําศัพทเฉพาะในวิชานี้ท่ีจําเปนไดแก

2.1 ทรัพยากรการผลิต (Productive Resource)

ทรัพยากรการผลิต (productive resource) หรือปจจัยการผลิต (factors of production) หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถนํามาสรางหรือนํามาประกอบกันขึ้นเปนเศรษฐทรัพย(economic goods) หรือสินคาและบริการ (goods & service) ทรัพยากรการผลิตสามารถแยกพิจารณาตามลักษณะของทรัพยากรไดเปน 2 ประเภท กลาวคือ 1) ทรัพยากรการผลิตที่มีตัวตน เปนสิ่งท่ีสามารถจับตองได และมีรูปรางทางกายภาพที่แนนอนซึ่งสามารถมองเห็นได เชน ทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources) ตางๆ ทรัพยากรการผลิตตาง ๆ ท่ีมนุษยสรางขึ้นมา (man made resources) และรวมไปถึงทรัพยากรมนุษย (human resources) ดวย 2) ทรัพยากรที่ไมมีตัวตนสัมผัสไมได เปนสิ่งท่ีไมมีตัวตนและสัมผัสไมไดแตสามารถใหผลผลิตหรือกอใหเกิดผลผลิตได เชน ความสามารถในการประกอบการ ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และความรูในการจัดองคการและการบริหารงาน ถึงแมทรัพยากรการผลิตหรือปจจัยการผลิตจะแบงออกไดเปน 2 ประเภทก็ตาม แตในทางเศรษฐศาสตรถือวาทรัพยากรการผลิตหรือปจจัยการผลิตเหลานี้สามารถแบงออกเปน 4 ประเภทคือ

1) ที่ดิน (Land) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติท้ังหมดที่อยูบนพื้นดินและอยูใตดิน เชน พื้นดิน แรธาตุ น้ํา ปาไม รวมไปถึงสภาพดินฟาอากาศดวย ผลตอบแทนจากการใชปจจัยท่ีดิน ก็คือ คาเชา (rent) 2) ทุน (Capital) หมายถึง สิ่งท่ีมนุษยสรางขึ้นมาเพื่อใชรวมกับปจจัยการผลิตอื่นๆในการผลิตสินคาและบริการ ตามความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร คําวาทุนยังสามารถแบงออกไดเปน 2 รูปแบบ กลาวคือ (1) สินคาประเภททุน (capital goods) ซึ่งหมายถึง เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณการผลิตตางๆที่มนุษยคิดคนสรางขึ้นมาเพื่อชวยในการผลิต

Page 44: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 22

(2) เงินทุน (money capital) ซึ่งหมายถึง รายไดในสวนที่บุคคลเก็บออมเอาไวสําหรับการลงทุนหรือสําหรับหาซื้อสินคาประเภททุน โดยท่ัวไปแลวหากกลาวถึงทุน (capital) สวนใหญจะใหความสนใจไปที่สินคาประเภท (capital goods) เปนหลัก แตในการวัดผลตอบแทนของปจจัยทุน (capital) จะวัดออกมาในรูปของผลตอบแทนจากการใชเงินทุน ก็คือ ดอกเบี้ย (interest) 3) แรงงาน (Labor) หมายถึง ความสามารถในดานแรงกาย แรงความคิด ตลอดจนถึงความชํานาญ (skills) ของมนุษยท่ีใชไปในการผลิตสินคาและบริการ หรือเราอาจถือไดวาแรงงานเปนทรัพยากรมนุษย (human resource) ในดานประสิทธิภาพการผลิตของแรงงานนั้นขึ้นอยูกับคุณภาพของกําลังแรงงาน เชน ความแข็งแรงสมบูรณของรางกาย การศึกษา ความรับผิดชอบ ตลอดจนความชํานาญในการผลิต ผลตอบแทนจากการใชประโยชนแรงงานก็คือ คาจาง (wage) 4) ผูประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง ผูท่ีทําหนาท่ีรวบรวมปจจัยการผลิตตางๆซึ่งไดแก ท่ีดิน ทุน และแรงงาน เพื่อทําการผลิตเปนสินคาและบริการ ผลตอบแทนที่ผูประกอบการไดตัดสินใจดําเนินธุรกิจ หรือตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุนในกิจการ ก็คือ กําไร (profit) ซึ่งกําไรที่ผูประกอบการไดรับ อาจจะมีคาเปนบวกหรือเปนลบก็ได ถามีคาเปนบวกแสดงวากิจการนั้นไดรับกําไร แตถามีคาติดลบแลวแสดงวากิจการนั้นขาดทุน

2.2 สินคาและบริการ (Goods and Services)

สินคาและบริการเปนสิ่งท่ีสามารถสรางความพอใจหรือสามารถตอบสนองความตองการของมนุษยได แตจะแตกตางกันตรงที่วาสินคาเปนสิ่งท่ีมีตัวตน สวนการบริการนั้นเปนสิ่งท่ีไมสามารถจับตองไดแตสามารถสรางความพอใจใหกับผูบริโภคหรือผูใชบริการได อยางไรก็ตามสินคาและบริการในทางเศรษฐศาสตรยังสามารถที่จะแบงยอยออกไดเปน 2 ประเภทไดแก 1) ทรัพยเสรี (Free Goods) เปนสิ่งท่ีมีอยูตามธรรมชาติ ทุกคนสามารถใชประโยชนโดยไมตองมีการซื้อขายกัน เชน น้ําในแมน้ํา อากาศ แสงแดด และน้ําในทะเล เปนตน 2) เศรษฐทรัพย (Economic Goods) คือสินคาและบริการทุกชนิดท่ีมนุษยสรางขึ้นมาโดยมีตนทุนการผลิตและมีปริมาณจํากัดเมื่อเทียบกับความตองการของมนุษยในสังคม ดังนั้นจึงตองมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนกันจึงจะไดสินคาและบริการเหลานั้นมาเพื่อการบริโภค

Page 45: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความรูเบื้องตนในการศึกษาเศรษฐศาสตร 23

2.3 การผลิต (Production) และประโยชนในทางเศรษฐกิจ (Utility)

การผลิต หมายถึง การนําเอาทรัพยากรการผลิตหรือปจจัยการผลิตตาง ๆ มาประกอบกันหรือแปรสภาพ หรือเปลี่ยนแปลงเพื่อใหไดเปนสินคาและบริการเพื่อตอบสนองความตองการหรือสรางประโยชนทางเศรษฐกิจ (utility) ใหกับผูบริโภคได การผลิตนอกจากจะเปนการเปลี่ยนแปลงหรือแปรสภาพปจจัยการผลิต (input factors) แลว ยังรวมถึงการสรางประโยชนทางเศรษฐกิจในรูปแบบตาง ๆ ดวย กลาวคือ 1) การเปลี่ยนแปลงสภาพ (Form Utility) คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพของปจจัยการผลิตใหอยูในรูปของสินคามีพรอมจะใหบริโภคได เชน การเปลี่ยนแปลงสภาพจากแปงใหเปนขนมปงเปนการสรางประโยชนทางเศรษฐกิจใหแกผูบริโภค จึงถือเปนการผลิตดวย 2) การเปลี่ยนสถานที่ (Place Utility) คือ การขนยายสินคาและบริการจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง แลวกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจแกผูบริโภค เชนการขนยายทุเรียน มังคุด จากภาคตะวันออกมาขายที่เชียงใหมทําใหผูบริโภคที่เชียงใหมไดรับประโยชนจากการเปลี่ยนสถานที่จึงถือวาเปนการผลิตอยางหนึ่ง 3) การเปลี่ยนระยะเวลา (Time Utility) คือการเก็บรักษาสินคาใหพรอมท่ีจะสนองความตองการแกผูบริโภค เชนการเก็บรักษาสินคาเกษตรไวขายนอกฤดูกาล หรือการเก็บรักษาเพื่อนํามาขายในเวลาที่สินคาดังกลาวขาดแคลน การเปลี่ยนระยะเวลาเปนการสรางประโยชนทางเศรษฐกิจ ในระยะเวลาที่แตกตางกัน จึงถือเปนการผลิตดวย 4) การใหบริการ (Service) บริการเปนสิ่งท่ีไมมีตัวตน แตสามารถสรางความพอใจใหกับผูไดรับบริการได เชน การบริการอาบอบนวด การบริการทางการแพทย การบริการขนสง การสอนหนังสือของครู ฯลฯ สิ่งเหลานี้เปนการสรางผลประโยชนทางเศรษฐกิจใหกับผูรับบริการ ดังนั้นจึงถือเปนการผลิตดวย

2.4 การบริโภค (Consumption)

การบริโภคตามความรูสึกของคนทั่วไปจะหมายถึงการรับประทานสินคาเทานั้น แตในทางเศรษฐศาสตรการบริโภคมีความหมายกวางกวา กลาวคือ ในทางเศรษฐศาสตรการบริโภค หมายถึง การท่ีนําเอาสินคาและบริการมาใชประโยชนไมวาจะอยูในรูปของการรับประทานหรือการใชประโยชนเพื่อสนองความตองการของตนเองซึ่งอาจจะทําใหสินคาและบริการนั้นเสื่อมไปตามระยะเวลาการใชงานหรือสูญสิ้นไปก็ได เชน การบริโภคอาหาร การใชบริการทางการแพทย การใชบริการรถประจํา

Page 46: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 24

ทาง การใชประโยชนจากรองเทา ฯลฯ การกระทําตาง ๆ เหลานี้ถือเปนการบริโภคสินคาและบริการท้ังสิ้น

2.5 ความตองการ (Wants)

ความตองการของมนุษยคือความอยากหรือความปรารถนาที่จะไดมาซึ่งทรัพยสินเงินทองหรือสินคาและบริการเพื่อท่ีจะใหตนอยูไดอยางมีความสุข หรือไดรับความพอใจ หรือถาจะอางตามหลักพระพุทธศาสนาแลวความตองการของมนุษยก็คือ กิเลส ตัณหาของมนุษยนั่นเอง ความตองการของมนุษยโดยทั่วไปแลวจะเปนความตองการที่ไมมีท่ีสิ้นสุด (unlimited wants) เชนไดทรัพยสินเงินทองมา 10 ลานยังไมพออยากจะไดเพิ่มอีกเปน 100 ลานบาท เมื่อไดมา 100 ลานบาทยังไมพออยากจะไดเพิ่มอีกเปน 1,000 ลานบาท ไปเรื่อยๆไมมีท่ีสิ้นสุดซึ่งจะขัดแยงกับหลักการมีทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด จากจุดนี้เองจึงกอใหเกิดวิชาเศรษฐศาสตรข้ึนมา

2.6 เสนความเปนไปไดในการผลิต (Production Possibility Curve: PPC)

เนื่องจากทุกสังคมตองประสบกับปญหาความขาดแคลน เนื่องมาจากมีทรัพยากรอยูอยางจํากัดและในขณะเดียวกันแตละสังคมก็ตองประสบปญหาการเลือก (choice) วาจะผลิตสินคาอะไรบาง โดยการใชทรัพยากรของตนที่มีอยูและเพื่อใหงายตอการเขาใจ ในที่นี้จะขอใชเสนความเปนไปไดในการผลิต (PPC) ชวยในการอธิบายวาแตละสังคมจะมีทางเลือกผลิตสินคาอะไรบางอยางไร ในการหาเสนความเปนไปไดในการผลิต (PPC) และเพื่อใหการอธิบายเสน PPC งายตอการเขาใจ จะตองตั้งอยูบนขอสมมติเบื้องตน 4 ประการ กลาวคือ 1 1) สมมติใหระบบเศรษฐกิจมีการผลิตโดยใชทรัพยากรการผลิตท่ีมีอยูอยางเต็มท่ี 2) สมมติใหระบบเศรษฐกิจนั้นมีทรัพยากรผลิตในปริมาณคงที่ 3) สมมติใหระบบเศรษฐกิจมีเทคนิคการผลิตคงที่และ 4) สมมติใหระบบเศรษฐกิจสามารถผลิตสินคาไดเพียง 2 ชนิดเทานั้น ซึ่งในที่นี้สมมติใหมีการผลิตขาวโพดและขาว จากการผลิตขาวและขาวโพด สมมติตอไปอีกวาปจจัยการผลิตตางๆสามารถท่ีจะโยกยายไปเพื่อผลิตสินคาท้ังสองนี้ไดอยางสะดวก การผลิตขาวกับขาวโพดมีแผนการผลิตหลายวิธีปริมาณผลผลิตท่ีไดในแตละวิธี ดังตารางที่ 2.1

1 Campbell R. Mc Connell, Economics. (7th. ed. ; New York : McGraw-Hill Book Company, 1978), pp. 28-29.

Page 47: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความรูเบื้องตนในการศึกษาเศรษฐศาสตร 25

ตารางที่ 2.1 ปริมาณผลผลิตขาวและขาวโพดที่ระบบเศรษฐกิจผลิตไดจากปจจัยการผลิตท้ังหมด

ปริมาณผลผลิต (ลานตัน) แผนการผลิต

ขาว ขาวโพด

A B C D E F

0 1 2 3 4 5

100 96 90 80 62 0

ตัวเลขจากตารางที่ 2.1 เมื่อนํามาสรางเปนรูปกราฟ โดยใหแกนตั้งแทนปริมาณผลผลิตขาวโพดและใหแกนนอนแทนปริมาณผลผลิตขาว ก็จะไดจุดท่ีแสดงแผนการผลิตตางๆตั้งแต A ถึง F เมื่อลากเสนเชื่อมจุดตาง ๆ ก็จะไดเสนความเปนไปไดในการผลิต(PPC)ขาวโพดและขาวท่ีระบบเศรษฐกิจสามารถผลิตข้ึนมาได ดังรูปที่ 2.1

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

0 1 2 3 4 5

รูปที่ 2.1 แสดงเสนความเปนไปไดในการผลิตขาวโพดและขาวในสัดสวนตาง ๆ

PPC

ขาวโพด (ลานตัน)

ขาว (ลานตัน)

. G

. H

Page 48: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 26

จุดตางๆบนเสน PPC แสดงถึงระดับผลผลิตท่ีเต็มศักยภาพ (potential output) และแสดงถึงระดับการใชทรัพยากรอยางเต็มท่ี (full employment) โดยทั่วไปแลวผลผลิตท่ีเกิดข้ึนจริง(actual output) อาจจะเทากับหรือนอยกวาผลผลิตเต็มศักยภาพ ณ จุด G แสดงถึงระดับผลผลิตของทั้งขาวโพดและขาวท่ีมีการใชทรัพยากรไมเต็มท่ี (unemployment) และที่จุด H ภายใตขอสมมติท้ังหมดของระบบเศรษฐกิจไมสามารถที่จะผลิตไปถึงไดเพราะมีปจจัยการผลิตไมเพียงพอ ในโลกแหงความเปนจริงแลวนักเศรษฐศาสตรไมสามารถที่จะหาเสนความเปนไปไดในการผลิตของระบบเศรษฐกิจใดๆออกมาได ท้ังนี้เนื่องมาจากในระบบเศรษฐกิจหนึ่ง ๆ มีการผลิตสินคาหลายชนิดและไมสามารถที่จะแสดงความสัมพันธระหวางสินคาหลายชนิดพรอมกันในทีเดียวได อยางไรก็ตามเสนความเปนไปไดในการผลิต (PPC) เปนการอธิบายตามแนวคิดของทฤษฎีเทานั้น เสนความเปนไปไดในการผลิต (PPC) สามารถที่จะเคลื่อนยาย (shift) ไปในทิศทางที่ เพิ่มข้ึนไดซึ่งสาเหตุอาจจะเนื่องมาจากระบบเศรษฐกิจมีการคนพบทรัพยากรการผลิตเพิ่มมากขึ้น หรืออาจจะเนื่องมาจากความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีเพิ่มสูงข้ึน หรืออาจจะมาจากทั้งสองสาเหตุพรอมกันก็ได ดังแสดงในรูปที่ 2.2

รูปที่ 2.2 แสดงการเคลื่อนยายเพิ่มสูงข้ึนของเสน PPC

ขาว (ลานตัน)

เสน PPC เดิม

O

เสน PPC ใหม

ขาวโพด (ลานตัน)

Page 49: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความรูเบื้องตนในการศึกษาเศรษฐศาสตร 27

เนื่องจากทรัพยากรการผลิตในระบบเศรษฐกิจหนึ่ง ๆ มีอยูอยางจํากัด การท่ีจะผลิตสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มข้ึนจะตองลดการผลิตสินคาอีกชนิดหนึ่งลง และจํานวนสินคาท่ีลดลงนี้เรียกวา คาเสียโอกาส (opportunity cost) ของการผลิตสินคา ยกตัวอยางจากตารางที่ 2.1 ถาตองการผลิตขาวเพิ่มข้ึนจาก 1 ลานตัน เปน 2 ลานตัน จะตองลดการผลิตขาวโพดลงจาก 96 ลานตันเหลือ 90 ลานตัน ฉะนั้นจํานวนขาวโพด 6 ลานตันที่ลดลงนี้จึงเปนคาเสียโอกาสของการผลิตขาวเพิ่มข้ึนจากเดิม 1 ลานตัน อัตราสวนของการเปลี่ยนแปลงปริมาณขาวโพดที่ลดลงตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณขาวท่ีเพิ่มข้ึน 1 ลานตัน เราเรียกวา อัตราการทดแทนกันระหวางผลผลิตหนวยสุดทาย (marginal rate of output substitution : MRS) ซึ่งสามารถคํานวณไดดังนี้

MRSขาวโพดขาว=

ΔΔ = slope ของเสนสัมผัสเสน PPC

โดยที่ MRS = อัตราการทดแทนกันระหวางผลผลิตหนวยสุดทาย

Δขาวโพด = ปริมาณการเปลี่ยนแปลงของขาวโพด

Δขาว = ปริมาณการเปลี่ยนแปลงของขาว

จากรูปที่ 2.1 หรือรูปที่ 2.2 จะเห็นไดวาการที่เสน PPC เปนเสนโคงออกจากจุดกําเนิด (concave to the origin) สาเหตุเนื่องมาจากปจจัยการผลิตไมสามารถใชทดแทนกันไดอยางสมบูรณ ท้ังนี้อาจจะเนื่องมาจากปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสมในการผลิตขาวแตอาจจะไมเหมาะสมหรือไมชํานาญในการผลิตขาวโพด หรือถาจะมองในรูปของคาเสียโอกาสพบวาการผลิตขาวเพิ่มข้ึนที่ละ 1 ลานตันจะตองเสียสละการผลิตขาวโพดในอัตราเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ หรือเรียกวา "คาเสียโอกาสเพิ่มข้ึน" (increasing opportunity cost) ในกรณีท่ี MRS มีคาคงที่ แสดงวาคาเสียโอกาสในการผลิตเพิ่มข้ึนในอัตราที่คงที่ (constant opportunity cost) เสนความเปนไปไดในการผลิตจะเปนเสนตรงดังรูปที่ 2.3 (ก) ในกรณีท่ี MRS มีคาลดลง แสดงวา คาเสียโอกาสในการผลิตขาวเพิ่มข้ึนในอัตราที่ลดลง (decreasing opportunity cost) เสนความเปนไปไดในการผลิตจะเปนเสนโคงเวาเขาหาจุดกําเนิด (convex to the origin) ดังรูปที่ 2.3 (ข)

Page 50: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 28

(ก) กรณีคาเสียโอกาสคงที่ (ข) กรณีคาเสียโอกาสลดลง

รูปที่ 2.3 แสดงลักษณะตาง ๆ ของเสน PPC

จากการพิจารณาเสนความเปนไปไดในการผลิต ในทางทฤษฎีเศรษฐศาสตรสวนใหญนิยมพิจารณาเสนความเปนไปไดในการผลิต (PPC) กรณีท่ีคาเสียโอกาสเพิ่มข้ึนหรือเสน PPC ท่ีโคงเวาออกจากจุดกําเนิดตามรูปที่ 2.1 เทานั้น

2.7 การหมุนเวียนของกิจกรรมเศรษฐกิจ

ในระบบเศรษฐกิจตางๆจะประกอบไปดวยหนวยกิจกรรมทางเศรษฐกิจเปนจํานวนมาก แตพอจะแยกเปนหนวยกิจกรรมทางเศรษฐกิจใหญๆได 4 ภาคดวยกัน กลาวคือ ภาคธุรกิจ ภาคครัวเรือน ภาครัฐบาล และภาคตางประเทศ แตในที่นี้จะแยกพิจารณาเพียง 2 ภาคเทานั้น คือ ภาคครัวเรือน และภาคธุรกิจ ซึ่งแตละภาคจะมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่แตกตางกันไป 1) ภาคครัวเรือน (Households) จะทําหนาท่ี 2 ประการกลาวคือ ประการแรกทําหนาท่ีเปนเจาของปจจัยการผลิต จัดหาปจจัยการผลิตใหกับภาคธุรกิจหรือภาคการผลิต และประการที่สอง ทําหนาท่ีในการบริโภคสินคาและบริการท่ีผลิตไดจากภาคธุรกิจ 2) ภาคธุรกิจ (Firms) หรือฝายผลิต (Producers) จะทําหนาท่ีในการผลิตสินคาและบริการโดยนําปจจัยการผลิตมาเขาสูกระบวนการผลิต หลังจากนั้นก็จะจําหนายสินคาและบริการไปใหกับภาคครัวเรือน

ขาวโพด (ลานตัน) ขาวโพด (ลานตัน)

PPC PPC

ขาว (ลานตัน) O O

ขาว (ลานตัน)

Page 51: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความรูเบื้องตนในการศึกษาเศรษฐศาสตร 29

รูปที่ 2.4 แสดงการหมุนเวียนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กรณี 2 ภาคกิจกรรม

จากรูปที่ 2.4 กระแสการไหลเวียนวงในที่เปนสินคาและบริการและปจจัยการผลิตคือ กระแสการไหลเวียนที่อยูในรูปของสิ่งของ (real flow) สวนกระแสการไหลเวียนวงนอกที่เปน คาใชจายและรายได คือกระแสการไหลเวียนที่อยูในรูปของตัวเงิน (money flow) ตามแผนภาพดังกลาวนี้สามารถอธิบายไดวา ภาคครัวเรือนจะเสนอขายปจจัยการผลิตตางๆ เชน ท่ีดิน แรงงาน ทุนและผูประกอบการ ใหกับภาคธุรกิจโดยผานตลาดปจจัยการผลิต ภาคธุรกิจก็จะเสียคาใชจายในรูปของ คาเชา คาจาง ดอกเบี้ย และกําไร ใหกับภาคครัวเรือน แลวภาคธุรกิจก็จะนําปจจัยการเหลานี้มาผลิตเปนสินคาและบริการ และทําการขายสงโดยผานตลาดผลผลิตไปใหกับภาคครัวเรือน และภาคครัวเรือนเมื่อมีรายไดจากการขายปจจัยการผลิตก็จะนํามาใชจายซื้อสินคาและบริการ และคาใชจายของภาคครัวเรือนดังกลาวก็จะกลายมาเปนรายไดของภาคธุรกิจ การซื้อขายระหวางภาคครัวเรือน กับภาคธุรกิจไมวาจะเปนปจจัยการผลิต หรือสินคาและบริการ โดยผานตลาดปจจัยการผลิตหรือตลาดผลผลิตซึ่งการซื้อขายดังกลาวจะมีกลไกลราคาของตลาดเปนเครื่องตัดสิน และกําหนดราคาดุลยภาพทั้งในตลาดปจจัยการผลิตและตลาดผลผลิต

สินคาและบริการ ตลาด ผลผลิต

ภาคครัวเรือน (Household)

ภาคธุรกิจ (Firm)

ตลาดปจจัย การผลิต

คาใชจาย

รายได

รายได

สินคาและบริการ

ปจจัยการผลิต ปจจัยการผลิต

คาใชจาย

Money flow

Real flow

Page 52: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 30

2.8 ประสิทธิภาพ (Efficiency)

โดยท่ัวไปคําวาประสิทธิภาพ (efficiency) แบงออกเปน 2 ชนิดคือ 1) ประสิทธิภาพทางเทคนิค (Technical Efficiency) หมายถึงความพยายามที่จะใหไดผลผลิตมากที่สุด (maximum output) จากปจจัยการผลิตท่ีมีอยู สวนมากจะเปนการเนนความสามารถในการผลิตของเครื่องจักรวามีความสามารถในการผลิตไดมากนอยเพียงใด ถาการผลิตนั้นไดผลผลิตออกมามากและในเวลาอันรวดเร็ว แสดงวาเครื่องจักรนั้นมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงมาก การพิจารณาดังกลาวนี้จะไมพิจารณาถึงตนทุนการผลิตวาสูงหรือต่ํามากนอยเพียงใด 2) ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Efficiency) หมายถึงความพยายามที่จะทําการผลิตสินคาและบริการเพื่อใหไดผลผลิตมากที่สุด (maximum output) ในขณะเดียวกันการไดมาซึ่งผลผลิตมากที่สุดจะตองเสียตนทุนการผลิตต่ําท่ีสุด (minimum cost) ดวยจึงจะถือวามีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพในทางเศรษฐศาสตร เราจะหมายถึงประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (economic efficiency) เทานั้น เพราะแนวคิดในทางเศรษฐศาสตรตองการท่ีจะใหมีการใชทรัพยากรในทางที่ประหยัดท่ีสุด และในขณะเดียวกันจะตองใหไดรับประโยชนสูงท่ีสุดเทาท่ีจะทําได

Page 53: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทที่ 3 ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและปญหาประชากร (Basic Economic and Population Problems)

ประเทศตางๆทั้งหลายในโลกนี้จะตองประสบกับปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจอยางเดียวกัน หมด ปญหาที่วานั้นก็คือปญหาในการจัดสรรทรัพยากรท่ีแตละประเทศมีทรัพยากรอยูอยางจํากัด เมื่อเทียบกับความตองการของประชาชนในประเทศนั้นๆ ท่ีมีอยางไมสิ้นสุด ดังนั้นในแตละประเทศจึงตองประสบกับปญหาวาควรจะทําอยางไร และดวยวิธีการใดจึงจะสามารถจัดสรรทรัพยากรท่ีตนมีอยูอยางจํากัดไปใหกับประชาชนภายในประเทศไดอยางทั่วถึงและเพียงพอกับความตองการมากที่สุดเทาท่ีจะสามารถทําได การพิจารณาปญหาการจัดสรรทรัพยากรยังสามารถที่จะแยกพิจารณาออกเปน 2 กรณี ซึ่งไดแก ปญหาการจัดสรรทรัพยากรท่ีเปนวัตถุสิ่งของ และปญหาการจัดสรรทรัพยากรท่ีเปนทรัพยากรมนุษย ซึ่งอธิบายไดดังนี้คือ

1. ปญหาในการจัดสรรทรัพยากรที่เปนวัตถุสิ่งของ

ในการพิจารณาถึงปญหาการจัดสรรทรัพยากรที่เปนวัตถุสิ่งของในทางเศรษฐศาสตรจะตองคํานึงถึงหลักการดวยกัน 2 ประการ คือ

1.1 หลักของความขาดแคลน (Scarcity)

เราตองยอมรับขอเท็จจริงท่ีวาทรัพยากรการผลิตท่ีมีอยูในโลกนี้มีอยูอยางจํากัด เมื่อนํามาผลิตเปนสินคาและบริการยอมทําใหสินคาและบริการท่ีผลิตข้ึนไดในโลกนี้มีอยูอยางจํากัดตามไปดวย และความตองการของมนุษยในสังคมท่ีมีอยางไมสิ้นสุดเมื่อเทียบกับสินคาและบริการ จึงกอใหเกิดความขาดแคลนขึ้นมาดังนั้นหลักการของความขาดแคลน จึงหมายถึงสถานการณท่ีทรัพยากรการผลิตหรือสินคาและบริการท่ีผลิตไดมีจํานวนจํากัดเมื่อเทียบกับความตองการของมนุษยในสังคม นั่นเอง

1.2 หลักการเลือก (Choice)

เนื่องจากทรัพยากรการผลิตในสังคมมีจํานวนจํากัด เราจึงไมสามารถที่ผลิตสินคาและบริการเพื่อสนองตอบความตองการไดจนครบทุกอยาง ในขณะเดียวกันทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดสามารถที่จะนําไปผลิตเปนสินคาไดหลายชนิด หรือสามารถที่จะนําไปใชประโยชนไดหลายทางดวยกัน ดังนั้นสังคมจึงตองเผชิญกับปญหาการตัดสินใจที่จะเลือกผลิตสินคา วาสินคาใดที่มีความจําเปนตอสังคมมาก

Page 54: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 32

ท่ีสุด หรือสังคมจะตองตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรการผลิตดวยความประหยัด และกอใหเกิดประโยชนสูงสุด นั่นคือ สังคมจะตองเลือกตัดสินใจในปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีอยู 3 ประการดวยกัน 1 1) ปญหาจะผลิตอะไร (What) เนื่องจากทรัพยากรการผลิตท่ีมีอยูอยางจํากัด ถาหากนําปจจัยการผลิตไปทําการผลิตสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มข้ึนแลว ปจจัยการผลิตท่ีเหลือก็จะถูกนําไปในการผลิตสินคาอื่นไดนอยลง ดังนั้นสังคมจึงตองเลือกตัดสินใจวาจะผลิตสินคาอะไรกอน และจะผลิตจํานวนเทาใดจึงจะเพียงพอกับความตองการของคนในสังคมหรือกอใหเกิดประโยชนสูงสุด 2) ปญหาจะผลิตอยางไร (How) เมื่อสังคมตัดสินใจไดแลววาจะสินคาผลิตอะไร เปนจํานวนเทาใดแลว ปญหาตอไปที่สังคมตองเผชิญอยูก็คือจะทําการผลิตอยางไร ซึ่งในที่นี้หมายความวาจะใหใครเปนผูทําการผลิต และการผลิตนั้นจะตองใชปจจัยการผลิตอะไรบาง และจะใชเทคนิคอะไรหรือวิธีการผลิตอยางไร เนื่องจากปจจัยการผลิตท่ีมีอยูอยางจํากัดซึ่งบางครั้งอาจจะใชทดแทนกันไดหรืออาจจะใชรวมกันไดในสัดสวนตาง ๆ กันเพราะฉะนั้นผูผลิตจะตองเลือกวิธีการผลิตท่ีจะกอใหเกิดการประหยัดมากที่สุดเทาท่ีจะทําได หรือการผลิตนั้นจะตองเสียตนทุนการผลิตต่ําท่ีสุดเพื่อใหไดผลผลิตมากที่สุดเทาท่ีจะทําได 3) ปญหาจะผลิตเพื่อใคร (For Whom) หลังจากที่ผูผลิตสามารถตัดสินใจวาจะผลิตอะไร และจะผลิตอยางไรแลว ปญหาที่ผูผลิตจะตองคํานึงถึงตอไปก็คือ จะทําการผลิตสินคานั้นเพื่อใคร จะทําการผลิตเพื่อคนรวย หรือผลิตเพื่อคนชั้นกลาง หรือผลิตเพื่อคนจน หรือผลิตเพื่อคนทั้งประเทศ ซึ่งหมายความวาผูผลิตสินคาจะตองคํานึงถึงผูท่ีจะไดรับสินคาท่ีผลิตข้ึนมาวาเปนใคร หรือคนในกลุมใด หรือผูผลิตจะตองพิจารณาวาสินคาท่ีทําการผลิตข้ึนมานั้นจะนําไปจําหนายจายแจกใหกับบุคคลเปาหมายตาง ๆ ไดอยางไรจึงจะกอใหเกิดความพอใจ หรือมีประโยชนตอผูบริโภคมากที่สุด นั่นคือปญหาดังกลาวท่ีเกิดข้ึนนี้ เปนปญหาลักษณะเชนเดียวกับปญหาการกระจายรายได (income distribution) ไปยังบุคคลกลุมตางๆรวมไปถึงเจาของปจจัยการผลิตท่ีจะตองไดรับผลประโยชนในรูปของ คาเชา คาจาง ดอกเบี้ย และกําไร เปนตน

1 Paul A. Samuelson and Willian D. Nordhaus, Economics. (14 th. ed. ; Singapore : McGraw-Hill International Editions, 1992), pp. 17-18

Page 55: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและปญหาประชากร 33

2. ปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย (Population Problem)

ปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษยหรือเรียกวาปญหาประชากร ในอดีตท่ีผานมาพบวาปญหาประชากรที่เกิดข้ึนก็คือปญหาประชากรเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว แตทรัพยากรการผลิตมีอยูอยางจํากัด การผลิตอาหารเพื่อสนองความตองการใหกับประชากรโลกก็มีอยูอยางจํากัด จนเปนเรื่องท่ีนาเปนหวงวาประชากรโลกจะขาดแคลนอาหารในอนาคต จึงพยายามที่จะหาทางเพิ่มผลผลิตเพื่อจะใหทันกับความตองการแตก็สามารถทําไดในวงจํากัดเทานั้น นักเศรษฐศาสตรท่ีไดศึกษาถึงปญหาประชากรอยางจริงจังในอดีต ก็คือ Thomas Robert Multhus เปนชาวอังกฤษที่มีชีวิตอยูระหวาง ค.ศ. 1766-1834 โดยเขาไดเขียนหนังสือช่ือ An Essay on the Principle of Population ข้ึนในป ค.ศ. 1798 ในหนังสือดังกลาว Multhus ไดแสดงความเห็นวาตราบใดที่อาหารยังอุดมสมบูรณอยู จํานวนประชากรมีแนวโนมท่ีจะเพิ่มข้ึนแบบอนุกรมเรขาคณิตหรือทวีคูณ (geometric progression) คือเพิ่มแบบ 1,2,4,8,......แตความสามารถในการผลิตอาหารและเครื่องยังชีพตางๆของสังคมมีแนวโนมจะเพิ่มข้ึนแบบอนุกรมเลขคณิต (arithmetical progression) คือเพิ่มแบบ 1,2,3,4,...หากไมมีการยับยั้งการเพิ่มข้ึนของประชากรเสียกอนเกรงวาในอนาคตประชากรจะตองอดตาย ตามทฤษฎีประชากรของ Multhus จะเห็นวาอาหารเปนสิ่งทําใหประชากรเพิ่มข้ึนดังนั้นหากอาหารเพิ่มข้ึนไมทันกับความตองการของประชากร ประชากรก็จะอดตายและลดลงไปเอง ดวยเหตุนี้ Multhus จึงไดเสนอใหมีการควบคุมหรือยับยั้งการเพิ่มข้ึนของประชากร 2 วิธีดวยกัน กลาวคือ 1) การยับยั้งโดยตรง (Positive Checks) เปนการยับยั้งโดยธรรมชาติ คือ เมื่อประชากรเพิ่มมากขึ้นในที่สุดเมื่ออาหารมีไมพอเพียง จึงทําใหอัตราการตายเนื่องมาจากความอดอยากเพิ่มสูงข้ึนในท่ีสุดจํานวนประชากรจะลดลงไปเอง หรืออาจจะเกิดสงครามเพื่อแยงอาหารกันเอง หรือประชากรอาจจะลดลงเนื่องมาจากภัยธรรมชาติตางๆ เชน แผนดินไหว น้ําทวม และเกิดโรคระบาด เปนตน 2) การยับยั้งโดยการปองกัน (Preventive Checks) เปนการปองกันอัตราการเกิดของประชากรไมใหเพิ่มสูงข้ึนอาจจะโดยมาจากการชลอการแตงงานออกไป หรือการคุมกําเนิด เปนตน อยางไรก็ตามทฤษฎีประชากรของ Multhus ยังเปนจริงอยูสําหรับประเทศโลกที่สามในแถบแอฟริกา สําหรับประเทศที่เจริญแลวหรือในแถบอื่นๆนอกเหนือจากแอฟริกาไมเปนไปตามทฤษฎีประชากรของ Multhus แลว หากไมมีทฤษฎีประชากรของ Multhus ข้ึนมากอนปญหาตางๆ ทางดานประชากรคงจะมีความรุนแรงและเปนไปตามทฤษฎีประชากรของ Multhus ท่ีคาดการณไว แตเนื่องจาก

Page 56: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 34

ทฤษฎีนี้เกิดข้ึนมากอนจึงไดมีการเตรียมการปองกันไวกอน ดังนั้นปญหาประชากรตามทฤษฎีดังกลาวจึงไมเกิดข้ึนจึงนับไดวาทฤษฎีประชากร Multhus มีประโยชนตอประชากรโลก

3. รูปแบบขององคการธุรกิจ

จากกระแสการหมุนเวียนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจจะเห็นไดวาฝายผลิตหรือฝายธุรกิจมีบทบาทที่สําคัญในการจัดสรรทรัพยากรการผลิต และการจัดสรรดังกลาวจะเปนไปอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพหรือไมข้ึนอยูกับการจัดรูปแบบของฝายผลิต ซึ่งประกอบไปดวยหนวยธุรกิจหรือองคการธุรกิจในรูปแบบตางๆ และมีจุดมุงหมายในการดําเนินงานที่เหมือนกันคือตางก็ตองการแสวงหากําไรใหไดมากที่สุด (maximize profit) รูปแบบขององคการธุรกิจอาจแบงออกไดเปน 2 ประเภทใหญ คือ 1

3.1 องคการธุรกิจของเอกชน

องคการธุรกิจของเอกชน หมายถึง องคการธุรกิจที่เอกชนเปนเจาของทุน และควบคุมงานโดยเอกชน ซึ่งอาจแบงออกได 4 ประเภทยอย กลาวคือ

1) องคการธุรกิจแบบเจาของคนเดียว (Single Proprietorship)

องคการธุรกิจแบบเจาของคนเดียว เปนกิจการที่มีบุคคลเดียวเปนเจาของและเปนผูดําเนินการ เมื่อกิจการมีกําไรผลกําไรดังกลาวก็จะตกอยูกับเจาของแตเพียงผูเดียว แตถาขาดทุนเจาของก็จะรับผิดชอบเพียงผูเดียวเชนกัน การดําเนินธุรกิจแบบเจาของคนเดียวมีท้ังขอดีและขอเสีย กลาวคือ ขอดี การตัดสินใจเปนไปอยางรวดเร็ว การกอตั้งหรือเลิกกิจการกระทําไดงาย ไมตองผานกระบวนการทางกฎหมายมากนัก ขอเสีย อายุการดําเนินงานของกิจการประเภทนี้จะสั้นเนื่องมาจากเปนการดําเนินงานของคนๆ เดียว เงินทุน และเครดิตท่ีใชในการลงทุนมีอยูในวงจํากัด กิจการที่มีการตัดสินใจเพียงคนเดียวอาจเกิดขอผิดพลาดไดงาย

1 เดช กาญจนางกูร, จุลเศรษฐศาสตรเบ้ืองตน (กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร ,2539), หนา 46-54.

Page 57: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและปญหาประชากร 35

2) องคการธุรกิจแบบหางหุนสวน (Partnership)

หางหุนสวน คือ องคการธุรกิจที่มีบุคคลต้ังแตสองคนขึ้นไปรวมทุนและรวมแรงกันจัดตั้งข้ึน เมื่อกิจการมีผลกําไรก็จะแบงกันตามสวนของทุนและการทํางาน แตถากิจการประสบกับการขาดทุนหรือมีหนี้สิน หุนสวนก็จะแบงกันรับภาระตามสวนของทุนและการทํางานของตนเทานั้น อยางไรก็ตามหางหุนสวนสามารถแยกพิจารณาได 2 ประเภทคือ (1) หางหุนสวนสามัญ ผูท่ีเปนหุนสวนของหางหุนสวนสามัญจะตองรับผิดชอบในหนี้สินรวมกันโดยไมจํากัดจํานวน (2) หางหุนสวนจํากัด ผูท่ีเปนหุนสวนในกิจการนี้จะแบงออกเปนสองพวก คือ พวกที่เขามาดําเนินกิจการโดยตรงกับพวกที่รวมเฉพาะทุนแตมิไดเขามาดําเนินกิจการ พวกที่รวมเฉพาะทุนจะรับผิดชอบเฉพาะทุนที่ลงไปเทานั้นสวนพวกที่เขามาดําเนินกิจการโดยตรงจะตองรับผิดชอบทั้งหมด สวนกําไรท่ีไดก็จะตองแบงไปตามความรับผิดชอบ อยางไรก็ตามการดําเนินธุรกิจแบบหางหุนสวนก็มีท้ังขอดีและขอเสียกลาวคือ ขอดี ผูท่ีไมมีความรูทางธุรกิจก็สามารถเขามามีหุนสวนในหางหุนสวนจํากัดได และการบริหารงานมีประสิทธิภาพมากกวาแบบเจาของคนเดียว เงินทุนมีมากกวากิจการเจาของคนเดียวมีความเสี่ยงนอยกวาเพราะมีหลายฝายรวมกันรับผิดชอบ ขอเสีย เงินทุนอยูในวงจํากัดกิจการมีอายุไมยืนยาวเพราะถาคนที่เปนหัวเรี่ยวหัวแรงสําคัญตายหรือลาออก อาจเปนเหตุใหกิจการลมเลิกได

3) องคการธุรกิจแบบบริษัทจํากัด (Corporation)

บริษัทจํากัดคือองคการธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแตเจ็ดคนข้ึนไป รวมกันกอตั้งและถือหุน1 เงินทุนของบริษัทจํากัดจะแบงออกเปนหุนที่มีมูลคาเทา ๆ กัน ผูถือหุนจะมีฐานะเปนเจาของบริษัทและรับผิดชอบในหนี้สินของบริษัทเพียงไมเกินมูลคาหุนที่ตนถือไว การดําเนินงานของบริษัทจํากัดนั้นจะกระทําโดยตรง โดยเจาพนักงานที่มีเงินเดือนประจํา และอยูภายใตการควบคุมของคณะกรรมการบริษัท ซึ่งคณะกรรมการบริษัทจะไดรับเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญของผูถือหุน โดยการออกเสียงเลือกตั้งคณะกรรมการจะถือหลัก " หนึ่งหุนมีสิทธิ์ออกเสียงไดหนึ่งเสียง" สวนการดําเนินงานในรูปบริษัทจํากัดก็มีขอดีและขอเสีย กลาวคือ

1 ประยูร เถลิงศรี, หลักเศรษฐศาสตร. (พิมพคร้ังที่ 5 ; กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ, 2518), หนา 58.

Page 58: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 36

ขอดี สามารถรวบรวมเงินทุนไดเปนจํานวนมาก ผูถือหุนไมจําเปนตองมีความรูทางการคาก็สามารถลงทุนโดยการเขามารวมถือหุนได อายุการดําเนินของบริษัทจะยืนยาวกวา ผูถือหุนรับผิดชอบเพียงมูลคาหุนของตนเทานั้น จึงเปนการงายท่ีจะชักจูงใหผูมีรายไดนอยเขาไปรวมถือหุน ขอเสีย ผูถือหุนรายใหญสามารถมีอิทธิพลในการบริหารงานของบริษัทได และการดําเนินงานอาจจะลาชาเพราะคณะกรรมการบริษัทจะตองมีการประชุมและปรึกษาหารือกอนเสมอจึงจะสามารถดําเนินงานได

4) องคการธุรกิจแบบสหกรณ (Co-Operatives)

สหกรณเปนองคการธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแตสิบคนขึ้นไปรวมมือกันกอตั้งและสมัครเขามาเปนสามชิกโดยการซื้อหุนของสหกรณ สหกรณเปนการรวมบุคคลที่มีอาชีพอยางเดียวกันหรือคลายคลึงกันหรือมีคุณสมบัติตามที่สหกรณกําหนด โดยมีนโยบายเพื่อรวมคนมากกวารวมทุน และการดําเนินงานของสหกรณมิไดมุงหวังผลกําไรแตเพียงอยางเดียว แตตองการท่ีจะตัดพอคาคนกลาง หรือผูมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ เพื่อชวยเหลือบุคคลท่ีมีความออนแอทางเศรษฐกิจ การดําเนินงานของสหกรณในประเทศไทยไดเริ่มครั้งแรกตั้งแตป 2459 โดยการริเริ่มของรัฐบาล แตกิจการสหกรณของประเทศไทยในปจจุบันยังไมเจริญกาวหนาเทาท่ีควรเพราะการดําเนินงานของสหกรณไมตรงกับวัฒนธรรมของคนไทย ซึ่งสมาชิกจะตองเขามารวมมือรับผิดชอบรวมกันอยางจริงจัง แตนิสัยคนไทยชอบทํางานอยางอิสระไมคุนเคยกับการทํางานแบบกลุมหรือรวมมือกับผูอื่น ดังนั้นการทํางานเพื่อสวนรวมตามอุดมการณของสหกรณของคนไทยจึงไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร อยางไรก็ตามกิจการสหกรณในปจจุบันมีอยูดวยกันหลายประเภท เชน สหกรณการเกษตร สหกรณนิคม สหกรณออมทรัพย สหกรณโคนม และสหกรณอื่น ๆ

3.2 องคการธุรกิจของรัฐบาล

องคการธุรกิจของรัฐบาล หรือเรียกวา รัฐวิสาหกิจ (state enterprise) เปนกิจการที่รัฐบาลกอตั้งข้ึน หรือเปนเจาของทุน หรือเปนผูควบคุมการดําเนินงานโดยตรง รัฐวิสาหกิจอาจแยกตามลักษณะการเขาไปดําเนินงานของรัฐบาลไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ ประเภทแรก เปนองคการธุรกิจที่รัฐบาลเปนเจาของหรือเปนผูกอตั้งข้ึน เชน การรถไฟแหงประเทศไทย องคการคลังสินคา การทาเรือ การไฟฟานครหลวง องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย และอื่นๆ เปนตน ประเภทที่สอง เปนองคการธุรกิจในรูปของบริษัทจํากัดท่ีรัฐบาลลงทุนรวมกับเอกชนโดยรัฐบาลถือหุนเกินกวารอยละหาสิบขึ้นไป เชน ธนาคารกรุงไทย บริษัทการบินไทย บริษัทไมอัดไทย

Page 59: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและปญหาประชากร 37

สาเหตุท่ีรัฐบาลตองเขามามีบทบาทในการดําเนินกิจการตางๆทางเศรษฐกิจในรูปแบบของรัฐวิสาหกิจ อาจจะเนื่องมาจาก 1) กิจการบางอยาง ถาปลอยใหเอกชนแขงขันกันผลิตอาจกอใหเกิดผลเสียแกเศรษฐกิจของประเทศ และประชาชนโดยสวนรวม เชน การผลิตบุหรี่ และสุรา 2) เพื่อรักษาและคุมครองผลประโยชนของผูบริโภค ในดานราคา และคุณภาพของสินคา 3) กิจการบางอยาง ตองใชเงินทุนมหาศาลและใชเวลานานหากปลอยใหเอกชนมักจะไมสนใจลงทุน ดังนั้น รัฐบาลจึงตองเขามาจัดทําหรือดําเนินการเสียเอง 4) กิจการบางอยางเกี่ยวของกับการปองกันประเทศ หรือเปนอุตสาหกรรมหลักของประเทศโดยตรง รัฐบาลจึงตองเขามาดําเนินการเสียเอง 5) กิจการบางอยางเปนการใหสวัสดิการกับสังคม รัฐบาลจึงตองเขามาดําเนินการเอง เชนกิจการเกี่ยวกับการศึกษา สาธารณสุข อาคารสงเคราะห และการขนสง 6) กิจการบางอยางมีความจําเปนตอการดํารงชีพของประชาชน รัฐบาลจึงตองเขามาทําการผลิต และจําหนายเสียเอง เพื่อใหเพียงพอและเปนระเบียบเรียบรอย เชน กิจการสาธารณูปโภคตางๆ การดําเนินกิจการในรูปของรัฐวิสาหกิจของรัฐบาล มิไดมุงหวังเพื่อกําไรแตเพียงอยางเดียว การดําเนินกิจการดังกลาวยังคํานึงถึงผลประโยชนทางเศรษฐกิจของสังคมเปนสําคัญ แตอยางไรก็ตามการดําเนินกิจการในรูปของรัฐวิสาหกิจยังมีท้ังขอดีและขอเสีย กลาวคือ ขอดี ประกอบไปดวย (1) การจัดหาเงินทุนทั้งภายในและตางประเทศจะทําไดดีกวาเอกชนและเสียอัตราดอกเบี้ยท่ีต่ํากวา (2) เปนการสงเสริมสนับสนุนกิจการของเอกชน เชน ไฟฟา ประปา และโทรศัพท (3) เปนหลักประกันความแนนอนทั้งในดานคุณภาพและราคาของสินคาและบริการ (4) เปนแหลงหารายไดของรัฐบาลที่สําคัญเพื่อนําไปพัฒนาเศรษฐกิจในดานอื่น ๆ (5) เปนแหลงการทํางานของประชาชนและมีหลักประกันที่มั่นคง (6) เปนการใหบริการทางสาธารณูปโภคแกประชาชน โดยมิไดมุงหวังผลกําไรเปนที่ตั้ง และเปนการชวยกระจายรายไดเปนอยางดี นอกจากการดําเนินกิจการของรัฐวิสาหกิจจะมีขอดีอยูหลายประการดวยกันแลวไมใชวารัฐวิสาหกิจจะไมมีขอเสียเอาเสียเลย ในสวนของขอเสียของรัฐวิสาหกิจก็มีอยูดวยกันหลายประการ เชนกัน

Page 60: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 38

ขอเสีย ประกอบไปดวย (1) ประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานมีคอนขางนอย เพราะไมมีความรูทางธุรกิจและ กิจการดังกลาวไมมีคูแขงขัน (2) การดําเนินงานใชระบบราชการทําใหเกิดความลาชาและขาดความคิดริเริ่ม (3) มักมีอิทธิพลทางการเมืองเขามายุงเกี่ยวอยูเสมอ (4) คาใชจายในการดําเนินงานอาจสูงกวาการดําเนินงานของเอกชน เพราะอยางนอยก็มีรัฐบาลเปนหุนสวนอยู

Page 61: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทที่ 4 ระบบเศรษฐกิจ

(Economics System) เนื่องจากทุกสังคมตองเผชิญกับปญหาทรัพยากรการผลิตของประเทศมีอยูอยางจํากัด ในขณะท่ีความตองการของคนในสังคมไมมีท่ีสิ้นสุด ดังนั้นทุกสังคมจึงตองแสวงหาวิธีการที่จะนําทรัพยากรการผลิตท่ีมีอยูอยางจํากัดไปใชในการผลิตสินคาและบริการในทางที่ประหยัดท่ีสุด ซึ่งองคประกอบในแตละสังคมจะประกอบไปดวยหนวยธุรกิจมากมายหลายหนวย เชน หนวยครัวเรือน (households) หนวยการผลิต (firms) และหนวยเศรษฐกิจเล็ก ๆ อื่น ๆ ซึ่งหนวยธุรกิจตาง ๆ เหลานี้ จะรวมตัวกันเปนกลุมหรือสถาบันทางเศรษฐกิจ (economic institution) ในแตละสังคมก็จะมีการปกครอง จารีตประเพณี และวัฒนธรรมที่แตกตางกันไป เพราะฉะนั้นแตละสังคมจึงจําเปนตองมีกฎเกณฑและนโยบายที่เปนแบบแผนใหสถาบันทางเศรษฐกิจถือเปนแนวปฏิบัติในการดําเนินกิจกรรมและใชแกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนที่เกิดข้ึนใหเปนแบบอยางอันเดียวกันหรือคลายคลึงกัน ซึ่งกจิกรรมตางๆที่เกิดข้ึนนี้รวมกันเรียกวา ระบบเศรษฐกิจ (economics system)

การแกไขปญหาพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจตางๆ ไมวาจะเปนระบบเศรษฐกิจแบบใดก็ตามตางก็มีจุดมุงหมายที่จะวางกลไก (mechanism) หรือจัดสถาบันเพื่อท่ีจะใหสังคมสามารถตัดสินใจแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจวาระบบเศรษฐกิจนั้นๆควรจะผลิตสินคาอะไร (what) เปนอันดับแรก และ เปนจํานวนเทาใด เมื่อตัดสินใจในขั้นแรกไดแลวระบบเศรษฐกิจจะตองตัดสินใจตอไปวาจะทําการผลิตอยางไร (how) โดยจะใชเทคนิคการผลิตใด และจะใชปจจัยการผลิตตางๆในสัดสวนเทาใด หลังจากนั้นจึงนําไปสูการตัดสินใจขั้นตอไปวาจะนําผลผลิตท่ีไดไปจําหนายจายแจกใหกับใครบาง (for whom) ท่ีอยูในระบบเศรษฐกิจ

การพิจารณาแบงแยกระบบเศรษฐกิจในปจจุบัน อาจแบงตามแนวปฏิบัติในการแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจออกเปน 3 ระบบ ดวยกัน ซึ่งไดแก ระบบเศรษฐกิจแบบระบบทุนนิยม (capitalist economic system) หรือระบบเศรษฐกิจแบบตลาด (market economic system) ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (planned economic system) และระบบเศรษฐกิจแบบผสมผสาน (mixed economy system) ซึ่งในแตละระบบเศรษฐกิจจะมีแนวทางการแกไขปญหาเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานที่แตกตางกันออกไป สําหรับรายละเอียดของระบบเศรษฐกิจแบบตางๆ เหลานี้สามารถอธิบายได ดังตอไปนี้

Page 62: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

40

1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalist Economic System)

ระบบเศรษฐกิจที่ถือวากิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเปนเจาของปจจัยการผลิตและการลงทุนใหเปนกรรมสิทธิ์ของเอกชน และยอมใหผูประกอบการแขงขันกันในทางเศรษฐกิจเพื่อใหไดมาซึ่งผลกําไร หรือผลประโยชนอื่นตามความสามารถ และความปรารถนาของบุคคล 1 ระบบเศรษฐกิจแบบนี้ เรียกวา ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม (capitalist economic system) หรือระบบเศรษฐกิจแบบเสรี (free economy system) หรือระบบธุรกิจเอกชน (private enterprise system) หรือระบบตลาด (market system) เปนตน ถาพิจารณาทางดานเศรษฐกิจเปรียบเทียบ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมนี้ เราจัดอยูในระบบเศรษฐกิจที่ไมมีการวางแผน (unplanned economy) เพราะการตัดสินใจท่ีจะผลิตอะไร ผลิตอยางไร และผลิตเพื่อใคร ตกอยูใตอิทธิพลของกลไกราคา (price mechanism) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เปนระบบเศรษฐกิจที่ใหเสรีภาพกับเอกชนในการดําเนินงานทางธุรกิจตางๆเอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินรวมไปถึงสินคาและบริการท่ีตนผลิตข้ึนมาทั้งนี้เพราะเชื่อวาการแขงขันทางเศรษฐกิจโดยเสรีเปนวิธีท่ีดีท่ีสุดในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การกําหนดปริมาณและคุณภาพของผลผลิตเพื่อใหสอดคลองกับความตองการของผูบริโภค ในสวนของรัฐบาลนั้นไมควรเขามาเกี่ยวของหรือเขามาควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจใด ๆ เลย รัฐบาลควรมีบทบาทในการปองกันประเทศ และจัดสวัสดิการใหกับสังคม

ลักษณะตาง ๆ ท่ีสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม พอจะสรุปไดดังนี้

1) เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน เอกชนมีสิทธิ์เปนเจาของทรัพยสินตามกฎหมายและมีเสรีภาพในการจัดการกับทรัพยสินที่เปนกรรมสิทธิ์ของตนเอง

2) เอกชนเปนผูดําเนินการผลิต เอกชนมีเสรีภาพที่จะตัดสินใจ ทําการผลิตอะไร อยางไร และจําหนายจายแจกใหกับใคร รัฐบาลจะไมเขาไปแทรกแซง เชน ไมเขาไปควบคุมการผลิต หรือควบคุมราคาสินคา หรือไมเขาไปยุงเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รัฐบาลควรจะทําหนาท่ีเฉพาะการปองกันประเทศ รักษาความสงบภายใน และดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอยางที่เอกชนไมสนใจทํา

3) กิจกรรมทางเศรษฐกิจดําเนินการโดยผานกลไกราคา ในระบบเศรษฐกิจแบบนี้ กําไรจะเปนตัวกําหนดหรือจูงใจใหเอกชนเขามาดําเนินการผลิตวา จะผลิตอะไร อยางไร และผลิตเพื่อจําหนาย

1 สมพงษ เกษมสิน และจรูญ สุภาพ, ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจเปรียบเทียบ (กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2520),

หนา 83.

Page 63: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ระบบเศรษฐกิจ 41

จายแจกใหกับใคร ในราคาเทาใด เชน โทรศัพทมือถือเปนสินคายอดฮิตผูบริโภคตองการใชมาก ผูผลิตเห็นวาจะสามารถทํากําไรไดมากจึงทําการผลิตโทรศัพทมือถือออกมาขายเปนจํานวนมาก แตถาผูผลิตตางแขงขันกันผลิตโทรศัพทมือถือออกมามากจนเกินความตองการของผูบริโภค โทรศัพทมือถือบางยี่หออาจขายไดนอยจนตองลดราคา หลังจากนั้นผูผลิตท้ังหมดก็ตองมีการปรับลดการผลิตโทรศัพทมือถือลงจนพอดีกับความตองการของผูบริโภค นั่นคือ กลไกราคาจะเปนตัวกําหนดวา ผูผลิตควรจะทําการผลิตอะไร จํานวนเทาใด จะผลิตอยางไร และจะผลิตเพื่อจําหนายใหกับบุคคลกลุมใดบาง

4) มีการแขงขันการผลิต ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมนี้เปดโอกาสใหเอกชนเขามาแขงขันกันผลิตสินคาไดอยางเสรี ถาสินคาใดมีผูบริโภคตองการมากผูผลิตสินคานั้นๆก็จะไดรับกําไรสูงตามไปดวย และตอมาเมื่อผูผลิตรายอื่นเห็นวาผลิตสินคานั้นไดกําไรสูงจึงพากันเขามาแขงขันการผลิตสินคาชนิดนั้น เมื่อมีการแขงขันกันผลิตสินคาเพิ่มมากขึ้นในขณะที่ความตองการเทาเดิม ในที่สุดผูผลิตก็ตองลดราคาขาย กําไรท่ีไดรับก็จะลดลงจนเหลือแตเพียงกําไรปกติ (normal profit) การแขงขันจึงปองกันมิใหผูผลิตเอากําไรมากจนเกินไป ชวยใหผูบริโภคไดใชสินคาคุณภาพดีและราคาที่เหมาะสม

จากลักษณะ 4 ประการของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมจะเห็นไดวาเปนระบบเศรษฐกิจที่ใหเสรีภาพแกเอกชนทั้งฝายครัวเรือนและฝายผลิต ทุกคนมีฐานะเทาเทียมกันในการประกอบอาชีพและแสวงหารายได โดยท่ีรัฐบาลจะไมเขาไปยุงเกี่ยวในกิจกรรมทางเศรษฐกิจเหลานั้นเลย แตจะคอยอํานวยความสะดวกในดานรักษาความความสงบ ความปลอดภัย และความยุติธรรม เอกชนมีโอกาสในดานความคิดริเริ่มในการประกอบอาชีพและการผลิตอยางเต็มท่ี สวนกลไกราคาเปนตัวกําหนดวา จะผลิตอะไร จํานวนเทาใด จะผลิตอยางไร และจะผลิตเพื่อจําหนายจายแจกใหกับบุคคลกลุมใด โดยมีกําไรเปนเครื่องจูงใจใหมีการแขงขันกันผลิตสินคา ทําใหผูบริโภคมีสินคาท่ีหลากหลายและหาซื้อไดในราคาท่ีเหมาะสมซึ่งถือเปนขอดีของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม อยางไรก็ตามนอกจากจะมีขอดีแลวระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมก็ยังมีขอบกพรองอยูบางเหมือนกัน กลาวคือ 1

1) กอใหเกิดความไมเทาเทียมกันในดานรายได ผูท่ีมีทุนทรัพยมากจะมีรายไดมากกวาผูท่ีไมมีทุนทรัพยหรือมีนอยกวา ในขณะที่ผูมีทุนมากอาจจะไมตองทําอะไรเลย เพียงแตเอาเงินใหกูก็จะมีรายไดจากดอกเบี้ยเปนจํานวนมาก

1

ปรีดา นาคเนาวทิม, เศรษฐศาสตรจุลภาค 1 (พิมพคร้ังที่ 9 ; กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง), หนา 58-59.

Page 64: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

42

2) มีการใชทรัพยากรสิ้นเปลือง เนื่องจากเอกชนมีเสรีภาพในการใชทรัพยากรของชาติซึ่งมีอยูอยางจํากัด มีการแขงขันกันใชทรัพยากรอยางสิ้นเปลืองและไมเปนประโยชนตอสวนรวม เชน มีสถานเริงรมยตางๆมากจนเกินไป มีการใชน้ํามันเชื้อเพลิงกันอยางฟุมเฟอย ท้ังๆท่ีประเทศชาติมีความขาดแคลน และไมสามารถผลิตเองไดอยางเพียงพอ

2. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economic System)

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนเปนระบบเศรษฐกิจที่มีรัฐบาลหรือหนวยงานกลางเปนผูวางแผน (central planning) ในการจัดสรรทรัพยากรการผลิตหรือ วางแผนในการแกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนสามารถแยกพิจารณาตามระดับความเขมงวดในการวางแผนจากสวนกลางออกเปน 2 ระบบ

2.1 ระบบสังคมนิยม (Socialism)

ระบบสังคมนิยม (socialism) เปนระบบการวางแผนที่ไมมีความเขมงวดในการวางแผนจากสวนกลางมากนัก รัฐบาลอาจจะเขาถือกรรมสิทธิ์ในทรัพยากรและปจจัยการผลิตเฉพาะที่สําคัญและยอมใหเอกชนถือกรรมสิทธิ์ในทรัพยากรและปจจัยการผลิตบางชนิดได ลักษณะทั่วไปของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีอยู 4 ประการดวยกัน 2

1) รัฐบาลเปนเจาของทรัพยากรการผลิต (Government Ownership of Productive Resources) กลาวคือ รัฐบาลจะเขาไปมีกรรมสิทธิ์ในกิจการที่เปนอุตสาหกรรมหลักและมีความสําคัญ (key industries) เชน กิจการรถไฟ การผลิตถานหิน กิจการทางการเงินและการธนาคาร และกิจการผลิตเหล็กกลา สวนเอกชนใหมีกรรมสิทธิ์ในกิจการที่ไมความสําคัญ 1

2) มีการวางแผน (Planning) เปนระบบเศรษฐกิจที่ไมใชกําไรเปนเครื่องจูงใจในการผลิตเหมือนกับระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม แตกลับใชวิธีการวางแผน โดยมีจุดมุงหมายของการผลิตเพื่อการอุปโภคบริโภค มิใชผลิตเพื่อแสวงหากําไร ดังนั้นจึงไมจําเปนตองมีการโฆษณาแตจะมีการพัฒนาฝมือแรงงานใหดีข้ึน

3) มุงการกระจายรายไดใหดีขึ้น (Redistribution of Income) ในระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน รัฐบาลจะใชนโยบายการคลัง ในการจัดเก็บภาษีอากรเพื่อลดทรัพยสินและรายไดของคนรวย

1 Paul A. Samuelson and William D. Nordhaus, Economics, pp. 871-872.

Page 65: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ระบบเศรษฐกิจ 43

โดยรัฐบาลจะใหสวัสดิการของสังคมเพิ่มข้ึน เชนใหการรักษาพยาบาลฟรี ปรับปรุงความเปนอยูของคนจนใหดีข้ึน และมีการประกันมาตรฐานการครองชีพข้ันต่ําดวย

4) มีวิวัฒนาการแบบสันติวิธีและนําไปสูประชาธิปไตย (Peaceful and Democratic Evolution) กลาวคือ ในขั้นตอนการโอนกิจการตางๆของเอกชนมาเปนของรัฐบาลจะใชวิธีแบบสันติ และคอยเปนคอยไป

2.2 ระบบคอมมิวนิสต (Communism)

ระบบคอมมิวนิสต (communism) เปนระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนที่มีความเขมงวดรัฐบาลเปนเจาของปจจัยการผลิตท้ังหมด โดยไมใหสิทธิกับเอกชนในการมีกรรมสิทธิ์ในปจจัยการผลิต รัฐบาลมีหนาท่ีวางแผนการผลิตหรือเปนผูดําเนินการผลิตท้ังหมดวาจะทําการผลิตอะไร จํานวนเทาใด อยางไร และแจกจายใหกับใครบาง ระบบคอมมิวนิสตจะเปนระบบที่ดีก็ตอเมื่อผูมีหนาท่ีในการกําหนดนโยบายตาง ๆ จากสวนกลางเปนผูท่ีมีความรูความสามารถและกระทําดวยความยุติธรรมไมเห็นประโยชนแกพวกพองของตนเอง แตถาหากผูท่ีมีหนาท่ีกําหนดนโยบายตางๆ ทําไปเพื่อประโยชนของพวกพองแลว ระบบเศรษฐกิจแบบนี้จะไมสามารถแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจได

อยางไรก็ตามระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนไมวาจะเปนแบบสังคมนิยม (socialism) หรือแบบคอมมิวนิสต (communism) การแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ กลไกราคาจะไมสามารถเขามามีบทบาทได เพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้รัฐบาลกลางจะเปนผูกําหนดเองวาจะผลิตอะไร จํานวนเทาใด จะผลิตอยางไร และสินคาท่ีผลิตไดก็จะจําหนายจายแจกใหกับกลุมบุคคลตาง ๆ ในสังคม ซึ่งในบางครั้งอาจจะมากเกินหรือไมเพียงพอกับความตองการของผูบริโภคในสังคมได และยิ่งไปกวานั้นรัฐบาลกลางมักมุงเนนการผลิตสินคาประเภททุนมากกวาท่ีจะผลิตสินคาเพื่อการบริโภคจึงทําใหผูบริโภคมีโอกาสที่จะเลือกบริโภคสินคาและบริการไดนอยมาก หรืออาจจะไมมีโอกาสเลือกบริโภคสินคาและบริการเลย และอีกประการหนึ่ง สินคาท่ีผลิตไดอาจจะไมมีคุณภาพ เนื่องจากการผลิตไมมีการแขงขัน

Page 66: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

44

3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy System)

ระบบเศรษฐกิจแบบผสมนี้เปนระบบเศรษฐกิจที่เดินทางสายกลางผสมผสานระหวางระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนกับระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม โดยนําหลักการและแนวปฏิบัติท่ีดีของแตละระบบเศรษฐกิจมาใชในการตัดสินใจแกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ซึ่งกิจกรรมตางๆ ทางเศรษฐกิจสวนใหญยังใหเอกชนดําเนินการอยู แตรัฐบาลจะเขาไปมีสวนในการควบคุมและดําเนินการในกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอยางที่เอกชนไมสนใจดําเนินการหรือทําไมได หรือทําไดแตไมดี

ในระบบเศรษฐกิจแบบผสมจะใชกลไกราคา ระบบตลาด และการแขงขันเสรี ซึ่งเปนลักษณะสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ในขณะเดียวกันก็จะใชระบบการวางแผนจากสวนกลางหรือมีการควบคุมจากสวนกลางซึ่งเปนลักษณะสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน ระบบเศรษฐกิจแบบผสมหรือบางทีเราอาจเรียกวา ระบบเศรษฐกิจแบบกึ่งวางแผน (semi-planned economy)

อยางไรก็ตามในโลกแหงความเปนจริงแลวไมมีประเทศใดที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมอยางเต็มตัว แมแตสหรัฐอเมริกาเองที่ไดช่ือวาเปนประเทศทุนนิยม ก็ยังมีการวางแผนจากสวนกลางอยู หรือแมแตโซเวียตท่ีไดข้ึนชื่อวาเปนประเทศคอมมิวนิสต การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจถึงแมสวนใหญจะมีการวางแผนมาจากสวนกลาง แตประเทศก็ไมสามารถดํารงอยูไดในที่สุดก็ตองลมสลายแตกเปนหลายประเทศ และมีแนวโนมท่ีจะใหเอกชนเขามามีบทบาทเพิ่มมากขึ้น หรือประเทศจีนแผนดินใหญในที่สุดก็ตองใชนโยบายแบบผอนปรน โดยเปดทําการคากับตางประเทศและใหเอกชนเขามามีบทบาทในการตัดสินใจในการแกไขปญหาเศรษฐกิจ

แนวคิดในการแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมสามารถดําเนินการไดเปนอยางดี ในชวงอดีตท่ีผานมาเพราะระบบเศรษฐกิจยังไมมีความซับซอน และประชากรก็มีไมมาก ตอมาระบบเศรษฐกิจมีความซับซอนและประชากรมีเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเริ่มตั้งแตปลาย ค.ศ.ท่ี 19 เปนตนมา ปญหาเรื่องการจัดสรรทรัพยากร เริ่มมีความยุงยากมากขึ้น หากปลอยใหเอกชนดําเนินการอยางอิสระโดยที่รัฐบาลไมเขาไปยิ่งเกี่ยวปญหาตางๆจะยิ่งทวีความรุนแรงขึ้น ปญหาดังกลาวไดแก

1) ปญหาเรื่องสวัสดิการของคนงาน รัฐบาลจะตองเขามามีบทบาทในการออกกฎหมายคุมครอง สวัสดิการแรงงานเด็ก และหามมีการผลิตสินคาท่ีเปนอันตรายตอสุขภาพของประชาชนโดยทั่วไป

Page 67: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ระบบเศรษฐกิจ 45

2) ปญหาความไมเปนธรรมทางเศรษฐกิจของประชาชน หากยังปลอยใหเอกชนดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจไดอยางเต็มท่ี ซึ่งอาจสรางความไมเปนธรรมใหกับสังคมและเศรษฐกิจได ดังนั้นรัฐบาลจะตองเขามาแกไขปญหาความไมเปนธรรมที่เกิดข้ึนในระบบเศรษฐกิจ

3) ปญหาการใหบริการดานสาธารณูปโภค ปกติกิจการดานสาธารณูปโภคเอกชนจะไมสนใจลงทุนเพราะตองใชเงินทุนเปนจํานวนมากและผลตอบแทนกวาจะคุมทุนตองใชเวลานานเกินไป กิจการสาธารณูปโภค เชน การไฟฟา ประปา การคมนาคมขนสง การพลังงาน กิจการดังกลาวมีความจําเปนตอสังคม รัฐบาลจะตองเขามาดําเนินการเพื่อผลประโยชนสวนใหญจะไดตกอยูกับสังคม

4) ปญหาเกี่ยวกับรายไดของรัฐ หากปลอยใหเอกชนดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกอยาง รัฐจะประสบปญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บรายไดเขารัฐ การกิจการบางอยางหากรัฐบาลเขาไปดําเนินการจะสามารถเปนแหลงหารายไดเขารัฐเปนจํานวนมาก เชน สลากกินแบงรัฐบาล สุรา ยาสูบ ฯลฯ ผลกําไรจากกิจการตาง ๆ เหลานี้จะตกเปนประโยชนแกสังคม และการที่รัฐเขาไปดําเนินการจะสามารถควบคุมปริมาณและคุณภาพใหกับผูบริโภคได

5) ปญหาการเรงรัดพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ สิ่งท่ีมีคามจําเปนพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (infrastructure) เชน ทางหลวงสายตางๆ ทาเรือ ทาอากาศยาน กิจการรถไฟ สิ่งตางๆเหลานี้เปนสิ่งจําเปนพื้นฐานที่รัฐบาลจะตองเรงรีบดําเนินการจัดสรางขึ้นเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจในดานตางๆ หรือสรางขึ้นมาเพื่อกระตุนใหเศรษฐกิจมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น หากปลอยใหเอกชนดําเนินการอาจจะไมทันตอการขยายตัว เอกชนอาจไมสนใจที่จะลงทุนในโครงการตางๆเหลานี้ เพราะกวาจะไดผลตอบแทนคุมทุนจะตองใชเวลานาน และตองใชเงินทุนเปนจํานวนมาก

จากปญหาดังกลาวจะเห็นไดวาหากปลอยใหเอกชนดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมด ระบบเศรษฐกิจอาจจะประสบกับปญหาไมมีสิ่งสาธารณูปโภค รัฐอาจจะไมมีรายไดเพียงพอกับการใชจายและการลงทุนภายในประเทศ ทําใหประชาชนภายในระบบเศรษฐกิจนั้นๆอาจไดรับความเดือดรอนเนื่องจากตองบริโภคสินคาสาธารณูปโภคในราคาที่คอนขางสูง ทรัพยากรการผลิตตางๆอาจถูกนํามาใชกันอยางฟุมเฟอย จนกอใหเกิดความเสียหายตอระบบเศรษฐกิจโดยสวนรวม

อยางไรก็ตามจะเห็นไดวาระบบเศรษฐกิจแบบผสมเปนระบบเศรษฐกิจที่พยายามเลือกสรรสิ่งท่ีดีจากทั้งระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนมาใชใหเปนประโยชน ปจจุบันประเทศเสรีประชาธิปไตยสวนมากรวมถึงประเทศไทยดวยมีระบบเศรษฐกิจแบบผสม โดยมีการวางแผนเศรษฐกิจ (economic planning) เพื่อประสานนโยบายตางๆของรัฐบาล การวางเปาหมาย

Page 68: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

46

(target) และกําหนดวิธีการดําเนินการแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบผสมที่แตละประเทศใชกันอยูอาจมีระดับการผสมผสานที่แตกตางกันออกไป แลวแตวาประเทศใดจะเนนไปทางดานทุนนิยมมากกวาแบบวางแผน หรืออาจจะเปนระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนมากกวาแบบทุนนิยม ถามีการเนนไปทางดานทุนนิยมมากกวาแบบวางแผน ก็หมายความวาประเทศนั้นไดใหความสําคัญกับเอกชนไดเขามาแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจมากกวาท่ีจะใหรัฐบาลเขามามีบทบาทในการแกไขปญหาพื้นฐาน โดยเนนการใชกลไกทางดานราคา ในขณะเดียวกันหากมีการเนนไปทางดานการวางแผนจากสวนกลางมากกวาแบบทุนนิยมก็หมายความวา ประเทศนั้นๆไดเนนใหความสําคัญกับภาครัฐบาลใหเขามามีบทบาท ควบคุม วางแผนการแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่สําคัญ และมีความเกี่ยวของกับเรื่องปากเรื่องทองของประชาชนในสังคมสวนรวมเปนหลัก

Page 69: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทที่ 5 ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

(Demand Supply and Equilibrium Price) จากการศึกษาในบทที่ผานมาไดอธิบายถึงความหมายของคําวา " เศรษฐศาสตรคืออะไร " รวมไปถึงความรูเบื้องตนในทางดานเศรษฐศาสตร ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปญหาประชากร และระบบเศรษฐกิจ ซึ่งเปนการเตรียมความพรอมกอนที่จะศึกษาในเนื้อหาวิชาเศรษฐศาสตรจุลภาค ซึ่งในบทนี้จะเปนการอธิบายถึงลักษณะของดีมานด ซัพพลาย และการกําหนดราคาดุลยภาพ

1. ดีมานด (Demand)

ดีมานด (demand) หรือบางตําราเรียกวา " อุปสงค " หมายถึง ปริมาณความตองการเสนอซื้อ ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร คําวาดีมานดหรือปริมาณความตองการเสนอซื้อจะหมายถึง ดีมานดท่ีมีประสิทธิผล(effective demand) กลาวคือเปนความตองการเสนอซื้อสินคาหรือบริการของผูบริโภคอันเนื่องมาจากผูบริโภคมีความปรารถนา (desire) ท่ีจะบริโภคสินคาและบริการชนิดนั้น และผูบริโภคจะตองมีความสามารถและเต็มใจท่ีจะซื้อหา (ability and willingness to pay) สินคาและบริการมาบําบัดความตองการของตน การพิจารณาดีมานดจะเปนการพิจารณาถึงความตองการซื้อของผูซื้อหรือผูบริโภค อยางไรก็ตามเราสามารถที่จะแบงการพิจารณาดีมานดออกเปน 3 ชนิดดวยกัน กลาวคือ (1) ดีมานดตอราคา (price demand) (2) ดีมานดตอรายได (income demand) (3) ดีมานดตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ (cross demand)

1.1 ดีมานดตอราคา (Price Demand)

ในทางเศรษฐศาสตร ถาหากกลาวถึงดีมานดจะหมายถึงดีมานดตอราคาเสมอ ดีมานดตอราคา หมายถึง ปริมาณความตองการเสนอซื้อสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ณ ระดับราคาตาง ๆ ของสินคาและบริการชนิดนั้นในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เมื่อกําหนดใหปจจัยอื่นๆ คงที่ ความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการเสนอซื้อสินคาและบริการกับปจจัยตางๆที่เปนตัวกําหนด สามารถเขียนใหอยูในรูปของฟงกช่ัน (function) ไดดังนี้

Page 70: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

48

QX = f ( PX , T , I , PY, N , S , E , ... ) ........................(1)

โดยท่ี QX = ปริมาณความตองการเสนอซื้อสินคา X PX = ระดับราคาของสินคา X T = รสนิยมของผูบริโภค I = ระดับรายไดของผูบริโภค PY = ราคาของสินคาอื่นที่เกี่ยวของ N = จํานวนผูบริโภคที่มีอยูในตลาด S = ฤดูกาล E = การคาดคะเนเกี่ยวกับราคาสินคาในอนาคต

จากฟงกช่ันที่ (1) เปนการพิจารณาถึงความตองการซื้อสินคาใด ๆ ท่ีข้ึนอยูกับปจจัยตาง ๆ ไดแก ระดับราคาของสินคาชนิดนั้น รสนิยมของผูบริโภค ระดับรายไดของผูบริโภค ราคาของ สินคาอื่นที่เกี่ยวของ จํานวนผูบริโภคที่มีอยูในตลาด และฤดูกาล หากมีการพิจารณาโดยใหปจจัยตางๆเหลานี้เปลี่ยนแปลงพรอมกันทั้งหมด ในการพิจารณาดังกลาวจะเกิดความยุงยากและซับซอนมาก ดังนั้นเพื่อใหงายตอการพิจารณาจึงกําหนดใหปจจัยอื่นๆคงที่ ยกเวนราคาของสินคาชนิดนั้น ความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการซื้อกับราคาของสินคาชนิดนั้น สามารถเขียนใหอยูในรูปฟงกช่ันใหม ดังนี้

QX = f (PX) .......................(2)

จากฟงกช่ันที่ (2) จะเห็นไดวาเมื่อกําหนดใหปจจัยอื่นๆคงที่ ปริมาณความตองการซื้อ สินคาข้ึนอยูกับราคาสินคาชนิดนั้น หรืออาจกลาวไดวาราคาของสินคาจะเปนตัวกําหนดปริมาณซื้อ จากฟงกช่ันที่ (2) ทราบแตพียงวาปริมาณซื้อมีความสัมพันธกับราคาเทานั้นแตไมอาจจะทราบถึงทิศทางของความสัมพันธ เราจะทราบถึงทิศทางของความสัมพันธไดก็ตอเมื่อความสัมพันธนี้อยูในรูปของสมการ ถาสมมติใหความสัมพันธระหวาง QX กับ PX เปนความสัมพันธเชิงเสนตรงก็จะไดวา

QX = a – bPX .......................(3)

โดยท่ี QX = ปริมาณความตองการซื้อสินคา X PX = ระดับราคาของสินคา X

Page 71: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

49

a = คาคงที่ (constant) b = อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณความตองการซื้อสินคา X เมื่อราคา ของสินคา X เปลี่ยนแปลงไป 1 หนวย จากสมการที่ (3) เปนความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการเสนอซื้อสินคา X กับระดับราคาของสินคา X ในเชิงเสนตรง คา b คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณความตองการซื้อสินคา X เมื่อราคาของสินคา X เปลี่ยนแปลงไป 1 หนวย ซึ่งสามารถอธิบายวา ถาราคาสินคา Xเปลี่ยนแปลงไป 1 หนวยจะทําใหปริมาณความตองการซื้อสินคาจะเปลี่ยนแปลงไปเทากับ b หนวยในทิศทางตรงกันขามกับราคาของสินคา คา b จากสมการที่ (3) ไมใชคาความชัน (slope) ของเสน ดีมานดซึ่งการหาคาความชันของเสนดีมานดสามารถหาไดดังนี้

slopeการเปลี่ยนแปลงของแกนตั้งการเปลี่ยนแปลงของแกนนอน

PQ

= =ΔΔ

ดังนั้นคาความชันของเสนดีมานดจากสมการที่ (3) จึงมีคาเทากับ - 1

b และการที่มี

เครื่องหมายติดลบ แสดงวาทิศทางการเปลี่ยนแปลงของปริมาณความตองการเสนอซื้อจะตรงกันขามกับการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคานั้นๆเสมอ

1.2 ดีมานดตอรายได (Income Demand)

ดีมานดตอรายไดเปนการพิจารณาถึงความสัมพันธระหวางรายไดของผูบริโภคกับความตองการเสนอซื้อสินคา กลาวคือ ดีมานดตอรายได หมายถึง ปริมาณความตองการเสนอซื้อสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ณ ระดับรายไดตางๆของผูบริโภคในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเมื่อกําหนดใหปจจัยอื่นๆ คงที่ ในทํานองเดียวกับดีมานดตอราคา เมื่อกําหนดใหปจจัยอื่นๆคงที่เราสามารถที่จะเขียนความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการเสนอซื้อกับระดับรายไดของผูบริโภคใหอยูในรูปของฟงกช่ันไดดังนี้

Qi = f (I) ........................(4)

โดยที่ Qi = ปริมาณความตองการเสนอซื้อสินคาใดๆ I = ระดับรายไดของผูบริโภค

Page 72: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

50

จากฟงกช่ันที่ (4) จะเห็นไดวาปริมาณความตองการเสนอซื้อสินคาข้ึนอยูกับรายไดของผูบริโภคเมื่อกําหนดใหปจจัยอื่นๆคงที่ จากความสัมพันธดังกลาวถาหากระดับรายไดของผูบริโภค (I) เปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เพิ่มข้ึนจะมีผลทําให Qi เพิ่มข้ึนหรือเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกันดวย และสินคาชนิดนั้นเราเรียกวา สินคาปกติ (normal goods) ดังรูปที่ 5.1 แตถาหากระดับรายไดของผูบริโภค (I) เปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เพิ่มแลวมีผลทําให Qi ลดลงหรือเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันขามกับระดับรายไดของผูบริโภค (I) แลวสินคาชนิดนั้นเราเรียกวา สินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) ซึ่งสามารถเขียนความสัมพันธใหอยูในรูปกราฟได ดังรูปที่ 5.2

รูปที่ 5.1 แสดงเสนดีมานดของสินคาปกติ (normal goods)

จากรูปที่ 5.1 ใหแกนตั้งคือระดับรายได (I) และแกนนอนคือปริมาณสินคา (Q) เสน D คือเสนดีมานดของสินคาปกติ เมื่อระดับรายไดอยูท่ี I1 ปริมาณความตองการซื้อสินคาอยูท่ี Q1 ตอมา ระดับรายไดเพิ่มข้ึนเปน I2 ปริมาณความตองการซื้อสินคาเพิ่มข้ึนเปน Q2 จะเห็นไดวาทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระดับรายไดกับปริมาณความตองการซื้อสินคาดังกลาวเปนไปในทิศทางเดียวกัน นั่นคือสินคานี้เปน สินคาปกติ (normal goods)

D

O Q1 Q2 Q

I

Income Demand Curve

I2

I1

Page 73: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

51

รูปที่ 5.2 แสดงเสนดีมานดของสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods)

จากรูปที่ 5.2 เมื่อรายไดอยูท่ี I1 ผูบริโภคตองการซื้อสินคาเทากับ Q1 ตอมาเมื่อระดับรายไดเพิ่มสูงข้ึนเปน I2 ผูบริโภคกลับตองการซื้อสินคาชนิดนี้นอยลงเปน Q2 จะเห็นไดวาทิศทางการเปลี่ยนแปลงของรายไดกับปริมาณความตองการซื้อสินคาจะเปนไปในทิศทางตรงกันขาม นั่นคือ สินคาชนิดนี้เปน สินคาดอยคุณภาพ ( inferior goods )

1.3 ดีมานดตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ (Cross Demand)

ดีมานดตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ เปนการพิจารณาถึงความสัมพันธระหวางราคาของ สินคาอื่นที่เกี่ยวของกับความตองการเสนอซื้อสินคาชนิดท่ีกําลังพิจารณา กลาวคือ ดีมานดตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ หมายถึง ปริมาณความตองการเสนอซื้อสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ณ ระดับราคาของสินคาและบริการชนิดอื่นที่เกี่ยวของ ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเมื่อกําหนดใหปจจัยอื่นๆ คงที่ ในทํานองเดียวกันกับดีมานดตอราคา เมื่อกําหนดใหปจจัยอื่นๆคงที่ เราสามารถที่จะเขียนความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการซื้อกับระดับราคาของสินคาและบริการอื่นที่เกี่ยวของ ใหอยูในรูปของฟงกช่ันได ดังนี้

QX = f (PY) .......................(5)

โดยที่ QX = ปริมาณความตองการซื้อสินคา X

PY = ระดับราคาของสินคาอื่นที่เกี่ยวของ

I2

D I

I1 Income Demand Curve

Q O Q2 Q1

Page 74: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

52

ลักษณะความสัมพันธระหวางสินคาท่ีกําลังพิจารณาอยูกับสินคาชนิดอื่นที่เกี่ยวของ สามารถแบงออกเปน 2 ประการ ประการแรก เปนสินคาท่ีใชทดแทนกันได (substitution goods) เชน เนื้อหมูกับเนื้อไก ชากับกาแฟ ถาหากมีการเปลี่ยนแปลงในราคาของสินคาตัวหนึ่งจะมีผล กระทบตอปริมาณการเสนอซื้อสินคาอีกตัวหนึ่ง ยกตัวอยางเชน ถาราคาเนื้อหมูสูงข้ึนผูบริโภคจะหันไปบริโภคเนื้อไกเพิ่มมากขึ้น ประการที่สอง เปนสินคาควบคูหรือสินคาประกอบกัน (complementary goods) เชน ปากกาหมึกซึมกับน้ําหมึก หรือรถยนตกับน้ํามัน หากมีการเปลี่ยนแปลงในราคาของสินคาตัวหนึ่ งจะมีผลกระทบตอปริมาณการเสนอซื้อสินคาอีกตัวหนึ่ ง ยกตัวอยางเชน ถาราคาของปากกาหมึกซึมเพิ่มสูงข้ึนความตองการน้ําหมึกจะลดลงซึ่งสินคาท้ังสองประเภทนี้สามารถแสดงความสัมพันธในรูปกราฟไดดังนี้

รูปที่ 5.3 แสดงเสนดีมานดสําหรับสินคาทดแทนกัน

รูปที่ 5.3 เพื่อใหงายตอการเขาใจ สมมติใหแกนตั้งคือ ราคาเนื้อหมู (PY) แกนนอนคือปริมาณเนื้อไก (QX) เสน D คือเสนดีมานดหรือเสนที่แสดงปริมาณความตองการซื้อเนื้อไก ณ ระดับราคาของเนื้อหมูตางๆ และกําหนดใหปจจัยอื่นๆที่เปนตัวกําหนดปริมาณความตองการซื้อเนื้อไกคงที่หมด ยกเวนราคาของเนื้อหมูซึ่งเปนราคาของสินคาอื่นที่เกี่ยวของกัน ความสัมพันธดังกลาวสามารถอธิบายไดวา เมื่อราคาเนื้อหมูอยูท่ีระดับ P'Y ปริมาณความตองการซื้อเนื้อไกจะอยูท่ี Q'X ตอมาเมื่อระดับราคาเนื้อหมูเพิ่มสูงข้ึนเปน P"Y ปริมาณความตองการซื้อเนื้อไกจะเพิ่มสูงข้ึนเปน Q"X สาเหตุท่ีเปนเชนนี้ก็เนื่องมาจากเมื่อราคาเนื้อหมูแพงขึ้นผูบริโภคก็หันไปซื้อเนื้อไกแทนจึงมีผลทําใหปริมาณการซื้อเนื้อไกเพิ่มข้ึน นั่นคือความสัมพันธระหวางราคาของเนื้อหมูกับปริมาณความตองการซื้อเนื้อไกจะเปนไปในทิศทางเดียวกัน สินคาท้ังสองดังกลาวนี้จึงเปนสินคาทดแทนกัน (substitution goods)

D

QX

PY

P"Y

P'Y

Q"X Q'X O

Page 75: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

53

รูปท่ี 5.4 แสดงเสนดีมานดสําหรับสินคาที่ใชควบคูกันหรือใชประกอบกัน

จากรูปที่ 5.4 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคารองเทา (PY) และแกนนอนคือปริมาณถุงเทา (QX) เสน D คือเสนดีมานดสําหรับถุงเทา และกําหนดใหปจจัยอื่นๆที่เปนตัวกําหนดการซื้อถุงเทาคงที่ท้ังหมด เมื่อระดับราคารองเทาอยูท่ี P'Y ปริมาณความตองการซื้อถุงเทาจะอยูท่ี Q'X ตอมาเมื่อราคารองเทาเพิ่มสูงข้ึนเปน P"Y ปริมาณความตองการซื้อถุงเทาจะลดลงเปน Q"X สาเหตุท่ีเปนเชนนี้ก็เนื่องมาจากเมื่อราคารองเทาเพิ่มสูงข้ึนทําใหผูบริโภคลดการซื้อรองเทาลงและเมื่อซื้อรองเทาลดลงก็จะสงผลทําใหซื้อถุงเทาลดลงตามไปดวย นั่นคือ ทิศทางความสัมพันธระหวางราคารองเทากับปริมาณความตองการซื้อถุงเทาจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันขาม สินคาท้ังสองดังกลาวนี้จึงเปน สินคาควบคูหรือสินคาใชประกอบกัน (complementary goods) อยางไรก็ตามถึงแมจะมีการแยกพิจารณาดีมานดออกเปน 3 ชนิด แตนักเศรษฐศาสตรไดใหความสําคัญกับดีมานดตอราคามากที่สุด ท้ังนี้เพราะถาหากกําหนดใหปจจัยอื่นๆที่มีอิทธิพลตอดีมานดคงที่แลว ปริมาณความตองการซื้อสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งจะมีความสัมพันธกับระดับราคาสินคาและบริการชนิดนั้นเสมอ ดังนั้นหากกลาวคําวา " ดีมานด " เราจะหมายถึงเฉพาะดีมานดตอราคาเทานั้น แตถาเปนดีมานดตอรายได หรือดีมานดตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ เราจะใชคําวาดีมานดตอรายไดหรือตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ

