รายงาน - kasetsart universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/reportwk1.pdf ·...

56
รายงาน นวัตกรรมและการประยุกตใชไอซีทีทางการศึกษา ICT and Innovation in Education เสนอ รองศาสตราจารย ดร.มธุรส จงชัยกิจ โดย นางสาวกิตติกานต ประเที่ยง รหัสประจําตัวนิสิต 5717650019 นางจีรนันท ธํารงวิศว รหัสประจําตัวนิสิต 5717650027 นางสาวดวงเนตร เชยประเสริฐ รหัสประจําตัวนิสิต 5717650035 นางสาวปวีณัย บุญปก รหัสประจําตัวนิสิต 5717650043 นางปาริชาต โปธิ รหัสประจําตัวนิสิต 5717650051 นางสาวพัชนา อินทรัศมี รหัสประจําตัวนิสิต 5717650060 นางสาวจิราภรณ หงสประชา รหัสประจําตัวนิสิต 5717650141 นายนราธิป แกวทอง รหัสประจําตัวนิสิต 5717650159 นายพรอมพนิต เกตุทิพย รหัสประจําตัวนิสิต 5717650175 นางสาวพัชราภา เกิดโภคทรัพย รหัสประจําตัวนิสิต 5717650183 นายพิณพนธ คงวิจิตต รหัสประจําตัวนิสิต 5717650191 นางสาวสุทธิดา บุญทวี รหัสประจําตัวนิสิต 5717160205 นางสาวอรสา ชูสกุล รหัสประจําตัวนิสิต 5717650213 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา 01162661 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางหลักสูตรและการสอน (Information and Communication Technology in Curriculum and Instruction) ภาคตน ปการศึกษา 2557 - คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ------------------------------------------------------------------------------

Upload: others

Post on 07-Sep-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

รายงาน

นวัตกรรมและการประยุกตใชไอซีทีทางการศึกษา

ICT and Innovation in Education

เสนอ รองศาสตราจารย ดร.มธุรส จงชัยกิจ

โดย

นางสาวกิตติกานต ประเท่ียง รหัสประจําตัวนิสิต 5717650019

นางจีรนันท ธํารงวิศว รหัสประจําตัวนิสิต 5717650027

นางสาวดวงเนตร เชยประเสริฐ รหัสประจําตัวนิสิต 5717650035

นางสาวปวีณัย บุญปก รหัสประจําตัวนิสิต 5717650043

นางปาริชาต โปธิ รหัสประจําตัวนิสิต 5717650051

นางสาวพัชนา อินทรัศมี รหัสประจําตัวนิสิต 5717650060

นางสาวจิราภรณ หงสประชา รหัสประจําตัวนิสิต 5717650141

นายนราธิป แกวทอง รหัสประจําตัวนิสิต 5717650159

นายพรอมพนิต เกตุทิพย รหัสประจําตัวนิสิต 5717650175

นางสาวพัชราภา เกิดโภคทรัพย รหัสประจําตัวนิสิต 5717650183

นายพิณพนธ คงวิจิตต รหัสประจําตัวนิสิต 5717650191

นางสาวสุทธิดา บุญทวี รหัสประจําตัวนิสิต 5717160205

นางสาวอรสา ชูสกุล รหัสประจําตัวนิสิต 5717650213

รายงานน้ีเปนสวนหน่ึงของรายวิชา 01162661

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางหลักสูตรและการสอน

(Information and Communication Technology in Curriculum and Instruction)

ภาคตน ปการศึกษา 2557 - คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

------------------------------------------------------------------------------

Page 2: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

คํานํา

รายงานเลมนี้เปนสวนหน่ึงของรายวิชา 01162661 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทาง

หลักสูตรและการสอน (Information and Communication Technology in Curriculum and

Instruction) โดยมีการแบงกลุมงานเพ่ือศึกษาคนควาจากเว็บไซดแนะนําบน MAXLEARN ซึ่ง

ประกอบดวยความรูเก่ียวกับ e-Learning, Blended Learning, m-Learning, u-Learning และ Web

2.0 ถึง Web 3.0 รวมถึงแนวโนมของการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใชในการเรียนการสอน

คณะผูจัดทําหวังวารายงานเลมน้ีนาจะชวยสงเสริมใหผูที่สนใจไดรับประโยชน และสามารถขยาย

ผลความรูไดในโอกาสตอไป หากรายงานเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใด คณะผูจัดทําขอนอมรับ

ขอบกพรองไว ณ โอกาสนี้

คณะนิสิตปริญญาเอก ปการศึกษา 2557

สาขาหลักสูตรและการสอน (ภาคพิเศษ)

5 กันยายน 2557

Page 3: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

สารบัญ

บทนํา

ความเปนมาและความหมายของ U-Learning 2

เคร่ืองมือและอุปกรณที่ใชในการจัดการเรียนรู 4

ความเปนมาและความหมายของ e-Learning 5

รูปแบบของ e-Learning 7

รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบกึ่งออนไลน 8

การประยุกตใชทางการศึกษา 12

ความเปนมาของ M-Learning 14

แนวคิดในการออกแบบการเรียนรูแบบ M-Learning 16

แนวโนมเอ็มเลิรนน่ิง 22

ความหมายของ web 2.0 23

คุณลักษณะ และองคประกอบของ Web 2.0 23

การประยุกตใชทางการศึกษา 29

ความหมายและคุณลักษณะของ Web 3.0 35

การจัดการเรียนรูใยยุค Web 3.0 37

การประยุกตใช Web 2.0 – 3.0 ทางหลักสูตรและการสอน 38

บทสรุป 40

รายการอางอิง 42

Page 4: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

1

นวัตกรรมและการประยุกตใชในไอซีทีทางการศึกษา

ICT and Innovation in Education

บทนํา

สังคมมีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเสมอ โดยเฉพาะในยุคปจจุบันที่มีความเจริญมากทางดาน

เทคโนโลยี ทําใหเกิดกระแสโลกาภิวัตน (Globolization) กลาวคือ ขอมูลขาวสารที่เกิดขึ้นมุมหน่ึงของโลก อาจ

แพรกระจายไปยังอีกซีกโลกในเวลาพริบตาเดียว ดังน้ันการดํารงชีวิตของมนุษยปจจุบัน จึงเปนชีวิตที่ตองกาวให

ทันแหลงขอมูลสารสนเทศตาง ๆ อยางถูกตองและรวดเร็ว

ความเปนยุคที่ใหความสําคัญของขอมูลขาวสารเชนน้ี เทคโนโลยีจึงมีบทบาทมาก เพราะเปนสื่อกลางที่

สามารถนําพาขอมูลจากแหลงหน่ึงไปสูอีกแหลงหน่ึงไดเปนอยางดี ความสามารถของเทคโนโลยีขางตน จึง

กอใหเกิดนวัตกรรมทางเทคโนโลยีมากมายที่สรางขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการที่ไมหยุดยั้งของมนุษย

เทคโนโลยี มีความสัมพันธกับการจัดการศึกษา เน่ืองจากขอมูลความรูในปจจุบันไมไดจํากัดอยูจําเพาะ

หนากระดาษหนังสือ หากแตสามารถเขาถึงไดดวยเทคโนโลยี เด็กรุนใหมน้ีจึงมีการใชเทคโนโลยีกันอยาง

กวางขวางตามบริบทสังคมที่เปลี่ยนไป กลาวไดวา การจัดการเรียนรูโดยใชเทคโนโลยีประกอบการเรียนรูยอมทํา

ใหนักเรียนในยุคน้ีมีความสนใจมากขึ้น และเปนการเตรียมพรอมนักเรียนใหมีทักษะทางเทคโนโลยีซึ่งเปนเคร่ืองมือ

สําคัญในการแสวงหาความรูตอไป

ความสําคัญของเทคโนโลยีที่มีตอการศึกษาขางตน เปนสิ่งสะทอนวาผูประกอบอาชีพครูควรใชนวัตกรรม

ทางเทคโนโลยีประกอบการสอน ทั้งน้ีประเด็นที่ครูควรศึกษาเพื่อจัดการเรียนรูโดยใชเทคโนโลยีอยางมีคุณภาพ มี

ดังตอไปน้ี

Page 5: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

2

การเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลาในขณะน้ีเปนผลเน่ืองมาจากการคิดคนและ

พัฒนานวัตกรรมใหม ๆ ขึ้นมาอยางไมหยุดยั้ง สงผลใหวิทยาการตาง ๆ บนโลกกาวหนาไปอยางรวดเร็ว รวมทั้ง

เทคโนโลยีสารสนเทศดวย ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของเราเปนอยางมาก ดังจะ

เห็นไดจากการที่เราเรียกยุคน้ีวาเปนยุคแหงขอมูลขาวสาร ขอมูลขาวสารตาง ๆ มีอยูมากมายรอบตัวเรา ทําใหเรา

สามารถเลือกขอมูลเพื่อเรียนรูสิ่งใหม ๆ ไดตลอดเวลา การเรียนรูเพื่อเสริมสรางองคความรูใหมก็คือการศึกษาหา

ความรูน่ันเอง ดวยเหตุน้ีเมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศกาวหนาไประบบการศึกษาหรือรูปแบบการเรียนการสอนจึงเกดิ

การเปลี่ยนแปลงตามมาอยางหลีกเลี่ยงไมได

1. U-Learning

ความเปนมาของ U-Learning

เมื่อที่กลาวถึง U-Learning น้ัน อันดับแรกตองกลาวถึง Ubiquitous computing เน่ืองจากเปนคําที่ทํา

ใหเกิดแนวคิดตอยอดไปสูการเรียนรูแบบ U-Learning Ubiquitous computing หมายถึง การบูรณาการ

อุปกรณคอมพิวเตอรเขากับสภาพแวดลอมตาง ๆ ในชีวิตประจําวันเพื่อใหสามารถใชคอมพิวเตอรไดทุกแหงหน ดัง

จะเห็นไดจากการใชคอมพิวเตอรในการเรียน การทํางาน และในการดํารงชีวิตในสังคม ในขณะเดียวกันเคร่ืองมือ

ตาง ๆ เชน โทรศัพทมือถือ โทรทัศน กลองวีดีโอ กลอง เคร่ืองเลนดนตรีดิจิตอลก็เร่ิมมีลักษณะการทํางานของ

คอมพิวเตอรเขามาเกี่ยวของ สามารถพบไดทุกที่ ราคาของสิ่งเหลาน้ีเร่ิมถูกลง คนเขาถึงไดมากขึ้น นอกจากน้ี

อุปกรณเหลาน้ีถูกสรางใหเกิดความเชื่อมโยงกันมากขึ้น จึงทําใหเราพบวามันไดเขามามีบทบาทในชีวิตของเรามาก

ขึ้น การที่คอมพิวเตอรเปลี่ยนไปแบบน้ีเปนสิ่งที่จับตองไดและใชไดจริง คอมพิวเตอรจึงกลายเปนสิ่งที่เราพบไดทุก

หนแหง

สําหรับ Ubiquitous learning หรือ U-Learning คือรูปแบบการเรียนแบบใหมที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา

ปรับปรุง และตอยอดจากรูปแบบการเรียนเดิม ๆ โดยมีลําดับขั้นการพัฒนามาจากการเรียนรูในหองเรียน

(Conventional Learning) มาสูการเรียนโดยใชอินเตอรเน็ตผานคอมพิวเตอร ซึ่งรูจักกันในชื่อการเรียนรูแบบอี

เลิรนน่ิง (Electronic-Learning หรือ e-Learning) จากอีเลิรนน่ิงมีการพัฒนารูปแบบการเรียนรูมาอยางตอเน่ือง

ตามการเปลี่ยนแปลงของอุปกรณอิเล็กทรอนิกสและเทคโนโลยีสารสนเทศมาเปนการเรียนโดยใชโทรศัพทเคลือ่นที่

ผานอินเตอรเน็ต ซึ่งรูจักกันในชื่อของการเรียนรูแบบเอ็มเลิรนน่ิง (Mobile-Learning หรือ M-Learning) และใน

Page 6: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

3

ปจจุบันรูปแบบการเรียนรูไดรุดหนาไปอยางมาก กลาวไดวาเปนการพัฒนาการเรียนรูอันกอใหเกิดประสิทธิภาพ

สูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับการเรียนรูลักษณะอื่น ๆ ที่ไดกลาวมา นอกจากน้ียังเปนการเรียนรูที่เปดโอกาสใหผูเรียน

สามารถเขาถึงเน้ือหาไดอยางไรขีดจํากัดซึ่งก็คือ ยูเลิรนน่ิง (Ubiquitous learning หรือ U-Learning) น่ันเอง

ความหมายของ U-learning

ยูเลิรนน่ิง (U-Learning) มาจากคําวา ยูบิควิตัส เลิรนน่ิง (Ubiquitous learning) เปนคําที่ปรากฏอยูใน

ภาษาละติน ที่แปลวา “มีอยูทุกแหงทุกหน”

มารค ไวเซอร (Mark Weiser) แหงศูนยวิจัยพาโล อัลโต (Palo Alto) ของบริษัทซีร็อกซ ประเทศ

สหรัฐอเมริกา นิยามความหมายของยูเลิรนน่ิง วาเปนการเรียนการสอนที่สามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศใน

สภาพแวดลอมที่เชื่อมตอกับเครือขายคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตไดไมวาจะอยูที่แหงใดก็ตาม

จากที่ลีทีเน็น และ ยู (Lyythinen & Yoo, 2002) ไดกลาวไววา วิวัฒนาการของ ubiquitous

computing ซึ่งก็คือการที่นําคอมพิวเตอรเขาไปอยูทุกหนทุกแหงน้ัน เกิดขึ้นจากการพัฒนาความสามารถดานการ

สื่อสารแบบไรสาย เครือขายที่เปดกวาง การเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ืองของสมรรถภาพการประมวลผล การพัฒนา

เทคโนโลยีแบตเตอร่ี และการเกิดขึ้นของโปรแกรมใหม ๆ น้ัน ซาดีอา ยายา และคณะ (Saadiah Yahya et al,

2010) ไดกลาววาสิ่งเหลาน้ีไดนําไปสู ยูเลิรนน่ิง กิจกรรมการเรียนรูของแตละคนเกิดขึ้นไดในชีวิตประจําวัน กลาว

อยางกวาง ๆ ก็คือ การเรียนรูทําไดทุกที่ทุกเวลา หมายถึงสิ่งแวดลอมใด ๆ ก็ตามที่ทําใหอุปกรณสื่อสารแบบไรสาย

สามารถเขาถึงเน้ือหาการเรียนการสอนผานเครือขายไรสายในทุกสถานที่ทุกเวลา

ในสวนของนักวิชาการไทย ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน ประธานกรรมการและประธานผูบริหารวิทยาลัย

การศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ไดใหนิยามความหมายของคําวา “ยูเลิรนน่ิง” คือ การ

เรียนดวยตนเอง หรือถาใชภาษาพอขุนรามคําแหง ก็คือ “กูเลิรนน่ิง” ซึ่งอาจจะแปลความหมายเปนการเรียนจาก

“กูเกิล” ก็ได น่ันคือ ยูเลิรนน่ิง คือการใชสื่ออะไรก็ไดในการเรียนดวยตนเอง ทั้งน้ี หากมองในแงของไอทีก็มี