D QX

Q'X Q"X O

P'Y

P"Y

PY

Page 76: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

54

1.4 ลักษณะของดีมานด (Price Demand)

ดีมานดสําหรับสินคาและบริการเปนปริมาณความตองการเสนอซื้อสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งมีความสัมพันธกับราคาของสินคาและบริการนั้น ๆ เสมอโดยที่ปจจัยอื่น ๆ คงที่ ยกเวนราคาของสินคาชนิดท่ีเรากําลังศึกษา จากการศึกษาพบวาถาระดับราคาสินคาและบริการใด ๆ ลดลงแลวจะมีผลทําใหผูบริโภคซื้อสินคาและบริการนั้นเพิ่มมากขึ้น แตถาระดับราคาสินคาและบริการใด ๆ เพิ่มสูงข้ึนจะมีผลทําใหผูบริโภคลดการซื้อสินคาและบริการนั้นลงเสมอ ในที่สุดจึงกลายมาเปนกฎเกณฑซึ่งเรียกวา กฎแหงดีมานด (law of demand) ซึ่งกลาววา “ปริมาณของสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผูบริโภคตองการซื้อยอมผันแปรผกผันกับระดับราคาของสินคาและบริการชนิดนั้นเสมอ ” สาเหตุท่ีปริมาณความตองการซื้อสินคาและบริการของผูบริโภคผันแปรผกผันกับระดับราคาของสินคาและบริการชนิดนั้นๆ เนื่องมาจากสาเหตุ 2 ประการ คือ 1) ผลของการทดแทนกัน (Substitution Effect) กลาวคือ เมื่อราคาสินคาท่ีกําลังพิจารณาเพิ่มสูงข้ึน ในขณะที่ราคาของสินคาอื่นที่สามารถทดแทนไดมีราคาคงที่ ผูบริโภคจะมีความรูสึกวาสินคาชนิดนี้ราคาแพงขึ้นก็จะซื้อสินคาชนิดนี้นอยลงและหันไปซื้อสินคาชนิดอื่นๆเพื่อใชทดแทนสินคาท่ีกําลังพิจารณา หรือในทางกลับกันหากกําหนดใหราคาสินคาท่ีกําลังพิจารณามีราคาลดลงผูบริโภคก็จะซื้อสินคาอื่นๆนอยลงและจะซื้อสินคาท่ีกําลังพิจารณาเพิ่มมากขึ้น 2) ผลทางดานรายได (Income Effect) กลาวคือ เมื่อราคาสินคาท่ีกําลังพิจารณาเพิ่มสูงข้ึนในขณะที่รายไดท่ีเปนตัวเงิน(money income)คงที่จะมีผลทําใหอํานาจซื้อหรือรายไดท่ีแทจริง (real income)ลดลง ผูบริโภคก็จะสามารถซื้อสินคาดังกลาวไดนอยลง หรือในทางกลับกันถาหากราคาของสินคาท่ีกําลังพิจารณาอยูลดลงเมื่อรายไดท่ีเปนตัวเงินคงที่จะสงผลใหรายไดท่ีแทจริงของผูบริโภคเพิ่มสูงข้ึนจึงทําใหสามารถซื้อสินคาดังกลาวไดมากขึ้น รายละเอียดของผลการทดแทนกันและผลทางดานรายไดจะอธิบายอีกทีในเรื่องของทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภคที่อธิบายโดยใชเสนความพอใจเทากัน (IC) และเสนงบประมาณ (budget line) กรณีท่ีราคาสินคาเปลี่ยนแปลง

Page 77: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

55

1.5 ตารางดีมานด และเสนดีมานด (Demand Schedule and Demand Curve)

ตารางที่ 5.1 ปริมาณความตองการซื้อลิ้นจี่ของผูบริโภคคนหนึ่ง ณ ระดับราคาตางๆ

ราคา ( บาท / kg )

ปริมาณความตองการซื้อ ( kg )

60 50 42 35 29 24 20

6 9

12 15 18 21 24

0

10

20

30

40

50

60

0 3 6 9 12 15 18 21 24 27

รูปที่ 5.5 แสดงเสนดีมานดของลิ้นจี่

จากตารางที่ 5.1 เปนตัวเลขที่แสดงความสัมพันธระหวางระดับราคากับปริมาณความตองการซื้อ ณ ระดับราคาตาง ๆ ผูบริโภคตองการซื้อลิ้นจี่ในปริมาณที่แตกตางกัน เมื่อระดับราคาลิ้นจี่อยูท่ี 60 บาท/kg ปริมาณความตองการซื้อ 6 kg ตอมาราคาลิ้นจี่ลดลงเปน 50 บาท/kg ปริมาณความตองการ

D

Q (kg)

P (บาท/kg)

Page 78: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

56

ซื้อเพิ่มข้ึนเปน 9 kg เมื่อราคาลิ้นจี่ลดลงมาถึง 20 บาท/kg ปริมาณความตองการซื้อก็จะเพิ่มเปน 24 kg และเมื่อนําตัวเลขความสัมพันธระหวางราคาของลิ้นจี่กับปริมาณความตองการซื้อมาสรางเปนรูปกราฟก็จะไดเสนดีมานด(demand curve)ของลิ้นจี่ ดังรูปที่ 5.5 เสนดีมานดของลิ้นจี่ ท่ีได จะแสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของปริมาณความตองการซื้อลิ้นจี่จะผันแปรผกผันกับระดับราคา กลาวคือ เมื่อระดับราคาเพิ่มสูงข้ึนปริมาณความตองการซื้อจะลดลง ตอมาถาระดับราคาของลิ้นจี่ลดลงปริมาณความตองการซื้อจะเพิ่มข้ึนซึ่งเปนไปตามกฎของดีมานด (law of demand) อยางไรก็ตามยังมีสินคาท่ีไมเปนไปตามกฎของดีมานดหรือเราเรียกวาขอยกเวนของกฎแหงดีมานด

รูปที่ 5.6 เสนดีมานดของสินคาท่ีไมเปนไปตามกฎแหงดีมานด

จากรูปที่ 5.6 เปนการแสดงเสนดีมานดของสินคา X ท่ีไมเปนไปตามกฎแหงดีมานด กลาวคือ ความสัมพันธระหวางราคาสินคา X กับปริมาณความตองการซื้อสินคา X ของผูบริโภค จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อราคาสินคา X เพิ่มสูงข้ึน ปริมาณความตองการซื้อก็จะเพิ่มข้ึนตาม สินคาท่ีไมเปนไปตามกฎแหงดีมานดไดแก สินคาประเภทฟุมเฟอย (luxury goods) และเกิดจากการคาดคะเนราคาสินคา กลาวคือ เมื่อมีการคาดคะเนราคาสินคาวาราคาสินคาจะเพิ่มสูงข้ึน ดังนั้นผูบริโภคจึงพากันไปซื้อสินคาดังกลาวมากักตุนไว เมื่อมีการแยงกันซื้อสินคาจะทําใหราคา สินคาเพิ่มสูงข้ึนและปริมาณความตองการซื้อสินคาก็จะเพิ่มตามขึ้นมาอีก นั่นคือ ทิศทางของการเปลี่ยนแปลงระหวางราคากับปริมาณความตองการซื้อจะเปนไปในทศิทางเดียวกัน

D

PX

QX O

Page 79: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

57

1.6 การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (Change in Quantity Demanded)

โดยปกติแลวปริมาณความตองการซื้อจะขึ้นอยูกับราคาของสินคาชนิดนั้น ราคาของสินคาอื่นท่ีเกี่ยวของ รายไดของผูบริโภค รสนิยมของผูซื้อ จํานวนผูซื้อท้ังหมดในตลาด และปจจัยอื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ (change in quantity demanded) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้ออันเนื่องมาจากราคาสินคาชนิดนั้นๆเปลี่ยนแปลงในขณะที่ปจจัยอื่นๆที่มีอิทธิพลในการกําหนดปริมาณซื้อคงที่อยู เมื่อราคาสินคานั้นๆลดลงปริมาณความตองการซื้อของผูบริโภคจะเพิ่มมากขึ้น หรือในทางกลับกันถาราคาสินคาเพิ่มสูงข้ึนปริมาณความตองการซื้อสินคาของผูบริโภคจะลดนอยลงซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปบนเสนดีมานดเดิม (move along the curve) เสนดีมานดจะไมเคลื่อนยาย (shift) เพิ่มข้ึนหรือลดลงไปจากเสนเดิม ดังรูปที่ 5.7

รูปที่ 5.7 แสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ

1.7 การเคลื่อนยายเสนดีมานด (Shift in the Demand Curve)

การเคลื่อนยายเสนดีมานด หมายถึง การท่ีเสนดีมานดเคลื่อนยาย (shift) ไปทั้งเสนอันมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในปจจัยอื่นๆที่ไมใชราคาของสินคานั้นๆ เชน รายได รสนิยม และราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ ซึ่งอาจจะเปนปจจัยตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายตัวก็ไดเปลี่ยนแปลงไปจะมีผลทําใหปริมาณซื้อสินคาท่ีกําลังพิจารณาอยูเปลี่ยนแปลงไปในขณะที่ราคาของสินคาชนิดนี้ คงที่อยู นั่นคือ ถาหากปจจัยอื่น ๆ เปลี่ยนแปลงไปแลวจะมีผลทําใหปริมาณซื้อสินคาเพิ่มข้ึนและเสน

A

B

QX

Move along the curve

D

O Q1 Q2

PX

P1

P2

Page 80: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

58

ดีมานดก็จะเคลื่อนยาย (shift) ท้ังเสนไปทางขวามือของเสนเดิม แตถาปจจัยอื่นๆเปลี่ยนแปลงไปแลวทําใหปริมาณซื้อลดลง เสนดีมานดก็จะเคลื่อนยาย (shift) ท้ังเสนไปทางซายมือของเสนเดิม

รูปที่ 5.8 แสดงการเคลื่อนยายเสนดีมานด

จากรูปที่ 5.8 สมมติใหสินคาท่ีเรากําลังพิจารณา คือ สินคา X และเดิมท่ีเสนดีมานดของ สินคา X คือ เสน D ราคาคงที่อยูท่ี P1 ตอมาใหรายไดของผูบริโภคเพิ่มสูงข้ึนหรือราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของเพิ่มสูงข้ึน หรือผูบริโภคนิยมบริโภคสินคา X เพิ่มมากขึ้นจะมีผลทําใหผูบริโภคซื้อสินคา X เพิ่มข้ึนจาก Q1 เปน Q2 เสนดีมานดจะเคลื่อนยายจากเสน D ไปทางขวามือเปนเสน D' หรือเรียกวา ดีมานดเพิ่มข้ึน (increase in demand) ในทางกลับกันถาผูบริโภคมีรายไดลดลงหรือราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของลดลง หรือผูบริโภคไมนิยมบริโภคสินคา X แลว และราคาสินคา X ยังคงที่อยูท่ี P1 จะมีผลทําใหผูบริโภคลดการซื้อสินคา X ลงจาก Q1 เปน Q3 เสนดีมานดก็จะเคลื่อนยาย (shift) ไปทางซายมือของเสนดีมานดเดิม กลาวคือเคลื่อนยายจากเสน D ไปเปน D" หรือเรียกวา เสนดีมานดลดลง (decrease in demand)

D"

A B

QX

C

PX

P1

D' D

O Q3 Q1 Q2

Page 81: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

59

1.8 ปจจัยที่ทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยาย (Factors Effective in Demand Shift)

การท่ีเสนดีมานดของสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งจะเคลื่อนยาย (shift) ไปจากเสนเดิมนั้นก็เพราะมีปจจัยอื่นๆ ท่ีนอกเหนือจากราคาของสินคาและบริการชนิดนั้นเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ปจจัยอื่นๆ เหลานั้นไดแก 1) รายไดของผูบริโภคเปลี่ยนแปลง เมื่อรายไดของผูบริโภคเพิ่มข้ึนหรือลดลงยอมมีผลทําใหผูบริโภคสามารถซื้อสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มมากขึ้นหรือลดนอยลงตามไปดวย 2) รสนิยมของผูบริโภคเปลี่ยนแปลง ยกตัวอยางเชนในอดีตผูคนนิยมซื้อวิทยุเทปกันมาก จึงทําใหวิทยุเทปในอดีตมีการซื้อขายกันมาก แตในปจจุบันคนหันมานิยมซื้อวีดีโอคาราโอเกะ หรือซื้อคอมพิวเตอรพรอมติดตั้งเครื่องเสียง จึงทําใหวิทยุเทปในปจจุบันมีการซื้อขายกันนอยลง 3) ระดับราคาสินคาและบริการชนิดอื่นที่เกี่ยวของเปลี่ยนแปลง หากสินคาอื่นเปนสินคาทดแทนกันกับสินคาท่ีกําลังพิจารณา ถาราคาสินคาอื่นเพิ่มสูงข้ึนผูบริโภคก็จะหันมาซื้อสินคาชนิดนี้เพิ่มมากขึ้น แตถาราคาสินคาอื่นลดลงผูบริโภคก็จะซื้อสินคาชนิดนี้นอยลงโดยหันไปซื้อสินคาชนิดอื่นเพิ่มมากขึ้น หากสินคาชนิดอื่นเปนสินคาท่ีใชควบคูกันเมื่อราคาของสินคาอื่นเพิ่มสูงข้ึนผูบริโภคจะซื้อสินคาชนิดท่ีกําลังพิจารณานอยลง แตถาราคาสินคาอื่นลดลงผูบริโภคจะซื้อสินคาชนิดท่ีกําลังพิจารณาเพิ่มมากขึ้น 4) จํานวนประชากรเปลี่ยนแปลง กลาวคือ ถาจํานวนประชากรเพิ่มมากขึ้นหรือลดลงก็จะมีผลกระทบตอปริมาณการเสนอซื้อสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ท้ังนี้เพราะประชากรยอมมีความตองการแสวงหาสินคาและบริการตางๆ มาบําบัดความตองการของตนเสมอ 5) ฤดูกาลเปลี่ยนแปลง ฤดูกาลยอมมีผลกระทบตอปริมาณการซื้อสินคาและบริการบางชนิด เชน ในฤดูฝนปริมาณการซื้อรมกันฝนจะมีมากกวาในฤดูอื่น ๆ หรือในฤดูหนาวจะมีปริมาณการซื้อเสื้อกันหนาวจะมีมากกวาในฤดูอื่นๆ ท้ังๆ ท่ีราคาสินคาตางๆ เหลานี้ไมไดเปลี่ยนแปลงแตอยางใด 6) การคาดคะเนราคาสินคาในอนาคตและรายไดในอนาคตของผูบริโภค กลาวคือ ถาหาก ผูบริโภคคาดการณวาในอนาคตราคาสินคาจะเพิ่มสูงข้ึน ผูบริโภคก็จะเพิ่มปริมาณการซื้อสินคาในปจจุบันมากขึ้นกวาเดิมเพื่อกักตุนสินคาเอาไว หรือ การคาดคะเนวาในอนาคตจะมีรายไดเพิ่มสูงข้ึน ผูบริโภคก็จะเพิ่มปริมาณการบริโภคสินคาในปจจุบันมากขึ้นกวาปกติท้ังๆท่ีราคาสินคาเหลานี้ไมไดเปลี่ยนแปลงแตอยางใด

Page 82: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

60

1.9 ดีมานดตลาด (Market Demand)

ดีมานดท่ีกลาวมาแลวนั้นไมวาจะเปนตารางดีมานดหรือเสนดีมานดท้ังหมดเปนดีมานดของผูบริโภคแตละราย (individual demand) เมื่อนําเอาดีมานดของผูบริโภคแตละรายที่มีอยูในตลาดท้ังหมดมารวมกันก็จะได ดีมานดตลาด (market demand) ยกตัวอยางเชน มีผูบริโภคที่ตองการซื้อลิ้นจี่ในตลาดแหงหนึ่งเพียง 2 ราย คือ นาย J และนาย K โดยที่ผูบริโภคแตละรายมีความตองการเสนอซื้อลิ้นจี่ในปริมาณที่แตกตางกัน ณ ระดับราคาตางๆ ดังตารางที่ 5.2

ตารางที่ 5.2 แสดงปริมาณการเสนอซื้อลิ้นจี่ของผูบริโภค ณ ระดับราคาตาง ๆ ในตลาดแหงหนึ่ง

ราคา ปริมาณความตองการเสนอซื้อ ( kg/วัน )

( บาท / kg ) นาย J นาย K ในตลาดทั้งหมด

10

15

20

25

30

35

15

10

6

4

2

0

30

24

17

12

8

5

45

34

23

16

10

5

จากตารางที่ 5.2 แสดงถึงปริมาณความตองการเสนอซื้อลิ้นจี่ในแตละวันของผูบริโภคจํานวน 2 ราย ณ ระดับราคาตาง ๆ ในตลาดแหงหนึ่ง และจากตัวเลขดังกลาวเมื่อนําไปเขียนเปนรูปกราฟก็จะไดเสนดีมานดตลาด (market demand) ดังรูปที่ 5.9

Page 83: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

61

จากรูปที่ 5.9 เสน DJ คือเสนดีมานดในการเสนอซื้อลิ้นจี่ของนาย J เสน DK คือเสน ดีมานดในการเสนอซื้อลิ้นจี่ของนาย K และเสน DM คือเสนดีมานดตลาด (market demand)ของลิ้นจี่ซึ่งไดจากการรวมเสนดีมานดสวนบุคคลของนาย J และนาย K เขาดวยกัน กลาวคือ ณ ระดับราคาลิ้นจี่ 35 บาท/kg นาย J ไมตองการซื้อเลย สวนนาย K ตองการซื้อ 5 kg/วัน ปริมาณความตองการเสนอซื้อท้ังตลาดเทากับ 5 kg/วัน ตอมาราคาลิ้นจี่ลดลงเหลือ 25 บาท/kg นาย J ตองการซื้อ 4 kg/วัน และนาย K ตองการซื้อ 12 kg/วัน ปริมาณความตองการเสนอซื้อท้ังตลาดเทากับ 16 kg/วัน และตอมาราคาลิ้นจี่ลดลงอีกเหลือเทากับ 15 บาท/kg นาย J ตองการซื้อเพิ่มข้ึนเปน 10 kg/วัน และนาย K ตองการซื้อเพิ่มข้ึนเปน 24 kg/วัน ปริมาณความตองการเสนอซื้อท้ังตลาดเทากับ 34 kg/วัน นั่นคือ ดีมานดตลาดไดจากการรวมดีมานดของผูบริโภคแตละรายที่มีอยูในตลาดทั้งหมด

DJ

(บาท/kg)

DK DM

(บาท/kg) (บาท/kg)

50 40 30 20 10 0 30 20 10 0 20 10 0

5 10 15 20 25 30 35

เสนดีมานดตลาด

ปริมาณเสนอซื้อ (kg/วัน)

รูปที่ 5.9 แสดงเสนดีมานดตลาดของลิ้นจี่

Page 84: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

62

2. ซัพพลาย (Supply)

ซัพพลาย (supply) หรือบางตําราเรียกวา " อุปทาน " การพิจารณาถึงซัพพลายของสินคาและบริการใดๆ จะเปนการพิจารณาในแงของผูผลิตหรือผูขาย ซัพพลายของสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง หมายถึง ปริมาณความตองการเสนอขายสินคาและบริการชนิดใดๆ ของผูผลิต ณ ระดับราคาตางๆ ในเวลาใดเวลาหนึ่ง กฎของซัพพลาย (law of supply) เปนกฎที่วาดวย "ความสัมพันธระหวางราคาสินคากับปริมาณเสนอขายที่เปนไปในทิศทางเดียวกันเมื่อกําหนดใหสิ่งอื่นๆคงที่ " จากกฎดังกลาวอธิบายไดวา หากระดับราคาสินคาเพิ่มสูงข้ึนปริมาณความตองการเสนอขายก็จะมีมากขึ้นดวย แตถาระดับราคาของสินคาลดลงปริมาณความตองการเสนอขายก็จะลดลงดวยเชนกัน ทิศทางความสัมพันธระหวางปริมาณเสนอขายกับระดับราคาจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม ปริมาณความตองการเสนอขายสินคาไมไดข้ึนอยูกับราคาของสินคาชนิดนั้นๆแตเพียงอยางเดียว แตปริมาณเสนอขายจะยังข้ึนอยูกับปจจัยอื่นๆอีกหลายประการ เชน ระดับราคาของปจจัยการผลิต ระดับราคาของสินคาและบริการชนิดอื่นๆ เทคนิคการผลิต จํานวนของผูผลิตในตลาด นโยบายการจัดเก็บภาษีของรัฐบาล การเปลี่ยนแปลงของสภาพดินฟาอากาศ และตนทุนการผลิต ซึ่งปจจัยตางๆ เหลานี้ลวนแลวแตมีอิทธิพลในการกําหนดปริมาณเสนอขายทั้งสิ้น (determinants of supply) ซึ่งสามารถเขียนใหอยูในรูปของฟงกช่ันซัพพลาย (supply function) ได ดังนี้ QS = f (P , Pi , PO , T , N , C , S , ...) ........................(6) โดยที่ QS = ปริมาณความตองการเสนอขายสินคาใดๆ P = ราคาของสินคาชนิดนั้นๆ Pi = ราคาของปจจัยการผลิต PO = ราคาของสินคาอื่นๆที่เกี่ยวของ T = เทคนิคการผลิต N = จํานวนผูผลิตในตลาด C = ตนทุนการผลิต S = สภาพดินฟาอากาศ จากฟงกช่ันที่ (6) ซึ่งเปนซัพพลายฟงกช่ัน จะเห็นไดวาปริมาณความตองการเสนอขาย สินคาใดๆขึ้นอยูกับราคาของสินคานั้น ๆ ราคาของปจจัยการผลิต ราคาของสินคาอื่นที่เกี่ยวของ

Page 85: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

63

เทคนิคการผลิต จํานวนผูผลิตในตลาด ตนทุนการผลิต สภาพดินฟาอากาศ และปจจัยอื่น ๆ หากจะพิจารณาปจจัยตาง ๆ เหลานี้ใหเปลี่ยนแปลงไปพรอมๆกันทั้งหมดจะเกิดความยุงยากและซับซอนมาก ดังนั้นเพื่อใหงายตอการศึกษาจึงจําเปนตองพิจารณาถึงความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการเสนอขายกับระดับราคาของสินคาชนิดนั้นเทานั้น โดยกําหนดใหปจจัยอื่น ๆ คงที่และสามารถเขียนใหอยูในรูปของฟงกช่ันใหมไดดังนี้

QS = f (P) ...................... (7)

โดยที่ QS = ปริมาณความตองการเสนอขายสินคาใดๆ P = ราคาของสินคาชนิดนั้นๆ เมื่อกําหนดใหปจจัยอื่น ๆ คงที่ ปริมาณความตองการเสนอขายขึ้นอยูกับราคาสินคาชนิดนั้น ๆ และจากความสัมพันธดังกลาวไมอาจจะทราบถึงทิศทางของความสัมพันธวาเปนไปทิศทางใด ดังนั้นความสัมพันธดังกลาวจะตองอยูในรูปของสมการจึงจะทราบถึงทิศทางของความสัมพันธ ถาสมมติใหความสัมพันธระหวาง QS กับ P เปนสมการเชิงเสนตรง ก็จะไดวา

QS = a + bP .......................(8)

โดยที่ QS = ปริมาณความตองการเสนอขายสินคาใดๆ P = ราคาของสินคาชนิดนั้นๆ a = คาตัวคงที่ (constant) b = อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณความตองการเสนอขายสินคา เมื่อราคา ของสินคาชนิดนั้นเปลี่ยนแปลงไป 1 หนวย จากสมการที่ (8) ความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการเสนอขายสินคาใด ๆ ข้ึนอยูกับระดับราคาของสินคาชนิดนั้นเปนไปในเชิงเสนตรง คา b มีเครื่องหมายเปนบวก(+) จะบอกใหทราบถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาเมื่อเปลี่ยนแปลงไป 1 หนวยจะมีผลทําใหปริมาณเสนอขายเพิ่มข้ึนเทากับ b หนวย หรือแสดงถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงของปริมาณความตองการเสนอขายของสินคาใด ๆ จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับราคาของสินคาชนิดนั้น ๆ เสมอ

Page 86: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

64

2.1 ตารางซัพพลาย (Supply Schedule)

ตารางซัพพลาย(supply schedule)เปนการแสดงความสัมพันธในเชิงตัวเลขระหวางปริมาณความตองการเสนอขายสินคาใดๆกับระดับราคาของสินคาชนิดนั้นๆ ในที่นี้จะสมมติใหสินคาชนิดดังกลาวคือลิ้นจี่กระปอง เมื่อระดับราคาของลิ้นจี่กระปองเปลี่ยนแปลงไปจะสงผลทําใหผูขายมีความตองการที่จะเสนอขายลิ้นจี่กระปองเปลี่ยนแปลงตามไปดวย กลาวคือ ถาราคาลิ้นจี่กระปองเพิ่มสูงข้ึนปริมาณความตองการเสนอขายลิ้นจี่กระปองของผูผลิตจะเพิ่มสูงข้ึนตาม ในทางกลับกันถาราคาของลิ้นจี่กระปองลดลงความตองการเสนอขายก็จะลดลงตามไปดวยซึ่งมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน ดังตารางที่ 5.3

ตารางที่ 5.3 แสดงปริมาณลิ้นจี่กระปองท่ีผูขายคนหนึ่งยินดีจะเสนอขาย ณ ระดับราคาตางๆ

ราคา (บาท / กระปอง)

ปริมาณเสนอขาย (กระปอง)

15 18 24 33 45

50 100 150 200 250

2.2 เสนซัพพลาย (Supply Curve)

ในรูปที่ 5.10 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคาของลิ้นจี่กระปอง (P) และแกนนอนคือปริมาณความตองการเสนอขายลิ้นจี่กระปอง (Q) และเมื่อนําตัวเลขในตารางที่ 5.3 มาเขียนเปนรูปกราฟก็จะไดเสนซัพพลาย (supply curve) ของลิ้นจี่ท่ีมีลักษณะลาดขึ้นจากซายไปขวา (upward sloping from left to right)

Page 87: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

65

S

05

1015202530354045

0 50 100 150 200 250

P

Q

รูปที่ 5.10 แสดงเสนซัพพลายของลิ้นจี่กระปอง

สาเหตุท่ีเสนซัพพลายของลิ้นจี่กระปองลาดขึ้นจากซายไปขวา เนื่องมาจากการที่ราคากับปริมาณของลิ้นจี่กระปองเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ เมื่อราคาของลิ้นจี่กระปองอยูในระดับต่ําปริมาณความตองการเสนอขายก็จะมีนอย เชน เมื่อราคาเทากับ 15 บาทตอกระปอง ปริมาณความตองการเสนอขายเทากับ 50 กระปอง ตอมาราคาเพิ่มสูงข้ึนเปน 18 บาทตอกระปอง ปริมาณความตองการเสนอขายเทากับ 100 กระปอง และเมื่อราคาเพิ่มสูงข้ึนเรื่อยๆปริมาณความตองการเสนอขายก็จะมากขึ้นตามไปดวย

2.3 ซัพพลายตลาด (Market Supply)

ซัพพลายท่ีกลาวมาแลวนั้นไมวาจะเปนตารางซัพพลายหรือเสนซัพพลายก็ตามลวนแลวแตเปนซัพพลายของผูขายเพียงรายเดียว หรือซัพพลายสวนบุคคล (individual supply) แตถาหากนํา ซัพพลายของผูขายแตละรายในตลาดมารวมกันทั้งหมดก็จะไดซัพพลายตลาด (market supply) ตัวอยาง เชน ถาสมมติใหตลาดขายผลไมแหงหนึ่งมีผูขายสมเขียวหวานอยูจํานวน 2 ราย โดยท่ีผูขายแตละรายเสนอขายสมเขียวหวานในปริมาณที่ตางกัน ณ ระดับราคาตาง ๆ ดังตารางที่ 5.4

Page 88: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

66

ตารางที่ 5.4 แสดงปริมาณเสนอขายสมเขียวหวานตามระดับราคาในตลาดแหงหนึ่ง

ราคา ปริมาณเสนอขาย (kg/วัน) (บาท/kg) นาย A นาย B รวมท้ังตลาด

15 20 25 30 35

5 15 22 27 30

0 7 13 18 20

5 22 35 45 50

จากตารางที่ 5.4 เปนการแสดงปริมาณเสนอขายสมเขียวหวานของผูขายจํานวน 2 ราย ณ ระดับราคาตางๆในตลาดแหงหนึ่ง และจากตัวเลขดังกลาวเมื่อนําไปเขียนเปนรูปกราฟ ก็จะไดเสนซัพพลายตลาด (market supply) ดังรูปที่ 5.11

ปริมาณเสนอขาย (kg/วัน)

รูปที่ 5.11 แสดงการหาเสนซัพพลายตลาดของสมเขียวหวาน

จากรูปที่ 5.11 เสน SA คือ เสนซัพพลายของนาย A เสน SB คือ เสนซัพพลายของนาย B และเสน SM คือ เสนซัพพลายตลาดที่ไดจากการรวมเสนซัพพลายของนาย A และของนาย B กลาวคือ ณ ระดับราคา 15 บาท/kg นาย A ตองการเสนอขายสมเขียวหวานเทากับ 5 kg/วัน สวนนาย B ไมตองการ

SA SB SM (บาท/kg) (บาท/kg) (บาท/kg)

35 30 25 20 15 10 5

0 10 20 30 0 10 20 0 10 20 30 40 50

เสนซัพพลายตลาด

Page 89: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

67

ขายสมเขียวหวานเลย เมื่อราคาเพิ่มข้ึนเปน 20 บาท/kg นาย A ตองการเสนอขาย 15 kg/วัน และนาย B ตองการเสนอขาย 7 kg/วัน ซัพพลายของตลาดเทากับ 22 kg/วัน ตอมาเมื่อราคาสมเขียวหวานเพิ่มข้ึนเปน 25 บาท/kg นาย A ตองการเสนอขายเทากับ 22 kg/วันและนาย B ตองการเสนอขาย 13 kg/วัน ซัพพลายของตลาดเทากับ 35 kg/วัน นั่นคือ ซัพพลายตลาดไดจากการรวมซัพพลายของผูขายแตละรายท่ีมีอยูในตลาดทั้งหมด

2.4 การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in the Quantity Supplied)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณขายเกิดข้ึนเนื่องจากราคาของสินคาชนิดนั้นเปลี่ยนแปลง ในขณะที่ปจจัยอื่นๆคงที่ ทําใหปริมาณความตองการเสนอขายเปลี่ยนแปลงจากจุดหนึ่งไปจุดหนึ่งบนเสน ซัพพลายเดิม (move along the curve) เสนซัพพลายจะไมเคลื่อนยาย (shift) เพิ่มข้ึนหรือลดลงไปจากเสนเดิม

รูปที่ 5.12 แสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย

จากรูปที่ 5.12 เมื่อราคาสินคา X เทากับ OP1 ปริมาณความตองการเสนอขายสินคา X เทากับ OQ1ตอมาเมื่อราคาสินคา X เพิ่มข้ึนเปน OP2 ในขณะที่ปจจัยอื่นๆคงที่ปริมาณความตองการเสนอขายสินคา X ก็จะเพิ่มเปน OQ2 หรือเมื่อราคาสินคา X เพิ่มข้ึนจาก OP1 เปน OP2 ผูขายก็จะเปลี่ยนปริมาณการเสนอขายจากจุด A ไปยังจุด B ซึ่งอยูบนเสนซัพพลายเดิม หรือปริมาณเสนอขายเพิ่มข้ึนเทากับ Q1Q2

2.5 การเคลื่อนยายเสนซัพพลาย (Shift in Supply Curve)

QX

A

B

S PX

P2

P1

O Q1 Q2

Page 90: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

68

การเคลื่อนยายเสนซัพพลาย (shift in supply curve) หมายถึง การท่ีเสนซัพพลายเคลื่อนยาย (shift) ไปทั้งเสนซึ่งมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในปจจัยอื่นๆที่มิใชราคาของสินคาชนิดนั้นๆ เชน ราคาของปจจัยการผลิต ราคาของสินคาอื่นที่เกี่ยวของ เทคนิคการผลิต จํานวนผูผลิตในตลาด ตนทุนการผลิต สภาพดินฟาอากาศ และปจจัยอื่นๆที่มีอิทธิพลตอการกําหนดปริมาณการเสนอขาย ซึ่งอาจจะเปนตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายๆตัวก็ไดเปลี่ยนแปลงไปจะมีผลทําใหปริมาณเสนอขายสินคาท่ีกําลังพิจารณาอยูเปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่ราคาของสินคาดังกลาวคงที่อยู นั่นคือเมื่อกําหนดใหราคาสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งคงที่แลว หากปจจัยอื่นๆเปลี่ยนแปลงไปแลวจะสงผลใหปริมาณเสนอขายเพิ่มข้ึน เสนซัพพลายจะเคลื่อนยาย(shift)ไปทางดานขวามือของเสนเดิม ในทางตรงกันขามถาปจจัยอื่นๆเปลี่ยนแปลงไปแลวทําใหปริมาณเสนอขายลดลงเสนซัพพลายจะเคลื่อนยายไปทางดานซายมือของเสนเดิม

รูปที่ 5.13 แสดงการเคลื่อนยายเสนซัพพลาย

ตามรูปที่ 5.13 เมื่อกําหนดใหราคาของสินคา X คงที่ เสนซัพพลายเดิมคือเสน S ตอมาราคาของปจจัยท่ีใชผลิตสินคา X ลดลง หรือราคาของสินคาอื่นที่ใชทดแทนสินคา X ไดเพิ่มสูงข้ึน หรือมีเทคนิคการผลิตท่ีดีข้ึนกวาเดิม หรือมีจํานวนผูขายในตลาดลดลง หรือตนทุนการผลิตลดลงเนื่องจากมีการลดภาษีใหผูผลิต หรือสภาพดินฟาอากาศเอื้ออํานวยซึ่งการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ไมวาจะมาจากปจจัยตัวใดตัวหนึ่งหรือท้ังหมดจะมีผลทําใหเสนซัพพลายเคลื่อนยายจาก S เปน S" และปริมาณเสนอขายสินคา X เพิ่มข้ึนจาก Q1 เปน Q2 ในทางกลับกันหากปจจัยตางๆเหลานี้เปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันขามกับที่กลาวมาจะมีผลทําใหเสนซัพพลายเคลื่อนยายจาก S เปน S' ในขณะที่ราคาสินคา X ยังคงที่อยูจะมีผลทําใหปริมาณเสนอขายสินคา X ลดลงจาก Q1 เปน Q3

• • •

QX

P

S' S S"

O Q3 Q1 Q2

PX

Page 91: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

69

3. การกําหนดราคาและปริมาณดุลยภาพของตลาด

จากการศึกษาที่ผานมา ไดแยกพิจารณาดีมานดและซัพพลายออกจากกัน โดยท่ีดีมานดเปนการศึกษาถึงความตองการเสนอซื้อสินคาของผูบริโภค กลาวคือ ผูบริโภคมีความตองการที่จะเสนอซื้อสินคา ณ ระดับราคาต่ํา ๆ เปนจํานวนมากกวา ณ ระดับราคาสูง ๆ แตก็ไมอาจจะทราบไดวาจะหาซื้อสินคาดังกลาวได ณ ระดับราคาเทาใด สวนการศึกษาถึงซัพพลายเปนการศึกษาถึงความตองการเสนอขายของผูผลิตหรือผูขาย โดยท่ีความตองการเสนอขายจะมีมาก ณ ระดับราคาสูงๆ แตถาระดับราคาลดต่ําลงเขาก็จะเสนอขายลดลงตามดวยแตก็ไมอาจจะทราบไดวาเขาจะขายสินคาได ณ ระดับราคาเทาใด นั่นคือ ถาเปรียบเทียบระหวางผูซื้อและผูขายแลวความตองการเสนอซื้อและเสนอขายจะสวนทางกัน ดังนั้นหากผูซื้อและผูขายมาพบกันในตลาดก็จะเกิดการตอรองราคากันในท่ีสุดก็จะตกลงซื้อขายกัน หรือเปนการพิจารณาดีมานดรวมกับซัพพลาย ระดับราคาที่ตกลงซื้อขายกันก็คือ " ราคาดุลยภาพ " (equilibrium price) ของตลาดและปริมาณที่ตกลงซื้อขายกัน ณ ระดับราคาดุลยภาพ ก็คือ " ปริมาณดุลยภาพ " (equilibrium quantity) ของตลาดนั่นเอง ในการพิจารณาราคาและปริมาณดุลยภาพสามารถที่จะพิจารณาไดจากตาราง รูปกราฟ และสมการทางคณิตศาสตร ดังนี้ สมมติให Qd = 30 - 1.5 P .......................(9) Os = 5 + 1.0 P .......................(10) โดยที่ Qd = ปริมาณความตองการเสนอซื้อขาวสารของตลาดแหงหนึ่ง (kg) Os = ปริมาณความตองการเสนอขายขาวสารของตลาดแหงหนึ่ง (kg) P = ราคาของขาวสาร (บาท/kg) การหาราคาและปริมาณดุลยภาพของตลาทางสมการคณิตศาสตรสามารถหาไดดังนี้ ณ จุดดุลยภาพ Qd = Qs

∴ 30 - 1.5 P = 5 + 1.0 P - 1.5 P - 1.0 P = 5 - 30 - 2.5 P = - 25 P = 10 แทนคา P ในสมการ (1) Qd = 30 - 1.5 (10)

Page 92: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

70

= 15 จากสมการดีมานด (9) และสมการซัพพลาย (10) ก็สามารถหาราคาดุลยภาพของตลาดไดเทากับ 10 บาท/kg และปริมาณดุลยภาพของตลาดเทากับ 15 kg

ตารางที่ 5.5 แสดงดีมานดและซัพพลายของขาวสารในตลาดแหงหนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง

P (บาท/kg)

Qd (kg)

Qs (kg)

Excess Demand

Excess Supply

2 27 7 20 -20 4 6

24 21

9 11

15 10

-15 -10

8 18 13 4 -4 10 0 0 12 12 17 -5 5 14 9 19 -10 10 16 6 21 -15 15

จากตารางที่ 5.5 จะเห็นไดวา ณ จุดดุลยภาพ Qd = QS เสมอ และจุดดุลยภาพนี้เอง ราคาของขาวสารจะเทากับ 10 บาท/kg และปริมาณดุลยภาพที่ซื้อขายกันในทองตลาดขณะใดขณะหนึ่งเทากับ 15 kg ณ จุดดุลยภาพดีมานดสวนเกิน (excess demand) และซัพพลายสวนเกิน (excess supply) มีคาเทากับศูนย หรือ ณ จุดดุลยภาพจะไมเกิดดีมานดสวนเกินและซัพพลายสวนเกินเลย ดีมานดสวนเกิน (excess demand) หมายถึง ระดับราคาของสินคาใดๆที่ปริมาณความตองการซื้อมีมากกวาปริมาณความตองการเสนอขาย หรือก็คือระดับราคาของสินคาใดๆที่ดีมานดมีคามากกวาซัพพลาย ซัพพลายสวนเกิน (excess supply) หมายถึง ระดับราคาของสินคาใดๆที่ปริมาณความตองการเสนอขายมีมากกวาปริมาณความตองการเสนอซื้อหรือก็คือระดับราคาของสินคาใด ๆ ท่ี ซัพพลายมีคามากกวาดีมานด จากตารางที่ 5.5 สามารถนําตัวเลขมาสรางเปนรูปกราฟเพื่อหาราคาและปริมาณดุลยภาพไดดังนี้

15 15

Page 93: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

71

0

2

4

6

8

10

12

14

16

0 3 6 9 12 15 18 21 24 27 30

รูปที่ 5.14 แสดงการหาจุดดุลยภาพจากเสนดีมานดและเสนซัพพลาย

จากรูปท่ี 5.14 เมื่อพิจารณาเสนดีมานดกับเสนซัพพลายรวมกัน จะเห็นไดวาจุดดุลยภาพ (equilibrium) เกิดจากเสนดีมานดตัดกับเสนซัพพลาย ซึ่งก็คือจุด E ณ จุดดังกลาวราคาดุลยภาพมีคาเทากับ 10 บาท/kg และปริมาณดลุยภาพมีคาเทากับ 15 kg ณ ระดับราคาที่สูงกวาราคาดุลยภาพ (PE) จะเกิดซัพพลายสวนเกิน (excess supply) หรือ ซัพพลายมากกวาดีมานด สวนระดับราคาที่ต่ํากวาราคาดุลยภาพจะเกิดดีมานดสวนเกินหรือดีมานดมากกวาซัพพลาย ถาหากราคาสูงกวาหรือต่ํากวาราคาดุลยภาพ โดยที่เสนดีมานดและเสนซัพพลายยังคงเปนเสนเดิมอยู ราคาที่สูงกวาราคาดุลยภาพจะมีการปรับตัวเขาหาราคาดุลยภาพเสมอ กลาวคือถาราคาเทากับ 14 บาท/kg จะมีปริมาณเสนอขายมากกวาปริมาณเสนอซื้อ ดังนั้นผูเสนอขายก็จะพยายามลดราคาลงเพื่อจะไดขายสินคาได เมื่อลดราคาลงปริมาณเสนอซื้อจะคอยๆเพิ่มข้ึน จนในที่สุดราคาจะเขาสูจุดดุลยภาพ ปริมาณเสนอซื้อจะเทากับปริมาณเสนอขายพอดี แตถาหากระดับราคาอยูต่ํากวาราคาดุลยภาพ เชนราคาเทากับ 6 บาท/kg ปริมาณเสนอซื้อจะมากกวาปริมาณเสนอขาย ผูซื้อก็จะแยงกันซื้อโดยเสนอซื้อในราคาที่สูงกวา 6 บาท/kg เพื่อท่ีจะไดขาวสารมาบริโภค สวนผูท่ียังซื้อไมไดก็จะพยายามเสนอราคาซื้อ

Excess Supply

D

จุดดุลยภาพ

S

E

ปริมาณขาวสาร (kg)

ราคาขาวสาร (บาท/kg)

Excess Demand

PE =

Page 94: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

72

ใหสูงข้ึนไปอีกจนในที่สุดระดับราคาก็จะเขาสูภาวะดุลยภาพ และปริมาณเสนอซื้อจะเทากับปริมาณเสนอขายพอดี

3.1 การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ (Change in Equilibrium)

จุดดุลยภาพจะยังคงที่อยูตราบใดที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงในเสนดีมานดและเสนซัพพลาย ดังนั้นถามีการเปลี่ยนแปลงในเสนดีมานดหรือเสนซัพพลาย เสนใดเสนหนึ่งหรือท้ังสองเสนจะมีผลทําใหจุดดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไป และจะมีผลทําใหราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพเปลี่ยนแปลงตามไปดวย ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพสามารถพิจารณาไดดังตอไปนี้

3.1.1 เสนดีมานดเปลี่ยนแปลงโดยที่เสนซัพพลายคงที่

การท่ีเสนดีมานดมีการเคลื่อนยาย (shift) ไปจากเสนเดิม อาจมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในปจจัยอื่นๆที่ไมใชราคาของสินคานั้นๆ เชนการเปลี่ยนแปลงในรายไดของผูบริโภค รสนิยมของผูบริโภคเปลี่ยนแปลง ราคาของสินคาอื่นที่เกี่ยวของเปลี่ยนแปลง เมื่อปจจัยอื่นๆ เปลี่ยนแปลงแลวจะมีผลทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยาย (shift) ไปทั้งเสน ดังรูปที่ 5.15

รูปท่ี 5.15 แสดงการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพเนื่องจากดีมานดเปลี่ยนแปลงในขณะที่เสนซัพพลายคงที่

จากรูปที่ 5.15 เมื่อกําหนดใหเสนซัพพลายคงที่อยูท่ีเสน S และเสนดีมานดเดิมคือเสน D ตอมาสมมติใหผูบริโภคมีรสนิยมในการบริโภคสินคา X เพิ่มมากขึ้นหรือผูบริโภคมีรายไดเพิ่มสูงข้ึน หรือราคาของสินคาอื่นที่เกี่ยวของกับสินคา X เพิ่มสูงข้ึน จะมีผลทําใหผูบริโภคหันมา บริโภคสินคา X เพิ่มมากขึ้น โดยที่เสนดีมานดจะเปลี่ยนแปลงจากเสน D มาเปนเสน D' จุดดุลยภาพจะเปลี่ยนจากจุด

E3

D" D

D'

E1

E2

S

P3

QX O Q3 Q1 Q2

P2

P1

PX

Page 95: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

73

E1 มาเปน E2 ระดับราคาดุลยภาพของสินคา X จะเปลี่ยนจาก P1 ไปเปน P2 และปริมาณดุลยภาพก็จะเปลี่ยนจาก Q1 ไปเปน Q2 ในทางกลับถาสมมติใหผูบริโภคลดความนิยมในการบริโภคสินคา X ลง หรือรายไดของผูบริโภคลดลง หรือราคาของสินคาอื่นที่เกี่ยวของกับสินคา X ลดลงก็จะมีผลทําใหความตองการในการบริโภคสินคา X ลดลง และเสนดีมานดก็จะเปลี่ยนแปลงจากเสน D มาเปนเสน D" จุด ดุลยภาพก็จะเปลี่ยนจากจุด E1 มาเปน E3 ระดับราคาดุลยภาพก็จะเปลี่ยนจาก P1 ไปเปน P3 และปริมาณดุลยภาพก็จะเปลี่ยนจาก Q1 ไปเปน Q3

3.1.2 เสนซัพพลายเปลี่ยนแปลง โดยที่เสนดีมานดคงที่

การที่เสนซัพพลายเคลื่อนยาย (shift) ไปจากเสนเดิมมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงในปจจัยอื่น ๆ ท่ีไมใชราคาของสินคานั้น ๆ เชน ราคาของปจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลง เทคนิคการผลิตเปลี่ยนแปลง จํานวนผูผลิตหรือผูขายในตลาดเปลี่ยนแปลง สภาพดินฟาอากาศผันผวน และปจจัยอื่นๆเปลี่ยนแปลง เปนตน ซึ่งจะมีผลทําใหเสนซัพพลายเคลื่อนยาย (shift) ไปทั้งเสน ดังรูปท่ี 5.16 จากรูปที่ 5.16 กําหนดใหเสนดีมานดคือเสน D และเสนซัพพลายเดิมคือเสน S ตอมาสมมติใหราคาของปจจัยการผลิตเพิ่มสูงข้ึนหรือเทคนิคการผลิตดอยลง หรือจํานวนผูขายในตลาดเพิ่มมากขึ้น หรือสภาพดินฟาอากาศไมเอื้ออํานวยตอการผลิต ปจจัยตางๆเหลานี้ไมวาจะเปลี่ยนแปลงเพียงตัวใดตัวหนึ่งหรือหลาย ๆ ตัวพรอมกันก็จะมีผลทําใหเสนซัพพลายเคลื่อนยาย (shift) จากเสน S ลดลง

QX

P1 P3

P2 E3

E1 E2

D

PXS' S" S

O Q3 Q1 Q2

รูปที่ 5.16 แสดงการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพเนื่องมาจากเสนซัพพลายเปลี่ยนแปลงในขณะที่เสนดีมานดคงที่

Page 96: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

74

ไปเปน S' จุดดุลยภาพก็จะเปลี่ยนแปลงจาก E1 ไปเปนจุดดุลยภาพใหมท่ี E2 ราคาดุลยภาพจะเพิ่มข้ึนจาก P1 ไปเปน P2 และปริมาณดุลยภาพก็จะลดลงจาก Q1 ไปเปน Q2 ในทางกลับกันถาหากสมมติใหราคาของปจจัยการผลิตลดลง หรือเทคนิคการผลิตมีประสิทธิภาพสูงข้ึน หรือจํานวนผูขายในตลาดมีนอยลง หรือสภาพดินฟาอากาศเอื้ออํานวยตอการผลิต ปจจัยตางๆเหลานี้ไมมีวาจะเปลี่ยนแปลงไปเพียงตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายๆตัวพรอมกันจะมีผลทําใหเสนซัพพลายเคลื่อนยายไปจากเสนเดิมไปทางขวามือ หรือในทิศทางที่เพิ่มข้ึน กลาวคือจะเคลื่อนยายจากเสน S ไปเปนเสน S" จุดดุลยภาพก็จะเปลี่ยนจาก E1 ไปเปนจุดดุลยภาพใหมท่ี E3 ราคาดุลยภาพจะลดลงจาก P1 ไปเปน P3 และปริมาณดุลยภาพก็จะเพิ่มข้ึนจาก Q1 ไปเปน Q3

3.1.3 เสนดีมานดและเสนซัพพลายเปลี่ยนแปลง

การเคลื่อนยาย (shift) ของเสนดีมานดและเสนซัพพลายสามารถเคลื่อนยายไดใน ทิศทางที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงได ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงในปจจัยอื่นๆที่ไมใชราคาของ สินคานั้นๆ การพิจารณาภาวะดุลยภาพท่ีเปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของเสน ดีมานดและเสนซพัพลาย สามารถที่จะแยกพิจารณาออกเปน 4 กรณี ดังนี้คือ กรณีที่ 1 เสนดีมานดและเสนซัพพลายเปลี่ยนแปลงไปทิศทางที่ลดลงพรอม ๆ กัน ซึ่งสามารถพิจารณาไดดังรูปที่ 5.17 จากรูปที่ 5.17 กําหนดใหเสนดีมานดและเสนซัพพลายเดิมคือเสน D และเสน S ตามลําดับจุดดุลยภาพเดิมอยูท่ี E1 ราคาและปริมาณดุลยภาพเดิมคือ P1 และ Q1 ตอมาเสนดีมานดเคลื่อนยาย (shift) ลดลงไปเปนเสน D' ซึ่งอาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรทางออม ไดแก รสนิยมของผูบริโภคในระบบเศรษฐกิจนั้นๆลดลง หรือรายไดของผูบริโภคในระบบเศรษฐกิจนั้นๆลดลง หรือราคาของสินคาชนิดอื่นที่สามารถทดแทนสินคานี้ไดไดปรับราคาลดลงทําใหผูบริโภคหันไปซื้อสินคาชนิดอื่นเพิ่มข้ึน และเสนซัพพลายเคลื่อนยาย(shift)ลดลงไปเปนเสน S' ซึ่งอาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจากตนทุนการผลิตเพิ่มสูงข้ึน หรือราคาของปจจัยการผลิตเพิ่มสูงข้ึน หรืออาจจะเนื่องมาจากสภาพดินฟาอากาศไมเอื้ออํานวยตอการผลิต ซึ่งจะมีผลทําใหจุดดุลยภาพใหมเกิดข้ึนที่ E2 ทําใหราคาและปริมาณดุลยภาพใหมเปลี่ยนมาเปน P2 และ Q2

Page 97: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

75

ขอสังเกต ราคาดุลยภาพใหมท่ีเกิดข้ึนอาจจะสูงกวาหรือต่ํากวาราคาดุลยภาพเดิมก็ไดข้ึนอยูกับขนาดของการเปลี่ยนแปลงในเสนดีมานดและเสนซัพพลายวามีมากนอยเพียงใด แตในสวนของปริมาณดุลยภาพใหมจะตองนอยกวาปริมาณดุลยภาพเดิมเสมอ กรณีที่ 2 เสนดีมานดและเสนซัพพลายเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึนพรอม ๆ กันสามารถพิจารณาไดดังรูปที่ 5.18 รูปท่ี 5.18 แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพเนื่องจากเสนดีมานดและเสนซัพพลายเพิ่มขึ้นพรอมกัน

• •

QX

P1 P2 E1

E2

D'

S'

D

O Q1 Q2

S PX

• •

PX S S'

QX

P1 P2

E1 E2

D'

D

O Q2 Q1

รูปท่ี 5.17 แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพเนื่องมาจากเสนดีมานดและเสนซัพพลายลดลงพรอมกัน

Page 98: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

76

จากรูปที่ 5.18 กําหนดใหเสนดีมานดและเสนซัพพลายเดิม คือเสน D และเสน S และดุลยภาพเดิมอยูท่ี E1 ราคาและปริมาณดุลยภาพเดิมอยูท่ี P1 และ Q1 ตอมาเสนดีมานดเคลื่อนยาย(shift) เพิ่มข้ึนไปเปนเสน D' ซึ่งอาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรทางออม ไดแก รสนิยมของผูบริโภคในระบบเศรษฐกิจนั้นๆมีเพิ่มมากขึ้น หรือรายไดของผูบริโภคในระบบเศรษฐกิจนั้นๆโดยสวนรวมเพิ่มมากขึ้น หรือราคาของสินคาชนิดอื่นที่สามารถทดแทนสินคานี้ได ไดมีปรับเพิ่มสูงข้ึนทําใหผูบริโภคหันกลับมาซื้อสินคาชนิดนี้เพิ่มมากขึ้น และเสนซัพพลายก็จะเคลื่อนยาย (shift) เพิ่มข้ึนไปเปนเสน S' ซึ่งอาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจากตนทุนการผลิตลดลง หรือราคาของปจจัยการผลิตลดลง หรืออาจจะเนื่องมาจากสภาพดินฟาอากาศเอื้ออํานวยตอการผลิต หรืออาจจะเนื่องมาจากมีการคนพบเทคนิคการผลิตใหมๆท่ีมีประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตสูงกวาเดิมซึ่งการเคลื่อนยายของเสนดีมานดและเสนซัพพลายที่เพิ่มสูงข้ึนเปนเสน D' และ S' จะมีผลทําใหเกิดดุลยภาพใหมท่ี E2 ราคาและปริมาณดุลยภาพใหม คือ P2 และ Q2 ตามลําดับ ขอสังเกต ราคาดุลยภาพใหมท่ีเกิดข้ึนอาจจะสูงกวาหรือต่ํากวาราคาดุลยภาพเดิมก็ไดข้ึนอยูกับขนาดของการเปลี่ยนแปลงในเสนดีมานดและเสนซัพพลายวามีมากนอยเพียงใด แตในสวนของปริมาณดุลยภาพใหมจะตองมากกวาปริมาณดุลยภาพเดิมเสมอ กรณีที่ 3 เสนดีมานดเพิ่มข้ึนและเสนซัพพลายลดลง สามารถพิจารณาไดดังรูปที่ 5.19

รูปท่ี 5.19 แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพเนื่องจากเสนดีมานดเพิ่มขึ้นแตเสนซัพพลายลดลง

QX

P1

P2

E1

E2 S S'

D

D'

O Q1 Q2

PX

Page 99: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ดีมานด ซัพพลาย และราคาดุลยภาพ

77

การท่ีเสนดีมานดเคลื่อนยาย(shift)ไปในทิศทางที่เพิ่มข้ึน อาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรทางออม ไดแก รสนิยมของผูบริโภคในระบบเศรษฐกิจนั้นๆมีเพิ่มมากขึ้น หรือรายไดของผูบริโภคในระบบเศรษฐกิจนั้นๆโดยสวนรวมเพิ่มมากขึ้น หรือราคาของสินคาชนิดอื่นที่สามารถทดแทนสินคานี้ไดไดปรับเพิ่มสูงข้ึนทําใหผูบริโภคหันกลับมาซื้อสินคาชนิดนี้เพิ่มมากขึ้น และการที่เสนซัพพลายเคลื่อนยายไปในทิศทางที่ลดลงอาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจาก ตนทุนการผลิตเพิ่มสูงข้ึน หรือราคาของปจจัยการผลิตเพิ่มสูงข้ึน หรืออาจจะเนื่องมาจากสภาพดินฟาอากาศไมเอื้ออํานวยตอการผลิต จากรูปที่ 5.19 เมื่อกําหนดใหเสนดีมานดและเสนซัพพลายเดิม คือ เสน D และ S จุด ดุลยภาพเดิมอยูท่ี E1 ราคาและปริมาณดุลยภาพเดิมอยูท่ี P1 และ Q1 ตอมาเสนดีมานดเพิ่มสูงข้ึนเปน D' และเสนซัพพลายลดลงเปน S' ทําใหเกิดดุลยภาพใหมท่ีจุด E2 ราคาและปริมาณดุลยภาพใหมคือ P2 และ Q2 ตามลําดับ ขอสังเกต ปริมาณดุลยภาพใหมท่ีเกิดข้ึนอาจจะมากกวาหรือนอยวาปริมาณดุลยภาพเดิมก็ได ข้ึนอยูกับขนาดของการเปลี่ยนแปลงในเสนดีมานดและเสนซัพพลายวามีมากนอยเพียงใด แตในสวนของราคาดุลยภาพใหมจะตองสูงกวาราคาดุลยภาพเดิมเสมอ ดังรูปที่ 5.19

กรณีที่ 4 เสนดีมานดลดลงและเสนซัพพลายเพิ่มข้ึนซึ่งสามารถพิจารณาไดดังรูป 5.20

รูปท่ี 5.20 แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพเนื่องจากเสนดีมานดลดลงและเสนซัพพลายเพิ่มขึ้น

การท่ีเสนดีมานดเคลื่อนยาย (shift) ไปทางซายมือของเสนเดิมหรือในทิศทางที่ลดลงอาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรทางออม ซึ่งไดแก รสนิยมของผูบริโภคใน

QX

P1

P2

E1

E2

S

D

S'

D'

O Q2 Q1

PX

Page 100: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

78

ระบบเศรษฐกิจนั้นๆลดลง หรือรายไดของผูบริโภคในระบบเศรษฐกิจนั้นๆโดยสวนรวมลดนอยลง หรือราคาของสินคาชนิดอื่นที่สามารถทดแทนสินคานี้ไดไดปรับตัวลดลงทําใหผูบริโภคหันไปซื้อสินคาชนิดอื่นเพิ่มมากขึ้น และการที่เสนซัพพลายเคลื่อนยายไปทางขวามือของเสนเดิมหรือในทิศทางท่ีเพิ่มสูงข้ึนอาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจากตนทุนการผลิตลดลง หรือราคาของปจจัยการผลิตลดลง หรืออาจจะเนื่องมาจากสภาพดินฟาอากาศเอื้ออํานวยตอการผลิต หรืออาจจะเนื่องมาจากมีการคนพบเทคนิคการผลิตใหมๆท่ีมีประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตสูงข้ึนกวาเดิม จากรูปที่ 5.20 เมื่อกําหนดใหเสนดีมานดและเสนซัพพลายเดิมคือเสน D และเสน S ดุลยภาพเดิมอยูท่ี E1 ราคาและปริมาณดุลยภาพเดิมอยูท่ี P1 และ Q1 ตอมาเมื่อเสนดีมานดลดลงเปนเสน D' ในขณะที่เดียวกันเสนซัพพลายก็เพิ่มสูงข้ึนเปนเสน S' ทําใหเกิดจุดดุลยภาพใหมท่ี E2 ราคาและปริมาณ ดุลยภาพใหมเปน P2 และ Q2 ตามลําดับ ขอสังเกต ปริมาณดุลยภาพใหมท่ีเกิดข้ึนอาจจะมีคามากกวาหรือมีคานอยกวาปริมาณ ดุลยภาพเดิมก็ได ข้ึนอยูกับขนาดของการเปลี่ยนแปลงในเสนดีมานดและเสนซัพพลายวามีมากนอยเพียงใด แตในสวนของราคาดุลยภาพใหมจะตองต่ํากวาราคาดุลยภาพเดิมเสมอ

Page 101: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทที่ 6 ความยืดหยุน (Elasticity)

1. ความหมายของความยืดหยุน (Meaning of Elasticity)

ความยืดหยุน (elasticity) หมายถึง เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อหรือปริมาณขายตอเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอิสระที่มีอิทธิพลตอการกําหนดปริมาณซื้อ หรือปริมาณขาย การพิจารณาคาความยืดหยุนจึงเปนการพิจารณาดูปฏิกิริยาตอบสนองของปริมาณซื้อหรือ ปริมาณขายท่ีมีตอการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอิสระทั้งหลายวามีความไวมากนอยเพียงไร นั่นคือถามีการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรอิสระใดๆมันจะมีผลทําใหปริมาณซื้อหรือปริมาณขายเปลี่ยนแปลงไปมากนอยเพียงใด คาความยืดหยุนที่คํานวณได ถาตัวเลขของความยืดหยุนมากกวาหนึ่งข้ึนไป (E > 1) ก็แสดงวาปริมาณซื้อหรือปริมาณขายมีการเปลี่ยนแปลงมาก หรือเรียกวามีความยืดหยุนมาก (elastic) แตถาตัวเลขที่คํานวณไดนอยกวาหนึ่ง (E < 1) ก็แสดงวาปริมาณซื้อหรือปริมาณขายมีการเปลี่ยนแปลงนอยหรือเรียกวามีความยืดหยุนนอย (inelastic) และถาตัวเลขท่ีคํานวณไดมีคาเทากับศูนย (E = 0) ก็แสดงวาปริมาณซื้อหรือปริมาณขายไมมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดข้ึนหรือเรียกวามีคาความยืดหยุนเทากับศูนย (perfectly inelastic) หรือไมมีความยืดหยุนเลย

2. ความยืดหยุนของดีมานด (Elasticity of Demand)

โดยท่ัวไปแลวถาพิจารณาถึงคาความยืดหยุนของดีมานดแลวตัวแปรอิสระที่พิจารณาไดแก ราคาของสินคาชนิดนั้นๆ รายไดของผูบริโภค และราคาของสินคาอื่นๆที่เกี่ยวของซึ่งเปนการพิจารณาคาความยืดหยุนของดีมานดตามประเภทของดีมานด สวนความยืดหยุนของซัพพลายจะพิจารณาเฉพาะคาความยืดหยุนของซัพพลายตอราคาเทานั้น ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้

2.1 ความยืดหยุนของดีมานดตอราคา (Price Elasticity of Demand)

ความยืดหยุนของดีมานดตอราคา (price elasticity of demand) คือเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งท่ีผูซื้อตองการซื้อตอเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาชนิดนั้น ความยืดหยุนของดีมานดตอราคาหาไดจากสูตรงาย ๆ ไดดังนี้

Page 102: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

80

ΕΔ

ΔdQP=

%

%

โดยท่ี Ed = คาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนของดีมานดตอราคา

%ΔQ = เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ

%ΔP = เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคา

ถา % ΔQ > % ΔP (Ed > 1) หมายความวา ดีมานดของสินคาและบริการชนิดนั้นมีความยืดหยุนมาก (elastic)

แตถา % ΔQ < %ΔP (Ed < 1) หมายความวา ดีมานดของสินคาและบริการชนิดนั้นมีความยืดหยุนนอย (inelastic) การวัดความยืดหยุนของเสนดีมานด หรือของเสนซัพพลายสามารถทําได 2 วิธีดวยกันกลาวคือ (1) การวัดความยืดหยุนแบบชวง (arc elasticity) และ (2) การวัดความยืดหยุนแบบจุด (point elasticity) การวัดความยืดหยุนท้ังสองวิธีนี้ตางก็มาจากแนวคิดเดียวกัน แตวิธีการพิจารณาแตกตางกันกลาวคือ

2.1.1 การวัดความยืดหยุนของดีมานดตอราคาแบบชวง (Arc Elasticity of Demand)

การวัดความยืดหยุนของเสนดีมานดแบบชวง คือ การคํานวณคาความยืดหยุนจากจุด 2 จุดบนเสนดีมานด ใชคํานวณในกรณีท่ีราคาของสินคาเปลี่ยนแปลงไปมากจนสังเกตเห็นไดชัด ซึ่งสูตรในการคํานวณคาความยืดหยุนแบบชวง เปนดังนี้

Ed

Q QQ Q

P PP P

Q QQ Q

P PP P=

−+

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

−+

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟=

−+ ×

+−

1 2

1 2

1 2

1 2

1 2

1 2

1 2

1 2

2

2

โดยที่ Ed = คาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนของดีมานดตอราคา Q1 = ปริมาณเสนอซื้อเดิมกอนราคาเปลี่ยนแปลง Q2 = ปริมาณเสนอซื้อใหมหลังราคาเปลี่ยนแปลง P1 = ราคาเดิมกอนการเปลี่ยนแปลง

Page 103: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

81

P2 = ราคาใหมหลังจากการเปลี่ยนแปลง ตัวอยางการคํานวณ คาความยืดหยุนของดีมานดตอราคาเมื่อสมมติใหสินคาชนิดหนึ่งคือ มะมวงเขียวเสวย ถาราคาเทากับ 30 บาท/kg จะมีคนมาซื้อจํานวน 100 kg/วัน แตเมื่อราคาลดลงเหลือ 20 บาท/kg จะมีคนซื้อเทากับ 160 kg/วัน จงหาความยืดหยุนของดีมานดตอราคาแบบชวงเมื่อราคาเปลี่ยนแปลง

รูปที่ 6.1 แสดงการคํานวณคาความยืดหยุนแบบชวง

จากตัวอยาง P1= 30 บาท/kg , P2= 20 บาท/kg , Q1=100 kg/วัน และ Q2= 160 kg/วัน แทนคาในสูตรจะไดวา

Ed = ( )( )

( )( )

100 160

100 160

30 20

30 20

+

= −

× =−60

260

50

10

30

26

= -1.15 คาความยืดหยุนเทากับ -1.15 หมายความวา ถาราคาของมะมวงเขียวเสวยลดลง 1 % ผูบริโภคจะซื้อมะมวงเขียวเสวยเพิ่มข้ึน 1.15 % หรือในทางกลับกันถาราคามะมวงเขียวเสวยเพิ่มข้ึน 1 % จะมีผลทําใหผูบริโภคซื้อมะมวงเขียวเสวยลดลง 1.15 % ขอสังเกต เครื่องหมายหนาความยืดหยุนจะแสดงถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงระหวางราคากับปริมาณ ถาเปนเครื่องหมายลบ (-) หมายความวา ถาราคาเพิ่มข้ึนปริมาณซื้อจะลดลงหรือในทางกลับกันหากราคาลดลงปริมาณซื้อจะเพิ่มข้ึน หรือปริมาณซื้อยอมผันแปรผกผันกับราคาซึ่งเปนไปตาม

ราคา (บาท/kg)

30

20 F

E

ปริมาณ (kg)

O 160 100

D

Page 104: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

82

กฎแหงดีมานด ความยืดหยุนของดีมานดตอราคาจึงมีเครื่องหมายติดลบเสมอ แตถาเครื่องหมายที่ไดเปนบวก (+) จะหมายถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงระหวางราคากับปริมาณจะเปนไปในทิศทางเดียวกัน หากคาความยืดหยุนมีเครื่องหมายบวก จะหมายถึงสินคานั้นๆไมเปนไปตามกฎแหงดีมานด อยางไรก็ตามในการพิจารณาคาความยืดหยุนจะพิจารณาเฉพาะคาสัมบูรณ (absolute value) เทานั้น สําหรับเครื่องหมายที่ไดจะบงบอกถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงระหวางปริมาณซื้อกับราคา

2.1.2 การวัดความยืดหยุนของดีมานดตอราคาแบบจุด ( Point Elasticity of Demand)

การวัดความยืดหยุนของดีมานดตอราคาแบบจุด คือการคํานวณคาความยืดหยุนบนเสนดีมานดในกรณีท่ีราคามีการเปลี่ยนแปลงนอยมากจนแทบจะสังเกตไมเห็นแตก็ถือวามีผลทําใหปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลง ซึ่งสูตรในการคํานวณเปนดังนี้

EQP

PQd = ×

ΔΔ

1

1

โดยที่ Ed = คาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนของดีมานดตอราคา

ΔQ = สวนเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ

ΔP = สวนเปลี่ยนแปลงของราคา Q1 = ปริมาณซื้อเดิม P1 = ราคาเดิม

Page 105: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

83

(ก) (ข)

รูปที่ 6.2 แสดงการคํานวณคาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนแบบจุด

การคํานวณหาคาความยืดหยุนของจุด E เมื่อกําหนดให ΔP เทากันทั้งรูป (ก) และรูป

(ข) และ ΔQ เทากันทั้งรูป (ก) และรูป (ข) ถาแทนคาลงในสูตรการหาความยืดหยุนแบบจุดก็จะไดวาความยืดหยุน ณ จุด E มีคาเทากันทั้งสองรูป นั่นคือ ไมวาจะคํานวณจากจุด A ไป E หรือจากจุด B ไป E คาความยืดหยุนที่คํานวณไดจะเทากัน ตัวอยางการคํานวณ สมมติใหเดิมนี้ราคาสมเทากับ 50 บาท/kg ในวันหนึ่งมีผูบริโภคซื้อจํานวน 100 kg ตอมาราคาสมเพิ่มข้ึน 1 บาท/kg ทําใหผูบริโภคซื้อสมลดลง 3 kg จงหาความยืดหยุนของสมท่ีราคา 50 บาท/kg มีคาเทาใด

จากโจทย จะไดวา ΔP = 1 บาท/kg , P1 = 50 บาท/kg

ΔQ = -3 kg , Q1 = 100 kg แทนคาในสูตร *

Ed = −

×3

1

50

100

= -1.5 อยางไรก็ตาม การคํานวณหาคาความยืดหยุนทั้งสองวิธีท่ีกลาวมานี้ คาความยืดหยุนที่คํานวณไดในแตละวิธีจะแตกตางกัน ดังนั้นการคํานวณหาคาความยืดหยุนถาหากมีการเปลี่ยนแปลงมากๆจนเห็นไดชัดจะใชวิธีการคํานวณแบบชวง แตถามีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยจะใชวิธีการคํานวณแบบจุด

เสนดีมานด

ΔP

A E P1

Q ΔQ

เสนดีมานด

O Q1

P

P1

E B

Q

ΔP

ΔQ

O Q1

P

Page 106: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

84

2.2 การนําสูตรการวัดคาความยืดหยุนแบบจุดไปดัดแปลงใช

สูตรการวัดความยืดหยุนของเสนดีมานด ณ จุดใดจุดหนึ่ง สามารถนําไปประยุกตใชไดเปน 2 กรณี ดังนี้

2.2.1 กรณีเสนดีมานดเปนเสนตรง

การหาความยืดหยุน ณ จุดใดจุดหนึ่งบนเสนดีมานดท่ีเปนเสนตรงอาจหาไดดังนี้

รูปที่ 6.3 การวัดคาความยืดหยุนแบบจุดของเสนดีมานดท่ีเปนเสนตรง

จากรปูที่ 6.3 กําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และแกนนอนคือปริมาณ (Q) และเสน AB คือเสนดีมานด สิ่งท่ีตองการคือหาความยืดหยุนที่จุด E โดยจะหาจากจุด B ไปยังจุด E ซึ่งสามารถหาไดดังนี้

เนื่องจาก ΔQ = -QB, ΔP = OP และ ณ จุด E จะได P1 = OP และ Q1 = OQ จากสูตร

EQP

PQd = ×

ΔΔ

1

1

แทนคาในสูตร

EQB

OPOPOQ

QBOQd =

−× = −

Q B

E

P A

P

Q O

Page 107: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

85

2.2.2 กรณีเสนดีมานดเปนเสนโคง

รูปที่ 6.4 การวัดคาความยืดหยุนแบบจุดของเสนดีมานดท่ีเปนเสนโคง

จากรูปที่ 6.4 กําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และแกนนอนคือปริมาณ (Q) และเสน ดีมานดคือเสน DD การวัดความยืดหยุนบนเสนดีมานดท่ีเปนเสนโคงทําไดโดยลากเสนตรง AB สัมผัสกับเสนดีมานดตรงจุด E เพื่อหาความยืดหยุนและใหเสนตรงดังกลาวตัดกับแกนตั้งท่ีจุด A และตัดกับแกนนอนที่จุด B แลวดําเนินการหาคาความยืดหยุน ณ จุด E จากสูตรโดยวิธีการเดียวกันกับกรณีเสนดีมานดเปนเสนตรงทุกประการ ดังนั้นคาความยืดหยุนมีคาเทากับ

EQB

OPOPOQ

QBOQd =

−× = −

2.3 ความยืดหยุนของดีมานดกับรายรับรวม

รายรับรวม (total revenue: TR) มีคาเทากับราคาคูณดวยปริมาณสินคาซึ่งเปนการพิจารณาในแงของผูขาย แตถาพิจารณาในแงของผูซื้อจะหมายถึง " รายจายรวม " เมื่อราคาสินคาเปลี่ยนแปลงจะสงผลทําใหรายรับรวมเปลี่ยนแปลงตามไปดวย สามารถพิจารณาไดดังตารางที่ 6.1

E

B

Q

D

D

O Q

P

A

P

Page 108: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

86

ตารางที่ 6.1 รายรับรวมและคาความยืดหยุน

ราคา (บาท/หนวย)

(1)

ปริมาณ (หนวย)

(2)

รายรับรวม

(บาท) (3)

ทิศทางการเปลี่ยน แปลง

(4)

% ΔQ

= ΔQ / [(Q1+Q2)/2]

(5)

% ΔP

= ΔP / [(P1+P2)/2]

(6)

คาความยืดหยุน

(7)=(5)/(6)

ลักษณะความ

ยืดหยุน

(8)

9 (a)

7 (b)

5 (c)

3

15

25

35

45

135

175

175

135

เพิ่มขึ้น

คงที่

ลดลง

1020 50%=

1030 333%= .

1040 25%=

28 25%=

26 333%= . 24 50%=

5025 2=

333333 1.

. =

2550 050= .

Elastic

Unitary Elastic

Inelastic

ในตารางที่ 6.1 ณ ระดับราคาชวง 7-9 บาท/หนวย คาความยืดหยุนเทากับ 2 (elastic) จะเห็นไดวาถาราคาลดลงจาก 9 บาท/หนวยเปน 7 บาท/หนวย แลวรายรับรวมจะเพิ่มข้ึนจาก 135 บาทเปน 175 บาท หรือในทางกลับกันถาราคาเพิ่มจาก 7 บาท/หนวย เปน 9 บาท/หนวย จะมีผลทําใหรายรับรวมลดลงจาก 175 บาทเปน 135 บาท ณ ระดับราคาชวง 5-7 บาท/หนวย คาความยืดหยุนเทากับ 1 (unitary elastic) จะเห็นไดวาถาราคาลดลงจาก 7 บาท/หนวย เปน 5 บาท/หนวย แลวรายรับรวมจะยังคงเดิมอยูถึง 175 บาท หรือในทางกลับกันถาราคาเพิ่มจาก 5 บาท/หนวย เปน 7 บาท/หนวย แลวรายรับจะยังคงเทาเดิมอยูคือ 175 บาท ณ ระดับราคาชวง 3-5 บาท/หนวย คาความยืดหยุนนอยกวา 1 (inelastic) จะเห็นไดวาถาราคาลดลงจาก 5 บาท/หนวยเปน 3 บาท/หนวย แลวรายรับรวมจะลดลงจาก 175 บาทเปน 135 บาทหรือในทางกลับกันถาราคาเพิ่มจาก 3 บาท/หนวย เปน 5 บาท/หนวย แลวจะมีผลทําใหรายรับรวมเพิ่มสูงข้ึนจาก 135 บาท เปน 175 บาท ซึ่งในชวงนี้คาความยืดหยุนเทากับ 0.50

Page 109: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

87

จากตัวเลขในตารางที่ 6.1 สามารถนํามาเขียนเปนรูปกราฟไดดังนี้

C

D Ed = 0.5 < 1 5

3

60 45 35

12

0

Q

P

เสนดีมานด

A

B B

C

0

9

12

7 7

5

12

15 25 60 0 25 35 60

Q Q

P P

เสนดีมานด เสนดีมานด

Ed = 2 > 1 Ed = 1

(ก) ดีมานดมีความยืดหยุนมากกวา 1 (ข) ดีมานดมีความยืดหยุนคงที่เทากับ 1

(ค) ดีมานดมีความยืดหยุนนอยกวา 1

รูปที่ 6.5 แสดงความสัมพันธระหวางรายรับรวมกับความยืดหยุนแบบตาง ๆ

Page 110: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

88

ตารางที่ 6.2 แสดงความสัมพันธระหวางความยืดหยุนราคา กับรายรับรวม

การเปลี่ยนแปลงของราคา (price) ความยืดหยุน (Ed) เพิ่มข้ึน (P↑) ลดลง(P↓)

Ed > 1

TR ลดลง

TR เพิ่ม

Ed = 1 TR คงที่ TR คงที่

Ed < 1

TR เพิ่ม TR ลด

จากตารางที่ 6.2 แสดงใหเห็นวาการที่ผูผลิตตองการรายรับรวมจากการขายสินคาเพิ่มมากขึ้นนั้นไมใชวาผูผลิตจะเพิ่มราคาสินคาอยางเดียวแลวรายรับรวมเขาจะเพิ่มข้ึน การท่ีรายรับรวมจะเพิ่มข้ึนหรือลดลงจะขึ้นอยูกับคาความยืดหยุนของดีมานด ณ ระดับราคานั้น ๆ เปนหลัก แลวจึงจะมาพิจารณาการเปลี่ยนแปลงทางดานราคา กลาวคือ ถาความยืดหยุนของดีมานดตอราคา ณ ราคาขายสําหรับสินคาชนิดนั้นนอยกวา 1 ผูผลิตจะตองเพิ่มราคาสินคาข้ึนรายรับรวมของเขาจึงจะเพิ่มข้ึน แตถาความยืดหยุนของดีมานด ณ ราคาขายมีคามากกวา 1 เขาจะตองลดราคาสินคาลงจึงจะมีผลทําใหรายรับรวมของเขาเพิ่มมากขึ้น

2.4 ความแตกตางระหวางความชัน กับความยืดหยุน

ในการศึกษาทางดานเศรษฐศาสตรจําเปนตองใชคาความชันเขาชวยในการอธิบาย ซึ่งคาความชันดังกลาวก็คือ คาสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal) ตาง ๆ เชน คาตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal cost : MC) คารายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal revenue : MR) และคาผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal physical product : MPP) เปนตน อยางไรก็ตามในการศึกษาดีมานดและซัพพลายจําเปนจะตองศึกษาในลักษณะของความยืดหยุน (elastic) เพราะการวัดในรูปของคาความยืดหยุนจะมีความไวตอการเปลี่ยนแปลงมากกวาในขณะที่คาความชันจะไมเปลี่ยนแปลงเลย (กรณีท่ีเสนดีมานดและซัพพลายเปนเสนตรง)

Page 111: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

89

การพิจารณาถึงความแตกตางระหวางความชันกับความยืดหยุนในที่นี้จะอาศัยรูปที่ 6.5 ประกอบคําอธิบาย กลาวคือจากรูปที่ 6.5 จะเห็นไดวาเสนดีมานดมีคาความชันเทากับ -0.2 ซึ่งคงท่ีตลอดทั้งเสนไมวาจะพิจารณาระหวางจุดใดๆบนเสนตรงนั้น แตถาหากพิจารณาคาความยืดหยุนของเสนดีมานด โดยที่พิจารณาเฉพาะคาสัมบูรณ ในรูป (ก) ระหวางจุด A กับ B คาความยืดหยุนที่ไดมีคาเทากับ 2 ในรูป (ข) ระหวางจุด B กับ C คาความยืดหยุนที่ไดมีคาเทากับ 1 และในรูป (ค) ระหวางจุด C กับ D ความยืดหยุนที่ไดมีคาเทากับ 0.5 นั่นคือ เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไปคาความชันของเสนดีมานดจะยังคงที่อยูท่ีเดิม แตเมื่อวัดในรูปของคาความยืดหยุนคาจะเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาถึงแมจะเปนเสนตรงเสนเดิมอยูก็ตาม จากการดัดแปลงสูตรการคํานวณคาความยืดหยุนแบบจุดในกรณีท่ีเสนดีมานดเปนเสนตรง สามารถที่จะอธิบายคาความยืดหยุนบนเสนตรงไดดังนี้

รูปที่ 6.6 แสดงคาความยืดหยุนที่แตกตางกันบนเสนดีมานดท่ีเปนเสนตรง

จากรูปที่ 6.6 เมื่อกําหนดให OQ2 = Q2D1 จะเห็นไดวาคาความยืดหยุน ณ จุด A มีคา

เทากับ D QQ O

1 1

1 ซึ่งมีคามากกวา 1 (1<Ed<∞) ณ จุด B มีคาความยืดหยุนเทากับ

D QQ O

1 2

2 ซึ่งมีคาเทากับ

1 (Ed=1) และท่ีจุด C มีคาความยืดหยุนเทากับ D QQ O

1 3

3 ซึ่งมีคานอยกวา 1 (Ed<1) นั่นคือ คาความ

ยืดหยุนของเสนดีมานดจะมีคาไมเทากันตลอดทั้งเสน ยกเวนกรณีท่ีเสนดีมานดขนานกับแกนนอน เสนดีมานดท่ีตั้งฉากกับแกนนอน และเสนดีมานดท่ีเปนแบบ rectangular hyperbola

C

B

A

(Ed=1)

(0<Ed<1)

(1<Ed<∞)

Q O Q1 Q2 Q3 D1

D P

Page 112: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

90

2.5 ลักษณะเสนดีมานดตามความยืดหยุน

คาความยืดหยุนของเสนดีมานดท่ีพิจารณาเฉพาะคาสัมบูรณ (absolute value) จะมีคาตั้งแต

ศูนย (0) จนถึงอินฟนิตี้ (∞) ซึ่งอาจแยกพิจารณาไดเปน 5 ชนิดดวยกัน กลาวคือ 1) ดีมานดไมมีความยืดหยุนเลย (Perfectly Inelastic Demand) ดีมานดไมมีความยืดหยุนเลย หมายถึง ความยืดหยุนของดีมานดมีคาเทากับศูนย (Ed = 0) กลาวคือ เมื่อเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคาเพิ่มข้ึน 1% จะไมมีผลทําใหปริมาณความตองการเสนอซื้อเปลี่ยนแปลงเลยลักษณะของเสนดีมานดจะตั้งฉากกับแกนนอน

รูปที่ 6.7 ดีมานดไมมีความยืดหยุนเลย

2) ดีมานดมีความยืดหยุนนอย (Relatively Inelastic Demand) ดีมานดมีความยืดหยุนนอย หมายถึงความยืดหยุนของดีมานดมีคานอยกวา 1 (0 < Ed < 1) กลาวคือเมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% จะมีผลทําใหปริมาณความตองการเสนอซื้อเปลี่ยนแปลงนอยกวา 1 % ในทิศทางตรงกันขาม ลักษณะของเสนดีมานดคอนขางชัน

E2

P1

P2

E1

P D

(Ed=0)

Q O Q

E2

E1 P1

P

Q Q1 Q2

(Ed < 1)

D

P2

O

รูปที่ 6.8 ดีมานดมีความยืดหยุนนอย

Page 113: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

91

3) ดีมานดมีความยืดหยุนคงที่ (Unitary Elastic Demand) ดีมานดมีความยืดหยุนคงที่ หมายถึงความยืดหยุนของดีมานดมีคาเทากับ 1 (Ed = 1) กลาวคือ เมื่อราคาเปลี่ยนแปลง 1 % จะมีผลทําใหปริมาณความตองการเสนอซื้อเปลี่ยนแปลงเทากับ 1 % ในทิศทางตรงกันขามเสนดีมานดจะเปนเสนโคงแบบ rectangular hyperbola ซึ่งพื้นที่สี่เหลี่ยมท่ีอยูใตเสนโคงจะเทากันตลอด นั่นหมายถึงรายรับรวมของผูขายหรือก็คือรายจายรวมของผูซื้อจะเทาเดิมไมวาราคาจะเพิ่มสูงข้ึนหรือลดลง

รูปที่ 6.9 ดีมานดมีความยืดหยุนคงที่

4) ดีมานดมีความยืดหยุนมาก (Relatively Elastic Demand) ดีมานดมีความยืดหยุนมาก

หมายถึงความยืดหยุนของดีมานดมีคามากกวา 1 แตนอยกวาอินฟนิตี้ (∞) (1< Ed <∞) กลาวคือ เมื่อราคาเปลี่ยนแปลง 1 % จะมีผลทําใหปริมาณความตองการเสนอซื้อเปลี่ยนแปลงมากกวา 1 % แตนอยกวาอินฟนิตี้ ลักษณะของเสนดีมานดมีความชันนอยเกือบจะแบนราบ

E1

P2

P

P1 E2

Q

D

(Ed = 1)

O Q1 Q2

Q1 Q2

E1

E2

D

Q

P1

P2

(1<Ed<∞) P

O

รูปที่ 6.10 ดีมานดมีความยืดหยุนมาก

Page 114: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

92

5) ดีมานดมีความยืดหยุนมากที่สุด (Perfectly Elastic Demand) ดีมานดมีความยืดหยุน

มากที่สุด หมายถึงความยืดหยุนของดีมานดมีคามากที่สุดเทากับอินฟนิตี้ (∞) (Ed = ∞) กลาวคือ เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไป 1 % จะมีผลทําใหปริมาณความตองการเสนอซื้อเปลี่ยนแปลงมากที่สุดเทากับอินฟนิตี้ ลักษณะของเสนดีมานดจะขนานกับแกนนอน

รูปที่ 6.11 ดีมานดมีความยืดหยุนมากที่สุด

2.6 ความยืดหยุนของดีมานดตอรายได (Income Elasticity)

ความยืดหยุนของดีมานดตอรายได (income elasticity) สามารถพิจารณาไดจาก

iEQI=

%

%

Δ

Δ

โดยที่ Ei = คาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนของดีมานดตอรายได

% ΔQ = เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ

% ΔI = เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของรายได อยางไรก็ตามการวัดคาความยืดหยุนของดีมานดตอรายไดสามารถหาได 2 วิธีเชนเดียวกับการวัดคาความยืดหยุนของดีมานดตอราคา กลาวคือ

(Ed = ∞) P

PE D

Q

E2 E1

Q1 Q2 O

Page 115: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

93

1) การวัดแบบชวง (Arc Elasticity) เปนการคํานวณคาความยืดหยุนของดีมานดตอรายไดจากจุด 2 จุด บนเสนดีมานดตอรายได ซึ่งมีสูตรการคํานวณดังนี้

E iQ QQ Q

I II I=

−+ ×

+−

1 2

1 2

1 2

1 2

โดยที่ Ei = คาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนของดีมานดตอรายได Q1 = ปริมาณซื้อเดิมกอนรายไดจะเปลี่ยนแปลง Q2 = ปริมาณซื้อใหมหลังจากรายไดเปลี่ยนแปลง I1 = รายไดเดิม I2 = รายไดใหม 2) การวัดแบบจุด (Point Elasticity) เปนการคํานวณความยืดหยุนของดีมานดตอรายไดกรณีท่ี รายไดมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยจนแทบสังเกตไมเห็น ซึ่งมีสูตรการคํานวณดังนี้

EQI

IQi = ×

ΔΔ

1

1

โดยที่ Ei = คาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนของดีมานดตอรายได

ΔQ = สวนเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ

ΔI = สวนเปลี่ยนแปลงของรายได Q1 = ปริมาณซื้อเดิมกอนรายไดเปลี่ยนแปลง I1 = รายไดเดิมกอนการเปลี่ยนแปลง ตัวอยางการคํานวณ สมมติใหผูบริโภคคนหนึ่งมีรายได 5,000 บาท/เดือน เขาจะบริโภคสินคา A เทากับ 120 kg/เดือน ตอมารายไดเขาเพิ่มข้ึนเปน 5,020 บาท/เดือน เขาบริโภคสินคา A เพิ่มข้ึนเปน 121 kg/เดือน จงหาความยืดหยุนของดีมานดตอรายไดของสินคา A กรณีนี้ รายไดมีการเปลี่ยนแปลงเล็กนอยจึงใชวิธีการคํานวณแบบจุด (point elasticity) จาก

ตัวอยางจะไดวา ΔQ = 1, ΔI = 20, I1 = 5,000 และ Q1 = 120

จากสูตร EQI

IQi = ×

ΔΔ

1

1

แทนคาในสูตร *

Page 116: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

94

Ei = 120

5 000120

×,

= 2.08 ความยืดหยุนของดีมานดตอรายไดของสินคา A ณ ระดับรายไดเทากับ 5,000 บาท/เดือนมีคาเทากับ 2.08 หมายความวาเมื่อรายไดเพิ่มข้ึน 1 % จะมีผลทําใหผูบริโภคบริโภคสินคา A เพิ่มข้ึน 2.08 % และสินคา A เปน สินคาปกติ เครื่องหมายของควาามยืดหยุนของดีมานดตอรายได ถามีคาเปนบวก (+) จะหมายถึงทิศทางของการเปลี่ยนแปลงของรายไดกับการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อสินคาจะเปนไปในทิศทางเดียวกันและสินคาดังกลาวจะเปน สินคาปกติ (normal goods) แตถาความยืดหยุนดังกลาวมีคา ติดลบ (-) จะหมายถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงของรายไดกับการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อสินคาเปนไปในทิศทางตรงกันขามและสินคาชนิดนี้จะเปน สินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) เชน มามา เสื้อผาโหล ปลายขาว ฯลฯ อยางไรก็ตามชนิดของความยืดหยุนของดีมานดตอรายได จะมีอยูดวยกัน 5 ชนิด เชนเดียวกับชนิดของความยืดหยุนของดีมานดตอราคา กลาวคือ (1) ดีมานดตอรายไดท่ีไมมีความยืดหยุนเลย (perfectly inelasticity income demand) (2) ดีมานดตอรายไดท่ีมีความยืดหยุนนอย (relatively inelasticity income demand) (3) ดีมานดตอรายไดท่ีมีความยืดหยุนคงที่ (unitary elastic income demand) (4) ดีมานดตอรายไดท่ีมีความยืดหยุนมาก (relatively elastic income demand) และ (5) ดีมานดตอรายไดท่ีมีความยืดหยุนมากที่สุด (perfectly elastic income demand.)

2.7 ความยืดหยุนของดีมานดตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ (Cross Elasticity)

สินคาอื่นๆที่มีความสัมพันธกับสินคาท่ีกําลังพิจารณา อาจจะเปนสินคาท่ีตองใชรวมกัน (complementary goods) หรืออาจจะเปนสินคาตองใชทดแทนกัน (substitution goods) ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงราคาสินคาอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของจะมีผลตอปริมาณของสินคาท่ีกําลังพิจารณา การหาความยืดหยุนของดีมานดตอราคาสินคาอื่น หรือเรียกวา ความยืดหยุนไขว (cross elasticity)สามารถหาไดจาก

EQPc

xy

=%%ΔΔ

โดยที่ Ec = คาสัมประสิทธิ์ของความยืดหยุนไขว

Page 117: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

95

% ΔQX = เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินคาที่กําลังพิจารณา (สินคา X)

% ΔPY = เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ (สินคา Y) ในการวัดคาความยืดหยุนไขว สามารถกระทําไดเชนเดียวกันกับการหาคาความยืดหยุนของ ดีมานดตอราคา หรือเชนเดียวกับการหาคาความยืดหยุนของดีมานดตอรายได เมื่อสมมติใหสินคา X เปนสินคาท่ีกําลังพิจารณาอยูและสินคา Y เปนสินคาอื่นที่เกี่ยวของ การวัดความยืดหยุนไขวมี 2 วิธีดวยกัน กลาวคือ 1) การวัดแบบชวง (Arc Elasticity) เปนการคํานวณคาความยืดหยุนของดีมานดตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ จากจุด 2 จุด บนเสนดีมานดตอราคาสินคาอื่น ซึ่งมีสูตรการคํานวณดังนี้

( )( )

( )( )E

Q Q

Q Q

P P

P Pc

x x

x x

y y

y y=

−+

×+

−1 2

1 2

1 2

1 2

โดยท่ี Ec = คาสัมประสิทธิ์ของความยืดหยุนไขวแบบชวง Qx1 = ปริมาณซื้อสินคา X เดิมกอนราคาสินคา Y เปลี่ยนแปลง Qx2 = ปริมาณซื้อสินคา X ใหมหลังราคาสินคา Y เปลี่ยนแปลง Py1 = ราคาสินคา Y เดิมกอนการเปลี่ยนแปลง Py2 = ราคาสินคา Y ใหมหลังการเปลี่ยนแปลง 2) การวัดแบบจุด (Point Elasticity) เปนการคํานวณคาความยืดหยุนของดีมานดตอราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของ กรณีท่ีราคาสินคาอื่นมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยจนแทบสังเกตไมเห็นซึ่งมีสูตรการคํานวณ ดังนี้

EQP

PQc

xy

y

x= ×ΔΔ

โดยที่ Ec = คาสัมประสิทธิ์ของความยืดหยุนไขวแบบจุด

ΔQX = สวนเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อสินคา X

ΔPY = สวนเปลี่ยนแปลงราคาสินคา Y PY = ราคาสินคา Y เดิมกอนการเปลี่ยนแปลง QY = ปริมาณสินคา Y เดิมกอนการเปลี่ยนแปลง

Page 118: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

96

การพิจารณาคาความยืดหยุนไขว (cross elasticity) นอกจากจะพิจารณาคาสัมบูรณ (absolute value) แลวยังตองการพิจารณาถึงเครื่องหมายดวย กลาวคือถาเครื่องหมายของความยืดหยุนไขวมีคาเปนบวก (+) (positive sign) แสดงวาสินคาท้ังสองเปนสินคาท่ีใชทดแทนกันได (substitution goods) แตถาเครื่องหมายของความยืดหยุนไขวมีคาเปนลบ (-) (negative sign) แสดงวาสินคาท้ังสองชนิดเปนสินคาควบคูหรือสินคาประกอบกัน (complementary goods) ตัวอยางการคํานวณ สมมติวาเดิมราคาเนื้อไกกิโลกรัมละ 50 บาท ในตลาดสดแหงหนึ่งมีผูบริโภคมาซื้อเนื้อหมูวันละ 150 กิโลกรัม ตอมาราคาเนื้อไกลดลงเหลือกิโลกรัมละ 40 บาทมีผูบริโภคมาซื้อเนื้อหมูลดลงเหลือเพียงวันละ 100 กิโลกรัม จงหาความยืดหยุนไขวของเนื้อหมูกับเนื้อไก และ จงหาความสัมพันธระหวางเนื้อหมูกับเนื้อไกวาเปนสินคาประเภทใด สมมติให เนื้อหมู คือ สินคา X เนื้อไก คือ สินคา Y จากสูตร

( )( )

( )( )E

Q Q

Q Q

P P

P Pc

x x

x x

y y

y y=

−+

×+

−1 2

1 2

1 2

1 2

จากโจทย Qx1 = 150 kg , Qx2 = 100 kg PY1 = 50 บาท/kg , PY2 = 40 บาท/kg แทนคา

EC = 150 100150 100

50 4050 40

+

= 50250

9010

×

= 1.80 คาความยืดหยุนไขวเทากับ 1.80 หมายความวา ถาหากราคาเนื้อไกลดลง 1 % จะมีผลทําใหผูบริโภคลดการปริมาณซื้อเนื้อหมูลง 1.8 % เครื่องหมายของ EC ท่ีเปนบวก แสดงวาเนื้อหมูกับเนื้อไกเปนสินคาทดแทนกัน (substitution goods) ตัวอยางการคํานวณ กรณีสินคาควบคู สมมติวาราคากาแฟขวดละ 150 บาท รานคาแหงหนึ่งขายคอฟฟเมตไดวันละ 50 กลอง ตอมาราคากาแฟเพิ่มข้ึนขวดละ 200 บาท รานคาดังกลาวขาย

Page 119: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

97

คอฟฟเมตไดลดลงเหลือวันละ 30 กลองจงหาความยืดหยุนไขวของคอฟฟเมตกับกาแฟ และหาความสัมพันธระหวางกาแฟกับคอฟฟเมตวาเปนสินคาประเภทใด สมมติให กาแฟ คือ สินคา Y คอฟฟเมต คือ สินคา X จากสูตร

( )( )

( )( )E

Q Q

Q Q

P P

P Pc

x x

x x

y y

y y=

−+

×+

−1 2

1 2

1 2

1 2

จากโจทย QX1 = 50 กลอง, QX2 = 30 กลอง PY1 = 150 บาท/ขวด, PY2 = 200 บาท/ขวด แทนคา

EC = 50 3050 30

150 200150 200

+

= 2080

35050

×−

= -1.75 ความยืดหยุนไขวเทากับ -1.75 หมายความวา ถาราคากาแฟเพิ่มข้ึน 1 % จะมีผลทําให ผูบริโภคซื้อคอฟฟเมตในปริมาณลดลง 1.75 % เครื่องหมายของความยืดหยุนไขว EC ท่ีเปนลบ แสดงวากาแฟและคอฟฟเมตเปนสินคาใชรวมกัน (complementary goods)

3. ความยืดหยุนของซัพพลาย (Elasticity of Supply)

การพิจารณาความยืดหยุนของซัพพลายจะมีลักษณะเชนเดียวกับการพิจารณาความยืดหยุนของดีมานด แตจะแตกตางกันตรงที่ความยืดหยุนของดีมานดจะพิจารณาปริมาณซื้อ สวนความยืดหยุนของซัพพลายจะพิจารณาปริมาณขาย ในการพิจารณาความยืดหยุนของซัพพลายตอราคาหมายถึง เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายตอเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคา กลาวคือ ถาเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายมากกวาเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาแสดงวาซัพพลายมีความยืดหยุนมาก (elastic supply) ในทางตรงกันขามหากเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของ

Page 120: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

98

ปริมาณขายนอยกวาเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาแสดงวาซัพพลายมีความยืดหยุนนอย(inelastic supply) สําหรับสูตรในการหาคาความยืดหยุนของซัพพลายเปนดังนี้

SEQP=

%

%

Δ

Δ

โดยท่ี Es = ความยืดหยุนของซัพพลายตอราคา

%ΔQ = เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณขาย

%ΔP = เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคา

3.1 การคํานวณคาความยืดหยุนของซัพพลาย

การคํานวณคาความยืดหยุนของซัพพลายตอราคาสามารถที่จะคํานวณได 2 วิธีเชนเดียวกับการคํานวณคาความยืดหยุนของดีมานด กลาวคือ 1) การวัดแบบชวง (Arc Elasticity of Supply) เปนการคํานวณคาความยืดหยุนของ ซัพพลายจากจุด 2 จุดบนเสนซัพพลาย คาความยืดหยุนที่ไดจะเปนคาท่ีอยูระหวางกลางของ 2 จุด ซึ่งมีสูตรการคํานวณดังนี้

EQ QQ Q

P PP PS =

−+ ×

+−

1 2

1 2

1 2

1 2

โดยท่ี Es = คาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนของซัพพลายตอราคา Q1 = ปริมาณเสนอขายสินคาเดิม Q2 = ปริมาณเสนอขายสินคาใหม P1 = ราคาสินคากอนการเปลี่ยนแปลง P2 = ราคาสินคาใหมหลังการเปลี่ยนแปลง 2) การวัดแบบจุด (Point Elasticity of Supply) เปนการคํานวณคาความยืดหยุนของ ซัพพลาย ณ จุดใด ๆ บนเสนซัพพลายที่มีการเปลี่ยนแปลงของราคานอยมากจนแทบจะสังเกตไมเห็นการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีสูตรในการคํานวณดังนี้

EQP

PQS = ×

ΔΔ

1

1

Page 121: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

99

โดยที่ Es = คาสัมประสิทธิ์ความยืดหยุนของซัพพลายตอราคา

ΔQ = การเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอขายสินคา

ΔP = การเปลี่ยนแปลงของราคาสินคา P1 = ราคาสินคาเดิม Q1 = ปริมาณเสนอขายสินคาเดิม

ตัวอยางการคํานวณ จงหาความยืดหยุนระหวางจุด A และ B บนเสนซัพพลายของสินคา X จากรูปที่ 6.12 จะไดวา P1 = 15 บาท/หนวย P2 = 20 บาท/หนวย Q1 = 10 บาท/หนวย Q2 = 18 บาท/หนวย

สูตร การคํานวณคาความยืดหยุนแบบชวง

Es = Q QQ Q

P PP P

1 2

1 2

1 2

1 2

−+ ×

+−

แทนคาในสูตร * Es =

20152015

18101810

−+

×+−

= −

×−

828

355

= 2

A

B 20

15

10 18 O

S

QX

PX

รูปท่ี 6.12 การหาความยืดหยุนเสนซัพพลายของสินคา X

Page 122: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

100

คาความยืดหยุนของเสนซัพพลายของสินคา X ระหวางจุด A และ B มีคาเทากับ 2 แสดงวา ณ ระดับราคา 15-20 บาท/หนวย ถาราคาสินคา X เพิ่มข้ึน 1 % จะมีผลทําใหปริมาณการเสนอขายเพิ่มข้ึน 2 % เครื่องหมาย + ท่ีไดจะแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงระหวางราคากับปริมาณเปนไปในทิศทางเดียวกัน ตัวอยางการคํานวณ จงหาความยืดหยุนของซัพพลายของเห็ดหลินจือ ณ ระดับราคา 5,000 บาท/kg ผูผลิตนําออกมาเสนอขาย 250 kg เมื่อราคาของเห็ดหลินจือเพิ่มข้ึนเล็กนอยเทากับ 10 บาท/kg จะมีผลทําใหผูผลิตนําออกมาเสนอขายเพิ่มเล็กนอยอีกประมาณ 1 kg จากโจทยจะไดวา P1 = 5,000 บาท/kg Q1 = 250 kg

ΔP = 10 บาท/kg ΔQ = 1 kg แทนคาจะได *

Es = 2500005

101 ,×

= 2 คาความยืดหยุนของเห็ดหลินจือเทากับ 2 แสดงวา ณ ระดับราคา 5,000 บาท/kg ถาราคาเห็ดหลินจือเพิ่มข้ึน 1 % จะมีผลทําใหปริมาณการเสนอขายเห็ดหลินจือเพิ่มข้ึน 2 % ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเปนไปในทิศทางเดียวกัน

3.2 ลักษณะของเสนซัพพลายตามความยืดหยุน

ลักษณะของเสนซัพพลายตามความยืดหยุนอาจแยกพิจารณาไดเปน 5 ชนิดดวยกัน เชนเดียวกับความยืดหยุนของเสนดีมานด กลาวคือ 1) ซัพพลายไมมีความยืดหยุนเลย (Perfectly Inelastic Supply) ซัพพลายไมมีความยืดหยุนเลยหมายถึงความยืดหยุนของซัพพลายเทากับ 0 กลาวคือ เมื่อเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคาเพิ่มข้ึน 1 % จะไมมีผลทําใหปริมาณการเสนอขายเปลี่ยนแปลงเลย ลักษณะของเสนซัพพลายจะตองตั้งฉากกับแกนนอน

Page 123: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

101

2) ซัพพลายมีความยืดหยุนนอย (Relatively Inelastic Supply) ซัพพลายมีความยืดหยุนนอย หมายถึง ความยืดหยุนของซัพพลายมีคานอยกวา 1 (0 < ES < 1) กลาวคือเมื่อเปอรเซ็นตของราคาเปลี่ยนแปลงไป 1 % จะมีผลทําใหปริมาณการเสนอขายเปลี่ยนแปลงนอยกวา 1 % ในทิศทางเดียวกัน ลักษณะของเสนซัพพลายคอนขางชัน

รูปที่ 6.14 ดีมานดมีความยืดหยุนนอย

3) ซัพพลายมีความยืดหยุนคงที่ (Unitary Elastic Supply)ซัพพลายมีความยืดหยุนคงที่ หมายถึงความยืดหยุนของซัพพลายมีคาเทากับ 1 (ES = 1) กลาวคือ เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึน 1 % จะมีผลทําใหปริมาณเสนอขายเพิ่มข้ึน 1 % ลักษณะเสนซัพพลายเปนเสนที่ทํามุม 45 ๐ กับแกนนอน และเมื่อตอปลายเสนซัพพลายลงไปจะผานจุดกําเนิด (origin) พอดี

E2

E1 S

(0 <ES < 1) P2

P1 P

Q Q1 Q2 O

E2 P2

P1

P S

E1

Q QE O

รูปที่ 6.13 ซัพพลายไมมีความยืดหยุนเลย

Page 124: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

102

รูปท่ี 6.15 ซัพพลายมีความยืดหยุนคงที่

4) ซัพพลายที่มีความยืดหยุนมาก (Relatively Elastic Supply) ซัพพลายมีความยืดหยุนมาก

หมายถึงความยืดหยุนของซัพพลายมีคามากกวา 1 แตนอยกวา ∞ (1 < ES < ∞) กลาวคือเมื่อราคาเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึน 1 %จะมีผลทําใหปริมาณเสนอขายเพิ่มข้ึนมากกวา 1 % ลักษณะของเสนซัพพลายมีความชันคอนขางนอย

O

E1

S P2

P1

Q

P(1 < ES < ∞)

Q2 Q1

E2

รูปท่ี 6.16 ซัพพลายมีความยืดหยุนมาก

45๐

E1 P1

P2 E2

S

Q

(ES = 1) P

Q1 Q2 O

Page 125: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

103

5) ซัพพลายมีความยืดหยุนมากที่สุด (Perfectly Elastic Supply) ซัพพลายมีความยืดหยุน

มากที่สุด หมายถึงความยืดหยุนของซัพพลายมีคาเทากับอินฟนิตี้ (ES = ∞) กลาวคือมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณเสนอขายทั้งๆท่ีไมมีการเปลี่ยนแปลงราคาลักษณะของเสนซัพพลายจะเปนเสนตรงที่ขนานแกนนอน

รูปที่ 6.17 ซัพพลายมีความยืดหยุนมากที่สุด

อยางไรก็ตาม การพิจารณาความยืดหยุนของเสนดีมานดและเสนซัพพลายจะพิจารณาจากความชันอยางเดียวไมได จะตองคํานวณคาความยืดหยุนออกมาเสียกอนจึงจะบอกไดวาความยืดหยุนของเสนดีมานดและเสนซัพพลายมีคาเปนเทาใด เพราะความยืดหยุนบนเสนตรงใด ๆ จะมีคาไมเทากันตลอดทั้งเสนซึ่งแตกตางจากคาความชันที่มีคาคงที่ตลอดทั้งเสน

3.3 ปจจัยที่เปนตัวกําหนดความยืดหยุนของซัพพลาย

ปจจัยท่ีมีความสําคัญตอการกําหนดความยืดหยุนของซัพพลายโดยพิจารณาตามระยะเวลา และการเปลี่ยนแปลงของตนทุนการผลิต ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้ 1) ระยะเวลาที่ใชในการผลิต 1 ในการผลิตสินคาใดๆก็ตามยอมข้ึนอยูกับระยะเวลาเปนสําคัญ ซึ่งสามารถแยกพิจารณาออกเปน 3 ระยะเวลา (1) ระยะสั้นมาก (the immediate market period) เปนระยะเวลาที่สั้นมากจนผูผลิตไมสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงปริมาณผลผลิตใหเปนไปตามการเปลี่ยนแปลงของดีมานดและระดับราคาไดเลย คาความยืดหยุนของซัพพลายในระยะเวลาสั้นมากจะไมมีความยืดหยุนเลย (perfectly inelastic supply) (Es = 0) 1 Campbell R. McConnell , Economics (6 th. ed. ; New York : McGraw - Hill Book Company, 1975), pp. 469

- 471.

E1

Q2 Q1 O

E2

P

PE S

Q

(ES = ∞)

Page 126: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

104

(2) ระยะสั้น (the short run) เปนระยะเวลาสั้นๆที่ผูผลิตสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงปริมาณผลผลิตไดบางเล็กนอยใหเปนไปตามการเปลี่ยนแปลงของดีมานดและการเปลี่ยนแปลงของราคา ดังนั้นคาความยืดหยุนของซัพพลายในระยะสั้นจะมีคานอย (relatively inelastic supply) (0 < Es < 1) (3) ระยะยาว (the long run) เปนระยะเวลาที่นานพอท่ีผูผลิตจะสามารถเปลี่ยนแปลงหรือปรับระดับปริมาณผลผลิตไดตามการเปลี่ยนแปลงของดีมานดและการเปลี่ยนแปลงของราคา คา

ความยืดหยุนของซัพพลายในระยะยาวจะมีคามาก (relatively elastic supply) (1< Es< ∞) 2) การเพิ่มขึ้นของตนทุนการผลิต 2 เมื่อการผลิตสินคาใดๆเพิ่มมากขึ้นแลวมีผลทําใหตนทุนการผลิตเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วแลวจะมีผลทําใหความยืดหยุนของซัพพลายของสินคาชนิดนั้นจะมีคานอย (relatively inelastic supply) (0<Es< 1) แตถาการผลิตสินคาใดๆที่เพิ่มมากขึ้นแลวทําใหตนทุนการผลิตเพิ่มข้ึนอยางชาๆแลวจะมีผลทําใหความยืดหยุนของซัพพลายของสินคาชนิดนั้นมีคามาก

(relatively elastic supply) (1<Es< ∞)

4. ประโยชนของความยืดหยุนของเสนดีมานดและซัพพลาย

การศึกษาเรื่องความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลายนับเปนสิ่งท่ีจําเปนและมีความสําคัญเปนอยางยิ่งสําหรับการศึกษาหลักเศรษฐศาสตร กลาวคือผูท่ีจะสามารถวิเคราะหปญหาทางดานเศรษฐกิจไดเปนอยางดี จะตองเปนผูท่ีมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับคาความยืดหยุนของดีมานดและ ซัพพลายเปนอยางดีโดยเฉพาะอยางยิ่งความยืดหยุนตอราคา สําหรับประโยชนของความยืดหยุนไมวาจะเปนความยืดหยุนของดีมานดหรือซัพพลาย สามารถแยกพิจารณาตามฐานะของผูกําหนดนโยบายตาง ๆ ได 2 ประการคือ

2 Richard G. Lipsey and Peter O. Steiner, Economics (6 th. ed. ; New York : Harper & Row Publisher, 1981),

p. 88.

Page 127: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ความยืดหยุน

105

4.1 ประโยชนในฐานะธุรกิจเอกชน

ในฐานะที่เปนธุรกิจเอกชนตางพยายามที่จะแสวงหากําไรสูงสุดอยูเสมอนั่นคือการที่ธุรกิจเอกชนจะผลิตสินคาออกมาขายเขาจะเพิ่มหรือลดราคาหากตองการท่ีจะเพิ่มรายได ธุรกิจเอกชนจะตองศึกษาใหเขาใจเกี่ยวกับคาความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลายตอราคาอยูตลอดเวลาเพื่อท่ีจะไดตัดสินใจดําเนินนโยบายอยางถูกตองและประสบผลสําเร็จ ยกตัวอยางเชน ถาธุรกิจทราบวาความยืดหยุนของดีมานดมีคามากกวาหนึ่งเขาจะตองลดราคาเพื่อใหไดรายไดเพิ่มสูงข้ึน หรือในทางกลับกันถาความยืดหยุนของดีมานดมีคานอยกวาหนึ่งเขาจะตองพยายามขึ้นราคาสินคาเพื่อใหไดรายไดเพิ่มสูงข้ึน นั่นคือ ประโยชนของความยืดหยุนตอราคาตอธุรกิจเอกชนก็คือ เพื่อใชกําหนดราคาขาย เมื่อทราบคาความยืดหยุนของดีมานดสําหรับสินคาชนิดใดๆหรืออาจจะใชในการวิเคราะหเพื่อกําหนดราคาขายที่แตกตางกัน (price discrimination) สําหรับสินคาชนิดเดียวแตขายใน 2 ตลาด ซึ่งในกรณีดังกลาวนี้จะกอใหเกิดประโยชนก็ตอเมื่อความยืดหยุนของดีมานดตอราคามีคาแตกตางกันเทานั้น

4.2 ประโยชนในฐานะที่เปนหนวยงานของรัฐ

ในฐานะที่เปนหนวยงานของรัฐหากจะกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจใด ๆ ก็จะตองคํานึงถึงผลกระทบที่จะมีตอผูบริโภคหรือผูผลิตหรือประชาชนทั่วไป นั่นคือหนวยงานของรัฐจะตองทราบคาความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลายเปนอยางดีกอนจึงจะสามารถกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจไดอยางมีประสิทธิภาพเพราะคาความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลายที่แตกตางกันจะสงผลกระทบตอผูบริโภค หรือผูผลิต หรือประชาชนทั่วไปในระดับที่แตกตางกันไปดวย ประโยชนของความยืดหยุนตอราคาในฐานะที่เปนหนวยงานของรัฐพอสรุปไดดังนี้คือ 1) ใชในการวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับการคาระหวางประเทศ เชน การลดคาเงินบาทจะสงผลตอการสงสินคาออก การสั่งสินคาเขา และดุลการการชําระเงินมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับคาความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลาย 2) ใชในการวิเคราะหการจัดเก็บภาษีและการผลักภาระภาษี ข้ึนอยูกับวาจะเรียกเก็บภาษีจากผูผลิตหรือผูบริโภค คาความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลายที่แตกตางกัน จะมีผลทําใหการจัดเก็บภาษีและการผลักภาระภาษีแตกตางกัน เพราะฉะนั้นผูกําหนดนโยบายจะตองคํานึงถึงคาความยืดหยุนดวย

Page 128: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

106

3) ใชในการวิเคราะหการกําหนดราคาขั้นต่ํา (price support) เชน การพยุงราคาขาว การประกันราคามันสําปะหลัง สวนใหญการกําหนดราคาขั้นต่ําจะใชสําหรับสินคาเกษตรและเพื่อเปนการชวยเหลือผูผลิต การกําหนดราคาขั้นต่ําจะไดผลมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลายของสินคาชนิดนั้น ๆ 4) ใชในการวิเคราะหการกําหนดราคาขั้นสูง (price ceiling) เชน การกําหนดราคาน้ําตาลทรายขั้นสูง การกําหนดอัตราดอกเบี้ยข้ันสูง วัตถุประสงคก็เพื่อคุมครองผูบริโภคไมใหไดรับความเดือดรอนจนเกินไป ในการกําหนดราคาขั้นสูงจะไดผลมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความยืดหยุนของ ดีมานดและซัพพลายของสินคาชนิดนั้น ๆ 5) ใชในการวิเคราะหการกําหนดราคาสินคาท่ีเปนกิจการสาธารณูปโภค การท่ีจะขึ้นราคาหรือลดราคาสินคาสาธารณูปโภค จะสงผลกระทบตอผูบริโภคมากนอยเพียงใดนั้นจะขึ้นอยูกับคาความยืดหยุนของดีมานดสําหรับกิจการสาธารณูปโภคนั้นๆวามีคามากนอยเพียงใด ผูกําหนดนโยบายควรท่ีจะพิจารณาถึงคาความยืดหยุนใหละเอียดกอน แลวจึงคอยกําหนดนโยบายเพื่อใหสงผลกระทบตอผูบริโภคโดยทั่วไปไดนอยท่ีสุด

Page 129: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทท่ี 7 การควบคุมและการประกันราคาสินคา

(Price Control and Support) หลังจากที่ไดศึกษาถึงดีมานด ซัพพลาย และความยืดหยุนของเสนดีมานดและซัพพลายผานมาแลว สวนในบทนี้จะพิจารณาถึงประโยชนของความยืดหยุนตอการกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจบางประการ ซึ่งจะพิจารณาถึงเรื่องของการควบคุมราคาสินคา การพยุงราคาสินคา การเปลี่ยนแปลงราคาสินคาเกษตรกรรม การจัดเก็บภาษี และการผลักภาระภาษี กลาวคือ

1. การควบคุมราคาสินคา (Price Control)

การควบคุมราคา (price control) หรือการกําหนดราคาขั้นสูง (price ceiling) ของสินคา หมายถึง การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาลเพื่อไมใหระดับราคาของสินคาสูงเกินไปจนกอใหเกิดความเดือดรอนแกผูบริโภคซึ่งระดับราคาที่รัฐบาลเขาไปควบคุมนี้จะอยูต่ํากวาระดับราคาดุลยภาพท่ีเปนไปตามกลไกของตลาด สําหรับสินคาท่ีรัฐบาลเขาไปควบคุมสวนใหญเปนสินคาท่ีมีความ จําเปนตอการดํารงชีพของประชาชนโดยทั่วไป

รูปท่ี 7.1 การควบคุมราคาน้ําตาลทราย กรณีที่ดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนมาก

12

15 E2

E1

D

D'

0 80 100 125

S ราคา (บาท/kg)

ปริมาณ(พันตัน)

Page 130: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

108

จากรูปที่ 7.1 สมมติวาสินคาท่ีมีการซื้อขายกันคือ น้ําตาลทราย หากปลอยใหเปนไปตามกลไกของตลาด ราคาน้ําตาลทรายจะตกกิโลกรัมละ 15 บาท และปริมาณซื้อขายกันทั้งหมด 1 แสนตัน เมื่อรัฐบาลเห็นวาราคาน้ําตาลทราย 15 บาท/kg ผูบริโภคโดยทั่วไปไดรับความเดือดรอนเพื่อแกไขปญหาดังกลาว รัฐบาลจึงเขามาควบคุมราคาน้ําตาลทรายใหมีการซื้อขายกันกิโลกรัมละ 12 บาท ผูบริโภคท่ัวไปถึงจะไมเดือดรอน ณ ระดับราคา 12 บาท/kg จะมีผูผลิตนําน้ําตาลทรายออกมาขายเพียง 8 หมื่นตัน แตมีผูตองการเสนอซื้อถึง 1.25 แสนตัน นั่นคือเกิด excess demand เทากับ 4.5 หมื่นตัน รัฐบาลจะตองหาน้ําตาลทรายที่เก็บสตอกไวออกมาขายเทากับ 4.5 หมื่นตัน ระดับราคาจึงจะอยูท่ี 12 บาท/kg แตถาหากรัฐบาลไมสามารถหาน้ําตาลทรายออกมาขายได ระดับราคาน้ําตาลทรายจะไมสามารถอยูท่ีระดับ 12 บาท/kg ได ถึงแมรัฐบาลจะออกกฎหมายมาควบคุมราคาน้ําตาลใหอยูท่ี 12 บาท/kg ก็ตาม ในทางปฎิบัติจะมีการลักลอบขายน้ําตาลกันเกินกวาราคาที่ทางการกําหนด และเราเรียกภาวะการณดังกลาววาเกิดปญหา ตลาดมืด (black market) เมื่อเกิดตลาดมืดข้ึนมาแลวการควบคุมราคาของรัฐบาลก็จะไมประสบความสําเร็จ เพื่อใหนโยบายการควบคุมราคาของรัฐบาลประสบความสําเร็จ โดยที่รัฐบาลไมตองนําน้ําตาลทรายออกมาขายในปริมาณที่เทากับ excess demand ยังมีอีกวิธีหนึ่งก็คือการหาทางลดดีมานดของผูบริโภคลง โดยการจายคูปองใหผูบริโภคแตละครอบครัวซึ่งจะทําใหผูบริโภคสามารถซื้อ สินคาไดจํานวนจํากัดตามสิทธิ์ของตนจะซื้อมากกวานั้นไมได จากรูปที่ 7.1 เมื่อมีการปนสวนหรือรัฐบาลจายคูปองใหแลวจะมีผลทําใหผูบริโภคซื้อน้ําตาลทรายไดลําบากขึ้นซื้อไดในปริมาณที่จํากัด ในที่สุดเสนดีมานดก็จะเคลื่อนยาย (shift) จากเสน D เปนเสน D' ในที่สุดราคาดุลยภาพก็จะเกิดข้ึนใหม ณ ท่ีจุด E2 ราคาน้ําตาลทรายถึงอยูท่ี 12 บาท/kg นโยบายการควบคุมราคาของรัฐบาลจึงประสบความสําเร็จได ถาหากเสนดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนนอย เมื่อรัฐบาลใชนโยบายการควบคุมราคาจะกอใหเกิด excess demand ในปริมาณที่นอยกวาเสนดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนมาก ดังรูปที่ 7.2 ถารัฐบาลตองการควบคุมราคาน้ําตาลทรายใหเปน 12 บาท/kg จะเกิด excess demand เทากับ 1 หมื่นตัน หากรัฐบาลมีน้ําตาลทรายในสตอกก็สามารถนําออกมาขายใหกับผูบริโภคในปริมาณที่นอยกวากรณีแรก หรือถาจะใชวิธีการจายคูปองก็สามารถทําไดงายกวากรณีแรกเชนกัน นั่นคือ หากรัฐบาลจะใชนโยบายการควบคุมราคาจะตองคํานึงถึงความยืดหยุนของดีมานดและ ซัพพลายของสินคานั้น ๆ ดวย ซึ่งจะมีผลตอความสําเร็จของนโยบายการควบคุมราคาของรัฐบาลถาไมเชนนั้นแลวรัฐบาลอาจจะประสบปญหาความยุงยากในการจัดการกับ excess demand และอาจจะเกิดปญหาตลาดมืดซึ่งอาจทําใหผูบริโภคโดยทั่วไปไดรับความเดือดรอนมากยิ่งข้ึนอีกก็ได

Page 131: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 109

รูปท่ี 7.2 การควบคุมราคาน้ําตาลทราย กรณีดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนนอย

2. การประกันราคาสินคา (Price Support)

การประกันราคาสินคาหรือการพยุงราคาสินคา หมายถึง การที่รัฐบาลเขาไปแทรกแซงราคาสินคาใหสูงกวาราคาดุลยภาพในตลาด เพื่อเปนการชวยเหลือผูผลิตใหสามารถขายสินคาในราคาที่สูงข้ึนหรือเพื่อเปนการยกระดับรายไดของเกษตรกร การใชนโยบายการประกันราคาสินคาของรัฐบาลจะประสบความสําเร็จหรือไมข้ึนอยูกับลักษณะของดีมานดและซัพพลายวามีความยืดหยุนมากนอยเพียงใด ถาดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนนอยโอกาสที่นโยบายการประกันราคาของรัฐบาลจะประสบความสําเร็จก็มีมากกวากรณีท่ีดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนมาก ตามรูปที่ 7.3 (ก) และ (ข) ไดสมมติใหสินคาท่ีกําลังพิจารณาเปนขาวเปลือก โดยท่ีแกนตั้งแทนราคา (บาท/ตัน) และแกนนอนแทนปริมาณ (แสนตัน)ในรูป (ก) ความยืดหยุนของดีมานดและ ซัพพลายมีคามากกวาในรูป (ข) หากปลอยใหเปนไปตามกลไกของตลาด ราคาขาวเปลือกจะอยูท่ี 3,500 บาท/ตัน เมื่อรัฐบาลเห็นวาราคา 35,00 บาท/ตันไมคุมกับการลงทุนของเกษตรกร เพื่อเปนการชวยเหลือเกษตรกรรัฐบาลจึงเขามาแทรกแซงราคาโดยประกันราคาไวท่ี 5,000 บาท/ตัน เมื่อราคาอยูท่ี 5,000 บาท/ตัน จะเกิดซัพพลายสวนเกิน (excess supply) ข้ึนรัฐบาลจะตองเขาไปรับซื้อซัพพลายสวนเกินทั้งหมด ระดับราคาประกันจึงจะอยูได เมื่อเปรียบเทียบกันระหวางรูปท่ี 7.3 (ก) และรูป (ข) จะเห็นไดวาความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลายในรูป (ก) มีคามากกวารัฐบาลจะตองใชงบประมาณในจํานวนที่มากกวาเพื่อรับซื้อซัพพลายสวนเกินและเปนการยากที่การประกันราคาจะประสบความสําเร็จ แตถาความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลายมีคานอยรัฐบาลจะใชงบประมาณจํานวนนอย

15 12

E

S

95 100 105 0

ราคา (บาท/kg)

ปริมาณ(พันตัน) D

Page 132: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

110

กวาเพื่อรับซื้อซัพพลาย สวนเกินและนโยบายการประกันราคาจะประสบความสําเร็จไดไมยาก อยางไรก็ตามนโยบายการประกันจะประสบความสําเร็จไดนั้นอาจจะตองใชนโยบายอยางอื่นเสริม เชน การจายเงินอุดหนุนใหกับเกษตรกร การลดพื้นที่การเพาะปลูก และการหาตลาดตางประเทศเพิ่มข้ึน ซึ่งพิจารณาไดดังนี้

(ก) กรณีดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนมาก (ข) กรณีดีมานดและซัพพลายมีความยืดหยุนนอย

รูปที่ 7.3 การประกันราคาขาวเปลือก

ราคา(บาท/ตัน) S

D

ปริมาณ (แสนตัน)

5,000

3,500

0 50 100 125

E

105

95 100

S ราคา(บาท/ตัน)

3,500 5,000

D ปริมาณ (แสนตัน)

0

E

Page 133: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 111

2.1 การจายเงินอุดหนุนใหกับเกษตรกร

การจายเงินอุดหนุนใหกับเกษตรกรเปนการชวยเหลือเกษตรกรโดยที่การซื้อขายปลอยใหเปนไปตามกลไกของตลาด และรัฐบาลจายเงินชวยเหลือเพื่อใหเกษตรกรสามารถดํารงอยูได รูปที่ 7.4 การจายเงินอุดหนุนเกษตรกร

จากรูปที่ 7.4 สมมติใหสินคาดังกลาว คือ ขาวโพดโดยมีเสนซัพพลายตั้งฉากกับแกนนอนอาจจะเนื่องมาจากสาเหตุท่ีรัฐบาลกําหนดระยะเวลาสั้นมาก(the immediate market period)ท่ีจะจายเงินอุดหนุนใหกับเกษตรกรโดยเฉพาะอยางยิ่งหลังฤดูเก็บเกี่ยว เมื่อกําหนดใหแกนตั้งแทนราคา (P) และแกนนอนแทนปริมาณขาวโพด (Q) หากปลอยใหเปนไปตามกลไกของตลาดแลวราคาขาวโพดจะเทากับ OP1 บาท/kg และมีปริมาณขาวโพดในระยะเวลากําหนดที่มีการซื้อขายกันเพียง OQ1 หมื่นตัน เมื่อรัฐบาลพิจารณาแลวเห็นวาราคา OP1 บาท/kg เกษตรกรผูปลูกขาวโพดไมสามารถอยูไดและเพื่อเปนการชวยเหลือเกษตรกรรัฐบาลคิดวาเกษตรกรควรจะขายขาวโพดไดในราคา OP2 บาท/kg เกษตรกรจึงจะสามารถดํารงชีพอยูได รัฐบาลจึงเขาไปชวยเหลือเกษตรกรโดยจายเงินอุดหนุน P1P2

บาท/kg หรือจายเงินอุดหนุนเทากับ P1P2FE การจายเงินอุดหนุนใหกับเกษตรกรก็เปนอีกวิธีหนึ่งท่ีจะชวยระดับราคาสินคาสูงข้ึนได อยางไรก็ตามในขอตกลงตลาดการคาโลกไดมีการหามจายเงินอุดหนุนแกผูผลิตเพราะจะมีผลทําใหเกิดการไดเปรียบเสียเปรียบซึ่งกันและกัน

D

F

P (บาท/kg)

E

P2

P1

Q1

S

Q (หมื่นตัน) O

Page 134: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

112

2.2 การสิ่งเสริมใหลดพื้นที่การเพาะปลูก

การสงเสริมใหลดพื้นที่การเพาะปลูกเปนนโยบายเพื่อใหเกษตรกรสามารถขายสินคาไดในราคาที่สูงข้ึน โดยท่ีมีผลทางดานซัพพลายทําใหซัพพลายของสินคาเกษตรชนิดนั้น ๆ ลดลง รูปที่ 7.5 การสงเสริมใหลดพื้นที่การเพาะปลูก

จากรูปที่ 7.5 สมมติใหสินคาเกษตร คือ มันสําปะหลัง โดยที่แกนตั้งแทนราคา (P) และแกนนอนแทนปริมาณ (Q) กอนท่ีจะมีการสงเสริมการลดพื้นที่การเพาะปลูก ราคามันสําปะหลังตันละ OP1 เมื่อรัฐบาลเห็นวาราคาตันละ OP1 ไมคุมกับการลงทุนของเกษตรกรเกษตรกรควรจะขายมันสําปะหลังไดในราคาตันละ OP2 มาตรการหนึ่งท่ีรัฐบาลจะแกไขปญหาโดยที่รัฐบาลไมตองหางบประมาณมาอุดหนุน หรือเขามารับซื้อสินคาจากเกษตรกรก็คือการใชนโยบายสงเสริมการลดพื้นที่การเพาะปลูกมันสําปะหลังลงโดยสงเสริมใหปลูกพืชชนิดอื่นแทน ซึ่งจะมีผลทําใหปริมาณมันสําปะหลังออกสูตลาดลดลง และการลดพื้นที่การเพาะปลูกมันสําปะหลังลงจะมีผลทําใหเสน ซัพพลายเคลื่อนยายจากเสน S ไปเปน S' ระดับราคาในทองตลาดก็จะเพิ่มข้ึนจาก OP1 เปน OP2

2.3 การขยายตลาดตางประเทศเพิ่มขึ้น

การขยายตลาดตางประเทศเพิ่มข้ึนเปนนโยบายชวยเหลือผูผลิตใหสามารถขายสินคาไดในราคาที่สูงข้ึน โดยมีผลทางดานดีมานดทําใหดีมานดของสินคาชนิดนั้นๆขยายตัวเพิ่มสูงข้ึน เมื่อ

E2

E1

S' S

D

Q (หมื่นตัน) Q1 Q2 O

P2

P1

P (บาท/ตัน)

Page 135: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 113

สามารถขยายตลาดตางประเทศไดเพิ่มมากขึ้นพอคาผูสงออกตางก็มีความตองการสินคาเพิ่มมากขึ้นตามความตองการของตลาดในตางประเทศ จะมีผลใหเสนดีมานดเคลื่อนยายไปทางขวามือของเสนเดิม รูปที่ 7.6 การขยายตลาดตางประเทศเพิ่มข้ึน

จากรูปที่ 7.6 สมมติใหสินคาดังกลาว คือ ขาวเปลือก โดยใหแกนตั้งแทนราคา (P) และแกนนอนแทนปริมาณ (Q) กอนที่จะมีการขยายตลาดตางประเทศเพิ่มข้ึนราคาขาวเปลือกที่เปนไปตามกลไกของตลาดจะอยูท่ีตันละ OP1 เมื่อรัฐบาลเห็นวาราคาขาวเปลือกตันละ OP1 เกษตรกรไมสามารถอยูได มาตรการหนึ่งท่ีรัฐบาลจะชวยเหลือเกษตรกรไดโดยการแสวงหาตลาดตางประเทศใหมากข้ึนเพื่อท่ีจะยกระดับราคาขาวเปลือกในประเทศใหสูงข้ึน เมื่อรัฐบาลสามารถขยายตลาดตางประเทศไดเพิ่มข้ึนจะมีผลทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยายจากเสน D ไปทางขวามือเปนเสน D' ทําใหเกิดดุลยภาพใหมข้ึนที่ E2 ระดับราคาขาวเปลือกเพิ่มสูงข้ึนเปน OP2 นั่นคือการขยายตลาดตางประเทศเพิ่มสูงข้ึนจะมีผลทําใหระดับราคาสินคาภายในประเทศเพิ่มสูงข้ึนไดอีกทางหนึ่ง

3. การเปล่ียนแปลงราคาสินคาเกษตรกรรม

ราคาสินคาเกษตรกรรมสวนใหญจะเปลี่ยนแปลงขึ้นๆลงๆอยูตลอดเวลาโดยเฉพาะอยางยิ่งสินคาเกษตรกรรมที่เปนพืชลมลุก เชน ถั่วเหลือง กระเทียม หอมแดง หอมหัวใหญ ผักตางๆ และพืชไรทุกชนิด ฯลฯ การเพาะปลูกพืชตางๆเหลานี้เกษตรกรสวนใหญจะอาศัยราคาในปท่ีผานมาเปนตัวกําหนดปริมาณการผลิต ซึ่งมีทฤษฎีท่ีสามารถอธิบายไดเปนอยางดีก็คือทฤษฎีใยแมงมุม (Cobweb theorem) การอธิบายราคาทฤษฎีในใยแมงมุมจะแตกตางจากการพิจารณาราคาดุลยภาพโดยทั่วไป

S

D' D

E2

E1

P (บาท/ตัน)

P2 P1

Q1 Q2 O

Q (หมื่นตัน)

Page 136: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

114

กลาวคือ ในกรณีท่ัวไปราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพจะถูกกําหนดจากดีมานดและซัพพลายของสินคาในเวลาเดียวกัน แตในกรณีของทฤษฎีใยแมงมุมปริมาณผลผลิตในปปจจุบัน (ปท่ี t) ถูกกําหนดจากราคาที่เกิดข้ึนในปท่ีผานมา (ปท่ี t-1) สมการของเสนซัพพลายในกรณีท่ัวไปกับกรณีของทฤษฎีใยแมงมุมจึงแตกตางกันดังนี้ สมการซัพพลายกรณีท่ัวไป Qt = a + b Pt สมการซัพพลายกรณีทฤษฎีใยแมงมุม Qt = a + b Pt-1 รูปที่ 7.7 การปรับตัวเขาหาจุดดุลยภาพตามทฤษฎีใยแมงมุม

จากรูปที่ 7.7 สมมติใหสินคาเกษตรดังกลาว คือ กระเทียม โดยที่แกนตั้งแทนราคา (P) และแกนนอนแทนปริมาณ (Q) และสมมติตอไปอีกวาราคากระเทียมในปท่ี t-1 คือป 2539 เมื่อเกษตรกรเห็นวาราคากระเทียมในป 2539 อยูท่ี Pt-1 เกษตรกรเมื่อเห็นราคาสูงเกษตรกรสวนใหญจึงหันมาปลูกกระเทียมทําใหผลผลิตกระเทียมออกสูตลาดในป 2540 เทากับ Qt ซึ่งมีปริมาณมากเกินไปราคากระเทียมจึงตกมาเปน Pt ในป 2540 เมื่อเกษตรกรเห็นราคากระเทียมในป 2540 ตกต่ําเกษตรกรบางสวนก็จะหยุดการปลูกกระเทียมทําใหผลผลิตกระเทียมออกสูตลาดในป 2541 ลดลงเปน Qt+1 เมื่อผลผลิตกระเทียมออกสูตลาดนอยลงราคากระเทียมในป 2541 ก็จะเพิ่มข้ึนเปน Pt+1 เปนเชนนี้ไปเรื่อย ๆ กลาวคือ เมื่อเกษตรกรเห็นราคาผลผลิตในปนี้สูงข้ึนปหนาก็จะมีเกษตรกรเพาะปลูกเพิ่มมากขึ้นทําใหปริมาณผลผลิตออกมามากและทําใหราคาตก เมื่อราคาตกก็มีเกษตรกรบางสวนหยุดการผลิตทําใหผล

Pt

D

S

Pt+1

Q

E •

O Qt-1 Qt+1 Qt

P

Pt - 1

Page 137: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 115

ผลิตออกสูตลาดนอยลงราคาจึงเพิ่มสูงข้ึนเพราะมีผลผลิตขายนอย เมื่อเห็นวาราคาสูงข้ึนเกษตรกรก็จะหันมาเพาะปลูกเพิ่มข้ึนอีก ราคาสินคาเกษตรจึงไมมีเสถียรภาพ (ก) ดีมานดมีความยืดหยุนนอยกวาซัพพลาย

รูปที่ 7.8 แนวโนมการปรับตัวของราคาจะเขาสูดุลยภาพ

จากรูปที่ 7.8 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งแทนราคา (P) และแกนนอนแทนปริมาณ (Q) และเมื่อพิจารณาความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลาย ณ จุดตัดจะเห็นไดวาความยืดหยุนของดีมานดและ ซัพพลายที่แตกตางกัน แนวโนมการปรับตัวของราคาตามทฤษฎีใยแมงมุมก็จะตางกันไปดวย กลาวคือ จากรูปที่ 7.8 (ก) ดีมานดมีความยืดหยุนนอยกวาซัพพลาย ณ จุดตัดของเสนทั้งสองการปรับตัวของ

D

S

D

E •

O

Q

P

(ข) ดีมานดมีความยืดหยุน มากกวาซัพพลาย (ค) ดีมานดมีความยืดหยุนเทากับซัพพลาย

• E

S

Q

P

O O

S

D

E •

P

Q

Page 138: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

116

ราคามีแนวโนมท่ีจะออกจากดุลยภาพ ในทางตรงกันขาม ณ จุดตัดของเสนดีมานดและซัพพลาย ถาดีมานดมีความยืดหยุนมากกวาซัพพลายแลวแนวโนมการปรับตัวของราคาจะเขาสูดุลยภาพ ดังรูปที่ 7.8 (ข) แตถาความยืดหยุนของดีมานดและซัพพลายเทากัน ณ จุดตัด การปรับตัวของราคาจะมีลักษณะคลายกับการชักของใยแมงมุมท่ีสมบูรณแบบจะไมมีแนวโนมเขาดุลยภาพหรือไมมีแนวโนมออกจากดุลยภาพแตอยางใด ดังรูปที่ 7.8 (ค) จากการศึกษาทฤษฎีใยแมงมุม จะเห็นถึงประโยชนของความยืดหยุนของดีมานดและ ซัพพลาย เมื่อการเคลื่อนไหวของราคาเปนไปตามทฤษฎีใยแมงมุมจะทําใหทราบแนวโนมการเคลื่อน ไหวของราคาวาจะเขาสูภาวะดุลยภาพหรือไมอยางไร

4. การเก็บภาษีสินคา และการผลักภาระภาษี

นโยบายการจัดเก็บภาษีของรัฐบาลอาจจัดเก็บภาษีจากผูขายหรือผูซื้อก็ไดท้ังนี้ข้ึนอยูกับลักษณะหรือประเภทของสินคา ตลอดจนความจําเปนและความเหมาะสมในการจัดเก็บ ไมวาภาษีจะเก็บจากผูซื้อหรือผูขายก็ตาม โดยทั่วไปนิยมจัดเก็บอยู 2 วิธีดวยกันคือ (1) เก็บภาษีตามสภาพของสินคา (specific tax) (2) เก็บตามมูลคาของสินคา (ad - valorem tax)

4.1 การเก็บภาษีตามสภาพของสินคา (Specific Tax)

การเก็บภาษีตามสภาพของสินคา (specific tax) เปนการเก็บภาษีตามสภาพหรือตามหนวยปริมาณของสินคาแตละชนิด เชน อาจจัดเก็บตามน้ําหนัก ตามความยาว ตามขนาด หรือเก็บตามสภาพของการหีบหอท่ีใชบรรจุสินคา ฯลฯ การเก็บภาษีจากผูผลิตหรือผูขายนั้น เงินภาษีท่ีผูผลิตจะตองจายใหกับรัฐบาลนั้นถือวาเปนตนทุนการผลิตสวนหนึ่งดวย เมื่อตนทุนการผลิตสูงข้ึนผูผลิตจะลดซัพพลายของสินคาโดยที่เสน ซัพพลายจะเคลื่อนยาย (shift) ไปทางซายมือของเสนซัพพลายเดิม ดังรูปที่ 7.9 ตามรูปที่ 7.9 กอนที่รัฐบาลจะเรียกเก็บภาษีจากผูขายราคาดุลยภาพคือ OP และปริมาณที่มีการซื้อขายกันคือ OQ เมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูขายตามสภาพของสินคา เสนซัพพลายจะเคลื่อนยายจากเสน S ไปเปนเสน S' ในขณะที่ดีมานดยังคงเดิมทําใหราคาดุลยภาพสูงกวาเดิมเปน OP' และปริมาณท่ีมีการซื้อขายกันเปน OQ' ภาษีตอหนวยท่ีรัฐบาลเก็บจะเทากับชวงหางระหวางเสนซัพพลายเดิมกับเสนซัพพลายใหมโดยวัดตามแนวดิ่งเทากับ T บาท/หนวย

Page 139: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 117

ถาสมมติวาภาษีตอหนวยท่ีรัฐบาลเก็บคือหนวยละ T บาท รัฐบาลจะเก็บภาษีไดท้ังหมด

เทากับ T × OQ' บาทหรือเทากับภาษีตอหนวย (T) คูณดวยปริมาณสินคาท่ีขายไดท้ังหมด (OQ' ) P

รูปท่ี 7.9 แสดงการจัดเก็บภาษีจากผูขายตามสภาพของสินคา

การเก็บภาษีจากผูซื้อตามสภาพของสินคาในอัตราหนวยละ T บาท จะทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยาย (shift) ไปทางซายหรือดีมานดลดลง และยังขนานกับเสนดีมานดเดิม สาเหตุท่ีเปนเชนนี้ก็เนื่องมาจากดวยเงินจํานวนเทาเดิม หลังจากที่ถูกหักเปนคาภาษีแลวผูซื้อจะมีเงินเหลือสําหรับซื้อสินคาไดในจํานวนนอยลงกวาเดิม ดังรูปที่ 7.10

รูปที่ 7.10 แสดงการเก็บภาษีจากผูซื้อตามสภาพของสินคา

จากรูปที่ 7.10 ดวยเงินจํานวนหนึ่งท่ีกําหนดใหกอนเสียภาษี เขาซื้อสินคาไดจํานวน OQ หนวย บนเสนดีมานดเดิม แตเมื่อถูกเก็บภาษีอัตรา T บาทตอหนวย เงินจํานวนเทาเดิมสามารถซื้อ

P (บาท/หนวย)

T

D

E

S S'

E'

Q (หนวย) Q' Q O

P'

P (บาท/หนวย)

E' E

D' D

T

Q (หนวย)

P

Q' Q O

Page 140: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

118

สินคาไดเพียงจํานวน OQ' บนเสนดีมานดใหม D' เมื่อผูซื้อถูกเก็บภาษีจะทําใหเสนดีมานดลดลงจากเสน D ไปเปนเสน D' เมื่อวัดตามแนวดิ่งแลวเสน D จะหางจากเสน D' เทากับ T และเสนดีมานดท้ังสองจะยังขนานกันอยู

ภาษีท่ีเก็บจากผูซื้อท้ังหมดจะมีคาเทากับ T × OQ' บาท

4.2 การเก็บภาษีตามมูลคาของสินคา (Ad-valorem Tax)

การจัดเก็บภาษีตามแบบวิธีนี้จะคํานวณเปนรอยละของราคาสินคา โดยทั่วไปนิยมกําหนดอัตราภาษีเอาไวลวงหนา เชน 5% หรือ 10% เปนตน ท้ังนี้เพื่อความสะดวกในการคํานวณภาษี และภาษี

ตอหนึ่งหนวย (T) จะมีคาเทากับอัตราภาษี (t) คูณดวยราคาสินคา (P) หรือ T = t × P การเก็บภาษีตามมูลคาของสินคาถาราคาสินคาต่ําจํานวนเงินภาษีท่ีเก็บไดจะมีคานอย แตถาราคาสินคาสูง จํานวนเงินภาษีท่ีเก็บไดจะมีคามาก การเก็บภาษีจากผูขายตามมูลคาของสินคา เมื่อผูขายถูกเก็บภาษีตามลักษณะนี้แลวจะทําใหเสนซัพพลายเคลื่อนยายออกไปทางซายมือของเสนเดิม ในลักษณะที่ชวงหางของเสนซัพพลายทั้งสองเสนไมเทากัน กลาวคือ สินคาท่ีระดับราคาต่ําๆชวงหางของเสนซัพพลายทั้งสองจะแคบเพราะเสียภาษีนอย สวนสินคาท่ีระดับราคาสูงๆชวงหางจะกวางเพราะตองเสียภาษีมาก ดังรูปที่ 7.11

รูปที่ 7.11 แสดงการจัดเก็บภาษีจากผูขายตามมูลคาของสินคา

จากรูปที่ 7.11 จะเห็นไดวาราคา P จะต่ํากวาราคา P' ดังนั้นภาษีท่ีเก็บตามมูลคาของสินคาเมื่อราคาเทากับ P จึงเปนจํานวนเงินที่นอยกวาเมื่อราคาเทากับ P'

S'

S P'

P

Q (หนวย)

P (บาท/หนวย)

O Q Q'

Page 141: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 119

วิธีคํานวณภาษีตามมูลคาของสินคา ข้ันแรกจะตองคํานวณรายรับจากการขายสินคาท้ังหมดเสียกอน แลวจึงนําเงินรายรับทั้งหมดมาคํานวณภาษีตามอัตราที่กําหนดไว เชน ถาราคาสินคาหนวยละ 10 บาท และขายไดท้ังหมด 40 หนวย ผูขายจะมีรายรับทั้งหมดเทากับ 400 บาท ถาตองเสียภาษีตามมูลคาของสินคาในอัตรา 20% ก็หมายความวาผูขายจะตองเสียภาษีใหรัฐบาลเปนจํานวนเงินเทากับ

400 × 0.20 = 80 บาท การเก็บภาษีตามวิธีนี้ถาสินคาท่ีขายไดมีจํานวนเทากัน สินคาท่ีมีราคาสูงจะตองเสียภาษีเปนจํานวนเงินมากกวาสินคาท่ีมีราคาต่ํากวาท้ัง ๆ ท่ีเสียภาษีในอัตราเดียวกัน การเก็บภาษีจากผูซื้อตามมูลคาของสินคา เมื่อผูซื้อถูกเก็บภาษีตามมูลคาของสินคาจะทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยาย (shift) ไปทางซายมือ และระยะหางของเสนดีมานดเดิมกับเสนดีมานดใหมจะไมเทากัน ดังรูปที่ 7.12

รูปที่ 7.12 แสดงการจัดเก็บภาษีจากผูซื้อตามมูลคาของสินคา

จากรูปที่ 7.12 จะเห็นไดวาระยะหางระหวางเสนดีมานดเดิม (D) กอนที่จะมีการเก็บภาษีกับเสนดีมานดใหมหลังจากเก็บภาษี (D' ) ไมเทากัน กลาวคือ ระยะหางระหวางเสนจะกวางขึ้นตามลําดับเมื่อระดับราคาสินคาสูงข้ึน เหตุผลก็คือวาผูบริโภคจะตองจายภาษีมากข้ึนเมื่อราคาสินคาตอหนวยสูงข้ึนเพราะภาษีคิดจากเปอรเซ็นตของมูลคาสินคา

Q (หนวย)

D D'

P E E'

P (บาท/หนวย)

O Q' Q

T

Page 142: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

120

4.3 การเก็บภาษีจากผูขาย

เมื่อรัฐบาลเก็บภาษีจากผูผลิตหรือผูขาย ผูขายอาจจะตองรับภาระภาษีไวท้ังหมด หรืออาจจะผลักภาระภาษีไปใหกับผูซื้อ การผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อจะไดมากนอยเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับความยืดหยุนของดีมานดของสินคาท่ีขาย กลาวคือ ถาดีมานดของสินคาท่ีขายมีความยืดหยุนนอย (inelastic) ซึ่งสวนใหญเปนสินคาท่ีจําเปนตอการดํารงชีพ ในกรณีนี้ผูขายก็จะสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูซื้อไดมากแตถาดีมานดของสินคาท่ีขายมีความยืดหยุนมาก (elastic) แสดงวาเปนสินคาท่ีไมจําเปนตอการดํารงชีพ ผูขายก็จะสามารถผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อไดนอย ในที่นี้จะขอพิจารณาตามลักษณะความยืดหยุนของดีมานดของสินคาท่ีขาย ดังตอไปนี้คือ

1) ดีมานดของสินคาที่ขายมีความยืดหยุนเทากับศูนย (Perfectly Inelastic)

ถาดีมานดของสินคาท่ีขายมีความยืดหยุนเทากับศูนย ผูขายจะสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูซื้อท้ังหมดได ดังรูปที่ 7.13

รูปท่ี 7.13 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อ กรณีความยืดหยุนของดีมานดของสินคาเทากับศูนย

จากรูปที่ 7.13 กอนที่รัฐบาลจะเก็บภาษีเสนซัพพลายคือ S ราคาดุลยภาพคือ OP บาทตอหนวย และปริมาณดุลยภาพคือ OQ หนวย ตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูขายทําใหผูขายลด ซัพพลายลงไปเปนเสน S' ราคาดุลยภาพใหมจะสูงข้ึนเปน OP' บาท/หนวยและปริมาณดุลยภาพยังเทาเดิมคือ OQ หนวยในกรณีนี้ภาษีตอหนวยเทากับ PP' บาท และภาษีตอหนวยถูกรวมเขาไปในราคาเดิมท้ังหมดเทากับ OP + PP' = OP' บาท ลักษณะเชนนี้แสดงวาผูขายสามารถผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อไดท้ังหมดรอยเปอรเซ็นต นั่นคือผูขายไมตองรับภาระในการเสียภาษีนั้นเลย หรือกอนถูกเรียกเก็บภาษี

P

E'

E

S S'

D

P'

P (บาท/หนวย)

Q (หนวย) O Q

Page 143: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 121

ผูขายมีรายไดเทากับ OPEQ บาทหลังจากถูกเก็บภาษีแลวรายไดสุทธิของผูขายเทากับ OPEQ บาทซึ่งมีคาเทาเดิม

ภาษีท่ีรัฐบาลเก็บไดท้ังหมดคือ PP'E'E บาทโดยที่ผูขายสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูซื้อท้ังหมด

2) ดีมานดของสินคาที่ขายมีความยืดหยุนนอย (Inelastic)

เมื่อรัฐบาลเก็บภาษีจากผูขายสินคาท่ีดีมานดมีความยืดหยุนนอย ผูขายจะสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูซื้อไดมากกวาสวนที่ผูขายจะตองภาระภาษีไวเอง ดังรูปที่ 7.14

รูปท่ี 7.14 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อกรณีความยืดหยุนของดีมานดมีคานอย

จากรูปที่ 7.14 กอนที่รัฐบาลจะเรียกภาษีจากผูขาย เสนซัพพลายคือเสน S และเสน ดีมานดคือเสน D ราคาดุลยภาพคือ OP บาท/หนวยและปริมาณดุลยภาพคือ OQ หนวยตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูขายเสนซัพพลายจะเคลื่อนยายไปเปนเสน S' ราคาดุลยภาพใหมคือ OP' บาท/หนวย และปริมาณดุลยภาพใหมลดลงเปน OQ' หนวย ภาษีท่ีรัฐบาลเรียกเก็บจากผูขายตอหนวย (T) มีคาเทากับ AP' หรือเทากับ BE' บาท PP' คือ ภาระภาษีตอหนวยท่ีผูขายผลักไปใหกับผูซื้อ (บาท/หนวย) PA คือ ภาระภาษีท่ีผูขายตองรับผิดชอบไป (บาท/หนวย)

P'E'CP คือ จํานวนเงินภาษีท้ังหมดที่ผูขายสามารถผลักภาระไปใหกับผูซื้อ(บาท)

PCBA คือ จํานวนเงนิภาษีท้ังหมดที่ผูขายตองรับผิดชอบ (บาท)

P A

C E

B

D

S

S'

E'

P (บาท/หนวย)

Q (หนวย)

P'

O Q' Q

Page 144: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

122

P'E'BA คือ จํานวนภาษีท้ังหมดที่รัฐบาลเก็บได (บาท) จะเห็นไดวาภาษีสวนที่ผูขายสามารถผลักภาระไปใหกับผูซื้อมีจํานวนมากกวาสวนที่ผูขายตองรับภาระเอง

3) ดีมานดของสินคาที่ขายมีความยืดหยุนคงที่เทากับหนึ่ง (Unitary Elastic)

เมื่อรัฐบาลเก็บภาษีจากผูขายสินคาท่ีดีมานดมีความยืดหยุนเทากับหนึ่ง ผูขายจะสามารถผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อเทากับสวนที่ผูขายตองรับภาระเอง ดังรูปที่ 7.15 รูปท่ี 7.15 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อ กรณีที่ความยืดหยุนของดีมานดมีคาคงที่เทากับหนึ่ง

จากรูป 7.15 กอนที่รัฐบาลจะเรียกเก็บภาษีจากผูขาย ราคาดุลยภาพคือ OP บาทตอหนวยและปริมาณดุลยภาพคือ OQ หนวย เสนซัพพลายของผูขายคือ S และเสนดีมานดคือ D ตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูขายทําใหเสนซัพพลายจะเคลื่อนยายไปเปนเสน S' และราคา ดุลยภาพใหมคือ OP' บาท/หนวย และปริมาณดุลยภาพใหมคือ OQ' หนวย ในกรณีท่ีดีมานดมีความยืดหยุนคงที่เทากับหนึ่ง ผูขายจะผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อไดครึ่งหนึ่งและผูขายรับภาระภาษีเอาไวครึ่งหนึ่ง

P'E'AP = PABC โดยที่

P'E'AP คือ ภาระภาษีท้ังหมดที่ผูขายผลักไปใหกับผูซื้อ (บาท)

PABC คือ ภาระภาษีท่ีผูขายตองรับไป (บาท)

P' P C B

E E'

D

S S'

A

Q (หนวย)

P (บาท/หนวย)

O Q' Q

Page 145: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 123

4) ดีมานดของสินคาที่ขายมีความยืดหยุนมาก (Elastic)

สินคาท่ีดีมานดมีความยืดหยุนมาก ไดแกสินคาฟุมเฟอย หรือสินคาท่ีไมจําเปนตอการดํารงชีพ เมื่อรัฐบาลเก็บภาษีจากผูขาย ผูขายจะสามารถผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อไดนอยกวาสวนที่ผูขายเองตองรับภาระเอาไว ดังรูปที่ 7.16

รูปท่ี 7.16 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อ กรณีมีความยืดหยุนของดีมานดมีคามาก

จากรูป 7.16 กอนที่รัฐบาลจะเรียกเก็บภาษี เสนซัพพลายคือเสน S ราคาดุลยภาพคือ OP บาท/หนวย และปริมาณดุลยภาพคือ OQ หนวย ตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูขายแลวจะทําใหเสนซัพพลายเคลื่อนยายไปเปนเสน S' ราคาดุลยภาพใหมคือ OP' บาท/หนวย และปริมาณ ดุลยภาพคือ OQ' หนวย

ภาษีท่ีรัฐบาลเก็บไดท้ังหมดคือ P'E'BC บาท ผูขายสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับ

ผูซื้อไดเทากับ P'E'AP บาท สวนผูขายเองจะตองรับภาระภาษีเทากับ PABC บาท นั่นคือ สินคาท่ีมีเสนดีมานดมีความยืดหยุนมาก เมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูขาย การผลักภาระภาษีของผูขายไปใหกับผูซื้อจะมีคานอยกวาในสวนที่ผูขายจะตองรับภาระเอาไว

5) ดีมานดของสินคาที่ขายมีความยืดหยุนมากที่สุด (Perfectly Elastic)

เมื่อรัฐบาลเก็บภาษีจากสินคาท่ีดีมานดมีความยืดหยุนมากที่สุด ผูขายจะไมสามารถผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อไดเลย ซึ่งก็คือผูขายตองรับภาระภาษีเอาไวท้ังหมด ดังรูปที่ 7.17

S'

S

D

E

B

A

E' P' P

C

P (บาท/หนวย)

Q (หนวย) O Q' Q

Page 146: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

124

รูปท่ี 7.17 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูซื้อ กรณีที่ความยืดหยุนของดีมานดมีคามากที่สุด

จากรูปที่ 7.17 กอนท่ีรัฐบาลจะเรียกเก็บภาษีจากผูขาย เสนซัพพลายก็คือเสน S ราคาดุลยภาพคือ OP บาท/หนวย ปริมาณดุลยภาพก็คือ OQ หนวย ตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูขายจะทําใหเสนซัพพลายเคลื่อนยายไปเปนเสน S' ราคาดุลยภาพใหมยังคงเดิมเทากับ OP บาท/หนวย แตปริมาณดุลยภาพใหมเทากับ OQ' หนวย ผูซื้อสินคายังซื้อในราคาเดิมคือ OP บาท/หนวย จํานวนภาษี

ท้ังหมดที่รัฐบาลเก็บไดเทากับ PE'BA บาท นั่นคือผูขายไมสามารถผลักภาระภาษีใหกับผูซื้อได

เพราะผูซื้อยังซื้อสินคาในราคาเดิมอยู และผูขายจะตองรับภาระภาษีท้ังหมดซึ่งมีคาเทากับ PE'BA บาท

4.4 การเก็บภาษีจากผูซ้ือ

ในบางครั้งรัฐบาลมีนโยบายเก็บภาษีจากผูซื้อ เมื่อผูซื้อถูกรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจะทําใหผูซื้อมีรายไดสําหรับซื้อสินคาเพื่อการบริโภคลดลง และมีผลทําใหดีมานดสําหรับสินคาท่ีผูซื้อตองการซื้อลดลงไปดวย อยางไรก็ตามการที่รัฐบาลตั้งใจเก็บภาษีจากผูซื้อนั้น ผูซื้อจะตองรับภาระภาษีไวเองท้ังหมดหรือจะสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความยืดหยุนของ ซัพพลายของสินคาชนิดนั้น กลาวคือ ยิ่งความยืดหยุนของซัพพลายของสินคามีนอยเทาใดโอกาสที่ผูซื้อจะผลักภาระไปใหผูขายจะมีมากขึ้น หรือในทางกลับกันถาความยืดหยุนของซัพพลายของสินคามีมากขึ้นจะทําใหผูซื้อผลักภาระภาษีไปใหผูขายไดนอยลง การพิจารณาคาความยืดหยุนของซัพพลายของสินคาเปนดังนี้

A B

D E E'

S' S

P

P (บาท/หนวย)

Q (หนวย) O Q' Q

Page 147: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 125

1) ซัพพลายของสินคาที่ซ้ือมีความยืดหยุนเทากับศูนย (Perfectly Inelastic)

เมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อ จะทําใหเสนดีมานดสําหรับสินคาท่ีผูซื้อตองการซื้อเคลื่อนยายลดลง ในกรณีท่ีซัพพลายของสินคาท่ีซื้อมีความยืดหยุนเทากับศูนย ผูซื้อจะสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดท้ังหมด โดยที่ผูซื้อไมตองรับภาระภาษีนั้นเลย ดังรูปที่ 7.18

รูปท่ี 7.18 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขาย กรณีที่ซัพพลายมีคาความยืดหยุนเทากับศูนย

จากรูปที่ 7.18 กอนที่รัฐบาลจะเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อ เสนดีมานดของสินคาอยูท่ี D ราคาดุลยภาพคือ OP บาท/หนวย และปริมาณดุลยภาพคือ OQ หนวย ตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยายไปเปนเสน D' การท่ีเสนดีมานดเคลื่อนยายไปเปนเสน D' ผูซื้อยังสามารถซื้อสินคาในปริมาณ OQ หนวยเทาเดิมอยู และราคาที่ซื้อใหมนี้ยังเทากับ OP บาทตอหนวย เหมือนเดิมอยู สวนราคา OP' บาท/หนวย คือ ราคาสุทธิท่ีผูขายไดรับตอหนวยหลังจากหักภาษีแลว

ภาษีท้ังหมดที่รัฐบาลเก็บไดมีคาเทากับ PEE'P' บาท ผูซื้อยังซื้อสินคาในราคาเดิมภาระภาษีผูซื้อไมตองรับและผูซื้อสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดท้ังหมด ผูขายถึงแมจะขายสินคาไดในราคา OP บาท/หนวยก็ตาม แตก็ตองเสียภาษีไปเทากับ P'P บาท/หนวยของสินคา นั่นคือภาษีท่ี

ผูขายตองรับภาระมีคาเทากับ PEE'P' บาทและไดรับเงินสุทธิเพียง P'E'QO บาท จากการพิจารณา จะเห็นไดวาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อสินคาในขณะที่ความยืดหยุนของซัพพลายของสินคานั้นมีคาเทากับศูนย ผูซื้อสามารถผลักภาระภาษีใหกับผูขายไดท้ังหมด โดยท่ีผูซื้อสินคานั้นไมตองแบกรับภาระภาษีนั้นแตอยางใด

D

D'

E'

E

S

P'

Q (หนวย)

P (บาท/หนวย)

P

O Q

Page 148: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

126

2) ซัพพลายของสินคาที่ซ้ือมีความยืดหยุนนอย (Inelastic)

เมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีสินคาจากผูซื้อ ในกรณีท่ีเสนซัพพลายมีความยืดหยุนนอย ผูซื้อสามารถที่จะผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดมากกวาสวนที่ผูซื้อจะตองรับภาระเอาไว ดังรูปท่ี 7.19

รูปท่ี 7.19 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขายกรณีที่ซัพพลายมีความยืดหยุนนอย

จากรูปที่ 7.19 กอนที่รัฐบาลจะเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อ เสนดีมานดของสินคาคือ D ราคาดุลยภาพคือ OP บาท/หนวย ปริมาณดุลยภาพคือ OQ หนวย ตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยายไปเปนเสน D' ปริมาณดุลยภาพใหมคือ OQ' หนวยจากปริมาณดุลยภาพใหมทําใหผูซื้อตองซื้อสินคาในราคาสูงข้ึนเทากับ OP' บาท/หนวย ราคาสุทธิตอหนวยท่ีผูขายไดรับหลังจากหักภาษีแลวเทากับ OC บาท

ภาษีท้ังหมดที่รัฐบาลเก็บไดมีคาเทากับ P'AE'C บาท ภาระภาษีท่ีผูซื้อตองรับผิดชอบ

เนื่องจากซื้อสินคาในราคาที่สูงข้ึนเทากับ P'ABP บาท และผูซื้อผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายได

เทากับ PBE'C บาท จะเห็นไดวาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อ กรณีท่ีซัพพลายของสินคามีความยืดหยุนนอยผูซื้อสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดมากกวาสวนที่ตนเองจะตองรับภาระ

3) ซัพพลายของสินคาที่ซ้ือมีความยืดหยุนเทากับหนึ่ง (Unitary Elastic)

เมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อกรณีท่ีซัพพลายของสินคามีความยืดหยุนเทากับหนึ่ง ผูซื้อสามารถที่จะผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดเพียงครึ่งหนึ่ง สวนที่เหลืออีกครึ่งหนึ่งผูซื้อเองจะตองรับภาระภาษีไว ดังรูปที่ 7.20

C

D

D'

E'

B E A

S P (บาท/หนวย)

Q' Q Q (หนวย)

P' P

O

Page 149: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การควบคุมและการประกันราคาสินคา 127

รูปท่ี 7.20 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขาย กรณีที่ซัพพลายมีความยืดหยุนเทากับหนึ่ง

จากรูปท่ี 7.20 กอนที่รัฐบาลจะเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อเสนดีมานดของสินคาอยูท่ีเสน D ราคาดุลยภาพคือ OP บาท/หนวย ปริมาณดุลยภาพคือ OQ หนวย ตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจาก ผูซื้อทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยายไปเปนเสน D' ปริมาณดุลยภาพใหมคือ OQ' หนวย จากปริมาณ ดุลยภาพใหมทําใหผูซื้อตองซื้อสินคาในราคาสูงข้ึนเปน OP' บาท/หนวย

ภาษีท้ังหมดที่รัฐบาลเก็บไดมีคาเทากับ P'AE'C บาท ภาระภาษีท่ีผูซื้อตองรับผิดชอบ

เนื่องจากซื้อสินคาในราคาที่สูงข้ึนเทากับ P'ABP สวนผูขายถูกผูซื้อผลักภาระภาษีมาใหเทากับ PBE'C บาท ซึ่ง P'ABP = PBE'C จะเห็นไดวาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อ ในกรณีท่ี

ซัพพลายของสินคามีความยืดหยุนเทากับ 1 ผูซื้อสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดครึ่งหนึ่ง สวนที่เหลืออีกครึ่งหนึ่งผูซื้อจะตองรับภาระไป

4) ซัพพลายของสินคาที่ซ้ือมีความยืดหยุนมาก (Elastic)

เมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อในกรณีท่ีซัพพลายของสินคามีความยืดหยุนมาก ผูซื้อสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดนอยกวาสวนที่ผูซื้อเองจะตองรับภาระไว ตามรูปที่ 7.21 กอนท่ีรัฐบาลจะเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อเสนดีมานดของสินคาอยูท่ี D ราคาดุลยภาพคือ OP บาท/หนวย ปริมาณดุลยภาพคือ OQ หนวย ตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยายลดลงเปนเสน D' ปริมาณดุลยภาพใหมคือ OQ' หนวย จากปริมาณ ดุลยภาพใหมทําใหผูซื้อตองซื้อสินคาในราคาสูงข้ึนเปน OP' บาท/หนวย

D D'

P' A

S

B E'

E

Q (หนวย) Q' Q

P (บาท/หนวย)

P

C

O

Page 150: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

128

ภาษีท้ังหมดที่รัฐบาลเก็บไดมีคาเทากับ P'AE'C บาท ภาระภาษีท่ีผูซื้อตองรับผิดชอบ

เทากับ P'ABP บาท สวนที่ผูซื้อผลักภาระไปใหกับผูขายมีคาเทากับ PBE'C บาท นั่นคือเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อกรณีท่ีซัพพลายของสินคามีคาความยืดหยุนมากผูซื้อจะสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดนอยกวาสวนที่ผูซื้อเองตองรับภาระ

5) ซัพพลายของสินคาที่ซ้ือมีความยืดหยุนมากที่สุด (Perfectly Elastic)

เมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อ ในกรณีท่ีซัพพลายของสินคามีความยืดหยุนมากที่สุด ผูซื้อไมสามารถที่จะผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดแมแตนอยผูซื้อจะตองรับภาระภาษีท้ังหมด จากรูปที่ 7.22 กอนที่รัฐบาลจะเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อ เสนดีมานดสําหรับสินคาคือ D ราคาดุลยภาพคือ OP บาท/หนวยปริมาณดุลยภาพคือ OQ หนวย ตอมาเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจาก ผูซื้อจะมีผลทําใหเสนดีมานดเคลื่อนยายลดลงเปนเสน D' ปริมาณดุลยภาพใหมคือ OQ' หนวยจากปริมาณดุลยภาพใหมทําใหผูซื้อตองซื้อสินคาในราคาสูงข้ึนเปน OP' บาท/หนวย

ภาษีท้ังหมดที่รัฐบาลเก็บไดมีคาเทากับ P'AE'P บาท ภาระภาษีท่ีผูซื้อตองจายเทากับ

P'AE'P บาท และผูซื้อไมสามารถที่จะผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดแมแตนอย นั่นคือเมื่อรัฐบาลเรียกเก็บภาษีจากผูซื้อ กรณีท่ีซัพพลายของสินคามีคาความยืดหยุนมากที่สุดผูซื้อจะตองรับภาระภาษีท้ังหมดโดยที่ไมสามารถผลักภาระภาษีไปใหกับผูขายไดเลย

รูปท่ี 7.21 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขาย กรณีที่ซัพพลายมีความยืดหยุนมาก

D' D

B E S

E'

A P'

P

C

O Q' Q Q (หนวย)

P (บาท/หนวย)

P'

E' E

P (บาท/หนวย)

S

D' D Q (หนวย)

O Q' Q

P

A

รูปท่ี 7.22 แสดงการผลักภาระภาษีไปใหผูขายกรณี ที่ซัพพลายมีความยืดหยุนมีคามากที่สุด

Page 151: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทท่ี 8 ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

(Theory of Consumer Behavior) ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภคเปนการอธิบายพฤติกรรมตาง ๆ ของผูบริโภคในสวนที่เกี่ยวกับการใชจายเงินเพื่อซื้อสินคาและบริการตาง ๆ วาจะใชอะไรเปนหลักในการชวยตัดสินใจวาจะซื้อหรือไมซื้อสินคาแตละชนิด และเมื่อตัดสินใจซื้อแลวจะซื้อเปนจํานวนมากนอยเทาใด ทฤษฎีวาดวยพฤติกรรมผูบริโภคจึงเปนการศึกษาสิ่งท่ีอยูเบื้องหลังการไดมาของเสนดีมานด ทฤษฎีวาดวยพฤติกรรมผูบริโภคในที่นี้จะแบงการวิเคราะหออกเปน 2 แนวทาง กลาวคือ (1) แนวทางการวิเคราะหแบบนับจํานวนได (cardinal approach) ซึ่งการวิเคราะหตามแนวทางนี้จะอาศัยทฤษฎีอรรถประโยชนชวยในการอธิบายพฤติกรรมผูบริโภค (2) แนวทางการวิเคราะหแบบนับลําดับที่ (ordinal approach) ซึ่งการวิเคราะหตาม แนวทางนี้จะอาศัยการวิเคราะหเสนความพอใจเทากันและเสนงบประมาณเพื่อชวยในการอธิบายพฤติกรรมของผูบริโภค

1. การวิเคราะหแบบนับจํานวนได (Cardinal Approach)

การวิเคราะหพฤติกรรมของผูบริโภคตามแนวทางการวิเคราะหแบบนับจํานวนไดในที่นี้จะอาศัยทฤษฎีอรรถประโยชนเพื่อชวยในการอธิบายวาผูบริโภคจะไดรับดุลยภาพอยางไร โดยจะพิจารณาถึงเรื่องตางๆดังตอไปนี้ กลาวคือ (1) อรรถประโยชน (2) กฎการลดนอยถอยลงของอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (3) ตารางและเสนอรรถประโยชน (4) ดุลยภาพของ ผูบริโภค (5) อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายและเสนดีมานด และ(6) สวนเกินของผูบริโภค

1.1 อรรถประโยชน (Utility)

อรรถประโยชน (utility) หมายถึง ความสามารถของสินคาหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งท่ีจะบําบัดความตองการของมนุษย (the ability of goods or a service to satisfy human wants) ในการอธิบายทฤษฎีอรรถประโยชนจะมีขอสมมติอยูวาความสามารถในการบําบัดความตองการหรืออรรถประโยชนสามารถวัดออกมาเปนหนวยอยางใดอยางหนึ่งไดซึ่งแลวแตเราจะกําหนดมันขึ้นมา ยกตัวอยางเชน เราหิวน้ําเมื่อเราไดดื่มน้ําเราก็จะเกิดความพอใจขึ้น การวัดอรรถประโยชนในทางเศรษฐศาสตรนั้น ถือไดวาน้ําแตละแกวสามารถใหความพอใจหรือใหอรรถประโยชนท่ีวัดออกมาได

Page 152: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 130

เปนหนวย เชน น้ําแกวท่ี 1 ใหอรรถประโยชนเทากับ 10 หนวย และน้ําแกวท่ีสองใหอรรถประโยชนเทากับ 8 หนวย อรรถประโยชนของสินคาและบริการชนิดหนึ่งจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับความตองการ สินคาชนิดนั้น ถาขณะใดที่เรามีความตองการสินคาชนิดนั้นมากเมื่อเราไดรับสินคานั้นมาบําบัดความตองการเราจะเกิดความรูสึกพอใจมากกวากรณีท่ีไดรับสินคานั้นเมื่อมีความตองการนอย ความพอใจหรืออรรถประโยชนท่ีไดรับจากการอุปโภคบริโภคสินคาหรือบริการชนิดหนึ่งชนิดใดไมไดมีสวนเกี่ยวของกับประโยชนท่ีแทจริงของสินคาหรือบริการนั้น ๆ โดยตรงเสมอไป

1.2 กฎการลดนอยถอยลงของอรรถประโยชนสวนเพ่ิมหนวยสุดทาย (The Law of Diminishing Marginal Utility)

อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal utility: MU) หมายถึง ความพอใจที่ผูบริโภคไดรับเพิ่มข้ึนจากการบริโภคสินคาเพิ่มข้ึน 1 หนวย กฎการลดนอยถอยลงของอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระบุวา " เมื่อผูบริโภคไดบริโภคสินคาหรือบริการเพิ่มขึ้นทีละ 1 หนวย อรรถประโยชนสวนเพ่ิมหนวยสุดทายของสิ่งนั้นจะลดลงตามลําดับ " ในทางกลับกันอาจกลาวไดวา " ถาผูบริโภคตองเสียสละการบริโภคสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งไปทีละ 1 หนวย อรรถประโยชนสวนเพ่ิมหนวยสุดทายของสินคาชนิดดังกลาวที่ตองเสียสละไปจะเพ่ิมมากขึ้นเรื่อย ๆ " การลดลงของอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายจะลดลงไปเรื่อยๆจนในที่สุดเมื่อไดบริโภคสินคานั้นมากเกินระดับหนึ่งแลว อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคาดังกลาวนั้นอาจจะเทากับศูนยและถายังเพิ่มการบริโภคสินคาตอไปอีกคาสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคาดังกลาวจะติดลบได ดังตารางที่ 8.1

Page 153: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

131

ตารางที่ 8.1 แสดงอรรถประโยชนรวมและอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการดื่มกาแฟ

จํานวนกาแฟ (ถวย)

อรรถประโยชนรวม (total utility : TU)

อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal utility : MU)

0 1 2 3 4 5

0 10 15 17 17 14

- 10

5 2 0

-3 อรรถประโยชนรวม (total utility: TU) จากการดื่มกาแฟ หมายถึง ผลรวมของอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MU) ท่ีไดจากการดื่มกาแฟ นับตั้งแตถวยแรกไปจนถึงถวยท่ีกําลังพิจารณาอยู เชน อรรถประโยชนรวมจากการดื่มกาแฟ 2 ถวย คือ 15 หนวย และอรรถประโยชนรวมจากการดื่มกาแฟ 3 ถวย คือ 17 หนวย อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal utility : MU) ของการดื่มกาแฟก็คือความพอใจที่ผูบริโภคไดรับจากการดื่มกาแฟเพิ่มข้ึน 1 หนวย เชน MU ของกาแฟถวยท่ี 1 มีคาเทากับ 10 หนวย และ MU ของกาแฟถวยท่ี 2 เทากับ 5 หนวย การลดนอยถอยลงของอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการดื่มกาแฟจะเริ่มตน ตั้งแตการดื่มกาแฟถวยแรกเปนตนไป

1.3 ตารางและเสนอรรถประโยชน (Utility Schedule and Curve)

ในการวิเคราะหทฤษฎีอรรถประโยชน เมื่อเราสมมติใหอรรถประโยชนสามารถวัดคาออกมาเปนหนวยได ดังนั้นคาของอรรถประโยชนในการบริโภคสินคาปริมาณตาง ๆ จึงสามารถแสดงไดดังตารางที่ 8.2

Page 154: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 132

ตารางที่ 8.2 แสดงอรรถประโยชนรวมและอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคา A

ปริมาณของสินคา A

(หนวย)

อรรถประโยชนรวม (total utility : TU )

อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวย

สุดทาย (marginal utility : MU)

0 1 2 3 4 5 6 7

0 8

15 21 26 28 28 25

- 8 7 6 5 2

0 ; TU มีคาสูงสุด -3

จากตารางที่ 8.2 สามารถนําตัวเลขของอรรถประโยชนรวม (TU) กับอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MU) มาสรางเปนรูปกราฟที่แสดงถึงความสัมพันธระหวาง TU กับ MU ไดดังรูปท่ี 8.1

-5

0

5

10

15

20

25

30

0 1 2 3 4 5 6 7QA

TU,MU

รูปที่ 8.1 แสดงความสัมพันธระหวาง TU กับ MU ในการบริโภคสินคา A

MU

TU

Page 155: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

133

จากรูปท่ี 8.1 สามารถแสดงความสัมพันธระหวางคาของอรรถประโยชนรวม(TU) และอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MU) ไดดังนี้ 1) คา TU ของการบริโภคสินคาหนวยแรก ๆ จะมีคาเพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ และในขณะเดียวกัน MU จะมีคาลดลงเมื่อบริโภคสินคาเพิ่มข้ึน 2) เมื่อ MU ลดลงจนมีคาเทากับศูนย คา TU จะมีคามากที่สุด ตอจากนั้นคาของ TU จะเริ่มลดลงในขณะที่คา TU ลดลงนั้นคาของ MU ก็จะติดลบ

1.4 ดุลยภาพของผูบริโภค (Consumer Equilibrium)

ดุลยภาพของผูบริโภค หมายถึง ภาวะที่ผูบริโภคไดรับความพอใจสูงสุดจากการที่ไดอุปโภคบริโภคสินคาหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง รวมถึงความพอใจสูงสุดท่ีไดรับจากการจายเงินจํานวนจํากัดเพื่อซื้อสินคาหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด ในการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภคดวยทฤษฎีอรรถประโยชนเพื่อท่ีจะหาดุลยภาพของ ผูบริโภคจําเปนตองตั้งอยูบนขอสมมติ 2 ประการ คือ 1) ผูบริโภคแตละคนมีรายไดจํานวนจํากัด 2) ผูบริโภคทุกคนตางพยายามแสวงหาความพอใจสูงสุดจากการบริโภคสินคาหรือบริการแตละชนิดท่ีหาซื้อมาไดดวยเงินจํานวนจํากัด การวิเคราะหดุลยภาพของผูบริโภค เนื่องมาจากรายไดของผูบริโภคที่อยูอยางจํากัด สินคาและบริการมีความหลากหลาย ราคาก็ไมเทากัน ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการศึกษาและทําความเขาใจในท่ีนี้จะขอแยกพิจารณาดุลยภาพของผูบริโภคออกเปน 3 กรณี กรณีที่ 1 ผูบริโภคมีรายไดจํานวนจํากัดและซื้อสินคาเพียงชนิดเดียวเทานั้น โดยท่ีราคาของสินคาทุก ๆ หนวยเทากัน วิธีการที่ผูบริโภคจะไดรับความพอใจสูงสุดจากการบริโภคสินคาก็คือผูบริโภคจะตองทําการเปรียบเทียบอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคา X (MUX) ใหมีคาเทากับอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของเงินซึ่งก็คือราคาของสินคา X (PX) นั่นคือ ดุลยภาพของผูบริโภคในการใชเงินรายไดจํานวนจํากัดเพื่อซื้อสินคาเพียงชนิดเดียวจะเกิดข้ึน ณ ท่ี

MUX = PX

Page 156: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 134

PX

รูปที่ 8.2 แสดงดุลยภาพของผูบริโภคในการบริโภคสินคา X

จากรูปที่ 8.2 จะเห็นไดวาอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของการบริโภคสินคา X จะมีคาลดลงตั้งแตปริมาณสินคา X เทากับ 1 หนวย เปนตนไป ระดับราคาสินคา X เทากับ PX ณ ท่ีปริมาณสินคา X เทากับ 5 หนวย จะมีคาเทากับระดับราคาสินคา X พอดี (MUX = PX) ดุลยภาพของผูบริโภคเกิดข้ึน ณ ท่ี MUX = PX

กรณีที่ 2 ผูบริโภคมีรายไดจํานวนจํากัดซื้อสินคา n ชนิด โดยที่สินคา n ชนิดท่ีซื้อมีราคาแตละหนวยเทากัน ผูบริโภคจะซื้อสินคา n ชนิดดวยเงินที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อใหไดรับความพอใจสูงสุดนั้น ผูบริโภคจะตองซื้อสินคาแตละชนิดไปจนกวาคา MU ของสินคาแตละชนิดเทากันหมด และเงินที่มีอยูใชจายหมดพอดี ดุลยภาพของผูบริโภคในกรณีนี้ก็คือ โดยที่ MU1 = อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคาชนิดท่ี 1 MU2 = อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคาชนิดท่ี 2 . MUn = อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคาชนิดท่ี n

k = คาคงที่ใด ๆ

QX

MUX,PX

MUX = PX ณ ที่ QX = 5

0 1 2 3 4 5 6

MU1 = MU2 = ... = MUn = k

Page 157: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

135

ยกตัวอยางเชน สมมติใหผูบริโภคมีรายไดเทากับ 12 บาท สินคาท่ีตองการซื้อมี 2 ชนิด คือสินคา X และสินคา Y ราคาสินคาท้ังสองหนวยละ 1 บาทเทากัน ถาอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคา X และ Y เปนดังตารางที่ 8.3

ตารางที่ 8.3 แสดงอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคา X และ Y

จํานวนสินคาท่ีซื้อ MUX MUY 1 2 3 4 5 6 7 8

60 55 50 45

35 30 25

52 50 48 46 44 42

38

จากตารางที่ 8.3 จะเห็นไดวาเมื่อผูบริโภคมีรายไดเทากับ 12 บาท เขาพยายามที่จะซื้อ สินคา X และสินคา Y เพื่อใหไดรับความพอใจสูงสุด โดยที่เขาจะซื้อสินคา X จํานวน 5 หนวย และซื้อสินคา Y จํานวน 7 หนวย อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคา X และ Y ณ ท่ีจํานวน 5 หนวย และ 7 หนวย ตามลําดับมีคาเทากับ 40 หนวย จุดดุลยภาพของผูบริโภคก็คือ MUX = MUY = 40 หนวย และใชจายเงินที่มีอยู 12 บาทหมดพอดี กรณีที่ 3 กรณีท่ีผูบริโภคมีรายไดจํากัดจํานวนหนึ่งตองการซื้อสินคา n ชนิด โดยที่ราคาตอหนวยของสินคาแตละชนิดแตกตางกัน ผูบริโภคจะซื้อสินคา n ชนิดดวยรายไดมีอยูอยางจํากัดเพื่อกอใหเกิดความพอใจสูงสุด โดยที่ผูบริโภคจะพยายามซื้อสินคาไปจนกวาคา MU ของสินคาแตละชนิดจะเทากัน แตเนื่องจากสินคามีอยู n ชนิดดวยกันและมีราคาที่แตกตางกันจึงจําเปนจะตองนําราคาของสินคาแตละชนิดมาพิจารณารวมกับอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MU) ของสินคาแตละชนิดดวย โดยการถวงน้ําหนัก MU ของสินคาแตละชนิดดวยราคาของสินคาชนิดนั้น ๆ เพื่อปรับใหอยูในหนวยเดียวกันกอนแลวจึงจะนํามาเปรียบเทียบกันได

40

40

Page 158: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 136

ดุลยภาพของผูบริโภคกรณีนี้จะเกิดข้ึนเมื่อ

โดยที่

k = คาคงที่ใด ๆ MU1 = อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคาชนิดท่ี 1 MU2 = อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคาชนิดท่ี 2 .

MUn = อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคาชนิดท่ี n

P1 = ราคาของสินคาชนิดท่ี 1 P2 = ราคาของสินคาชนิดท่ี 2 .

Pn = ราคาของสินคาชนิดท่ี n

ยกตัวอยาง เชน สมมติใหผูบริโภคมีรายไดเทากับ 430 บาท สินคาท่ีตองการมีอยู 3 ชนิด คือสินคา a สินคา b และสินคา c โดยที่ราคาสินคา a = 60 บาท/kg ราคาสินคา b = 30 บาท/kg และราคาสินคา c = 20 บาท/kg และอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายเปนดังตารางที่ 8.4

ตารางที่ 8.4 แสดงอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของการซื้อสินคาท้ัง 3 ชนิด

อรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย

จํานวนซื้อ (kg)

สินคา a ( ราคา = 60 บาท/kg)

สินคา b (ราคา = 30 บาท/kg)

สินคา c ( ราคา = 20 บาท/kg)

MUa MUa/Pa MUb MUb/Pb MUc MUc/Pc

1 2 3 4 5

130 128 125 120 112

2.17 2.13 2.13

1.86

70 62 60 52 45

2.33 2.06

1.73 1.50

51 50 48 41 40

2.55 2.50 2.40 2.05

MUP

MUP

MUP

nn

k1

1

2

2= = = =...

2.00 2.00

2.00

Page 159: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

137

จากตารางที่ 8.4 จะเห็นไดวา ถารายไดของผูบริโภคเทากับ 430 บาท ดุลยภาพของ ผูบริโภคจะเกิดข้ึน ณ ระดับที่ผูบริโภคซื้อสินคา a จํานวน 4 kg สินคา b จํานวน 3 kg และสินคา c จํานวน 5 kg ในปริมาณของสินคาท่ีซื้อนี้เทานั้นที่จะทําใหอัตราสวนของ MU ตอราคาของสินคาแตละชนิดเทากันหมด และคิดเปนเงินรวมกันเทากับงบประมาณที่ผูบริโภคมีอยูคือ 430 บาท ซึ่งพิสูจนไดดังนี้

MU

PMU

PMU

Pa

a

b

b

c

ck= = =

12060

6030

4020

2= = =

รวมเปนเงินทั้งสิ้น = (4x60) + (3x30) + (5x20) = 430

1.5 อรรถประโยชนสวนเพ่ิมหนวยสุดทายและเสนดีมานด (Marginal Utility and the Demand Curve)

จากทฤษฎีอรรถประโยชนดังกลาวมาแลวนั้น สามารถสรางเสนดีมานดของผูบริโภคคนใดคนหนึ่งท่ีตองการบริโภคสินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยการวิเคราะหดุลยภาพของผูบริโภค ณ ระดับราคาสินคาตาง ๆ ดังตารางที่ 8.5

ตารางที่ 8.5 แสดงอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของสินคา X และสินคา Y

จํานวน สินคา

สินคา X (PX = 10 บาท/หนวย)

สินคา Y (PY = 30 บาท/หนวย)

สินคา Y (PY = 14 บาท/หนวย)

MUX MUX/PX MUY MUY/PY MUY MUY/PY

1 2 3 4 5 6

250 200 150 125 100 80

25.0 20.0 15.0

8.0

360 300 250 210 175 140

12.0

8.3 7.0 5.8 4.7

360 300 250 210 175 140

25.7 21.4 17.9 15.0

10.0

10.0

10.0 12.5

12.5

Page 160: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 138

ยกตัวอยาง เชน สมมติวาผูบริโภคมีรายไดท้ังสิ้น 110 บาท สินคาท่ีตองการซื้อมีเพียง 2 ชนิดคือสินคา X และสินคา Y สินคา X ราคาหนวยละ 10 บาท สินคา Y ราคาหนวยละ 30 บาท จากตารางที่ 8.5 ผูบริโภคจะอยูในภาวะดุลยภาพก็ตอเมื่อ

MU

P

MU

Px

x

y

yk= =

100

10

300

3010= =

นั่นคือ ผูบริโภคจะอยูในภาวะดุลยภาพก็ตอเมื่อเขาซื้อสินคา X จํานวน 5 หนวย ราคาหนวยละ 10 บาท สินคา Y จํานวน 2 หนวย ราคาหนวยละ 30 บาท รวมเปนเงิน 110 บาท เทากับรายไดของผูบริโภคพอดี ถาสมมติตอไปอีก โดยใหราคาสินคา Y ลดลงจาก 30 บาท/หนวย เหลือเพียง 14 บาท/หนวย ในขณะเดียวกันราคาสินคา X ยังคงเดิมอยูท่ี 10 บาท/หนวย ดังนั้นผูบริโภคจะตองเปลี่ยนจํานวนซื้อใหมเพื่อใหไดอรรถประโยชนรวมสูงสุด และดุลยภาพใหมของผูบริโภคเมื่อราคาสินคา Y เปลี่ยนไปก็คือ

MU

P

MU

Px

x

y

yk= =

12510

17514

12 5= = .

นั่นคือ ผูบริโภคจะไดดุลยภาพใหมเมื่อบริโภคสินคา X เทากับ 4 หนวย และบริโภคสินคา Y เทากับ 5 หนวย เมื่อนําตัวเลขปริมาณซื้อสินคา Y ท่ีเปลี่ยนแปลงมาสรางตารางดีมานดและหาเสนดีมานด ก็จะไดดังนี้

Page 161: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

139

ตารางที่ 8.6 แสดงปริมาณซื้อสินคา Y ณ ระดับราคาตาง ๆ

ราคาสินคา Y (บาท/หนวย)

ปริมาณซื้อสินคา Y (หนวย)

14 30

5 2

รูปที่ 8.3 แสดงเสนดีมานดตอราคาของสินคา Y

เมื่อนําตัวเลขจากตารางที่ 8.6 มาสรางเสนดีมานดตอราคาของสินคา Y ก็จะไดเสนดีมานด ดังรูปที่ 8.3 จากรูปที่ 8.3 จะเห็นไดวา เมื่อราคาของสินคา Y เทากับ 30 บาท/หนวย ผูบริโภคตองการซื้อสินคา Y เทากับ 2 หนวยหรือเกิดดุลยภาพที่จุด A และตอมาราคาสินคา Y ลดลงมาเปน 14 บาท/หนวย ผูบริโภคตองการซื้อสินคา Y เพิ่มมากขึ้นเปน 5 หนวยหรือเกิดดุลยภาพที่จุด B เมื่อลากเสนผานจุด A และ B ก็จะไดเสนดีมานดสําหรับสินคา Y ซึ่งเปนไปตามกฎแหงดีมานด จากการพิจารณาภาวะดุลยภาพของผูบริโภค โดยใชทฤษฎีอรรถประโยชนดังกลาวมาแลวนั้น คอนขางจะหางไกลความเปนจริง (unrealistic) ดวยเหตุผลอยางนอย 3 ประการ

B

PY A

14

0 2 5

30

QY

Page 162: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 140

1) ในการบริโภคสินคาแตละครั้งของผูบริโภค คงไมมีผูบริโภคคนใดที่จะคํานึงถึงการเปรียบเทียบคาอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal utility) ของสินคาโดยละเอียด จึงทําใหผูบริโภคโดยทั่วไปไมไดดุลยภาพที่แทจริง 2) โดยทั่วไปแลวผูบริโภคมักจะซื้อสินคาตางๆตามความเคยชินและคานิยมมากกวาท่ีจะคํานึงถึงหลักอรรถประโยชนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย 3) ในการบริโภคสินคาใด ๆ ก็ตาม คงไมมีผูบริโภคคนใดที่จะวางแผนซื้อสินคาไวลวงหนาอยางละเอียดวาจะซื้อสินคาตาง ๆ เปนจํานวนเทาใดแลวจึงจะทําใหไดรับอรรถประโยชนรวมสูงสุด ในขณะที่ภาวะการตลาดมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา การท่ีสมมติใหความพอใจที่ไดรับจากการบริโภคสินคาตางๆสามารถวัดออกมาเปนหนวยได และการเปรียบเทียบความพอใจที่ไดรับจากการบริโภคสินคาชนิดเดียวกันของผูบริโภคแตละคนนั้นยังหางไกลความเปนจริงอยูมาก ดังนั้นทฤษฎีอรรถประโยชนจึงยากที่จะนํามาใชไดในทางปฏิบัติ แตนั่นมิใชวาทฤษฎีอรรถประโยชนจะไมมีความหมายอะไรเลย อยางไรก็ตามทฤษฎีอรรถประโยชนยังมีสวนชวยในการอธิบายพฤติกรรมผูบริโภคไดพอสมควร

1.6 สวนเกินของผูบริโภค (Consumers' Surplus)

สวนเกินของผูบริโภค (consumers' surplus) คือ ความแตกตางระหวางราคาที่ผูบริโภคเต็มใจจายเพื่อใหไดสินคานั้นกับราคาจริง ๆ ท่ีผูบริโภคไดจายไป ซึ่งเปนเครื่องวัดความพอใจสวนเกินของผูบริโภค หรือ consumers' surplus ก็คือ ผลประโยชนสุทธิ (net benefit) ท่ีผูบริโภคไดรับจากการที่เขาสามารถจะจายเงินเพื่อซื้อสินคานั้น ๆ ยกตัวอยาง เชน สมมติใหราคาตลาดของสินคา X อยูท่ี 10 บาท/หนวย ในการบริโภคสินคา X หนวยท่ี 1 ผูบริโภคเต็มใจจายเทากับ 20 บาท/หนวย แตราคาที่จายจริงเทากับ 10 บาท สวนเกินของผูบริโภคเทากับ 10 สินคา X หนวยท่ี 2 ผูบริโภคเต็มใจจายเทากับ 17 บาท/หนวย แตราคาที่จายจริงเทากับ 10 บาท/หนวย สวนเกินของผูบริโภคเทากับ 7 บาท สวนสินคา X หนวยท่ี 3 ผูบริโภคเต็มใจจายเทากับ 13 บาท/หนวย แตราคาที่จายจริงเทากับ 10 บาท/หนวย สวนเกินของผูบริโภคเทากับ 3 และสินคา X หนวยท่ี 4 ผูบริโภคเต็มใจจายเทากับ 11 บาท/หนวย สวนเกินของผูบริโภคเทากับ 1 นั่นคือ สวนเกินของผูบริโภคจากการบริโภคสินคา X ตั้งแตหนวยท่ี 1- 4 มีคาเทากับ 21 บาท ดังรูปท่ี 8.4

Page 163: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

141

1.6.1 สวนเกินของผูบริโภคกรณีที่ราคาตลาดของสินคาลดลง

รูปท่ี 8.5 แสดงสวนเกินของผูบริโภคเมื่อราคาสินคาเปลี่ยนแปลง

ในตอนแรกสมมติใหราคาตลาดของสินคา X อยูท่ี 10 บาท/หนวย ดุลยภาพองผูบริโภคอยูท่ี E1 และบริโภคสินคา X เทากับ 40 หนวย สวนเกินของผูบริโภคคือพื้นที่สามเหลี่ยม (3) ตอมาสมมติใหราคาของสินคา X ลดลงจาก 10 บาท/หนวยเปน 6 บาท/หนวย ณ จํานวน 40 หนวย ผูบริโภคประหยัดเงินไปเทากับ 4 บาท/หนวย รวมเปนเงินทั้งหมด 160 บาท หรือเทากับพื้นที่สี่เหลี่ยม (1) และผูบริโภค

10

(2)

E1

E2 6

D

PX

(1)

(3)

QX 60 40 0

DPX = 10

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

20 15 10 5

PX

QX

รูปที่ 8.4 แสดงสวนเกินของผูบริโภค

Page 164: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 142

จะไดประโยชนเทากับพื้นท่ีสามเหลี่ยม (2) จากการบริโภคสินคา X เพิ่มข้ึนอีก 20 หนวย รวมเปน 60 หนวย ณ ท่ีระดับราคา 6 บาท/หนวยนั้นผูบริโภคจะไดรับประโยชนหรือมีสวนเกินของผูบริโภคเทากับพื้นที่ (3)+(2)+(1) แตผลประโยชนสุทธิท่ีผูบริโภค ไดรับเมื่อราคาสินคา X ลดลงจาก 10 บาท/หนวยมาเปน 6 บาท/หนวย มีคาเทากับพื้นที่ (1) + (2) ดังรูปที่ 8.5

2. การวิเคราะหแบบนับลําดับท่ี (Ordinal Approach)

การศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคตามแนวการวิเคราะหแบบนับลําดับที่(ordinal approach)ในท่ีนี้จะอาศัยการวิเคราะหเสนความพอใจเทากันและเสนงบประมาณ (indifference curve and budget line analysis) เพื่ออธิบายถึงพฤติกรรมของผูบริโภควาจะไดรับดุลยภาพจากการบริโภคสินคาอยางไร และการอธิบายตามแนวทางนี้จะพิจารณาเรื่องตางๆตอไปนี้ (1) เสนความพอใจเทากัน (2) อัตราสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการทดแทนกันของสินคา 2 ชนิด (3) เสนงบประมาณ (4) การเปลี่ยนแปลงของเสนงบประมาณ (5) ดุลยภาพของผูบริโภค (6) การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบริโภค (7) ดีมานดของผูบริโภค (8) ผลทางการทดแทนกันและผลทางรายได และ (9) เสนดีมานดชดเชย

2.1 เสนความพอใจเทากัน (Indifference Curve : IC )

เสนความพอใจเทากัน (indifference curve : IC) เปนเสนที่แสดงจํานวนตางๆ ของสินคา 2 ชนิด ท่ีผูบริโภคไดอุปโภคหรือบริโภคแลวทําใหผูบริโภคไดรับความพอใจเทากัน

ตารางที่ 8.7 แสดงจํานวนตางๆ ของสินคา X และ สินคา Y ที่ทําใหผูบริโภคไดรับความพอใจเทากัน

แผนการซื้อ สินคา Y (หนวย)

สินคา X (หนวย)

a b c d e f g

40 20 10 6 3 1 0

0 1 2 3 4 5 6

Page 165: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

143

05

1015202530354045

0 1 2 3 4 5 6

รูปท่ี 8.6 แสดงเสนความพอใจเทากัน

จากตัวเลขแผนการซื้อตารางที่ 8.7 เมื่อนําไปสรางเปนรูปกราฟก็จะไดเสนความพอใจเทากัน (indifference curve) หรือเสน IC ดังแสดงในรูปที่ 8.6 ซึ่งแสดงใหเห็นวา ไมวาผูบริโภคจะตัดสินใจเลือกซื้อ สินคา X และ สินคา Y ในแผนการซื้อใด ๆ ก็ตาม ผูบริโภคจะไดรับความพอใจเทากันทุกแผนการซื้อ

เสนความพอใจเทากัน(indifference curve) หรือเสน IC ของผูบริโภคแตละรายยอมมีไดหลายเสน เพราะความพอใจของผูบริโภคแตละรายมีไดหลายระดับ เสนความพอใจเทากันแตละเสนจะแทนความพอใจแตละระดับ เสนความพอใจเทากันที่แสดงระดับความพอใจสูงกวาจะอยูทางขวามือของ

f

a QY

QY

IC3 IC2

IC1 QX

O รูปท่ี 8.7 แสดงแผนภาพเสนความพอใจเทากัน

b

c d e

g QX

IC

Page 166: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 144

เสนที่แสดงความพอใจระดับต่ํากวา ในรูปที่ 8.7 เสน IC3 ใหระดับความพอใจมากกวาเสน IC2 และเสน IC2 ใหระดับความพอใจมากกวาเสน IC1 และเสน IC ตางๆ เหลานี้รวมกันเรียกวาแผนภาพเสนความพอใจเทากัน (indifferences map)

โดยท่ัวไปแลวเสนความพอใจเทากันจะมีคุณสมบัติ (properties of indifference curve) ท่ีสําคัญ 6 ประการดวยกัน กลาวคือ 1) เปนเสนโคงหรือเสนตรงที่ทอดลงจากซายไปขวาและมีคาความชันเปนลบ(negative slope) ซึ่งแสดงใหเห็นวา เมื่อผูบริโภคไดลดการบริโภคสินคาชนิดหนึ่งลงเขาจะตองบริโภคสินคาอีกชนิดหนึ่งเพิ่มข้ึน จึงจะเปนการชดเชยใหไดรับความพอใจเทาเดิม 2) เสนความพอใจเทากันสวนมากจะเปนเสนโคงเวาเขาหาจุดกําเนิด (convex to the origin) ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงอัตราการทดแทนกันของสินคา 2 ชนิดเปนไปอยางไมสมบูรณ หรืออัตราการทดแทนกันของสินคา 2 ชนิดมีลักษณะลดลงเรื่อย ๆ (diminishing marginal rate of substitution) 3) เสนความพอใจเทากันที่สูงกวาหรือท่ีอยูทางดานขวามือยอมใหระดับความพอใจแก ผูบริโภคมากกวาเสนความพอใจเทากันที่ต่ํากวาหรืออยูทางดานซายมือ (จากรูปท่ี 8.8 เสน IC3 ใหระดับความพอใจมากวา IC2 และ IC2ใหระดับความพอใจมากกวา IC1) 4) เสนความพอใจเทากันแตละเสนจะตัดกันหรือสัมผัสกันไมได เพราะถาหากเสน IC สองเสนตัดกันแลวก็จะทําใหขัดแยงกับคุณสมบัติขอท่ี 3 ซึ่งสามารถอธิบายไดดังรูปที่ 8.8

รูปท่ี 8.8 แสดงเสน IC1 ตัดกับเสน IC2

จากรูปที่ 8.8 เมื่อเสน IC1 ตัดกับเสน IC2 ท่ีจุด E และถาพิจารณาความพอใจจากการบริโภคที่จุด E, F และจุด G จะเห็นไดวา การบริโภคที่จุด E และจุด F ยอมไดรับความพอใจ

•E

F G

IC1 IC2

QX O

QY

Page 167: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

145

เทากัน เพราะอยูบนเสน IC1 เสนเดียวกัน และถาบริโภคที่จุด E และจุด G ยอมจะไดรับความพอใจเทากันอีกเพราะอยูบนเสน IC2 เหมือนกัน เมื่อเปนเชนนี้ก็ยอมสรุปไดวาการบริโภคที่จุด F กับจุด G ยอมไดรับความพอใจเทากันเพราะตางก็ไดรับความพอใจเทากับการบริโภคที่จุด E เหมือนกัน ซึ่งเปนไปไมไดเพราะจุด F และจุด G อยูบนเสน IC คนละเสน (เปนการขัดแยงกับคุณสมบัติขอท่ี 3) ดังนั้นจึงสรุปไดวาเสนความพอใจเทากันแตละเสนจะตัดกันหรือสัมผัสกันไมได 5) เสนความพอใจเทากันไมสามารถที่จะเคลื่อนยายไปตามผลของภาวะตลาด (แตจะเคลื่อนยายไปตามการเปลี่ยนแปลงของรายไดและการเปลี่ยนแปลงในราคาสินคา) 6) เสนความพอใจเทากันแตละเสนจะเปนเสนติดตอกันโดยไมขาดชวง ซึ่งแสดงใหเห็นถึงสวนประกอบ(combinations)ของสินคา 2 ชนิดสามารถสรางความพอใจเทากันใหกับผูบริโภคไดนับไมถวน

2.2 อัตราสวนเพ่ิมหนวยสุดทายในการทดแทนกันของสินคา 2 ชนิด (Marginal Rate of Substitution: MRS)

อัตราสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการทดแทนกันของสินคา (MRS) หมายถึง อัตราการลดลงของสินคาชนิดหนึ่งเมื่อไดรับสินคาอีกชนิดหนึ่งเพิ่มข้ึน 1 หนวย โดยที่ยังรักษาระดับความพอใจคงเดิมอยู ยกตัวอยางเชน กําหนดใหมีสินคาอยู 2 ชนิดคือ สินคา X และสินคา Y ถาเราบริโภคสินคา X ลดนอยลงแตเพิ่มการบริโภคสินคา Y มากขึ้น อัตราสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการ ทดแทนกันของสินคา Y ในสินคา X (marginal rate of substitution of Y for X : MRSYX) มีคา ดังนี้

MRS yxX

Y=−ΔΔ

ในทางกลับกันถาเราบริโภคสินคา X เพิ่มข้ึนแตลดการบริโภคสินคา Y ลง อัตราสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการทดแทนกันของสินคา X ในสินคา Y (marginal rate of substitution of X for Y : MRSXY) มีคาดังนี้

MRS xyY

X=−ΔΔ

ดังนั้นคา MRSXY ก็คือคา slope ของเสน IC นั่นเอง

Page 168: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 146

ตารางที่ 8.8 แสดงอัตราสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการทดแทนกันระหวางสินคา X และสินคา Y

แผนการซื้อ สินคา Y สินคา X MRS xy

YX

=−ΔΔ MRS yx

XY

=−ΔΔ

a b c d e f g

40 20 10 6 3 1 0

0 1 2 3 4 5 6

- -20/1 -10/1 -4/1 -3/1 -2/1 -1/1

- -1/20 -1/10 -1/4 -1/3 -1/2 -1/1

จากตารางที่ 8.8 เราสามารถนําคาตาง ๆ มาสรางเปนรูปกราฟ เพื่อหาความสัมพันธระหวางสินคา X และสินคา Y ในรูปของเสนความพอใจเทากัน (indifference curve : IC) ดังรูปที่ 8.9

IC

0

5

10

15

20

25

30

35

40

0 1 2 3 4 5 6Qx

QY

รูปที่ 8.9 แสดงอัตราสวนเพิ่มของการทดแทนกันระหวางสินคา X และสินคา Y

จากรูปที่ 8.9 แสดงใหเห็นวาเมื่อเพิ่มการบริโภคสินคา X ข้ึนทีละ 1 หนวย คา MRSXY จะมีคาลดลงเรื่อยๆ และลดลงในอัตราที่ลดลง ท่ีเปนเชนนี้ก็เนื่องมาจากสินคา X และสินคา Y เปนสินคาท่ีไมสามารถทดแทนกันไดอยางสมบูรณ หากสังเกตใหดีจะเห็นไดวาจํานวนของสินคา Y ท่ีผูบริโภคยินดีเสียสละจะลดลงตามลําดับเพื่อแลกเปลี่ยนกับการบริโภคสินคา X เพิ่มข้ึนทีละ 1 หนวยไปเรื่อย ๆ ลักษณะเชนนี้เรียกวา การลดนอยถอยลงของอัตราสวนเพิ่มหนวยสุดทายในการทดแทนกันของสินคา X และ Y (diminishing marginal rate of substitution)

a

b

c d e f g

Page 169: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

147

ลักษณะของการทดแทนในสินคา 2 ชนิดมีอยูดวยกัน 3 ลักษณะคือ 1) การทดแทนกันในสินคา 2 ชนิดท่ีเปนไปอยางไมสมบูรณ ลักษณะของเสน IC จะเปนเสนโคงท่ีเวาเขาหาจุดกําเนิด (convex to the origin) ดังรูปที่ 8.10

รูปที่ 8.10 แสดงเสน IC ท่ีสินคา X และ สินคา Y ทดแทนกันไดไมสมบูรณ

2) การทดแทนกันในสินคา 2 ชนิดท่ีเปนไปอยางสมบูรณ ลักษณะของเสน IC จะเปนเสนตรง ท่ีลาดลงจากซายไปขวา คลายเสนดีมานด ดังรูปที่ 8.11

รูปที่ 8.11 แสดงเสน IC กรณีท่ีสินคา X และ สินคา Y ทดแทนกันไดอยางสมบูรณ

3) การทดแทนกันของสินคา 2 ชนิด ท่ีไมสามารถทดแทนกันไดเลย แตจะเปนสินคาควบคูกัน ดังรูปที่ 8.12

IC

QY

QX O

IC QX O

QY

Page 170: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 148

รูปที่ 8.12 แสดงเสน IC กรณีท่ีสินคา X และ สินคา Y ใชทดแทนกันไมได

2.3 เสนงบประมาณหรือเสนราคา (Budget Line or Price Line)

เสนงบประมาณหรือเสนราคา หมายถึงเสนที่แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสินคา 2 ชนิดข้ึนไป ท่ีผูบริโภคตองการซื้อภายใตงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัด สมมติใหผูบริโภคมีรายไดหรืองบประมาณเทากับ 200 บาท และตองการซื้อสินคา 2 ชนิดในท่ีนี้กําหนดใหเปนสินคา X และ Y โดยที่สินคา X ราคาหนวยละ 50 บาท และสินคา Y หนวยละ 10 บาท ความสัมพันธระหวางปริมาณสินคา X และ Y เปนดังรูปที่ 8.13

รูปที่ 8.13 แสดงเสนงบประมาณหรือเสนราคา

IC

QX

QY

O

2 4 B QX

C

QY

10

20 A • E Budget Line or Price Line

0

• D

Page 171: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

149

จากรูปที่ 8.13 เมื่อกําหนดใหมีงบประมาณเทากับ 200 บาท ราคาสินคา X หนวยละ 50 บาท และราคาของสินคา Y หนวยละ 10 บาท ผูบริโภคสามารถใชจายงบประมาณในการซื้อ สินคา X และ Y ไดในสัดสวนที่แตกตางกันตามเสนงบประมาณ AB ถาผูบริโภคตองการซื้อ สินคา Y เพียงอยางเดียวโดยไมซื้อสินคา X ผูบริโภคจะซื้อสินคา Y ไดจํานวน 20 หนวย ในกรณีตรงกันขามถาผูบริโภคตองการซื้อสินคา X เพียงอยางเดียวผูบริโภคซื้อสินคา X ไดจํานวน 4 หนวย แตถาผูบริโภคจะซื้อท้ังสินคา X และ Y ผูบริโภคสามารถเลือกซื้อไดในหลาย ๆ สัดสวน ตามแนวเสนงบประมาณ AB ซึ่งจะใชจายงบประมาณเทากับ 200 บาทพอดี เชน ณ จุด C ผูบริโภคจะสามารถซื้อสินคา X ไดจํานวน 2 หนวย และซื้อสินคา Y ไดจํานวน 10 หนวย ผูบริโภคจะใชงบประมาณหมดพอดี จุด E แสดงถึงการซื้อสินคา X และ Y ท่ีเกินจํานวนงบประมาณ 200 บาท และจุด D แสดงถึงการซื้อสินคา X และ Y ท่ีต่ํากวางบประมาณ 200 บาท การหาคาความชันของเสนงบประมาณสามารถหาไดจาก

ความชนัMP

MP

MP

PM

PPy x y

x xy

= −⎛⎝⎜

⎞⎠⎟÷

⎛⎝⎜ ⎞

⎠⎟ = − × = −

โดยที่ M คือ รายไดท่ีเปนตัวเงิน (บาท) PX คือ ราคาของสินคา X (บาท/หนวย) PY คือ ราคาของสินคา Y (บาท/หนวย)

2.4 การเปลี่ยนแปลงเสนงบประมาณ (Change in Budget Line)

การเปลี่ยนแปลงเสนงบประมาณ หมายถึง การเคลื่อนยาย (shift) เสนงบประมาณอันเนื่องมาจากรายไดหรืองบประมาณเปลี่ยนแปลง และราคาสินคาเปลี่ยนแปลงไป กลาวคือ

2.4.1 กรณีงบประมาณหรือรายไดของผูบริโภคเปลี่ยนแปลง

กรณีท่ีรายไดของผูบริโภคเปลี่ยนแปลงไปซึ่งอาจจะเนื่องมาจากรายไดท่ีเปนตัวเงินเพิ่มมากขึ้น หรืออาจจะเนื่องมาจากรายไดท่ีเปนตัวเงินของผูบริโภคลดลงในขณะที่ราคาของสินคาท้ังสองคงที่ และผลของการเปลี่ยนแปลงในรายไดของผูบริโภคจะทําใหเสนงบประมาณหรือเสนราคาเคลื่อนยาย (shift) ไปจากตําแหนงเดิมท้ังเสน ดังรูปที่ 8.14

Page 172: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 150

รูปท่ี 8.14 แสดงการเคลื่อนยาย (shift) เสนงบประมาณ

ตามรูปที่ 8.14 สมมติวาตอนแรกเสนงบประมาณคือเสน AB และกําหนดใหราคาสินคา X และสินคา Y คงที่ ในเวลาตอมาผูบริโภคมีรายไดเพิ่มข้ึนหรืองบประมาณเพิ่มข้ึนเสนงบประมาณก็จะเพิ่มข้ึนโดยเคลื่อนยาย (shift) ไปทางขวามือจากเสน AB ไปเปนเสน CD หรือในทางกลับกันถาผูบริโภคมีรายไดลดลงหรืองบประมาณลดลงเสนงบประมาณก็จะลดลงโดยเคลื่อนยายไปทางดานซายมือ คือ จากเสน AB ไปเปนเสน EF

2.4.2 กรณีที่ราคาสินคาเปลี่ยนแปลง

กรณีท่ีราคาสินคาเปลี่ยนแปลงโดยที่รายไดหรืองบประมาณยังเทาเดิม สามารถแยกพิจารณาออกเปน 2 กรณี คือ กรณีแรก ราคาของสินคาท้ังสองไมไดเปลี่ยนแปลงในอัตราเดียวกัน และกรณีท่ีสอง ราคาของสินคาท้ังสองเปลี่ยนแปลงในอัตราเดียวกันและเปนไปในทิศทางเดียวกัน กรณีแรก ราคาของสินคาท้ังสองไมไดเปลี่ยนแปลงในอัตราเดียวกัน เสนงบประมาณจะเคลื่อนยายไปลักษณะดังรูปที่ 8.15 ในรูปที่ 8.15 (ก) สมมติใหรายไดท่ีเปนตัวเงินคงที่และเสนงบประมาณเดิมคือเสน AB ตอมาราคาสินคา X ลดลงในขณะที่ราคาสินคา Y คงที่ เสนงบประมาณก็เคลื่อนจากเสน AB ไปเปนเสน AC หรือในทางกลับกันถาสมมติใหราคาสินคา Y ลดลงในขณะที่ราคาสินคา X คงที่ เสนงบประมาณก็จะเคลื่อนจากเสน AB ไปเปนเสน BD รูปที่ 8.15 (ข) สมมติใหรายไดคงที่และเสนงบประมาณเดิมคือเสน AB ตอมาราคาสินคาท้ังสองลดลงโดยที่ราคาสินคา X ลดลงในอัตราที่มากกวาราคาของสินคา Y เสนงบประมาณจะเคลื่อนยาย (shift) จากเสน AB ไปเปนเสน

QX

QY C A

E

O F B D

Page 173: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

151

(ก) (ข)

รูปท่ี 8.15 แสดงการเคลื่อนยาย (shift) ของเสนงบประมาณกรณีราคาสินคาเปลี่ยนแปลง

A'B' ในทางกลับกันราคาสินคาท้ังสองลดลงเหมือนกันแตราคาสินคา X ลดลงในอัตราที่นอยกวาราคาของสินคา Y เสนงบประมาณจะเคลื่อนยาย (shift) จากเสน AB ไปเปนเสน A"B" กรณีที่สอง ราคาของสินคาท้ังสองเปลี่ยนแปลงในอัตราเดียวกันและในทิศทางเดียวกันเสนงบประมาณจะเคลื่อนยาย (shift) ในลักษณะเดียวกันกับกรณีท่ีงบประมาณหรือรายไดเปลี่ยนแปลง แตราคาสินคาท้ังสองยังคงที่อยู กลาวคือ ถาราคาของสินคาสองชนิดเพิ่มข้ึนในอัตราเดียวกันในขณะที่รายไดคงเดิมเสนงบประมาณจะเคลื่อนยาย (shift) ไปทางซายและขนานกับเสนเดิม ในทางกลับกันถาราคาของสินคาสองชนิดลดลงในอัตราเดียวกันในขณะที่รายไดคงเดิมเสนงบประมาณจะเคลื่อนยาย (shift) ไปทางขวาและขนานกับเสนงบประมาณเดิม ดังรูปที่ 8.14

2.5 ดุลยภาพของผูบริโภค (Consumer Equilibrium)

ในการศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคจากเสนความพอใจเทากัน (indifference curve : IC) ซึ่งเสนความพอใจเทากันเสนเดียวกันทุกจุดจะใหระดับความพอใจเทากัน และเสนงบประมาณ (budget line) ทุกจุดบนเสนงบประมาณจะมีคาใชจายเทากัน ดุลยภาพของผูบริโภคจะเกิดข้ึนก็ตอเมื่อผูบริโภคไดบริโภคสินคาท้ังสองชนิดจนไดรับความพอใจสูงสุดและผูบริโภคใชจายงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัด หมดพอดี หรือ ณ จุดดุลยภาพของผูบริโภคก็คือจุดท่ีเสน IC สัมผัสเสนงบประมาณ หรือเกิดข้ึนท่ี MRSXY = - PX/PY โดยที่ MRSXY คือ slope ของเสน IC และ – PX/PY คือ slope ของเสนงบประมาณ

B B" B' 0

QY

QX 0 B C

QX

QY

D

A

A"

A'

A

Page 174: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 152

รูปท่ี 8.16 แสดงดุลยภาพของผูบริโภคที่บริโภคสินคา X และสินคา Y

จากรูปที่ 8.16 เปนการแสดงจุดดุลยภาพของผูบริโภค ณ จุด M, E, และ N เปนจุดท่ีอยูบนเสนงบประมาณเดียวกัน คาใชจายท้ัง 3 จุดมีคาเทากัน ท่ีจุด M และ N อยูบนเสน IC1 ซึ่งใหระดับความพอใจนอยกวาเสน IC2 จุด E คือจุดท่ีอยูบนเสน IC2 ซึ่งเสียคาใชจายเทากับจุด M และ N แตไดรับความพอใจสูงกวา สวนจุด Z อยูบนเสน IC2 เชนเดียวกับจุด E แตไมสามารถซื้อไดดวยงบประมาณที่อยูบนเสน (M/PY)(M/PX) ท่ีจุด S อยูบนเสน IC3 ซึ่งใหความพอใจสูงกวาเสน IC2 แตก็ไมสามารถซื้อดวยงบประมาณ (M/PY)(M/PX)ได นั่นคือจุด E เปนจุดท่ีผูบริโภคไดรับความพอใจสูงสุดภายใตงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัดหรือจุด E ก็คือจุดดุลยภาพของผูบริโภค

จุดดุลยภาพของผูบริโภค ⇒ = −MRSPPxy

xy

M •

IC3

IC2

IC1

QX

M/PY

QY

M/PX O

S •

Z •

N •

E •

Page 175: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

153

2.6 การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบริโภค (Change in Consumer Equilibrium)

ดุลยภาพของผูบริโภคจะเปลี่ยนแปลงก็ตอเมื่อราคาสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลง หรือรายไดท่ีแทจริง (real income) เปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากรายไดท่ีเปนตัวเงินเปลี่ยนแปลงโดยที่ราคาสินคาท้ังสองคงที่ หรืออาจเนื่องมาจากรายไดท่ีเปนตัวเงินคงที่แตราคาของสินคาท้ังสองเปลี่ยนแปลงในอัตราเดียวกัน ซึ่งจะแยกพิจารณาเปน 2 กรณี กลาวคือ

2.6.1 การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบริโภคไปตามราคา

สมมติใหราคาสินคา Y คงที่อยูท่ี PY แตราคาสินคา X ลดลงจาก PX เปน P'X และ P"X ตามลําดับ และงบประมาณเทากับ M รูปท่ี 8.17 แสดงการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบริโภคเนื่องมาจากราคาสินคาเปลี่ยนแปลง

จากรูปที่ 8.17 กําหนดใหราคาสินคา Y คงที่ งบประมาณเทากับ M ราคาสินคา X เทากับ PX ดุลยภาพของผูบริโภคอยูท่ี E1 ตอมาราคาสินคา X ลดลงเปน P'X ดุลยภาพของผูบริโภคจะเปลี่ยนมาเปน E2 และราคาสินคา X ลดลงจาก P'X เปน P"X ดุลยภาพของผูบริโภคก็จะเปลี่ยนจากจุด E2 มาเปน E3 ลากเสนเชื่อมจุด E1 ,E2 และ E3 ก็จะไดเสน price consumption curve (PCC) หรือเรียกวาเสน price expansion path (PEP) ทุกจุดท่ีอยูบนเสน PCC หรือเสน PEP ซึ่งเปนเสนที่แสดงถึงดุลยภาพของผูบริโภคเมื่อราคาของสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลง

QY

O QX

M/PX M/P'X M/P"X

E3

E1 E2

IC3

IC2 IC1

เสน PCC หรือเสน PEP M/PY

Page 176: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 154

2.6.2 การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบริโภคเมื่อรายไดที่แทจริงเปลี่ยนแปลง

การท่ีรายไดท่ีแทจริงเปลี่ยนแปลงมีสาเหตุเนื่องมาจากรายไดท่ีเปนตัวเงินเปลี่ยนแปลงในขณะที่ราคาสินคาท้ังสองคงที่หรือเนื่องมาจากรายไดท่ีเปนตัวเงินคงที่ แตราคาของสินคาท้ังสองเปลี่ยนแปลงในอัตราเดียวกัน

รูปท่ี 8.18 แสดงการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผูบริโภคเนื่องมาจากรายไดที่แทจริงเปลี่ยนแปลง

จากรูปที่ 8.18 สมมติใหเดิมทีผูบริโภคมีรายไดแทจริงเทากับเสนงบประมาณ MN และดุลยภาพของผูบริโภคคือ E1 ตอมารายไดแทจริงเพิ่มข้ึนทําใหเสนงบประมาณเปลี่ยนจากเสน MN ไปเปน M'N' ดุลยภาพของผูบริโภคก็จะเปลี่ยนจาก E1ไปเปน E2 และเมื่อรายไดแทจริง เพิ่มข้ึนอีก เสนงบประมาณก็จะเปลี่ยนจากเสน M'N' ไปเปนเสน M"N" และดุลยภาพของผูบริโภคก็จะเปลี่ยนจาก E2

ไปเปน E3 ดวยเชนกัน เมื่อลากเสนเชื่อมระหวางจุดดุลยภาพของผูบริโภค E1, E2 และ E3 เสนนั้นเรียกวา income consumption curve (ICC) หรือเสน income expansion path (IEP) และทุกจุดท่ีอยูบนเสน ICC หรือเสน IEP จะแสดงถึงดุลยภาพของผูบริโภคเมื่อรายไดท่ีแทจริงเปลี่ยนแปลง

QY

IC3

IC2

E3

IC1

E2

E1

M"

M

M'

QX

เสน ICC หรือเสน IEP

N N' N" O

Page 177: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

155

2.7 ดีมานดของผูบริโภค (Consumer Demand)

2.7.1 การหาเสนดีมานดตอรายได (Income Demand Curve)

รูปที่ 8.19 แสดงการหาเสน Engel curve หรือ income demand curve จากเสน IEP

เมื่อรายไดท่ีเปนตัวเงินของผูบริโภคเปลี่ยนแปลงจะมีผลทําใหผูบริโภคเปลี่ยนแปลงการบริโภคสินคาเพื่อใหไดรับความพอใจสูงสุด และดุลยภาพของผูบริโภคก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปดวย

IC1

A

M'/PY

O X X1 M/PX M'/PX

b

a

B

IC2

QX

QX

รายได (M)

ปริมาณ X ↑ เมื่อ รายไดเพิ่มขึ้น M

QY

เสน Engel Curve หรือ Income demand Curve สําหรับสินคาปกติ (Normal Goods)

M/PY

Pure Income Effect

IEP

M '

O X X1

Page 178: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 156

และเสนที่ลากเชื่อมระหวางจุดดุลยภาพตางๆของผูบริโภคเรียกวาเสน income expansion path (IEP) หรือในบางครั้งเสนดังกลาวอาจเรียกวาเสน income consumption curve สําหรับสินคาแตละชนิดได เสน Engel curve1 ก็คือ เสนที่แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณดุลยภาพของสินคาชนิดหนึ่งท่ีใหความพอใจสูงสุด ซึ่งผูบริโภคเลือกซื้อสินคา ณ ระดับรายไดตาง ๆ ของผูบริโภคหรือ ณ ระดับราคาสินคาตาง ๆ กัน หรือเรียกวา เสนดีมานดเฉพาะ (special demand) เสน Engel curve มีความสําคัญตอการประยุกตใชเพื่อศึกษาเศรษฐศาสตรสวัสดิการ (economic welfare) และใชในการวิเคราะหลําดับการใชจายของครอบครัว ในการหาเสน Engel curve หรือเสนดีมานดตอรายได (income demand curve) สามารถหาไดโดยการสืบเนื่องจากเสน income expansion path ดังในรูปท่ี 8.19 จากรูปที่ 8.19 เมื่อกําหนดใหราคาสินคา X และ Y คือ PX และ PY ซึ่งคงที่อยูระดับหนึ่ง และ รายไดของผูบริโภคอยูท่ีระดับ M ผูบริโภคจะบริโภคสินคาท้ังสองที่จุด A ซึ่งเปนจุดดุลยภาพบนเสน IC1 ภายใตงบประมาณ M ตอมาเมื่อรายไดของผูบริโภคเพิ่มข้ึนเปน M' ผูบริโภคก็จะบริโภคสินคาท้ังสองเพิ่มข้ึนไปที่จุดดุลยภาพ B ลากเสนเชื่อมระหวางจุด A และ B ก็จะไดเสน income expansion path (IEP) และสืบเนื่องจากเสน IEP จากจุด A ก็จะไดจุด a ซึ่ง รายได มีคาเทากับ M ปริมาณสินคา X เทากับ X และจากจุด B ก็จะไดจุด b ซึ่งรายไดเพิ่มข้ึนเปน M' ปริมาณสินคา X เพิ่มเปน X1 ลากเสนเชื่อมระหวางจุด a กับ b ก็จะไดเสน Engel curve สําหรับสินคา X หรือเรียกวาเสน ดีมานดตอรายได (income demand curve) ท่ีมีคา slope เปนบวก ซึ่งเปนเสนที่แสดงความสัมพันธระหวางรายไดกับปริมาณการซื้อสินคา X เปนไปในทิศทางเดียวกัน นั่นแสดงใหเห็นวาสินคา X เปน สินคาปกติ (normal goods)

2.7.2 เสน Engel Curve สําหรับสินคาดอยคุณภาพ (Inferior Goods)

การหาเสน Engel curve หรือเสนดีมานดตอรายได (income demand curve)สําหรับสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) มีลักษณะคลายกับการหาเสน Engel curve สําหรับสินคาปกติแตความสัมพันธระหวางรายไดกับปริมาณการซื้อสินคาจะเปนไปในทิศทางตรงกันขาม ในรูปที่ 8.20 กําหนดใหราคาสินคา X และ Y คือ PX และ PY เมื่อผูบริโภคมีรายไดเทากับ M และเสนงบประมาณคือ (M/PX)(M/PY) ผูบริโภคจะบริโภคสินคาท้ังสองที่จุด A และไดรับความพอใจสูงสุด ตอมาเมื่อระดับรายไดของผูบริโภคเพิ่มข้ึนมาเปน M' เสนงบประมาณเคลื่อนยายไปเปน

1 C.E.Ferguson and J.P. Gould, Microeconomic Theory. ( 4 th. ed. Homewood,III : R.D. Irwin, 1975), p. 40.

Page 179: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

157

รูปที่ 8.20 แสดงการหาเสน Engel curve หรือ income demand curve จากเสน IEP

เสน (M'/PY) (M'/PX) ผูบริโภคจะเปลี่ยนแปลงการบริโภคสินคาท้ังสองไปที่จุด B เพื่อใหไดรับความพอใจสูงสุด ลากเสนเชื่อมระหวางจุด A และ B ก็จะไดเสน income expansion path (IEP) และสืบเนื่องจากเสน IEP จากจุด A ก็จะไดจุด a และจากจุด B ก็จะไดจุด b ลากเสนเชื่อมจุด a กับจุด b ก็จะ

IC1

b

B

QX

QX

A

รายได (M) เสน Engel Curve หรือ Income Demand Curve สําหรับสินคาดอยคุณภาพ (Inferior Goods)

ΔX ↓ เมื่อ รายไดเพิ่มขึ้น

M'

M

O X2 X1

a

IC2

Pure Income Effect M/PY

M'/PY

O M/PX M'/PX

เสน IEP QY

X2 X1

Page 180: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 158

ไดเสน Engel curve หรือเสน income demand curve ท่ีมีคาความชันเปนลบ ซึ่งเปนเสนที่ถึงแสดงความสัมพันธระหวางรายไดกับปริมาณซื้อสินคา X ท่ีเปนไปในทิศทางตรงกันขาม กลาวคือเมื่อรายไดเทากับ M ผูบริโภคจะบริโภคสินคา X ปริมาณเทากับ X1 ตอมารายไดเพิ่มข้ึนเปน M' ผูบริโภคจะบริโภคสินคา X ลดลงจาก X1 เปน X2 นั่นแสดงใหเห็นวาสินคา X เปน สินคาดอยคุณภาพ (inferior goods)

รูปท่ี 8.21 แสดงลักษณะสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) และสินคาปกติ (normal goods)

Y2 Y1

O X1 X2 O X1 X2

QX

QX QX

IEP

(ค)

(ข) (ก)

QY

QY QY

IEP

IEP

O X1 X2

Y1

Y1

Y2

Y2

Page 181: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

159

จากรูปที่ 8.21 เปนการแสดงลักษณะสินคาโดยอาศัยเสน income expansion path (IEP) เปนตัวกําหนด ในรูป (ก) สินคา X จะเปนสินคาปกติ (normal goods) สวนสินคา Y เปนสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) ในรูป (ข) เปนการแสดงใหเห็นวาท้ังสินคา X และสินคา Y ตางก็เปนสินคาปกติ(normal goods) สวนในรูป (ค) เปนการแสดงใหเห็นวาสินคา X เปนสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) และสินคา Y เปนสินคาปกติ (normal goods)

2.7.3 การหาเสนดีมานดตอราคา (Price Demand Curve)

รูปที่ 8.22 แสดงการหาเสนดีมานดตอราคา จากเสน PCC หรือ เสน PEP

การหาเสนดีมานดตอราคาของผูบริโภคจากเสน price expansion path ดังรูปที่ 8.22 เปนการแสดงการหาเสนดีมานดตอราคาสําหรับสินคา X จากเสน price expansion path (PEP) โดย

QY

M/PY

M/PX

PX

b

a

QX

QX

A B C

IC1 IC2 IC3

PX

Price Demand Curve

c P'X

P"X

O

O X1 X2 X3

M/P'X M/P"X X1 X2 X3

เสน PCC หรือ PEP

D

Page 182: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 160

สมมติใหงบประมาณของผูบริโภคเทากับ M ราคาสินคา Y เทากับ PY และราคาสินคา X ในตอนแรกใหเทากับ PX เสนงบประมาณคือ (M/PY)(M/PX) ดุลยภาพของผูบริโภคอยูท่ีจุด A ซึ่งจะไดรับความพอใจสูงสุดบนเสน IC1 ตอมาราคาสินคา X ลดลงจาก PX เปน P'X เสนงบประมาณจะกลายเปนเสน (M/PY)(M/P'X) ดุลยภาพของผูบริโภคก็จะเปลี่ยนจากจุด A เปนจุด B และไดรับความพอใจสูงสุดบนเสน IC2 และตอมาราคาสินคา X ลดลงจาก P'X เปน P"X เสนงบประมาณจะกลายเปนเสน (M/PY)(M/P"X) ดุลยภาพของผูบริโภคก็จะเปลี่ยนจากจุด B เปนจุด C และไดรับความพอใจสูงสุดบนเสน IC3 ลากเสนเชื่อมระหวางจุด A, B และ C ก็จะไดเสน price expansion path (PEP) จากจุด A, B และ C บนเสน PEP สามารถสืบเนื่องไปเปนจุด a, b และ c ลากเสนเชื่อมระหวางจุด a, b และ c ก็จะไดเสนดีมานดตอราคาของสินคา X (price demand curve) ท่ีแสดงใหเห็นวา เมื่อราคาสินคา X อยูท่ี PX ผูบริโภคจะบริโภคสินคา X เทากับ X1 หนวย ตอมาเมื่อราคาสินคา X ลดลงเปน P'X ปริมาณการบริโภคสินคา X จะเพิ่มข้ึนเปน X2 หนวย และเมื่อราคาสินคา X ลดลงไปอีกเปน P"X ผูบริโภคก็จะเพิ่มปริมาณการบริโภคสินคา X จาก X2 เปน X3 หนวย ตามลําดับ และจะเห็นไดวาเสนดีมานดตอราคาของสินคา X ท่ีไดมี slope เปนลบ ซึ่งเปนไปตามกฎแหงดีมานด

2.8 ผลทางการทดแทนและผลทางรายได (Substitution Effect and Income Effect)

จากกฏของดีมานดท่ีวา "จํานวนซื้อสินคาใด ๆ จะผันแปรในทิศทางตรงกันขามกับระดับราคาสินคาชนิดนั้น ๆ เสมอ" ท้ังนี้เนื่องมาจากสาเหตุ 2 ประการคือ 1) ผลทางการทดแทนกัน (Substitution Effect) การเพิ่มข้ึนของราคาสินคาชนิดหนึ่งจะทําใหจํานวนซื้อของสินคานั้นลดลงเพราะผูบริโภคจะหันไปซื้อสินคาชนิดอื่นมาทดแทน หรือถาสินคาชนิดนั้นราคาลดลงจะทําใหจํานวนซื้อเพิ่มข้ึนเพราะผูบริโภคจะหันกลับมาซื้อสินคาชนิดนั้นเพิ่มข้ึนโดยลดการซื้อสินคาชนิดอื่นลง 2) ผลทางรายได (Income Effect) การเปลี่ยนแปลงราคาของสินคาทําใหรายไดแทจริงเปลี่ยนแปลงจะสงผลใหจํานวนซื้อสินคาชนิดนั้นเปลี่ยนแปลงไปดวย

2.8.1 ผลทางการทดแทนและผลทางรายได : กรณีสินคาเปนสินคาปกติ (normal goods)

ผลทางการทดแทนและผลทางรายได จากการพิจารณาสินคา X และ Y กรณีท่ีสินคา X เปนสินคาปกติ (normal goods) ตามรูปที่ 8.23 สมมติใหเสนงบประมาณเดิมคือ (M/PY)(M/PX) และสัมผัสกับเสน IC1 ท่ีจุด A และเมื่อราคาสินคา X ลดลงจาก PX เปน P'X ในขณะที่ราคาสินคา Y คงที่เทากับ PY และรายไดท่ี

Page 183: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

161

เปนตัวเงิน(money income)มีคาคงที่เทากับ M แลวเสนงบประมาณก็จะเปลี่ยนจากเสน(M/PY)(M/PX) ไปเปนเสน (M/PY)(M/P'X) ซึ่งสัมผัสกับเสน IC2 ท่ีจุด B ปริมาณสินคา X ท่ีผูบริโภคไดบริโภคเพิ่มข้ึนทั้งหมดเทากับ X1X3 ซึ่งก็คือ ผลกระทบรวมทั้งหมด (total effect)

รูปที่ 8.23 แสดงผลทางการทดแทนกันและผลทางรายไดของสินคาปกติ

ผลทางการทดแทนกัน (substitution effect) เกิดข้ึนเมื่อราคาสินคา X ลดลงจาก PX เปน P'X สงผลใหผูบริโภคมีแนวโนมท่ีจะซื้อสินคา X เพิ่มข้ึนเพื่อใชแทนสินคา Y ซึ่งมีราคาคงที่ขณะเดียวกันก็จะซื้อสินคา Y นอยลงดวยเพื่อรักษาระดับความพอใจ IC1 นั่นคือเมื่อลากเสน KN ใหขนานกับเสนงบประมาณใหม (M/PY)(M/P'X) และใหสัมผัสกับเสน IC1 เสนดังกลาว จะสัมผัสกับเสน IC1 ท่ีจุด C การที่ผูบริโภคเลื่อนการบริโภคจากจุด A ไปจุด C ก็คือ ผลทางการทดแทนกัน ซึ่งมีคาเทากับ X1X2

ผลทางดานรายได (income effect) เกิดจากการที่ราคาสินคา X ลดลง ผูบริโภคสามารถซื้อสินคา X (หรือซื้อท้ังสินคา X และ Y) ไดมากขึ้นดวยจํานวนเงินเทาเดิม ดังนั้นความพอใจที่ผูบริโภคไดรับจะสูงข้ึนไปที่ IC2 นั่นคือ ผูบริโภคจะเลื่อนการบริโภคจากจุด C ไปเปนจุด B และปริมาณของสินคา X ท่ีเพิ่มข้ึนมีคาเทากับ X2X3 ซึ่งก็คือ ผลทางรายได ผลทางการทดแทนกันและผลทางดานรายไดเมื่อราคาสินคา X ลดลง สรุปไดดังนี้ ผลกระทบรวมทั้งหมด = ผลทางการทดแทน + ผลทางรายได

X3 (M/PX)

M/P'X X2

B A

QX

C IC2

IC1

Substitution Effect

Income Effect

K

M/PY

QY

O X1 N

Total Effect

Page 184: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 162

(total effect) = (substitution effect) + (income effect) X1X3 = X1X2 + X2X3

จากกรณีท่ีราคาสินคา X ลดลง เมื่อสมมติใหรายไดท่ีเปนตัวเงินคงที่ แสดงวารายไดท่ีแทจริงของผูบริโภคเพิ่มข้ึน และความพอใจที่ไดรับจะสูงข้ึนเนื่องจากผูบริโภคสามารถที่จะบริโภคสินคา X เพิ่มข้ึนจาก X2 เปน X3 ไดตามลําดับ นั่นคือเมื่อรายไดท่ีแทจริงเพิ่มข้ึนผูบริโภคจะบริโภคสินคา X ในปริมาณที่เพิ่มข้ึน แสดงวาสินคา X เปน สินคาปกติ (normal goods)

2.8.2 ผลทางการทดแทนกันและผลทางรายได : กรณีสินคาเปนสินคาดอยคุณภาพ

ผลทางการทดแทนและผลทางรายไดจากการพิจารณาสินคา X และสินคา Y กรณีท่ี X เปนสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods)

รูปที่ 8.24 แสดงผลทางการทดแทนกันและผลทางรายไดของสินคาดอยคุณภาพ

จากรูปที่ 8.24 สมมติใหเดิมรายไดของผูบริโภคเทากับ M ราคาสินคา Y เทากับ PY และราคาสินคา X เทากับ PXผูบริโภคจะบริโภคสินคาท้ังสองที่จุด A ซึ่งเปนจุดท่ีไดรับความพอใจสูงสุดบนเสน IC1 ปริมาณสินคา X เทากับ X1 ตอมาราคาสินคา X ลดลงจาก PX เปน P'X ในขณะที่ PY และรายไดคงที่ เสนงบประมาณก็เปลี่ยนเปนเสน (M/PY)(M/P'X) ผูบริโภคจะบริโภคสินคา ท้ังสองที่จุด B และไดรับความพอใจเพิ่มข้ึนเปน IC2 ลากเสน KN ใหขนานกับเสนงบประมาณใหมและเสนดังกลาวจะสัมผัสกับเสน IC1 ท่ีจุด C เพื่อดูผลทางการทดแทนกันและผลทางรายได

IC2 A

QX

B

C IC1

M/PY

K

O X1 X2 X3 M/PX N M/P'X

Total Effect

Income Effect

Substitution Effect

QY

Page 185: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

163

ผลทางการทดแทนกัน (substitution effect) เมื่อราคาสินคา X ลดลง ถาตองการดูผลทางการทดแทนกันก็ลากเสน KN ใหขนานกับเสนงบประมาณใหมซึ่งสัมผัสกับเสน IC1 ณ จุด C เพื่อรักษาระดับความพอใจคงเดิม ผูบริโภคจะเพิ่มการบริโภคสินคา X เพื่อทดแทนสินคา Y และในขณะเดียวกันก็จะลดการบริโภคสินคา Y ลงดวย ผลทางรายได (income effect) เมื่อราคาสินคา X ลดลง รายไดท่ีแทจริงของผูบริโภคจะเพิ่มข้ึน ทําใหผูบริโภคไดบริโภคสินคาท้ังสองชนิดเพิ่มข้ึน ณ จุด B ซึ่งไดรับความพอใจเพิ่มข้ึนเปน IC2 ถาพิจารณาเฉพาะผลทางรายได จะเห็นไดวาผูบริโภคจะเลื่อนการบริโภคจากจุด C ไปยังจุด B ปริมาณสินคา X จะลดลงจาก X3 เปน X2 นั่นคือเมื่อรายไดท่ีแทจริงเพิ่มข้ึนผูบริโภคกลับลดปริมาณการบริโภคสินคา X ลงเทากับ X3X2 นั่นแสดงวาสินคา X เปนสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) ความสัมพันธของผลกระทบรวม ผลทางการทดแทนกันและผลทางรายได เปนดังนี้ total effect = substitution effect + income effect X1X2 = X1X3 + (-X3X2)

2.8.3 ผลทางการทดแทนกันและผลทางรายได : กรณีท่ีสินคาเปนสินคา Giffen goods

การพิจารณาผลทางการทดแทนกันและผลทางรายไดของสินคา X และ Y กรณีท่ีสินคา X เปนสินคา Giffen goods ดังรูปที่ 8.25 เมื่อสมมติใหเดิมทีราคาสินคา X และ Y คือ PX และ PY ตามลําดับและรายไดของผูบริโภคเทากับ M เสนงบประมาณคือเสน (M/PY)(M/PX) ผูบริโภคจะบริโภคสินคาท้ังสองที่จุด A ไดรับความพอใจที่ระดับ IC1 ตอมาถาราคาสินคา X ลดลงจาก PX เปน P'X เสนงบประมาณก็จะเคลื่อนไปเปนเสน (M/PY)(M/P'X) ดุลยภาพของผูบริโภคจะยายไปที่จุด B และไดรับความพอใจเพิ่มข้ึนเปน IC2 จากนั้นลากเสนขนานกับเสนงบประมาณใหมโดยใหสัมผัสกับเสน IC1 จะไดจุดท่ีสัมผัสคือจุด C เพื่อดูผลทางการทดแทนกันและผลทางรายได ผลทางการทดแทนกัน (substitution effect) เมื่อราคาสินคา X ลดลงจาก PX เปน P'X

ผูบริโภคจะเปลี่ยนการบริโภคจากจุด A ไปจุด C เพื่อรักษาระดับความพอใจใหคงเดิมบนเสน IC1 หรือเพิ่มการบริโภคสินคา X จาก X1 เปน X2 เพื่อทดแทนสินคา Y ในขณะเดียวกันก็ลดการบริโภคสินคา Y ลงดวย นั่นคือ ผลทางการทดแทนกันมีคาเทากับ X1X2

Page 186: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 164

รูปที่ 8.25 แสดงผลทางการทดแทนกันและผลทางรายไดของสินคาแบบ Giffen goods

ผลทางรายได (income effect) เมื่อราคาสินคา X ลดลงหรือถาจะมองในแงรายได ก็คือรายไดท่ีแทจริงของผูบริโภคเพิ่มข้ึน ผูบริโภคจะเปลี่ยนการบริโภคจากจุด C ไปจุด B ซึ่งจะไดรับความพอใจเพิ่มข้ึนเปน IC2 แตเมื่อพิจารณาเฉพาะสินคา X แลวจะเห็นไดวาผูบริโภคลดการบริโภคสินคาจาก X2 เปน X3 นั่นคือเมื่อรายไดท่ีแทจริงของผูบริโภคเพิ่มข้ึน ผลทางรายไดมีคาเทากับ - X3X2 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบผลทางการทดแทนกันกับผลทางรายได จะเห็นไดวาผลทางรายไดมีอิทธิพลมากกวาผลทางการทดแทนจึงทําใหผลกระทบรวมทั้งหมด(total effect)มีคาติดลบ ซึ่งแสดงความสัมพันธไดดังนี้

P'X

PX

K Income Effect

Total Effect

O X3 X1 X2 M/PX N M/P'X

B

C

QX

QX

b

a

A

IC1 Substitution

IC2

M/PY

QY

Demand Curve for Giffen Goods

PX

O X3 X1

Page 187: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

165

total effect = substitution effect + income effect -X3X1 = X1X2 + (-X3X2)

นั่นคือ เมื่อราคาสินคา X ลดลงจาก PX เปน P'X จะทําใหผูบริโภคลดการบริโภคสินคา X ลงเทากับ X3X1 หรือ total effect มีคาติดลบ (-X3X1) หรือผลทางดานรายไดสงผลใหลดการบริโภคสินคา X ลงมากกวาการเพิ่มการบริโภคสินคา X เนื่องจากผลของการทดแทนกัน จากเหตุการณดังกลาวนี้ทําใหสินคา X เปนสินคาดอยคุณภาพอยางรุนแรง (strong inferior goods) หรือเรียกวา Giffen goods การหาเสนดีมานดของ Giffen goods จากการที่ราคาสินคา X ลดลงจาก PX เปน P'X นั้น ผูบริโภคจะลดการบริโภคสินคา X จากจุด A ไปยังจุด B เพื่อใหไดรับความพอใจที่สูงข้ึนเปน IC2 จากจุด A และจุด B สามารถสืบเนื่องไปเปนจุด a และ b ได ณ จุด a ระดับราคาสินคา X เทากับ PX ผูบริโภคไดบริโภคสินคาเทากับ X1 ตอมาเมื่อราคาสินคา X ลดลงเปน P'X ผูบริโภคกลับลดการบริโภคสินคา X ลงจาก X1 เปน X3 ท่ีจุด b จากนั้นลากเสนเชื่อมระหวางจุด a กับ b จะไดเสนดีมานดตอราคาสําหรับสินคาแบบ Giffen goods ท่ี slope มีคาเปนบวก

2.9 เสนดีมานดชดเชย (Compensated Demand Curve) 2

เสนดีมานดชดเชย(compensated demand curve) คือ เสนดีมานดของสินคาท่ีเกิดจากผลทางการทดแทนกันเทานั้น และการใหคําจํากัดความของเสนดีมานดชดเชยก็เหมือนกับการอธิบายในผลของการทดแทนกัน ซึ่งสามารถแสดงการหาเสนดีมานดไดดังในรูปที่ 8.26

2 Eric J. Solberg, Intermediate Microeconomics. (Texas : Business, 1982), pp. 132 - 133.

Page 188: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 166

รูปที่ 8.26 แสดงเสนดีมานดชดเชย (compensated demand)

e

a

M'/P'X

U = U" (IC2) M'/PY

M/PY

U = U' (IC1)

Compensated Demand

B

QX

QX

• b

c

C

A

O X2 X3 X1

PX

P'X

PX

d

Ordinary Demand

Pure Substitution Effect

QY

O M/P'X M/PX X2 X3 X1

Page 189: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

167

จากรูปที่ 8.26 กําหนดใหตอนแรกผูบริโภคไดบริโภคสินคา X ท่ีจุด A ในปริมาณเทากับ X1 ขณะที่ราคาสินคา X เทากับ PX ราคาสินคา Y เทากับ PY และรายไดของผูบริโภคเทากับ M ตอมาสมมติวาราคาสินคา X เพิ่มจาก PX เปน P'X ผูบริโภคก็เลือกที่จะบริโภคสินคา X ท่ีจุด B ในปริมาณเทากับ X2 แตถาผูบริโภคตองการที่จะชดเชยในสวนที่สูญเสียไปของรายไดท่ีแทจริงโดยการเพิ่มรายไดท่ีเปนตัวเงินข้ึนเปน M' แลวเขาก็เลือกที่จะบริโภคสินคา X ท่ีจุด C เพื่อรักษาระดับความพอใจใหอยูท่ีระดับเดิม เสนดีมานดสําหรับสินคา X เดิม (original demand curve) ก็คือ การแสดงความสัมพันธระหวางราคาสินคา X กับปริมาณความตองการบริโภคสินคา X โดยที่ราคาสินคา Y และรายไดท่ีเปนตัวเงินคงที่อยูระดับหนึ่ง ดังนั้นฟงกช่ันของเสน ordinary demand curve ก็คือ

QX = f(PX ⎢PY, M) ........................(1)

โดยท่ี QX คือ ปริมาณความตองการบริโภคสินคา X PX คือ ราคาสินคา X PY คือ ราคาสินคา Y (มีคาคงที่) M คือ รายไดท่ีเปนตัวเงิน (มีคาคงที่) ลักษณะของเสน cad เปนการแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการบริโภคสินคา X ซึ่งข้ึนอยูกับราคาของสินคา X โดยท่ีราคาของสินคา Y และรายไดท่ีเปนตัวเงินคงที่ สวนเสน compensated demand curve ก็จะมีฟงกช่ัน ดังนี้คือ

QX = f( PX ⎢U = U' ) .......................(2)

โดยที่ U คือ ระดับความพอใจ U' คือ ระดับความพอใจคงที่ ลักษณะของเสน bae เปนการแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณความตองการบริโภคสินคา X ซึ่งข้ึนอยูกับราคาของสินคา X โดยที่ยังรักษาระดับความพอใจใหคงเดิม ในกรณีท่ีสินคา X เปนสินคาปกติ (normal goods)แลวเสน compensated demand curve จะอยูเหนือเสน ordinary demand curve ในชวงท่ีระดับราคาของสินคา X สูงกวาระดับราคาเริ่มตน (original price : PX) ข้ึนไป และเสน compensated demand curve จะอยูใตเสน ordinary demand curve ในชวงท่ี

Page 190: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 168

ราคาสินคา X ต่ํากวาระดับราคาเริ่มตน (original price : PX) ลงไป แตถาสินคา X เปนสินคาดอยคุณภาพ (inferior goods) ความสัมพันธระหวางเสน compensated demand curve กับเสน ordinary demand curve จะเปนไปในทิศทางตรงกันขามกับสินคาปกติ (normal goods) กลาวคือเสน compensated demand curve จะอยูใตเสน ordinary demand curve ในชวงท่ีระดับราคาของสินคา X สูงกวาระดับราคาเริ่มตน (original price : PX) ข้ึนไป และเสน compensated demand curve จะอยูเหนือเสน ordinary demand curve ในชวงท่ีราคาสินคา X ต่ํากวาระดับราคาเริ่มตน (original price : PX) ลงไป โดยแทท่ีจริงแลว slope ของเสน compensated demand ก็คือ การวัดผลทางการทดแทนกัน (substitution effect) นั่นเอง

Page 191: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทท่ี 9 ทฤษฎีการผลิต

(Theory of Production) ในบทที่ผานมาเราไดศึกษาถึงดีมานดของผูบริโภคมาแลวทําใหทราบวาผูบริโภคตองการบริโภคสินคาในปริมาณเทาใด ณ ระดับราคาตาง ๆ อยางไรก็ตามการที่ทราบดีมานดแตเพียงอยางเดียวเปนการมองเฉพาะผูบริโภคซึ่งไมสามารถจะบอกไดวามีการผลิตสินคาข้ึนมาเปนจํานวนเทาใด การกําหนดปริมาณและราคาดุลยภาพของสินคาจะถูกกําหนดขึ้นจากดีมานดและซัพพลาย เมื่อไดศึกษาถึงดีมานดมาแลว ในบทนี้จะเปนการศึกษาถึงซัพพลายของสินคา ซึ่งซัพพลายจะแสดงใหทราบวาผูขายหรือผูผลิตจะนําสินคาออกมาขายเปนจํานวนเทาใด ณ ระดับราคาตาง ๆ ผูผลิตจะตัดสินใจผลิตสินคาเปนจํานวนเทาใด ผูผลิตเองจะตองทําการเปรียบเทียบตนทุนการผลิตกับรายรับที่คาดวาจะไดรับ ดังนั้นการศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับซัพพลายของสินคา จึงไดแกการศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีการผลิต ตนทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต แตในบทนี้จะกลาวเฉพาะในเรื่องทฤษฎีการผลิตเทานั้น ทฤษฎีการผลิต (theory of production) เปนการศึกษาถึงความสัมพันธระหวางปจจัยตางๆที่ใชในการผลิตสินคา หรือเรียกวา input กับจํานวนผลผลิตหรือเรียกวา output และในเรื่องของการผลิตจะตองมีเรื่องของเทคนิคการผลิตเขามาเกี่ยวของ หรือจะตองมีการใชเทคโนโลยีตางๆในกระบวนการผลิตจึงจะไดรับผลประโยชนอยางเต็มท่ี

1. เทคโนโลยีและปจจัยการผลิต (Technology and Inputs)

เทคโนโลยีเปนสิ่งจําเปนท่ีสุดในกระบวนการผลิตของหนวยธุรกิจ (firm) เพราะในการผลิตท่ีเหมือนกันแตใชเทคโนโลยีท่ีแตกตางกันผลผลิตท่ีไดรับยอมแตกตางกัน

1.1 เทคโนโลยี (Technology)

เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการ ความรู ความสามารถ ท่ีจะนําไปประยุกตใชกับกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมหรือการผลิตในภาคการเกษตร เพื่อใหการผลิตนั้นมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึนและเปนการลดตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวยใหต่ําลง เทคโนโลยีจะมีขีดจํากัดตามจํานวนและชนิดของสินคาท่ีสามารถนําทรัพยากรท่ีกําหนดหรือปจจัยการผลิตท่ีกําหนดใหมาผลิตเปนสินคา

Page 192: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 170

1.2 ปจจัยการผลิต (Input or Factors of Production)

ปจจัยการผลิต หมายถึงสิ่งท่ีนํามาใชในการผลิตหรือใชประกอบการผลิตเพื่อใหเปนสินคาสําเร็จรูปและบริการตาง ๆ ในทางเศรษฐศาสตรไดแบงปจจัยการผลิตเบื้องตนออกเปน 4 ประเภทใหญๆ คือ ท่ีดิน (land) แรงงาน(labor) ทุน(capital) และผูประกอบการ(entrepreneur) กลาวคือ 1) ที่ดิน (Land) หมายถึงเนื้อท่ีท่ีใชในการเพาะปลูกหรือใชประกอบกิจการตางๆ เชนใชเปนท่ีตั้งของโรงงาน และยังรวมไปถึงสิ่งท่ีมีอยูในดินเชนแรธาตุ และทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ 2) แรงงาน (Labor) หมายถึง ผูท่ีนําพละกําลังและความคิดของตนไปใชทํากิจการตางๆ เพื่อใหเกิดสิ่งของที่เรียกวา เศรษฐทรัพย (economic goods) และการบริการตางๆที่เปนประโยชนท้ังแกตนเอง แกบุคคลอื่นและแกระบบเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากนี้แรงงานยังรวมไปถึงแนวความคิดของบุคคลตางๆที่ใชในการดําเนินการทางธุรกิจเชน เสมียน พนักงานบัญชี นักคํานวณ เปนตน 3) ทุน (Capital) หมายถึง เครื่องไมเครื่องมือตางๆ และเงินทุนซึ่งใชในการซื้อหาปจจัยการผลิตอื่นๆ ทุนอาจแบงออกเปน 2 ชนิดใหญๆ คือ ทุนที่อยูในรูปของเครื่องมือ เครื่องจักร (capital goods) และทุนที่อยูในรูปของเงินทุน (money capital) (1) ทุนที่อยูในรูปของเครื่องมือ เครื่องจักร (capital goods) หมายถึง เครื่องจักรกลและเครื่องมือตาง ๆ ท่ีสรางขึ้นเพื่อใชในกระบวนการผลิตสินคาและบริการ (2) ทุนที่อยูในรูปของเงินทุน (money capital) หมายถึง จํานวนเงินทุนที่ผูผลิตแตละรายมีไวสําหรับนําไปซื้อหรือหรือจัดหาหรือสรางปจจัยการผลิตอื่นๆขึ้นมาเพื่อใชในกระบวนการผลิตสินคาและบริการ

4) ผูประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง ผูท่ีดําเนินการหรือผูท่ีจัดใหมีการผลิตโดยการนําเอาปจจัยการผลิตชนิดตาง ๆ มารวมกันเพื่อผลิตเปนสินคาสําเร็จรูปหรือบริการใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพการผลิตมากที่สุด

1.3 การผลิต (Production)

การผลิต หมายถึง การนําเอาปจจัยการผลิต (inputs) มาปรับเปลี่ยนหรือแปรสภาพใหเปนสินคาสําเร็จรูป (finished products) ซึ่งอาจเปนสินคาสําเร็จรูป 1 ชนิด หรือหลายชนิดก็ได โดยที่ผูผลิตมุงหวังใหตนไดรับประโยชนหรือไดรับกําไรสูงสุด (maximize profit) และพยายามใหเสียตนทุนการผลิตต่ําท่ีสุด (minimize cost)

Page 193: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 171

2. ความหมายของระยะสั้นและระยะยาว (Short-run and Long-run)

ในทางเศรษฐศาสตรจะแบงระยะสั้นและระยะยาวโดยยึดถือเอาระยะเวลาที่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงปจจัยการผลิตทุกชนิดใหเปนปจจัยผันแปรเปนหลัก ไดดังนี้คือ 1) ระยะสั้น (Short-run) หมายถึง ระยะเวลาที่ผูผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงปริมาณผลผลิตของสินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยการเปลี่ยนแปลงปจจัยการผลิตชนิดท่ีเรียกวาปจจัยการผลิตผันแปรได (variable factors) แตไมอาจจะเปลี่ยนแปลงปจจัยการผลิตชนิดคงที่ได (fixed factors) 2) ระยะยาว (Long-run) หมายถึง ระยะเวลาที่นานพอที่ผูผลิตจะสามารถเปลี่ยนแปลงปริมาณของผลผลิตโดยการเปลี่ยนแปลงปจจัยการผลิตทุกชนิดไดตลอดจนสามารถที่จะเขาหรือออกจากอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่งได หรือในระยะยาวนั้นผูผลิตจะมีเฉพาะปจจัยการผลิตชนิดผันแปร (variable factors) เทานั้น

3. ฟงกชั่นการผลิต (Production Function)

ฟงกชั่นการผลิต (Production Function) หมายถึง ความสัมพันธทางคณิตศาสตรท่ีบอกใหทราบวาปริมาณผลผลิตท่ีจะไดรับเกิดจากการใชปจจัยการผลิตชนิดใดบาง ฟงกช่ันการผลิตบอกใหทราบวาปริมาณผลผลิตท่ีคาดหวังเอาไวจะเปนเทาไร ถาหากผสมปจจัยการผลิตตามแบบความสัมพันธของฟงกช่ันการผลิตนั้น ๆ เชน

Q = f (X1, X2, X3, X4) ........................(1)

โดยที่ Q = ปริมาณผลผลิตขาว X1 = ปุยเคมี, X2 = ท่ีดิน, X3 = แรงงาน, X4 = เทคโนโลยี จากฟงกช่ันการผลิต (1) จะเห็นไดวาผลผลิตข้ึนอยูกับปจจัยการผลิต X1 ถึง X4 ในทางปฏิบัติถาจะศึกษาปจจัยการผลิตพรอมกันทั้งหมดจะกอใหเกิดปญหาความยุงยาก ดังนั้นเพื่อใหงายและสะดวกจึงจะศึกษาปจจัยผันแปรเพียงตัวเดียว (X1) โดยกําหนดใหปจจัยอื่น ๆ คงที่ ซึ่งสามารถเขียนฟงกช่ันไดใหมดังนี้

Q = f (X1) หรือ Q = f (X1| X2, X3, X4) .......................(2)

Page 194: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 172

จากฟงกช่ันการผลิต (2) เปนการศึกษาวาปุยเคมีมีบทบาทอยางไรตอผลผลิตขาว(Q) โดยที่ปุย (X1) เปนปจจัยผันแปรที่ใสเขาไปในกระบวนการผลิตขาว การตอบสนองตอผลผลิตจะเปนอยางไร จะสามารถทราบไดจากความสัมพันธของฟงกช่ันการผลิต ท้ังนี้โดยกําหนดใหปจจัย X2, X3 และ X4 คงที่อยู ณ ระดับหนึ่ง อยางไรก็ตามฟงกช่ันการผลิตโดยทั่วไปสามารถที่จะแบงออกเปน 3 ชนิดดวยกัน คือ (1) ฟงกช่ันการผลิตคงที่ (constant returns function) (2) ฟงกช่ันการผลิตเพิ่มข้ึน (increasing returns function) และ (3) ฟงกช่ันการผลิตลดลง (decreasing returns function)

3.1 ฟงกชั่นการผลิตคงที่ (Constant Returns Function)

จากตัวอยางฟงกช่ันการผลิตขาว Q = f (X1| X2, X3, X4) สมมติวาความสัมพันธท่ีไดมีลักษณะเปนสมการเสนตรง สมการที่ไดเปนดังนี้

Q = a + bX1 ........................(3)

โดยท่ี Q = ผลผลิตขาว , X1 = ปุย ความสัมพันธตามสมการที่ (3) เปนลักษณะเสนตรงมีความลาดชัน (slope) คงที่ตลอดทั้งเสน ซึ่งแสดงถึงผลตอบแทนคงที่ทุก ๆ ระดับการใชปจจัยผันแปรที่เพิ่มเขาไปในกระบวนการผลิตทีละ 1 หนวย

Q

X1 O

Q = a + bX1

รูปท่ี 9.1 แสดงฟงกช่ันการผลิตคงที่

Page 195: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 173

3.2 ฟงกชั่นการผลิตเพิ่มขึ้น (Increasing Returns Function)

ฟงกช่ันการผลิตชนิดนี้จะพบวาถาหากกําหนดใหปจจัยการผลิตอื่นคงที่ เมื่อผูผลิตเพิ่มปจจัยการผลิตผันแปร (variable inputs) เขาไปในกระบวนการผลิตแลวผลผลิตท่ีไดรับจะเพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ ในอัตราที่เพิ่มข้ึนซึ่งอัตราสวนเพิ่มของผลผลิตจะมากกวาอัตราการเพิ่มของปจจัยการผลิตท่ีใสเขาไป นั่นก็คือ ถาเพิ่มปจจัยการผลิตผันแปรขึ้นหนึ่งหนวยจะทําใหผลผลิต(output)ท่ีไดรับเพิ่มมากกวาหนึ่งหนวย และถาเพิ่มปจจัยการผลิตผันแปรไปเรื่อย ๆ ผลผลิตท่ีไดรับก็ยิ่งเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ ซึ่งเราเรียกฟงกช่ันการผลิตประเภทนี้วา "ฟงกช่ันการผลิตเพิ่มข้ึน" สิ่งท่ีบอกวาฟงกช่ันเปนฟงกช่ันเพิ่มข้ึนก็คือ ความชัน (slope) ของเสนฟงกช่ันการผลิตท่ีมีคาเพิ่มข้ึน นั่นเอง 3.3 ฟงกชั่นลด (Decreasing Returns Function)

ลักษณะฟงกช่ันลดลง ก็คือ ถาเพิ่มปจจัยการผลิตผันแปร (X1) เขาไปในกระบวนการผลิตจะทําใหผลผลิต(output)ท่ีไดรับเพิ่มข้ึนในอัตราลดลง หรือเรียกวาการลดนอยถอยลง (diminishing) ซึ่งอัตราการเพิ่มข้ึนของผลผลิตจะนอยกวาอัตราการเพิ่มข้ึนของปจจัยการผลิตผันแปร และฟงกช่ันการผลิตดังกลาวจะพบมากในกระบวนการผลิตทางการเกษตร ดังรูป 9.3

X1

Q = f (X1)

O

Q

รูปท่ี 9.2 แสดงฟงกช่ันการผลิตเพิ่มขึ้น

Page 196: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 174

4. การผลิตในระยะสั้น (Short - run Production)

การผลิตในระยะสั้นจะเปนการศึกษากระบวนการผลิตท่ีผูผลิตใชปจจัยการผลิตชนิดคงที่ (fixed factors) รวมกับปจจัยการผลิตชนิดผันแปร (variable factors) เพื่อผลิตเปนสินคาและบริการ ซึ่งการอธิบายการผลิตระยะสั้นจะประกอบดัวย (1) ความหมายและความสัมพันธของผลผลิตชนิดตาง ๆ (2) การแบงชวงของการผลิต (3) กฎแหงการลดนอยถอยลงของผลผลิตเพิ่มหนวยสุดทาย (4) กฎวาดวยผลผลิตท่ีไดจากการใชปจจัยการผลิตท่ีไมไดสัดสวนกัน

4.1 ความหมายของผลผลิตชนิดตาง ๆ (Meaning of Output)

การพิจารณาผลผลิตท่ีไดจากกระบวนการผลิตสวนใหญจะพิจารณาผลผลิต 3 รูปแบบดวยกันกลาวคือ

1) ผลผลิตรวม (Total Product : TP) หมายถึง ผลผลิตรวมทั้งหมดที่ไดรับจากการใชปจจัยการผลิตคงที่รวมกับปจจัยการผลิตผันแปรจํานวนหนึ่ง หรือผลผลิตรวมสามารถหาไดจากผลรวมของผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย ซึ่งสามารถหาความสัมพันธระหวาง TP กับ MP ไดดังนี้

TP MP= ∑

Q = f (X1)

X1

Q

O รูปท่ี 9.3 แสดงฟงกช่ันการผลิตลดลง

Page 197: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 175

2) ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product : AP) หมายถึง อัตราสวนของผลผลิตรวมทั้งหมดตอปริมาณการใชปจจัยการผลิตผันแปร หรือก็คือ ผลผลิตรวม (TP) หารดวยจํานวนของปจจัยการผลิต ผันแปร (X)

APTPX

=

3) ผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (Marginal Product : MP) หมายถึง ผลผลิตท่ีไดรับเพิ่มข้ึนอันเนื่องมาจากการเพิ่มข้ึนของปจจัยการผลิตผันแปร 1 หนวย หรือหมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตรวมทั้งหมดตออัตราการเปลี่ยนแปลงของปจจัยการผลิตผันแปร หรือหมายถึงความชัน(slope)ของเสนผลผลิตรวม (TP) หากสามารถหาฟงกช่ันของเสนผลผลิตรวมได

MPTPX

dTPdX

= =ΔΔ

4.2 ความสัมพันธของผลผลิตชนิดตางๆ และการแบงชวงของการผลิต (Relationship of Output and Stage of Production)

การใสปจจัยการผลิตชนิดตางๆเขาไปในกระบวนการผลิตยอมกอใหเกิดผลผลิตออกมาซึ่งผลผลิตท่ีไดสามารถที่จะพิจารณาออกเปนผลผลิตรวม (total product : TP) ผลผลิตเฉลี่ย (average product : AP) และผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal product : MP)

เมื่อกําหนดให Y เปนปจจัยการผลิตคงที่ และ X เปนปจจัยการผลิตผันแปร ในกระบวนการผลิตเมื่อเพิ่มปจจัยการผลผลิตผันแปรทีละหนวยใหทํางานรวมกับปจจัยการผลิตคงที่จะมีผลทําใหผลผลิตรวม(TP)เพิ่มมากขึ้น จากนั้นก็สามารถหาผลผลิตเฉลี่ย (AP) ผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MP)ได และความสัมพันธระหวางผลผลิตในรูปแบบตางๆเปนดังตารางที่ 9.1

Page 198: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 176

ตารางที่ 9.1 แสดงการเปลี่ยนแปลงของจํานวนผลผลิตเมื่อใชปจจัยผันแปรใหทํางานรวมกับปจจัยคงที่

Y (1)

X (2)

TP (3)

AP (4)

MP (5)

5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

10

0 50

155 290 410 500 570 620 650 650 620

- 50.00 77.50 96.67

102.50 100.00

95.00 88.57 81.25 72.22 62.00

- 50

105 135 120

90 70 50 30

0 -30

จากความสัมพันธระหวางผลผลิตรวม (TP) ผลผลิตเฉลี่ย (AP) และผลผลิตเพิ่มหนวยสุดทาย(MP) โดยท่ัวไปแลวสามารถที่จะแบงชวงของการผลิตออกเปน 3 ชวงดวยกัน ดังรูปท่ี 9.4

-100

0

100

200

300

400

500

600

700

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11X

TP,AP,MP

รูปท่ี 9.4 แสดงการแบงชวงการผลิต

MP

AP

TP

ชวงที ่I ชวงที่ II ชวงที่ III

E

H F

J

G

C

ชวงที่ 1

ชวงที่ 2

ชวงที่ 3

Page 199: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 177

จากรูปที่ 9.4 เปนการแสดงการแบงชวงการผลิต เมื่อมีการใชปจจัยการผลิตผันแปรรวมกับปจจัยการผลิตคงที่ ซึ่งสามารถแบงชวงการผลิตออกไดเปน 3 ชวงดวยกัน ตารางที่ 9.2 แสดงความสัมพันธระหวางคาของ TP, MP และ AP

TP MP AP รูปที่ 9.4

ชวงที่ 1 (Stage I) TP เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในอัตราที่เพิ่มขึ้น TP เพิ่มขึ้นแตเพิ่มในอัตราที่ลดลง (diminishing rate)

ชวงที่ 2 (Stage II) TP เพิ่มขึ้นตอไป แตเพิ่มขึ้นในอัตราลด TP ถึงจุดสูงสุดที่จุด G