เทคโนโลยี และสื่อที่ใชในการเรียนดวยตนเอง เชน อีเลิรนน่ิง (e-Learing) เอ็มเลิรนน่ิง (M-Learning) เสิรชเอ็น

จิน (SearchEngine) และหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) เปนตน นอกจากน้ีคําวา “ยูเลิรนน่ิง” ก็อาจจะแปล

ความหมายไดอีกวาเปนการเรียนจาก “ยูทิวบ (YouTube)” ซึ่งเปนเว็บที่ใหบริการวีดีโอออนไลนที่ไดรับความนิยม

Page 7: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

4

ลักษณะการจัดการเรียนรูของ U-Learning

Ubiquitous Learning คือ การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสําเร็จรูป (Instruction Package) ที่

นําเสนอเน้ือหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผานเทคโนโลยีเครือขายทั้งแบบใชสายและไรสาย รวมไปถึงพวก

อุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการประมวลผลแบบไรขอบเขต ผูเรียนสามารถเรียนไดทุกที่และทุกเวลา ที่จริงแลวนาจะมา

จากคําวา Ubiquitous e-Learning แต E ไดถูกตัดหายไป เน่ืองจากเปนการเรียนรูที่เปนสวนหน่ึงของการดําเนิน

ชีวิต ซึ่งเกี่ยวพันกับวิธีการเรียนหลากหลายแบบรวมกัน ทั้งแบบดั้งเดิมและการใชเทคโนโลยีดานสารสนเทศดวย

แนวคิดการพัฒนารูปแบบ U-Learning ดวยการผสมผสานระหวาง E-Learning, M-Learning และ

Blended Learning โดยจัดการเรียนรูดวยระบบ LMS หรือ CMS มีการใช ICT ดําเนินกิจกรรมใน 2 ลักษณะ

คือ Online activities เปนกิจกรรมการเรียนรูออนไลนทั่วไป ที่ผูเรียนดําเนินกิจกรรมการเรียนรูตามหลักสูตร

คอรส หรือ รายวิชาที่สนใจ มีโครงสรางแยกเปน 3 สวน คือ

- Resources สวนที่ผูเรียนศึกษารายละเอียดหลักสูตร และทําการเรียนรูผานสื่อตาง ๆ ในระบบ

- Facilitating tool เปนสวนที่ใชในการบริหารจัดการการเรียนรูประวัติการเรียน การประเมินผล

และการเก็บขอมูลผูเรียนลงฐานขอมูลในระบบ

- Interchange เปนสวนที่ใชในการสื่อสารระหวางผูเรียน เพื่อนรวมชั้น ผูสอน และบุคคลอื่นที่ไดรับ

อนุญาตใหเขาถึงระบบไดแตจัดเปนระบบ online ที่ไมจําเปนตองไดรับการโตตอบแบบทันทีทันใด

Face to Face: Real time activities เปนกิจกรรมการเรียนรูที่จัดขึ้นโดยมีเปาหมายใหผูเรียนไดพบกับ

เพื่อนรวมชั้น ผูสอน และบุคคลอื่น ที่จัดวาเปนผูรูเฉพาะทางในแตละดาน สามารถใหคําแนะนําในเร่ืองตาง ๆ ที่

กําลังศึกษาอยูได สามารถโตตอบสื่อสารและพูดคุยกันไดในทันที การสื่อสารแตละคร้ังจะมีการใชสื่อ หรือ

เคร่ืองมือที่ใชเปนตัวเชื่อมโยงการสื่อสารระหวางกัน เชน มีการสงไฟล Presentation ที่เปน PowerPoint หรือ

Video ประกอบการสนทนาจึงทําใหการเตรียมการในประเด็นน้ี ตองมีการจัดการดานเทคโนโลยีที่รองรับระบบ

ตาง ๆ ไวอยางหลากหลาย เพราะการสื่อสารอาจเกิดขึ้นไดทั้งจาก Desktop และ Mobile

เครื่องมือและอุปกรณท่ีใชในการจัดการเรียนรู (Software Tools and Hardware Tools)

Software Tools ของ U-Learning

1. เทคโนโลยีพื้นฐานเปนเทคโนโลยีที่ทําใหสามารถใชงานคอมพิวเตอรไดทุกหนทุกแหงและทุกเวลา โดย

จะตองมีเทคโนโลยีในการทําใหคอมพิวเตอรทุกเคร่ืองไมวาที่ใดสามารถตรวจสอบ ID ของแตละคนได เรียกวาเปน

เทคโนโลยีตรวจสอบยืนยันบุคคล (Authentication Technology) รวมทั้งมีเทคโนโลยีดานความปลอดภัยของ

ขอมูลสวนบุคคลดวย เทคโนโลยีกลุมน้ีประกอบไปดวย

- user name / password ในการเขาใชงานตาง ๆ

Page 8: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

5

- ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส

- IC Card

- Finger Scan

- เทคโนโลยีชีวภาพในการตรวจสอบบุคคล

- เทคโนโลยีการเขารหัส

- เทคโนโลยีการสํารองขอมูล (Computer Backup System)

2. เทคโนโลยีการเขาถึง เพื่อใชอุปกรณตาง ๆ ที่มีอยูบนระบบเครือขาย เทคโนโลยีเหลาน้ี ไดแก

- เทคโนโลยีเครือขาย (Network Technology) ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงอุปกรณ (Device) ตาง ๆ

เขาดวยกันทางกายภาพ ซึ่งอาจเปนเทคโนโลยีแบบใชสาย หรือแบบไรสายก็ได ประเภทการใชสาย เชน สาย USB,

Ethernet, Home PNA, ADSL, FTTH, Broadband over Power Line สวนประเภทไรสาย เชน Bluetooth,

IrDA, Wireless LAN, เทคโนโลยีประเภทโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน SMS, MMS, GPRS, 3G, CDMA, HSPA,

WiMAX, LTE เปนตน

- เทคโนโลยีเขาถึงอุปกรณ เปนเทคโนโลยีที่อยูบนเครือขายใชเพื่อคนหาอุปกรณที่ตองการและเชื่อมโยงใช

งานอุปกรณไดในลักษณะ Plug & Play

- เทคโนโลยีการเขาถึงที่ใชในระบบการควบคุมอาคารตาง ๆ เชนระบบใน Intelligent Building โดยนํา

IC Card หรือ Finger Print มาใชในการขออนุญาต access ไปใชในชั้นหรือหองตาง ๆ

3. เทคโนโลยีการประยุกตใชงาน (Application Technology) เปนเทคโนโลยีชวยใหสามารถ ใหบริการ

แกผูใชไดจริง ๆ ซึ่งมีสวนสําคัญมากที่จะทําใหผูใชรูสึกถึงคุณประโยชนของคอมพิวเตอรในสังคมยุค Ubiquitous

ไดอยางแทจริง เชน

- http://www.(World Wide Web)

- Java / Embedded Java

- HTML / XML

- WAP (Wireless Application Protocol)

- RFID

Hardware Tools ของ U-Learning

กลาวคือระบบตองมี human interface ที่เหมาะสมซึ่งจะทําใหทุกคนสามารถใชงานคอมพิวเตอรทุกที่

เหมือนของตนเองได เชน มีเทคโนโลยี output เพื่อแสดงผลขอมูลโดยผานจอดิสเพลย หรือเทคโนโลยีที่ชวยให

งายในการปอนขอมูลเขาสูคอมพิวเตอร และฮารดแวรที่จําเปนตองใชในการเก็บขอมูล (Storage Technology)

บนเครือขาย เพื่อใหสามารถเก็บขอมูลไวบนเครือขายได โดยเทคโนโลยีกลุมน้ีจะเนนการพัฒนาดานตาง ๆ ดังน้ี

Page 9: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

6

1. เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน เพื่อรองรับการใชงานในทุกหนทุกแหง เชน เทคโนโลยี sleep เพื่อหยุด

การทํางานของคอมพิวเตอรในขณะที่ไมไดใชงาน รวมทั้งการพัฒนาแบตเตอร่ีรองรับระยะเวลาการใชงานที่นานขึ้น

2. เทคโนโลยีแหลงกําลังไฟฟา นอกจากการตออุปกรณไฟฟาเขากับแหลงจายไฟโดยตรง ควรมีเทคโนโลยี

เพิ่มความสามารถในการปอนกําลังไฟฟาจากตัวเคร่ืองคอมพิวเตอรผานสาย USB หรือตองมีการวิจัยพัฒนา

เทคโนโลยีใหสามารถปอนพลังงานผานอากาศได

3. เทคโนโลยีการแสดงผล (Output) จะตองมีการแสดงผลในรูปแบบที่งายและสะดวก เชน จอ LCD หรือ

Voice Synthesizer

4. เทคโนโลยีการปอนขอมูล (Input) นอกจากการปอนขอมูลดวยคียบอรดแลวจะตองมีการพัฒนาใหปอน

ขอมูลงายขึ้น เชน การใชดินสอหรือปากกาเขียนบนกระดาษ หรือการรับคําสั่งดวยคําพูด (Speech Recognition)

U-Learning ดานหลักสูตรและดานการสอน

ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน ไดกลาวไววา การเรียนรูเปนสวนสําคัญของดําเนินชีวิตของมนุษยและมนุษยมี

วิวัฒนาการการเรียนรูและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ไมมีที่สิ้นสุด ฉะน้ันมนุษยจึงไดมีปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง

รูปแบบการเรียนรูอยูตลอดเวลาจากการเรียนแบบในหองเรียนพัฒนาไปสูการเรียนแบบอีเลิรนน่ิงซึ่งเปนการเรียน

โดยใชอินเทอร เน็ตผานคอมพิวเตอรแลวพัฒนาไปสูการเรียนแบบเอ็มเลิรนน่ิงซึ่ งเปนการเ รียนโดยใช

โทรศัพทเคลื่อนที่ผานอินเทอรเน็ต การพัฒนาการเรียนรูที่กอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเปดโอกาสใหเขาถึง

เน้ือหาอยางไรขีดจํากัดในรูปแบบการเรียนที่หลากหลายรวมกัน น่ันคือ “การเรียนแบบยูเลิรนน่ิง (U-Learning)”

2. e-Learning

ความเปนมาและความหมายของ e-Learning

e-Learning เปนรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนลักษณะใดก็ได ที่ใชสื่ออิเล็กทรอนิกสเปนตัวกลาง

ในการถายทอดเน้ือหา เชน เครือขายอินเตอรเน็ต อินทราเน็ต สัญญาณดาวเทียม สัญญาณโทรทัศน ซึ่งในการ

นําเสนอเน้ือหาน้ันสามารถทําไดในรูปแบบของตัวอักษร หรือภาพน่ิงรวมกับการใชเทคนิคภาพเคลื่อนไหว เสียง

และวีดีโอ โดยอาศัยเทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) รวมทั้งใชเทคโนโลยีการจัดการคอรส (Course

Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนตาง ๆ

e-Learning สามารถเกิดขึ้นไดทั้งในและนอกหองเรียน เพราะใชระบบเครือขายเปนตัวกลางในการ

ถายทอดเน้ือหา ดังน้ันผูเรียนจึงสามารถเรียนไดทุกที่ ทุกเวลา และยังสามารถใชรวมกับการเรียนการสอนใน

หองเรียนที่เรียกวา การเรียนการสอนแบบแบบเผชิญหนา (Face-to-Face) ไดอีกดวย

จากความหมายของ e-Learning ที่ไดกลาวมาแลว ยังพบวามีการใชคําที่มีความหมายใกลเคียงกันอีก เชน

การเรียนทางไกล (Distance Learning) การฝกอบรมโดยอาศัยคอมพิวเตอร (Computer Based Training) หรือ

Page 10: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

7

CBT และการเรียนทางอินเตอรเน็ต (Online Learning) เปนตน แตโดยสรุปแลวคําเหลาน้ีก็มีความหมายที่

ใกลเคียงกัน คือ เปนรูปแบบของการเรียนรูโดยอาศัยเครือขายคอมพิวเตอรเปนสื่อกลางในการถายทอดเน้ือหา

โดยรูปแบบในการนําเสนอมีการใชสื่อที่หลากหลาย เชน วีดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ซึ่งรูปแบบของการเรียนการสอน

น้ันสามารถเปนไดทั้งการสอนทางเดียวหรือการสอนแบบปฏิสัมพันธ

องคประกอบของ e-Learning

การพัฒนาการเรียนการสอนในรูปแบบของ e-Learning จําเปนตองมีองคประกอบตาง ๆ ที่สําคัญที่ชวย

ใหการเรียนแบบออนไลนประสบความสําเร็จ ซึ่งจากการศึกษาขอมูลพบวาองคประกอบที่ทําใหการเรียนแบบ

e-learning ประสบความสําเร็จน้ันมีผูกลาวถึงแตกตางกันไป สามารถสรุปเปนองคประกอบที่สําคัญ ดังน้ี

1. วัตถุประสงค

การพัฒนาคอรสใด ๆ ก็ตามตองมีการกําหนดวัตถุประสงคกอนเปนอันดับแรก เพราะจะเปนตัวกําหนด

รูปแบบของ E-Learning ที่จะพัฒนาขึ้น วัตถุประสงคน้ียังหมายรวมถึงการกําหนดกลุมเปาหมายของผูใชวาเปน

ใคร และตองการใหกลุมเปาหมายเกิดทักษะหรือการเรียนรูเร่ืองอะไร

2. โครงสรางของคอรส

หลังจากที่กําหนดวัตถุประสงคในการพัฒนา e-learning แลว ก็ออกแบบโครงสรางของสิ่งที่ตองการ

ใหเรียนรู (Course Structure) เชน ตองมีเน้ือหาเกี่ยวกับอะไรบาง ตองมีภาพ แผนผัง วีดีโอ หรือสื่ออื่น ๆ

เพิ่มเติมเพื่ออธิบายประกอบเน้ือหาหรือไม ตองมีเมนูแสดงแหลงเรียนรูอื่น ๆ มีการวัดประเมินผลหลังการเ รียน

หรือไม เปนตน ทั้งหมดน้ีเปนสิ่งสําคัญที่จะนําไปสูการออกแบบตอไป

3. การออกแบบหนาเว็บ

การออกแบบเมนูตาง ๆ น้ัน ตองคํานึงถึงผูใชวาทําอยางไรจึงจะทําใหผูใชสามารถใชงาย ไมซับซอน มี

ลูกเลนที่ดึงดูดความสนใจผูใช มีการจัดวางเน้ือหา ภาพ และการใชสีที่เหมาะสม ขนาดของตัวอักษรไมเล็กหรือ

ใหญจนเกินไป มีการจัดหมวดหมูของเมนูตาง ๆ ที่เขาใจงาย เปนตน ซึ่งหลังจากการออกแบบและจัดทําแลวตองมี

การทดสอบการใชงานกอนเสมอ เพื่อตรวจสอบความพรอมกอนใชจริง เชน เมื่อคลิกที่ภาพหรือลิงคขอมูลแลว

สามารถใชไดหรือไม ทดสอบใชกับหนาจอที่มีความละเอียดแตกตางกัน เปนตน

4. การบริหารจัดการ

เมื่อจัดทําระบบ e-Learning ขึ้นแลวจําเปนตองมีผูดูแลระบบเพื่อใหมีความพรอมในการใชงานอยู