ชวงที่ 3 (Stage III) TP ลดลง

MP เพิ่มขึ้น MP ถึงจุดสูงสุดที่(H) และเริ่มลดลง

MP ลดลงตอไป เรื่อย ๆแตมีคามาก กวาศูนย MP = 0 ที่จุด C

MP ติดลบ

AP เพิ่มขึ้น AP เพิ่มขึ้นตอไป

AP ถึงจุดสูงสุด และมีคา = MP AP ลดลงตอไป

AP ลดลงตอไป

จุด E จุด E และจุด H

จุด F และจุด J จุด G และ C

เริ่มตั้งแตจุด C เปนตนไป

ชวงที่ 1 เริ่มตั้งแตการใชปจจัยการผลิตผันแปรหนวยท่ี 1 จนถึงการใชปจจัยผันแปรหนวยท่ีมีคาของผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด ซึ่งในชวงนี้จะเห็นวาคา MP จะมากกวาคา AP และเปนชวงท่ีคา AP เพิ่มสูงข้ึน เรื่อย ๆ ในชวงท่ี 1 นี้จะเปนชวงท่ีผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MP) ยังมีคามากกวาศูนย ดังนั้นการขยายการผลิตยังมีตอไปซึ่งจะทําใหผูผลิตไดรับกําไรเพิ่มข้ึนอีก ชวงที่ 2 เริ่มจากจุดสิ้นสุดของชวงท่ี 1 ซึ่งเปนจุดท่ี AP มีคาสูงสุดและเทากับ MP พอดีไปจนถึงจุดท่ี MP มีคาเทากับศูนย หรือเปนจุดท่ีคา TP สูงสุด ชวงการผลิตดังกลาวนี้จะเปนชวงท่ีมีการลดนอยถอยลงของผลได (diminishing returns) เกิดข้ึนตลอดทั้งชวงในชวงท่ี 2 นี้และคา AP จะมากกวาคา MP โดยปกติผูผลิตจะทําการผลิต ณ ระดับใดระดับหนึ่งท่ีอยูในชวงท่ี 2 นี้ แตเราไมสามารถบอกไดวาผูผลิต จะทําการผลิต ณ ระดับใดกันแน จนกวาจะทราบตนทุนและรายรับที่ไดจากการผลิตเสียกอน

Page 200: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 178

ชวงที่ 3 เริ่มจากจุดท่ีคา MP เทากับศูนยเปนตนไป ชวงท่ี 3 นี้จะเปนชวงท่ีจํานวนผลผลิตรวมลดลงและคา MP จะติดลบ ตามปกติผูผลิตไมควรจะขยายการผลิตจนเขาไปอยูในชวงท่ี 3 เพราะวาในชวงท่ี 3 นี้ หากผูผลิตยังคงขยายการผลิตตอไปจะตองใชปจจัยการผลิตผันแปรเพิ่มมากขึ้นซึ่งหมายถึงตนทุนการผลิตท่ีเพิ่มข้ึน ในขณะที่ปจจัยการผลิตผันแปรที่เพิ่มข้ึนเหลานี้ไมไดกอใหผลผลิตเพิ่มข้ึนตามเลยในทางกลับกันยังมีผลทําใหปริมาณผลผลิตรวมลดลงอีกดวย 4.3 กฎวาดวยการใชปจจัยการผลิตที่ไมไดสัดสวนกัน (Law of Variable Proportions)

กฎวาดวยการใชปจจัยการผลิตท่ีไมไดสัดสวนกัน (law of variable proportions) เปนการอธิบายถึงผลผลิตรวมที่ไดรับจากการใชปจจัยการผลิตปจจัยผันแปรรวมกับปจจัยการผลิตคงที่ ซึ่งกฎนี้อธิบายวา " การเปลี่ยนแปลงของจํานวนผลผลิตรวมเกิดจากการเพิ่มปจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่งเพียงชนิดเดียวทีละ 1 หนวยใหทํางานรวมกับปจจัยการผลิตชนิดอื่น ๆ ซ่ึงคงที่โดยสมมติวาเทคนิคการผลิตไมเปลี่ยนแปลง " กฎดังกลาวนี้จะครอบคลุมกระบวนการผลิตท่ีดําเนินไปในทุก ๆ ชวงของการผลิตดังปรากฏรายละเอียดตามตัวเลขในตารางที่ 9.1

4.4 กฎแหงการลดนอยถอยลงของผลผลิตสวนเพ่ิมหนวยสุดทาย (Law of Diminishing Marginal Physical Returns)

กฎนี้กลาวไววา "เมื่อเพ่ิมจํานวนของปจจัยการผลิตชนิดหนึ่งขึ้นเรื่อย ๆ ทีละ 1 หนวยในขณะที่ปจจัยอื่น ๆ อยูคงที่จะปรากฏวาผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal product) ที่ไดรับมีจํานวนลดลงเรื่อย ๆ จนถึงศูนย" กฎแหงการลดนอยถอยลงของผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย มีสาเหตุเนื่องมาจากการใชปจจัยการผลิตในสัดสวนที่ไมเหมาะสม เนื่องจากกฎวาดวยการใชปจจัยการผลิตท่ีไมไดสัดสวน (law of variable proportions) ครอบคลุมการผลิตในทุก ๆ ชวงตั้งแตปจจัยการผลิตผันแปรเริ่มจากศูนยเปนตนไป สวนกฎการลดนอยถอยลงของผลผลิตเพิ่มหนวยสุดทาย (law of diminishing returns) จะครอบคลุมเฉพาะชวงการผลิตนับจากการใชปจจัยการผลิตผันแปรตั้งแตหนวยท่ีทําใหคา MP ลดลงเปนตนไปจนถึงจุดท่ี MP เทากับศูนย ดังนั้นกฎแหงการลดนอยถอยลงจึงเปนสวนหนึ่งของกฎวาดวยการใชปจจัยการผลิตท่ีไมไดสัดสวน

Page 201: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 179

5. การผลิตในระยะยาว (Long - run Production)

การผลิตในระยะยาวเปนการศึกษากระบวนการผลิตของผูผลิตท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงปจจัยการผลิตทุกชนิดได ซึ่งในระยะยาวจะเปนการศึกษาการผลิตวาผูผลิตควรจะทําการผลิตในปริมาณเทาใดจึงจะเหมาะสม ดังนั้นการศึกษาในระยะยาวนี้จะประกอบดวย (1) เสนผลผลิตเทากันและเสนตนทุนเทากัน (2) การใชสวนผสมของปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสม (3) เสนแนวขยายการผลิต (4) กฎของผลไดตอการขยายขนาดของการผลิต และ (5) การประหยัดและการไมประหยัดจากการขยายขนาดการผลิต

5.1 เสนผลผลิตเทากันและเสนตนทุนเทากัน (Isoquant - Isocost of Production)

การผลิตในระยะสั้นที่อธิบายผานมาแลวนั้นเปนการอธิบายดวยวิธีการแบบดั้งเดิม (traditional approach) ซึ่งเปนการอธิบายโดยสมมติตัวเลขปริมาณผลผลิตตางๆขึ้นมา สวนในการอธิบายการผลิตในระยะยาวตอไปนี้จะเปนการอธิบายดวยวิธีการท่ีใหมกวา (newer approach) ซึ่งเครื่องมือท่ีจะใชในการวิเคราะหเหมือนกับเครื่องมือการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภคโดยที่เครื่องมือท่ีถูกนํามาใชในการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภคก็คือเสนความพอใจเทากัน (indifference curve) และเสนราคา (price line) หรือเสนงบประมาณ (budget line) แตในทฤษฎีการผลิต เราจะเรียกชื่อเสนเหลานี้ใหมวา เสนผลผลิตเทากัน (isoquant) และเสนตนทุนเทากัน (isocost) แมจะเรียกชื่อตางกันและใชในการวิเคราะหเรื่องตางกัน แตวิธีการวิเคราะหไมไดแตกตางกันทั้งนี้เพราะทั้งผูบริโภคและผูผลิตตางก็มีเปาหมายทํานองเดียวกัน กลาวคือ ผูบริโภคตองการไดรับความพอใจสูงสุดในการบริโภคสินคาจากรายไดท่ีมีอยูอยางจํากัด สวนผูผลิตตองการไดรับกําไรสูงสุดจากการใชปจจัยการผลิตหรือตนทุนการผลิตจํานวนหนึ่งท่ีกําหนดให

5.1.1 เสนผลผลิตเทากัน (Isoquant Curve : IQ)

เสนผลผลิตเทากัน คือ เสนที่แสดงถึงการใชปจจัยการผลิตตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปเพื่อผสมใน

สัดสวนตาง ๆ กันแลวใหผลผลิตออกมาเทากัน เชน การใชปจจัยแรงงานกับทุนซึ่งเมื่อเพิ่มปจจัยการผลิตท่ีเปนทุนมากขึ้นก็จะใชปจจัยแรงงานลดลงเพื่อใหผลผลิตยังคงเทาเดิม ดังตารางที่ 9.3

Page 202: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 180

ตารางที่ 9.3 แสดงสัดสวนตางๆ ของปจจัยการผลิต 2 ชนิดท่ีใหผลผลิตเทากัน 100 หนวย

แผนการใชปจจัยการผลิต ปจจัยเครื่องจักร : X

(เครื่อง) ปจจัยแรงงาน : Y

(คน)

a b c d e f

0 1 2 3 4 5

23 15 9 5 2 0

จากขอมูลในตารางที่ 9.3 สามารถนํามาสรางเสน Isoquant ไดดังนี้

0

5

10

15

20

25

0 1 2 3 4 5

รูปที่ 9.5 แสดงความสัมพันธของปจจัยการผลิตบนเสน Isoquant

จากรูปที่ 9.5 ในการผลิตสินคาจํานวน 100 หนวย ณ จุด a จะใชแรงงานเพียงอยางเดียวจํานวน 23 คน โดยไมไดใชเครื่องจักรเลย สวนจุด b จะใชแรงงานลดลงเหลือ 15 คน ในขณะเดียวกันก็เริ่มใชเครื่องจักร 1 เครื่อง สวนจุด c, d และ e ก็เชนเดียวกันมีการลดการใชจํานวนแรงงานลง และก็เพิ่ม

a

b

c

d e

f

ปจจัย Y

ปจจัย X

IQ = 100

Page 203: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 181

การใชจํานวนเครื่องจักรเพิ่มข้ึน และในจุด f มีการใชเครื่องจักรเพียงอยางเดียวจํานวน 5 เครื่องโดยไมใชแรงงานเลย เสน IQ สวนมากเปนเสนโคงเวาเขาหาจุดกําเนิด (convex to the origin) และลาดต่ําลงจากซายไปขวาซึ่งแสดงวาปจจัยการผลิต 2 ชนิดใชแทนกันไดไมสมบูรณ (ถาใชแทนกันไดสมบูรณเสน IQ จะเปนเสนตรง ถาใชทดแทนกันไมไดเลยเสน IQ จะเปนเสนหักขอศอกที่ขนานกับแกนตั้ง แลวหักไปขนานกับแกนนอน) และอัตราการทดแทนทางเทคนิคหนวยสุดทาย (marginal rate of technical substitution) จะลดลงเรื่อย ๆ

เสน IQ แตละเสนจะตัดกันไมได และเสน IQ ท่ีอยูเหนือกวาจะใชปริมาณปจจัยการผลิตท่ีมากกวา และไดผลผลิตในปริมาณที่มากกวาเสมอ ตามรูปที่ 9.6 จะเห็นวาเสน IQ1 อยูต่ําสุดแทนจํานวนผลผลิต 100 หนวย เสน IQ2 ท่ีอยูถัดข้ึนไปแทนจํานวนผลผลิต 200 หนวย และเสน IQ3 สูงสุดแทนจํานวนผลผลิต 300 หนวย คุณสมบัติของเสน IQ จะคลายกับคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน (IC) ในทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค แตจะแตกตางกันตรงที่เสน IQ จะแสดงถึงการใชปจจัยการผลิต X กับปจจัย Y ในสัดสวนตางๆกันแลวใหผลผลิตเทากัน แตเสน IC แสดงถึงการบริโภคสินคา X และสินคา Y ในสัดสวนตางๆกันแลวทําใหผูบริโภคไดรับความพอใจคงเดิม

O

IQ3 = 300

IQ2 = 200

IQ1 = 100 ปจจัย X

ปจจัย Y

รูปท่ี 9.6 แสดงแผนภาพของเสนผลผลิตเทากัน

Page 204: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 182

5.1.2 อัตราการทดแทนทางเทคนิคหนวยสุดทาย (Marginal Rate of Technical Substitution : MRTS)

อัตราการทดแทนทางเทคนิคหนวยสุดทาย (MRTS) หมายถึง จํานวนปจจัยการผลิตชนิด

หนึ่งที่ลดลงในขณะที่ปจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หนวย โดยที่จํานวนผลผลิตคงเดิมไม

เปลี่ยนแปลง

จากเสน Isoquant ในรูปที่ 9.7 แสดงผลผลิตเทากับ 100 หนวย ถาผูผลิตเปลี่ยนแปลงอัตราสวนผสมของการใชปจจัยการผลิต X และ Y จากจุด A มาเปนจุด B อัตราเพิ่มในการใชปจจัยการผลิต X แทนปจจัยการผลิต Y (ลด Y เพิ่ม X) จะมีคาเทากับความชันของเสน Isoquant ตรงชวง AB นั่นคือ

MRTS xyY

X=−ΔΔ

แนวคิดเกี่ยวกับอัตราการทดแทนทางเทคนิคหนวยสุดทาย (MRTS) ในทฤษฎีการผลิตนี้มีลักษณะเหมือนกับแนวคิดเกี่ยวกับอัตราสวนเพิ่มหนวยสุดทายของการทดแทนกันของสินคา 2 ชนิด(MRS) ในทฤษฎีวาดวยพฤติกรรมผูบริโภค

ปจจัย Y

ΔY B

A

IQ ΔX

ปจจัย X Oรูปท่ี 9.7 แสดงการเปลี่ยนอัตราสวนผสมของการใชปจจัยการผลิต

Page 205: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 183

ในทางกลับกัน ถาหากผูผลิตจะเปลี่ยนอัตราสวนผสมในการใชปจจัยการผลิต X และ Y จากจุด B มาเปนจุด A อัตราการเพิ่มของการใชปจจัยการผลิต Y แทน X (ลด X เพิ่ม Y) จะสามารถหาคาได ดังนี้คือ

MRTS yxX

Y=−ΔΔ

แตเนื่องจากคาของ MRTS จะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อใชปจจัยหนึ่งแทนปจจัยการผลิตอีกอยางหนึ่งมากขึ้นตามลําดับ ดังนั้นเราจึงเรียกลักษณะดังกลาวนี้วา การลดนอยถอยลงของอัตราการทดแทนทางเทคนิคหนวยสุดทาย (diminishing marginal rate of technical substitution) อนึ่งคา MRTS มีความสัมพันธอยางใกลชิดกับคา marginal physical product (MP) ของปจจัยการผลิตท้ังสอง ซึ่งอาจแสดงโดยวิธีแคลคูลัสอยางงาย ๆ ดังนี้ สมมติ ฟงกช่ันการผลิต ( )TP TP Y X= ,

dTPTPY

dyTPX

dx= +∂

การยายจากจุดหนี่งไปยังอีกจุดหนึ่งบนเสน Isoquant เดียวกันยังคงทําใหผลผลิตอยูในระดับเดิม นั่นคือ dTP = 0 ดังนั้น

− =∂

TPY

dyTPX

dx ........................(4)

ยาย terms ใน (4) จะได MRTS xydydx

MPxMPy

= = − เทากับความชันของเสน IQ

เมื่อกําหนดให

MPY คือผลผลิตเพิ่มจากการใชปจจัยการผลิต Y เพิ่มข้ึน 1 หนวย =∂

TPY

MPX คือผลผลิตเพิ่มจากการใชปจจัยการผลิต X เพิ่มข้ึน 1 หนวย =∂

TPX

Page 206: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 184

5.1.3 เสนตนทุนเทากัน (Isocost Curve : IC)

เสนตนทุนเทากัน (IC) หมายถึง เสนที่แสดงใหทราบถึงจํานวนตาง ๆ ของปจจัยการผลิต

2 ชนิดที่หาซื้อไดดวยตนทุนการผลิตจํานวนหนึ่งที่กําหนดใหและระดับราคาของปจจัยการผลิต

ขณะนั้น ลักษณะของเสนตนทุนเทากัน (IC) มีลักษณะคลายกับเสนงบประมาณหรือเสนราคา (budget line or price line) ในทฤษฎีวาดวยพฤติกรรมของผูบริโภค แตความหมายจะแตกตางกัน กลาวคือ เสนตนทุนเทากันจะแสดงถึงจํานวนของปจจัยการผลิต 2 ชนิดท่ีผูผลิตสามารถซื้อไดดวยตนทุนจํานวนหนึ่ง แตเสนงบประมาณหรือเสนราคาจะแสดงถึงจํานวนสินคา 2 ชนิดท่ีสามารถหาซื้อไดดวยงบประมาณจํานวนหนึ่ง นั่นคือแตกตางกันตรงที่มองในรูปของปจจัยการผลิตกับมองในรูปของสินคา

จากรูปที่ 9.8 สมมติให ผูผลิตมีตนทุนการผลิตเทากับ 100 บาท ในการผลิตสินคาชนิดหนึ่ง จากการใชปจจัยการผลิต 2 ชนิด คือปจจัย X และปจจัย Y โดยที่ราคาของปจจัย X หนวยละ 20 บาทและราคาของปจจัย Y หนวยละ 10 บาท ถาผูผลิตไมใชปจจัย X เลยและใชเพียงปจจัย Y อยางเดียว ผูผลิตจะใชปจจัย Y เทากับ 10 หนวย หรืออยูท่ีจุด A แตถาผูผลิตไมใชปจจัย Y เลยใชเพียงแตปจจัย X

B

10

4

ปจจัย Y

A

ปจจัย X C

0 3 5

รูปท่ี 9.8 แสดงเสนตนทุนเทากัน

Page 207: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 185

อยางเดียว ผูผลิตจะใชปจจัย X เทากับ 5 หนวย หรืออยูท่ีจุด C แตถาผูผลิตจะผลิตสินคาโดยใชปจจัยการผลิตท้ังสองพรอมกัน สมมติผูผลิตเลือกผสมปจจัยการผลิตท่ีจุด B ผูผลิตจะใชปจจัย X เทากับ 3 หนวย และใชปจจัย Y เทากับ 4 หนวย ซึ่งเปนตนทุนทั้งหมดเทากับ 100 บาทพอดี นั่นคือ

TC = X(PX) + Y(PY) 100 = 3(20) + 4(10) โดยท่ี TC = ตนทุนรวม (total cost) X = จํานวนปจจัยการผลิต X PX = ราคาของปจจัยการผลิต X Y = จํานวนปจจัยการผลิต Y PY = ราคาของปจจัยการผลิต Y ความชันของเสนตนทุนเทากันจะแสดงถึงอัตราสวนราคาของปจจัยการผลิตท้ังสองชนิด นั่นคือ

ความชันของเสนตนทุนเทากัน = − = − × = −TC PyTC Px

TCPy

PxTC

PxPy

พิจารณาจากรูปที่ 9.9 สมมติใหเดิมทีเสนตนทุนการผลิตเทากันคือเสน (TC/PY)(TC/PX) เสนตนทุนการผลิตเทากันสามารถที่จะเคลื่อนยายไปจากเสนเดิมโดยที่ยังขนานกับเสนเดิมอยูซึ่งอาจจะเปนไปในทิศทางที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงได กลาวคือหากเสนตนทุนการผลิตเทากันเคลื่อนยายไปทางดานขวาและขนานกับเสนเดิมไปเปนเสน (TC/P"Y)(TC/P"X) อาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจากผูผลิตมีเงินทุนเพื่อการผลิตเพิ่มข้ึนในขณะที่ราคาปจจัยการผลิตท้ังสองคงเดิม หรือราคาตอหนวยของปจจัยการผลิตท้ังสองลดลงในสัดสวนเดียวกันในขณะที่ผูผลิตมีเงินทุนคงที่ ในทางตรงกันขามหากเสนตนทุนเทากันลดลงโดยเคลื่อนยายไปทางซายและขนานกับเสนเดิมไปเปนเสน (TC/P'Y)(TC/P'X) อาจจะมีสาเหตุเนื่องมาจากราคาตอหนวยของปจจัยการผลิตท้ังสองเพิ่มข้ึนในสัดสวนเดียวกันในขณะที่ผูผลิตมีเงินลงทุนคงที่ หรืออาจจะเนื่องมาจากสาเหตุท่ีผูผลิตมีเงินลงทุนลดลงในขณะที่ราคาของปจจัยการผลิตท้ังสองยังคงเดิมอยู

Page 208: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 186

O ปจจัย X

ปจจัย Y

TC/PY'

TC/PY

TC/PY"

TC/P'X TC/PX TC/P"X

TC/PY"

ปจจัย X ปจจัย X O TC/PX' TC/PX TC/PX" O TC/PX

ปจจัย Y ปจจัย Y

TC/PY

TC/PY

TC/PY'

รูปท่ี 9.9 แสดงการยายเสนตนทุนเทากัน กรณีราคาของปจจัยการผลิต ทั้งสองเปลี่ยนแปลงในสัดสวนเดียวกัน

รูปท่ี 9.10 แสดงการยายเสนตนทุนเทากันกรณีที่ราคาปจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลง

(ก) (ข)

Page 209: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 187

จากรูป (ก) ตอนแรกกําหนดใหราคาปจจัย Y และ X คงที่อยูท่ี PY และ PX ตามลําดับ เสนตนทุนเทากันเดิมคือเสน (TC/PY)(TC/PX) ตอมาสมมติวาราคาของปจจัย X เพิ่มข้ึนเปน P'X เสนตนทุนเทากันจะเคลื่อนยายไปเปนเสน (TC/PY)(TC/P'X) หรือถาสมมติใหราคาของปจจัย X ลดลงเปน P"X

เสนตนทุนเทากันก็คือเสน (TC/PY)(TC/P"X) รูป (ข) กรณีท่ีราคาของปจจัย Y เปลี่ยนแปลงโดยที่ราคาปจจัย X คงที่อยูท่ี PX สมมติใหตอนแรกราคาปจจัย X และ Y คือ PX และ PY ตามลําดับ เสนตนทุนเทากันเดิมคือ (TC/PY)(TC/PX) ตอมาสมมติใหราคาปจจัย Y เพิ่มข้ึนเปน P'Y เสนตนทุนเทากันก็จะเคลื่อนยายไปเปนเสน (TC/P'Y)(TC/PX) หรือถาสมมติใหราคาปจจัย Y ลดลงเปน P"Y เสนตนทุนเทากันก็จะเคลื่อนยายไปเปนเสน (TC/P"Y)(TC/PX)

6.2 การใชสวนผสมของปจจัยการผลิตที่เหมาะสม (Optimum Input Combination)

จุดตาง ๆ บนเสน Isoquant เดียวกันจะใหผลผลิตเทากัน ผูผลิตจะเลือกผลิตตรงจุดไหนของเสนนี้ผูผลิตจะตองพิจารณาเงินทุนท่ีมีเพื่อการผลิต โดยทั่วไปแลวเงื่อนไขสวนผสมของปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสม จะกําหนดจากจุดท่ีเสนผลผลิตเทากันสัมผัสกับเสนตนทุนการผลิตเทากัน ณ จุดสัมผัสนี้คาความชันของเสน Isoquant จะเทากับคาความชันของเสน Isocost นั่นคือ

A

IQ

ปจจัย Y

TC/PY

Y1

X1 TC/PX ปจจัย X

O

รูปท่ี 9.11 แสดงการผสมปจจัยการผลิตที่เหมาะสม

Page 210: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 188

ความชันของเสน Isoquant = MRTS xyY

X

MPxMPy

=−

= −ΔΔ

ความชันของเสน Isocost = −PxPy

จุดดุลยภาพของผูผลิตคือจุดท่ี MRTSXY = − = −MPxMPy

PxPy

นั่นคือจุดท่ีเหมาะสมสําหรับการผลิตคือจุดท่ีอัตราการทดแทนทางเทคนิคหนวยสุดทายของปจจัย X กับปจจัย Y (MRTSXY) เทากับอัตราสวนของ MPX ตอ MPY และเทากับอัตราสวนราคาของปจจัย X ตอราคาของปจจัย Y ในการผสมปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสมอาจพิจารณาไดเปน 2 กรณี ดังนี้ 1) การผลิตท่ีเสียตนทุนต่ําสุดเมื่อกําหนดจํานวนผลผลิตมาให (minimize cost of production a given output) 2) การผลิตท่ีไดผลผลิตสูงสุดเมื่อกําหนดตนทุนรวมมาให (maximize output for a given total cost) 6.2.1 การผลิตที่เสียตนทุนต่ําสุดเมื่อกําหนดจํานวนผลผลิตมาให (Minimize Cost of Production a Given Output)

การผลิตท่ีเสียตนทุนต่ําท่ีสุดเมื่อกําหนดจํานวนผลผลิตมาให เปนการพิจารณาวาเมื่อกําหนดปริมาณผลผลิตหรือผูผลิตทราบจํานวนผลผลิตท่ีแนนอนแลว ผูผลิตจะใชปจจัยการผลิต X และปจจัย Y อยางไร จํานวนเทาใด จึงจะทําใหผูผลิตเสียตนทุนต่ําสุด ซึ่งในการพิจารณาประเด็นดังกลาวสามารถพิจารณาไดจากการพิสูจนทางแคลคูลัส และรูปกราฟ ดังนี้ การพิสูจนโดยใชวิธีแคลคูลัสจะเปนดังนี้ minimize TC PyY Px X= +

subject to ( )TP TP Y X= , เขียนใหอยูในรูปของ Lagrangian function: จะได

( ) ( )[ ]A PyY Px X TP Y X TP= + + −λ ,

Page 211: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 189

โดยที่ λ = Lagrange multiplier first order condition

∂= + =

AY

PyTPY

λ 0 .......................(5)

∂= + =

APx

TPX X

λ 0 .......................(6)

จาก (5) จะได PyTPY

MPy= − = −∂

∂λ λ .......................(7)

จาก (6) จะได PxTP

MPxX= − = −

∂λ λ .......................(8)

เอา (8) ÷(7) และคูณดวย -1 ท้ังสองขางจะได

− = − =PxPy

MPxMPy

MRTS xy หรือ MPxPx

MPyPy

=

ปจจัย Y

N •

A

ปจจัย X IQ = 500

O IC1 IC2 X1

Y1

รูปท่ี 9.12 แสดงการผสมปจจัยการผลิตที่เหมาะสม

M •

Page 212: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 190

จากรูปที่ 9.12 เมื่อกําหนดใหวาจะตองผลิตใหไดผลผลิตในระดับ IQ = 500 หนวย จากเงื่อนไขดุลยภาพของผูผลิตดังท่ีไดกลาวมาแลวนั้น แสดงวาผูผลิตจะเลือกผลิต ณ จุด A ซึ่งอยูบนเสนตนทุนการผลิตต่ําสุด IC1 และใชปจจัยการผลิต X และ Y จํานวน X1 และ Y1 หนวยตามลําดับ การใชปจจัยการผลิตท่ีแตกตางไปจากสัดสวนนี้เพื่อใหไดผลผลิตเทากับ 500 หนวยจะทําใหผูผลิตตองเสียคาใชจายในการผลิตสูงกวาจุด A เชน ท่ีจุด M และจุด N ผูผลิตจะตองเสียตนทุนเทากับ IC2 ซึ่งสูง

กวา โดยที่ IC2 > IC1 เปนตน นั่นคือ จุดผสมปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสมที่สุดหรือเรียกวาจุดดุลยภาพของผูผลิตคือจุดท่ีอัตราการทดแทนทางเทคนิคหนวยสุดทายของปจจัย X กับปจจัย Y (MRTSXY) เทากับอัตราสวนของ MPX ตอราคาของปจจัย X และเทากับอัตราสวนของ MPY ตอราคาของปจจัย Y หรือเปนจุดท่ีความชันของเสน IQ เทากับ ความชันของเสน IC

6.2.2 การผลิตที่ไดผลผลิตสูงสุดเมื่อกําหนดตนทุนรวม (Maximize Output for a Given Total Cost)

การผลิตเพื่อใหผลผลิตสูงสุดเมื่อกําหนดตนทุนรวมมาใหเปนการพิจารณาวาเมื่อผูผลิตมีตนทุนรวมจํากัด หรือมีเงินลงทุนจํานวนหนึ่งผูผลิตจะทําการผลิตอยางไร จะผสมปจจัยการผลิตในสัดสวนเทาใดจึงจะทําใหผูผลิตไดรับผลผลิตสูงสุด ซึ่งสามารถพิจารณาจากการพิสูจนทางแคลคูลัส และรูปกราฟ ดังนี้ การพิสูจนโดยใชวิธีแคลคูลัสจะเปนดังนี้ maximize ( )Q f Y X= , subject to TC PyY Px X= +

เขียนอยูในรูป Lagrangian function จะได

( )B f Y X PyY Px X TC= − + −⎛⎝⎜

⎞⎠⎟, λ

โดยท่ี λ = Lagrange multiplier first order condition

∂= − =

BY

fY

Pyλ 0 .......................(9)

Page 213: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 191

∂= − =

BX

fX

Pxλ 0 .......................(10)

จาก (9) จะได ∂

∂=

fY

Pyλ .......................(11)

จาก (10) จะได ∂

∂=

fX

Pxλ .......................(12)

เอา (12)÷(11) และคูณดวย -1 ท้ังสองขางก็จะได

− = −∂ ∂

∂ ∂

f Xf Y

PxPy

หรือ − = = −MPxMPy

MRTS xyPxPy

เมื่อ ∂f/∂X มีคาเทากับ MPX และ ∂f/∂Y มีคาเทากับ MPY

E •

B

IQ1

IQ2

ปจจัย X IC

ปจจัย Y

O

รูปท่ี 9.13 แสดงการผสมปจจัยการผลิตที่เหมาะสมกรณีกําหนดตนทุนรวมมาให

F •

X1

Y1

Page 214: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 192

จากรูปที่ 9.13 จุด B เปนจุดการผลิตท่ีเหมาะสมที่สุดซึ่งแสดงถึงการผสมปจจัย X และปจจัย Y ดวยตนทุนรวมคงที่ระดับหนึ่งแลวไดจํานวนผลผลิตสูงสุดหรือท่ีจุดเหมาะสมนี้ ความชันของเสน IC เทากับความชันของเสน IQ2 ซึ่งเปนระดับผลผลิตสูงสุดท่ีสามารถผลิตไดดวยตนทุนจํากัด(IC) สวนจุด E และจุด F บนเสน IC เดียวกันลวนใหผลผลิตต่ํากวาท่ีจุด B นั่นคือ จุดผสมปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสมที่สุด หรือเรียกวาจุดดุลยภาพของผูผลิตคือจุดท่ีอัตราการทดแทนทางเทคนิคหนวยสุดทายของปจจัย X กับปจจัย Y (MRTSXY) เทากับอัตราสวนของ MPX ตอราคาของปจจัย X และเทากับอัตราของ MPY ตอราคาของปจจัย Y หรือเปนจุดท่ีความชัน ของเสน IQ2 เทากับความชันของเสน IC จากทฤษฎีการผลิตนี้ แสดงใหเห็นวาผูผลิตจะผสมปจจัยการผลิตอยางไรเพื่อใหไดผลผลิตมากที่สุดเมื่อกําหนดตนทุนรวมมาให หรือจะผสมปจจัยการผลิตอยางไรเพื่อเสียตนทุนต่ําสุดเมื่อกําหนดผลผลิตรวมมาให แตยังไมอาจจะทราบไดวาผูผลิตจะผลิตใหไดผลผลิต ณ ระดับใด จึงจะไดรับกําไรสูงสุด ซึ่งการที่ผูผลิตจะไดรับกําไรสูงสุดนั้นจะตองพิจารณาคา marginal cost (MC) รวมกับคา marginal revenue (MR) เทานั้น

6.3 เสนแนวทางขยายการผลิต (The Expansion Path)

จากการผสมปจจัยการผลิตท่ีเหมาะสม ซึ่งพิจารณาจากการผลิตท่ีเสียตนทุนต่ําสุดเมื่อกําหนดจํานวนผลผลิตมาให หรือเปนการพิจารณาการผลิตท่ีไดผลผลิตสูงสุดเมื่อกําหนดตนทุนการผลิตมาให

ณ จุดท่ีเหมาะสมคาของ − = −MPxMPy

PxPy

หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ MPxPx

MPyPy

= จากรูปที่ 9.14

จุดดังกลาวเสน Isocost จะสัมผัสกับเสน Isoquant นั่นคือเสน IQ1, IQ2 และ IQ3 สัมผัสกับเสน IC1, IC2 และ IC3 ณ จุด E1, E2 และ E3 ตามลําดับ และเมื่อลากเสนเชื่อมจุด E1, E2 และ E3 จะไดเสนแนวทางขยายการผลิต (the expansion path)

Page 215: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 193

6.4 กฎของผลไดตอการขยายขนาดการผลิต (Law of Returns to Scale)

กฎของผลไดตอการขยายขนาดการผลิตนี้แตกตางจากกฎแหงการลดนอยถอยลงของผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย(law of diminishing marginal physical returns) กลาวคือ กฎแหงการลดนอยถอยลงของผลผลิตเพิ่มหนวยสุดทายนั้น เกิดข้ึนเนื่องจากการใชปจจัยการผลิตผันแปรชนิดหนึ่งใหทํางานรวมกับปจจัยการผลิตชนิดอื่น ๆ ซึ่งคงที่ และกฎดังกลาวนี้จะเกิดข้ึนไดเฉพาะในระยะสั้น (short - run period) เทานั้น สวนกฎของผลไดตอการขยายขนาดการผลิตนั้นจะเกิดข้ึนในระยะยาว (long -run period) กฎของผลไดตอการขยายขนาดการผลิตกลาววา "ในการผลิตสินคาใด ๆ เมื่อขยายขนาดของการผลิตโดย

การเพิ่มปริมาณของปจจัยการผลิตทุกชนิดเขาไปในสัดสวนเดียวกันแลว ในระยะแรกเมื่อการเพิ่มของ

ปจจัยการผลิตนั้นยังมีไมมาก ผลิตผลที่ไดรับจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกวาอัตราการเพิ่มขึ้นของปจจัย

การผลิต เมื่อเพ่ิมปจจัยการผลิตขึ้นไปอีกเร่ือยๆผลผลิตที่ไดรับจะเพ่ิมขึ้นไปอัตราลดลงจนทําใหผล

ผลิตที่ไดรับเพิ่มขึ้นในอัตราที่นอยกวาอัตราเพิ่มขึ้นของปจจัยการผลิต" กฎของผลไดตอขนาดจึงแสดงถึงความสัมพันธระหวางการเพิ่มข้ึนของปจจัยการผลิตกับการเพิ่มข้ึนของผลผลิต ซึ่งอาจแบงออกเปน 3 ระยะ ดังนี้

ปจจัย Y

Expansion Path

E1 • IQ2

IQ3

IQ1 ปจจัย X

O IC1 IC2 IC3

รูปที่ 9.14 แสดงเสนแนวทางขยายการผลิต

E2 •

E3 •

Page 216: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 194

6.4.1 ระยะที่ผลไดตอขนาดเพิ่มขึ้น (Increasing Returns to Scale)

เปนระยะที่เมื่อเพิ่มปจจัยการผลิตทุกชนิดเขาไปในกระบวนการผลิตแลวผลผลิตท่ีไดรับจะเพิ่มข้ึนในอัตราที่สูงกวาการเพิ่มของปจจัยการผลิต เชน ถาเพิ่มปจจัยการผลิตข้ึนไปรอยละ 10 ผลผลิตท่ีไดรับจะเพิ่มข้ึนมากกวารอยละ 10 เหตุผลท่ีผลไดเพิ่มข้ึนมากกวาการเพิ่มข้ึนของปจจัยการผลิตในระยะนี้ก็เพราะเมื่อปจจัยการผลิตท่ีใชยังมีไมมากนัก การขยายการผลิตโดยการเพิ่มปจจัยการผลิตเขาไปยอมทําใหสามารถใชปจจัยตางๆไดอยางเต็มท่ี กอใหเกิดความชํานาญงานเพราะสามารถใชปจจัยการผลิตแตละชนิดใหทํางานเฉพาะอยาง (specialization) แทนที่จะตองทําทุก ๆ อยาง ซึ่งอาจทําไดชาหรือมีประสิทธิภาพที่ดอยกวามาก นอกจากนี้การท่ีขยายกิจการใหใหญข้ึนสามารถใชเทคนิค เครื่องไมเครื่องมือท่ีทันสมัยคุมกับคาใชจายท่ีตองเสียไป และมีสวนทําใหผลผลิตเพิ่มมากขึ้น ลักษณะของเสนผลผลิตเทากันในกรณีของผลไดเพิ่มข้ึนมีลักษณะดังรูปที่ 9.15

จากรูปที่ 9.15 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งแสดงปริมาณการใชทุน (K) และแกนนอนแสดงปริมาณของการใชแรงงาน (L) ในการผลิตสินคาชนิดหนึ่ง เสน IQ1 = 10 คือเสนผลผลิตเทากันในการผลิตสินคาชนิดนี้จํานวน 10 หนวย เสน IQ2 = 20 และเสน IQ3 = 30 เปนเสนผลผลิตเทากันในการผลิตสินคาจํานวน 20 และ 30 หนวยตามลําดับ จะเห็นไดวาในระยะที่ผลไดเพิ่มข้ึนนี้การเพิ่มข้ึนของผลผลิต

รูปท่ี 9.15 แสดงเสนผลผลิตเทากันในกรณีของผลไดตอขนาดเพิ่มขึ้น

K3

K1

ปจจัย K

Expansion Path

IQ3 = 30 IQ2 = 20

IQ1 = 10 ปจจัย L

O

A

BC

L1 L2 L3

K1

Page 217: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 195

จาก 10 เปน 20 หนวย และจาก 20 เปน 30 หนวย ตองการใชปจจัยการผลิตเพิ่มข้ึนในอัตราสวนที่นอยกวาการเพิ่มของผลผลิต ดังแสดงดวยระยะหางระหวางเสนผลผลิตเทากันทั้ง 3 เสน ก็คือ ระยะหางของ OA > AB และ AB > BC

6.4.2 ระยะที่ผลไดตอขนาดคงที่ (Constant Returns to Scale)

เปนระยะที่เมื่อเพิ่มปริมาณของปจจัยการผลิตทุกชนิดแลว ผลผลิตท่ีเพิ่มข้ึนจะมีอัตราเดียวกับการเพิ่มของปจจัยการผลิตนั้น เชนถาเพิ่มปจจัยการผลิตทุกชนิดข้ึนรอยละ 10 ผลผลิตท่ีไดรับจะเพิ่มข้ึนรอยละ 10 เชนเดียวกัน เหตุท่ีผลไดเพิ่มข้ึนในอัตราคงที่ก็เพราะเมื่อมีการขยายขนาดของการผลิตใหใหญข้ึนไปเรื่อย ๆ จะมีระยะหนึ่งท่ีมีการใชปจจัยการผลิตท่ีมีอยูอยางเต็มท่ีจนไมสามารถไดประโยชนทางดานการแบงงานกันทําและความชํานาญในการทํางานเหมือนในระยะแรก ดังนั้นเมื่อยังเพิ่มปจจัยการผลิตเขาไปอีกจะไมมีผลทําใหผลผลิตเพิ่มข้ึนมากกวาการเพิ่มข้ึนของปจจัยการผลิตและจะคงที่ช่ัวคราวระยะเวลาหนึ่ง ยกเวนในกรณีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงเทคนิคการผลิตท่ีดีข้ึนจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจึงอาจทําใหผลิตผลเพิ่มข้ึนไปอีก ลักษณะของเสนผลิตผลเทากันในกรณีของผลไดคงที่ แสดงไวในรูปที่ 9.16 ซึ่งระยะ OA = AB = BC

B

C

ปจจัย K Expansion Path

IQ3 = 30

IQ2 = 20

IQ1 = 10 ปจจัย L

O

A

L1 L2 L3

K1

K2

K3

รูปท่ี 9.16 แสดงเสนผลผลิตเทากันในกรณีของผลไดตอขนาดคงที่

Page 218: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 196

6.4.3 ระยะที่ผลไดตอขนาดลดนอยลง (Decreasing Returns to Scale)

เปนระยะที่เมื่อเพิ่มปริมาณของปจจัยการผลิตทุกชนิดเขาไปแลวจะทําใหผลผลิตท่ีไดเพิ่มข้ึนนอยกวาการเพิ่มข้ึนของปจจัยการผลิต เชน ถาเพิ่มปจจัยการผลิตทุกชนิดข้ึนรอยละ 10 ผลผลิตท่ีไดรับจะเพิ่มข้ึนนอยกวารอยละ 10 เหตุท่ีเปนเชนนี้ก็เพราะวาเมื่อมีการขยายขนาดของการผลิตมากจนเกินไปความยุงยากในการจัดการก็เกิดข้ึน เกิดความซ้ําซอนและการทํางานที่เหลื่อมกันจนเปนเหตุใหประสิทธิภาพของการผลิตลดลงเพราะปจจัยการผลิตมีมากจนเกินไป ปจจัยการผลิตแตละอยางทํางานไมไดเต็มท่ีจนถึงกับอาจมีการแยงงานกันทํา หรือขัดแยงกันไปขัดแยงกันมาก็มีผลทําใหงานลาชา ผลผลิตท่ีไดรับก็จะไมคุมกับการเพิ่มข้ึนของปจจัยการผลิต ลักษณะของเสนผลผลิตเทากันใน

กรณีของผลไดลดนอยลงแสดงไวในรูปที่ 9.17 ซึ่งจะสังเกตเห็นไดวาระยะ OA < AB < BC ซึ่งหมายความวาการเพิ่มผลผลิตในปริมาณเทาๆกันจะตองเพิ่มปจจัยการผลิตมากขึ้นไปเรื่อย ๆ เพราะผลไดลดนอยลง นั่นเอง

กรณีผลไดตอการขยายขนาดการผลิตมีลักษณะแบงออกเปน 3 ระยะนั้น ซึ่งเปนการอธิบายตามแนวคิดแบบดั้งเดิม (traditional approach) โดยที่ปจจัยการผลิตบางชนิดไมสามารถแบงเปนสวนยอยได (indivisibility) ดังนั้นถาขนาดการผลิตเล็กเกินไปการใชปจจัยการผลิตเปนไปอยางไม

K2

ปจจัย K

Expansion Path

IQ3 = 30

IQ2 = 20

IQ1 = 10 ปจจัย L O

A

B

C

K1

K3

L1 L2 L3

รูปท่ี 9.17 แสดงเสนผลผลิตเทากันในกรณีของผลไดตอขนาดลดนอยลง

Page 219: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ทฤษฎีการผลิต 197

เต็มท่ีประสิทธิภาพการผลิตจึงต่ํา และเมื่อขนาดของการผลิตใหญจนเกินไป (oversize) ปจจัยการผลิตบางอยางตองทํางานเกินกําลังความสามารถ หรือการทํางานซ้ําซอนกันเกินไปจึงทําใหประสิทธิภาพการผลิตต่ํา

6.5 การประหยัดและการไมประหยัดอันเกิดจากการขยายขนาดการผลิต (Economies and Diseconomies of Scale)

สาเหตุท่ีทําใหผลไดตอการขยายขนาดการผลิตแบงออกเปน 3 ระยะ นอกจากจะอธิบายดวยเหตุผลแบบดั้งเดิมแลว ยังสามารถอธิบายดวยเหตุผลท่ีใหมกวา (newer approach) และเปนที่ยอมรับกันท่ัวไปมากกวา เหตุผลใหมนี้ก็คือการประหยัดและการไมประหยัดอันเกิดจากการขยายขนาดการผลิต ตามเหตุผลใหมท่ีวานี้เมื่อขนาดของการผลิตใหญข้ึน การแบงงานกันทํา(division of labor) และความชํานาญเฉพาะอยาง (specialization) จะมีไดมากขึ้นกวาเดิม นอกจากนั้นยังสามารถนําเอาเครื่องไมเครื่องมือเครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพดีกวามาใชในการผลิตจึงทําใหประสิทธิภาพการผลิตสูงข้ึนจนกอใหเกิดการประหยัดข้ึนภายในกิจการ (internal economies) ในขณะเดียวกันการประหยัดอีกชนิดหนึ่งก็จะเกิดข้ึนกับกิจการดวย ซึ่งการประหยัดนี้จะเกิดข้ึนภายนอก (external economies) อันเนื่องมาจากการขยายขนาดของอุตสาหกรรม เชน สามารถซื้อวัตถุดิบไดถูกลงเพราะซื้อเปนจํานวนมากหรืออาจจะมีผูนําปจจัยการผลิตมาขายใหถึงหนาโรงงาน ตนทุนการผลิตในระยะนี้จะลดลงเพราะมีการเผยแพรความรูวิธีการใหม ๆ ในการผลิต การขยายขนาดของการผลิตมิไดมีเฉพาะผลในทางประหยัดเทานั้นแตยังมีผลในทางการไมประหยัดอีกดวย ผลในทางไมประหยัดก็มีท้ังการไมประหยัดจากภายใน (internal diseconomies) และการไมประหยัดจากภายนอก (external diseconomies) การไมประหยัดจากภายในเกิดข้ึนเมื่อขนาดของกิจการขยายใหญข้ึนทําใหเกิดความยุงยากในการจัดการ และมีผลทําใหประสิทธิภาพของการผลิตลดลง สวนการไมประหยัดจากภายนอกเกิดจากเมื่อมีการขยายกิจการใหญข้ึน แลวทําใหความตองการปจจัยการผลิตมีเพิ่มมากขึ้นจึงทําใหหนวยธุรกิจตาง ๆ ตองแยงกันซื้อปจจัยการผลิตบางอยาง ซึ่งมีจํานวนไมเพียงพอทําใหราคาของปจจัยการผลิตเหลานั้นสูงข้ึน และมีผลทําใหตนทุนการผลิตสูงข้ึนดวย

Page 220: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 198

การประหยัดและการไมประหยัด สามารถอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตเมื่อขยายขนาดการผลิตตัวอยางเชนเมื่อขยายขนาดการใชปจจัยการผลิตเพิ่มข้ึนรอยละ 10 จํานวนผลผลิตเพิ่มข้ึนรอยละ 15 แสดงวาการประหยัดจากภายในและภายนอกรวมกัน (economies of scale) แลวมีผลเหนือกวาการไมประหยัดรวมกันทั้งจากภายในและจากภายนอก (diseconomies of scale) เปนกรณีของการขยายขนาดการผลิตในระยะแรก ซึ่งผลผลิตเพิ่มในอัตราที่สูงกวาการเพิ่มของปจจัยการผลิต ในระยะที่สองของการขยายขนาดการผลิต ผลของการประหยัดและการไมประหยัดหักลางกันพอดี ผลผลิตจึงเพิ่มในอัตราเดียวกับการเพิ่มของปจจัยการผลิต ระยะท่ีสามของการขยายขนาดการผลิต ผลผลิตจะเพิ่มข้ึนในอัตราที่นอยกวาอัตราการเพิ่มของปจจัยการผลิตท้ังนี้เนื่องมาจากการไมประหยัดมีผลเหนือกวาการประหยัดท่ีเกิดข้ึน

Page 221: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทท่ี 10 ตนทุนการผลิต

(Cost of Production) การผลิตสินคาและบริการใดๆ ก็ตามผูผลิตจะตองเสียคาใชจายในการผลิตไมวาจะอยูในรูปของคาวัสดุอุปกรณ คาจางแรงงาน คาน้ํามันเชื้อเพลิง คาเชาท่ีดิน คาเครื่องจักร คากอสรางโรงงาน และคาใชจายอื่นๆที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต คาใชจายตางๆเหลานี้เราเรียกวา ตนทุนการผลิต (cost of production) อยางไรก็ตามการคิดตนทุนการผลิตในทางดานบัญชีหรือเรียกวา "ตนทุนทางบัญชี" กับตนทุนการผลิตทางดานเศรษฐศาสตรหรือเรียกวา "ตนทุนทางเศรษฐศาสตร" ยังมีความแตกตางกันอยู ดังจะไดกลาวในหัวขอตอไป

1. แนวคิดตนทุนทางเศรษฐศาสตร (The Concept of Economic Cost)

ตนทุนตามแนวคิดทางดานเศรษฐศาสตรมีความหมายแตกตางไปจากตนทุนทางบัญชี กลาวคือ ตนทุนทางบัญชีจะหมายถึงเฉพาะคาใชจายตางๆที่ใชจายไปกับกระบวนการผลิตรวม ซึ่งมีการจายจริงเปนตัวเงินและสามารถแสดงหลักฐานเพื่อบันทึกลงในบัญชีได สวนการพิจารณาตนทุนทางเศรษฐศาสตรนั้นจะมีความหมายและขอบเขตกวางกวาตนทุนทางบัญชี กลาวคือ ตนทุนทางเศรษฐศาสตรจะหมายถึงตนทุนทางบัญชี และรวมไปถึงตนทุนคาเสียโอกาส (opportunity cost) หรือมูลคาของสิ่งอื่นใดที่ตองเสียสละไปเพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริการชนิดนั้น(best alternative forgone) หรือรวมถึงตนทุนท่ีมองไมเห็น(implicit cost) ในการพิจารณาตนทุนทางเศรษฐศาสตรนอกจากจะหมายถึงตนทุนทางบัญชีแลวยังสามารถแยกพิจารณาไดดังตอไปนี้

1.1 ตนทุนคาเสียโอกาส (Opportunity Cost)

ตนทุนคาเสียโอกาส หมายถึง ตนทุนการผลิตท่ีเปนคาตอบแทนหรือคาชดเชยที่เจาของปจจัยการผลิตตางๆตลอดจนตัวผูผลิตเองควรจะไดรับจากการผลิตสินคาและบริการชนิดนั้นแตไดยอมเสียสละไมรับคาตอบแทนนั้นและอนุญาตใหนําปจจัยการผลิตนั้นมาใชในการผลิตสิ่งของที่ตองการ หรือหมายถึงมูลคาของสิ่งอื่นใดที่ตองเสียสละไปเพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริการชนิดนั้น(best alternative forgone) ตามปกติแลวเปนการยากที่จะรวบรวมรายจายท่ีเปนตนทุนใหครบถวนสมบูรณได ฉะนั้นในทางทฤษฎีนักเศรษฐศาสตรจึงคิดวิธีลัดในการหาตนทุน กลาวคือ แทนที่จะพิจารณารายจายท่ีเปนตนทุนโดยตรงก็หันไปใชสินคาหรือบริการอื่นที่ตองเสียสละไปเปนตัววัดตนทุน ท้ังนี้เพราะปจจัย

Page 222: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 200

การผลิตสวนใหญแลวจะสามารถผลิตสินคาและบริการไดมากกวาหนึ่งอยาง (alternative uses) และสินคาทไดแตละอยางจะกอใหเกิดประโยชนเชิงเศรษฐกิจไมเทากัน ยกตัวอยางเชน นายดํามีรถสองแถวรับจาง 1 คัน ซึ่งเขาสามารถรับจางได 3 ทางเลือกคือ (1) รับจางผูโดยสารภายในตัวเมืองเชียงใหมจะมีรายไดปละประมาณ 60,000 บาท (2) รับจางโดยสารนักทองเที่ยวไปตามสถานทองเที่ยวในจังหวัดเชียงใหมจะมีรายไดปละประมาณ 120,000 บาท (3) รับสงนักเรียนประจําจะมีรายไดปละประมาณ 84,000 บาท ถานายดําใชรถสองแถวไปทางเลือก (1) เขาจะมีตนทุนคาเสียโอกาสเทากับ 120,000 บาท ถานายดําใชรถสองแถวไปทางเลือก (2) เขาจะมีตนทุนคาเสียโอกาสเทากับ 84,000 บาท และถานายดําใชรถสองแถวไปทางเลือก (3) มีตนทุนคาเสียโอกาสเทากับ 120,000 บาท การใชแนวคิดตนทุนคาเสียโอกาสจะสามารถบอกใหทราบวาไดมีการใชปจจัยการผลิตนั้นอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดหรือไม จากตัวอยางแสดงวาทางเลือก (2) เปนการใชปจจัยการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจสูงสุดเพราะตนทุนคาเสียโอกาสต่ําท่ีสุด สําหรับผลประโยชนในเชิงเศรษฐกิจที่ไดรับนอกจากจะเปนรายไดท่ีเปนตัวเงินแลวยังอาจรวมถึงผลประโยชนใด ๆ ก็ตามที่สามารถวัดประเมินออกมาเปนตัวเงินได เชน ผลประโยชนท่ีอยูในรูปของความสะดวกสบาย ความพึงพอใจ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน การไดมาซึ่งช่ือเสียงเกียรติยศ และการมีสุขภาพอนามัยท่ีดีข้ึน เปนตน

1.2 ตนทุนชัดแจงและตนทุนไมชัดแจง (Explicit Cost and Implicit Cost)

ตนทุนชัดแจง (Explicit Cost ) หมายถึง ตนทุนที่เกิดข้ึนจริงและมีการจายจริงเปนตัวเงินหรือจายเปนสิ่งของ เชน คาจางแรงงาน คาเครื่องมือเครื่องจักร คากอสรางโรงงาน คาปจจัยการผลิตอื่นๆที่ผูผลิตไดมีการจายจริงไปในรูปของตัวเงินหรือสิ่งของ หรืออาจจะเรียกวาตนทุนในทางบัญชีก็ได ตนทุนไมชัดแจง (Implicit Cost) หรืออาจเรียกวาตนทุนแอบแฝง หมายถึง ตนทุนที่เกิดข้ึนจริงแตไมมีการจายจริงเปนตัวเงินหรือจายเปนสิ่งของ สวนมากผูผลิตจะเปนเจาของปจจัยการผลิตชนิดนั้นเสียเองและนํามาใชในกิจกรรมการผลิตของตน ตัวอยางเชน นายแดงเปดกิจการอูซอมรถยนตของตนเอง นายแดงไดใชสถานที่และแรงงานของตนเองในการรับซอมรถยนต นายแดงไมมีการจายคาเชาและคาจางแรงงานใหกับตนเอง ถาคิดตนทุนทางบัญชีจะมีไมมีรายการคาเชาและคาจางแรงงานรวมอยูดวยเพราะไมไดจายจริงแตในการคํานวณตนทุนตามหลักเศรษฐศาสตรจะตองรวมคาเชา และคาจางแรงงานที่ไมไดจายจริงเขาเปนตนทุนการผลิตดวย โดยใชหลักการประเมินตามหลักตนทุนคาเสียโอกาส เนื่องจากวาถาผูผลิตไมใชสถานที่ของตนเองเปดอูซอมรถยนตแลวเขายอมจะไดรับคาเชาจาก

Page 223: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตนทุนการผลิต

201

การใหผูอื่นเชาไปทํากิจการอยางอื่น หรือถาเขาจะรับจางทํางานอยางอื่นเขาจะตองไดรับคาจางแรงงานเปนการตอบแทน

1.3 ตนทุนเอกชน และตนทุนทางสังคม (Private Cost and Social Cost)

ตนทุนเอกชน หรือตนทุนสวนบุคคล (Private Cost) หมายถึง คาใชจายท่ีเกิดจากการผลิตสินคาหรือบริการใด ๆ ท่ีเจาของหนวยผลิตนั้นๆ ตองจายโดยตรงไมเกี่ยวของกับสังคมหรือบุคคลภายนอก ตนทุนทางสังคม (Social Cost) หมายถึง มูลคาความเสียหายสุทธิท่ีเกิดข้ึนกับสังคมเนื่องจากกระบวนการผลิตสินคาหรือบริการใดๆก็ตามโดยที่ผูผลิตไมตองรับผิดชอบมูลคาความเสียหายเหลานั้นแตสังคมโดยสวนรวมจะเปนผูแบกรับภาระความเสียหายไว ยกตัวอยางเชน กรณีท่ีโรงงานผลิตกระดาษแหงหนึ่งในจังหวัดขอนแกนไดท้ิงน้ําเสียลงในลําน้ําพองทําใหน้ําในลําน้ําพองเนาเสียใชการไมไดปลาชาวบานที่เลี้ยงในกระชังและปลาในลําน้ําธรรมชาติตาย ชาวบานไมสามารถนําน้ํามาใชประโยชนใดๆได ความเสียหายตางๆเหลานี้จะตองคิดมูลคาออกมาวาเปนจํานวนเงินเทาใด และมูลคาของความเสียหายเหลานี้สังคมโดยสวนรวมตองเปนผูแบกรับภาระ หรือเราเรียกมูลคาความเสียหายเหลานี้วา "ตนทุนทางสังคม " (social cost) อยางไรก็ตาม สําหรับการวิเคราะหพฤติกรรมของผูผลิตท่ีเกี่ยวกับตนทุนการผลิตในที่นี้จะแบงการวิเคราะหตนทุนการผลิตออกเปนสองระยะดวยกัน กลาวคือ ตนทุนการผลิตระยะสั้น (short-run cost) และตนทุนการผลิตระยะยาว (long-run cost) ซึ่งการวิเคราะหตนทุนการผลิตดังกลาวจะพิจารณาตามคาใชจายในการซื้อปจจัยการผลิตในระยะสั้นและระยะยาว

2. ตนทุนการผลิตระยะสั้น (Short - Run Cost)

ในทฤษฎีการผลิตทางดานเศรษฐศาสตรไดแบงการผลิตออกเปน 2 ระยะคือ การผลิตระยะสั้น และการผลิตระยะยาว โดยท่ีการผลิตระยะสั้นเปน ระยะเวลาของการผลิตท่ีอยางนอยจะตองมีปจจัยการผลิตชนิดคงที่ (fixed factors) ซึ่งเปนปจจัยการผลิตท่ีไมสามารถเปลี่ยนแปลงไดเมื่อผูผลิตตองการเปลี่ยนแปลงปริมาณผลผลิตหรือไมผลิตเลยก็ตาม และในการผลิตระยะสั้นยังมีปจจัยการผลิตชนิด ผันแปร(variable factors)ซึ่งเปนปจจัยการผลิตท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงไดไปตามปริมาณผลผลิตท่ีตองการหรือถาผูผลิตไมทําการผลิตเลยปจจัยการผลิตชนิดผันแปรนี้ก็จะไมใชเลย ดังนั้นตนทุนการผลิตระยะสั้นจึงพิจารณาไปตามคาใชจายท่ีเสียไปกับปจจัยการผลิตชนิดตาง ๆ

Page 224: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 202

2.1 ตนทุนการผลิตระยะสั้น (Short-Run Cost)

ตนทุนการผลิตระยะสั้น หมายถึง ตนทุนการผลิตท่ีประกอบไปดวย ตนทุนคงที่ (fixed cost) และตนทุนผันแปร (variable cost) ซึ่งสามารถแบงยอยออกเปนตนทุนรวม ตนทุนเฉลี่ย และตนทุนเพิ่มหนวยสุดทาย 1) ตนทุนรวม (Total Cost: TC) หมายถึง ตนทุนที่ประกอบดวยตนทุนคงที่รวม (TFC) และตนทุนผันแปรรวม (TVC) ในแตละระดับของปริมาณผลผลิตหรือเขียนเปนความสัมพันธไดดังนี้ TC = TFC + TVC (1) ตนทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost: TFC) หมายถึง ตนทุนที่เปนคาใชจายตายตัวไมเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิตไมวาผลผลิตจะเพิ่มข้ึนหรือลดลง หรือผูผลิตจะทําการผลิตสินคาหรือไมก็ตามผูผลิตจะตองเสียคาใชจายสวนนี้ไป และตนทุนคงที่นี้สวนมากไดแกคาเชาท่ีดิน คากอสรางอาคารโรงงาน และคาเครื่องจักรรวมคาติดตั้ง (2) ตนทุนผันแปรรวม (Total Variable Cost: TVC) หมายถึง ตนทุนคาใชจายท่ี ผันแปรตามจํานวนสินคาท่ีผลิต ตนทุนนี้จะสูงข้ึนถาเพิ่มปริมาณการผลิตสินคา และจะลดลงเมื่อลดการผลิตสินคาลง หรือมีคาเทากับศูนยถาหากไมมีการผลิตเลย และตนทุนผันแปรเหลานี้ไดแก คาจางแรงงาน คาใชจายในการซื้อวัตถุดิบตาง ๆ เปนตน 2) ตนทุนรวมเฉลี่ยตอหนวย (Average Total Cost: ATC หรือ AC) หมายถึง ตนทุนรวมตอจํานวนผลผลิต แตเนื่องจากตนทุนรวมประกอบดวยตนทุนรวมคงที่และตนทุนรวมผันแปร ดังนั้นตนทุนรวมเฉลี่ยจึงมีคาเทากับผลบวกของตนทุนเฉลี่ยคงที่ (AFC) และตนทุนเฉลี่ยผันแปร (AVC)

∴ATCTCQ

TFCQ

TVCQ

AFC AVC= = + = +

(1) ตนทุนเฉลี่ยคงที่ (Average Fixed Cost: AFC) หมายถึง ตนทุนรวมคงที่ (TFC) ตอจํานวนผลผลิต (Q) ตนทุนคงที่เฉลี่ยจะมีคาลดลงตามลําดับเมื่อจํานวนผลผลิตเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ เนื่องจากคา TFC คงที่ในขณะที่คา Q เพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ

∴ AFCTFC

Q=

(2) ตนทุนเฉลี่ยผันแปร (Average Variable Cost: AVC) หมายถึง ตนทุนรวมผันแปร (TVC) ตอจํานวนผลผลิต (Q)

Page 225: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตนทุนการผลิต

203

∴ AVCTVC

Q=

3) ตนทุนสวนเพ่ิมหนวยสุดทาย (Marginal Cost: MC) หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของตนทุนรวมอันเนื่องมาจากการที่ผลผลิตเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึน 1 หนวย

∴ MC TCQ

dTCdQ= =Δ

Δ

ตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal cost) นับเปนหัวใจสําคัญของการวิเคราะหตนทุนการผลิตในทางเศรษฐศาสตร ซึ่งมักจะคํานึงถึงผลท่ีเกิดข้ึนระหวางหนวยตอหนวยของผลผลิตหรือปจจัยการผลิตเปนสําคัญ ดวยเหตุนี้แนวคิดเกี่ยวกับคาสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (marginal) จึงเปนจุดสําคัญของการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรจุลภาค

2.2 ตารางตนทุนการผลิต (Cost Schedule)

ตนทุนการผลิตแตละชนิดในระยะสั้นที่กลาวถึงขางตนสามารถแสดงความสัมพันธไดดังตารางที่ 10.1

ตารางที่ 10.1 แสดงตนทุนการผลิตประเภทตางๆในระยะสั้นของการผลิตสินคาชนิดหนึ่ง

ปริมาณ ผลผลิต

(Q)

ตนทุนคงที่รวม

(TFC)

ตนทุนผันแปรรวม (TVC)

ตนทุน รวม (TC)

ตนทุนคงที่เฉลี่ย

(AFC)

ตนทุนผันแปรเฉลี่ย

(AVC)

ตนทุนรวมเฉลี่ย

(ATC)

ตนทุนหนวยสุดทาย (MC)

0 5

10 15 20 25 30 35 40 45 50

30 30 30 30 30 30 30 30 30 30 30

0 12.50 17.50 21.50 24.25 27.50 31.25 38.50 50.00 82.50 132.5

30.00 42.50 47.50 51.50 54.25 57.50 61.25 68.50 80.00

112.50 162.50

- 6.00 3.00 2.00 1.50 1.20 1.00 0.86 0.75 0.67 0.60

- 2.50 1.75 1.43 1.21 1.10 1.04 1.10 1.25 1.83 2.65

- 8.25 4.75 3.43 2.71 2.30 2.04 1.96 2.00 2.50 3.25

- 2.50 1.00 0.80 0.51 0.65 0.75 1.45 2.30 6.50

10.00

Page 226: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 204

2.3 เสนตนทุนประเภทตาง ๆ

จากตารางที่ 10.1 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งแทนคาของตนทุน (cost) และแกนนอนแทนปริมาณผลผลิต (Q) เราสามารถหาความสัมพันธของเสนตนทุนตาง ๆ ไดดังนี้ 1) เสน TFC, TVC และ TC เนื่องจากตนทุนคงที่รวม (TFC) มีคาเทากันตลอดไมวาจํานวนผลผลิตจะเปนเทาใด ดังนั้นเสน TFC จะขนานกับแกนนอนและมีระยะหางจากแกนนอนเทากับคาของตนทุนคงที่ สวนเสนตนทุนผันแปรรวม (TVC) จะเปนเสนโคงดังรูปที่ 10.1 โดยที่ชวงแรกของเสน TVC จะเวาออก (concave) จากแกนปริมาณ สวนชวงหลังของเสน TVC จะโคงเวาเขาหา (convex) แกนปริมาณ ซึ่งเปนไปตามกฎของ law of variable proportions และเสน TVC จะเริ่มออกจากจุดกําเนิด (origin) เสมอ เพราะเมื่อผลผลิตเทากับศูนยแลวตนทุนผันแปรจะเทากับศูนยดวย สวนเสน TC ก็คือผลรวมของเสน TFC กับ TVC ดังนั้นเสน TC จึงอยูสูงกวาเสน TFC และ TVC เนื่องจากเสน TFC คงที่ ดังนั้นเสน TC จึงมีลักษณะเหมือนกันกับเสน TVC ทุกประการ แตจะอยูสูงกวาและหางจากเสน TVC โดยวัดตามแนวดิ่งเทากับ TFC 2) เสน AFC จากตารางที่ 10.1 คา TFC = 30 เสน AFC สรางโดยการลากเสนตรงจากจุด origin ไปบนเสน TFC ท่ีจุด A, B, C,...,J คาความชัน (slope) ของเสน OA, OB, OC,...,OJ ก็คือคา AFC ณ จุด A', B', C',...,J' ตามลําดับ ลากเสนเชื่อมระหวางจุด A', B', C' ,..., J' ก็จะไดเสน AFC และความชันของ AFC มีคาลดลงเรื่อย ๆ จนเขาใกลศูนยแตไมเทากับศูนยเมื่อปริมาณผลผลิตเพิ่มข้ึน ดังนั้นเสน AFC จะไมตัดกับแกนนอนดังรูปที่ 10.2 3) เสน ATC หรือเสน AC จากรูปที่ 10.3 เปนการหาเสน ATC จากเสน TC ซึ่งมีลักษณะคลายกับการหาเสน AFC ความชันของเสน OA, OB, OC,...,OJ ก็คือคาของ ATC ท่ีจุด A', B', C',...,J' ลากเสนเชื่อมระหวางจุด A', B', C',...,J' ก็จะไดเสน ATC ซึ่งมีคา slope เปนลบตั้งแตปริมาณผลผลิตเริ่มตนไปจนถึงคาของ ATC ต่ําสุด หลังจากนั้นคา slope ของเสน ATC จะเริ่มมีคาเปนบวก 4) เสน AVC จากรูปที่ 10.4 จะมีลักษณะเหมือนกับเสน ATC ทุกประการแตจะมีคานอยกวาคา ATC = AFC โดยวัดระยะตามแนวดิ่งทุกๆระดับปริมาณผลผลิต แตเนื่องจาก ATC = AFC + AVC , ∴ AVC = ATC - AFC 5) เสน MC จากรูปที่ 10.5 เปนการแสดงการหาเสน MC จากเสน TC slope ของเสน TC ณ จุด A, B, C, D, E, F และ G ก็คือคา MC ณ จุด A', B', C', D', E', F' และ G' ตามลําดับ เมื่อลากเสนเชื่อมระหวางจุด A' ไปจนถึง G' ก็จะไดเสน MC

Page 227: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตนทุนการผลิต

205

0

20

40

60

80

100

120

140

160

180

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50Q

Cost

รูปที่ 10.1 แสดงตนทุนรวม TC, TVC และ TFC

TFC

0102030

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50Q

TFC

AFC

0

1

2

3

4

5

6

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50Q

AFC

รูปที่ 10.2 แสดงการหาเสนตนทุนเฉลี่ยคงที่ (AFC)

A B C D E F G H I J

A'

B' C'

D' E' F' G' H' I' J'

TC

TVC

TFC

Page 228: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 206

TC

020406080

100120140160180

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50Q

TC

ATC

0

2

4

6

8

10

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50Q

ATC

รูปที่ 10.3 แสดงการหาเสน ATC จากเสน TC

0123456789

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50Q

รูปท่ี 10.4 แสดงความสัมพันธระหวางเสน ATC กับเสน AVC

A

ATC

B

AVC

C

ATC , AVC

D E F G H

I

J

A'

B' C' D' E' F' G' H' I'

J'

Page 229: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตนทุนการผลิต

207

TC

020406080

100120140160180

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50Q

TC

MC

0

2

4

6

8

10

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50Q

MC

รูปท่ี 10.5 แสดงการหาเสน MC จากเสน TC

2.4 ความสัมพันธระหวางตนทุนเฉลี่ยและตนทุนเพิ่มหนวยสุดทาย (Relations Between Average and Marginal Cost)

โดยท่ัวไปแลวความสัมพันธระหวางคาตนทุนเพิ่มหนวยสุดทาย (MC) กับคาตนทุนเฉลี่ย ตาง ๆ (AC, AVC) เปนดังรูปที่ 10.6 กลาวคือ 1) เมื่อเพิ่มการผลิตในตอนแรกคา MC จะลดลงเรื่อย ๆ และคอย ๆ เพิ่มข้ึนแตจะยังมีคานอยกวาคาของ AVC ในขณะที่ AVC ลดลงเรื่อย ๆ เสน MC จะตัดกับเสน AVC ณ จุด A ซึ่งคาของ AVC ตรงจุดนี้จะมีคาต่ําสุด 2) เมื่อเสน MC ตัดกับเสน AVC แลวคา MC จะมีมากกวาคาของ AVC ในขณะที่คาของ AVC เพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ 3) เมื่อเริ่มขยายการผลิตความสัมพันธของเสน MC กับเสน AC จะไดวาคาของ MC จะลดลงและเพิ่มข้ึนแตยังมีคานอยกวา AC ในขณะที่คาของ AC จะลดลงเรื่อย ๆ หรือในชวงนี้เสน MC จะอยูต่ํากวาเสน AC และ เสน MC จะตัดกับเสน AC ท่ีจุด B ซึ่งคาของ AC ตรงจุดนี้จะมีคาต่ําสุด

A' B' C' D' E' F'

G' H'

I'

J'

A B C D E F G H

I J

Page 230: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 208

4) หลังจากที่เสน MC ตัดกับเสน AC แลวหลังจากนั้นคาของ MC จะมีมากวา AC เมื่อมีการขยายการผลิตเพิ่มข้ึนและคาของ AC จะเพิ่มข้ึนเรื่อยๆหรือในชวงนี้เสน AC จะอยูต่ํากวาเสน MC

0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50Q

Cost

รูปที่ 10.6 แสดงความสัมพันธระหวางเสนตนทุนเฉลี่ยและเสนตนทุนเพิ่มหนวยสุดทาย

3. ตนทุนการผลิตระยะยาว (Long-Run Cost)

ตนทุนการผลิตระยะยาวในทางเศรษฐศาสตรไมไดพิจารณาจากระยะเวลาวาจะตองเปนจํานวนกี่ปถึงจะเปนระยะยาว แตการพิจารณาระยะยาวในทางเศรษฐศาสตรจะพิจารณาจากความสามารถในการเปลี่ยนแปลงปจจัยการผลิตคงที่ใหเปนปจจัยผันแปรได นั่นคือ ในระยะยาวตนทุนการผลิตจะมีเฉพาะตนทุนผันแปร (variable cost) เทานั้น กลาวคือในระยะยาวแลวผูผลิตสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงปจจัยคงที่ตาง ๆ (fixed factors) ใหกลายเปนปจจัยผันแปร (variable factors)ท้ังหมด การวิเคราะหตนทุนการผลิตระยะยาวในที่นี้จะพิจารณาถึง ตนทุนรวมระยะยาว ตนทุนเฉลี่ยระยะยาวและตนทุนเพิ่มหนวยสุดทายระยะยาว กลาวคือ

A

B AC หรือ ATC AVC

MC

Page 231: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตนทุนการผลิต

209

3.1 ตนทุนรวมระยะยาว (Long - Run Total Cost: LTC)

ตนทุนรวมระยะยาว เปนการแสดงถึงตนทุนรวมที่ใชในการผลิตสินคาและบริการจากการใชปจจัยผันแปร ซึ่งความสัมพันธระหวางตนทุนรวมระยะยาว (LTC) กับตนทุนรวมผันแปรระยะยาว (LTVC) เปนดังนี้

LTC = LTVC

โดยที่ LTC คือ ตนทุนรวมในระยะยาว (long - run total cost) LTVC คือ ตนทุนผันแปรรวมในระยะยาว (long - run total variable cost) ความสัมพันธในเชิงกราฟระหวางเสนตนทุนรวมระยะสั้น (STC) กับเสนตนทุนรวมระยะยาว (LTC) จะเปนดังรูปที่ 10.7 การพิจารณาความสัมพันธระหวางตนทุนรวมระยะสั้นและตนทุนรวมระยะยาว เมื่อสมมุติใหเสน STC1 เปนเสนตนทุนการผลิตรวมระยะสั้นของโรงงานที่ 1 เสน STC2 เปนเสนตนทุนการผลิตรวมระยะสั้นของโรงงานที่ 2 และเสน STC3 เปนเสนตนทุนการผลิตรวมระยะสั้นของโรงงานที่ 3 ในการวางแผนการผลิตระยะยาวผูประกอบการยอมจะเลือกขนาดโรงงานที่ทําใหเสียตนทุนต่ําท่ีสุดสําหรับการผลิตตามปริมาณที่ตองการ เสนตนทุนรวมระยะยาว LTC ก็คือเสนทึบในตอนแรกเปนชวงของเสน STC1 คือปริมาณการผลิตตั้งแต 0 ไปจนถึง X1 หนวย ตอมาเปนชวงของเสน STC2 คือปริมาณการผลิตตั้งแต X1 ไปจนถึง X2 และชวงสุดทายเปนชวงของเสน STC3 คือชวงท่ีมีปริมาณการผลิตตั้งแต X2 เปนตนไป

Page 232: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 210

รูปท่ี 10.7 แสดงความสัมพันธระหวางเสนตนทุนรวมระยะสั้นกับเสนตนทุนรวมระยะยาว

จากรูปที่ 10.7 จะเห็นไดวาเสน LTC เปนเสนมีสวนเวาเปนระยะ ๆ ท้ังนี้เนื่องมาจากเรากําหนดใหมีเพียง 3 โรงงานเทานั้น แตถามีการพิจารณาโรงงานที่มีจํานวนมาก ๆ เสน LTC ท่ีมีสวนเวาเปนระยะ ๆ ก็จะกลายเปนเสนโคงเรียบตลอดทั้งเสนดังรูปที่ 10.8

รูปที่ 10.8 แสดงเสนตนทุนรวมระยะยาวที่เปนเสนโคงเรียบ

TC

Q O

LTC

STC1 ………………… STC8

LTC

STC1 STC2 STC3

Q O X1 X2

TC

Page 233: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตนทุนการผลิต

211

เสน LTC ท่ีเปนเสนโคงเวาเปนระยะๆเมื่อมีการพิจารณาเสน STC จํานวนมากๆ หรือถา ผูผลิตหรือผูประกอบการสามารถที่จะเลือกโรงงานที่มีจํานวนนับไมถวนจะมีผลทําใหเสน LTC ท่ีไดเปนเสนโคงเรียบและจะเปนเสนโคงท่ีแบนราบกวาเสน STC โดยทั่วไป

3.2 ตนทุนเฉลี่ยระยะยาว (Long - Run Average Cost: LAC)

ตนทุนเฉลี่ยระยะยาว คือ ตนทุนเฉลี่ยตอหนวยการผลิตสินคาและบริการในระยะยาวซึ่งมีคาเทากับตนทุนผันแปรเฉลี่ยระยะยาว (long - run average variable cost: LAVC) ซึ่งสูตรการหาคา LAC เปนดังนี้

LACLTC

QLTVC

Q= =

โดยท่ี LAC คือ ตนทุนเฉลี่ยระยะยาว LTC คือ ตนทุนรวมระยะยาว LTVC คือ ตนทุนผันแปรรวมระยะยาว Q คือ ปริมาณผลผลิตของสินคาและบริการ ในระยะสั้นผูผลิตจะทําการผลิตโดยใชปจจัยการผลิตชนิดคงที่ใหมากที่สุดเทาท่ีจะทําได และจะปรับปริมาณปจจัยการผลิตชนิดผันแปรใหสอดคลองกับปจจัยคงที่ แตในระยะยาวแลวผูผลิตสามารถเลือกขนาดของโรงงานไดตามใจชอบ ในที่นี้สมมติวามีโรงงานขนาดตาง ๆ อยู 5 ขนาด ซึ่งผูผลิตสามารถตัดสินใจเลือกใชในระยะยาว และสมมติใหโรงงานเหลานี้แทนดวยเสนตนทุนเฉลี่ยระยะสั้น (SAC) ท้ัง 5 เสนดังรูปที่ 10.9

Page 234: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 212

รูปที่ 10.9 แสดงเสน LAC และเสน SAC ท่ีมีจํานวนจํากัด

จากรูปที่ 10.9 หากผูผลิตตองการผลิตสินคาปริมาณ OX1 หนวย เขาจะเลือกใชโรงงานขนาด SAC1 ถาตองการผลิต OX2 เขาจะเลือกใชโรงงานขนาด SAC1 และ SAC2 หรือถาตองการผลิต OX4 เขาจะเลือกใชโรงงานขนาด SAC1, SAC2 และ SAC3 และถาตองการผลิต OX5 หนวย เขาจะเลือกใชโรงงานขนาด SAC1, SAC2, SAC3 และ SAC4 ในระยะยาวแลวผูผลิตจะเลือกผลิตสินคาตามแนวเสน LAC โดยท่ีพยายามผลิตสินคาในปริมาณที่เสียตนทุนเฉลี่ยตอหนวยตํ่าท่ีสุด นั่นคือในระยะยาวแลวผูผลิตจะเลือกผลิตจํานวน OX3 หนวย ณ จุด X3 เปนจุดท่ีตนทุนเฉลี่ยระยะยาวต่ําท่ีสุด หรือขนาดโรงงานที่เหมาะสม (optimum size) หรือผลผลิตท่ีเหมาะสม (optimum output) ขอสังเกตประการที่หนึ่ง ผูผลิตไมจําเปนตองสรางโรงงานที่มีขนาดเหมาะสมที่สุดนี้และก็ผลิตสินคาท่ีระดับ optimum output ท้ังนี้จะตองพิจารณาถึงรายรับเพิ่มหนวยสุดทาย (MR) เทียบกับตนทุนเพิ่มหนวยสุดทาย (MC) เวนเสียแตวาผูผลิตจะอยูในตลาดที่มีการแขงขันอยางสมบูรณเทานั้น ขอสังเกตประการที่สอง เสน LAC จะมีลักษณะเวาเปนระยะๆซึ่งสาเหตุเนื่องมาจากเราพิจารณาขนาดของโรงงานที่มีจํานวนจํากัดเพียง 5 ขนาดเทานั้น แตถาสมมติใหแตละโรงงานมีขนาดแตกตางกันนอยมากจนถือไดวาโรงงานเหลานี้มีจํานวนมากจนนับไมถวนหรือมีคาเทากับอินฟนิตี้

(∞) แลวเสน LAC ซึ่งเดิมมีสวนเวาเปนระยะ ๆ ก็จะกลายเปนเสนโคงเรียบดังแสดงดวยเสนทึบเรียบมีลักษณะคลายตัว U ดังรูปที่ 10.10

O X1 X2 X3 X4 X5

AC

SAC2SAC3

SAC5 SAC4

SAC1

Q

LAC

Page 235: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตนทุนการผลิต

213

รูปที่ 10.10 แสดงเสนตนทุนเฉลี่ยระยะยาวที่เปนเสนโคงเรียบและเสนตนทุนระยะสั้นที่มีจํานวนอินฟนิตี้ (∞)

กลาวโดยสรุปเสน LAC แสดงถึงตนทุนเฉลี่ยระยะยาวของการผลิตในแตละหนวยของผลผลิตเมื่อใชปจจัยการผลิตรวม (ปจจัยผันแปร) และราคาของปจจัยไมเปลี่ยนแปลงไมวาจะซื้อมากนอยเพียงไรก็ตาม ผูผลิตจะเลือกทําการผลิตในปริมาณที่เสียตนทุนเฉลี่ยต่ําสุดเทาท่ีเทคนิคการผลิตจะเอื้ออํานวย และเนื่องจากผูผลิตสามารถเลือกใชปจจัยการผลิตชนิดใด ๆ ในปริมาณเทาใดก็ได ดังนั้นเสน LAC จึงเรียกอีกอยางหนึ่งวา " เสนวางแผนการผลิตในระยะยาว"

SAC1…………………………………...SAC∞

Q

AC LAC

O

Page 236: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 214

3.3 ตนทุนสวนเพ่ิมหนวยสุดทายระยะยาว (Long - Run Marginal Cost: LMC)

ตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะยาว คือ ตนทุนการผลิตท่ีเพิ่มข้ึนอันเนื่องมาจากผูผลิตทําการผลิตสินคาเพิ่มข้ึน 1 หนวย สูตรในการหาคา LMC เปนดังนี้

LMCLTC

QdLTC

dQ= =ΔΔ

โดยที่ LMC คือ ตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะยาว

ΔLTC คือ การเปลี่ยนแปลงของตนทุนรวมในระยะยาว

ΔQ คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิตเพิ่มข้ึน 1 หนวย

รูปที่ 10.11 แสดงความสัมพันธระหวางตนทุนเฉลี่ยและตนทุนหนวยสุดทาย

ท้ังในระยะสั้นและระยะยาว

C

SAC1 SMC1

Cost

••

B

SAC3

•D • A

SMC3

LAC

SAC2

Q Q1 Q2 Q3 O

SMC2

LMC

Page 237: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตนทุนการผลิต

215

เมื่อกําหนดตนทุนรวมมาใหไมวาจะเปนระยะสั้นหรือระยะยาวยอมจะสามารถหาตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายท้ังในระยะสั้นหรือระยะยาวได สมมติใหเสน SAC คือเสนตนทุนเฉลี่ยระยะสั้น เสน LAC คือ เสนตนทุนเฉลี่ยระยะยาว เสน SMC คือเสนตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะสั้น และเสน LMC คือเสนตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะยาว ความสัมพันธของเสนดังกลาวเปนดังรูปที่ 10.11

เนื่องจากเสน LAC เปนเสนที่แสดงถึงตนทุนเฉลี่ยท่ีผูผลิตปรับแผนการผลิตในแตละหนวยของผลผลิตในระยะยาว ดังนั้นเสน LAC ณ ระดับใด ๆ ของปริมาณผลผลิตจึงอยูต่ํากวาเสน SAC หรืออยางมากที่สุดก็เทากับเสน SAC ณ จุดท่ีเสนทั้งสองเทากันและจุดดังกลาว เสน SAC จะสัมผัสกับเสน LAC ณ จุด A เสน SAC1 สัมผัสกับเสน LAC หรือท่ีปริมาณผลผลิตเทากับ Q1 เพราะฉะนั้นตนทุน

รวมระยะสั้น (STC1) เทากับเสนตนทุนรวมระยะยาว (LTC) เนื่องจาก STC1 = SAC1 × Q1 และ

LTC = LAC × Q1 ดังนั้นคาของความชันของเสนตนทุนรวมในระยะสั้นและระยะยาว ณ จุดนี้ ยอมเทากันดวย ซึ่งสามารถแสดงไดดังนี้ เพราะวา STC LTC1 =

∴ ( )d STC

dQd LTC

dQ( )1 =

SMC LMC1 = โดยที่ SMC1 คือ ความชันของเสน STC1 หรือ ตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะสั้น LMC คือ ความชันของเสน LTC หรือ ตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะยาว ในชวงกอนถึงจุด A คาของ LAC นอยกวาคา SAC1 หรือก็คือ LTC นอยกวา STC1 และคาของ LAC จะลดลงในอัตราที่ชากวา SAC1 ดังนั้นคาของ LMC จึงมีคามากกวา SMC1 แตเมื่อพนจุด A ไปแลวคา LAC จะลดลงในอัตราที่เร็วกวา SAC ดังนั้นคา LMC จะนอยกวา SMC1 ณ จุด C เสน LAC จะต่ําท่ีสุด และเสน SAC2 ก็จะต่ําท่ีสุดดวยในขณะเดียวกันก็สัมผัสกับเสน LAC หรือปริมาณผลผลิตมีคาเทากับ Q2 เพราะฉะนั้นตนทุนรวมระยะสั้น (STC2) เทากับเสนตนทุน

รวมระยะยาว (LTC) เนื่องจาก STC2 = SAC2 × Q2 และ LTC = LAC × Q2 ดังนั้นคาของความชันของเสนตนทุนรวมในระยะสั้นและระยะยาว ณ จุด C ยอมเทากันดวย ซึ่งสามารถแสดงไดดังนี้

Page 238: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 216

เพราะวา STC LTC2 =

∴ ( )d STC

dQd LTC

dQ( )2 =

SMC LMC2 = โดยที่ SMC2 คือ ความชันของเสน STC2 หรือ ตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะสั้น LMC คือ ความชันของเสน LTC หรือ ตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะยาว ณ จุด C เสน SAC2 จะสัมผัสกับ LAC และตรงจุดนี้เสน SMC2 จะตัดกับเสน LMC ดังนั้น เสน LAC จะมีคาต่ําสุด หรือเปนระดับตนทุนเฉลี่ยระยะยาวต่ําท่ีสุดและปริมาณผลผลิตเทากับ Q2 หรือเรียกปริมาณผลผลิตท่ี Q2 วา "ผลผลิตท่ีเหมาะสม" (optimum output) อยางไรก็ตาม หากผูผลิตยังขยายขนาดการผลิตตอไปอีกจะมีผลทําใหตนทุนเฉลี่ยตอหนวยในระยะสั้นเพิ่มสูงข้ึน และจะทําใหตนทุนเฉลี่ยระยะยาวเพิ่มสูงข้ึนตามไปดวย เชนที่จุด D เสน SAC3 จะสัมผัสกับ LAC ปริมาณผลผลิตเทากับ Q3 และระดับปริมาณผลผลิตดังกลาวคา SMC3 จะเทากับ LMC พอดี

Page 239: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทท่ี 11 รายรับจากการผลิต

(Revenue) การผลิตสินคาใดๆของผูผลิต ไมสามารถที่จะพิจารณาแตเฉพาะตนทุนการผลิตเพียงอยางเดียวไดเพราะจุดมุงหมายของผูผลิตก็คือตองการกําไรสูงสุด การท่ีผูผลิตจะไดรับกําไรหรือไมนั้นจะตองทําการเปรียบเทียบ ระหวางตนทุนที่ผูผลิตจายไประหวางการผลิตสินคากับรายรับที่ไดจากการขายสินคาเสียกอนผูผลิตจึงจะทราบวาตนเองไดรับกําไรหรือไม ในบทนี้จะเปนการพิจารณาถึงรายรับจากการผลิต โดยจะแยกพิจารณาไดดังนี้

1. รายรับรวม รายรับเฉล่ีย และรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (Total, Average and Marginal Revenue)

รายรับจากการผลิต หมายถึง รายไดของผูผลิตท่ีไดรับจากการขายสินคาท่ีตนผลิตไดตามระดับราคาทองตลาดซึ่งรายรับจากการผลิตสามารถแยกพิจารณาไดเปน 3 ลักษณะดวยกันกลาวคือ 1) รายรับรวม (Total Revenue: TR) หมายถึง รายรับทั้งหมดที่ผูผลิตไดรับจากการขายสินคาท่ีตนผลิตได ซึ่งสามารถหาไดจาก

TR = P × Q

โดยท่ี TR คือ รายรับรวม P คือ ราคาของสินคาท่ีขายได Q คือ ปริมาณสินคาท่ีขายได 2) รายรับเฉลี่ย (Average Revenue: AR) หมายถึง รายรับที่ผูผลิตไดรับโดยเฉลี่ย ณ ปริมาณสินคาท่ีขายไดระดับตาง ๆ ซึ่งสามารถหาไดจาก

ARTRQ=

Page 240: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

218

โดยท่ี AR คือ รายรับเฉลี่ย TR คือ รายรับรวม Q คือ ปริมาณสินคาท่ีขายได 3) รายรับสวนเพ่ิมหนวยสุดทาย (Marginal Revenue: MR) หมายถึง สวนเปลี่ยนแปลงของรายรับรวมอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณขายสินคาไป 1 หนวย ซึ่งหาไดจาก

MRTRQ=

ΔΔ

หรือ

MRdTRdQ=

โดยที่ MR คือ รายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย

ΔTR คือ สวนเปลี่ยนแปลงของรายรับรวม

ΔQ คือ สวนเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินคา

2. ตารางและเสนรายรับจากการผลิต (Revenue Schedule and Curve)

การพิจารณาตารางและเสนรายรับจากการผลิตในที่นี้จะแยกพิจารณาตามระดับการแขงขันของตลาด กลาวคือในสวนแรกจะพิจารณาตารางและรายรับจากการผลิตในตลาดที่มีการผูกขาด และในสวนที่สองจะเปนการพิจารณาตารางและรายรับจากการผลิตในตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ เนื่องจากลักษณะของตลาดทั้งสองมีความแตกตางกันจึงตองแยกพิจารณาเพื่อใหเกิดความชัดเจนและเขาใจงายยิ่งข้ึน

2.1 ตารางและเสนรายรับจากการผลิตในตลาดที่มีการผูกขาด (Revenue Schedule and Curve in Monopoly Market)

ตลาดผูกขาดเปนตลาดที่ผูผลิตมีอํานาจในการกําหนดราคาหรือกําหนดปริมาณขายไดเพียงอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น(รายละเอียดในบทที่ 11) นั่นคือ ถาผูผลิตผูกขาดเปนผูกําหนดราคาขายและ

Page 241: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

รายรับจากการผลิต 219

สวนปริมาณสินคาท่ีขายไดจะถูกกําหนดจากผูซื้อหรือผูบริโภคซึ่งเปนไปตามกฎของดีมานด ถาราคาสินคาสูงผูผลิตก็จะขายสินคาไดนอย แตถาราคาสินคาลดลงปริมาณขายก็จะเพิ่มมากขึ้น

1) ตารางรายรับจากการผลิต (Revenue Schedule)

ถาผูผลิตจะกําหนดราคาสินคา ปริมาณสินคาท่ีผูผลิตขายไดจะถูกกําหนดจากผูซื้อหรือผูบริโภค ซึ่งเปนไปตามกฎของดีมานด และสามารถแสดงไดดังนี้

ตารางที่ 11.1 แสดงการหาคา TR, AR และ MR จากราคาและปริมาณขายระดับตาง ๆ ในตลาดผูกขาด

ราคา (P)

ปริมาณขาย (Q)

รายรับรวม (TR=P.Q)

รายรับเฉลี่ย (AR=TR/Q)

รายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย

(MR=ΔTR / ΔQ)

10 9 8 7 6 5 4 3

1 2 3 4 5 6 7 8

10 18 24 28 30 30 28 24

10 9 8 7 6 5 4 3

10 8 6 4 2 0 -2 -4

2) เสนรายรับจากการผลิต (Revenue Curve)

จากตัวเลขในตารางที่ 11.1 สามารถนํามาสรางเปนรูปกราฟจะไดเสน TR, AR และ MR ดังนี้

Page 242: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

220

-5

0

5

10

15

20

25

30

0 1 2 3 4 5 6 7 8Q

R

รูปท่ี 11.1 แสดงความสัมพันธระหวางเสน TR, AR และ MR ในตลาดผูกขาด

จากรูปที่ 11.1 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือรายรับ (R) และแกนนอนคือปริมาณขาย(Q) จะเห็นไดวาเสน TR, AR และ MR มีความสัมพันธกัน ดังนี้คือ

(1) เมื่อปริมาณขายสินคาเพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ เสน TR จะเพิ่มข้ึนในอัตราที่ลดลงเรื่อยๆ จนถึงระดับหนึ่งคา TR จะสูงสุด และลดลง ในขณะที่ AR และ MR เปนเสนตรงที่ลาดลงจากซายไปขวา (2) ในขณะที่คาของ MR มากกวาศูนยเสน TR จะเพิ่มข้ึน เมื่อคาของ MR เทากับศูนยเสน TR จะสูงสุด และเมื่อคาของ MR นอยกวาศูนยเสน TR จะลดลง เพราะคา MR คือ ความชัน ของเสน TR (3) เสน MR อยูใตเสน AR เสมอ หรือคาของ MR นอยกวา AR เสมอเมื่อปริมาณขาย (Q) เพิ่มมากขึ้น (4) เมื่อปริมาณขายเพิ่มมากขึ้นเสน AR จะลดลงตามลําดับ หรือเสน AR ก็คือเสน ดีมานดสําหรับสินคาชนิดนั้น ๆ หรือก็คือเสนราคานั่นเอง (AR = D = P)

2.2 ตารางและเสนรายรับจากการผลิตในตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ (Revenue Schedule and Curve in Perfectly Market)

ในตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ ผูผลิตคนใดคนหนึ่งไมมีอํานาจกําหนดราคาหรือปริมาณขาย ดังนั้นผูผลิตแตละรายจะตองขายตามราคาที่ตลาดกําหนด นั่นคือราคาสินคาในตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณจะคงที่อยูระดับหนึ่งไมวาผูผลิตคนใดคนหนึ่งจะขายสินคาเพิ่มข้ึนหรือไมก็ตาม ซึ่งแสดงไดดังตารางที่ 11.2

TR

AR

MR

Page 243: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

รายรับจากการผลิต 221

1) ตารางรายรับจากการผลิต (Revenue Schedule)

ตารางที่ 11.2 เปนการแสดงความสัมพันธระหวางราคา (P) ปริมาณ (Q) รายรับรวม(TR) รายรับเฉลี่ย (AR) และรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย(MR)ของตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ เราสามารถนําตัวเลขดังกลาวมาสรางเปนรูปกราฟก็จะไดเสน TR, AR และ MR ดังรูปที่ 11.2 ในรูปที่ 11.2 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือรายรับ (R) และแกนนอนคือปริมาณขาย (Q) จะเห็นไดวาเสน TR เปนเสนตรงที่เพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ ในอัตราคงที่เมื่อปริมาณขายเพิ่มข้ึน สาเหตุท่ีเปนเชนนี้ก็เพราะวาราคาสินคาคงท่ี เสน AR และเสน MR จะเปนเสนเดียวกัน นั่นคือในตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณเสน AR จะเปนเสนเดียวกันกับเสน MR และเปนเสนดีมานดหรือเสนราคาดวย (AR = MR = D = P)

ตารางที่ 11.2 แสดงการหาคา TR, AR และ MR จากราคาและปริมาณขายระดับตาง ๆ ในตลาดแขงขันสมบูรณ

ราคา (P)

ปริมาณขาย (Q)

รายรับรวม (TR=P.Q)

รายรับเฉลี่ย (AR=TR/Q)

รายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย

(MR=ΔTR/ΔQ)

10 10 10 10 10 10 10 10

1 2 3 4 5 6 7 8

10 20 30 40 50 60 70 80

10 10 10 10 10 10 10 10

10 10 10 10 10 10 10 10

Page 244: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

222

2) เสนรายรับจากการผลิต (Revenue Curve)

AR=MR=D

0

10

20

30

40

50

60

70

80

0 1 2 3 4 5 6 7 8Q

R

รูปท่ี 11.2 แสดงความสัมพันธระหวางเสน TR, AR และ MR ในตลาดแขงขันสมบูรณ

3. การหารายรับรวมจากเสน AR (Fitting the TR from AR Curve)

เมื่อกําหนดเสน AR หรือเสนดีมานดสําหรับสินคาใด ๆ มาให เราสามารถที่จะหารายรับรวมจากเสน AR ไดดังนี้

รูปท่ี 11.3 แสดงการหารายรับรวมของผูผลิตจากเสน AR หรือเสนดีมานด

จากรูปที่ 11.3 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และแกนนอนคือปริมาณขาย (Q) และเสน AR หรือเสนดีมานด (D) มาให หากผูผลิตขายสินคาไดท้ังหมดเทากับ OQ1 แลวรายรับรวมสามารถหาไดจาก

Q1

E

TR

P

P

AR = D

Q O

Page 245: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

รายรับจากการผลิต 223

TR = P × Q ณ ปริมาณขาย OQ1 ระดับราคาสินคาเทากับ OP

∴ TR = OP × OQ1

= OPEQ1 ไมวาเสนดีมานด(เสนAR)ของผูผลิตจะอยูในตลาดผูกขาดหรือตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ การหารายรับรวมจะสามารถหาไดจากพื้นที่สี่เหลี่ยมใตเสน AR หรือเสนดีมานดไดเชนเดียวกัน

4. การหาเสน MR จากเสน AR (Fitting the MR Curve from AR Curve)

การหาเสน MR จากเสน AR สามารถแยกพิจารณาออกเปน 3 กรณีดวยกัน กลาวคือ

4.1 กรณีที่เสน AR เปนเสนตรงลาดลงจากซายไปขวา

การหาเสน MR จากเสน AR ในกรณีนี้ ถาหากวาปลายขางบนของเสน AR ยังไมถึงแกนตั้งใหลากเสนตรงเชื่อมตอจนถึงแกนตั้ง เชน เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และรายรับ (R) สวนแกนนอนคือปริมาณขาย(Q) เดิมทีเสน AR คือเสน ED ก็ใหลากเสนตอจากจุด E ไปพบแกนตั้งท่ีจุด F จากนั้นลากเสน EH ใหตั้งฉากกับแกนตั้ง และเสน EQ ใหตั้งฉากกับแกนนอน ตอมาใหแบงครึ่งเสน EH ท่ีจุด A แลวลากเสน FC ใหผานจุด A เสน FC ท่ีไดก็คือเสน MR นั่นเองดังรูปท่ี 11.4

รูปท่ี 11.4 การหาเสน MR จากเสน AR ที่เปนเสนตรงลาดลงจากซายไปขวา

จากรูปที่ 11.4 การแบงครึ่งของเสน EH จะมีผลทําใหเสน MR มีความชันเปน 2 เทาของเสน AR ณ ปริมาณขายเดียวกัน หรือสามารถที่จะพิสูจนทางคณิตศาสตรไดดังนี้

E

MR

F

H A •

P, R

D = AR

O Q Q

C •

Page 246: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

224

สมมติใหเสน AR หรือเสนดีมานดมีสมการเปนดังนี้ P = 15 - 2Q จาก TR = P × Q หรือเทากับ AR × Q จะไดวา

TR = (15 - 2Q) × Q = 15Q - 2Q2

Q MR = dTRdQ

∴ MR = 15 - 4Q เสน AR มีความชันเทากับ -2 ในขณะที่เสน MR มีความชันเทากับ -4 เมื่อพิจารณาเฉพาะคาสัมบูรณของความชันจะเห็นไดวา ความชันของเสน MR เปนสองเทาของความชันของเสน AR

4.2 เสน AR เปนเสนตรงขนานกับแกนนอน

การท่ีเสน AR เปนเสนตรงขนานกับแกนนอน หมายถึง ราคาของสินคาคงที่อยูระดับหนึ่งไมวาปริมาณสินคาจะเพิ่มข้ึนหรือลดลงก็ตาม หรือเสน AR ก็คือเสนดีมานดสําหรับสินคาท่ีอยูในตลาดแขงขันสมบูรณ ซึ่งเสน AR จะเปนเสนเดียวกับเสน MR เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และรายรับ (R) สวนแกนนอนคือปริมาณขาย(Q) เสน AR และ MR จะเปนดังรูปที่ 11.5

รูปที่ 11.5 การหาเสน MR จากเสน AR ท่ีเปนเสนตรงขนานกับแกนนอน

P, R

AR = D = MR P

O Q

Page 247: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

รายรับจากการผลิต 225

4.3 เสน AR ที่เปนเสนโคง

สมมติใหเสน AR เปนเสนโคง เสน MR ท่ีหาไดจะเปนเสนโคงเชนเดียวกับเสน AR และมี ความชันเปนสองเทาของเสน AR ณ ระดับปริมาณขายเดียวกัน ดังรูปที่ 11.6

P, R

รูปท่ี 11.6 การหาเสน MR จากเสน AR ที่เปนเสนโคง

จากรูปที่ 11.6 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และรายรับ (R) สวนแกนนอนคือปริมาณขาย(Q) เสน AR เปนเสนโคง ณ ระดับปริมาณ OQ1 สามารถหาเสน MR ไดดังนี้ (1) ลากเสน BQ1ตั้งฉากกับแกนนอนที่จุด Q1 และลากเสน AE สัมผัสกับเสน AR ท่ีจุด B (2) ลากเสน BC ตั้งฉากกับแกนตั้งท่ีจุด C และแบงครึ่งเสน BC ท่ีจุด G (3) ลากเสน AF ใหผานจุด G และมาตัดกับเสน BQ1ท่ีจุด H ณ ปริมาณ OQ1 ความชันของ

เสน AF ท่ีจุด H จะเปนสองเทาของเสน AE ท่ีจุด B (4) ลากเสนโคง MR ใหสัมผัสกับเสน AF ท่ีจุด H ก็จะได ความชัน ของเสน MR ณ ปริมาณ

OQ1 หรือท่ีจุด H เปนสองเทาของ ความชันของเสน AR ณ ปริมาณเดียวกัน หรือท่ีจุด B

G

E

A

C B

AR

MR

H

Q F Q1 O

Page 248: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

226

5. รายรับรวม ตนทุนรวม และการทํากําไรสูงสุด (Total Revenue, Total Cost and Maximize Profit)

การคิดตนทุนในทางเศรษฐศาสตรนั้นจะรวมไปถึงตนทุนคาเสียโอกาส (opportunity cost) ซึ่งทําใหตนทุนในทางเศรษฐศาสตรสูงกวาตนทุนที่คิดกันในทางบัญชีท่ีคิดเฉพาะตนทุนที่จายจริงเทานั้น ดังนั้นกําไรท่ีเกิดข้ึนในทางทางบัญชีแตในเศรษฐศาสตรแลวอาจจะยังขาดทุนอยูก็ได กําไรท่ีผูผลิตไดรับในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง ผลตางของรายรับรวมกับตนทุนรวม ซึ่งเขียนใหอยูในรูปของความสัมพันธไดดังนี้

π = TR - TC โดยที่

π คือ กําไรท่ีผูผลิตไดรับ TR คือ รายรับรวม TC คือ ตนทุนรวม

จากความสัมพันธดังกลาว ถาหาก TR = TC จะมีผลทําให π = 0 ในทางเศรษฐศาสตรยังถือ

วาไดรับกําไรปกติอยู (normal profit) ซึ่งยังไมใชกําไรที่แทจริง ถาหาก TR > TC จะมีผลทําให

π > 0 ในทางเศรษฐศาสตรยังถือวาไดรับกําไรเกินปกติ (extra profit) และถือเปนกําไรท่ีแทจริง หรือ

เปนกําไรในทางเศรษฐศาสตร (economic profit) แตถาหาก TR < TC จะมีผลทําให π < 0 ถือวาขาดทุน การพิจารณากําไรยังสามารถพิจารณาไดจากกราฟเชนกัน เปาหมายของผูผลิตก็คือ ตองการที่จะใหไดรับกําไรสูงสุดจากการขายสินคา ถาพิจารณาจาก

π = TR - TC แลวกําไรจะสูงสุดก็ตอเมื่อคา TR มากกวา TC มากที่สุด นั่นเอง

Page 249: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

รายรับจากการผลิต 227

ตารางที่ 11.3 รายรับรวม ตนทุนรวม และกําไรสูงสุด

ปริมาณสินคา (Q)

(พันหนวย)

รายรับรวม (TR)

(แสนบาท)

รายรับสวนเพิ่ม

(MR)

ตนทุนรวม (TC)

(แสนบาท)

ตนทุนสวนเพิ่ม

(MC)

กําไร

(π) (แสนบาท)

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

10

0 28 50 68 82 95 105 113 118 118 115

- 28 22 18 14 13 10

5 0 -3

25 40 50 55 58 62 67 75 90 118 150

- 15 10 5 3 4 5

15 28 32

-25 -12 0 13 24 33 38 38 28 0

-35

-40

-20

0

20

40

60

80

100

120

140

160

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10Q

กําไรสูงสุด 8 8

(พันหนวย)

TC

TR

π

MC MR

MC = MR

Max π

TR, TC ,π (แสนบาท)

รูปท่ี 11.7 แสดงความสัมพันธระหวางรายรับรวม ตนทุนรวม และกําไร

Page 250: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

228

จากรูปที่ 11.7 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือ รายรับรวม ตนทุนรวม และกําไร (TR, TC และ π) สวนแกนนอน คือ ปริมาณสินคา (Q) ผูผลิตจะไดรับกําไรสูงสุดเมื่อผลิตและขายสินคาจํานวน 7 พันหนวย สินคาจํานวนดังกลาวนี้ขายไดเปนเงินจํานวน 11.30 ลานบาท และตองเสียตนทุนในการผลิตเทากับ 7.50 ลานบาท ไดรับกําไรรวมสูงสุดเทากับ 3.80 ลานบาท ณ จุดท่ีไดรับกําไรสูงสุดคาของรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MR) เทากับตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MC) จากตารางที่ 11.3 มีคาเทากับ 8 หรือถาปรับคาแลวจะมีคาเทากับ 800 บาทตอหนวย หรือ ณ ปริมาณ 7 พันหนวย รายรับรวมของผูผลิตมากกวาตนทุนรวมของผูผลิตมากที่สุด หรือระยะหางระหวางเสน TR กับเสน TC มากที่สุด ปริมาณขายที่ผูผลิตไดรับกําไรสูงสุด ความชัน ของเสน TR (MR) จะมีคาเทากับ ความชัน ของเสน TC (MC) พอดี และจะมีเพียงจุดเดียวเทานั้น นั่นคือ ไมวาผูผลิตสินคาจะอยูในตลาดแบบใดก็ตามผูผลิตจะไดรับกําไรสูงสุด (maximize profit) ก็ตอเมื่อผูผลิตจะขยายปริมาณการผลิตและขายสินคาไปจนกวาคา MC = MR เสมอ และปริมาณดังกลาวจะเปนดุลยภาพของผูผลิตดวย เงื่อนไขการทํากําไรสูงสุด (maximize profit)

Max π ⇒ MC = MR

Page 251: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทท่ี 12 ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

(Market in Economy System) ตลาด (market) เปนศูนยกลางที่ทําหนาท่ีเชื่อมโยงระหวางผูผลิตกับผูบริโภค ตลาดในระบบเศรษฐกิจจึงนับไดวามีความสําคัญเปนอยางมาก เพราะจะชวยใหมีการกระจายสินคาจากแหลงผลิตไปยังผูบริโภค และผูบริโภคก็จะไดรับสินคาและบริการมาเพื่อบําบัดความตองการไดอยางทั่วถึง ในบทนี้จะอธิบายถึงความหมายของตลาดในทางเศรษฐศาสตร โดยจะพิจารณาตามความหมายและลักษณะท่ัวไปของตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณและไมสมบูรณ

1. ความหมายของตลาดในทางเศรษฐศาสตร (Meaning of Market in Economics)

ตลาดตามความรูสึกของชาวบานทั่วไปจะหมายถึงสถานที่แหงใดแหงหนึ่งซึ่งจัดไวเพื่อให ผูซื้อและผูขายมาพบปะและไดตกลงซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคาซึ่งกันและกัน เชน ตลาดวโรรส ตลาด สุเทพ ตลาดสันปาขอย และศูนยการคาตาง ๆ เปนตน แตในทางเศรษฐศาสตรคําวา "ตลาด" มีความหมายกวางกวานั้น ตลาดตามความหมายในทางเศรษฐศาสตรไมจําเปนตองมีสถานที่ทําการซื้อขาย ไมจําเปนที่ผูซื้อและผูขายจะตองมาพบกันและเห็นสินคาท้ังหมดกอนตกลงใจซื้อ การซื้อขายจึงอาจเกิดข้ึนได ท้ังท่ีผูซื้อและผูขายอยูคนละมุมโลกก็สามารถที่จะตกลงซื้อขายกันโดยทางโทรศัพท หรือโทรเลข หรือทาง internet หรือ E-mail ก็ได ตลาดที่มีการตกลงซื้อขายสินคาและบริการใดๆก็ตาม จะเรียกตลาดเหลานั้นตามสินคาและบริการชนิดนั้นเชน ตลาดแรงงานก็หมายถึงการซื้อขายแรงงาน ตลาดขาวก็หมายถึงการซื้อขายขาว ตลาดหุนก็หมายถึงการซื้อขายหุน เปนตน ตลาดในทางเศรษฐศาสตรจึงหมายถึง "สถานที่ใดสถานที่หนึ่งซึ่งมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคากัน และยังรวมไปถึงการซื้อขายสินคาอยางใดอยางหนึ่งหรือภาวการณในการซื้อขายสินคานั้นๆ โดยที่ผูซื้อและผูขายไมจําเปนตองมาพบกัน เพียงแตใชเครื่องมือในการสื่อสารทําการตกลงซื้อขายกัน" ในสถานการณปจจุบันนอกจากจะมีตลาดที่เรียกวาตลาดปจจุบัน (present market) ซึ่งเปนการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคากันในปจจุบันแลวยังมีตลาดลวงหนา (forward market) ซึ่งทําสัญญาซื้อขายกันในปจจุบันแตตกลงใหมีการสงมอบสินคาในภายหนา และอาจจะเปนการตกลงซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคากันในอนาคต หรือเรียกวาตลาดอนาคต (future market) อีกดวย

Page 252: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

230

2. ลักษณะของตลาดในระบบเศรษฐกิจ (Character of Market in Economy System)

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ ยอมตองดําเนินการไปตามระบบเศรษฐกิจที่ประเทศนั้นใชอยูซึ่งจะมีผลทําใหมีการแขงขันหรือไมมีการแขงขันเกิดข้ึน จํานวนผูซื้อและผูขายจะมีอิทธิพลสําคัญตอรูปลักษณะของตลาด ดังนั้นถาจะแบงตลาดในทางเศรษฐกิจออกไปตามลักษณะของการแขงขันก็สามารถที่จะแบงตลาดออกไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ (perfect competition market) และตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณ (imperfect competition market) ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังตอไปนี้

2.1 ตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ (Perfect Competition Market)

ตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ หรือในบางครั้งอาจเรียกวาตลาดที่มีการแขงขันอยางแทจริง (pure competition) ซึ่งจะมีลักษณะเดน หรือมีขอสมมติดังตอไปนี้ 1) ผูซื้อและผูขายมีจํานวนมาก (large of buyers and sellers) หมายความวา คนซื้อจะตองมีจํานวนมากจนทําใหผูซื้อคนใดคนหนึ่งไมสามารถที่จะมีอิทธิพลเหนือราคาตลาด และไมสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงราคาสินคาไดเพราะปริมาณเงินในมือของผูซื้อแตละรายมีนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณเงินของผูซื้อรวมทั้งหมดในตลาด ในดานผูขายก็มีจํานวนมากเชนเดียวกันจนทําใหผูขายคนใดคนหนึ่งไมมีอิทธิพลท่ีจะเปลี่ยนแปลงราคาสินคาไดดวยการเพิ่มหรือลดปริมาณสินคาเพราะผูขายแตละคนมีสินคาจํานวนนอยมากเมื่อเทียบกับปริมาณของสินคาท้ังหมดที่มีอยูในตลาด 2) สินคาท่ีซื้อขายนั้นตองมีลักษณะคุณภาพและมาตรฐานใกลเคียงกันมาก (homogeneous product) หมายความวา ในสายตาของผูซื้อเห็นวาสินคาของผูขายแตละรายไมมีความแตกตางกันจะซื้อสินคาจากผูขายคนใดคนหนึ่งก็ได เขาจะไดรับความพอใจเหมือนกันหมด 3) ผูผลิตสามารถเลิกลมกิจการไดโดยงาย (free exit) และผูผลิตรายใหมก็มีสิทธิ์ท่ีจะเขาไปดําเนินการผลิตแขงขันไดอยางเสรีโดยปราศจากการกีดขวาง (free entry) 4) สินคาสามารถโยกยายไดเสรี (free mobility) หมายความวา สินคาสามารถเคลื่อนยายไปยังท่ีตาง ๆไดอยางสะดวก และไมเสียคาใชจายมากจนมีผลตอระดับราคาสินคา 5) ผูซื้อและผูขายในตลาดจะตองมีความรอบรูเกี่ยวกับสภาพการณของตลาดเปนอยางดี (perfect knowledge) หมายความวา ผูซื้อและผูขาย จะตองติดตามเหตุการณและความเคลื่อนไหวในตลาดตลอดเวลา เพื่อวาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึน จะไดทราบทันทีและปฏิบัติไดถูกตอง

Page 253: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

231

อยางไรก็ตามโดยแทท่ีจริงแลวตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณยังคงเปนเพียงตลาดในอุดมคติเทานั้น ตลาดตางๆในปจจุบันเทาท่ีมีอยูก็เปนเพียงตลาดที่ใกลเคียงกับตลาดที่มีการแขงขันอยางสมบูรณเทานั้น ซึ่งไดแก ตลาดขาว ตลาดขาวโพด ตลาดหุน

2.2 ตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณ (Imperfect Competition Market)

ในการพิจารณาตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณ ยังสามารถที่จะแบงยอยออกไปอีกเปน 3 ประเภท ซึ่งไดแก 1) ตลาดที่มีการผูกขาดแทจริง (pure monopoly) 2) ตลาดที่มีผูขายนอยราย (oligopoly) 3) ตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด (monopolistic competition) ในการแบงแยกประเภทของตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณออกเปนประเภทยอยตางๆ นั้นจะอาศัยการพิจารณาจากลักษณะและเงื่อนไขตางๆที่สําคัญ กลาวคือ พิจารณาจากจํานวนผูผลิตหรือผูขาย ความยากงายในการหาสินคาอื่นมาทดแทน และความยากงายในการเขาหรือออกจากตลาดหรือการผลิต

2.2.1 ตลาดที่มีการผูกขาดแทจริง (Pure Monopoly)

ในตลาดที่มีการผูกขาดอยางแทจริงนั้นจะตองมีขอสมมติเกี่ยวกับคุณลักษณะที่สําคัญของตลาดดังตอไปนี้ 1) มีผูผลิต หรือผูขายเพียงรายเดียว ซึ่งเรยีกวา ผูผูกขาด 2) สินคามีคุณสมบัติพิเศษไมเหมือนใคร และไมสามารถหาสินคาอื่นมาทดแทนได 3) ผูผลิตสามารถกีดกันไมใหผูอื่นเขามาผลิตแขงขันได จากคุณลักษณะที่สําคัญตามขอสมมติดังกลาว ผูผูกขาดที่อยูในตลาดจะมีอํานาจในการกําหนดราคา หรือกําหนดปริมาณขายไดเพียงอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น นั่นคือ ผูผูกขาดสามารถเลือกที่จะขึ้นหรือลดราคาสินคา หรือเลือกที่จะเพิ่มหรือลดปริมาณขายไดตามตองการ

Page 254: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

232

อํานาจการผูกขาดอาจจะเนื่องมาจากสาเหตุตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1) ผูผลิตหลายรายตกลงรวมตัวกันเพื่อผูกขาดในการผลิต ซึ่งอาจจะยุบรวมเปนบริษัทเดียวกัน แตในบางประเทศเขามีกฎหมายหามการผูกขาดโดยเอกชน เชน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และประเทศไทย 2) รัฐบาลเปนผูออกกฎหมายใหเปนผูกขาดการผลิตแตเพียงผู เดียวเพื่อกอใหเกิดประโยชนแกเศรษฐกิจและสังคมโดยสวนรวม เชน การไฟฟา องคการโทรศัพท และการประปา ในการออกกฎหมายผูกขาดนี้ รัฐบาลจะใหอํานาจการผูกขาดแกผูผลิตรายใดรายหนึ่งเทานั้นหรือรัฐบาลอาจจะทําการผลิตผูกขาดเสียเอง ถาหากรัฐบาลใหเอกชนเปนผูผูกขาดจะตองอยูภายใตการควบคุมของรัฐบาล ท้ังนี้เพื่อปองกันการเอารัดเอาเปรียบผูบริโภคทั่วไป 3) ขนาดของกิจการตองใหญมากตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวยจึงจะต่ํา จะตองมีเงินลงทุนเปนจํานวนมากและผลิตสินคาจํานวนมาก ทําใหผูผลิตรายใหมไมสามารถเขาไปแขงขันได เนื่องจากจะตองใชเงินลงทุนจํานวนมหาศาล 4) เปนเจาของวัตถุดิบท่ีสําคัญแตเพียงผูเดียว ซึ่งอาจจะเนื่องมาจากการไดรับสัมปทานแตเพียงผูเดียว ผูผลิตรายอื่นไมสามารถเขามาแขงขันได ตราบใดที่ยังไมการคนพบวัตถุดิบชนิดใหมเพื่อใชแทนวัตถุดิบนั้นได 5) การจดทะเบียนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ในบางประเทศมีกฎหมายคุมครองใหลิขสิทธิ์สิ่งประดิษฐท่ีผูผลิตสามารถคิดคนขึ้นมาใหมไดและจดทะเบียนลิขสิทธิ์เปนของตน สําหรับประเทศไทยตามกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ.2540 ไดมีการเปดโอกาสใหมีการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ในสิ่งประดิษฐใหมๆได การจดทะเบียนลิขสิทธิ์จึงทําใหผูผลิตมีอํานาจผูกขาด อยางไรก็ตามลิขสิทธิ์ดังกลาวจะมีอายุตามที่กฎหมายกําหนดไวเทานั้นแลวแตชนิดของผลิตภัณฑ

Page 255: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

233

2.2.2 ตลาดที่มีผูขายนอยราย (Oligopoly)

ตลาดที่มีผูขายนอยรายเกิดจากลักษณะของการผลิตท่ีจําเปนตองมีขนาดใหญ เพื่อท่ีจะลดตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวยใหต่ําลง ซึ่งสวนใหญแลวจะเปนประเภทอุตสาหกรรมหนัก อาทิเชน อุตสาหกรรมการผลิตซีเมนต อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต และอุตสาหกรรมการผลิตเหล็กกลา ตลาดที่มีผูขายนอยราย จึงหมายถึง ตลาดที่ประกอบดวยผูขายตั้งแต 2 รายข้ึนไป ซึ่งโดยท่ัวไปจะมีประมาณ 3-4 รายเทานั้น และลักษณะสําคัญของตลาดประเภทนี้ก็คือ เมื่อผูผลิตรายใดรายหนึ่งเปลี่ยนแปลงราคาและจํานวนผลผลิตจะมีผลกระทบกระเทือนตอคูแขงขันและคูแขงขันมักจะกระทําการโตตอบทันที การโตตอบกันทางดานราคา จะไมกอใหเกิดผลดีตอการผลิตในตลาดผูแขงขันนอยรายเลย ดังนั้นผูผลิตในตลาดที่มีผูแขงขันนอยรายจึงไมนิยมแขงขันกันในดานราคา แตมักจะใชวิธีการแขงขันกันในดานคุณภาพของสินคา และแขงขันในดานเทคนิคการจําหนายสินคามากกวา อยางไรก็ตาม ในตลาดผูแขงขันนอยรายยังสามารถแบงออกเปน 2 แบบ คือ 1) ผูผลิตแตละรายผลิตสินคาเหมือนกันทุกประการ (homogeneous) เรียกวา pure oligopoly ถึงแมวาในตัวสินคาจะไมตางกัน เชน ในกลุมของสินคาท่ีเปนผลิตภัณฑซีเมนต ในกลุมของสินคาท่ีเปนกระเบื้อง และกลุมของสินคาท่ีเปนน้ํามันเบนซิน แตการแขงขันของผูผลิตแตละรายจะไมใชราคา (non-price competition) นั่นคือ ผูผลิตจะใชวิธีการโฆษณาสินคาเพื่อใหเกิดความแตกตางคุณภาพและดานการใหบริการซึ่งจะมีผลทําใหเกิดความแตกตางกันในสายตาของผูบริโภค 2) ผูผลิตแตละรายผลิตสินคาท่ีมีความแตกตางกันแตสามารถใชทดแทนกันไดดี ซึ่งตลาดประเภทนี้เรียกวา differentiated oligopoly เชน รถยนต คอมพิวเตอร ผงซักฟอก เครื่องใชไฟฟา เปนตน ตลาดที่มีผูแขงขันนอยรายท้ัง 2 รูปแบบนี้ ยังมีความจําเปนที่จะตองมีสิ่งกีดขวางไมใหผูผลิตรายใหมๆเขามาทําการผลิตแขงขันไดสะดวก เพราะไมเชนนั้นแลวจะทําใหมีผูผลิตเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ตราบใดที่ยังมีกําไรเกินปกติอยูจนในที่สุดแลวจะไมสามารถคงสภาพการเปนตลาดที่มีผูขายนอยรายไวได

Page 256: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

234

2.2.3. ตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)

ตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด หมายถึง ตลาดที่มีลักษณะบางอยางคลายคลึงกับตลาดแขงขันสมบูรณและมีลักษณะบางอยางคลายคลึงกับตลาดผูกขาด และลักษณะเดนของตลาดประเภทนี้ มีดังนี้ 1) มีจํานวนผูขายมากราย แตละรายมีสินคาเปนสัดสวนนอยเมื่อเปรียบเทียบปริมาณสินคาของทั้งตลาด 2) ปราศจากสิ่งกีดขวาง ผูผลิตรายใหมสามารถที่จะเขามาทําการผลิตแขงขันไดอยางเสรี 3) ขาดการรวมตัวกันระหวางผูซื้อหรือผูขาย 4) สินคาของผูผลิตแตละคนแตกตางกัน ซึ่งเปนลักษณะที่แตกตางจากตลาดที่มีการแขงขันอยางสมบูรณ ลักษณะความแตกตางของสินคาซึ่งอาจจะแตกตางกันในดานรูปรางหรือในดานคุณภาพของสินคา หรืออาจจะเปนเพียงความแตกตางกันในดานความรูสึกของผูบริโภคก็ได ตัวอยางของตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด ก็คือ ธุรกิจขายปลีกตางๆซึ่งประกอบดวยผูขายเปนจํานวนมาก เชน รานขายของชํา สถานีบริการอัดฉีดรถยนต รานตัดผม รานบริการซอมทุกชนิด รานขายตนไมดอกไม และอื่น ๆ

3. โครงสรางตลาดแบบตาง ๆ (Market Structure)

เปนที่ทราบกันดีอยูแลววา ตลาดในระบบเศรษฐกิจไดแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ และตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณ ในขณะเดียวกันตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณยังแยกยอยออกเปนตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด ตลาดผูขายนอยราย ตลาดผูกขาด อยางไรก็ตามถาแบงตลาดออกเปน 2 ข้ัว จะไดข้ัวหนึ่งเปนตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ และอีกขั้วหนึ่งจะเปนตลาดผูกขาด สวนตลาดประเภทอื่นๆจะอยูระหวางสองขั้วตลาดนี้ ในดานโครงสรางของตลาดทั้งสองข้ัวมีความแตกตางกันอยางสิ้นเชิง ยกตัวอยางเชน จํานวนผูผลิตในตลาดจะเห็นไดวาตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณมีจํานวนผูผลิตเปนจํานวนมาก ขณะท่ีผูผลิตในตลาดผูกขาดมีผูผลิตเพียงรายเดียว สวนตลาดที่อยูระหวางสองขั้วมีแนวโนมท่ีจะเขาใกลแตละข้ัว กลาวคือ ตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดมีแนวโนมท่ีจะเขาใกลตลาดแขงขันสมบูรณโดยมีผูผลิตเปนจํานวนมากเชนกัน แตตลาดผูขายนอยรายมีแนวโนมท่ีจะเขาใกลตลาดผูกขาดโดยมีผูผลิตเพียง 2-3 รายเทานั้น ดังนั้นลักษณะโครงสรางของตลาดแบบตางๆนี้จึงเปนการเปรียบเทียบถึงความแตกตางกันหรือความคลายคลึงกัน ลักษณะของผูผลิต

Page 257: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

235

ลักษณะสินคาของผูผลิตแตละราย ตัวอยางชนิดของสินคา อํานาจการกําหนดราคา วิธีการจําหนายสินคา ลักษณะดีมานดของผูผลิตแตละราย ระดับราคาสินคา และกําไร ณ ระดับผลผลิตของผูผลิตในตลาดแบบตาง ๆ ดังรายละเอียดตารางที่ 12.1

ตารางที่ 12.1 ลักษณะและโครงสรางของตลาดที่มีการแขงขันแบบตาง ๆ 1

ชนิดของการแขงขัน

การแขงขันสมบูรณ

(perfect competition)

การแขงขันกึ่ง

ผูกขาด (monopolistic competition)

การแขงขันที่มีผูผลิตนอยราย

ก.สินคาเหมือนกัน (pure oligopoly)

การแขงขันที่มีผูผลิตนอยราย ข.สินคาตางกัน(differentiated

oligopoly)

การผูกขาด

สมบูรณ (pure monopoly)

จํานวนของผูผลิต

ผูผลิตมีจํานวนมาก ผูผลิตมีจํานวนมาก ผูผลิตมีจํานวน 2-3 ราย

ผูผลิตมีจํานวน 2-3 ราย

ผูผลิตมีเพียง 1 ราย

ลักษณะสินคาของผูผลิตแตละราย

ผลิตสินคาเหมือนกันทุกประการ ผูบริโภคไมรังเกียจที่จะซื้อจากผูผลิตคนใดคนหนึ่ง

สินคาแตกตางกันแต ใชแทนกันไดดี

เหมือนกันทุกประการ

สินคาแตกตางกันแตใชแทนกันไดดี

ขาดสินคาที่จะใชทดแทนไดดี

ตัวอยางชนิดของสินคา

สินคาเกษตรกรรมเชน ขาว ขาวโพด ฝาย ปอ

ผงซักฟอก สบู ยาสีฟน

น้ํามันเครื่องยนต ปูนซีเมนต สังกะสี

รถยนต พิมพดีด เคร่ืองไฟฟา

กิจการสาธารณูปโภค ตาง ๆ

อํานาจกําหนดราคา

ไมมีเลย ตองกําหนด ตามราคาตลาด ถากําหนดสูงกวาราคาตลาดจะขาย ไมไดเลย

มีอยูพอสมควรแตถาตั้งราคาสูงกวาของคูแขงมากเกินไปก็จะเสี่ยงกับการสูญลูกคาจํานวนมาก

มีอยูบางโดยการรวมหัวกันตั้งราคาตามผูนํา (price leader)

มีอยูบางแตควรตองสอดคลองกับราคาของคูแขงขัน

มีอํานาจเต็มที่เพราะขาดคูแขงขัน

วิธีการจําหนาย สินคา

ไมจําเปนตองจูงใจ ผูซื้อดวยการโฆษณาหรือสงเสริมการจําหนาย

เพิ่มการจําหนายนิยมใชวิธีโฆษณาและปรับปรุง คุณภาพของสินคามากกวาการลดราคา

เพิ่มการจําหนายใชวิธีการโฆษณาและปรับปรุงคุณภาพของสินคาแทนการลดราคา

เพิ่มการจําหนายใชวิธีการโฆษณาและพัฒนาคุณภาพของสินคาแทนการลดราคา

สามารถเพิ่มการจําหนายโดยไมตองลดราคาดวยการปรับปรุงคุณภาพของสินคาหรือโฆษณา

1 วันรักษ มิ่งมณีนาคิน. หลักเศรษฐศาสตรจุลภาค.หนา 138-139.

Page 258: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

236

ตารางที่ 12.1 (ตอ)

ชนิดของการแขงขัน

การแขงขันสมบูรณ

(perfect competition)

การแขงขันกึ่งผูกขาด

(monopolistic competition)

การแขงขันที่มีผูผลิตนอยราย

ก.สินคาเหมือนกัน (pure

oligopoly)

การแขงขันที่มีผูผลิตนอยราย ข.สินคาตางกัน(differentiated

oligopoly)

การผูกขาดสมบูรณ

(pure monopoly)

ลักษณะ ดีมานดของ ผูผลิตแตละราย

ดีมานดมีความยืดหยุนสมบูรณ เสนดีมานดขนานกับแกนนอน และเปนเสนเดียวกับ AR และ MR

ดีมานดมีความยืดหยุนมาก (elastic) เปนเสนลาดลงไมใชเสนเดียวกับ MR

ดีมานดเปนเสนหักมุม ณ ราคาตลาดขณะนั้น

ดีมานดมีความยืดหยุนนอยและข้ึนอยูกับการโตตอบของคูแขงขัน

ดีมานดมีความยืดหยุน นอย เปนเสนลาดลงไมใชเสนเดียวกับ MR

ระดับราคา สินคา

ต่ํากวาตลาดแบบ อื่น ๆ

สูงกวาตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ

สูงกวาในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด

สูงกวาในตลาดกึ่งแขงขันฯ

สูงกวาตลาดแบบอื่น ๆ

กําไร ณ ระดับผลผลิต

กําไรเกินปกติจะหมดไปในระยะยาว

ในระยะยาวจะมีกําไรปกติหรือไมข้ึนอยูกับเงื่อนไขการเขามาแขงขันของผูผลิตใหม

มีกําไรเกินปกติในระยะยาว

มีกําไรเกินปกติในระยะยาว

มีกําไรเกินปกติในระยะยาว

4. ขอดีและขอเสียของตลาดแขงขันและตลาดผูกขาด (Advantage and Disadvantage of

Perfect Competition and Monopoly Market)

ตลาดที่มีการแขงขันและตลาดที่มีการผูกขาดจะมีความแตกตางกันในดานโครงสรางและมีผลตอระบบเศรษฐกิจที่แตกตางกัน ในความรูสึกโดยทั่วไปคิดวาการแขงขันยอมดีกวาการผูกขาด หรืออาจคิดวาการแขงขันไมมีขอเสียเลยหรือการผูกขาดจะไมมีขอดีเอาเสียเลย แตตามขอเท็จจริงท้ังการแขงขันและการผูกขาดตางก็มีท้ังขอดีและขอเสียดวยกันทั้งสิ้น ซึ่งจะขึ้นอยูกับโครงสรางของระบบเศรษฐกิจวาเปนแบบใด ขนาดของการแขงขันมีมากจนเกินไปหรือไม ตลอดจนถึงการผูกขาดนั้นถูก

Page 259: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

237

ควบคุมโดยรัฐบาลหรือไม ในที่นี้จะขอแยกพิจารณาถึงขอดีและขอเสียของตลาดที่มีการแขงขันและตลาดที่มีการผูกขาด ดังตอไปนี้ กลาวคือ

4.1 ขอดีของตลาดที่มีการแขงขัน (Advantage of Perfect Competition Market)

ในตลาดที่มีการแขงขันโดยทั่วไปยอมมีขอดีมากกวาการผูกขาด สําหรับขอดีของการแขงขันพอจะแยกพิจารณาไดดังนี้ 1) การแขงขันยอมกอใหเกิดการจัดสรรทรัพยากรตามหลักเศรษฐศาสตร กลาวคือในระบบเศรษฐกิจใดก็ตามที่มีการแขงขันจะเปดโอกาสใหผูผลิตรายใหมเขามาผลิตแขงขันกันไดอยางเสรี ซึ่งเปนการเพิ่มซัพพลายของสินคาชนิดตาง ๆ ใหเปนไปตามความตองการของผูบริโภค ซึ่งจะเปนผลดีตอผูบริโภคจะไดมีโอกาสในการเลือกบริโภคสินคาไดมากขึ้น 2) ในตลาดที่มีการแขงขันจะทําใหผูบริโภคไดมีโอกาสซื้อสินคาในราคาที่ต่ํากวาตลาดแบบอื่น ๆ กลาวคือ ในตลาดที่มีการแขงขันจะมีผูซื้อและผูขายเปนจํานวนมาก หากผูขายคนใดคนหนึ่งขายสินคาในราคาที่สูงกวาผูขายรายอื่น ๆ เขาจะไมสามารถขายสินคาไดโดยที่ผูบริโภคจะหันไปซื้อสินคาจากผูขายรายอื่นๆในราคาที่ถูกกวา การแขงขันจึงกอใหเกิดผลดีตอผูบริโภคที่สามารถหาซื้อสินคาไดในราคาที่คอนขางต่ํากวาตลาดแบบอื่น ๆ 3) การแขงขันกอใหเกิดการพัฒนารูปแบบและพัฒนาเทคนิคการผลิตใหมๆอยูเสมอ กลาวคือ ผูผลิตคนใดคนหนึ่งท่ีอยูในตลาดแขงขันจะไมสามารถกําหนดราคาขายสินคาได ราคาขายจะถูกกําหนดจากตลาด ดังนั้นผูผลิตแตละรายตางพยายามที่จะลดตนทุนการผลิตโดยการพัฒนารูปแบบและเทคนิคการผลิตใหมๆเพื่อใหตนทุนเฉลี่ยตอหนวยของสินคานั้นๆต่ําลง ในขณะเดียวกันยังรักษาคุณภาพของสินคาใหคงเดิมเพื่อใหสามารถขายสินคาไดในตลาด แตถาผูผลิตรายใดไมสามารถพัฒนาเทคนิคการผลิตเพื่อใหตนทุนเฉลี่ยตอหนวยต่ําลงได ในที่สุดก็จะตองออกจากการแขงขันไป นั่นคือการแขงขันสงเสริมใหมีการพัฒนารูปแบบและเทคนิคการผลิตใหมๆอยูเสมอ อยางไรก็ตาม ในระบบเศรษฐกิจที่มีการแขงขันกันผลิตหรือแขงขันกันขายจะสงผลดีตอระบบเศรษฐกิจโดยสวนรวม ผูบริโภคจะไมถูกเอารัดเอาเปรียบจากผูขาย ผูบริโภคสามารถที่จะหาซื้อสินคาไดหลากหลายในราคาที่ถูกกวาตลาดแบบอื่นๆ คุณภาพชีวิตของผูบริโภคในภาพรวมก็จะดีข้ึน

Page 260: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

238

4.2 ขอเสียของตลาดที่มีการแขงขัน (Disadvantage of Perfect Competition Market)

การแขงขันถึงแมจะมีขอดีตอระบบเศรษฐกิจโดยสวนรวมก็ตาม แตถาการแขงขันกันผลิตมีมากจนเกินความจําเปน อาจจะมีขอเสียตอระบบเศรษฐกิจโดยสวนรวมไดเชนกัน กลาวคือ 1) ในตลาดที่มีการแขงขันจะมีผูผลิตอยูเปนจํานวนมาก หากผูผลิตแตละรายทําการผลิตสินคาหลายแบบหลายขนาดโดยมีการใชปจจัยการผลิตมากจนเกินไป และยังมีการเนนรูปลักษณะตามสมัยนิยมจนเกินความจําเปน แทนที่ทรัพยากรเหลานั้นจะถูกนําไปใชในการผลิตสินคาและบริการอยางอื่นที่เปนประโยชนมากกวา และเปนการสรางนิสัยการบริโภคที่เกินตัว ในที่สุดจะทําใหระบบเศรษฐกิจไมมีเสถียรภาพ เชน สภาพทางเศรษฐกิจของไทยในชวงป 2539 - 2541 เปนตน 2) ในระบบเศรษฐกิจที่มีการแขงขัน กิจการบางอยางที่จําเปนตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอาจจะไมเกิดข้ึน เนื่องจากกิจการดังกลาวตองใชเงินลงทุนจํานวนมหาศาล เอกชนทั่วไปอาจไมสนใจเขามาแขงขันกันลงทุนจึงสงผลกระทบโดยตรงตอการพัฒนาประเทศ 3) การแขงขันไมสงเสริมใหมีการใชทรัพยากรการผลิตอยางประหยัด ในตลาดที่มีการแขงขันจะมีผูผลิตเปนจํานวนมาก ตางคนตางเรงการผลิตจึงมีการใชทรัพยากรการผลิตเปนจํานวนมาก ในกิจการบางอยาง เชน การผลิตไฟฟาซึ่งมีความจําเปนที่จะตองใชทรัพยากรการผลิตอยางประหยัดเพื่อใหมีการใชทรัพยากรอยางคุมคา และใชใหนานที่สุดเทาท่ีจะนานได หากปลอยใหมีการแขงขันกันผลิตจะทําใหสิ้นเปลืองทรัพยากรการผลิตอยางรวดเร็ว และใชประโยชนไดเพียงระยะสั้นเทานั้น 4) ในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแขงขัน บางครั้งผูบริโภคอาจจะไดบริโภคสินคาท่ีไมมีคุณภาพเทาท่ีควร กลาวคือ ในระบบการแขงขันจะมีผูผลิตเปนจํานวนมาก ธุรกิจสวนใหญจะมีขนาดเล็กจนเกินไปซึ่งผูผลิตไมสามารถที่ลดตนทุนเฉลี่ยตอหนวยดวยการขยายขนาดการผลิตจนถึงระดับที่เหมาะสม ดังนั้นการลดตนทุนเฉลี่ยตอหนวยของผูผลิตในตลาดที่มีการแขงขัน สวนมากจะใชวิธีการลดคุณภาพของสินคาลง จึงทําใหสินคาท่ีมีวางขายในตลาดแขงขันไมมีคุณภาพเทาท่ีควร

4.3 ขอดีของตลาดผูกขาด (Advantage of Monopoly Market)

การผูกขาดในความรูสึกทั่วไปแลวถือวาเปนสิ่งไมดีเพราะการผูกขาดใด ๆ ก็ตามจะมีผูซื้อหรือผูขายเพียงรายเดียวซึ่งสามารถที่จะทําอะไรก็ไดตามใจชอบและมีอํานาจในการผูกขาดอยางเต็มท่ี อยางไรก็ตามถึงแมการผูกขาดจะไมเปนที่พึงปรารถนา แตผลของการผูกขาดก็ยังมีขอดีอยูบาง กลาวคือ

Page 261: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

239

1) การผูกขาดจะสามารถรับใชสังคมไดดีกวาการแขงขัน เพราะการผลิตบางอยางที่ตองใชทรัพยากรธรรมชาติเปนปจจัยในการผลิตจึงจําเปนตองมีการผูกขาด เพื่อเปนการสงวนทรัพยากรของประเทศเชน การผลิตไฟฟา การประปา องคการโทรศัพท แตจะตองอยูภายใตการควบคุมดูแลของรัฐบาลอยางใกลชิด ซึ่งการผลิตสินคาในกิจการสาธารณูปโภคเหลานี้หากมีการผูกขาดแลวจะทําใหสามารถลดตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวยลงได เนื่องจากสามารถขยายขนาดของการผลิตใหใหญข้ึนไปจนถึงระดับที่มีการประหยัดตอขนาด (economies of scale) 2) การผูกขาดสามารถหลีกเลี่ยงความสิ้นเปลืองอันเกิดจากการใชปจจัยการผลิตหลายชนิด เพื่อผลิตสินคาเพียงชนิดเดียวไดดีกวาการผลิตท่ีมีการแขงขัน กลาวคือการผลิตท่ีมีการแขงขันจะมีผูผลิตเปนจํานวนมากผูผลิตท้ังหลายจะแขงขันกันผลิต และมีการใชปจจัยการผลิตท่ีมีความหลากหลายเพื่อใหไดสินคาเพียงชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งเปนการสิ้นเปลืองโดยใชเหตุ สวนการผูกขาดไมจําเปนตองใชปจจัยการผลิตท่ีหลากหลาย 3) การผูกขาดจะไมถูกกดดันใหลดคุณภาพของสินคาลง เพราะการผลิตในตลาดผูกขาดจะมีสินคาเพียงชนิดเดียวไมตองไปแขงขันกับใครและไมจําเปนตองลดคุณภาพของสินคาลง 4) การผูกขาดจะใหหลักประกันที่มั่นคงแกผูลงทุนและไดผลกําไรที่แนนอนกวาการผลิตท่ีมีการแขงขัน

4.4 ผลเสียของการผูกขาด (Disadvantage of Monopoly Market)

ถึงแมการผูกขาดจะมีขอดีอยูบาง แตการผูกขาดก็เปนสิ่งท่ีไมพึงตองการสําหรับประเทศทุนนิยม ในสวนของขอเสียท่ีเกิดจากการผูกขาดพอที่จะแยกพิจารณาไดดังนี้ 1) ในระบบเศรษฐกิจที่มีการผูกขาด การผลิตจะทําใหการจัดสรรทรัพยากรการผลิตผิดหลักเศรษฐศาสตร เนื่องจากผูผูกขาดจะจํากัดปริมาณผลผลิตตามที่ตลาดตองการและตามราคาที่ถูกกําหนดไวเทานั้น ทําใหผูบริโภคบางสวนไมสามารถบริโภคสินคาได การกระจายสินคาและบริการจะไมท่ัวถึงทําใหสังคมโดยสวนรวมไมไดรับผลประโยชนเทาท่ีควร 2) ในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการผูกขาดการผลิตและไมถูกควบคุมโดยรัฐบาล ผูบริโภคจะไมไดรับการคุมครองแตกลับจะถูกขูดรีดจากผูผูกขาดเสมอ เพราะผูบริโภคไมมีโอกาสเลือกซื้อสินคาชนิดเดียวกันจากผูผลิตรายอื่นๆในตลาดไดเลย และผลประโยชนท้ังหมดจะตกอยูกับผูผลิตแตเพียงผูเดียว

Page 262: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

240

3) ในระบบเศรษฐกิจที่มีการผูกขาดกรรมกรผูใชแรงงานจะถูกเอารัดเอาเปรียบเสมอ เพราะผูผูกขาดในการผลิตหรือผูกขาดในการขายสินคาในตลาด สวนใหญแลวจะเปนผูผูกขาดในการจางแรงงานดวย ซึ่งแรงงานเหลานี้จะไมมีอํานาจตอรองคาจางแรงงานแตอยางใด 4) ในระบบเศรษฐกิจที่มีการผูกขาดการผลิตและไมถูกควบคุมโดยรัฐบาล จะไมกอใหเกิดการกระจายรายได ผูผูกขาดไมจําเปนตองแบงผลประโยชนท่ีไดรับใหกับผูใชแรงงาน เชน การเพิ่มคาแรงใหกับผูใชแรงงาน หรือผูผูกขาดจะไมมีนโยบายการลดราคาสินคา เพราะผูผูกขาดไมจําเปนตองแขงขันกับผูผลิตรายอื่น ๆ 5) ผูผูกขาดจะไมไดรับผลกระทบแตประการใด ถาหากผูผลิตผูกขาดนั้นทําการผลิตท่ีไมมี ประสิทธิภาพ แตเนื่องจากผูผูกขาดเปนผูครอบครองตลาดแตเพียงผูเดียวทําใหเขาขายสินคาไดเสมอ 6) ในระบบเศรษฐกิจที่มีการผูกขาดจะไมเจริญเติบโตและพัฒนาเทาท่ีควร เพราะในตลาดผูกขาดหากผูผลิตมีการผลิตท่ีไรประสิทธิภาพก็จะไมถูกลงโทษ ทําใหการผลิตไม เต็มกําลังความสามารถ หรือบางครั้งผูผูกขาดอาจทําการคนควาสิ่งประดิษฐใหมๆ วิธีการผลิตใหมๆ และเครื่องจักรใหมๆไดแตอาจจะลังเลที่จะนําสิ่งเหลานี้มาใชในการผลิต โดยตองท้ิงของเกาไปจึงสงผลใหผลผลิตมวลรวมของทั้งระบบเศรษฐกิจนอยกวาท่ีควรจะเปน 7) ในระบบเศรษฐกิจที่มีการผูกขาดเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการผูกขาดจะขัดขวางการปรับตัวของระบบเศรษฐกิจ เชน เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจหดตัวจะสงผลใหดีมานดในสินคาลดลง ถาเปนตลาดแขงขันราคาสินคาจะลดลงเพื่อรักษาระดับการผลิตไว แตถาเปนตลาดผูกขาดผูผลิตจะลดการผลิตลงไดโดยไมยอมลดราคาซึ่งจะสงผลใหตองปดโรงงานบางสวนลง และกรรมกรจะวางงานทําใหกรรมกรไมมีรายได หรือรายไดของผูบริโภคลดลง ภาวะการณเศรษฐกิจจะยิ่งเลวรายลงไปอีกซึ่งเปนการทําลายเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของผูผูกขาดที่เพียงเพื่อจะรักษาเสถียรภาพทางดานราคาของสินคาของตนเองไวเทานั้น

Page 263: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทท่ี 13 การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต (Price and Output Determination of a Firm)

ในบทกอนหนาท่ีผานมาเราไดทราบถึงตนทุนและรายรับของผูผลิตแบบตางๆมาแลว สวนในบทนี้จะเปนการวิเคราะหถึงการตัดสินใจของผูผลิตวาจะผลิตสินคาออกมาขายจํานวนเทาใด และขายในราคาเทาใดจึงจะทําใหผูผลิตไดรับกําไรสูงสุด (maximize profit) หรือผูผลิตเขาสูภาวะดุลยภาพสําหรับกรณีท่ีผูผลิตไดรับกําไร แตถาเปนกรณีท่ีผูผลิตประสบกับปญหาการขาดทุนผูผลิตก็จะพยายามกําหนดปริมาณ หรือราคาขายสินคาเพื่อใหตนขาดทุนนอยท่ีสุด (minimize loss) ซึ่งในที่นี้จะแยกพิจารณาผูผลิตตามลักษณะของตลาดแบบตาง ๆ ดังนี้ 1) การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดแขงขันสมบูรณ 2) การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด 3) การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดผูขายนอยราย 4) การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดผูกขาด

1. การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดแขงขันสมบูรณ (Price and Output Determination under Perfect Competition Market)

ลักษณะของตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณไดอธิบายในบทที่ 12 มาแลว อยางไรก็ตามตลาดแขงขันสมบูรณในโลกแหงความจริงยังคงไมมี หากจะมีก็เพียงแตตลาดที่ใกลเคียงกับตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณเทานั้น สาเหตุท่ีตองศึกษาถึงตลาดแขงขันสมบูรณก็เนื่องมาจากตองการที่จะชี้ใหเห็นถึงความแตกตางของตลาดในแบบตางๆ ภายใตขอสมมติของตลาดแขงขันสมบูรณ โครงสรางของตลาดแขงขันสมบูรณ จะแตกตางไปจากตลาดแบบอื่น ๆ อยางเห็นไดชัด ผูผลิตแตละรายไมสามารถมีอิทธิพลในการกําหนดราคาใหแตกตางไปจากราคาตลาดได

Page 264: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 242

1.1 เสนดีมานดของผูผลิตแตละราย (Individual Demand Curve of a Firm)

เสนดีมานดของผูผลิตแตละรายที่อยูในตลาดแขงขันสมบูรณจะเปนเสนตรงที่ขนานกับแกนนอน เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และแกนนอนคือปริมาณของสินคา (Q) สาเหตุท่ีเปนเชนนี้ก็เนื่องมาจาก ในตลาดแขงขันสมบูรณมีผูขายเปนจํานวนมากและผูขายแตละรายมีปริมาณขายเปนสัดสวนนอยมากเมื่อเทียบกับปริมาณขายของทั้งตลาด จึงทําใหผูขายแตละรายไมมีอิทธิพลเหนือระดับราคาของตลาด จะตองขายตามราคาตลาดซึ่งถูกกําหนดมาจากดีมานดและซัพพลายของตลาด ณ ระดับราคาตลาดหรือเรียกวาราคาดุลยภาพ (equilibrium price) ผูขายแตละรายจะสามารถขายสินคาของตนไดท้ังหมด (ก) เสนดีมานดของตลาด (ข) เสนดีมานดของผูขายแตละราย

รูปที่ 13.1 ลักษณะของเสนดีมานดในตลาดแขงขันสมบูรณ

เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และแกนนอนคือปริมาณของสินคา (Q) จะเห็นไดวาใน รูปที่ 13.1 (ก) เสนดีมานดของตลาดในตลาดแขงขันสมบูรณมีความชันเปนลบ ลาดลงจากซายไปขวาซึ่งเปนไปตามกฎของดีมานด สวนเสนซัพพลายมีความชันเปนบวก ลาดขึ้นจากซายไปขวาและเปนไปตามกฎของซัพพลายเชนกัน เสนดีมานดตลาดตัดกับเสนซัพพลายตลาดที่จุด E ราคาดุลยภาพจะอยูท่ี OPE และมีการซื้อขายสินคากันทั้งหมด OQE

PE PE

SM

DM

E

P P

D = AR = MR

Q Q O QE O

Page 265: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

243

รูปที่ 13.1 (ข) แสดงเสนดีมานดของผูผลิตแตละราย ซึ่งผูผลิตแตละรายจะสามารถขายสินคาไดท้ังหมดและขายในราคาตลาด (OPE) เสนดีมานดท่ีผูผลิตแตละรายเผชิญอยูจะเปนเสนตรงที่ขนานกับแกนนอน ซึ่งเสนดีมานดจะเปนทั้งเสน MR และเสน AR ของผูขายแตละรายดวย

1.2 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะสั้น (Short - Run Equilibrium of a Firm)

ในระยะสั้น คือ ระยะที่ผูผลิตไมสามารถเปลี่ยนแปลงปจจัยการผลิตท้ังหมดได ดุลยภาพของผูผลิตแตละรายจะหมายถึงภาวะการณท่ีผูผลิตผลิตสินคาออกมาขายในปริมาณที่ผูผลิตไดรับกําไรสูงสุดในกรณีท่ีกําไร หรือขายในปริมาณที่ทําใหผูผลิตขาดทุนนอยท่ีสุดในกรณีท่ีขาดทุน แลวแตกรณี ซึ่งจะแยกพิจารณาออกเปน 2 กรณี กลาวคือ

1.2.1 กรณีกําไรสูงสุด (Maximize Profit)

ในระยะสั้นผูผลิตแตละรายอาจจะไดรับกําไรปกติ (normal profit) หรือกําไรเกินปกติ (extra profit) ก็ได ภาวะที่ผูผลิตไดรับกําไรก็คือการที่ผูผลิตสามารถขายสินคาไดและมีรายรับรวมเทากับหรือมากกวาตนทุนรวม ซึ่งในที่นี้จะพิจารณาใหเห็นเฉพาะกําไรเกินปกติเทานั้น เมื่อผูผลิตไดรับกําไรเขาก็พยายามที่จะใหไดรับกําไรสูงสุด (maximize profit) โดยที่ผูผลิตจะขยายการผลิตสินคาไปจนกวาคา MC = MR ซึ่งเปนจุดท่ีผูผลิตไดรับกําไรสูงสุด

รูปที่ 13.2 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะสั้นกรณีกําไรสูงสุด

จากรูปที่ 13.2 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) สวนแกนนอนคือปริมาณ (Q) เสน AC คือเสนตนทุนเฉลี่ย เสน MC คือเสนตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย และเสน D คือเสนดีมานดของผูผลิตแตละราย ผูผลิตจะทําการผลิต ณ จุดท่ี MC = MR ซึ่งเปนจุดท่ีทําใหผูผลิตไดรับกําไรสูงสุด ณ จุด

P

P1 E

F

D = AR = MR

Q1 O Q

G

MC AC

Page 266: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 244

ดังกลาว ผูผลิตผลิตสินคาออกมา OQ1 หนวย และขายในราคา OP1 ทําใหรายรับรวมเทาพื้นที่

P1EQ1O ในขณะที่ตนทุนเฉลี่ยตอหนวยเทากับ FQ1 หรือ GO และตนทุนรวมเทากับ FQ1 × OQ1 คือ

พื้นที่ OQ1FG

∴ กําไรรวม = P1EQ1O - OQ1FG

= P1EFG หรือกําไรเฉลี่ยตอหนวย สามารถหาไดดังนี้ กําไรเฉลี่ยตอหนวย = รายรับเฉลี่ยตอหนวย - ตนทุนเฉลี่ยตอหนวย P1G = OP1 - OG

กําไรท่ีผูผลิตไดรับนี้เปนกําไรเกินปกติ (extra profit) เพราะวา TR - TC > 0 หรือ π > 0 นั่นเอง

1.2.2 กรณีขาดทุนนอยที่สุด (Minimize Loss)

ในระยะสั้นผูผลิตแตละรายไมจําเปนตองไดรับกําไรเสมอไป ซึ่งอาจจะมีบางรายประสบกับปญหาการขาดทุนก็ได เมื่อขาดทุนแลวผูผลิตจะตองตัดสินใจแลววาจะยังคงทําการผลิตตอไปหรือจะยกเลิกการผลิต ท้ังนี้จะขึ้นอยูกับวารายรับรวมที่ผูผลิตไดรับมากกวาตนทุนการผลิตผันแปรรวมหรือไม ถากําหนดให TR คือ รายรับรวม TVC คือ ตนทุนผันแปรรวม เมื่อผูผลิตขาดทุนผูผลิตจะทําการผลิตตอหรือไมข้ึนอยูกับเงื่อนไขตอไปนี้ ถา TR > TVC ผูผลิตควรท่ีจะผลิตตอไป เพราะอยางนอยรายรับท่ีไดจะสามารถนํามาชดเชยตนทุนคงที่รวมไดบางสวน ถา TR < TVC ผูผลิตควรจะหยุดการผลิต เพราะรายรับที่ไดจะไมเพียงพอกับคาใชจายในการดําเนินการผลิต จะทําใหขาดทุนมากกวาการที่ผูผลิตอยูเฉยๆ ซึ่งจะเสียเฉพาะตนทุนคงที่รวมเทานั้น ถา TR = TVC ผูผลิตจะหยุดการผลิตหรือไม ผลท่ีไดมีคาเทากันเพราะจะขาดทุนเฉพาะในสวนที่เปนตนทุนคงที่รวม ณ จุดนี้เรียกวา " จุดหยุดกิจการ " (shut-down point) จากเงื่อนไขดังกลาว หากผูผลิตขาดทุนและจะยังผลิตตออยู ผูผลิตจะทําการผลิต ณ จุดท่ี MC = MR เพื่อใหตนเองขาดทุนนอยท่ีสุด

Page 267: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

245

รูปที่ 13.3 ดุลยภาพของผูผลิตระยะสั้นกรณีขาดทุนต่ําท่ีสุด

จากรูปที่ 13.3 เมื่อผูผลิตจะขาดทุนนอยท่ีสุดเมื่อผลิตท่ี MC = MR หรือท่ีจุด E ณ ซึ่งผูผลิตทําการผลิตสินคาและนําออกมาขาย OQ1 ราคาสินคา OP1 หรือ Q1E ในขณะที่ตนทุนเฉลี่ยตอหนวยเทากับ OC หรือ DQ1 เพราะฉะนั้นผูผลิตขาดทุนตอหนวยเทากับ CP1 หรือ DE เมื่อพิจารณาแลว

ผูผลิตจะขาดทุนรวมเทากับ CP1 × OQ1 = CP1ED

ณ ปริมาณขาย OQ1 คาใชจายในการดําเนินการผลิตรวมเทากับ OGFQ1 ในขณะที่

รายรับรวมเทากับ OP1EQ1 รายไดท่ีเหลือจากคาใชจายในการดําเนินการเทากับ GP1EF นั่นคือ

ถึงแมผูผลิตจะขาดทุนแตผูผลิตยังมีรายไดเทากับ GP1EF ท่ีจะนําไปชดเชยตนทุนคงที่รวม

1.3 เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะสั้น (Short - Run Supply Curve of a Firm)

เสนซัพพลายเปนการมองในแงของผูผลิตวาจะผลิตสินคาออกมาขายในจํานวนเทาใด เมื่อราคาสินคาในทองตลาดเปลี่ยนแปลงไป ในตลาดแขงขันสมบูรณราคาของสินคาสามารถเปลี่ยนแปลงไดซึ่งมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในดีมานดตลาดหรือซัพพลายตลาด อยางไรก็ตามผูผลิตแตละรายก็จะผลิตสินคาออกมาขายโดยคํานึงถึงจุดท่ี MC = MR เสมอ เพื่อใหตนไดรับกําไรสูงสุดหรือถาขาดทุนก็ใหขาดทุนนอยท่ีสุด

D

Q1

F

E

Q

C

G

MC AC P

D = AR = MR AVC

P1

O

Page 268: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 246

รูปที่ 13.4 การหาเสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะสั้น

จากรูปที่ 13.4 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) ตนทุน (C) และรายรับ (R) สวนแกนนอนคือปริมาณสินคา (Q) เสน AC คือเสนตนทุนเฉลี่ยตอหนวย เสน AVC คือเสนตนทุนผันแปรเฉลี่ยตอหนวย เสน MC คือเสนตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย และเสน D = AR = MR คือเสนดีมานด หรือเสนรายรับเฉลี่ย หรือเสนรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย เมื่อราคาของสินคาเปลี่ยนแปลงไปผูผลิตก็จะเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิตหรือปริมาณขายไปดวย ซึ่งสามารถแยกพิจารณาดังนี้ 1) ถาระดับราคาตลาดอยูท่ี OP1 เสน MR1 ตัดกับ MC ท่ีจุด E1 ผูผลิตจะทําการผลิตหรือไมก็ไดเพราะมีคาเทากัน รายรับที่ไดเทากับรายจายท่ีใชในการดําเนินการผลิต(ตนทุนผันแปรรวม) หากผูผลิตยังทําการผลิตอยูจะผลิตและขายในปริมาณ OQ1 ณ จุด E1 เรียกวา " จุดหยุดกิจการหรือจุดยกเลิกกิจการ " (shut - down point) 2) ถาระดับราคาตลาดเพิ่มข้ึนเปน OP2 ผูผลิตจะขาดทุนนอยท่ีสุด ณ ท่ี MC = MR2 หรือจุด E2 ผูผลิตจะทําการผลิตและขายปริมาณ OQ2 ซึ่งผูผลิตจะมีรายไดบางสวนเพื่อชดเชยตนทุนคงที่รวม 3) ถาระดับราคาตลาดเพิ่มข้ึนอีกเปน OP3 ผูผลิตจะทําการผลิต ณ ท่ี MC = MR3 หรือจุด

E3 โดยผลิตสินคาออกมาขาย OQ3 ซึ่งรายรับรวมของผูผลิตจะเทากับรายจายรวมพอดี คือเทากับ OP3E3Q3 ผูผลิตไดรับกําไรปกติ (normal profit) หรือเรียกจุด E3 วา " จุดเสมอตัว " (break - even point)

E4

AVC

E1 E2

E3

O Q1 Q2 Q3 Q4

P,C,R MC

P4

P3 P2 P1

D4 = AR4 = MR4

D3 = AR3 = MR3 D2 = AR2 = MR2

D1 = AR1 = MR1

AC

Q

Page 269: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

247

4) ถาระดับราคาตลาดยังเพิ่มข้ึนตอไปอีกเปน OP4 ผูผลิตจะไดรับกําไรสูงสุดเมื่อผลิตท่ี MC = MR4 หรือจุด E4 โดยจะผลิตสินคาออกมาขาย OQ4 ซึ่งผูผลิตจะไดรับกําไรเกินปกติ (extra profit) นั่นคือ ถาระดับราคาตลาดของสินคาในตลาดแขงขันสมบูรณเปลี่ยนแปลงไป ผูผลิตแตละรายก็จะผลิตสินคาออกมาขายในปริมาณตาง ๆ กัน โดยผลิต ณ ท่ีตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MC) เทากับรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MR) เสมอ ระดับราคาต่ําท่ีสุดท่ีผูผลิตแตละรายจะผลิตสินคาออกมาขายจะอยูท่ีจุดยกเลิกกิจการ (shut - down point) ถาระดับราคาอยูต่ํากวาจุด shut - down point ผูผลิตก็จะไมผลิตสินคาออกมาขายเลย ดังนั้น เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะสั้นก็

คือเสน MC โดยเริ่มต้ังแตจุด shut - down point ขึ้นไป

รูปท่ี 13.5 แสดงเสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะสั้น

1.4 ดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะยาว (Long - Run Equilibrium of a Firm)

ในระยะยาวแลวผูผลิตแตละรายจะยังขายสินคาตามราคาตลาดอยู แตเนื่องจากในตลาดแขงขันสมบูรณมีผูผลิตเปนจํานวนมาก การเขาออกตลาดไดอยางเสรี ดังนั้นในระยะยาวถาผูผลิตสวนใหญยังมีกําไรสวนเกิน (extra profit) จะทําใหผูผลิตรายใหมเขามาทําการผลิตแขงขันเพื่อแยงกําไรสวนเกินนั้นจนในที่สุดกําไรสวนเกินก็จะหมดไปเหลือเพียงแตกําไรปกติ (normal profit) เทานั้น ในทางตรงกันขามหากผูผลิตรายใดรายหนึ่งประสบกับปญหาการขาดทุนในระยะยาวแลวผูผลิตรายนั้นจะไมสามารถอยูไดในที่สุดก็จะตองเลิกกิจการไป นั่นคือในระยะยาวแลวผูผลิตท่ีอยูในตลาดแขงขันจะมีแตเฉพาะกําไรปกติ (normal profit) เทานั้น

Q1 Q2 Q3 Q4

E1 E2

E3

E4

S = MC P

P4 P3 P2 P1

O Q

Page 270: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 248

ในรูปที่ 13.6 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) รายรับ (R) และตนทุน (C) สวนแกนนอนคือปริมาณสินคา (Q) และกําหนดใหเสน SAC คือเสนตนทุนเฉลี่ยระยะสั้น เสน SMC คือเสนตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะสั้น เสน LAC คือเสนตนทุนเฉลี่ยระยะยาว เสน LMC คือเสนตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะยาว และเสน D หรือ MR คือเสนดีมานดของผูผลิตแตละรายระยะยาว ในระยะยาวแลวผูผลิตจะขยายการผลิตออกไปเรื่อยๆ โดยท่ีผูผลิตจะเลือกใชโรงงานที่มีขนาดเหมาะสม (optimum size) เพื่อผลิตสินคาหรือผลิตท่ีจุด E นั่นคือ ผูผลิตจะขยายการผลิตไปจนถึงระดับ OQE ซึ่งเปนจุดท่ีตนทุนเฉลี่ยระยะยาวต่ําสุดและเปนจุดท่ีเสน SAC ต่ําสุดดวยเชนกัน ณ จุดดังกลาว SMC = LMC = MR ผูผลิตจะไดรับกําไรสูงสุด และขายสินคาราคา OPE บาท/หนวย กําไรที่ผูผลิตไดรับจะเปนเพียงกําไรปกติ (normal profit) เทานั้น

รูปที่ 13.6 ดุลยภาพการผลิตของผูผลิตแตละรายในระยะยาว

1.4.1 เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะยาว (Long - Run Supply Curve of a Firm)

การผลิตในระยะยาวผูผลิตท่ีอยูในตลาดแขงขันสมบูรณอาจจะเผชิญกับตนทุนเฉลี่ยระยะยาว (LAC) ใน 3 ลักษณะดวยกัน กลาวคือ ประการแรก เมื่อผูผลิตขยายขนาดการผลิตออกไปในระยะแรกๆอาจจะทําใหตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวยในระยะยาวลดลง อันมีสาเหตุมาจากเกิดการประหยัดตอขนาด (economies of scale) ประการที่สอง เมื่อผูผลิตยังขยายการผลิตออกไปอีกจะทําใหตนทุนการผลิตเฉลี่ยระยะยาวคงที่อยูระยะหนึ่งซึ่งอาจจะมีสาเหตุมาจากการผลิตท่ีมีขนาดเล็กและมีการใชทรัพยากรท่ีเปนสวนนอยของการใชทรัพยากรทั้งหมด และประการที่สาม เมื่อผูผลิตยังคงขยายการผลิตออกไปอีกแลวก็จะมีผลทําใหตนทุนการผลิตเฉลี่ยระยะยาวเพิ่มข้ึน อันมีสาเหตุเนื่องมาจากเกิดการไมประหยัดตอขนาด (diseconomies of scale) ผูผลิตรายใดรายหนึ่งอาจจะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง

SAC

E

P, R, C LAC LMC

SMC

PE D = MR

Q QE O

Page 271: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

249

ของตนทุนเฉลี่ยในระยะยาวลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรืออาจจะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงถึงสามลักษณะเลยก็ได เมื่อกําหนดใหแกนตั้ง คือตนทุน (C) และราคา (P) สวนแกนนอนคือปริมาณสินคา (Q)ในตอนเริ่มแรกผูผลิตทําการผลิต ณ ท่ีจุด E1 ซึ่งก็คือดุลยภาพของผูผลิตในระยะยาวครั้งแรก ตอมาเมื่อผูผลิตขยายการผลิตออกไปอีกแลวมีผลทําใหตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวยลดลง หรือเกิดการประหยัดข้ึนเนื่องจากการขยายขนาดการผลิต (economies of scale) ดุลยภาพใหมของผูผลิตคือ E2 เมื่อลากเสนเชื่อมระหวาง E1 กับ E2 ก็จะไดเสนซัพพลายระยะยาวของผูผลิตแตละราย (long - run supply curve of a firm : LS) ซึ่งลาดลงจากซายไปขวา อันมีสาเหตุเนื่องมาจากตนทุนเฉลี่ยตอหนวยลดลง ดังรูปที่ 13.7

รูปท่ี 13.7 เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะยาวเมื่อตนทุนเฉลี่ยตอหนวยลดลง

E1

E2

Long-Run Supply Curve of a Firm : LS

C, P LMC1 LAC1

P1

P2

LAC2 LMC2 D1 = MR1

Q

D2 = MR2

O Q1 Q2

Page 272: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 250

รูปท่ี 13.8 เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะยาว เมื่อตนทุนเฉลี่ยตอหนวยคงที่

จากรูปที่ 13.8 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะยาวครั้งแรกคือจุด E1 ตอมาผูผลิตขยายการผลิตออกไปอีกแตตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวยยังคงที่อยูดุลยภาพใหมคือจุด E2 เมื่อลากเสนเชื่อมระหวาง E1 E2 ก็จะไดเสนซัพพลายระยะยาวของผูผลิตแตละราย (LS) ซึ่งมีลักษณะเปนเสนตรงที่ขนานกับแกนนอน

รูปที่ 13.9 เสนซัพพลายของผูผลิตแตละรายในระยะยาวเมื่อตนทุนเฉลี่ยตอหนวยเพิ่มข้ึน

จากรูปที่ 13.9 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะยาวครั้งแรกอยูท่ี E1 ตอมาผูผลิตขยายการผลิตออกไปอีกทําใหตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวยเพิ่มสูงข้ึน โดยมีสาเหตุเนื่องมาจากการเกิดการไมประหยัดตอขนาด (diseconomies of scale) ดุลยภาพใหมของผูผลิตอยูท่ี E2 เมื่อลากเสน E1E2 ก็จะได

Long-Run Supply Curve of a Firm : LS

E1 E2

P, C

D1 = MR1

P2 P1

D2 = MR2

LAC2 LMC2 LAC1 LMC1

O Q1 Q2 Q

Long-Run Supply Curve of a Firm : LS

D = MR E1 E2

P, C LMC1 LAC1 LAC2 LMC2

O Q1 Q2 Q

PE

Page 273: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

251

เสนซัพพลายระยะยาวของผูผลิตแตละราย (LS) โดยมีความชันเปนบวกและเปนเสนที่ลาดขึ้นจากซายไปขวา เมื่อพิจารณาถึงเสนซัพพลายในระยะสั้นกับระยะยาวจะเห็นไดวาเสนซัพพลายระยะยาวของผูผลิตแตละรายจะแบนราบกวาเสนซัพพลายระยะสั้นของผูผลิตแตละราย

2. การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด (Price and Output Determination under Monopolistic Competition Market)

ตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดมีลักษณะบางอยางคลายกับตลาดแขงขันสมบูรณ และลักษณะบางอยางคลายกับตลาดผูกขาด กลาวคือเปนตลาดที่มีผูขายเปนจํานวนมากเขาออกตลาดไดอยางเสรี สินคาท่ีขายแตกตางกันแตสามารถใชทดแทนกันได ซึ่งรายละเอียดอธิบายในบทที่ 12 ผูผลิตท่ีอยูในตลาดแบบนี้มีโอกาสที่จะไดรับกําไรและในขณะเดียวกันก็มีโอกาสที่จะประสบปญหากับการขาดทุนได ผูผลิตท่ีขาดทุนในระยะสั้นอาจจะยังผลิตตอไปไดถาเขามีรายรับรวมมากกวาคาใชจายในสวนของตนทุนผันแปร แตถาเปนในระยะยาวแลวผูผลิตท่ีขาดทุนจะไมสามารถดํารงอยูได และในการพิจารณาการกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดในที่นี้จะแยกออกเปน ระยะสั้นกับระยะยาว กลาวคือ

2.1 ดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะสั้น (Short - Run Equilibrium of a Firm)

ผูผลิตท่ีอยูในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดแตละรายตางก็พยายามที่จะแสวงหากําไรสูงสุด โดยที่เงื่อนไขในการพิจารณากําไรสูงสุดจะมีลักษณะเชนเดียวกับตลาดแขงขันสมบูรณ กลาวคือกรณีท่ีผูผลิตจะไดรับกําไรก็ตอเมื่อผูผลิตขยายการผลิตออกไปจนถึงจุดท่ี MC = MR ผูผลิตจึงจะไดรับกําไรสูงสุด (maximize profit) แตถาเปนกรณีท่ีผูผลิตขาดทุนผูผลิตก็จะพยายามใหขาดทุนนอยท่ีสุด (minimize loss) โดยผูผลิตจะทําการผลิตตรงจุดท่ี MC = MR เชนกัน ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้

2.1.1 กรณีกําไรสูงสุด (Maximize Profit)

ลักษณะของเสนตนทุนเฉลี่ยของผูผลิตแตละรายในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด จะคลายกับเสนตนทุนเฉลี่ยในตลาดแขงขันสมบูรณ สวนเสนดีมานดของผูผลิตแตละรายที่เผชิญอยูจะมีลักษณะที่ลาดลงจากซายไปขวาและมีความยืดหยุนคอนขางมาก ซึ่งมีสาเหตุเนื่องมาจากสินคาในตลาดแบบนี้สามารถใชทดแทนกันไดดี เสนดีมานดดังกลาวจะเปนเสนเดียวกับเสนรายรับเฉลี่ย (AR) (ดูรายละเอียด

Page 274: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 252

เรื่องรายรับของผูผลิต) ของผูผลิตแตละรายดวย สวนเสนรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MR) จะมีความชันเปน 2 เทาของเสน AR

รูปท่ี 13.10 ราคาและปริมาณดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะสั้นกรณีกําไรสูงสุด

จากรูปที่ 13.10 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และตนทุน (C) สวนแกนนอนคือปริมาณสินคา (Q) ดุลยภาพของผูผลิตคือ จุดท่ี MC = MR หรือท่ีจุด E โดยผลิตสินคาและนําออกมาขายจํานวน OQ1 หนวย และสามารถขายไดหนวยละ OP1 ทําใหรายรับรวมของผูผลิตเทากับ

OP1HQ1 ในขณะที่ตนทุนเฉลี่ยตอหนวยเทากับ OG หรือ FQ1 แตถาเปนตนทุนรวมแลวจะเทากับ

OGFQ1 ดังนั้น ณ จุดดุลยภาพผูผลิตไดรับกําไรสูงสุดเทากับ P1HFG

1.2.2 กรณีขาดทุน (Minimize Loss)

ในบางครั้งผูผลิตอาจจะประสบกับปญหาการขาดทุนได ถาเปนในระยะสั้นแลวผูผลิตท่ีขาดทุน และการขาดทุนนั้นยังทําใหผูผลิตมีรายรับรวมมากกวาตนทุนการผลิตผันแปรรวมผูผลิตจะพยายามทําการผลิตตอไปเพื่อใหตนเองขาดทุนนอยท่ีสุด (minimize loss) โดยจะยังคงทําการผลิตท่ีจุด MC = MR

F D = AR

MR

E

H

G P1

P, C MC AC

Q Q1 O

Page 275: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

253

รูปท่ี 13.11 ราคาและปริมาณดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะสั้นกรณีขาดทุนต่ําที่สุด

จากรูปที่ 13.11 เปนการแสดงราคาและปริมาณดุลยภาพของผูผลิตกรณีขาดทุนต่ําสุด ผูผลิตจะผลิตท่ีจุด MC = MR หรือท่ีจุด E โดยจะผลิตสินคาและนําออกมาขายจํานวน OQ1 โดยท่ี

ผูผลิตมีตนทุนรวมเทากับ OIHQ1 แตเมื่อพิจารณาเฉพาะตนทุนรวมผันแปรจะมีคาเทากับ OJFQ1

ผูผลิตขายสินคาไดในราคาหนวยละ OP1 หรือ GQ1 ทําใหผูผลิตมีรายรับรวมเทากับ OP1GQ1 ดังนั้น

ผูผลิตขาดทุนนอยท่ีสุดเทากับ P1IHG สาเหตุท่ีผูผลิตยังทําการผลิตอยูเนื่องมาจากผูผลิตยังมีรายได

สวนเกินที่หักตนทุนผันแปรแลวเทากับ JP1GF รายไดสวนเกินดังกลาวนี้ผูผลิตสามารถนําไปชดเชยในสวนของตนทุนคงที่รวมไดบางสวนซึ่งดีกวาท่ีไมทําการผลิตเลย

2.2 ดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะยาว (Long - Run Equilibrium of a Firm)

ผูผลิตท่ีอยูในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด ในระยะยาวแลวมีแนวโนมท่ีจะไดรับเพียงกําไรปกติ (normal profit) เชนเดียวกับตลาดแขงขันสมบูรณ เพราะในระยะยาวแลวตราบใดที่ผูผลิตรายใดรายหนึ่งไดรับกําไรเกินปกติ (extra profit) ผูผลิตรายใหมก็จะเขามาแยงทําการผลิตในที่สุดกําไรสวนเกินนั้นก็จะหมดไป ในทางตรงกันขามผูผลิตบางรายที่ประสบกับปญหาการขาดทุนในระยะยาวแลวเขาจะอยูไมไดในที่สุดผูผลิตเหลานี้ก็จะตองเลิกกิจการไป

• E

F

MR D = AR

G

J

I P1

H

P, C MC AC

AVC

Q Q1 O

Page 276: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 254

รูปท่ี 13.12 ราคาและปริมาณดุลยภาพของผูผลิตแตละรายในระยะยาว

จากรูปที่ 13.12 เสน LAC คือเสนตนทุนเฉลี่ยระยะยาว และเสน LMC คือเสนตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายระยะยาว และในระยะยาวแลวผูผลิตจะยังผลิตท่ีจุด LMC = MR หรือท่ีจุด E จึงจะไดรับกําไรสูงสุด นั่นคือผูผลิตจะผลิตสินคาและนําออกมาขายเทากับ OQ1 หนวยโดยที่ราคาจะถูกกําหนด

จากเสนดีมานดหนวยละ OP1 ทําใหผูผลิตมีรายไดรวมเทากับ OP1FQ1 ในขณะเดียวกันตนทุนเฉลี่ย

หนวยละ FQ1 หรือ OP1 เมื่อผูผลิตผลิตสินคา OQ1 หนวยตองเสียตนทุนรวมทั้งหมดเทากับ OP1FQ1

ตนทุนรวมเทากับรายรับรวมผูผลิตจึงไดรับเฉพาะกําไรปกติ (normal profit) เทานั้น ลักษณะของกําไรปกติในระยะยาวของตลาดแขงขันสมบูรณกับตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดจะแตกตางกัน กลาวคือในตลาดแขงขันสมบูรณเสนดีมานดจะสัมผัสจุดต่ําสุดของเสน LAC หรือเปนจุดท่ีมีขนาดเหมาะสมที่สุด (optimum size) สวนในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด เสนดีมานดจะสัมผัสกับเสน LAC กอนถึงจุดต่ําสุดของเสน LAC ดังนั้นระดับราคาของสินคาในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดโดยเปรียบเทียบจะสูงกวาระดับราคาสินคาในตลาดแขงขันสมบูรณ และปริมาณสินคาท่ีนําออกมาขายโดยเปรียบเทียบในตลาดแขงขันสมบูรณจะมีมากกวาในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด

3. การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดผูขายนอยราย (Price and Output Determination under Oligopoly Market)

ในสภาพแหงความเปนจริงแลว ธุรกิจที่ขายสินคาชนิดเดียวกันหรือขายสินคาท่ีแตกตางกันแตสามารถใชทดแทนกันไดสําหรับตลาดที่มีผูผลิตเพียง 3 - 4 ราย การเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิตหรือราคาของสินคาของผูผลิตรายใดรายหนึ่งในตลาดยอมจะมีผลกระทบตอปริมาณ หรือราคาของผูผลิต

MR

D = AR

F

E

P, C LMC LAC

Q Q1 O

P1

Page 277: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

255

รายอื่น ๆ ท่ีอยูในตลาดดวย เชน ถาบริษัทปูนซีเมนตขนาดใหญแหงหนึ่งเพิ่มปริมาณการผลิตจะมีผลทําใหปริมาณปูนซีเมนตในทองตลาดเพิ่มมากขึ้น และจะสงผลใหราคาปูนซีเมนตในทองตลาดลดลง ดังนั้นบริษัทปูนซีเมนตรายอื่นๆก็จําเปนตองปรับกลยุทธทางดานตลาด อาจจะตองลดราคาสินคาของตนเองลงเพื่อดึงสวนแบงตลาดของตนกลับมาเพราะเมื่อราคาสินคาของผูผลิตรายใหญลดลงผูบริโภค ก็จะพากันไปซื้อสินคาท่ีราคาถูกกวา ในทางกลับกันถาผูผลิตรายใหญลดปริมาณการผลิตลงจะทําใหราคาสินคาในตลาดก็จะสูงข้ึนเพราะปริมาณสินคาในตลาดมีนอย และผูบริโภคบางสวนก็จะหันไปซื้อสินคาจากผูผลิตรายอื่นๆทําใหดีมานดของผูผลิตรายอื่นเพิ่มข้ึน ผูผลิตรายอื่น ๆ ก็จะผลิต ณ ท่ี MC = MR ซึ่งสวนใหญแลวปริมาณการผลิตก็จะเพิ่มตามดีมานดและในที่สุดราคาสินคาของผูผลิตรายอื่น ๆ ก็จะสูงตาม เสนดีมานดสําหรับสินคาในตลาดผูขายนอยรายจะมีลักษณะลาดลงจากซายไปขวา แตเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับเสนดีมานดสําหรับสินคาในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดแลว เสนดีมานดในตลาดผูขายนอยรายจะมีความยืดหยุนนอยกวาในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด

3.1 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะสั้น (Short - Run Equilibrium of a Firm)

การพิจารณาการกําหนดราคาและปริมาณผลิตของผูผลิตในตลาดผูขายนอยราย ในที่นี้จะแยกพิจารณาออกเปน 2 ลักษณะดวยกัน กลาวคือ (1) พิจารณาตามลักษณะเสนดีมานดท่ัวไป (2) พิจารณาเสนดีมานดท่ีหักมุม

3.1.1 เสนดีมานดโดยทั่วไป (The General Demand Curve)

การพิจารณาการกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิตในตลาดผูขายนอยรายตามลักษณะของเสนดีมานดท่ัวไป เสนดีมานดจะมีลักษณะเปนเสนที่ลาดลงจากซายไปขวาเชนเดียวกับ ดีมานดโดยทั่วไปและเงื่อนไขการผลิตของผูผลิตเพื่อใหไดกําไรสูงสุดคือ ผลิตท่ี MC = MR เสมอ เนื่องจากการผลิตในตลาดผูขายนอยรายผูผลิตตางขึ้นอยูแกกันและกัน การกระทําของผูผลิตรายหนึ่งจะมีผลอยางมากตอการขายหรือราคาของผูผลิตรายอื่นๆในตลาดเดียวกัน ยกตัวอยางเชน สมมติใหบริษัทผลิตรถยนตโตโยตาสามารถลดตนทุนการผลิตรถยนตลงได ซึ่งจะสงผลใหบริษัทโตโยตาสามารถผลิตรถยนตเพิ่มข้ึนไดและขายในราคาที่ถูกลง เมื่อเปนเชนนั้นราคารถยนตของบริษัทอื่นๆจะถูกลงตามไปดวย และตองลดการผลิตลงเนื่องจากลูกคาหันไปซื้อรถโตโยตากันมากขึ้น อธิบายไดดังรูปที่ 13.13

Page 278: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 256

(ก) บริษัท TOYOTA (ข) บริษัทอื่น ๆ

รูปที่ 13.13 ผลของการลดตนทุนการผลิตรถยนตในอุตสาหกรรมรถยนต

จากรูปที่ 13.13 กําหนดใหแกนตั้งคือราคารถยนต (P) และแกนนอนคือปริมาณการผลิตรถยนต (Q) รูปที่ 13.13 (ก) เดิมทีบริษัทโตโยตาผลิตรถยนตออกมาขาย OQ คัน และขายในราคา OP บาท/คัน ตอมาบริษัทฯมีการคนพบเทคนิคการผลิตท่ีดีข้ึน เสนตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายเปลี่ยนจาก MC เปน MC1 เพื่อใหไดกําไรสูงสุดบริษัทฯจึงผลิตท่ีจุด MC1 = MR ณ จุดดังกลาวบริษัทฯ สามารถผลิตรถยนตเพิ่มข้ึนเปน OQ1 คันและขายในราคาที่ถูกลงจากเดิมราคา OP บาทตอคันเปน OP1 บาทตอคัน เมื่อราคารถโตโยตาถูกลงผูบริโภคที่เคยซื้อรถยนตจากบริษัทอื่น ๆ ก็หันมาซื้อรถโตโยตาเพิ่มมากข้ึนทําใหลูกคาของบริษัทอื่นๆลดลง จากรูปที่ 13.13 (ข) เสนดีมานดก็จะลดลงจากเสน D เปนเสน D' เมื่อเสน ดีมานดลดลงผูผลิตบริษัทอื่น ๆ จะยังแสวงหากําไรสูงสุดโดยผลิตท่ีจุด MC = MR' ดังนั้นรถยนตท่ีบริษัทอื่น ๆ ผลิตหลังจากที่โตโยตาลดราคาลงจะมีปริมาณลดลงเหลือเพียง OQ' คันและขายในราคา OP' บาทตอคัน ถาพิจารณาในทางกลับกันหากบริษัทโตโยตามีตนทุนการผลิตสูงข้ึน การเปลี่ยนแปลงของบริษัทอื่นๆก็จะเปนไปในทิศทางตรงกันขามกับการพิจารณาที่ผานมา

3.1.2 เสนดีมานดหักมุม (The Kinked Demand Curve)

ระดับราคาสินคาในตลาดผูขายนอยรายตามความเชื่อนี้มักจะคอนขางตายตัว(price rigidity) ถาเปรียบเทียบกันระหวางราคาในตลาดแขงขันสมบูรณและตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดกับราคาในตลาดผูขายนอยราย ราคาของสินคาในตลาดผูขายนอยรายจะมีการเปลี่ยนแปลงนอยครั้งมาก หรือไม

D D

MR'

MR D' MR

O Q Q

MC MC P P

MC1 P P'

P P1

Q' Q O Q Q1

Page 279: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

257

เปลี่ยนแปลงงายๆตามการเปลี่ยนแปลงของดีมานดและซัพพลาย เสนดีมานดสําหรับสินคาท่ีผูผลิตในตลาดผูขายนอยรายเผชิญอยูจะเปนเสนดีมานดหักมุม (kinked demand curve) ซึ่งมีลักษณะเปนเสนตรงหักมุม ณ ระดับราคาตลาด สาเหตุท่ีเสนดีมานดหักมุมมาจากขอสมมติท่ีวา ผูผลิตแตละรายประสงคท่ีจะรักษาลูกคาปจจุบันของตนเอาไว หรือพยายามดึงดูดลูกคาใหมเขามาซื้อสินคาของตน และเมื่อผูผลิตรายใดรายหนึ่งเปลี่ยนแปลงราคาคูแขงขันก็จะโตตอบทันที

รูปที่ 13.14 ลักษณะของเสนดีมานดหักมุม

จากรูปที่ 13.14 เสน AED คือเสนดีมานดหักมุมซึ่งระดับราคาจะคงที่ ณ จุดหักมุมหรือจุด E ระดับราคาตลาดจะเทากับ OP เสนดีมานดหักมุมจะแบงออกเปน 2 ชวงคือ ชวง AE และชวง ED โดยท่ีชวง AE จะมีความยืดหยุนมากกวาชวง ED สาเหตุท่ีเปนเชนนี้จะเปนไปตามขอสมมติท่ีวาหากผูผลิตรายใดเพิ่มราคาสินคาของตน ผูผลิตรายอื่นๆจะไมเพิ่มราคาตามทําใหลูกคาหันไปซื้อสินคาจากผูผลิตรายอื่นๆเพิ่มมากขึ้น ผูผลิตท่ีเพิ่มราคาในครั้งแรกจึงขายสินคาไดลดลงจากเดิมมาก ถาพิจารณาตามเสนดีมานดก็คือชวงท่ีเสนดีมานดอยูสูงกวาระดับราคาตลาด หรือชวง AE นั่นเอง ในทางกลับกันหากผูผลิตรายดังกลาวลดราคาสินคาลงเพื่อท่ีจะใหตนขายสินคาไดเพิ่มมากขึ้น ผูผลิตรายอื่นๆก็จะตอบโตทันทีโดยการลดราคาสินคาลงตามจึงทําใหขายสินคาเพิ่มข้ึนไมมากนัก เนื่องจากจํานวนสินคาท่ีขายเพิ่มข้ึนถูกเฉลี่ยไปใหกับผูผลิตรายอื่นๆดวย เสนดีมานดในชวงนี้จะอยูต่ํากวาราคาตลาดหรือชวง ED ซึ่งมีความยืดหยุนนอยกวาชวง AE

D

E

P

P

Q O

Kinked Demand

Page 280: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 258

รูปที่ 13.15 ราคาและปริมาณดุลยภาพของผูผลิตในตลาดผูขายนอยราย

จากรูปที่ 13.15 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และตนทุน (C) สวนแกนนอนคือปริมาณสินคา (Q) เสน MR แบงออกเปน 2 ชวงคือชวง FG และชวง HK เสน MR ดังกลาวจะขาดชวงตั้งแตจุด G ถึง H ผูผลิตในตลาดผูขายนอยรายจะทําการผลิตเพื่อใหไดกําไรสูงสุด ณ ท่ี MC = MR เสน MC สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงไดตั้งแต MC1ไปจนถึง MC2 และยังตัดกับเสน MR ตั้งแตจุด H จนถึงจุด G ในปริมาณคงที่เทากับ OQ1 นั่นหมายความวา ถึงแมตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายของผูผลิตจะเปลี่ยนแปลงไปผูผลิตก็ยังคงผลิตสินคาปริมาณ OQ1 อยูและขายในราคาเทากับ OP1 ซึ่งราคาคอนขางจะคงที่อยูตราบเทาท่ีเสน MC ยังคงตัดผานเสน MR ท่ีขาดชวง (GH) อยางไรก็ตาม ถึงแมจะพิจารณาการกําหนดราคาและปริมาณของผูผลิตในตลาดผูขายนอยรายตามลักษณะของเสนดีมานดท่ีกลาวมาแลวนั้น เมื่อผูผลิตรายใดรายหนึ่งเปลี่ยนแปลงราคาคูแขงขันจะตอบโตทันที ดังนั้นในตลาดที่มีผูขายนอยรายถึงไมนิยมท่ีจะแขงขันกันทางดานราคา

3.2 การแขงขันโดยไมใชราคา (Non - price Competition)

โดยท่ัวไปแลวผูผลิตในตลาดผูขายนอยรายไมนิยมแขงขันกันทางดานราคา เนื่องจากจะกอใหเกิดผลเสียท้ังฝายผูกระทําและฝายโตตอบ ดังนั้นในตลาดผูขายนอยรายจึงนิยมท่ีจะแขงขันกันทางดานคุณภาพของสินคาและแขงขันทางดานเทคนิคการจําหนายสินคามากกวาซึ่งการแขงขันในดาน

E

A MC2

MC1

D

Q

H

K

G

P, C

F

MR Q1 O

P1

Page 281: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

259

นี้เราอาจเรียกวา " การแขงขันโดยไมใชราคา " (non - price competition) สาเหตุท่ีผูขายนอยรายไมนิยมแขงขันกันทางดานราคาเนื่องมาจากเหตุผล 3 ประการ คือ 1 1) การลดราคาสินคาจะไมชวยใหผูขายนอยรายสามารถขายสินคาเพิ่มข้ึนไดมากนัก เพราะคูแขงขันรายอื่นสามารถตอบโตการลดราคาไดทันทีทําใหปริมาณที่คิดวาจะขายไดมากขึ้น ถูกแบงเฉลี่ยไปใหกับผูผลิตรายอื่น ๆ และยังเสี่ยงตอการถูกตัดราคาอีกดวย ซึ่งในที่สุดจะกอใหเกิดผลเสียกับผูผลิตทุกคนได 2) ผูขายในตลาดผูขายนอยรายสวนมากเชื่อวาการแขงขันโดยไมข้ึนราคา จะสามารถเอาชนะคูแขงขันไดถาวรกวา เพราะการเลียนแบบคุณภาพสินคาและการเลียนแบบการขายตองใชเวลานานและทําไดไมสมบูรณ ซึ่งตรงกันขามกับการลดราคาสินคา คูแขงขันสามารถทําตามไดทันที 3) เนื่องจากผูผลิตในตลาดผูขายนอยรายเปนผูผลิตรายใหญ มีจํานวนผลผลิตและฐานะทางการเงินสูงมาก ซึ่งสามารถลงทุนในการโฆษณาสินคาและพัฒนาคุณภาพสินคาไดงายกวา

3.3 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะยาว (Long - Run Equilibrium of a Firm)

การผลิตในระยะยาวของผูผลิตในตลาดผูขายนอยราย สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิตและเปลี่ยนแปลงราคาไดดวยการขยายขนาดของการผลิตเปนสวนใหญ นอกจากนั้นยังข้ึนอยูกับความสามารถกีดกันไมใหคูแขงขันรายใหมเขามาผลิตแขงขัน และขึ้นอยูกับลักษณะของอุตสาหกรรม กลาวคือ บางอุตสาหกรรมผูผลิตท่ีอยูในตลาดสามารถที่จะกีดกันไมใหคูแขงขันรายใหมเขามาในอุตสาหกรรมไดเลย บางอุตสาหกรรมสามารถที่จะกีดกันไมใหคูแขงขันเขามาทําการผลิตเพื่อแขงขันในอุตสาหกรรมไดบาง และบางอุตสาหกรรมไมสามารถกีดกันคูแขงขันรายใหมไดเลย ดวยเหตุผลดังกลาว การวิเคราะหดุลยภาพของผูผลิตในระยะยาวจึงทําไดยากมาก ดังนั้นในที่นี้จึงไมวิเคราะห ดุลยภาพระยะยาวของผูผลิตในตลาดผูขายนอยราย

4. การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตในตลาดผูกขาดแทจริง (Price and Output Determination under Pure Monopoly)

ในตลาดผูกขาดแทจริง ผูผลิตจะมีอยูเพียงรายเดียวจึงทําใหผูผลิตผูกขาดมีอํานาจในการกําหนดราคาขายสินคาหรือปริมาณผลผลิตไดอยางเต็มท่ี ถาผูผลิตกําหนดราคาสินคาในสวนของ

1 เร่ืองเดียวกัน, หนา 135.