เสมอ หรือหากตองการอัพเดตขอมูลใหม ๆ เขาไปในระบบก็ตองมีผูรับผิดชอบในการพัฒนาระบบอยูเสมอ ซึ่งการ

บริหารจัดการน้ีอาจตั้งเปนหนวยงานหรือเปนบุคคลเพื่อรับผิดชอบดานน้ีโดยตรง

Page 11: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

8 รูปแบบของ e-Learning

เมื่อสังคมเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงเขาสูยุคดิจิตอลมากขึ้น มีการนําเทคโนโลยีตาง ๆ มาใชในการดํารงชีวิต

ของมนุษยมากขึ้น ระบบการศึกษาก็ตองปรับเปลี่ยนวิธีการเพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีตามไป

ดวย จากการการเรียนการสอนในรูปแบบเดิมที่เปนลักษณะของผูสอนยืนสอนหนาชั้นเรียนที่มีสื่อในการสอนเพียง

แคกระดานดํา ก็เร่ิมมีการนําระบบเครือขายตาง ๆ และสื่อรูปแบบที่หลากหลายเขามาชวยเปนสื่อกลางในการ

เรียนการสอนมากขึ้น ดังที่เรียกวา e-Learning ซึ่งในการใช e-Learning ในการเรียนการสอนน้ีมีทั้งรูปแบบที่

นํามาชวยในการสอนรวมกับการสอนในหองเรียนปกติ เปนการเรียนการสอนแบบเผชิญหนา (Face to Face

Learning) การเรียนการสอนแบบออนไลนเต็มรูปแบบ (Fully Online Learning) และการเรียนการสอนแบบ

ผสมผสานหรือกึ่งออนไลน (Blended Learning) ซึ่งการเรียนทั้ง 3 รูปแบบมีลักษณะแตกตางกันดังน้ี

1. การเรียนการสอนแบบเผชิญหนา (Face to Face Learning)

การจัดการเรียนการสอนที่มีการจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอม ในชั้นเรียนใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรู

และมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม ที่มีเน้ือหาที่เหมาะสมและสอดคลองกับวัตถุประสงค สําหรับอุปกรณ ที่ใชในการ

จัดการเรียนการสอนคือ กระดานขนาดใหญ เพื่อใหผูเรียนมีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอน โดยมีผูสอนเปนผู

ควบคุมดูแลสภาพแวดลอมทางการเรียนการสอน และการปฏิสัมพันธทางสังคมระหวางบุคคลในชั้นเรียน โดย

ผูสอนกับผูเรียนมีปฏิสัมพันธกันแบบเผชิญหนา (Face to Face) โดยกิจกรรมที่เกิดขึ้นจะเปนแบบประสานเวลา

คือ การเรียนการสอนในชั้นเรียนแบบดั้งเดิม (Traditional Classroom) แตมีการเพิ่มสภาพแวดลอมทางการ

เรียนรูเขาไปโดยใชคอมพิวเตอรเปนสื่อในการจัดการเรียนรูเพื่อตอบสนองความตองการในการเรียนรูตามศักยภาพ

ของบุคคล จัดไดวาเปนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ผูสอนและผูเรียนมีปฏิสัมพันธเผชิญหนากันทาง

คอมพิวเตอร (Face to Face Online)

ในปจจุบันเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาทสําคัญเพื่อใหผูสอนไดนําเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการจัดการ

เรียนการสอน โดยสงผลกระทบดานตาง ๆ ดังน้ี ดานสภาพแวดลอมทางการเรียนรูของผูเรียน ดานเวลา และ

สถานที่ และดานการปฏิสัมพันธระหวางเพื่อนรวมชั้นเรียน ดังน้ันเพื่อตอบสนองการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับ

ศักยภาพของผูเรียนจึงมีการนําคอมพิวเตอร และเครือขายอินเตอรเน็ตเขามาชวยเปนสื่อกลางในการจัดการเรียนรู

ที่นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียนเพียงอยางเดียว เพราะคอมพิวเตอรที่มีเครือขายอินเตอรเน็ตจะเปนเครื่องมือ

ที่ชวยใหเกิดการเรียนรูในรูปแบบสังคมเสมือนและเกิดการเรียนรูแบบรวมมือ

การเรียนการสอนในชั้นเรียนแบบดั้งเดิม (Traditional Classroom) จึงเปนการจัดการเรียนการสอนที่มี

บทบาทสําคัญกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียน โดยจะตองนําเทคโนโลยีเขามาประยุกตใชเพื่อเติมเต็ม

ทั้งทางดานความรู และสังคมเพื่อใหมนุษยไดมีปฏิสัมพันธกันแบบเผชิญหนา (Face to Face) คลายกับการเรียน

Page 12: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

9

การสอนในชั้นเรียนแบบดั้งเดิม และยังสามารถเรียนจากสื่อที่หลากหลายอยางไมจํากัด โดยมีรูปแบบการเรียนการ

สอนที่เหมาะสมกับเน้ือหาวิชาลักษณะผูเรียนและกิจกรรม

2. การเรียนการสอนแบบออนไลนเต็มรูปแบบ (Fully Online Learning) เปนรูปแบบการเรียนการ

สอน ที่มีเน้ือหาและกิจกรรมการเรียนการสอนวางอยูบนระบบออนไลนทั้งหมด เชน การเรียนสวนเน้ือหา การทํา

แบบฝกหัด การอภิปรายแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น การมอบหมายงาน การสงงาน และการประเมินผล ทุกกิจกรรม

การเรียนการสอนจะทําผานระบบออนไลน บนพื้นฐานของการใชอินเทอรเน็ต ผูเรียนสามารถเรียนรูไดจากที่บาน

ที่ทํางาน หองสมุด หรือสถานที่ใดสถานที่หน่ึงบนโลกใบน้ี ซึ่งผูเรียนและผูสอนไมจําเปนตองมาพบกันในชั้นเรียน

เลย ตั้งแตเร่ิมตนคอรสจนจบคอรส

3. การเรียนการสอนแบบก่ึงออนไลน (Blended Learning)

การเรียนการสอนแบบกึ่งออนไลน (Blended Learning) เปนการผสมผสานลักษณะการเรียนการสอนที่

มีสิ่งแวดลอมแตกตางกัน กลาวคือการผสมผสานระหวางสิ่งแวดลอมทางการเรียนการสอนในชั้นเรียน แบบดั้งเดิม

(Traditional Classroom) ที่ผูสอนและผูเรียนมีปฏิสัมพันธกันแบบเผชิญหนา (Face to Face) กับการผสมผสาน

ระหวางสิ่งแวดลอมทางการเรียนการสอนที่นําเอาความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีสื่อคอมพิวเตอร (Computer-

Mediated) แบบออนไลน (Online Learning) เขามามีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหบรรลุ

วัตถุประสงคการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด การเรียนการสอนแบบกึ่งออนไลนน้ี จึงเปนหน่ึงในการพัฒนาที่

สําคัญที่สุดของการจัดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบก่ึงออนไลน

ลักษณะของการนําการเรียนการสอนแบบกึ่งออนไลน (Blended Learning) มาใชในการศึกษาทั้งในอดีต

ปจจุบัน และอนาคตพบวา ในอดีตการเรียนการสอนทั้งแบบเผชิญหนาในชั้นเรียน และการเรียนการสอนแบบ

ออนไลนยังแยกกันอยางชัดเจน การเรียนการสอนทั้งสองแบบจะมีชองวางหรือระยะหางระหวางกันคอนขางมาก

กลาวคือจะมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะของตัวเอง มีรูปแบบและการดําเนินการในรูปแบบที่ตางกันเพราะการ