Page 282: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 260

ปริมาณสินคาท่ีผูผลิตขายไดจะถูกกําหนดจากผูซื้อ หรือถาผูผลิตกําหนดปริมาณผลผลิตในดานราคาจะถูกกําหนดจากผูซื้อ นั่นคือ ผูผูกขาดจะมีอํานาจในการกําหนดราคาหรือปริมาณสินคาไดเพียงอยางใดอยางหนึ่งเทานั้นจะกําหนดทั้งสองพรอมกันไมได เสนดีมานดสําหรับสินคาในตลาดผูกขาดจะมีลักษณะเปนเสนที่ลาดลงจากซายไปขวา และเสน MR จะมีความชันเปน 2 เทาของเสนดีมานด จากรูปที่ 13.16 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และรายรับ (R) สวนแกนนอนคือปริมาณสินคา (Q) เสนดีมานด (D) หรือก็คือเสนรายรับเฉลี่ย (AR) ซึ่งเปนเสนที่ลาดลงจากซายไปขวา และเสนรายรับเพิ่มหนวยสุดทาย (MR) จะมีความชันเปน 2 เทาของเสน AR หรือเสนดีมานด การพิจารณาถึงการกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตดุลยภาพในตลาดผูกขาดแทจริงในท่ีนี้จะแยกการพิจารณาตามระยะเวลาการผลิตออกเปน 2 ระยะ คือ การผลิตในระยะสั้น และผลิตในระยะยาว ดังนี้

4.1 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะสั้น (Short - Run Equilibrium of a Firm)

การพิจารณาดุลยภาพของผูผลิตในตลาดผูกขาด เนื่องมาจากตลาดผูกขาดสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ (1) ตลาดผูกขาดที่ไมมีการควบคุม และ (2) ตลาดผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาล อํานาจในการกําหนดราคาหรือปริมาณผลผลิตของตลาดผูกขาดทั้งสองประเภทแตกตางกัน กลาวคือ ถาเปนตลาดผูกขาดที่ไมมีการควบคุม อํานาจในการกําหนดราคาหรือปริมาณผลผลิตของผูผลิตมีอยางเต็มท่ี ผูผลิตจะแสวงหาผลกําไรสูงสุด ณ ท่ี MC = MR แตถาเปนตลาดผูกขาดที่ถูกควบคุม

P, R

Q

0

D = AR MR

รูปท่ี 13.16 เสนดีมานดและเสน MR ในตลาดผูกขาด

Page 283: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

261

โดยรัฐบาล ผูผูกขาดไมมีอํานาจอยางเต็มท่ีในการกําหนดราคาหรือปริมาณ อํานาจการกําหนดดังกลาวจะขึ้นอยูกับนโยบายของรัฐบาล ดังนั้นการพิจารณาจึงจําเปนตองแยกตามประเภทของตลาดผูกขาด

4.1.1 ตลาดผูกขาดที่ไมมีการควบคุม

ผูผลิตท่ีอยูในตลาดผูกขาดที่ไมมีการควบคุมจะมีอิสระอยางเต็มท่ีในการกําหนดราคา หรือปริมาณผลผลิต โดยที่ผูผลิตจะพยายามแสวงหากําไรสูงสุดอยูเสมอ แตในระยะสั้นบางครั้ง ผูผลิตผูกขาดอาจจะประสบกับปญหาการขาดทุนไดเนื่องจากอยูในขั้นตอนการปรับตัว นั่นคือ ผูผลิตผูกขาดในระยะสั้นมีโอกาสที่จะไดรับกําไรหรือในบางครั้งก็มีโอกาสที่จะขาดทุนได สามารถแยกพิจารณาออกเปน 2 กรณี

ก. กรณกีําไรสูงสุด (Maximize Profit)

หากผูผลิตผูกขาดไดรับกําไรผูผลิตก็พยายามจะแสวงหากําไรสูงสุดโดยที่จะขยายการผลิตไปจนกวาจะถึงจุดท่ี MC = MR จากรูปที่ 13.17 ผูผลิตจะไดรับกําไรสูงสุด ณ ท่ี MC = MR หรือท่ีจุด E โดยผูผลิตจะผลิตสินคาออกมาจํานวนเทากับ OQ1 หนวย และราคาสินคาจะถูกกําหนดจากผูซื้อเทากับ OP1

บาทตอหนวย ในขณะที่ตนทุนเฉลี่ยตอหนวย ณ ปริมาณ OQ1 เทากับ OC หรือ Q1B บาทตอหนวย

∴ กําไรเฉลี่ยตอหนวยเทากับ OP1 - OC = P1C แตเมื่อพิจารณาในรูปของรายรับรวม ตนทุนรวม และกําไรรวมจะไดดังนี้

ผูผลิตมีรายรับรวมเทากับ OP1 × OQ1 = OP1AQ1

B A

E MR D = AR

Q Q1 O

MC AC P, R

P1 C

รูปท่ี 13.17 ดุลยภาพของผูผลิตผูกขาดในระยะสั้นกรณีกําไรสูงสุด

Page 284: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 262

ตนทุนรวมของผูผลิตเทากับ OC × OQ1 = OCBQ1

∴ กําไรรวมของผูผลิตเทากับ P1C × OQ1 = P1ABC ณ ปริมาณผลผลิตใด ๆ ถาคา AR > AC แลวผูผลิตจะไดรับกําไรเกินปกติเสมอ แตจะเปนกําไรสูงสุดหรือไมข้ึนอยูกับวา ณ ปริมาณผลผลิตดังกลาวคา MC = MR หรือไม

ข. กรณีขาดทุนนอยที่สุด (Minimize Loss)

ในระยะสั้นผูผลิตผูกขาดไมจําเปนตองไดรับกําไรเกินปกติเสมอ ในบางครั้งผูผลิตอาจจะประสบกับปญหาการขาดทุนได เนื่องจากเปนระยะการปรับตัวในตอนแรกของการผลิตทําใหตนทุนการผลิตเฉลี่ยสูงกวารายรับเฉลี่ย การพิจารณาในตลาดผูกขาดก็เชนเดียวกันกับตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ เมื่อผูผลิตขาดทุนแลวผูผลิตก็จะทําการผลิต ณ ท่ี MC = MR เพื่อใหตนเองขาดทุนนอยท่ีสุด และผูผลิตจะทําการผลิตตอไปหรือไมข้ึนอยูกับวา ณ ปริมาณผลผลิตดังกลาว ผูผลิตไดรายรับเฉลี่ยมากกวาตนทุนผันแปรเฉลี่ยหรือไม ถารายรับเฉลี่ยมากกวาตนทุนผันแปรเฉลี่ยผูผลิตก็นาจะยังทําการผลิตตอไป แตถารายรับเฉลี่ยนอยกวาตนทุนผันแปรเฉลี่ยผูผลิตจะตองยกเลิกการผลิตเพราะจะทําใหเกิดการสูญเสียนอยกวาและรายไดท่ีไดรับจะไมคุมกับคาใชจายในการดําเนินกิจการ (ตนทุนผันแปร) จากรูปที่ 13.18 เปนการแสดงดุลยภาพของผูผลิตผูกขาดกรณีท่ีขาดทุนนอยท่ีสุด ซึ่งผูผลิตจะทําการผลิต ณ ปริมาณผลผลิตท่ีคา MC = MR หรือท่ีจุด E ปริมาณผลผลิตท่ีไดเทากับ OQ1 หนวย และราคาถูกกําหนดจากผูซื้อเทากับ OP1 บาท/หนวย ในขณะที่ปริมาณผลผลิต ดังกลาวผูผลิตเสียตนทุนเฉลี่ยตอหนวยเทากับ OA หรือ Q1B ดังนั้นผูผลิตจะขาดทุนเฉลี่ยตอหนวยเทากับ AP1

หรือ BC ตนทุนผลิตเฉลี่ยผันแปรเทากับ Q1F หรือ OG ซึ่งรายรับเฉลี่ยมากกวาตนทุนผันแปรเฉลี่ย แตถาจะมองในรูปของคารวมก็จะไดวา ณ ปริมาณผลผลิต OQ1 ผูผลิตมี

ตนทุนรวมเทากับ OA × OQ1 = OABQ1

รายรับรวม เทากับ OP1 × OQ1 = OP1CQ1

∴ ขาดทุนรวมเทากับ P1A × OQ1 = OABQ1 - OP1CQ1 = P1ABC

ตนทุนรวมผันแปรเทากับ = OGFQ1 ณ ปริมาณผลผลิต OQ1 ผูผลิตยังคงผลิตตอไปเพราะวาผูผลิตยังมีรายไดท่ีเหลือจาก

คาใชจายดําเนินงานเทากับ GP1CF เพื่อชดเชยตนทุนคงที่รวมไดบางสวนซึ่งดีกวาการหยุดการผลิต

ถาผูผลิตหยุดการผลิตผูผลิตจะตองรับผิดชอบตนทุนคงที่รวมเทากับ ABFG

Page 285: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

263

รูปท่ี 13.18 ดุลยภาพของผูผลิตผูกขาดในระยะสั้น กรณีขาดทุนนอยที่สุด

4.1.2 ตลาดผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาล

กิจการบางอยางที่รัฐบาลใหอํานาจในการผูกขาด รัฐบาลจําเปนตองเขามาควบคุมราคาหรือควบคุมปริมาณการผลิตเพื่อปองกันไมใหเกิดความเดือดรอนกับประชาชนโดยทั่วไป ดังนั้นผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาลจะไมทําการผลิตเพื่อแสวงกําไรสูงสุดได แตจะผลิตตามนโยบายของรัฐบาล เพราะฉะนั้นเงื่อนไขการผลิตจึงไมใช ณ จุดท่ี MC = MR เงื่อนไขการผลิตอาจจะเปน ณ จุดท่ี AC = AR หรืออาจจะเปน ณ จุดท่ี MC = AR โดยที่ระดับราคา ณ จุดท่ี AC = AR จะเปนราคาที่เรียกวา " ราคายุติธรรม "(fair price : Pf) จาก AC = AR เมื่อคูณดวยปริมาณผลผลิต (Q) ท้ังสองขาง จะได

AC × Q = AR × Q TC = TR ดังนั้น ระดับราคา ณ จุดท่ี AC = AR ผูผลิตจะไดรับเพียงกําไรปกติเทานั้นเพราะตนทุนรวมมีคาเทากับรายรับรวม ราคาดังกลาวจึงเปนราคาที่ยุติธรรมดีแลว อยางไรก็ตาม ณ ท่ี AC = AR จะยังไมใชเปนจุดท่ีมีการจัดสรรทรัพยากรของชาติใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ การจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ ณ จุดท่ี MC = AR เพราะการผลิตอยูบนเสน MC ดังนั้นระดับราคา ณ ท่ีจุด MC = AR จะหมายถึง "ราคาในอุดมคติ" (ideal price : Pi)

P1

MR • E

F C

B

G

AVC

P MC AC

Q Q1 O

A

Page 286: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 264

การผลิตสินคาของผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาลจะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพหรือไม ข้ึนอยูกับวารัฐบาลจะใหผูผลิตทําการผลิตและขายในระดับราคาใด ยกตัวอยางเชน 1) ถากําหนดใหขายในราคาอุดมคติ (ideal price) แลวการใชทรัพยากรจะเปนอยางมีประสิทธิภาพ แตผูผลิตจะขาดทุนหรือไมก็ข้ึนอยูกับวาราคาอุดมคติ (Pi) อยูสูงกวาหรือต่ํากวาราคายุติธรรม (Pf) ถา Pi > Pf แลวผูผลิตจะไดรับกําไรเกินปกติ (extra profit) ถา Pi < Pf ผูผลิตจะขาดทุน ถา Pi = Pf ผูผลิตจะไดรับกําไรปกติ (normal profit) 2) ถากําหนดใหขายในราคายุติธรรม (Pf) ผูผลิตจะไดรับกําไรปกติแตการใชทรัพยากรจะมีประสิทธิภาพหรือไมข้ึนอยูกับ ถา Pf = Pi การใชทรัพยากรจะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ถา Pf < Pi การใชทรัพยากรจะมีมากเกินไป ถา Pf > Pi การใชทรัพยากรจะมีนอยเกินไป เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และตนทุน (C) สวนแกนนอนคือปริมาณผลผลิต (Q) ถาผูผลิตผูกขาดไมถูกควบคุมโดยรัฐบาลเขาจะแสวงหากําไรสูงสุด โดยผลิตท่ี MC = MR ผลิตสินคาออกมา OQm หนวย และขายในราคา OPm บาทตอหนวย ซึ่งผลิตออกมานอย และขายในราคาที่สูงกวาราคาที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาล โดยท่ีราคาที่ถูกกําหนดโดยรัฐบาลเทากับ OPE บาทตอหนวย ณ ระดับราคา OPE บาทตอหนวย จะเปนทั้งราคาในอุดมคติ (Pi) และราคายุติธรรม (Pf) ผูผลิตจะผลิตสินคาออกมา OQE หนวย และในปริมาณผลผลิตดังกลาวจะเปนการใชทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาลในกรณีนี้จะไดรับกําไรปกติ (normal profit) ดังนั้นรัฐบาลจึงไมจําเปนตองเขาไปชวยเหลือหรือใหการอุดหนุนแตอยางใด และการที่รัฐบาลเขาไปควบคุมผูผลิตจะทําใหสังคมไดรับประโยชนมากกวาการผลิตโดยผูผูกขาดที่ไมถูกควบคุมเพราะปริมาณสินคามีมากกวา (QE > Qm) และราคาต่ํากวา (PE < Pm) ดังรูปที่ 13.19

Page 287: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

265

รูปท่ี 13.19 การผลิตของผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาล กรณีการใชทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ

รูปท่ี 13.20 การผลิตของผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาลกรณีที่ใชทรัพยากรมากเกินไป

จากรูปที่ 13.20 ถารัฐบาลกําหนดใหผูผลิตขายสินคาในราคายุติธรรม (Pf) ผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาลจะผลิตสินคาออกมา OQf หนวย ผูผลิตจะไดรับกําไรปกติ (normal profit) กรณีนี้การใชทรัพยากรจะมีมากเกินไป (Pi>Pf) ซึ่งรัฐบาลไมจําเปนตองเขาไปชวยเหลือหรือใหการอุดหนุนใดๆ แตถารัฐบาลคํานึงถึงการใชทรัพยากรของชาติเปนหลักรัฐบาลจะตองใหผูผลิตขายใน

Em E

F

P, C

D = AR

MR

MC AC

Pm

PE

O Qm QE Q

MR

G

Pi Pf

Ei Ef

Q

D = AR

P, C MC AC

Qf Qi O

Page 288: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 266

ราคาอุดมคติ (Pi) ผูผลิตจะผลิตสินคาออกมาเพียง OQi หนวย ผูผลิตจะไดรับกําไรเกินปกติเทากับ

PiEiFG ซึ่งผูผลิตผูกขาดสามารถหารายไดสงเขารัฐได เชน รัฐวิสาหกิจตางๆ ท่ีมีกําไร และเปนแหลงหารายไดของรัฐเปนอยางดี ตามรูปที่ 13.21 ถารัฐบาลกําหนดใหผูผลิตขายสินคาในราคายุติธรรม (Pf) ผูผลิตจะผลิตสินคาออกมา OQf หนวย ผูผลิตจะไดรับกําไรปกติ (normal profit) และมีการใชทรัพยากรนอยเกินไป (Pf > Pi) แตถารัฐบาลเห็นวาราคายุติธรรมสูงเกินไป และถาตองการกําหนดใหผูผลิตขายในราคา OPi

ผูผลิตก็จะผลิตสินคาออกมา OQi หนวย ณ ระดับราคา OPi ผูผลิตจะขาดทุนเทากับ GFEiPi ซึ่งรัฐบาลจะตองหาเงินมาชดเชย หรือใหการชวยเหลือเทากับจํานวนเงินที่ขาดทุนเพื่อใหผูผลิตผูกขาดสามารถอยูได เชน รัฐวิสาหกิจตางๆที่ประสบกับปญหาการขาดทุน ไดแก การรถไฟแหงประเทศไทย และ ขสมก. เปนตน

รูปท่ี 13.21 การผลิตของผูผลิตผูกขาดที่ถูกควบคุมโดยรัฐบาล กรณีที่ใชทรัพยากรนอยเกินไป

MC

MR D = AR

Pf G Pi

Ef F

Ei

P, C AC

Q Qf Qi O

Page 289: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

การกําหนดราคาและปริมาณผลผลิตของผูผลิต

267

4.2 ดุลยภาพของผูผลิตในระยะยาว (Long - Run Equilibrium of a Firm)

การพิจารณาดุลยภาพของผูผลิตผูกขาดในระยะยาว ในที่นี้จะพิจารณาเฉพาะผูผลิตผูกขาดที่ไมถูกควบคุมโดยรัฐบาล ในระยะยาวผูผลิตผูกขาดสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงขนาดการผลิต ตลอดจนสามารถที่จะยกเลิกการผลิตไดถาหากประสบกับปญหาการขาดทุนเรื้อรัง การกําหนดราคาหรือปริมาณการผลิตของผูผลิตผูกขาดในระยะยาวไมจําเปนจะตองเปนขนาดโรงงานที่เหมาะสม (optimum size) ผูผลิตผูกขาดจะใชโรงงานผลิตขนาดใดนั้นขึ้นอยูกับดีมานดหรือรายรับเฉลี่ยท่ีเขาเผชิญอยู โดยทั่วไปแลวผูผลิตผูกขาดสวนใหญจะไดรับกําไรเกินปกติ (extra profit)ในระยะยาวเพราะในตลาดผูกขาดไมมีคูแขงขันเขามาผลิตแยงกําไรสวนเกิน ถามีผูผลิตรายอื่นเขามาแขงขันผลิตไดตลาดดังกลาวจะไมเรียกวาตลาดผูกขาด เงื่อนไขการทํากําไรสูงสุดของผูผลิตผูกขาดระยะยาวก็คือผูผลิตผูกขาดจะทําการผลิตท่ีจุด LMC = MR เสมอ

รูปท่ี 13.22 การกําหนดการผลิตของผูผลิตผูกขาดในระยะยาว

จากรูปที่ 13.22 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งคือราคา (P) และตนทุน (C) สวนแกนนอนคือปริมาณการผลิต (Q) ผูผลิตจะทําการผลิตเพื่อใหไดกําไรสูงสุด ณ ท่ี LMC = MR โดยที่ผลิตสินคาออกมาจํานวน OQ1 หนวย และราคาถูกกําหนดจากเสนดีมานดหรือจากผูซื้อมีคาเทากับ OP1 บาทตอหนวยท่ีปริมาณการผลิต OQ1 ผูผลิตมีตนทุนเฉลี่ยระยะยาวเทากับ OG หรือ Q1F ผูผลิตจะไดกําไรเฉลี่ย GP1

บาทตอหนวย หรือกําไรรวมเทากับ P1EFG ซึ่งเปนกําไรเกินปกติ การกําหนดปริมาณผลผลิตของ

Q

P1

MR

D = AR

H

E

F

P, C LMC LAC

G

Q1 O

Page 290: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 268

ผูผลิตผูกขาดจะสามารถบอกไดวาใชโรงงานผลิตท่ีเล็กกวาขนาดที่เหมาะสม หรือวาใชโรงงานการผลิตเกินกวาขนาดที่เหมาะสม โดยข้ึนอยูกับเงื่อนไขดังนี้ 1) ถาปริมาณการผลิต ณ ท่ี LMC = MR (OQ1) นอยกวาหรืออยูทางดานซายของจุดตัดระหวางเสน LMC กับเสน LAC (จุด H) หรือจากรูปที่ 13.22 ถาจุด F อยูทางดานซายมือของจุด H การผลิตของผูผลิตผูกขาดในระยะยาวยังมีการใชโรงงานผลิตท่ีมีขนาดเล็กกวาขนาดที่เหมาะสม 2) ถาปริมาณการผลิต ณ ท่ี LMC = MR (OQ1) มากกวา หรืออยูทางดานขวามือของจุดตัดระหวางเสน LMC กับ LAC (จุด H) หรือจากรูปที่ 13.22 ถาจุด F อยูทางดานขวามือของจุด H การผลิตของผูผลิตผูกขาดในระยะยาวมีการใชโรงงานผลิตท่ีมีขนาดใหญเกินไป หรือมีขนาดใหญกวาขนาดที่เหมาะสม

Page 291: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทท่ี 14 ตลาดปจจัยการผลิต

(The Factor Market) ท่ีไดศึกษาผานมาในบทกอนหนาท้ังหมดนั้น เราไดศึกษาการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคากันของระบบเศรษฐกิจในเฉพาะตลาดผลผลิต(output market) กลาวคือเปนการศึกษาถึงการผลิตสินคาและบริการ และเปนการศึกษาการจําหนายสินคาและบริการในตลาดแบบตางๆ อยางไรก็ตามในการผลิตสินคาและบริการของหนวยธุรกิจ หรือผูผลิตจะตองใชปจจัยการผลิตในสัดสวนตางๆที่ไดมาจากปจจัยการผลิต 4 ชนิด ซึ่งไดแก แรงงาน ท่ีดิน ทุน และผูประกอบการ ในบทนี้จะมุงประเด็นไปที่ตลาดปจจัยการผลิต ซึ่งจะมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนปจจัยการผลิตชนิดตาง ๆ เพื่อนํามาผลิตเปนสินคาและบริการ หนวยธุรกิจหรือผูผลิตจะแสดงบทบาทเปนผูกําหนดซัพพลาย (supplier) ในตลาดผลผลิต แตในตลาดปจจัยการผลิตพวกเขาเหลานี้จะแสดงบทบาทในทางตรงกันขามกับตลาดผลผลิต กลาวคือ จะเปนผูกําหนดดีมานด (demander) ในตลาดผลผลิตและตลาดปจจัยการผลิตมีหลายสิ่งท่ีเหมือนกัน กลาวคือ ถามองในแงของผูซื้อเขามีความตองการและสามารถที่จะจายเงินเพื่อซื้อสินคาหรือปจจัยการผลิต แตถามองในแงของผูขายแลวเปนความตองการเสนอขายสินคาหรือปจจัยการผลิต อยางไรก็ตามในตลาดปจจัยการผลิตยังมีความพิเศษออกไปอีก ยกตัวอยางเชน ผูกําหนดดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต (ผูผลิต) ตองการปจจัยการผลิตตางๆมาเพื่อเปนวัตถุดิบเพื่อปอนในกระบวนการผลิต ผูผลิตเองไมไดรับความพอใจจากใชปจจัยการผลิต ในฐานะที่เขาเปนผูกอใหเกิดดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตในตลาดปจจัยการผลิต ในสวนของผูบริโภคจะไดรับความพอใจจากการบริโภคสินคาและบริการในตลาดผลผลิต อยางไรก็ตามผูกําหนดซัพพลายบางอยางในตลาดปจจัยการผลิต จะไดรับความพอใจจากการขายบริการ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูกําหนด ซัพพลายที่เปนแรงงานและผูประกอบการ

1. ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต (Factor Demand)

ในบทนี้จะใหความสําคัญกับดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตในตลาดปจจัยการผลิต ในขณะที่ ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตมีสวนคลายคลึงกันเปนอยางมากกับดีมานดสําหรับสินคาและบริการ ถึงแมจะเหมือนกันแตยังมีสวนที่แตกตางกันออกไปบาง โดยเฉพาะอยางยิ่งดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตท่ีไมไดสืบเนื่องมาจากความตองการในปจจัยการผลิตแตจะสืบเนื่องมาจากสินคาและบริการท่ีผูผลิต

Page 292: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 270

ตองการผลิตมันขึ้นมา และในการอธิบายดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตจะใชทฤษฎีผลิตภาพสวนเพิ่มหนวยสุดทายชวยในการอธิบาย ซึ่งทฤษฎีนี้จะเปนไปตามกฎการลดนอยถอยลงของผลไดหนวยสุดทาย

1.1 ดีมานดสืบเนื่อง (Derived Demand)

ดีมานดท่ีเกิดจากผูบริโภคเปนดีมานดสําหรับสินคาและบริการ ซึ่งสวนใหญเปนสินคาสําเร็จรูปและพรอมท่ีจะนํามาบริโภคไดทันที เชน ดีมานดสําหรับอาหาร ดีมานดสําหรับเสื้อผา ดีมานดสําหรับยารักษาโรค และดีมานดสําหรับสิ่งของเครื่องใชตางๆ โดยที่ผูบริโภคจะไดรับความพอใจจากการไดอุปโภคบริโภคสินคาและบริการเหลานี้ แตการท่ีหนวยธุรกิจ (firms) หรือผูผลิตมี ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตนั้นไมไดหมายความวา ผูผลิตเหลานั้นจะไดรับความพอใจจากปจจัยการผลิตนั้นโดยตรง หรือผูผลิตไมไดอุปโภคบริโภคปจจัยการผลิตโดยตรง ผูผลิตมีความตองการปจจัยการผลิตมาเพื่อผลิตเปนสินคาและบริการอีกตอหนึ่ง ตามความตองการของผูบริโภคที่มีตอ สินคาและบริการชนิดนั้นๆ กลาวคือ ถาผูบริโภคมีความตองการสินคามากขึ้นผูผลิตก็จะมีความตองการใชปจจัยการผลิตเพิ่มมากขึ้นตาม หรือในทางกลับกันหากผูบริโภคมีความตองการในตัวสินคาลดลงผูผลิตก็จะมีความตองการใชปจจัยการผลิตลดลง จากลักษณะของการเปลี่ยนแปลง ดังกลาว นักเศรษฐศาสตรจึงเรียกดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตวา “ดีมานดสืบเนื่อง” ( derived demand) ยกตัวอยางเชน หากผูบริโภคตองการที่อยูอาศัยเพิ่มมากขึ้นเจาของบานจัดสรรทั้งหลายตางก็มีดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเพิ่มมากขึ้นไมวาจะเปนแรงงาน ท่ีดิน กรวด ทราย เหล็ก ปูนซีเมนต ฯลฯ หรือกรณีตางประเทศมีความตองการที่จะนําเขาเสื้อผาสําเร็จรูปจากไทยเปนจํานวนมาก ผูผลิตเสื้อผาของไทยก็จะมีดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเพิ่มมากขึ้นไมวาจะเปนแรงงาน วัตถุดิบตาง ๆ หรือในทางกลับกันหากตางประเทศมีความตองการเสื้อผาสําเร็จรูปจากไทยนอยลงเนื่องจากราคาสูงกวาประเทศผูผลิตรายอื่นๆ หรือดวยสาเหตุอื่นๆ ก็ตาม ผูผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปในไทยก็จะลดการผลิตลงจึงจําเปนตองปลดคนงานบางสวนออกและลดการซื้อวัตถุดิบอื่นๆ ลง ดีมานดสืบเนื่องในปจจัยการผลิตนั้นอยูบนหลักการที่สําคัญ 2 ประการ คือ ประการแรก ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตข้ึนอยูกับดีมานดสําหรับสินคาและบริการ ถาดีมานดสําหรับสินคาและบริการเปลี่ยนแปลงจะทําใหดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลงไปดวย ประการที่สอง ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตข้ึนอยูกับพื้นฐานการผลิต เทคนิคการผลิตซึ่งสามารถที่จะกําหนดปริมาณการผลิตสินคาและบริการได ถาเทคนิคการผลิตเปลี่ยนแปลงดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตก็จะเปลี่ยนแปลงดวย

Page 293: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

271

1.2 ดีมานดรวม (Jointly Demand)

ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตมีลักษณะพิเศษอยางหนึ่งก็คือ ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตประเภทตางๆมักมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน กลาวคือ โดยปกติแลวปจจัยการผลิตแตละชนิดไมสามารถที่จะทํางานตามลําพังไดอยางมีประสิทธิภาพจะตองมีการทํางานรวมกับปจจัยการผลิตอื่นๆจึงจะมีประสิทธิภาพ ยกตัวอยางเชน ในการผลิตขาว ผูผลิตจะใชท่ีดินเพียงอยางเดียวไมไดจะตองมีแรงงาน เครื่องมือเครื่องจักร เมล็ดพันธุ ปุย และน้ํา เปนตน หรือในการผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปถาจะใชเฉพาะแรงงานเย็บก็จะไมมีประสิทธิภาพ หรือจะใชจักรเย็บก็จะตองมีแรงงานเขามาควบคุมการตัดเย็บจึงจะทําใหการผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปสามารถทําไดในปริมาณที่มากและมีประสิทธิภาพ จากตัวอยางดังกลาว จะเห็นไดวาดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตตางๆเปนดีมานดรวมอาศัยซึ่งกันและกัน หรือเปน "ดีมานดรวม" (jointly interdependent demand)

1.3 ทฤษฎีวาดวยผลิตภาพสวนเพ่ิมหนวยสุดทาย (Marginal Productivity Theory)

ราคาของปจจัยการผลิตแตละชนิด จะถูกกําหนดขึ้นมาโดยดีมานดและซัพพลายของปจจัยการผลิต (demand for factors and supply of factors) ชนิดนั้น ๆ แตในตลาดผลผลิตราคาของ สินคาท่ีถูกกําหนดโดยดีมานดและซัพพลายของสินคานั้นๆ และในสวนของตลาดปจจัยการผลิตการวิเคราะห ดีมานดของปจจัยการผลิตนั้น จะตองอาศัยหลักทฤษฎีผลิตภาพสวนเพิ่มหนวยสุดทาย สวนซัพพลายของปจจัยการผลิตนั้น จะแยกพิจารณาไปตามลักษณะที่แตกตางกันของปจจัยการผลิตแตละชนิด การท่ีจะจางปจจัยการผลิตสวนใหญมักจะคํานึงถึง ความสามารถของปจจัยการผลิตท่ีใชในการผลิตสินคา หรือเรียกวาปจจัยการผลิตนั้นๆมีผลิตภาพ (productivity) มากนอยแคไหน และ สินคาท่ีผลิตข้ึนมามีระดับราคาสูงหรือต่ําเพียงใด ปจจัยการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพสูงจะสามารถผลิตสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนที่ตองการของผูผลิตมากกวาปจจัยการผลิตท่ีมีประสิทธิ ภาพดอยกวาท้ังนี้และทั้งนั้นสินคาท่ีผลิตข้ึนมาจะตองเปนที่ตองการของผูบริโภคดวย 1) ผลผลิตสวนเพ่ิมหนวยสุดทาย (Marginal Physical Product: MPP) ผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทายของปจจัยการผลิต หมายถึง ผลผลิตท่ีเพิ่มข้ึนเนื่องมาจากการใชปจจัยการผลิตเพิ่มข้ึน 1 หนวย ในขณะที่ปจจัยการผลิตชนิดอื่นๆคงที่ ซึ่งในระยะสั้นผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทายของปจจัยการผลิตจะลดลงเมื่อเพิ่มปจจัยการผลิตผันแปรเขาไปจนถึงระดับหนึ่งซึ่งจะเปนไปตามกฎการลดนอยถอยลงของผลได (law of diminishing returns)

Page 294: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 272

2) รายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทายจากการใชปจจัยการผลิต (Marginal Revenue Product: MRP)

รายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทายจากการใชปจจัยการผลิต หมายถึง รายรับสวนที่เพิ่มข้ึนเนื่องมาจากการใชปจจัยการผลิตเพิ่มข้ึน 1 หนวย ในขณะที่ปจจัยการผลิตชนิดอื่นๆคงที่ หรืออีกนัยหนึ่งรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทายจากการใชปจจัยการผลิตก็คือ ผลคูณระหวางผลผลิตสวนเพิ่มหนวย

สุดทาย (MPP) กับรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MR) ⇒ MRP = MPP × MR นั่นคือ MRP จะมากหรือนอยข้ึนอยูกับคาของ MPP และคา MR ดุลยภาพระยะสั้นของผูผลิตในการผลิตสินคาและบริการ และการที่ผูผลิตจะผลิตสินคาเพื่อใหไดกําไรสูงสุดนั้นผูผลิตจะตองผลิตไปจนกวาคาตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MC) เทากับ รายรับเพิ่มหนวยสุดทายท่ีไดจากการขายสินคา (MR) หรือผูผลิตจะตองขยายการผลิตออกไปจนกระทั่งถึงระดับที่ปจจัยการผลิตผันแปรหนวยสุดทายท่ีใชในการผลิตทําใหรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทายเทากับตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทาย ซึ่งผูผลิตเหลานี้ไมวาจะอยูในตลาดผลผลิตท่ีมีการ แขงขันสมบูรณหรือตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด หรือตลาดผูขายนอยราย หรือตลาดผูกขาด ตางก็จะมีพฤติกรรมเชนเดียวกัน จากเงื่อนไขดังกลาวนี้ผูผลิตไมวาจะอยูในตลาดผลผลิตแบบใดๆก็ตาม ผูผลิตเหลานี้ตางก็จะจางปจจัยการผลิตผันแปรเขาไปทําการผลิตจนกระทั่งถึงระดับที่ตนทุน สวนเพิ่มหนวยสุดทายจากการจางปจจัยการผลิต เทากับ รายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทายจากการจางปจจัยการผลิตนั้น ซึ่งอาจแสดงไดดังนี้

โดยที่ W คือ ราคาของปจจัยการผลิต หรือตนทุนสวนเพิ่มหนวยสุดทายจากการจางปจจัยการผลิต MRP คือ รายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทายจากการจางปจจัยการผลิต 3) มูลคาของผลผลิตสวนเพ่ิมหนวยสุดทายจากการใชปจจัยการผลิต (Value of Marginal

Product: VMP) มูลคาของผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทายจากการใชปจจัยการผลิต หมายถึง มูลคาของผลผลิตท่ีเพิ่มข้ึนเนื่องจากการใชปจจัยการผลิตเพิ่มข้ึน 1 หนวยในขณะที่ปจจัยการผลิตชนิดอื่นๆคงที่

หรือก็คือผลคูณระหวางผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MPP) กับราคาของผลผลิต (P) ⇒ VMP = MPP × P

W = MRP

Page 295: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

273

1.4 ปจจัยที่กําหนดดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต (Factor Demand Determinant)

ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต (factor demand) สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงไดเชนเดียวกับดีมานดสําหรับสินคาและบริการทั่วไป กลาวคือ ดีมานดสําหรับสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงมีสาเหตุเนื่องมาจากปจจัยทางออมซึ่งไดแกรายไดของผูบริโภคราคาสินคาชนิดอื่นท่ีเกี่ยวของ รสนิยมของผูบริโภค และฤดูกาล ถาปจจัยตางๆเหลานี้ตัวใดตัวหนึ่งหรือท้ังหมดไดเปลี่ยนแปลงไปจะมีผลทําใหดีมานดสําหรับสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปดวย สวนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตก็สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงไดเชนเดียวกันซึ่งมีสาเหตุเนื่องมาจากปจจัยท่ีกําหนด ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลงไป ปจจัยท่ีกําหนดดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต ไดแก ดีมานดสําหรับสินคาและบริการ เทคนิคการผลิต และราคาของปจจัยการผลิต เมื่อปจจัยตางๆเหลานี้ไดเปลี่ยนแปลงไปจะมีผลทําใหดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลงไปดวย ซึ่งสามารถอธิบายไดดังนี้

1) ดีมานดสําหรับสินคาและบริการเปลี่ยนแปลง

เนื่องจากดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเปนดีมานดสืบเนื่อง (derived demand) มาจาก ดีมานดสําหรับสินคาและบริการ เมื่อดีมานดสําหรับสินคาเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึนซึ่งมีสาเหตุมาจากปจจัยกําหนดทางออมไดเปลี่ยนแปลงไปจะทําใหเสนดีมานดสําหรับสินคาเคลื่อนยายไปทางขวามือของเสนเดิมท้ังเสนในขณะที่เสนซัพพลายยังคงเดิมอยูจะมีผลทําใหราคาสินคาดุลยภาพในตลาดผลผลิตเพิ่มสูงข้ึน เมื่อราคาสินคาสูงข้ึนผูผลิตก็จะผลิตสินคาออกมาขายเพิ่มข้ึนและดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตก็จะเพิ่มมากขึ้นตาม แตในทางกลับกันถาดีมานดสําหรับสินคาลดลงก็จะมีผลทําใหดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตลดลงตามไปดวย นั่นคือ ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตจะมีมากหรือนอยข้ึนอยูกับดีมานดสําหรับสินคาท่ีตองใชปจจัยการผลิตชนิดนั้น ๆ

2) เทคนิคการผลิตเปลี่ยนแปลง

ในการผลิตสินคาผูผลิตจะใชปจจัยการผลิตทุกอยางจํานวนเทาเดิมแตถาใชเทคนิคการผลิตท่ีแตกตางกันแลวจะทําใหผลผลิตท่ีไดแตกตางกันไปดวย เชน ถาผูผลิตคนพบเทคนิคการผลิตใหมๆท่ีมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงกวาแมปจจัยการผลิตจํานวนเทาเดิมก็จะไดผลผลิตในปริมาณที่มากกวาการใชเทคนิคการผลิตเดิมๆอยู หรือถาหากผูผลิตใชเทคนิคการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพสูงกวาแตตองการผลิตสินคาในปริมาณเทาเดิม ผูผลิตจะใชปจจัยการผลิตในปริมาณที่นอยกวาเดิม

Page 296: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 274

3) ราคาปจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลง

การเปลี่ยนแปลงของราคาปจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่ง ยอมมีผลทําใหดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลงไปดวย ท้ังนี้ เพราะปจจัยการผลิตสามารถที่จะใชทดแทนกันไดเชน แรงงานคนกับเครื่องจักร การทดแทนกันของปจจัยการผลิตสามารถที่จะพิจารณาไดดังนี้ ถาอัตราคาจางแรงงานเพิ่มสูงข้ึน ผูผลิตก็จะหันไปใชเครื่องจักรเพิ่มมากขึ้นซึ่งจะมีผลทําใหดีมานดสําหรับเครื่องจักรขึ้นตามดวยและดีมานดสําหรับแรงงานจะลดลง ในทางตรงกันขามถาหากวาอัตราคาจางแรงงานถูกลงผูผลิตก็จะหันกลับมาใชแรงงานเพิ่มมากขึ้นและลดปริมาณการใชเครื่องจักรลงทําให ดีมานดสําหรับแรงงานเพิ่มข้ึนในขณะเดียวกันดีมานดสําหรับเครื่องจักรก็จะลดลง นอกจากปจจัยท้ังสามที่กลาวมาแลว ยังมีในเรื่องของคุณภาพของปจจัยการผลิตเขามาเกี่ยวของดวย ซึ่งในเรื่องคุณภาพของปจจัยการผลิตท่ีดีกวายอมเปนที่ตองการของผูผลิตมากกวาปจจัยการผลิตชนิดเดียวกันแตมีคุณภาพดอยกวา และคุณภาพของปจจัยการผลิตยังมีสวนทําใหดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลงดวย 1.5 ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต : กรณีตลาดปจจัยการผลิตและตลาดผลผลิตเปนตลาด แบบแขงขันสมบูรณ

ในกรณีท่ีตลาดผลผลิตเปนตลาดแขงขันสมบูรณ ราคาผลผลิตจะคงที่อยูระดับหนึ่งตามระดับราคาตลาด ผูผลิตไมมีอํานาจในการตั้งราคาเองไดและจะตองขาย ณ ระดับราคาตลาด และในตลาดปจจัยการผลิตท่ีเปนตลาดแขงขันสมบูรณซึ่งในที่นี้สมมติใหปจจัยการผลิต คือ แรงงาน จะไดวาในตลาดแรงงานที่แขงขันสมบูรณอัตราคาจางจะคงที่อยูระดับหนึ่ง แรงงานคนใดคนหนึ่งไมสามารถกําหนดอัตราคาจางใหแตกตางไปจากอัตราคาจางตลาดได ผูผลิตท่ีขายผลผลิตในตลาดแขงขันสมบูรณและตองวาจางแรงงานในตลาดแขงขันสมบูรณผูผลิตจะขยายการผลิตไปเรื่อย ๆ จนกวาจะเขาสูภาวะดุลยภาพที่

W = MPP × P = VMP

โดยที่ W คือ อัตราคาจาง MPP คือ marginal physical product P คือ ราคาสินคา VMP คือ value of marginal product

Page 297: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

275

ตารางที่ 14.1 แสดงความสัมพันธระหวางแรงงาน ผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทายและมูลคาของผลผลิต สวนเพิ่มหนวยสุดทาย : กรณีตลาดผลผลิตและตลาดปจจัยการผลิตเปนตลาดแขงขันสมบูรณ

L (1)

TP (2)

MPP (3)

P (4)

TR (5)

VMP (6)

1 120 120 2 240 240 2 260 140 2 520 280 3 420 160 2 840 320 4 560 140 2 1,120 280 5 680 120 2 1,360 240 6 780 100 2 1,560 200 7 860 80 2 1,720 160 8 920 60 2 1,840 120

หมายเหตุ : L = แรงงานซึ่งเปนปจจัยการผลิตผันแปร TP = ผลผลิตรวม

MPP = ΔΔ

TPL = ผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย

P = ราคาสินคาท่ีใชแรงงานผลิต TR = รายรับรวม (TP × P) VMP = มูลคาของผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MPP × P) จากตารางที่ 14.1 เมื่อนําจํานวนแรงงาน (L) และคา VMP มาสรางเปนรูปกราฟโดยใหแกนตั้งแทนดวยอัตราคาจางแรงงาน (W) แกนนอนแทนดวยจํานวนแรงงาน (L) เสน VMP ก็คือเสนดีมานดสําหรับแรงงาน ดังรูปที่ 14.1

Page 298: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 276

VMP

0

50

100

150

200

250

300

350

1 2 3 4 5 6 7 8

L

VMP

รูปท่ี 14.1 แสดงเสน VMP ของการใชแรงงาน

จากรูปที่ 14.1 เสน VMP ท่ีไดก็คือเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตแตยังไมสามารถสรุปไดวาจริงๆแลวเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเริ่มตั้งแตจุดใดของเสน VMP เปนตนไป

ตารางที่ 14.2 แสดงดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตของผูผลิต

L

(1)

TP

(2)

VMP (MPP×P)

(3)

TVC (VMP×L)

(4)

AP (TP/L)

(5)

ARP (AP×P)

(6)

TR (ARP×L)

(7) 1 120 240 240 120.00 240.00 240.00 2 260 280 560 130.00 260.00 520.00 3 420 320 960 140.00 280.00 840.00 4 560 280 1,120 140.00 280.00 1,120.00 5 680 240 1,200 136.00 272.00 1,360.00 6 780 200 1,200 130.00 260.00 1,560.00 7 860 160 1,120 122.86 245.72 1,720.04 8 920 120 960 115.00 230.00 1,840.00

จากตารางที่ 14.2 คา L , TP และ VMP นํามาจากตารางที่ 14.1 คา TVC คือ คาจางรวมที่ผูผลิตจะตองจายเนื่องจากการใชเแรงงานในการผลิตมีคาเทากับอัตราคาจาง (W=VMP) คูณกับจํานวนแรงงาน (L) หรือก็คือ ตนทุนผันแปรรวม คา AP คือผลผลิตเฉลี่ย (average product) ซึ่งหาไดจากผลผลิตรวม

Page 299: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

277

(TP) หารดวยจํานวนแรงงาน (L) คา ARP คือรายรับเฉลี่ยจากการใชปจจัยการผลิตมีคาเทากับผลผลิตเฉลี่ย (AP) คูณดวยราคาของสินคา (P) ท่ีใชแรงงานผลิต และคา TR คือรายรับรวมจากการใชปจจัยการผลิตมีคาเทากับรายรับเฉลี่ยจากการใชปจจัยการผลิต (ARP) คูณกับจํานวนแรงงาน (L) เมื่อนําคา VMP ในคอลัมนท่ี 3 และ ARP ในคอลัมนท่ี 6 มาสรางเปนรูปกราฟจะไดดังรูปที่ 14.2

VMP

0

50

100

150

200

250

300

350

0 1 2 3 4 5 6 7 8L

W

อยางไรก็ตามเนื่องจากดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเปนดีมานดสืบเนื่อง (derived demand) ดังนั้นเมื่อพิจารณาในตลาดผลผลิตท่ีเปนตลาดแขงขันสมบูรณในระยะสั้นแลวผูผลิตจะผลิตไปตามเสน MC โดยเริ่มตั้งแตจุดหยุดกิจการ (shut-down point) เปนตนไป ดังรูปที่ 14.2 (ข)

ARP

A

B •

MC AVC

MR = D = AR

Q

P

P รูป (ก)

O Q1

รูป (ข)

รูปท่ี 14.2 สนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต

Shut-down Point

Shut-down Point

Page 300: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 278

จากรูปที่ 14.2 (ก) ความสัมพันธระหวาง ARP กับ VMP เมื่อใช L เทากับ 1 หนวย คา ARP = VMP = 240 และเมื่อใช L เพิ่มข้ึน 2-3 หนวยจะเห็นไดวา VMP × L (คาจางแรงงานรวม) มีคามากกวา ARP × L (รายรับรวม) หากเพิ่มการใชแรงงานขึ้นไปจนถึง 4 หนวย ณ จุด A คา VMP = ARP พอดี แตเมื่อเพิ่มการใชแรงงานขึ้นไปเรื่อยๆมากกวา 4 หนวย จะเห็นไดวาคา ARP มากกวา VMP เมื่อคูณดวย L ท้ังสองขางจะได (ARP × L) > (VMP × L) หรือรายรับรวมมากกวาคาจางแรงงานรวม ถาใชแรงงานนอยกวาจุด A จะไมคุมกับคาใชจายในการผลิต แตถาผลิต ณ จุด A ผูผลิตจะมีรายรับรวมเทากับคาจางแรงงานรวมพอดี หากผูผลิตใชแรงงานตั้งแตจุด A เปนตนไปตามเสน VMP แลวผูผลิตจะไดรับรายรับรวมมากกวาคาจางแรงงานรวม ผูผลิตควรจะผลิตเมื่อคาจางสูงสุดไมเกินจุด A ผูผลิตจะตองผลิตไปตามเสน VMP โดยเริ่มตั้งแตจุด A ลงไป นั่นคือ เสนดีมานดสําหรับแรงงานก็คือเสน VMP ท่ีเริ่มตั้งแตจุด A ลงไปหรือเรียกจุด A วาเปนจุดหยุดกิจการ (shut-down point) ไดเชนกัน เพื่อยืนยันขอกลาวนี้ เมื่อพิจารณารูปที่ 14.2 (ข) จะเห็นไดวาจุด B คือจุดหยุดกิจการ (shut-down point) ผูผลิตในตลาดแขงขันสมบูรณจะผลิตสินคาไปตามเสน MC โดยเริ่มตั้งแตจุด B เปนตนไป หรือเรียกวาเสนซัพพลายของสินคาของผูผลิตในตลาดแขงขันสมบูรณระยะสั้น เมื่อเชื่อมโยงกับตลาดปจจัยการผลิตจะไดวาหากผูผลิตใชแรงงานเทากับ 4 หนวยในรูป (ก) ผลผลิตจะออกมาเทากับ Q1 หรือถาผูผลิตใชแรงงานมากกวา 4 หนวยเปนตนไปผลผลิตท่ีออกมาจะไดมากกวา Q1 เปนตนไป นั่นคือ จุด A ในตลาดปจจัยการผลิตจะสอดคลองกับจุด B ในตลาดผลผลิต

1.6 ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต : กรณีตลาดปจจัยการผลิตเปนตลาดแขงขันสมบูรณและ ตลาดผลผลิตเปนตลาดแขงขันไมสมบูรณ

ในกรณีของตลาดผลผลิตเปนตลาดแขงขันไมสมบูรณ และตลาดปจจัยการผลิตเปนตลาดแขงขันสมบูรณ จะพิจารณาจากรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทายจากการใชปจจัยการผลิต (MRP) ซึ่งมีคาเทากับคาผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MPP) คูณกับรายรับสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MR)

เนื่องจากในตลาดผลผลิตเปนตลาดแขงขันไมสมบูรณผูผลิตจะผลิตเพื่อใหไดกําไรสุงสุด ณ จุดท่ี MC = MR ซึ่งเปนตลาดผลผลิตแตเมื่อพิจารณาในตลาดปจจัยการผลิตแลวผูผลิตจะเขาสูภาวะดุลยภาพที่

MRP = MPP × MR

Page 301: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

279

W = MRP = MPP × MR

โดยท่ี W = อัตราคาจางแรงงาน

ตารางที่ 14.3 แสดงความสัมพันธระหวางแรงงานรายรับเพิ่มหนวยสุดทายจากการใชปจจัยการผลิต : กรณีตลาดปจจัยการแขงขันสมบูรณแตตลาดผลผลิตแขงขันไมสมบูรณ

L TP MPP MR TR MRP ARP

(1)

(2) (ΔTP/ΔL)

(3)

(4)

(TP×MR) (5)

(MPP×MR) (6)

(TR/L) (7)

1 20 20 3.00 60.00 60.00 60.00 2 50 30 2.70 135.00 81.00 67.50 3 75 25 2.40 180.00 60.00 60.00 4 95 20 2.10 199.50 42.00 49.88 5 110 15 1.95 214.50 29.25 42.90 6 120 10 1.80 216.00 18.00 36.00 7 125 5 1.75 218.75 8.75 31.25

จากตารางที่ 14.3 เมื่อนําจํานวนแรงงาน (L) ในคอลัมนท่ี 1 และคาจาง (W = MRP) ใน คอลัมนท่ี 6 และ ARP ในคอลัมนท่ี 7 มาสรางเปนรูปกราฟเพื่อหาเสนดีมานดสําหรับแรงงานโดยใหแกนตั้งแทนดวยคาจาง (W) และแกนนอนแทนดวยจํานวนแรงงาน (L) ดังรูปที่ 14.3

Page 302: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 280

0

102030405060708090

0 1 2 3 4 5 6 7

W(MRP)

L

รูปท่ี 14.3 เสนดีมานดสําหรับแรงงานกรณีอยูในตลาดปจจัยแขงขันสมบูรณ และตลาดผลผลิตอยูในตลาดแขงขันไมสมบูรณ

จากรูปที่ 14.3 จะเห็นไดวาถาผูผลิตใชแรงงาน 1 หนวย จะทําใหเขามีรายรับรวมจากการจางแรงงาน (ARP × L) เทากับรายจายรวมจากการจางแรงงาน (MRP × L) ถาใชแรงงาน 2 หนวย รายจายรวมจาการจางแรงงานมากกวารายรับรวมจากการจางแรงงาน แตถาใชแรงงาน 3 หนวย รายจายรวมจากการจางแรงงานเทากับรายรับรวมจากการจางแรงงานพอดี และถาใชแรงงานตั้งแต 4 หนวย เปนตนไป รายจายรวมจากการจางแรงงานนอยกวารายรับรวมจากการจางแรงงาน นั่นคือ อัตราคาจางแรงงานสูงสุดจะตองไมเกิน 60 บาท/หนวย ผูผลิตจะผลิตไปตามเสน MRP โดยเริ่มตั้งแตจุด A ลงไป ดังนั้นเสน ดีมานดสําหรับแรงงานก็คือ เสน MRP ท่ีเริ่มตั้งแตจุด A ลงไป การพิจารณาเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตท่ีผานมาเปนการพิจารณาดีมานดเฉพาะของของผูผลิตแตละราย (individual factor demand) ในตลาดผลผลิตท่ีมีการแขงขันไมสมบูรณ ถาตองการทราบเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตของทั้งตลาด ก็สามารถหาไดโดยการรวมดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตของผูผลิตแตละรายเขาดวยกัน ก็จะไดเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตของทั้งตลาด (market factor demand) อยางไรก็ตามการพิจารณาเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตจากเสน MRP ของผูผลิตในตลาดผลผลิตแขงขันไมสมบูรณ และในตลาดปจจัยการผลิตแขงขันสมบูรณสามารถที่จะอธิบายการหาเสน ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตจากเสน VMP ของผูผลิต ในตลาดปจจัยการผลิตแขงขันสมบูรณสามารถท่ีจะหาเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตจากเสน MRP ได เพราะวาในตลาดผลผลิตท่ีแขงขันสมบูรณ P = MR แตจะใชเสน VMP อธิบายเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตของผูผลิตในตลาดผลผลิตท่ีมีการแขงขันไมสมบูรณไมได

A

MRP

ARP

Page 303: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

281

1.7 ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตหลายชนิดของผูผลิต : กรณีตลาดปจจัยการผลิตเปนตลาดแขงขันสมบูรณ (Several Factors Demand of a Firm in Perfect Competition Factor Market)

ในการพิจารณาดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตท่ีผานมาของผูผลิตเปนการพิจารณาปจจัยการผลิตเพียงชนิดเดียวเทานั้น ในการผลิตสินคาและบริการของผูผลิตจริงๆแลวจะใชปจจัยการผลิตหลายชนิดรวมกัน ดังนั้นผูผลิตจึงตองตัดสินใจวาในการผลิตสินคาแตละครั้งจะตองใชปจจัยการผลิตแตละชนิดในสัดสวนเทาใดจึงจะทําใหผูผลิตไดรับกําไรสูงสุดหรือผูผลิตจึงจะเสียตนทุนต่ําสุด

1.7.1 การใชปจจัยการผลิตหลายชนิดรวมกันเพื่อใหไดรับกําไรสูงสุด (Maximize Profit in Combination of Factors)

ในการผลิตสินคาหากผูผลิตใชปจจัยการผลิตเพียงชนิดเดียวและผูผลิตตองการกําไรสูงสุดแลวผูผลิตจะตองขยายขนาดการผลิตไปจนกวาคา MRP ของปจจัยการผลิตเทากับราคาของปจจัยการผลิตชนิดนั้น ๆ เสมอ

หรือ MRP

PL

L= 1

ดังนั้นถาผูผลิตใชปจจัยการผลิต 2 ชนิด จากหลักการเดียวกันผูผลิตจะไดรับกําไรสูงสุดเมื่อผูผลิตขยายการผลิตไปจนกวาคา MRP ของปจจัยการผลิตแตละชนิดเทากับราคาของปจจัยการผลิตชนิดนั้น ๆ เสมอ MRPL = PL MRPK = PK โดยท่ี L คือ แรงงาน K คือ ทุน

MRPL = PL = W

MRP

PMRP

PL

LK

K= = 1

Page 304: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 282

ถาปจจัยการผลิตมีอยู n ชนิด ผูผลิตก็จะขยายการผลิตออกไปจนกวาคา MRP ของปจจัยการผลิตแตละชนิดเทากับราคาของปจจัยการผลิตชนิดนั้น ๆ เสมอ กลาวคือ

MRP

PMRP

PMRP

Pn

n1

1

2

21= = = =...

1.7.2 การใชปจจัยการผลิตหลายชนิดรวมกันเพื่อใหเสียตนทุนต่ําที่สุด (Minimize Cost in Combination of Factors)

ในกรณีผูผลิตจะพิจารณาการใชปจจัยการผลิตรวมกันอยางไรเพื่อใหไดรับกําไรสูงสุดเพียงอยางเดียวนั้นยังไมพอ สิ่งท่ีผูผลิตจะตองคํานึงอีกอยางหนึ่งก็คือตนทุนการผลิต กลาวคือผูผลิตจะตองคํานึงถึงตนทุนการผลิตต่ําท่ีสุดดวยเพราะในบางครั้งหากผูผลิตขายผลผลิตในตลาดที่มีการแขงขันแลวราคาถูกกําหนดจากตลาด ถาผูผลิตคนใดสามารถผลิตสินคาดวยตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวยท่ีต่ํากวา ผูแขงขันรายอื่นๆ ผูผลิตคนนั้นยอมจะไดเปรียบหรือไดรับกําไรมากกวา ผูผลิตรายอื่นๆหลักเกณฑการพิจารณาตนทุนการผลิตต่ําท่ีสุด ผูผลิตจะตองพิจารณาคาผลผลิตสวนเพิ่มหนวยสุดทาย (MPP) ท่ีไดจากการใชปจจัยการผลิตแตละชนิดเพิ่มข้ึน 1 หนวยจะตองเทากัน แตเนื่องจากราคาของปจจัยการผลิตแตละชนิดไมเทากัน จึงจําเปนตองปรับฐานใหอยูในหนวยเดียวกันกอนดวยการถวงน้ําหนักคา MPP ของปจจัยการผลิตแตละชนิดดวยราคาของปจจัยการผลิตชนิดนั้นๆกอนแลวจึงจะสามารถนํามาเปรียบเทียบกันได นั่นคือ

MPP

PMPP

PL

LK

K=

แตถาปจจัยการผลิตอยู n ชนิด ผูผลิตก็จะขยายการผลิตออกไปเรื่อยๆจนกวาคา MPP ของปจจัยการผลิตแตละชนิดถวงน้ําหนักดวยราคาของปจจัยชนิดนั้นๆเทากันหมด ผูผลิตจึงจะเสียตนทุนต่ําสุด เชน

MPP

PMPP

PMPP

Pn

n1

1

2

2= = =...

Page 305: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

283

1.8 ดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตหลายชนิดของผูผลิตในตลาดปจจัยการผลิตที่มีการแขงขัน ไมสมบูรณ (Several Factors Demand of a Firm in Imperfect Competition Factor Market)

ในกรณีท่ีตลาดปจจัยการผลิตเปนตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณ ผูผลิตจะตองคํานึงถึงคาใชจายท่ีเพิ่มข้ึนอันเนื่องมาจากการจางปจจัยการผลิตเพิ่มข้ึน 1 หนวย หรือเรียกวา marginal factor cost (MFC) ผูผลิตจะขยายขนาดการผลิตไปจนกวาคา MRP ของปจจัยการผลิตเทากับ MFC ของปจจัยการผลิตชนิดนั้น การผสมปจจัยการผลิตในสัดสวนตางๆของผูผลิตเพื่อใหไดรับกําไรสุงสุดหรือเสียตนทุนต่ําสุด ในกรณีนี้จะคลายกับกรณีท่ีตลาดปจจัยการผลิตแขงขันสมบูรณแตจะแตกตางกันตรงที่ในตลาดปจจัยท่ีมีการแขงขันไมสมบูรณผูผลิตจะพิจารณาคา MFC เทียบกับ MRP หรือ MPP แลวแตกรณี

1.8.1 การใชปจจัยการผลิตหลายชนิดรวมกันเพื่อใหไดกําไรสูงสุด (Maximize Profit in Combination of Factors)

ในการผลิตสินคาของผูผลิตในตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีการแขงขันไมสมบูรณ ผูผลิตจะขยายการผลิตไปจนกวาคา MRP ของปจจัยการผลิตจะเทากับ MFC ของปจจัยการผลิตชนิดนั้น ๆ และถาสมมติปจจัยการผลิตมี 2 ชนิด คือ แรงงาน (L) และทุน (K) ผูผลิตจะทําการผลิตท่ี

MRPMFC

MRPMFC

L

L

K

K= = 1

แตถาปจจัยการผลิตมีอยู n ชนิด ผูผลิตก็จะขยายการผลิตไปเรื่อยๆจนกวาคา MRP ของปจจัยการผลิตแตละชนิดเทากับ MFC ของปจจัยการผลิตชนิดนั้น ๆ กลาวคือ

MRPMFC

MRPMFC

MRPMFC

nn

1

1

2

21= = = =...

Page 306: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 284

1.8.2 การใชปจจัยหลายชนิดรวมกันเพื่อใหเสียตนทุนต่ําที่สุด (Minimize Cost in Combination of Factors)

การผลิตสินคาเพื่อใหเสียตนทุนต่ําท่ีสุดนั้นผูผลิตจะตองคํานึงถึงคา MPP ของปจจัยการผลิตแตละชนิดเทียบกับ MFC ของปจจัยการผลิตแตละชนิด ถาสมมติมีปจจัยการผลิต 2 ชนิดคือ แรงงาน (L) และตนทุน (K) ผูผลิตจะขยายการผลิตไปจนกวา

MPPMFC

MPPMFC

LL

KK

=

แตถาปจจัยการผลิตมีอยู n ชนิด ผูผลิตจะขยายการผลิตไปเรื่อย ๆ จนกวาคา MPP ของปจจัยการผลิตแตละชนิดถวงน้ําหนักดวยคา MFC ของปจจัยการผลิตชนิดนั้นๆมีคาเทากัน ผูผลิตจึงจะเสียตนทุนต่ําท่ีสุด นั่นคือ

MPPMFC

MPPMFC

MPPMFC

nn

1

1

2

2= = =...

2. ซัพพลายของปจจัยการผลิต (Factor Supply)

เมื่อพิจารณาถึงซัพพลายของปจจัยการผลิต โดยทั่วไปจะมีลักษณะคลายกับซัพพลายของสินคาในตลาดผลผลิตซึ่งแสดงถึงความสัมพันธระหวางราคากับปริมาณของสินคาท่ีเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกันและเปนความตองการเสนอขายสินคาของผูผลิต นั่นคือถาราคาต่ําก็ตองการเสนอขายนอย แตถาราคาของสินคาเพิ่มสูงข้ึนปริมาณความตองการเสนอขายสินคาก็จะเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ซัพพลายของปจจัยการผลิต เปนความตองการเสนอขายปจจัยการผลิตของเจาของปจจัยการผลิตในตลาดปจจัยการผลิตและขึ้นอยูกับชนิดของปจจัยการผลิต เชน ท่ีดิน ทุน และแรงงาน ปจจัยการผลิตท่ีอยูในตลาดปจจัยการผลิตซึ่งจะมีระดับการแขงขันที่แตกตางกัน และลักษณะของเสนซัพพลายของปจจัยการผลิตก็จะแตกตางกันไปดวย ลักษณะของเสนซัพพลายของปจจัยการผลิตอาจแยกพิจารณาไดเปน 3 ลักษณะดวยกัน กลาวคือ

Page 307: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

285

2.1 ซัพพลายของปจจัยการผลิตคงที่ (Supply Fixed Factor)

ซัพพลายของปจจัยการผลิตชนิดคงที่ โดยทั่วไปแลวจะเปนลักษณะของเสนซัพพลายของที่ดิน ซึ่งท่ีดินที่มีอยูในโลกนี้หรือมีอยูในประเทศใดประเทศหนึ่งไมสามารถเพิ่มข้ึนไดลักษณะของเสน ซัพพลายของที่ดินจึงไมมีความยืดหยุนเลย (perfectly inelastic) หรือความยืดหยุนของที่ดินมีคาเทากับศูนย ซึ่งหมายความวา ไมวาราคาหรือคาเชาของที่ดินจะสูงมากขึ้นเทาใดก็ตามไมอาจมีผลทําใหซัพพลายของที่ดินเพิ่มข้ึนไดเลย

รูปท่ี 14.4 เสนซัพพลายของปจจัยการผลิตคงที่ (fixed factor)

2.2 ซัพพลายของปจจัยการผลิตที่อยูในตลาดปจจัยการผลิตที่มีผูซ้ือผูกขาดหรือตลาด แขงขันไมสมบูรณ

ในตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีผูซื้อผูกขาด (monopsony) หรือในตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีการ แขงขันไมสมบูรณสวนใหญไดแก ปจจัยการผลิตประเภททุน และแรงงาน ลักษณะของเสนซัพพลายของปจจัยการผลิตเปนเสนที่ลาดขึ้นจากซายไปขวา และมีคาความยืดหยุนมากกวาศูนยแตมีคานอยกวา

อินฟนิตี้ (0<ES<∞) ทิศทางความสัมพันธระหวางราคาของปจจัยการผลิตกับปริมาณเสนอขายปจจัยการผลิตเปนไปในทิศทางเดียวกัน

S

ปริมาณที่ดิน O

ราคา

Page 308: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 286

รูปท่ี 14.5 เสนซัพพลายของปจจัยการผลิตในตลาดปจจัยการผลิตที่มีผูซื้อผูกขาด หรือเสนซัพพลายของปจจัยการผลิตในตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณ

จากรูปที่ 14.5 เสน marginal factor cost (MFC) เปนเสนที่แสดงวาผูซื้อปจจัยการผลิตผูกขาดตองการจะเพิ่มปจจัยการผลิตไปจํานวนเทาใดตามเสน MFC นั่นคือ ดุลยภาพของผูซื้อปจจัยการผลิตผูกขาดจะเกิดข้ึนเมื่อ MRP = MFC ซึ่งเสน MFC จะอยูสูงกวาเสนซัพพลายของปจจัยการผลิต(S)ทุกระดับการใชปจจัยการผลิต หรือเมื่อผูผลิตตองการใชปจจัยการผลิตมากขึ้นจึงตองเสนอราคาสูงกวาจึงจะสามารถแยงซื้อปจจัยการผลิตมาได

2.3 เสนซัพพลายของปจจัยการผลิตในธุรกิจที่มีการแขงขันสมบูรณ (Supply of Perfect Competitive Firm)

การผลิตสินคาท่ีมีผูขายปจจัยการผลิตอยูในตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณและผูซื้อปจจัยการผลิตก็อยูในตลาดที่มีการแขงขันอยางสมบูรณลักษณะของเสนซัพพลายของปจจัยการผลิตจะเปน

เสนตรงที่ขนานกับแกนนอนหรือมีความยืดหยุนเทากับ ∞ นั่นหมายความวา ผูซื้อหรือผูขายปจจัยการผลิตคนใดคนหนึ่งไมมีอิทธิพลเหนือกวาระดับราคาตลาด

MFC

S

ราคาปจจัยการผลิต

ปริมาณปจจัยการผลิต O

Page 309: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

287

รูปท่ี 14.6 เสนซัพพลายของปจจัยการผลิตในธุรกิจที่มีการแขงขันสมบูรณ

จากรูปที่ 14.6 จะเห็นไดวาเสนซัพพลายของปจจัยการผลิตในธุรกิจที่มีการแขงขันสมบูรณจะเปนเสนตรงที่ขนานกับแกนนอน หรือเปนเสนเดียวกันกับเสน MFC เสนซัพพลายของปจจัยการผลิตท่ีกลาวมาแลวนั้น เปนเสนซัพพลายของปจจัยการผลิตของแตละบุคคล (individual factor supply) ไมใชซัพพลายรวมของทั้งตลาด แตถาเปนซัพพลายของปจจัยการผลิตรวมทั้งตลาด (market factor supply) สามารถหาไดโดยการรวมซัพพลายของปจจัยการผลิตของแตละบุคคลท่ีมีอยูในตลาดทั้งหมดเขาดวยกันก็จะไดซัพพลายตลาดของปจจัยการผลิต

3. ดุลยภาพของตลาดปจจัยการผลิต (Factor Market Equilibrium)

การกําหนดราคาดุลยภาพของปจจัยการผลิตนั้น ข้ึนอยูกับดีมานดและซัพพลายของปจจัยการผลิตชนิดนั้น ๆ วาอยูในตลาดปจจัยการผลิตแบบใด ซึ่งโดยทั่วไปแลวราคาของปจจัยการผลิตท่ีตกลงซื้อขายกันจะถูกกําหนดจากจุดท่ีเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตตัดกับเสนซัพพลายของปจจัยการผลิต ณ จุดตัดดังกลาว จะกอใหเกิดราคาและปริมาณดุลยภาพของปจจัยการผลิตท่ีผูซื้อและผูขายปจจัยการผลิตตกลงซื้อขายกัน ซึ่งสามารถแยกการพิจารณาตามลักษณะของตลาดปจจัยการผลิตไดดังนี้

ปริมาณปจจัยการผลิต

ราคาปจจัยการผลิต

S = MFC

O

Page 310: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 288

3.1 ตลาดปจจัยการผลิตที่มีการแขงขันสมบูรณ (Perfect Competition Factor Market)

ในตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีการแขงขันสมบูรณผูผลิตแตละรายจะสามารถซื้อปจจัยการผลิต ณ ระดับราคาที่ถูกกําหนดโดยตลาดปจจัยการผลิตสามารถแสดงไดดังรูปที่ 14.7

(ก) ตลาดปจจัยการผลิต (ข) ผูผลิตแตละรายที่มีอยูในตลาดปจจัยการผลิต ที่แขงขันอยางสมบูรณ

รูปท่ี 14.7 ราคาและปริมาณดุลยภาพของตลาดปจจัยการผลิตที่มีการแขงขันอยางสมบูรณ

จากรูปที่ 14.7 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งแทนราคาปจจัยการผลิต (บาท/หนวย) และแกนนอนแทนปริมาณปจจัยการผลิต (หนวย) ในรูป (ก) ราคาของปจจัยการผลิตถูกกําหนดจากดีมานดตลาดและ ซัพพลายตลาดของปจจัยการผลิตท่ีระดับ OWE และมีการซื้อขายปจจัยการผลิตท้ังตลาดเทากับ OFm หนวย ในขณะที่รูป (ข) ราคาของปจจัยการผลิตท่ีผูผลิตแตละรายซื้อเทากับ WE ซึ่งถูกกําหนดมาจากตลาดปจจัยการผลิต ผูผลิตทําการผลิต ณ ท่ี MFC = MRP ปริมาณปจจัยการผลิตท่ีใชเทากับ OFE หนวย

WE E E S = MFC

ปริมาณปจจัย ปริมาณปจจัย

MFC = MRP

Dm

Sm

MRP

ราคาปจจัย ราคาปจจัย

WE

FM O O FE

Page 311: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

289

3.2 ตลาดผูซ้ือผูกขาด (Monopsony)

ในตลาดที่มีผูซื้อผูกขาดเปนตลาดที่มีผูซื้อรายเดียวไมวาจะเปนผูซื้อสินคารายเดียวหรือผูซื้อปจจัยการผลิตรายเดียว ในที่นี้จะพิจารณาตลาดผูซื้อปจจัยการผลิตรายเดียวซึ่งการกําหนดราคาและปริมาณดุลยภาพของปจจัยการผลิตเปนดังนี้

รูปท่ี 14.8 ราคาและปริมาณดุลยภาพในตลาดปจจัยการผลิตที่มีผูซื้อผูกขาด

จากรูปที่ 14.8 กําหนดใหเสน S คือเสนซัพพลายของปจจัยการผลิต เสน MFC คือเสนที่แสดงคาใชจายเพิ่มข้ึนเมื่อจางปจจัยการผลิตเพิ่มข้ึน 1 หนวย และเสน MRP คือเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต ในกรณีท่ีผูซื้อปจจัยการผลิตผูกขาดตองการกําไรสูงสุดผูผลิตจะทําการผลิต ณ ท่ี MFC = MRP นั่นคือผูผลิตจะจางปจจัยการผลิตเทากับ OFMS หนวย ในขณะเดียวกันคาจางปจจัยการผลิตจะถูกกําหนดจากเสนซัพพลายของปจจัยการผลิต ดังนั้น ณ ปริมาณ OFMS หนวย ราคาของปจจัยการผลิตท่ีมีการตกลงซื้อขายกันเทากับ OWMS บาทตอหนวย แตถาตลาดปจจัยการผลิตมีการแขงขันแลวราคาของปจจัยการผลิตท่ีมีการตกลงซื้อขายกันจะเทากับ OWE บาทตอหนวย ปริมาณปจจัยการผลิตท่ีมีการตกลงซื้อขายกันเทากับ OFE หนวย ซึ่งถูกกําหนดจากดีมานดและซัพพลายของปจจัยการผลิต (S=MRP) ถาตลาดปจจัยมีการแขงขันราคาปจจัยการผลิตจะสูงกวาและปริมาณปจจัยการผลิตท่ีตกลงซื้อขายกันจะมากกวาในตลาดผูซื้อผูกขาด

3.3 ตลาดผูขายผูกขาด (Monopoly)

WMS WE

MFC = MRP

MFC

S

MRP = D

ราคาปจจัย

ปริมาณปจจัย O FMS FE

Page 312: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 290

ในตลาดที่มีผูขายผูกขาดเปนตลาดผูขายรายเดียว ถาเปนตลาดผลผลิตเรียกวา "ตลาดผูขายสินคาผูกขาด" แตถาเปนตลาดปจจัยการผลิตแลวจะเรียกวา "ตลาดผูขายปจจัยการผลิตรายเดียว" การกําหนดราคาและปริมาณดุลยภาพเปนดังนี้ การพิจารณาของผูขายปจจัยการผลิตผูกขาดจะมีลักษณะคลาย ๆ กับผูขายผูกขาดในตลาดผลผลิต ตามรูปที่ 14.9 ผูขายปจจัยการผลิตจะไดรับกําไรสูงสุด ณ ท่ี MC = MR หรือท่ีจุด A ซึ่งขายปจจัยการผลิตเทากับ OFMP หนวย ในราคา OWMP บาทตอหนวย ซึ่งเปนระดับราคาที่สูงกวาราคาในตลาดท่ีมีการแขงขัน

รูปที่ 14.9 ราคาและปริมาณดุลยภาพในปจจัยการผลิตท่ีมีผูขายผูกขาด

3.4 ตลาดทั้งผูซ้ือและผูขายผูกขาด ( Bilateral Monopoly)

ตลาดทั้งผูซื้อและผูขายผูกขาดซึ่งอาจจะเปนการพิจารณาตลาดผูซื้อและตลาดผูขายในตลาดผลผลิต หรือเปนตลาดผูซื้อและตลาดผูขายในตลาดปจจัยการผลิต ในที่นี้จะพิจารณาเฉพาะตลาดผูซื้อและผูขายผูกขาดในตลาดปจจัยการผลิต การกําหนดราคาและปริมาณเสนอขายเปนดังนี้

B

A • D = MRP

S = MC

MR ปริมาณปจจัย

FMP O

WMP

ราคาปจจัย

Page 313: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ตลาดปจจัยการผลิต

291

รูปท่ี 14.10 ราคาและปริมาณดุลยภาพของปจจัยการผลิตที่มีผูซื้อและผูขายผูกขาด

จากรูปที่ 14.10 เปนการพิจารณาราคาและปริมาณดุลยภาพของตลาดปจจัยการผลิตท่ีมีท้ังผูซื้อและผูขายผูกขาด ถาแยกพิจารณาเฉพาะผูซื้อปจจัยการผลิตผูกขาดเขาจะไดรับกําไรสูงสุดเมื่อเขาทําการผลิต ณ ท่ีจุด MFC = MRP หรือท่ีจุด A ซึ่งท่ีจุดดังกลาวผูซื้อปจจัยการผลิต(ผูผลิต) มีการซื้อปจจัยการผลิตเทากับ OFMS หนวย และซื้อปจจัยการผลิตในราคาเทากับ OWMS บาทตอหนวย ซึ่งราคาดังกลาวถูกกําหนดจากเสนซัพพลายของปจจัยการผลิตท่ีมีผูขายปจจัยการผลิตเปน ผูกําหนด แตเมื่อพิจารณาเฉพาะทางดานผูขายปจจัยการผลิตผูกขาด ผูขายปจจัยการผลิตผูกขาดจะไดรับกําไรสูงสุด ณ ท่ี MC = MR หรือท่ีจุด C หรือมีการขายปจจัยการผลิตเทากับ OFMP หนวย และเสนอขายปจจัยการผลิตในราคาเทากับ OWMP บาทตอหนวย ซึ่งถูกกําหนดจากเสนดีมานดสําหรับปจจัยการผลิต (MRP) จากกรณีดังกลาวจะเห็นไดผูขายปจจัยการผลิตผูกขาดจะขายปจจัยการผลิตในราคาที่คอนขางสูง OWMP บาทตอหนวย ในขณะเดียวกันผูซื้อปจจัยการผลิตผูกขาดจะซื้อปจจัยการผลิตในราคาคอนขางต่ํา OWMS บาทตอหนวย ซึ่ง

ราคาที่ผูซื้อกําหนดจะแตกตางไปจากราคาที่ผูขายกําหนดเทากับ ΔW บาทตอหนวย ผูขายปจจัยการผลิตจะขายไดในราคาที่ใกลเคียงกับ OWMP หรือไมข้ึนอยูกับอํานาจการตอรองของผูขายปจจัยการผลิต ถาผูขายปจจัยการผลิตมีอํานาจการตอรองสูงราคาปจจัยการผลิตท่ีขายไดก็จะสูงเขาใกล OWMP แตถาผูขายปจจัยการผลิตมีอํานาจการตอรองต่ําราคาปจจัยการผลิตท่ีขายไดก็จะเขาใกล OWMS ซึ่งเปนราคาต่ําและเปนราคาที่ผูซื้ออยากจะซื้อ ในขณะเดียวกันหากพิจารณาทางดานผูซื้อปจจัยการผลิตผูกขาดผูซื้อ

A

B •

S = MC ของผูขายปจจัยผูกขาด WMP

WMS MRP

MC = MR กําไรสูงสุดของผูขายปจจัยผูกขาด

MR

MFC = MRP กําไรสูงสุดของผูซื้อปจจัยผูกขาด

MFC = MC ของผูซื้อปจจัยผูกขาด

C •

ΔW

ปริมาณปจจัย O FMP FMS

ราคาปจจัย

Page 314: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 292

ปจจัยการผลิตผูกขาดก็อยากจะซื้อปจจัยการผลิตในราคาที่ใกลเคียง OWMS แตจะซื้อไดหรือไมข้ึนนั้นอยูกับอํานาจการตอรองทางตลาดของผูซื้อปจจัยการผลิต กลาวคือ ถาผูซื้อปจจัยการผลิตมีอํานาจการตอรองสูงเขาก็จะสามารถซื้อปจจัยการผลิตในราคาที่ใกลเคียงกัน OWMS แตถาผูซื้อปจจัยการผลิตมีอํานาจการตอรองต่ําเขาก็จะซื้อปจจัยการผลิตในราคาที่คอนขางสูงใกลเคียงกับ OWMP ซึ่งเปนราคาที่ผูขายปจจัยการผลิตผูกขาดอยากจะขายนั่นเอง อยางไรก็ตามราคาปจจัยการผลิตท่ีตกลงซื้อขายกันระหวางผูซื้อปจจัยการผลิตผูกขาดกับ ผูขายปจจัยการผลิตผูกขาดจะอยูระหวาง OWMS ถึง OWMP บาทตอหนวย

Page 315: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บทท่ี 15 ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

(Factor Incomes) ในทางเศรษฐศาสตรไดแบงปจจัยการผลิตออกเปน 4 กลุมใหญๆ ซึ่งไดแก ท่ีดิน แรงงาน ทุน และผูประกอบการ ผูเปนเจาของปจจัยการผลิตเหลานี้จะไดรับผลตอบแทนจากการใหปจจัยการผลิตเหลานี้ไดเขารวมในกระบวนการผลิตสินคาและบริการ ซึ่งผลตอบแทนดังกลาวนั้นจะอยูในรูปของ คาเชา คาจาง ดอกเบี้ย และกําไร ผูเปนเจาของปจจัยการผลิตจะไดรับผลตอบแทนมากนอยเพียงใดข้ึนอยูกับกลไกตลาดที่จะเปนตัวกําหนดราคาของปจจัยการผลิตชนิดนั้นๆ และในบทนี้จะกลาวถึงผลตอบแทนของปจจัยการผลิตโดยเริ่มจาก คาเชา คาจาง ดอกเบี้ย และกําไร ตามลําดับดังนี้คือ

1. คาเชา (Rents)

กฎหรือทฤษฏีทางเศรษฐศาสตรท่ีวิเคราะหเรื่องราวตาง ๆ เกี่ยวกับคาเชายังมีอยูนอยท้ัง ๆ ท่ี คาเชา (rents) มีความสําคัญในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของรายไดประชาชาติ และเปนตนทุนในการผลิต แตตําราในทางเศรษฐศาสตรสวนมากมักจะกลาวถึงคาเชาเพียงเล็กนอยและมีขอความคอนขางสับสน ท้ังนี้อาจจะเนื่องมาจากความยุงยากในการวิเคราะหและความสลับซับซอนของที่ดินที่มีท้ังหมดในโลก ซึ่งมักจะมีปญหาที่แตกตางกันไปตามทองถิ่น คุณภาพ ราคา และประโยชนในการใชสอย ในการศึกษาเกี่ยวกับคาเชายังมีความสับสนในเรื่องของคาเชาท่ีดินกับคาเชาของปจจัยการผลิตอื่น ๆ อยูบาง ซึ่งข้ึนอยูกับความคิดเห็นของนักเศรษฐศาสตรแตละกลุมวาจะมองกันอยางไร

1.1 ความหมายและลักษณะของคาเชา

คาเชาในความหมายทั่วไป หมายถึง การท่ีเจาของทรัพยสินอยางใดอยางหนึ่งใหบุคคลอื่นไดใชหรือไดรับประโยชนจากทรัพยสินนั้นภายในระยะเวลาอันจํากัดโดยผู เชาตกลงจะใหคาเชาเปนคาตอบแทนเพื่อการนั้น จากความหมายดังกลาวคาเชาจึงมีฐานะเปนราคาของการใชประโยชนจากทรัพยสินของบุคคลอื่น และมักจะนิยมชําระกันเปนงวด ๆ เชน รายวัน รายเดือน รายป หรืออาจจะกําหนดกันใหยาวกวานี้ก็ไดแลวแตจะตกลงกัน ดังนั้นคาเชาท่ีเกิดจากการเชาทรัพยสินจึงจัดเปน “คาเชาทางการคา” (commercial rent)

Page 316: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

294

แตนักเศรษฐศาสตรถือวา ผลตอบแทนของปจจัยการผลิตทุกชนิดรวมไปถึงท่ีดินดวยซึ่งมี ซัพพลายท่ีไมมีความยืดหยุน เปนคาเชาทางเศรษฐกิจ (economic rent) ท้ังสิ้น ซึ่งโดยปกติแลวจะประกอบดวย 2 สวนคือ สวนที่ 1 เปนสวนไดจากการโอน (transfer earning) ซึ่งก็คือผลตอบแทนที่อยางนอยเจาของท่ีดินจะตองไดรับ บางทีเราก็เรียกวา “คาเสียโอกาส” (opportunity cost) ถาเจาของที่ดินไดรับผลตอบแทนนอยกวาจํานวนนี้ เขาจะนําท่ีดินไปใชประโยชนอยางอื่น เชน นาย A ปกติแลวจะไดรับคาเชาจากที่ดินท่ีใชในการทํานาปละ 50,000 บาท ถานาย B ตองการเชาท่ีดินแปลงนี้จากนาย A เพื่อใชการทําปศุสัตว นาย B จะตองใหคาเชาสูงกวาปละ 50,000 บาท นาย A จึงจะใหนาย B เชาท่ีนาแปลงดังกลาว สวนไดจากการโอนในที่นี้มีคาเทากับ 50,000 บาท สวนที่ 2 เปนสวนของคาเชาทางเศรษฐกิจ (economic rent) ซึ่งก็คือสวนที่แตกตางระหวางจํานวนที่ไดรับจริงกับสวนไดจากการโอน เชน เดิมนาย A เคยไดรับคาเชาจากผูเชาท่ีดินทํานาปละ 50,000 บาท ตอมานาย A ใหนาย B เชาท่ีดินเพื่อทําการปศุสัตวโดยไดรับคาเชาปละ 70,000 บาท ดังนั้นคาเชาทางเศรษฐกิจจึงมีคาเทากับ 70,000-50,000 บาท ซึ่งก็คือ 20,000 บาท แตถาท่ีดินดังกลาวใชทํานาไดเพียงอยางเดียว สวนไดจากการโอน (transfer earning) จะมีคาเทากับศูนยและคาเชาทางเศรษฐกิจ (economic rent) จะเทากับ 50,000 บาท แตถาเปนที่ดินที่ใชทํานาและใชทําอยางอื่นไดอยางเทาเทียมกัน คาเชาท่ีไดรับจริงจะเทากับสวนไดจากการโอน ดังนั้นคาเชาทางเศรษฐกิจในกรณีนี้จึงมีคาเทากับศูนย

1.2 ทฤษฎีคาเชาของริคารโด

เดวิด ริคารโด (David Ricardo) เปนนักเศรษฐศาสตรชาวอังกฤษกลุมคลาสสิคเขาไดเขียนหนังสือ Principles of Political Economy เมื่อป ค.ศ. 1817 ซึ่งไดอธิบายเกี่ยวกับคาเชาวา คาเชาเกิดจากความไมอุดมสมบูรณของที่ดินหรือคุณภาพของดินมีความแตกตางกัน ผลผลิตท่ีไดรับจากพื้นดินแตละแปลงจึงมีความแตกตางกัน คาเชาตามแนวคิดของริคารโดก็คือ การเปรียบเทียบความแตกตางของมูลคาของผลผลิตท่ีไดจากที่ดิน 2 แปลง หรือหลาย ๆ แปลง ท่ีมีคุณภาพแตกตางกัน กลาวคือ ถาท่ีดินแปลงที่ 1 ใหมูลคาของผลผลิตมากกวาท่ีดินแปลงที่ 2 มูลคาของผลผลิตท่ีไดมากกวาจะเปนคาเชาของที่ดินแปลงที่ 1 ยกตัวอยางเชนที่ดินที่ใชพิจารณามีอยู 4 แปลง พื้นที่เทากันทุกแปลง แตละแปลงใหมูลคาของผลผลิตท่ีแตกตางกันดังนี้ แปลง A ใหมูลคาของผลผลิตเทากับ 2,000 บาท แปลง B ใหมูลคาของผลผลิตเทากับ 1,500 บาท แปลง C ใหมูลคาของผลผลิตเทากับ 1,200 บาท และแปลง D ใหมูลคาของผลผลิตเทากับ 1,000 บาท ตามลําดับ สมมติวาในตอนแรกมีการใชท่ีดิน A และ B ทําการผลิต ผลตางของมูลผลผลิต

Page 317: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

295

จากที่ดิน 2 แปลงนี้จะเทากับ 500 บาท ดังนั้นที่ดินแปลง A จะมีคาเชาเทากับ 500 บาท สวนแปลง B จะยังไมมีคาเชา ตอมาเมื่อมีประชากรเพิ่มข้ึนที่ดินไมเพียงพอจึงไดขยายไปใชท่ีดินแปลง C เพื่อทําการเพาะปลูกเพิ่มข้ึน ปรากฏวาผลตางของมูลคาผลผลิตระหวางที่ดินแปลง B และ C เทากับ 300 บาท ดังนั้นท่ีดินแปลง B จะตองเสียคาเชา 300 บาทในขณะเดียวกันคาเชาของที่ดินแปลง A จะเพิ่มสูงข้ึนเปน 800 บาท (ไดจากผลตางของมูลคาผลผลิตท่ีดินแปลงที่ A กับแปลงที่ C) และที่ดินแปลงที่ C ไมตองเสียคาเชาเลย และสมมติตอไปอีกวาประชากรมีเพิ่มข้ึนอีกจํานวนที่ดินมีไมเพียงพอกับความตองการจึงไดขยายไปใชท่ีดินแปลง D เพื่อทําการเพาะปลูกเพิ่มข้ึน และไดสงผลใหท่ีดินแปลง C มีคาเชาเพิ่มข้ึนมาทันทีเทากับ 200 บาท ในขณะเดียวกันที่ดินแปลง A จะมีคาเชาเพิ่มสูงข้ึนเปน 1,000 บาท (ผลตางของมูลคาของผลผลิตในที่ดินแปลง A กับแปลง D) และที่ดินแปลง D จะไมมีคาเชา ตามแนวคิดดังกลาว แสดงวาท่ีดินท่ีนํามาใชประโยชนเปนแปลงสุดทายจะไมมีคาเชาเกิดข้ึน ผลการเปรียบเทียบคุณภาพของท่ีดินเพื่อกําหนดเปนคาเชาตามแนวคิดของริคารโด ดังแสดงไวในรูปที่ 15.1

รูปท่ี 15.1 แสดงการกําหนดคาเชาที่ดินตามแนวคิดของริคารโด

จากแนวคิดตามทฤษฎีคาเชาของริคารโดคาเชาท่ีดินจึงข้ึนอยูกับความตองการใชท่ีดินหรือข้ึนอยูกับดีมานดของที่ดินนั้นๆ สวนซัพพลายของที่ดินนั้นมีความยืดหยุนเทากับศูนย คาเชาของที่ดินจะสูงหรือต่ําจึงข้ึนอยูกับดีมานดสําหรับที่ดินแตเพียงอยางเดียว ซึ่งสามารถที่จะอธิบายไดดวยหลักการของดีมานดและซัพพลายดังแสดงในรูปที่ 15.2

D C BA

500

200 200 200 1,200

300 300

จํานวนที่ดิน(ไร)

มูลคาของผลผลิต(บาท) 2,000

1,500

1,000

O

Page 318: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

296

รูปท่ี 15.2 แสดงคาเชาที่ดินที่ขึ้นอยูกับดีมานดและซัพพลายของที่ดิน

จากรูปที่ 15.2 สมมติใหท่ีดินมี 2 แปลง คือแปลงที่ 1 และแปลงที่ 2 ซึ่งแตละแปลงมีพื้นที่เทากัน OS ไร เสนซัพพลายของที่ดินท้ังสองคือ SS ความตองการใชประโยชนหรือดีมานดสําหรับที่ดินแปลงที่ 1 คือ D1 และความตองการใชประโยชนหรือดีมานดสําหรับที่ดินแปลงที่ 2 คือ D2 จากหลักของดีมานดและซัพพลายของที่ดินจะเปนตัวกําหนดคาเชาของที่ดิน โดยท่ีคาเชาของที่ดินแปลงที่ 1 จะถูกกําหนดจากเสนดีมานด D1 ตัดกับเสนซัพพลาย SS คาเชาของที่ดินแปลงที่ 1 จึงมีคาเทากับ OR1 บาท/ไร สวนคาเชาท่ีดินของแปลงที่ 2 จะถูกกําหนดจากเสนดีมานด D2 ตัดกับเสนซัพพลาย SS คาเชาท่ีดินแปลงท่ี 2 จึงมีคาเทากับ OR2 บาท/ไร

1.3 ทฤษฎีผลิตภาพหนวยสุดทายของปจจัยประเภทที่ดิน 1

ทฤษฎีผลิตภาพหนวยสุดทายของปจจัยประเภทที่ดิน อธิบายถึงคาเชาวา คาเชาท่ีดินจะเทากับรายไดท่ีไดรับจากการใชประโยชนจากที่ดินหนวยสุดทาย (marginal revenue product: MRP) หรือคาเชาจะสูงหรือต่ําข้ึนอยูกับคา MRP หรือข้ึนอยูกับลักษณะของดีมานดท่ีมีตอท่ีดินเปนสําคัญ และเสน ดีมานดของที่ดินจะเปนเสนที่ลาดลงจากซายไปขวา ดีมานดสําหรับท่ีดินในท่ีนี้จะหมายถึงดีมานดสําหรับที่ดินเพื่อใชในการผลิตเทานั้น (demand for the use of land) ไมใชดีมานดท่ีดินเพื่อการซื้อขายแลกเปลี่ยนใดๆ

1

ปจจัย บุนนาค และสมคิด แกวสนธิ, จุลเศรษฐศาสตร.(พิมพครั้งที่ 11, กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย),หนา 335-337.