เรียนทั้งสองแบบจะใชสื่อและเคร่ืองมือที่แตกตางกัน แตในขณะเดียวกันการเรียนการสอนแบบออนไลนจะตองใช

เทคโนโลยีเขามามีสวนรวมในการติดตอสื่อสารและมีปฏิสัมพันธรวม ซึ่งในสมัยน้ันยังไมสามารถติดตอกับผูเรียนได

อยางทันทวงที แตในชวงคร่ึงศตวรรษที่ผานมาเมื่อเทคโนโลยีตาง ๆ ไดมีการพัฒนาการอยางรวดเร็วซึ่งสงผล

กระทบใหมีการพัฒนาการเรียนการสอนแบบออนไลนเพิ่มมากขึ้น ทําใหมีการผสมผสานการเรียนการสอนทั้งสอง

แบบเพิ่มมากขึ้น และแนวโนมในอนาคตจะพบวาการเรียนการสอนแบบกึ่งออนไลนจะมีสัดสวนนํ้าหนักการเรียน

การสอนแบบออนไลนเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่การเรียนการสอนแบบปกติจะมีสัดสวนลดลง

Page 13: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

10

การนํารูปแบบจัดการเรียนการสอนแบบก่ึงออนไลนมาใชงานท้ังในอดีต ปจจุบัน และอนาคต

รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบกึ่งออนไลน สามารถสรุปโดยภาพรวมไดดังน้ี

1. การรวมหรือการผสมผสานเทคโนโลยีการเรียนการสอนของเว็บ (Web-Based Technology) เชน การ

เรียนเสมือนจริง การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูแบบรวมมือ การใชวีดีโอสตรีมมิ่ง เสียงและตัวอักษรเขาดวยกัน

2. การรวมวิธีการสอนที่หลากหลายเขาดวยกัน เชน ทฤษฎีการเรียนรูคอนสต รัคติวิสต การเรียนรูกลุม

พฤติกรรมนิยม หรือกลุมพุทธิปญญา เปนตน เพื่อสรางผลการเรียนรูที่ดีที่สุด

3. การรวมเทคโนโลยีการเรียนการสอนทุกรูปแบบ เชน วีดิทัศน ซีดีรอม การเรียนผานเว็บ หรือภาพยนตร

โดยผสมผสานกับการเรียนการสอนในชั้นเรียนโดยอาจารยผูสอน

4. การรวมเทคโนโลยีการสอนกับการทํางานจริง เพื่อสรางความสอดคลองกันระหวางการเรียนรูและสภาพ

การทํางานจริง

สื่อเครื่องมือและอุปกรณทางเทคโนโลยีท่ีใชในการเรียนการสอนแบบออนไลนเต็มรูปแบบ

สังคมในศตวรรษที่ 21 จะเห็นไดวา สื่อเคร่ืองมือและอุปกรณทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญในการสง

ขอมูลขาวสาร โดยเฉพาะอยางยิ่งการเรียนการสอนแบบออนไลนเต็มรูปแบบ แตสิ่งที่สําคัญอันดับแรกที่ควรเนน

มากกวาสื่อเคร่ืองมือและอุปกรณทางเทคโนโลยีก็คือ เปาหมายของการเรียนการสอนแบบออนไลนตองการให

ผูเรียนไดเรียนรูเน้ือหาดานใด และไดพัฒนาทักษะดานใดบาง หลังจากน้ันจึงไปเลือกสื่อเคร่ืองมือและอุปกรณทาง

Page 14: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

11

เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทั้งน้ีในการเรียนการสอนแบบออนไลนเต็มรูปแบบจะประสบผลสําเร็จน้ัน ตองเกิดจากการ

รวมมือกันทุกฝาย ไมวาจะเปนผูเรียน ผูแนะนํา เจาหนาที่สนับสนุน เจาหนาที่บริหารจัดการระบบ และหนวยงาน

หรือสถาบันการศึกษาที่เปดคอรสออนไลน

สามารถแบงสื่อเคร่ืองมือและอุปกรณทางเทคโนโลยีที่ใชในการเรียนการสอนแบบออนไลนเต็มรูปแบบ ได

เปน 3 ประเภท ดังน้ี

1. ประเภทเสียง เปนเคร่ืองมือที่ใชสรางเสียง รวมทั้งเทคโนโลยีปฏิสัมพันธทางโทรศัพท (Interactive

Technology of Telephone) การประชุมทางวีดีโอ (Audioconferencing)

2. ประเภทวีดีโอ เปนเคร่ืองมือที่ใชสรางวีดีโอ รวมทั้งภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว และภาพเคลื่อนไหวแบบ

real time กับการประชุมทางวีดิโอ

3. ประเภทขอมูลทางคอมพิวเตอร แบงออกไดเปน 3 ประเภท

3.1 Computer-assisted instruction (CAI) เปนคอมพิวเตอรที่ชวยสอนบทเรียน

3.2 Computer-managed instruction (CMI) เปนคอมพิวเตอรที่ชวยบริหารจัดการ และติดตาม

ความกาวหนาของผูเรียน

3.3 Computer-mediated education (CME) เปนคอมพิวเตอรที่ใชในการสงขอมูลดานการเรียน

การสอนในรูปแบบตาง ๆ เชน ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (electronic mail), real-time computer

conferencing, World-Wide Web applications

เทคโนโลยีท่ีใชในการจัดการเรียนการสอนแบบก่ึงออนไลน

ลักษณะการเรียนการสอนแบบกึง่ออนไลน เปนการนําเทคโนโลยีทางการศึกษาเขามารวมในการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอนนอกชั้นเรียน ซึ่งสามารถนํามาใชรวมกันไดดังน้ี

1. การใชเทคโนโลยีการศึกษามาชวยใหการเรียนการสอนมีรูปแบบ วิธีการและสิ่งแวดลอมทางการเรียนรู

ที่แตกตางไปจากเดิม

2. การใชเทคโนโลยีการศึกษาเปนเคร่ืองมือ เชน การใชคอมพิวเตอรผานเครือขายอินเทอรเน็ตในการ

สงเสริมการเรียนรู โดยการนําเสนอเน้ือหา กิจกรรมการเรียนการสอน แบบฝกทักษะใหผูเรียน ตลอดจนเปน

เคร่ืองมือที่สามารถชวยสรางลักษณะของการนําเสนอเน้ือหาบทเรียนที่มีปฎิสัมพันธกับผูเรียนเปนรายบุคคล

3. การใชเทคโนโลยีการศึกษาชวยสรางการเรียนรูแบบรวมมือของนักเรียน และผูเรียนเกิดสังคมแหงการ

เรียนรู รวมถึงความกลาในการซักถามและชวยสรางบรรยากาศเพื่อลดความวิตกกังวลในการเรียน

ขอดีของการจัดการเรียนรูแบบออนไลนเต็มรูปแบบ

Page 15: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

12

1. คอรสออนไลนมีความยืดหยุนได เน่ืองจากผูเรียนสามารถเขาถึงคอรสเรียนไดทุกสถานที่ ทุกเวลา

โดยเฉพาะผูเรียนที่ประกอบอาชีพตาง ๆ ไมมีเวลามาเขาชั้นเรียนไดตามปกติ ก็สามารถเขาถึงคอรสเรียนได เพียง

แคมีคอมพิวเตอรและเครือขายอินเทอรเน็ต

2. งายตอการเขาถึงขอมูล ผูเรียนสามารถทบทวนการบรรยาย การอภิปราย การอธิบาย และ

ขอเสนอแนะตาง ๆ บนระบบออนไลน รวมทั้งผูเรียนแตละคนสามารถแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นกับผูเรียนคนอื่น