จํานวนที่ดิน (ไร)

D2

D1

คาเชา (บาท/ไร) S

R1

R2

O S

Page 319: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

297

ตามทฤษฎีนี้ถือวา ซัพพลายของที่ดินคงที่หรือไมมีความยืดหยุนตอคาเชาเลย กลาวคือ ไมวาคาเชาท่ีดินจะสูงหรือต่ําเพียงไรก็ไมสามารถที่จะเพิ่มหรือลดที่ดินไดอีก ท้ังนี้เพราะที่ดินเปนสิ่งท่ีธรรมชาติใหมา มนุษยไมสามารถผลิตข้ึนมาได ยกเวนประเทศเนเธอรแลนดซึ่งกั้นเขื่อนเขาไปในทะเลเพื่อใหไดท่ีดินเพื่อการเพาะปลูกและอยูอาศัยเพิ่มข้ึน ดังนั้นในทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรเมื่อกลาวถึงเสนซัพพลายของที่ดินจึงมักถือวามีจํานวนคงที่ ซึ่งหมายความวาซัพพลายของที่ดินมีความยืดหยุนเทากับศูนย (perfectly inelastic supply) และเปนเสนตั้งฉากกับแกนนอนดังรูปที่ 15.3

รูปที่ 15.3 แสดงคาเชาของปจจัยประเภทที่ดิน

จากรูปที่ 15.3 ใหแกนตั้งแทนคาเชาและแกนนอนแทนปริมาณที่ดินที่นํามาใชประโยชน จะเห็นไดวาคาเชาถูกกําหนดโดยดีมานดสําหรับท่ีดิน (DL หรือ MRPL) และซัพพลายของที่ดิน (SL) แตคาเชาท่ีดินจะสูงหรือต่ําข้ึนอยูกับดีมานดสําหรับที่ดินเพียงอยางเดียว กลาวคือ ถาดีมานดสําหรับท่ีดินคือ DL1(MRPL1) คาเชาท่ีดินจะมีคาเทากับ OR1 ตอมาเมื่อดีมานดสําหรับที่ดินเพิ่มข้ึนเปน DL2(MRPL2) คาเชาท่ีดินจะมีคาเทากับ OR2 และเมื่อดีมานดสําหรับท่ีดินเพิ่มข้ึนเปน DL3(MRPL3) คาเชาท่ีดินจะมีคาเทากับ OR3 ตามลําดับ

ปริมาณที่ดิน

DL1(MRPL1)

DL2(MRPL2)

DL3 (MRPL3)

SL คาเชา

R3

R2

R1

O

E3

E2

E1

Page 320: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

298

1.4 คาเชาทางเศรษฐกิจ (Economic Rent) 1

นักเศรษฐศาสตรสมัยกอนมีความเห็นวาคาเชาทางเศรษฐกิจ (economic rent) จะเกิดข้ึนไดเฉพาะกรณีปจจัยการผลิตท่ีมีซัพพลายคงที่ หรือซัพพลายของปจจัยการผลิตนั้นไมมีความยืดหยุนเลย (perfectly inelastic) ซึ่งในกรณีท่ัวไปจะหมายถึงซัพพลายของที่ดินโดยเฉพาะเทานั้น แตนักเศรษฐศาสตรในปจจุบันมีความเห็นวาคาเชาทางเศรษฐกิจ (economic rent) สามารถที่จะเกิดข้ึนไดกับปจจัยการผลิตทุกชนิด กลาวคือ เมื่อซัพพลายของปจจัยการผลิตชนิดใดมีความยืดหยุนไมสมบูรณ

(0 < ES < ∞) แลวคาเชาทางเศรษฐกิจจะเกิดข้ึนกับปจจัยการผลิตชนิดนั้นไดเสมอ นอกจากนี้ ยังมีปจจัยการผลิตบางประเภทในระยะสั้นที่ไมมีความยืดหยุนเลยคลายกับเสน ซัพพลายของที่ดิน แตในระยะยาวซัพพลายจะมีความยืดหยุนตามปกติ เชน ปจจัยการผลิตประเภททุน ซึ่งปจจัยการผลิตชนิดนี้จะมีคาเชาทางเศรษฐกิจ (economic rent) เกิดข้ึนแตเฉพาะในระยะสั้นเทานั้น กลาวคือ ในระหวางที่ดีมานดสําหรับสินคาประเภททุนไดเพิ่มข้ึนแลวแตยังไมสามารถที่จะเพิ่มซัพพลายของสินคาประเภททุนดังกลาวไดทันกับตามความตองการ ตอมาในระยะยาวเมื่อสามารถเพิ่มซัพพลายใหไดในสัดสวนเดียวกันกับดีมานดท่ีเพิ่มข้ึนแลวคาเชาทางเศรษฐกิจ (economic rent) ก็จะหมดไป เนื่องจากคาเชาทางเศรษฐกิจในกรณีนี้เกิดข้ึนเฉพาะในระยะสั้นเทานั้น ดังนั้นจึงเรียกคาเชาทางเศรษฐกิจดังกลาวนี้วา “กึ่งคาเชา” (quasi rent)

1.5 คาเชาทางเศรษฐกิจที่มีสภาพ “กึ่งคาเชา” (Quasi - rent)2

คาเชาทางเศรษฐกิจที่มีสภาพ “กึ่งคาเชา” นั้น จะมีคาเชาทางเศรษฐกิจที่แทจริงซึ่งเกิดข้ึนแตเฉพาะระยะสั้นเทานั้น คาเชาทางเศรษฐกิจที่มีสภาพกึ่งคาเชา (quasi-rent)นี้ สวนมากมักจะเกิดข้ึนกับเฉพาะทรัพยสินประเภททุน เชน เครื่องจักร ซึ่งมักจะเปนเครื่องจักรที่สรางขึ้นมาเพื่อผลิตสินคาอยางใดอยางหนึ่งโดยเฉพาะ และมักจะมีราคาตลอดจนคาติดตั้งคอนขางสูง เมื่อดีมานดของสินคาท่ีตองการผลิตโดยเครื่องจักรประเภทนี้สูงข้ึน ดีมานดสําหรับเครื่องจักรดังกลาวจะสูงข้ึนตามดวย แตเนื่องจากไมสามารถที่จะเพิ่มซัพพลายของเครื่องจักรตามจํานวนที่ตองการไดในระยะสั้นทั้งนี้เนื่องจากการเพิ่ม ซัพพลายของเครื่องจักรและการติดตั้งเครื่องจักรเพิ่มข้ึนนั้นจะตองใชระยะเวลานานพอสมควร ดังนั้นในระยะที่ผูผลิตยังไมสามารถเพิ่มจํานวนของเครื่องจักรตามความตองการไดนี้เอง ซัพพลายของเครื่องจักร

1 ปรีดา นาคเนาวทมิ, เศรษฐศาสตรจุลภาค 1,หนา 312-313. 2 เร่ืองเดียวกัน, หนา 317-318.

Page 321: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

299

จึงมีความยืดหยุนเทากับศูนยหรือไมความยืดหยุนเลยเชนเดียวกับซัพพลายของที่ดิน คาเชาทางเศรษฐกิจจึงเกิดแตในระยะสั้นเทานั้น นักเศรษฐศาสตรจึงเรียกคาเชาทางเศรษฐกิจนี้วา “กึ่งคาเชา” (quasi-rent)

2. คาจาง (Wages)

คาจาง (wages) เปนผลตอบแทนของแรงงาน ซึ่งเปนปจจัยการผลิตชนิดหนึ่งท่ีมีความสําคัญ ดังจะเห็นไดจากตัวเลขรายไดประชาชาติ รายไดท่ีมาจากคาจางจะเปนรายไดสวนใหญของรายไดประชาชาติหรือคิดเปนประมาณรอยละ 38.46 ของรายไดประชาชาติท้ังหมดในป 2538 (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ : 2538) อยางไรก็ตามในป 2545 สัดสวนของรายไดท่ีอยูในรูปของคาจางไดเพิ่มข้ึนเปนรอยละ 41.98 ของรายไดประชาชาติท้ังหมด (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ : 2545) นั่นคือจะเห็นไดคาจางแรงงานไดเขามามีบทบาทตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

2.1 อัตราคาจาง (Wages Rate)

รายไดของลูกจางแตละคนที่ขายบริการแรงงานใหกับนายจาง จะมีคามากหรือนอยนั้นขึ้นอยูกับผลิตภาพ (productivity) ท่ีทํางานใหกับนายจาง การวัดผลิตภาพของแรงงานแตละคนซึ่งโดยทั่วไปแลวจะมีอยู 3 วิธีดวยกัน กลาวคือ 1 1) อัตราคาจางตอระยะเวลาที่ทํางาน (Time Rate) โดยปกติแลวมักจะคํานวณคาจางออกมาเปนรายชั่วโมง แตอาจจายกันเปนรายสัปดาห หรือรายเดือน ประเทศที่มีอุตสาหกรรมกาวหนานิยมท่ีจะตั้งคาจางตามเวลาเปนชั่วโมง สวนประเทศที่อุตสาหกรรมยังไมเจริญกาวหนาพอมักจะคิดคาจางเปนรายวัน ซึ่งผลท่ีไดก็ไมแตกตางกันมากนัก 2) อัตราคาจางตามผลงาน (Piece Rate) วิธีนี้ใชสําหรับอุตสาหกรรมที่ควบคุมการทํางานไดยากลําบากจึงตองจายคาจางใหตามผลงาน นอกจากนี้แรงงานแมจะเปนแรงงานประเภทเดียวกันแตก็มีลักษณะของคุณภาพที่แตกตางกัน อัตราคาจางจึงตองแตกตางกันไปตามประสิทธิภาพของแรงงานแตละคน 3) การคิดคาจางแบบเพิ่มพิเศษ เปนวิธีท่ีผสมผสานการคิดคาจางตามเวลาและคาจางตามผลงาน กลาวคือ สวนหนึ่งเปนคาจางประจําซึ่งคิดเปนวันหรือช่ัวโมง และสวนที่สองเปนเงินเพิ่มพิเศษ

1 เร่ืองเดียวกัน, หนา 321-323.

Page 322: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

300

ตามความสามารถหรือตามผลงานที่ผลิตไดเพิ่มข้ึน การคิดคาจางแบบเพิ่มพิเศษโดยคิดจากผลงานนี้จะเปนเหตุจูงใจใหคนงานสนใจทํางานไดมากข้ึน ท้ังนี้จะตองมีคาตอบแทนที่มากพอเพราะไมเชนนั้นคนงานอาจไมกระตือรือรน หรือตองมีการกําหนดวิธีการจายเงินเพิ่มพิเศษไวลวงหนาท่ีแนนอนชัดเจนและสะดวกรวดเร็ว อยางไรก็ตามอัตราคาจางทั้ง 3 นี้เปนเพียงคาจางที่เปนตัวเงิน (money wages) เทานั้น ในการพิจารณาคาจางเรายังสามารถแบงออกไดเปนคาจางที่เปนตัวเงินและคาจางที่แทจริง(real wages) กลาวคือ คาจางที่เปนตัวเงิน (Money Wages) หมายถึง จํานวนเงินที่แรงงานไดรับเปนคาตอบแทนจากการใหบริการเพื่อการผลิต คาจางที่แทจริง (Real Wages) หมายถึง จํานวนสินคาและปริมาณที่จะหาซื้อไดดวยคาจางที่เปนตัวเงิน นั่นคือ คาจางที่แทจริงเปนอํานาจซื้อ (purchasing power) ซึ่งข้ึนอยูกับคาจางที่เปนตัวเงินและราคาของสินคาและบริการ

2.2 ดีมานดสําหรับแรงงาน (Demand for Labor)

จากการศึกษาที่ผานมา เราทราบมาแลววาดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตเปนดีมานดสืบเนื่อง (derived demand) นั่นคือ ดีมานดสําหรับแรงงานจะเปนดีมานดสืบเนื่องดวย อยางไรก็ตามดีมานดสําหรับแรงงานจะมีลักษณะเชนเดียวกันกับดีมานดสําหรับสินคาและบริการทั่วไป กลาวคือ เสน ดีมานดสําหรับแรงงานจะมีลักษณะที่ลาดลงมาจากซายไปขวา และเปนไปตามกฎแหงดีมานด ดีมานดสําหรับแรงงานจะมีมากหรือนอยข้ึนอยูกับปจจัยท่ีสําคัญ 3 ประการดวยกันคือ 1) ความสําคัญของแรงงานที่มีตอการผลิต ในการผลิตสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ถามีความตองการใชแรงงานมากก็ถือวาแรงงานมีความสําคัญตอการผลิตมาก ซึ่งสามารถวัดไดจากการเปรียบเทียบคาจางแรงงานทั้งหมดกับตนทุนผันแปรทั้งหมด ถาคาจางแรงงานเปนสัดสวนที่สูงมากก็แสดงวาแรงงานมีความสําคัญตอการผลิต ความสําคัญของแรงงานไมวาจะมากหรือนอยก็ตาม จะมีผลทําใหดีมานดสําหรับแรงงานเพิ่มข้ึนหรือลดลงตามไปดวย 2) ลักษณะของดีมานดสําหรับสินคาที่ผลิต ในการผลิตสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งถาผูผลิตคาดวาดีมานดสําหรับสินคาท่ีจะผลิตมีเพิ่มมากขึ้น และมีผลทําใหดีมานดสําหรับปจจัยการผลิตตางๆที่ใชในการผลิตสินคาชนิดนั้นเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย หากแรงงานเปนปจจัยการผลิตชนิดหนึ่งท่ีมีสําคัญตอการผลิตสินคา ก็จะทําใหดีมานดสําหรับแรงงานเพิ่มมากขึ้นเชนกัน หรือในทางตรงกันขามหากผูผลิตคาดการณวาดีมานดสําหรับสินคาจะลดลงก็จะสงผลทําใหดีมานดสําหรับแรงงานลดลงตามไปดวย นั่น

Page 323: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

301

คือถาการผลิตสินคาใดๆใชแรงงานเปนปจจัยการผลิตท่ีสําคัญแลว ลักษณะของดีมานดสําหรับสินคาท่ีผลิตนั้นจะมีผลทําใหดีมานดสําหรับแรงงานเปลี่ยนแปลงไปตามดีมานดของสินคาดังกลาวดวย 3) ความจําเปนที่จะตองใชแรงงานเปนปจจัยการผลิต ถาแรงงานเปนปจจัยการผลิตสําหรับสินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง แลวการผลิตสินคาชนิดนั้นไมสามารถหาปจจัยการผลิตชนิดอื่นมาทดแทนไดแสดงวาการผลิตสินคาชนิดนั้นมีความจําเปนตองใชแรงงานในการผลิต ดีมานดสําหรับแรงงานจะเปลี่ยนแปลงไปตามดีมานดสําหรับสินคาชนิดนั้น แตถามีปจจัยการผลิตชนิดอื่น ๆ ท่ีสามารถทดแทนแรงงานไดก็แสดงวาแรงงานมีความจําเปนนอย นั่นคือถาคาจางแรงงานเพิ่มสูงข้ึนจะมีผลทําใหผูผลิตหันไปใชปจจัยการผลิตชนิดอื่นเพิ่มสูงข้ึนเพื่อทดแทนแรงงาน ซึ่งจะมีผลทําให ดีมานดสําหรับแรงงานลดนอยลง

2.3 ซัพพลายของแรงงาน (Supply of Labor)

โดยปกติแลวเสนซัพพลายของแรงงานจะมีลักษณะลาดขึ้นจากซายไปขวา และมีความชันเปนบวกเชนเดียวกับซัพพลายของสินคาโดยทั่วไป ท้ังนี้เพราะเมื่ออัตราคาจางเพิ่มสูงข้ึนแรงงานที่ตองการเสนอขายก็จะมีมากตาม แตถาอัตราคาจางลดลงแรงงานที่ตองการเสนอขายก็จะมีนอยลงดวยเชนกัน ในระยะสั้นแลวมักจะพบวาซัพพลายของแรงงานมีความยืดหยุนนอยมาก ท้ังนี้เนื่องมาจากในระยะสั้นการเคลื่อนยายแรงงานเปนไปดวยความยากลําบาก นั่นคือ เมื่ออัตราคาจางเปลี่ยนแปลงเพิ่มข้ึนหรือลดลงปริมาณของแรงงานที่ตองการเสนอขายจะเปลี่ยนแปลงไปไมมากนัก ซัพพลายของแรงงาน หมายถึง จํานวนแรงงานหรือจํานวนชั่วโมงทํางานที่กําลังแรงงานประสงคจะทํางานเพื่อแลกเปลี่ยนกับคาจาง สวนปจจัยท่ีเปนตัวกําหนดซัพพลายของแรงงานวาจะมากหรือนอยนั้นขึ้นอยูกับ 1) ขนาดหรือจํานวนประชากร ปริมาณแรงงานที่ตองการเสนอขาย ณ ระดับอัตราคาจางตางๆข้ึนอยูกับจํานวนของประชากรในประเทศนั้นๆวาจะมีมากหรือนอยเพียงใด หากประเทศนั้นมีประชากรเปนจํานวนมากจะมีผลทําใหประชากรในวัยแรงงานมีมากหรือปริมาณแรงงานที่ตองการเสนอขายจะมีมากกกวาประเทศที่มีประชากรอยูในวัยแรงงานนอย เชนแรงงานของประเทศจีนมีมากกวาปริมาณแรงงานของประเทศไทย 2) สัดสวนของประชากรที่อยูในวัยทํางาน ปกติจะอยูระหวาง 15-60 ป หากประเทศทั้งสองมีจํานวนประชากรใกลเคียงกัน ปริมาณของแรงงานในประเทศที่มีสัดสวนของประชากรในวัยทํางานสูงจะมีซัพพลายของแรงงานมากกวาประเทศที่มีปริมาณแรงงานที่อยูในวัยทํางานที่คิดเปนสัดสวนตอจํานวนประชากรต่ํา

Page 324: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

302

3) ความยากงายที่จะเปดโอกาสใหมีการเคลื่อนยายแรงงาน โดยมีการเคลื่อนยายจากประเทศอื่นๆเขามาทํางานในประเทศนั้นๆ กลาวคือถาประเทศทั้งสองมีจํานวนแรงงานที่ใกลเคียงกันแลว ประเทศที่เปดโอกาสใหมีการนําเขาแรงงานจากประเทศอื่นได ซัพพลายของแรงงานจะมีมากกวาประเทศที่ปดกั้นไมใหมีการนําเขาแรงงานจากตางประเทศ 4) จํานวนชั่วโมงที่คนงานยินดีจะทํางาน กลาวคือ หากแรงงานมีความประสงคท่ีจะเพิ่ม ช่ัวโมงการทํางานมากขึ้นจากเดิมแลวจะมีผลทําใหซัพพลายของแรงงานเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย โดยปกติแลวเสนซัพพลายของแรงงานจะเปนเสนโคงท่ีลาดขึ้นจากซายไปขวา นั่นแสดงวาจํานวน แรงงานท่ีตองการเสนอขายจะมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกันกับอัตราคาจาง และเสนซัพพลายของแรงงานจะมีความลาดชันมากหรอืนอยข้ึนอยูกับความยืดหยุนของแรงงานชนิดนั้นๆ และเสนซัพพลายของแรงงานสามารถแสดงได ดังรูปที่ 15.4

รูปท่ี 15.4 แสดงลักษณะของเสนซัพพลายของแรงงานโดยทั่วไป

SL

O QL

W

Page 325: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

303

2.3.1 ความยืดหยุนของเสนซัพพลายของแรงงาน

เสนซัพพลายของแรงงานโดยทั่วไปจะมีลักษณะลาดขึ้นจากซายไปขวาแตความยืดหยุนของเสนซัพพลายของแรงงานจะมากหรือนอยนั้นขึ้นอยูกับสิ่งตอไปนี้ 1 1) ข้ึนอยูกับระยะเวลาและคาใชจายท่ีตองเสียไปเพื่อทําใหคนงานมีความสามารถ และความชํานาญ (skill) เชน ซัพพลายของแรงงานของคนทําสวนซึ่งไมตองเสียเวลาและคาใชจายในการฝก อบรมจะมีความยืดหยุนมากกวาซัพพลายของแพทย วิศวกร หรือ นักบัญชี ซึ่งจะตองเสียเวลาในการศึกษาและเสียคาใชจายสูงมากกวาจึงจะมีความชํานาญ 2) ข้ึนอยูกับอัตราของการทํางานเพื่อหารายไดและเวลาพักผอน (work leisure ratio) กลาวคือ โดยทั่วไปแลวถาคาจางสูงข้ึนยอมทําใหซัพพลายของแรงงานเพิ่มข้ึนแตถาคาจางสูงข้ึนมากๆอาจทําใหคนงานอยากทํางานนอยลง (เสนซัพพลายของแรงงานที่ระดับคาจางสูงกวา W ในรูปท่ี 15.5 (ก)) หรืออยางนอยก็ไมอยากทํางานเพิ่มข้ึนก็ได (เสนซัพพลายของแรงงานที่ระดับคาจางสูงกวา W ในรูปที่ 15.5 (ข)) ท้ังนี้เนื่องมาจากคนงานเลือกที่จะพักผอนหรือหาความสําราญมากขึ้น โดยเฉพาะผูท่ีเคยทํางาน ณ ระดับคาจางต่ํา ๆ มากอน ดังนั้นเสนซัพพลายของแรงงาน ณ ระดับ คาจางสูงมาก ๆ จึงมีลักษณะพิเศษท่ีแตกตางไปจากลักษณะของเสนซัพพลายโดยทั่วไป กลาวคือ จะมีลักษณะเปนเสนที่วกกลับ (back-ward bending supply curve) หรือมีความยืดหยุนนอยท่ีสุด ดังแสดงในรูป 15.5 (ก) และ 15.5 (ข) โดยที่กําหนดใหแกนตั้งแทนคาจาง (W) และแกนนอนแทนปริมาณแรงงานหรือช่ัวโมงการทํางาน (QL) 3) ข้ึนอยูกับคาใชจายในการยายงาน และผลประโยชนท่ีจะตองเสียไปเนื่องจากการยายงาน กลาวคือ ถาคาใชจายและผลประโยชนท่ีจะตองเสียไปเนื่องมาจากการยายงานในอาชีพใด มีคาสูงแลว คนงานในอาชีพนั้นก็ไมอยากที่จะยายงาน เสนซัพพลายของแรงงานในอาชีพนั้นๆก็จะมีความยืดหยุนนอย 4) ข้ึนอยูกับสิ่งแวดลอมเกี่ยวกับการทํางานและสถานที่ทํางาน ถางานอาชีพใดเสี่ยงตออันตรายมากและสถานที่ทํางานอยูหางไกลมีความลําบากในการเดินทางไป เสนซัพพลายของแรงงานในอาชีพนั้น ๆ ยอมจะมีความยืดหยุนนอย

1 ปจจัย บุนนาค และสมคิด แกวสนธิ, จุลเศรษฐศาสตร, หนา 323-325.

Page 326: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

304

5) ข้ึนอยูกับขอจํากัดและสิ่งกีดขวางการเขาทํางาน โดยกฎหมายหรือสหภาพแรงงาน กลาวคือ ถามีการจํากัดหรือกีดขวางการเขาทํางานของแรงงานในอาชีพใดแลวเสนซัพพลายของ แรงงานในอาชีพนั้นยอมมีความยืดหยุนนอย

รูปท่ี 15.5 แสดงเสนซัพพลายของแรงงานที่แตกตางไปจากเสนซัพพลายทั่ว ๆ ไป

2.4 การกําหนดคาจางดุลยภาพ (Determination of Wages)

การกําหนดคาจางดุลยภาพในแตละตลาดจะมีความแตกตางกันบาง ข้ึนอยูกับการแขงขันของตลาดแรงงานในแตละอาชีพวามีระดับการแขงขันกันมากนอยเพียงใด กรณีท่ีตลาดแรงงานอาชีพใดมีการแขงขันอยางสมบูรณแลว คาจางดุลยภาพจะถูกกําหนดจาก ดีมานด และซัพพลายของแรงงานอาชีพนั้น ๆ ดังแสดงไวในรูปที่ 15.6 ลักษณะของตลาดแรงงานในอาชีพท่ีมีการแขงขันอยางสมบูรณจะมีลักษณะดังตอไปนี้ 1 1) ผูซื้อและผูขายแรงงานประเภทนั้น ๆ มีเปนจํานวนมาก 2) แรงงานแตละหนวยมีความสามารถทัดเทียมกัน 3) สภาพการทํางานแตละแหงไมแตกตางกัน 4) คนงานทราบความเคลื่อนไหวของคาจางเปนอยางดี

1 วันรักษ มิ่งมณีนาคิน, หลักเศรษฐศาสตรจุลภาค, หนา 151.

SL

QL QL

w w

SL W W

O O(ก) (ข)

Page 327: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

305

5) การเปลี่ยนแปลงและการยายงานทําไดโดยเสรี 6) คนงานไดทํางานที่เหมาะสมกับความสามารถของตน

รูปท่ี 15.6 แสดงการกําหนดคาจางดุลยภาพในตลาดแรงงานที่มีการแขงขันอยางสมบูรณ

จากรูปที่ 15.6 เสน SL คือ เสนซัพพลายของแรงงานในตลาดแรงงานแขงขันสมบูรณท่ีแสดงถึงความตองการเสนอขาย ณ ระดับคาจางตาง ๆ และเสน DL คือ เสนดีมานดสําหรับแรงงานในตลาดแรงงานที่มีการแขงขันสมบูรณ ซึ่งแสดงถึงปริมาณความตองการแรงงาน ณ ระดับอัตราคาจาง ตาง ๆ คาจางดุลยภาพในตลาดแรงงานที่มีการแขงขันสมบูรณจึงถูกกําหนดจากเสน SL ตัดกับเสน DL ณ จุด E คาจางดุลยภาพจึงมีคาเทากับ OW1 ความตองการแรงงานของทั้งตลาดมีคา เทากับ OL1

2.5 ความไมสมบูรณของตลาดแรงงาน

ในโลกแหงความเปนจริงแลว ตลาดแรงงานเกือบทุกประเทศไมใชตลาดที่มีการแขงขันอยางสมบูรณ คนงานจะไมแขงขันกันขายบริการใหกับนายจางแตแรงงานทั้งหลายของในแตละประเทศจะมีการรวมตัวกันกอตั้งเปนสหภาพแรงงาน (labor union) เพื่อใหมีอํานาจในการตอรองคาจางกับนายจาง รวมไปถึงการกําหนดคาจางที่เกิดจากการเจรจาดวยกัน 3 ฝาย หรือ เรียกวาไตรภาคี อันประกอบไปดวย สหภาพแรงงาน ตัวแทนฝายนายจาง และตัวแทนฝายรัฐบาล โดยทั่วไปแลวสหภาพแรงงานจะมีการเจรจาเพื่อขอข้ึนคาจาง เมื่อเกิดเหตุการณตอไปนี้

QL

SL

DL = MRP

E w1

W

L1 O

Page 328: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

306

1) ฝายลูกจางเห็นวาคาครองชีพสูงข้ึน (คาจางที่แทจริงลดลง) 2) ฝายลูกจางเห็นวานายจางมีกําไรมากขึ้น 3) ฝายลูกจางเห็นวาคาจางแรงงานในอาชีพอื่นสูงข้ึน 4) ฝายลูกจางเห็นวาคนงานตองผลิตสินคาชนิดอื่นเพิ่มมากขึ้น ในการเจรจาเรียกรองขอขึ้นคาจางแรงงานจะไดผลหรือไมข้ึนอยูกับอํานาจการตอรองของสหภาพแรงงานเปนสําคัญ หากสหภาพแรงงานใดมีความเขมแข็งก็จะมีอํานาจในการตอรองมาก ความเขมแข็งของสหภาพแรงงานจะขึ้นอยูกับเงินทุนเปนสําคัญเพราะเมื่อมีเงินทุนมากการนัดหยุดงานก็จะทําไดเปนเวลานานๆและมีเงินทุนใชจายระหวางนัดหยุดงานอยางเพียงพอ การเรียกรองขอขึ้นคาจางก็จะประสบความสําเร็จไดงาย แตถาสหภาพแรงงานใดออนแอการเรียกรองขอขึ้นคาจางก็จะเปนไปดวยความยากลําบาก อยางไรก็ตามอํานาจการตอรองของสหภาพแรงงานจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับสิ่งตอไปนี้ 1) ความยืดหยุนของดีมานดสําหรับสินคาชนิดนั้น ๆ หากดีมานดสําหรับสินคาดังกลาวมีความยืดหยุนนอย อํานาจการตอรองของสหภาพแรงงานจะมีคามากกวากรณีท่ีดีมานดสําหรับสินคาท่ีมีความยืดหยุนมาก เพราะหากผูผลิตข้ึนราคาสินคา และสินคานั้นมีความยืดหยุนนอยจะมีผลทําใหรายไดของเขาเพิ่มข้ึน ผูผลิตจะไมลดการจางงาน แตถาสินคาชนิดนั้นมีความยืดหยุนมากการขึ้นราคาสินคาจะมีผลใหรายไดของผูผลิตลดลง และผูผลิตจะตองลดการจางงานเปนอันมาก 2) ความสําคัญของแรงงานในสวนประกอบของปจจัยการผลิต ถาการผลิตสินคานั้น ๆ มีสัดสวนของแรงงานสูง อํานาจการตอรองของสหภาพแรงงานจะสูงตาม เนื่องจากหากมีการนัดหยุดงานจะทําใหการผลิตสินคาตองหยุดชะงักซึ่งกระทบตอผูผลิตโดยตรง แตถาแรงงานคิดเปนสัดสวนของปจจัยการผลิตท่ีนอยมากหรือการผลิตสวนใหญใชเครื่องจักร อํานาจการตอรองของสหภาพแรงงานก็จะมีนอยเพราะหากมีการนัดหยุดงานจะสงผลกระทบตอผูผลิตเพียงเล็กนอย

2.6 สหภาพแรงงาน และการกําหนดคาจาง (Labor Union and Determination of Wages)

การกําหนดคาจางโดยปกติแลว จะขึ้นอยูกับดีมานดและซัพพลายของแรงงานหรือข้ึนอยูกับ ผูเสนอขายแรงงานกับผูตองการซื้อแรงงาน แตในปจจุบันคนงานสวนใหญโดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศอุตสาหกรรมมักจะรวมตัวกันกอตั้งสหภาพแรงงาน (labor union)ข้ึน และมอบหมายใหสหภาพแรงงานทําหนาท่ีตอรองเกี่ยวกับการขึ้นคาจาง เงื่อนไขการทํางาน ตลอดจนผลประโยชนตางๆที่ลูกจางควรจะไดรับ เมื่อผลการตอรองออกมาเปนอยางไร คนงานที่อยูในสภาพแรงงานนั้นก็จะปฏิบัติตาม

Page 329: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

307

การเรียกรองข้ึนคาจางของสหภาพแรงงานจะกระทําเมื่อเห็นวาคาจางดุลยภาพในขณะนั้นอยูในระดับต่ําเกินไป ซึ่งสามารถพิจารณาได 2 แนวทาง กลาวคือ

2.6.1 การเพิ่มดีมานดสําหรับแรงงงาน (Increasing the Demand for Labor)

การเพิ่มดีมานดสําหรับแรงงานจะทําใหคาจางดุลยภาพเพิ่มสูงข้ึนและคนงานก็จะมีงานทํามากขึ้น

รูปท่ี 15.7 การเรียกรองขึ้น คาจางโดยการเพิ่มดีมานดสําหรับแรงงาน

จากรูปที่ 15.7 เมื่อสหภาพแรงงานเห็นวาคาจาง OW1 เปนคาจางดุลยภาพที่ต่ําเกินไปจึงเรียกรองขอเพิ่มข้ึนคาจางเปน OW2 โดยตอรองใหนายจางเพิ่มคาจางและเพิ่มการจางงานหากการตอรองดังกลาวประสบความสําเร็จเสนดีมานดสําหรับแรงงานก็จะเลื่อนจาก เสน DL เปนเสน D'Lคาจาง ดุลยภาพจะเพิ่มจาก OW1 เปน OW2 และการจางงานก็จะเพิ่มจาก OL1 เปน OL2 การเพิ่มดีมานดสําหรับแรงงานสามารถกระทําไดหลายวิธีดวยกัน ซึ่งไดแก การเพิ่ม ดีมานดของผลผลิตท่ีไดจากการใชแรงงานเหลานั้นผลิต หรือสหภาพแรงงานกระทํารวมกับนายจางเพื่อหาทางเพิ่มผลิตภาพของแรงงาน (MPPL) ใหสูงข้ึน ซึ่งจะมีผลทําใหตนทุนการผลิตตลอดจนราคาสินคาลดลงอันจะเปนผลใหดีมานดของสินคาเพิ่มสูงข้ึน และจะสงผลสืบเนื่องใหดีมานดสําหรับแรงงานเพิ่มสูงข้ึนตามมาดวย หรือสหภาพแรงงานอาจรวมมือกับนายจางเพื่อขอใหรัฐบาลชวยเหลืออุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยใหรัฐบาลควบคุมการนําเขาสินคาประเภทเดียวกันจากตางประเทศ อยางไรก็ตาม

QL

E1

E2

SL

DL = MRP D'L = MRP'

w1

w2

W

L2 L1 O

Page 330: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

308

วิธีการเพิ่มดีมานดสําหรับแรงงานนั้นยากที่จะประสบความสําเร็จได ดังนั้น สหภาพแรงงานจึงมักจะหันมาใชวิธีการควบคุมทางดานซัพพลายของแรงงานในตลาดมากกวาท่ีจะควบคุมทางดานดีมานด

2.6.2 การลดซัพพลายของแรงงาน (Reducing the Supply of Labor)

สหภาพแรงงานอาจเรียกรองข้ึนคาจางโดยการลดซัพพลายของแรงงานลง ซึ่งจะมีผลทําใหซัพพลายของแรงงานลดลงโดยเสนซัพพลายจะเคลื่อนยายไปทางซายมือของเสนซัพพลายเดิม และคาจางดุลยภาพเพิ่มสูงข้ึน แตจะกอใหเกิดปญหาการวางงานตามมา

รูปที่ 15.8 การเรียกรองข้ึนคาจางโดยการลดซัพพลายของแรงงาน

จากรูปที่ 15.8 เมื่อสหภาพแรงงานเห็นวาคาจาง OW1 เปนคาจางดุลยภาพท่ีต่ําเกินไป จึงเรียกรองขอเพิ่มคาจางเปน OW2 โดยการลดซัพพลายลงจาก SL เปน S'L ณ ระดับคาจาง OW2 จะกอใหเกิดการวางงานเทากับ L1L2 ซึ่งการวางงานที่เกิดข้ึนนั้นจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับความสามารถของสหภาพแรงงาน วาจะสามารถจํากัดจํานวนคนงานในตลาดแรงงานใหนอยลงไดมากนอยเพียงใด ถาการเรียกรองขอขึ้นคาจางแลวกอใหเกิดการวางงานเพียงเล็กนอย ก็ยอมแสดงวา สหภาพแรงงานประสบผลสําเร็จในการเรียกรองขอขึ้นคาจาง แตถาเกิดการวางงานเปนจํานวนมากโอกาสที่สหภาพแรงงานจะประสบความสําเร็จนั้นคงยาก การจํากัดจํานวนคนงานในตลาดแรงงานอาชีพใดอาชีพหนึ่ง อาจกระทําไดโดยจัดใหมีการฝกอบรมกอนเขาทํางานในอาชีพนั้น หรือขยายระยะการฝกหัดงานใหยาวนานขึ้น หรือเพิ่มคาใชจายใน

QL

S'L SL

E2

E1

DL = MRP

W

w2

w1

O L2 L1

Page 331: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

309

การเขาฝกอบรม หรือเพิ่มคาธรรมเนียมการเขาเปนสมาชิกใหม หรือการบังคับใหนายจางจางเฉพาะคนงานในสหภาพ และหามจางคนงานนอกสหภาพ

2.7 ความแตกตางของคาจาง (Wage Differentials)

โดยขอเท็จจริงแลวแรงงานแตละอาชีพจะไดรับคาจางไมเทากัน หรือแมแตทํางานในอาชีพเดียวกันคาจางยังแตกตางกัน สาเหตุท่ีเปนเชนนี้ข้ึนอยูกับทั้งดีมานดและซัพพลายของแรงงานชนิดนั้นๆ เปนสําคัญ กลาวคือถาซัพพลายของแรงงานมีนอยกวาดีมานดสําหรับแรงงานแลวคาจางในอาชีพนั้นๆจะสูง แตถาหากซัพพลายของแรงงานมากกวาดีมานดสําหรับแรงงานแลวคาจางจะต่ํา การพิจารณาการกําหนดคาจางจากดีมานดและซัพพลายของแรงงานนั้นคงจะยังไมถูกตองมากนัก อยางไรก็ตามเราอาจสรุปถึงสาเหตุท่ีทําใหคาจางแตกตางกันอาจเนื่องมาจากสาเหตุ 3 ประการ 1) คนงานแตละคนมีความสามารถ มีระดับการศึกษาและการฝกอบรมไมเทาเทียมกันจึงเปนเหตุใหไดรับคาจางไมเทากัน เชน แพทย วิศวกร นักเศรษฐศาสตร และทนายความ เปนตน 2) เนื่องมาจากสภาพการทํางานที่แตกตางกัน เชนแรงงานที่จบปริญญาตรีเหมือนกันแตทํางานในภาคเอกชนจะไดรับคาจางมากกวาการรับราชการ เพราะการทํางานใหกับเอกชนจะตองทํางานอยางเต็มท่ีแทบไมมีเวลาพักผอน จึงไดคาจางมากกวาการรับราชการที่ทํางานนอยกวามีเวลาพักผอนมากกวา การทํางานสบายกวาจึงไดรับคาจางที่ต่ํากวา 3) เนื่องมาจากความไมสมบูรณของตลาดแรงงาน แมจะทํางานอาชีพเดียวกันแตคาจางที่ไดรับแตกตางกันเพราะ ก. คนงานไมอยากโยกยายจากถิ่นเดิม เนื่องมาจากการเดินทางไปทํางานในที่แหงใหมทําใหเกิดการสิ้นเปลือง เสียเวลา และเปนสาเหตุหนึ่งท่ีทําใหตลาดแรงงานไมมีการแขงขันอยางแทจริง ข. การขัดขวางของสถาบันหรือสหภาพแรงงาน เชน กรณีท่ีสหภาพแรงงานหามมิใหนายจางวาจางคนงานที่ไมไดเปนสมาชิกของสหภาพแรงงาน ค. คานิยมทางสังคม เชน การทํางานในลักษณะเดียวกัน คนงานหญิงไดรับคาจางต่ํากวาคนงานชาย หรือกรณีของตางประเทศคนงานผิวดําจะไดรับคาจางต่ํากวาคนงานผิวขาว

3. ดอกเบี้ย (Interest)

ทุน (capital) ตามความหมายของวิชาเศรษฐศาสตรไดแบงทุนออกเปน 2 รูปแบบดวยกันคือ สินคาประเภททุน (capital goods) ซึ่งหมายถึง เครื่องมือเครื่องจักรตาง ๆ ท่ีมนุษยคิดคนสรางขึ้นมาเพื่อชวยในการผลิต และทุนอีกประเภทหนึ่งก็คือ เงินทุน(money capital) ซึ่งหมายถึงรายไดในสวนที่บุคคล

Page 332: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

310

เก็บออมเอาไวสําหรับการลงทุนหรือสําหรับหาซื้อสินคาประเภททุน และถือวาเปน ตนทุนการผลิตอยางหนึ่ง ดอกเบี้ย (interest) หมายถึง ผลประโยชนตอบแทนจากการใชเงินทุน ซ่ึงถือเปนราคาของการใชเงินทุน ปกติแลวการคิดดอกเบี้ยจะคิดเปนรอยละของเงินทุนภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งซึ่งเราเรียกวา "อัตราดอกเบี้ย" นั่นเอง อัตราดอกเบี้ยในที่นี้จะหมายถึงท้ังอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู โดยปกติแลวอัตราดอกเบี้ยเงินฝากจะนอยกวาอัตราดอกเบี้ยเงินกู และอัตราดอกเบี้ยชนิดเดียวกันจะไมเทากันข้ึนอยูกับแหลงรับฝากและแหลงใหกูยืม เชน ธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทประกันภัย ฯลฯ เพราะมีสาเหตุหรืออิทธิพลมาจาก 1) ความเสี่ยง (Risk) การคิดอัตราดอกเบี้ยจากการใหกูยืมจะขึ้นอยูกับความเสี่ยงเปนสําคัญกลาวคือ ถาการใหกูยืมมีความเสี่ยงมาก อัตราดอกเบี้ยท่ีคิดจะสูงหรือมีคามาก แตถาการใหกูยืมมีความเสี่ยงตอการสูญเสียท้ังดอกเบี้ยและเงินตนนอยกวา อัตราดอกเบี้ยท่ีคิดก็จะต่ํากวาการใหกูยืมท่ีมีความเสี่ยงสูง 2) สภาพคลอง (Liquidity) สภาพคลองของสินทรัพย หมายถึงการเปลี่ยนสภาพของทรัพยสินใหเปนเงินสด สินทรัพยท่ีมีสภาพคลองสูงจะสามารถเปลี่ยนเปนเงินสดไดรวดเร็วกวาสินทรัพยท่ีมีสภาพคลองต่ํา เชน การกูยืมเงินจากประชาชนของรัฐบาลโดยการขายพันธบัตรใหกับประชาชน พันธบัตรระยะสั้นจะมีสภาพคลองสูงและอัตราดอกเบี้ยจะต่ํา แตถาเปนพันธบัตรระยะยาวสภาพคลองจะมีต่ําและอัตราดอกเบี้ยจะสูงกวา 3) การผูกขาด (Monopoly) แหลงเงินกูในแตละทองท่ีมีจํานวนไมเทากัน อัตราดอกเบี้ยเงินกูในแตละแหงจึงไมเทากัน ในทองท่ีใดที่มีแหลงเงินกูเปนจํานวนมาก อัตราดอกเบี้ยในแหลงนั้นจะต่ํากวาในแหลงท่ีมีเงินกูเพียงแหงเดียว (ผูกขาด) นั่นคือ อัตราดอกเบี้ยเงินกูในแหลงท่ีมีการผูกขาดอัตราดอกเบี้ยจะสูงกวาแหลงอื่น ๆ

3.1 การกําหนดอัตราดอกเบี้ย (Determination of Interest)

อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพจะถูกกําหนดจากดีมานดและซัพพลายของเงินทุน และมีทฤษฎีท่ีอธิบายถึงอัตราดอกเบี้ยอยูดวยกันหลายทฤษฎี แตในที่นี้จะขออธิบายเพียง 2 ทฤษฏีเทานั้น ซึ่งไดแก ทฤษฎีปริมาณเงินกู (loanable funds theory) และทฤษฎีความตองการถือเงิน (liquidity preference theory)

Page 333: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

311

3.1.1 ทฤษฎีปริมาณเงินกู (Loanable Funds Theory)

ทฤษฎีปริมาเงินกูอธิบายถึงการกําหนดอัตราดอกเบี้ย หรือเราเรียกวาราคาของเงินกูโดยถูกกําหนดจากดีมานดสําหรับเงินกู (demand for loanable funds) กับซัพพลายของเงินที่จะมีใหกู (supply of loanable funds) ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้ 1) ดีมานดสําหรับเงินกู (Demand for Loanable Funds) หมายถึง จํานวนเงินที่หนวยธุรกิจ และรัฐบาลตองการกูยืมเพื่อนําไปใชในการลงทุนหรือใชจายเพื่อการบริโภค หรือนําไปเพื่อกิจการท้ังสองอยาง การเกิดดีมานดสําหรับเงินกูของหนวยธุรกิจก็เพื่อท่ีจะนําไปซื้อสินคาประเภททุนเพื่อใชในการผลิตสินคาและบริการ แตท้ังนี้และทั้งนั้นจะตองข้ึนอยูกับดีมานดของสินคาประเภททุนและขึ้นอยูกับอัตราผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ ดีมานดสําหรับเงินกูจะมีมากถาหากอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับต่ํา ๆ และจะมีนอยถาอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับสูง ๆ ดีมานดสําหรับเงินกูของผูบริโภคที่เกิดข้ึนนั้นก็เพื่อจะนําไปใชอุปโภคบริโภคสินคาและบริการซึ่งจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับความจําเปน และความตองการบริโภคสินคาและบริการเปนสําคัญ ดีมานดสําหรับเงินกูของผูบริโภคจะมีมากถาอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับต่ําๆ และจะมีนอยหากอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับสูงๆ ดีมานดสําหรับเงินกูของรัฐบาลจะแตกตางจากดีมานดสําหรับเงินกูของหนวยธุรกิจเพราะรัฐบาลมิไดแสวงหากําไร กลาวคือรัฐบาลจะกูเงินเพื่อนําไปซื้อสินคาหรือบริการและเพื่อการลงทุนในกิจการสาธารณูปโภค ทําใหดีมานดเงินกูของรัฐบาลมีลักษณะคลายกับดีมานดเงินกูของผูบริโภคแตจะมีความยืดหยุนนอยกวาท้ังนี้เพราะบางครั้งแมอัตราดอกเบี้ยจะสูงรัฐบาลก็จําเปนตองกูยืมเพื่อนําไปลงทุนในโครงการที่จําเปนตอการพัฒนาประเทศ โดยสรุปแลวไมวาจะเปนดีมานดสําหรับเงินกูของรัฐบาล หรือของผูบริโภค หรือของหนวยธุรกิจก็ตามจะขึ้นอยูกับอัตราดอกเบี้ยเปนสําคัญ กลาวคือ เสนดีมานดสําหรับเงินกูจะเปนเสนที่ลาดลงจากซายไปขวาเชนเดียวกับเสนดีมานดท่ัวไป ความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยกับปริมาณความตองการกูเงินจะเปนดังรูปที่ 15.9 ซึ่งจะเห็นไดวา ณ ระดับอัตราดอกเบี้ย i1 ปริมาณความตองการกูเงินเทากับ L1 เมื่ออัตราดอกเบี้ยลดลงเปน i2 ปริมาณความตองการกูเงินจะเพิ่มเปน L2 นั่นคือ ความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยกับปริมาณความตองการเงินกูเปนไปในทิศทางตรงกันขาม ถาอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับสูงปริมาณความตองการเงินกูจะมีนอย ตรงกันขามถาอัตราดอกเบี้ยลดต่ําลงปริมาณความตองการเงินกูจะเพิ่มมากขึ้น

Page 334: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

312

รูปที่ 15.9 แสดงดีมานดสําหรับเงินกู

2) ซัพพลายของเงินใหกู (Supply of Loanable Funds) หมายถึงปริมาณเงินที่จะมีใหกูยืม ณ ระดับอัตราดอกเบี้ยตางๆซึ่งปริมาณเงินที่จะมีใหกูยืมมาจากหลายแหลงดวยกัน เชน จากการออม (saving) จากการนําเงินที่เก็บไวเฉยๆออกมาใหกู จากการปลอยสินเชื่อของธนาคาร และสถาบันการเงินอื่น ๆ และจากการลดการสะสมทุนโดยไมทดแทนทุนเกาท่ีสึกหรอหรือหมดอายุไป (disinvestment)

รูปท่ี 15.10 แสดงเสนซัพพลายของเงินที่จะใหกูยืม

โดยสรุปแลวซัพพลายของเงินที่จะใหกูยืมข้ึนอยูกับอัตราดอกเบี้ยเปนสําคัญ กลาวคือ ถาหากอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับสูงปริมาณเงินใหกูยืมก็จะมีมากดวย แตถาอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับต่ํา

อัตราดอกเบี้ย

ปริมาณเงินกู

Demand for Loanable Funds

i1

i2

O L1 L2

L2 L1

Supply of Loanable Funds อัตราดอกเบี้ย

i2

i1

O ปริมาณเงินกู

Page 335: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

313

ปริมาณเงินใหกูยืมก็จะมีนอยตามไปดวย นั่นคือเสนซัพพลายของเงินใหกูยืมจะเปนเสนที่ลาดขึ้นจากซายไปขวาเชนเดียวกับเสนซัพพลายโดยทั่วไป ดังแสดงในรูปที่ 15.10 จากรูปที่ 15.10 จะเห็นไดวาเมื่ออัตราดอกเบี้ยอยูท่ี i1 ปริมาณเงินที่ใหกูยืมอยูท่ี L1 ตอมาเมื่ออัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงข้ึนเปน i2 ปริมาณเงินใหกูยืมจะเพิ่มสูงข้ึนเปน L2 นั่นคือทิศทางการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยกับปริมาณเงินใหกูยืมเปนไปในทิศทางเดียวกัน 3) การกําหนดอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ ตามทฤษฎีปริมาณเงินกู (lonable funds theory) อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพจะถูกกําหนดจากเสนดีมานดสําหรับเงินกูตัดกับเสนซัพพลายของเงินที่ใหกูยืม ดังแสดงในรูปที่ 15.11

จากรูปที่ 15.11 จะเห็นไดวาอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพถูกกําหนดขึ้น ณ ท่ีจุด E ซึ่งเปนจุดท่ีเสน demand for loanable funds ตัดกับ supply of loanable funds จากจุด E เราจะไดอัตราดอกเบี้ย ดุลยภาพเทากับ i1 และปริมาณเงินที่มีการกูยืมเทากับ OL1

3.1.2 ทฤษฎีความตองการถือเงิน (Liquidity-Preference Theory)

ทฤษฎีความตองการถือเงินนี้เปนทฤษฎีของ John Maynard Keynes นักเศรษฐศาสตรผูมีช่ือเสียงทางดานเศรษฐศาสตรมหภาคชาวอังกฤษ สาระสําคัญของทฤษฎีนี้ "อัตราดอกเบี้ยจะถูกกําหนดจากความตองการถือเงิน (demand for money) และปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ (supply of money)" จากทฤษฎีดังกลาวสามารถแยกพิจารณาดังนี้

รูปท่ี 15.11 แสดงอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ

Supply of Loanable Funds

E

ปริมาณเงินกู

อัตราดอกเบี้ย

Demand for Loanable Funds

O L1

i1

Page 336: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

314

1) ความตองการถือเงิน (Demand for Money) หมายถึง ความตองการถือเงินของประชาชนในระยะเวลาหนึ่ง ซึ่ง Keynes เห็นวาประชาชนหรือองคการธุรกิจมีความตองการถือเงินไวดวยวัตถุประสงค 3 ประการ กลาวคือ (1) ความตองการถือเงินไวเพื่อใชจายในชีวิตประจําวัน (transaction demand for money)ประชาชนหรือองคการธุรกิจจะถือเงินสวนหน่ึงหรือกันเงินสวนหนึ่งไวเพื่อใชจายบริโภคในชีวิตประจําวัน จํานวนเงินที่ถือไวในสวนนี้จะมากหรือนอยข้ึนอยูกับรายได และระยะเวลาที่จะไดรับเงินในงวดใหมเปนสําคัญ กลาวคือ ถาประชาชนมีรายไดสูงและระยะเวลาที่จะไดเงินงวดในงวดใหมสั้นแลวการถือเงินไวในสวนนี้ก็จะสูงตามไปดวย สวนองคการธุรกิจก็เชนเดียวกันจะใชจายเงินประจําวันมากหรือนอยข้ึนอยูกับขนาดและปริมาณการซื้อขายขององคการธุรกิจนั้นๆ (2) ความตองการถือเงินไวใชจายในยามฉุกเฉิน (precautionary demand for money) เปนความตองการถือเงินไวเพื่อสํารองจายเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เชน เมื่อยามเจ็บไขไดปวย เมื่อถูกปลดออกจากงาน และเมื่อการคาฝดเคือง ซึ่งการถือเงินประเภทนี้จะมากหรือนอยข้ึนอยูกับ รายได สภาพแวดลอม ตลอดจนถึงโอกาสที่จะไดรับสวัสดิการจากรัฐ กลาวคือ เมื่อมีรายไดสูงจะถือเงินสวนนี้ไวมากกวากรณีท่ีมีรายไดต่ํา หรือเมื่อรัฐบาลใหสวัสดิการเพิ่มมากขึ้นการถือเงินไวในสวนนี้ก็จะลดลง (3) ความตองการถือเงินไวเพื่อเก็งกําไร (speculative demand for money) ความตองการเงินของประชาชนประเภทนี้จะถือไวเพื่อลงทุนหากําไร ซึ่งข้ึนอยูกับอัตราดอกเบี้ยท้ังในปจจุบันและอนาคตเปนสําคัญ กลาวคือ ถาในปจจุบันอัตราดอกเบี้ยต่ําประชาชนถือเงินสดไวเปนจํานวนมาก แตถาอัตราดอกเบี้ยในปจจุบันเพิ่มสูงข้ึน ประชาชนจะถือเงินสดไวในมือลดนอยลงและจะนําเงินไปลงทุนซื้อหุน หรือสินทรัพยอื่นๆที่มีสภาพคลองเพราะจะใหผลตอบแทนสูงกวา ความตองการถือเงินทั้งสามประเภท Keynes เห็นวาความตองการถือเงินไวใชในชีวิตประจําวัน และความตองการถือเงินไวใชจายในยามฉุกเฉินจะมีคาคงที่ในระยะสั้น เพราะขึ้นอยูกับรายไดและความเคยชินที่จะใชจายเปนสําคัญ มีเพียงความตองการถือเงินไวเพื่อเก็งกําไรเทานั้นที่จะเปลี่ยนแปลงในระยะสั้นและขึ้นอยูกับอัตราดอกเบี้ยเปนสําคัญ ฉะนั้นจึงไดถือวา ความตองการถือเงินไวเพื่อเก็งกําไรเปนความตองการถือเงิน (demand for money) หรือดีมานดในการถือเงินของประชาชน ซึ่งเสนความตองการถือเงินของประชาชนจะมีลักษณะลาดลงจากซายไปขวา หรือปริมาณความตองการถือเงินจะเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันขามกับอัตราดอกเบี้ย ดังรูปที่ 15.12 อัตราดอกเบี้ย

i1

Page 337: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

315

รูปท่ี 15.12 แสดงเสน Demand for Money

2) ปริมาณเงิน (Supply of Money) หมายถึง ปริมาณเงินทั้งหมดที่หมุนเวียนอยูในระบบเศรษฐกิจขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งประกอบไปดวย เหรียญกษาปณ ธนบัตร และเงินฝากกระแสรายวันของระบบธนาคารพาณิชย ปริมาณเงินจะมีมากหรือนอยยอมข้ึนอยูกับนโยบายทางการเงินของรัฐบาลเปนสําคัญ และมิไดข้ึนอยูกับอัตราดอกเบี้ยแตอยางใด ในระยะสั้นแลวปริมาณเงินจะมีคาคงที่ นั่นคือเสนปริมาณเงิน (supply of money) จะเปนเสนที่ตั้งฉากกับแกนนอน ดังรูปที่ 15.13

i1 i2

รูปท่ี 15.13 แสดงเสน Supply of Money

Supply of Money อัตราดอกเบี้ย

ปริมาณเงิน Sm O

Page 338: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

316

3) อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ (Equilibrium Interest) อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพจะเกิดข้ึนเมื่อปริมาณความตองการถือเงินของประชาชนในระบบเศรษฐกิจนั้นเทากับปริมาณเงินที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจในขณะนั้น ดังแสดงในรูปที่ 15.14

รูปที่ 15.14 แสดงการกําหนดอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ

จากรูปท่ี 15.14 เมื่อกําหนดใหแกนตั้งแสดงถึงระดับอัตราดอกเบี้ย และแกนนอนแสดงถึงปริมาณเงิน จะไดวาอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ (equilibrium interest) ถูกกําหนดจากเสนความตองการถือเงิน (demand for money : Dm) ตัดกับเสนปริมาณเงิน (supply of money : Sm) ณ จุด E อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพมีคาเทากับ iE

3.2 บทบาทของอัตราดอกเบี้ยในระบบเศรษฐกิจ

อัตราดอกเบี้ย (Interest) หมายถึง ราคาหรือผลตอบแทนของเงินทุนซึ่งตามทฤษฎีปริมาณเงินกู (loanable funds theory) อัตราดอกเบี้ยถูกกําหนดจากดีมานดสําหรับเงินกู (demand for loanable funds) กับซัพพลายของเงินใหกูยืม (supply of loanable funds) และตามทฤษฎีความตองการถือเงิน (liquidity preference theory) อัตราดอกเบี้ยถูกกําหนดจากความตองการถือเงิน (demand for money) กับปริมาณเงิน (supply of money) อัตราดอกเบี้ยแบงออกเปน 2 ประเภทคือ อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และอัตราดอกเบี้ยเงินกู ถาพิจารณาในสถาบันการเงินแหลงเดียวกันอัตราดอกเบี้ยเงินกูจะมีคามากกวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก อัตราดอกเบี้ยเงินกูจะเปนตัวกําหนดปริมาณการลงทุน หากอัตราดอกเบี้ยเงินกูต่ําปริมาณความตองการลงทุนก็จะมีมาก ในทางกลับกันหากอัตราดอกเบี้ยเงินกูคอนขางสูงปริมาณความตองการลงทุนก็จะมี

iE

ปริมาณเงิน

อัตราดอกเบี้ย Sm

E

Dm

Sm O

Page 339: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

317

นอย และในทํานองเดียวกันอัตราดอกเบี้ยเงินฝากจะเปนตัวกําหนดการออมทรัพยของประชาชนซึ่งจะสงผลไปถึงซัพพลายของเงินที่จะมีใหกูยืม กลาวคือหากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากต่ําจะสงผลใหประชาชนออมเงินนอย แตถาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากสูงข้ึนปริมาณเงินออมของประชาชนก็จะเพิ่มข้ึน นั่นคือ อัตราดอกเบี้ยมีบทบาทสําคัญตอการออมและการลงทุนในระบบเศรษฐกิจอยางนอย 4 ประการ ดังนี้ 1 1) อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก จะมีอิทธิพลตอการออมทรัพยของประชาชน 2) อัตราดอกเบี้ยเงินกูจะมีบทบาทสําคัญตอการลงทุนซึ่งจะสงผลทําใหระบบเศรษฐกิจเจริญเติบโตยิ่งข้ึน 3) อัตราดอกเบี้ยเงินกูจะใชเปนเครื่องมือในการเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับจากโครงการลงทุนประเภทตางๆ ซึ่งอัตราดอกเบี้ยดังกลาวนี้จะใชเปนเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรไปยังโครงการลงทุนที่กอใหเกิดประโยชนสูงสุดกอนตามลําดับ 4) อัตราดอกเบี้ย ไมวาจะเปนอัตราดอกเบี้ยเงินฝากหรืออัตราดอกเบี้ยเงินกู ลวนแลวแตเปนสื่อกลางเชื่อมโยงระหวางการออมทรัพยใหไปสูการลงทุนในระบบเศรษฐกิจ โดยผานสถาบันการเงินตางๆ

4. กําไร (Profits)

กําไร คือ สวนตางระหวางรายรับรวมกับตนทุนรวม และกําไรจะเปนผลตอบแทนของ ผูประกอบการที่ไดใชความรูความสามารถในการนําเอาปจจัยการผลิตตางๆมาใชประกอบรวมกันเพื่อผลิตเปนสินคาและบริการขึ้นมาแลวนําไปขายใหกับผูบริโภค สินคาและบริการท่ีขายไดท้ังหมดจะกอใหเกิดรายไดกับผูประกอบการ จากนั้นนํามาหักตนทุนที่ตองจายไปใหกับปจจัยการผลิตท้ังหมด ผลตางที่ไดนี้เรียกวา กําไร ตนทุนการผลิตในทางบัญชีมีคานอยกวาหรือมีความหมายแคบกวาตนทุนการผลิตในทางเศรษฐศาสตรเพราะตนทุนในทางเศรษฐศาสตรไดรวมเอาตนทุนคาเสียโอกาส (opportunity cost) เขาไปดวย ดังนั้นถาจะเปรียบเทียบกําไรในทางบัญชีกับกําไรในทางเศรษฐศาสตรแลว จะพบวากําไรในทางบัญชีจะมีคามากกวากําไรในทางเศรษฐศาสตร กําไรของหนวยธุรกิจที่ใชแสดงฐานะของกิจการตามหลักการในทางบัญชีนั้นเปนกําไรท่ียังไมไดหักตนทุนคาเสียโอกาส (opportunity cost) ออกไปซึ่งจะทําใหกําไรดังกลาวสูงกวาท่ีควรจะเปน ดังนั้นถานักธุรกิจจะใชกําไรในทางบัญชีเปนเครื่องชวยตัดสินใจในการแบงผลกําไร หรือเพื่อลงทุน

1 เดช กาญจนางกูร, จุลเศรษฐศาสตรเบ้ืองตน, หนา 240-241.

Page 340: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

318

ขยายกิจการตอไปนั้นอาจจะทําใหเกิดความผิดพลาดขึ้นได เชน หากธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งดําเนินกิจการแลวไดกําไรพอสมควรตามหลักการทางบัญชี และธุรกิจดังกลาวนํากําไรท่ีไดมาเปนเครื่องตัดสินใจวาควรจะขยายกิจการออกไปอาจทําใหธุรกิจประสบกับปญหาได เพราะกําไรตามหลักการทางบัญชียังไมไดหักตนทุนคาเสียโอกาสออกไป หากคิดกําไรตามหลักเศรษฐศาสตรแลวอาจจะปรากฎวากําไรที่ไดรับนอยมากหรือเพียงแคเสมอตัว หรืออาจจะขาดทุนก็ไดดังนั้นจึงควรจะระมัดระวังเรื่องดังกลาว หรืออยางนอยก็ควรจะคํานึงถึงหลักในทางเศรษฐศาสตรไวบางเกี่ยวกับการใชกําไรเปนเครื่องตัดสินใจ ท่ีกลาวมานี้ไมใชหมายความวาการใชกําไรตามหลักการทางบัญชีเปนสิ่งท่ีผิดพลาดและควรจะเลิกใช เพียงแตตองการชี้ใหเห็นวาการตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุนควรจะใชหลักการในทางเศรษฐศาสตรชวยประกอบในการพิจารณากําไรดวย เพื่อมิใหการตัดสินใจในเรื่องดังกลาวผิดพลาดไปและอาจจะกอใหเกิดความเสียหายได ทฤษฎีเกี่ยวกับกําไรนั้น นักเศรษฐศาสตรยังไมสามารถตกลงกันไดอยางแนนอนวาทฤษฎีกําไรใดบางเปนทฤษฎีท่ีถูกตอง ฉะนั้นคําจําจัดความของกําไรตามทัศนะของนักเศรษฐศาสตรจึงยังไมเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไป อยางไรกต็ามทฤษฎีเกี่ยวกับกําไรพอจะสรุปไดเปน 3 ทฤษฎี ดังนี้ 1 1) ทฤษฎีกําไรท่ีเกี่ยวกับการเสี่ยงในการดําเนินกิจการและความไมแนนอน 2) ทฤษฎีกําไรท่ีเกี่ยวกับการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ 3) ทฤษฎีกําไรท่ีเกี่ยวกับการไดเปรียบในฐานะของกิจการ

4.1 ทฤษฎีกําไรที่เกี่ยวกับการเสี่ยงในการดําเนินกิจการและความไมแนนอน

ทฤษฎีนี้เปนที่รูจักกันมานานแลว ตั้งแตสมัยท่ีศาสตราจารย Frank Knight เขียนตําราเรื่อง “Risk, Uncertainty, and Profit” ในทฤษฎีดังกลาวนี้กําไร คือ ผลตอบแทนของหนวยธุรกิจในการดําเนินการที่เสี่ยงตอความไมแนนอนในดานตางๆ การประกอบธุรกิจตางๆจะตองเผชิญกับปญหาความเสี่ยงและความไมแนนอน ระดับความเสี่ยงนั้นขึ้นอยูกับวาหนวยธุรกิจใดจะสามรถคาดคะเนผลที่จะเกิดข้ึนไดใกลเคียงกับสิ่งท่ีจะเกิดข้ึนจริงมากนอยเพียงใด ถาสามารถคาดคะเนไดใกลเคียงกับสิ่งท่ีจะเกิดข้ึนจริงก็หมายถึงมีความเสี่ยงต่ํา แตถาหากธุรกิจใดยากที่จะคาดคะเนผลที่จะเกิดข้ึนหรือคาดคะเนไดหางไกลจากสิ่งท่ีจะเกิดข้ึนจริงก็หมายถึงธุรกิจมีความเสี่ยงสูง ลักษณะของการดําเนินงานของธุรกิจทุกธุรกิจ หากธุรกิจใดมีความเสี่ยงต่ําผลกําไรที่ไดรับก็นาจะต่ํากวาธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูง ๆ หรือในธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูง ๆ ก็ควรจะไดรับกําไรมากขึ้นดวย โดยทั่วไปแลว การดําเนินงานธุรกิจใดๆก็ตาม

1 ปจจัย บุนนาค และสมคิด แกวสนธ,ิ จุลเศรษฐศาสตร, หนา 280-284.

Page 341: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

ผลตอบแทนของปจจัยการผลิต

319

การเสี่ยงหรือความไมแนนอน หรือบางครั้งอาจจะมีท้ังสองปญหาประกอบกัน และผลท่ีตามมาก็คือจะตองมีกําไรเปนสิ่งตอบแทนในการที่เขาดําเนินงานซึ่งเสี่ยงและมีความไมแนนอนปรากฎอยูดวย ในความรูสึกทั่วๆไปคําวา “การเสี่ยง” (risk) กับ “ความไมแนนอน” (uncertainty) นาจะเปนความหมายเดียวกัน หรือนาจะรวมกันเปน “การเสี่ยงตอความไมแนนอน” แตความหมายของผูสรางทฤษฎีท้ังสองคํานี้มีความหมายแตกตางกัน การเสี่ยงใด ๆ จะแสดงใหเห็นถึงสิ่งท่ีจะเกิดข้ึนและยังพอจะคาดคะเนได หรือสามารถจะคํานวณหาผลที่จะเกิดข้ึนได ถึงแมจะไมถูกตองเสียเลยทีเดียวก็ตาม แตความไมแนนอนเปนสิ่งท่ีไมอาจจะคาดคะเนไดเลยวาจะมีอะไรเกิดข้ึนบาง

4.2 ทฤษฎีกําไรที่เกี่ยวกับการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ

ทฤษฎีกําไรท่ีเกี่ยวกับการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ไดอธิบายวา กําไรเปนผลตอบแทนอันเกิดจากการที่ธุรกิจไดดําเนินการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง (innovation) ในดานตางๆ ซึ่งทฤษฎีนี้เปนผลงานของศาสตราจารย Joseph Schumpeter ในหนังสือ “Theory of Economic Development” งานเกี่ยวกับการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงดานตางๆเนนเปนหนาท่ีของผูประกอบการ ฉะนั้นกําไรจึงเปนผลตอนแทนในหนาท่ีของผูประกอบการ การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงในดานตางๆนี้ไมวาจะเปนการปรับปรุงใหประสิทธิภาพการผลิตท่ีดีข้ึนเพื่อลดตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอหนวย การปรับปรุงรูปแบบการผลิตของผลิตภัณฑ การปรับปรุงการดําเนินงานดานตลาด หรือการปรับปรุงดานการจัดการเกี่ยวกับการบริหารงาน ลวนแลวแตเปนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อใหไดรับผลตอบแทนในรูปกําไรเพิ่มมากขึ้น การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงใดๆก็ตามยอมจะมีเรื่องของการเสี่ยงและความไมแนนอนเกิดข้ึนเสมอ แตในทฤษฎีนี้ไมไดใหความสําคัญในเรื่องของการเสี่ยงและความไมแนนอนแตอยางใด เพราะถือวาไมใชภาระหนาท่ีของผูประกอบการ แตเปนเรื่องหรือภาระหนาท่ีของนายทุนหรือเจาของกิจการ กําไรท่ีเกิดจากการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงมักจะเปนกําไรท่ีเกิดข้ึนในระยะสั้นเทานั้น ในระยะยาวแลวจะมีผูลอกเลียนแบบการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงนั้นในท่ีสุดกําไรสวนนั้นก็จะหมดไป ในแงของระบบเศรษฐกิจสวนรวมการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการผลิตจะกอใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

Page 342: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน

320

4.3 ทฤษฎีกําไรที่เกี่ยวกับการไดเปรียบในฐานะของกิจการ

ทฤษฎีกําไรเกี่ยวกับการไดเปรียบในฐานะของกิจการ หรือบางที่อาจจะเรียกวาทฤษฎีกําไรเปนเรื่องของความไมสมบูรณของการแขงขัน (imperfect of competition) หรือ ทฤษฎีกําไรที่เกิดจากการผูกขาด (monopoly) กําไรตามทฤษฎีนี้เกิดจากความไมสมดุลเพราะการปรับตัวของธุรกิจไมทันกับการเปลี่ยนแปลงของความตองการ เชน ในระบบเศรษฐกิจที่อยูในระยะเจริญรุงเรือง หรือระยะหลังภาวะสงคราม ดีมานดสําหรับสินคาจะเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว หากหนวยธุรกิจใดสามารถปรับตัวทําการผลิตไดทันกับความตองการก็จะอยูในฐานะที่ไดเปรียบซึ่งจะกอใหเกิดกําไรประเภทนี้ข้ึน กําไรที่เกิดจากการผูกขาดยังคงจัดอยูในกําไรประเภทนี้ เพราะผูผูกขาดจะอยูในฐานะที่ไดเปรียบกิจการอื่นๆ เชน การผูกขาดทางธุรกิจโดยการไดรับสัมปทาน หรืออาจจะเปนผูท่ีมีอํานาจควบคุมการจัดซื้อวัตถุดิบหรือปจจัยการผลิตบางอยางที่มีอยูอยางจํากัด ดังนั้นกําไรตามทฤษฎีนี้คอนขางจะมีความหมายกวางมาก กลาวคือธุรกิจนั้นไมจําเปนตองเปนธุรกิจผูกขาด เพียงแตธุรกิจใดอยูในฐานะที่ไดเปรียบธุรกิจอื่นๆ กําไรตามทฤษฏีนี้จะปรากฏขึ้น ตามทัศนะของนักเศรษฐศาสตรแลวกําไรประเภทนี้จะเปนกําไรเกินปกติ (supernormal profit or extra profit) อยางไรก็ตามกําไรตามทฤษฎีนี้ยากที่จะระบุลงไปไดวาเกิดจากความสามารถในหนาท่ีงานของผูประกอบการหรือเกิดจากการที่หนวยธุรกิจเสี่ยงดําเนินงานอยางใดอยางหนึ่ง กําไร (profits) ไมวาจะเกิดข้ึนตามทฤษฎีใด ๆ ความหมายในทางเศรษฐศาสตรเบื้องตนเราถือวากําไรเปนผลตอบแทนของผูประกอบการ ท่ีไดใชความรูความสามารถนําปจจัยการผลิตตางๆ มาประกอบกัน หรือมารวมกันผลิตเปนสินคาและบริการ แลวนําไปจําหนายจายแจกจนกอใหเกิดรายไดจากนั้นจึงนํามาหักตนทุนที่จายไปผลที่ไดก็คือกําไร อยางไรก็ตามก็ไมไดเปนผลตอบแทนของผูประกอบการเสมอไป เชน กรณีท่ีมีธุรกิจขนาดใหญในรูปของบริษัท ผูดําเนินการเกี่ยวกับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือการดําเนินงานงายๆเพื่อใหไดกําไรมาสวนใหญแลวจะเปนหนาท่ีของผูจัดการและผลตอบแทนของผูจัดการที่ไดรับคือคาจาง(เงินเดือน)ซึ่งไมไดอยูในรูปของกําไร หรือถาจะมองในแงของผูถือหุน ผูถือหุนของบริษัทเองก็ไมไดมาทําหนาท่ีเปนผูประกอบการ แตผลตอบแทนที่ผูถือหุนไดรับ คือกําไรท่ีไดจากการดําเนินงานของผูจัดการ ดังนั้นจึงเปนการยากตอการใหความหมายของกําไรวาแทท่ีจริงแลวเปนผลตอบแทนของใครกันแน แตในชั้นนี้เราจะยังถือวากําไรเปนผลตอบแทนของผูประกอบการอยู

Page 343: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

บรรณานุกรม ภาษาไทย

กัญญา กุนทีกาญจน. หลักเศรษฐศาสตรเบ้ืองตน: เศรษฐศาสตรจุลภาค 153101. เชียงใหม: คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาวทิยาลัยเชียงใหม, 2532. ณรงคศักดิ์ ธนวิบูลยชัย, สงศักดิ์ ทิตาราม และ สุพันธุ โตสุนทร. หลักเศรษฐศาสตรเบ้ืองตน. พิมพครั้งท่ี 6, กรุงเทพฯ: มหาวทิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2530. เดช กาญจนางกูร. จุลเศรษฐศาสตรเบ้ืองตน. กรงุเทพฯ: โอเดียนสโตร, 2539. ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ. เศรษฐศาสตรจุลภาคเบ้ืองตน. พิมพครั้งท่ี 4, เชียงใหม: นพบุรีการพิมพ, 2548. นราทิพย ชุติวงศ. หลักเศรษฐศาสตร 1: จุลเศรษฐศาสตร. พิมพครั้งท่ี 3, กรุงเททพ ฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2532. ปจจัย บุนนาค และสมคิด แกวสนธ.ิ จุลเศรษฐศาสตร. พิมพครั้งท่ี 11, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2534. ประยูร เถลิงศรี. หลักเศรษฐศาสตร. พิมพครั้งท่ี 5, กรุงเทพฯ: โรงพิมพชวนพิมพ, 2518. ปรีดา นาคเนาวทิม. เศรษฐศาสตรจุลภาค 1. พิมพครั้งท่ี 7, กรุงเทพฯ: ป.สัมพันธพาณิชย, 2530. . เศรษฐศาสตรจุลภาค 1. พิมพครั้งท่ี 10, กรุงเทพฯ: มหาวทิยาลัยรามคําแหง, 2536. มนูญ พาหิริ. ทฤษฎีราคา. พิมพครั้งท่ี 3, กรงุเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2518. วันรักษ มิ่งมณีนาคิน. หลักเศรษฐศาสตรจุลภาค. พิมพครั้งท่ี 9, กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2539. สมพงษ เกษมสิน และจรูญ สุภาพ. ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2520. สํานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. บัญชีรายไดประชาชาติ. แหลงท่ีมา:

http://www.nesdb.go.th/econSocial/macro/nad.htm. (26 กรกฎาคม 2548). อัมพร วิจิตรพันธ. หลักเศรษฐศาสตร. พิมพครั้งท่ี 3, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2520.

Page 344: เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ ื้องต นfuangfah.econ.cmu.ac.th/teacher/thanes/files... · 2016-02-04 · เศรษฐศาสตร จุลภาคเบ

เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 322

ภาษาอังกฤษ

Ferguson, C.E. and Gould J.P. Microeconomics Theory. 4 th. ed., Homewood, III: R.D. Irwin, 1975. Henderson, James M. and Richard E. Quandt. Microeconomic Theory: A Mathemmaticcal Approach. 3 rd. ed., Singapore: McGraw-Hill International Edition, 1980.

Lipsey, Richard G., Steiner, Peter O. and and Purvis, Douglas D. Economics. 8 th. ed., New York: Harper & Row Publisher, 1987.

Marshall, Alfred. Principle of Economics : An Introductory Volume. 8 th. ed., London: Macmillan and Company Limited, 1966. Mc Connell, Campbell R. Economics. 7 th. ed., New York: McGraw-Hill Book Company, 1978. Ruffin, Roy J. & Paul R. Gregory. Principles of Economics. Illinois: Scott, Foresman and Company, 1978. Salvatore, Dominick. Microeconomics: Theory and Applications. New York: Macmillan Publishing Company, 1986. Samuelson, Paul A . and William D. Nordhaus. Economics. 14 th. ed., Singapore: McGraw-Hill International Edition, 1992. Samuelson, Paul A. and William D. Nordhaus. Economics. 12 th. ed., New York: McGraw-Hill Book Company, 1983. Samuelson, Paul A. Economics. 10 th. ed., New York: McGraw-Hill Book Company, 1976. Solberg, Eric J. Intermediate Microeconomics. Texas: Business, 1982. Stoneir, Alfred W. and Douglas C. Hague. A Texbook of Economic Theory. 3rd. ed., London: Longman Group Limited, 1964. Truett, Lila J. and Dale B. Truett. Microeconomics. Missouri: Times Mirror / Mosby College Publishing, 1987.