ชวยเหลือซึ่งกันและกัน กอเกิดเปนสังคมแหงการเรียนรู

3. มีคอรสใหเลือกเปนชวง ผูเรียนสามารถที่จะเลือกเรียนในคอรสเรียนทีอ่ยูในชวงระดับการศึกษาที่

ตนเองศึกษาอยู หรือคอรสออนไลนที่ผูเรียนสนใจตองการจะเรียนรู

4. ผูเรียนสามารถควบคุมเวลาในการศึกษาได คอรสเรียนปกติในมหาวิทยาลัยจะมีตารางการเรียนและ

รูปแบบที่แนนอน ซึ่ง 1 คาบเรียนอาจใชเวลาประมาณ 50 นาที หรือมากกวาน้ี หรือคาบเรียนภาคค่ําอาจใชเวลา

เกือบ 3 ชั่วโมง แตการเรียนแบบออนไลนจะทําใหผูเรียนไมตองน่ังเรียนอยูในชั้นเรียนเปนเวลานาน ผูเรียนสามารถ

จะหยุดบทเรียนไวชั่วคราว แลวกลับมาอานใหมได

5. ชวยประหยัดคาใชจาย ที่เกิดจากการเดินทาง และคาใชจายอื่น ๆ ที่เกิดจากการเรียนในชั้นเรียนปกติ

6. ไมตองจายคาหนังสือเรียนที่มีราคาแพง บางคอรสออนไลน ผูเรียนไมจําเปนตองซื้อหนังสือเรียน

สามารถหาหนังสือเรียนอานไดจากหองสมุดอิเล็กทรอนิกส และสื่อดิจิตัลอื่นที่เผยแพรบนอินเทอรเน็ต

ขอเสียของการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนเต็มรูปแบบ

1. ขาดการปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับเพื่อนรวมหองเรียนแบบปกติ และขาดประสบการณที่จะเกิดขึ้น

ในหองเรียนปกติ แตสามารถแกไขไดดวยการใชเทคโนโลยีการประชุมผานวีดิโอ และสรางกลุมสําหรับการพูดคยุ ก็

สามารถจะชวยเหลือผูเรียนใหมีปฏิสัมพันธกับผูสอนและเพื่อนรวมหองเรียนได

2. กิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นอาจมีนอย และไมตรงตามมาตรฐานของหลักสูตรที่กําหนดไว

ดังน้ันตองมีการรับรอง และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษาที่มีการเปดการเรียนการสอนใน

คอรสออนไลน

3. ผูเรียนสามารถที่จะทุจริตไดในการสอบแบบออนไลนโดยใหผูอื่นทําขอสอบแทน ดังน้ันสถาบัน

การศึกษาที่เปดสอนคอรสออนไลนตองมีเทคโนโลยีที่สามารถจับผิดผูเรียนที่ทุจริต ขอดีของการจัดการเรียนรูแบบก่ึงออนไลน

1. ทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น เน่ืองจากผูสอนตองการใหผูเรียนไดความรูมากที่สุด

ดังน้ันผูสอนจะตองหาสื่อการสอน วิธีการตาง ๆ ที่สามารถหาไดจากอินเทอรเน็ต หรือเทคโนโลยีอื่น ๆ อีกทั้งผูสอน

Page 16: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

13

จะตองกําหนดวิธีการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับสไตลของผูเรียนและผูสอนเอง จึงจะทําใหเกิดประสิทธิภาพ

การสอนแกผูสอนและประสิทธิภาพแกผูเรียนดวย

2. เพิ่มความยืดหยุนในเร่ืองเวลา และการเขาถึงขอมูลใหกับผูเรียนและผูสอน เชน ผูเรียนไมสบาย

ไมสามารถเขาเรียนได ผูเรียนก็สามารถเรียนศึกษาดวยตนเองจากสื่ออิเล็กทรอนิกสได เปนตน

3. ประหยัดคาใชจายทั้งผูเรียนและสถานศึกษา เน่ืองจากการเรียนการสอนแบบกึ่งออนไลน (Blended

Learning) ทําใหจํานวนชั่วโมงการเรียนในหองเรียนลดลง ทําใหประหยัดคาใชจายในการใชหองเรียนลดลง อีกทั้ง

ผูเรียนยังประหยัดคาใชจายในการเดินทาง

ขอเสียของการจัดการเรียนการสอนแบบก่ึงออนไลน

1. ผูสอนและผูเรียนบางคนมีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีนอย

2. ผูสอนบางคนยังคงยึดติดกับการสอนในรูปแบบเดิม ๆ น่ันคือการสอนในชั้นเรียนปกต ิ

3. ความเร็วของอินเทอรเน็ต และคอมพิวเตอร

การประยุกตใชทางการศึกษา

ในหัวขอการประยุกตใชทางการศึกษาจะรวมถึงดานหลักสูตร ดานการจัดการเรียนการสอน และดานการ

วัดประเมินผล

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลนเต็มรูปแบบ

1. ดานผูเรียน

1.1 ทําใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธมากขึ้นผานคอรสเรียนแบบออนไลน โดยที่ผูเรียนทุกคนสามารถแสดง

ความคิดเห็น แบงปนความคิดซึ่งกันและกัน และสามารถตอยอดความคิดของผูเรียนแตละคนผานการใหขอคิดเห็น

ของเพื่อน แตในหองเรียนปกติ ผูเรียนอาจไมคอยมีโอกาสที่แสดงความคิดเห็นเต็มที่

1.2 ทําใหผูเรียนสามารถเลือกลงคอรสเรียนที่ตนเองมีความสนใจ ความถนัด ตามความตองการของ

ผูเรียนแตละคน

1.3 ทําใหผูเรียนมีความเปนอิสระและมีความสบายใจและเปดใจที่จะคุยกับผูสอนผานการคุยออนไลน

อีเมล และอภิปรายกับเพื่อนกลุมใหม ๆ มากกวาการเรียนในหองเรียนปกติ รวมถึงผูเรียนไมตองรอคอยเวลา

สําหรับการเขาหองเรียนในแตละวิชาตามเวลาชั่วโมงการเรียนที่กําหนดไว

1.4 ทําใหผูเรียนมีเวลาสําหรับศึกษาสื่อตางๆในการเรียนออนไลนผูเรียนจะมีเวลามากขึ้นในการศึกษา

มากกวาผูเรียนที่เรียนในหองเรียนปกติและผูเรียนปรับเปลี่ยนบทบาทจากผูเรียนที่คอยรับขอมูลจากผูสอนอยาง

เดียว กลายเปนผูแสวงหาความรูดวยตนเองมากขึ้น

Page 17: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

14

1.5 ทําใหผูเรียนไดมีทักษะในการใชคอมพิวเตอรมากขึ้น เชน ทักษะการใชอินเทอรเน็ตในการคนหา

ขอมูล การใชอีเมลล การสงไฟลทางอีเมลล การดาวนโหลดและเก็บขอมูล และการใชโปรแกรมพื้นฐานตาง ๆ เชน

Microsoft Word, Excel and PowerPoint

2. ดานผูสอน

ผูสอนสามารถทําใหผูเรียนเขามามีสวนรวมในระบบออนไลนมากยิ่งขึ้น และผูสอนเปลี่ยนบทบาทจาก

ผูสอนที่ใหความรูแกผูเรียน กลายเปนผูแนะนํา ถาผูเรียนมีปญหา หรือขอสงสัย ที่ยังไมเขาใจ

3. ดานเน้ือหา

ในการออกแบบเน้ือหาบนคอรสออนไลน จําเปนตองคํานึงถึงสิ่งตางๆ ตอไปน้ี

3.1 ตองวิเคราะหและพิจารณาวาผูเรียนคือใคร และจุดประสงคหลักของคอรสตองการอะไร ดังน้ัน

กอนที่จะออกแบบเน้ือหาบนคอรสออนไลนจําเปนตองวิเคราะห และพิจารณากอนวาในประเด็นของผูเรียน และ

จุดประสงคหลักของคอรสตองการใหผูเรียนพัฒนา หรือมีทักษะดานใดในระหวางการเรียนในคอรส ซึ่งจะทําใหการ

ออกแบบเน้ือหาบนคอรสออนไลนมีความเหมาะสมกับผูเรียน และสงผลไปยังรูปแบบการจัดการเรียนรูดวย

3.2 ทําใหผูเรียน เห็นประโยชนที่จะไดรับการจากการเรียนในคอรสออนไลนน้ัน ๆ จะทําใหผูเรียน

ตองการที่จะเรียนในคอรสออนไลนน้ัน ๆ ดังน้ันในการออกแบบคอรสออนไลนควรที่จะตองมีรายละเอียดของ

คอรส และจุดเนนสําคัญ ทักษะ ขอมูลตาง ๆ ที่เปนประโยชน ที่ผูเรียนจะไดรับเมื่อเรียนจบคอรสน้ัน ๆ

3.3 การใชสื่อมัลติมีเดียประกอบเน้ือหา ตองมีความหลากหลาย เชน ใชวีดีโอ เสียง ภาพ ประกอบ

เขาดวยกัน จะชวยกระตุนใหผูเรียนสนใจในเน้ือหามากยิ่งขึ้น ถาเปรียบเทียบกับการเรียนในหองปกติอาจใช

อุปกรณกอนชวยในการเรียนการสอน เชน เคร่ืองฉายแผนโปรงแสง โปรเจคเตอรนําเสนอในไฟล PowerPoint

3.4 ออกแบบเน้ือหาในคอรสออนไลน ใหมีความแตกตางตามลักษณะการเรียนรู โดยทั่วไปผูเรียนจะ

มีลักษณะการเรียนรูตามแบบของตนเอง ตัวอยางเน้ือหาควรมาจากประสบการณที่ผูเรียนสามารถพบไดในชีวิตจริง

ลักษณะการเรียนรูแบบหน่ึง อาจจะมีวิธีการนําเสนอไดหลายแบบ และควรมีความหลากหลายของแบบฝกหัดและ

กิจกรรมใหผูเรียนไดมีสวนรวม

3.5 มีการประเมินผลในแตละคอรสออนไลน เชน การทดสอบกอนเร่ิมบทเรียน ระหวางการเรียนใน

แตละบทเรียน และหลังจบบทเรียน ซึ่งการประเมินผลจะทําใหผูสอนทราบถึงพัฒนาการของผูเรียน รวมทั้งยังให

ทําใหผูเรียนสามารถประเมินตนเองในจุดที่ตนเองออนดอย และพัฒนาจุดน้ันใหดีมากขึ้น การประเมินผลในแตละ

คอรสออนไลนจะทําใหผูสอนสามารถนําไปปรับปรุงคอรสคร้ังตอไปได

3.6 ทําใหเน้ือหาบนคอรสออนไลน ตองแบงหัวขอ และจัดทําใหเน้ือหาที่นําเสนองาย และทําให

ผูเรียนสามารถเขาใจได โดยหลังเรียนจบในแตละบทเรียน อาจตองมีการประเมินผลผูเรียนเพื่อทดสอบความรู

และทักษะที่ผูเรียนไดรับในแตละบทเรียน

Page 18: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

15

3.7 ตองมีลิงคแหลงสืบคนขอมูลเพิ่มเติมในคอรสออนไลน เพื่อใหผูเรียนสามารถไปคนควา ศึกษา

ขอมูลเพิ่มเติมที่นอกเหนือจากในคอรสไดดวยตนเอง

การจัดการเรียนการสอนแบบก่ึงออนไลน (Blended Learning)

แนวทางในการออกแบบการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานหรือกึ่งออนไลนสวนใหญมีแนวทางในการพัฒนา

หลักสูตรมาจากรูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนโดยทั่วไป ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู

ประกอบดวยขั้นการวิเคราะห (Analysis), ขั้นการออกแบบ (Design), ขั้นการพัฒนา (Development), ขั้นการ

นําไปใช (Implementation) และขั้นการประเมินผล (Evaluation) ซึ่งการออกแบบหลักสูตรสําหรับการจัดการ

เรียนรูแบบผสมผสานใหประสบผลสําเร็จ ควรคํานึงถึงจุดประสงคของการเรียนที่กําหนดไว รวมกับการออกแบบ

เน้ือหารายวิชาสําหรับการเรียนการสอนแบบเผชิญหนา (Face-to-Face) และการออกแบบการเรียนรูแบบ

ออนไลน โดยเน้ือหา วัตถุประสงคของการเรียนรู และระยะเวลาในการเรียนรู รวมถึงความแตกตางของรูปแบบ

การเรียนรู ควรมีความสอดคลองกัน เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน การ

ออกแบบบทเรียน และการประเมินผลการเรียน

ลักษณะของการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานหรือกึ่งออนไลน สามารถชวยลดขอจํากัดของการเรียนรูแบบ

เผชิญหนา และลดจุดออนของการเรียนแบบออนไลน อัตราสวนที่นิยมในการจัดการเรียนการรูแบบผสมผสานหรือ

กึ่งออนไลน คือการเรียนรูโดยใชสื่อคอมพิวเตอรออนไลนนอกชั้นเรียนประมาณ 30% - 70% หรือเปนลักษณะของ

การจัดการเรียนรูที่ผสมผสานการเรียนในชั้นเรียนปกติกับการเรียนรูแบบออนไลน ซึ่งอาจมีสัดสวนในหองเรียน

60% และเรียนรูผานเครือขายออนไลน 40% เพื่อเปดโอกาสใหมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนขอมูลภายนอกหองเรียน

และเรียนรูไดตามความตองการ ผูสอนจึงมีบทบาทเปนทั้งผูสอน ผูใหคําแนะนํา และผูอํานวยความสะดวกทั้งน้ีการ

แบงชวงของการเรียนรูภายในชั้นเรียนและภายนอกชั้นเรียนขึ้นอยูกับความเหมาะสม ของ เน้ือหา วัตถุประสงค

ตลอดจนความพรอมของอุปกรณ ผูเรียน และผูสอน ขอดีของการจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน ทําใหผูเรียนได

ปฏิบัติจริง เกิดทักษะดานการฝกปฏิบัติ ผูเรียนและผูสอนมีอิสระในการเรียนรูมากขึ้น เรียนไดทุกที่ทุกเวลาตาม

ความเหมาะสมของสถานที่

ดังน้ันปจจัยสําคัญที่ควรคํานึงถึงในการออกแบบการจัดการเรียนรูแบบกึ่งออนไลน (Blended Learning)

ใหประสบผลสําเร็จ คือ ผูเรียน เน้ือหา และระบบโครงขายพื้นฐาน

สวนแนวโนมในอนาคตพบวามีการนําเทคโนโลยีเขามาใชในการศึกษาอยางตอเน่ืองและพัฒนาไปอยางไม

หยุดยั้งพรอมกับลักษณะของการเรียนที่เปนระบบการเรียนรูแบบผสมผสานหรือกึ่งออนไลนเปนสวนใหญ การ

ประยุกตใชประโยชนจากเครือขาย อุปกรณ เคร่ืองมือ และคอมพิวเตอร ทั้งทางดานซอฟตแวรและฮารดแวร มา

เติมเต็มทั้งทางดานความรูและสังคมเพื่อใหมนุษยมีปฏิสัมพันธกันไดคลายคลึงกับการเรียนการสอนแบบเผชิญหนา

Page 19: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

16

แตสามารถเรียนจากสื่อที่มีความหลากหลายโดยไมจํากัดสถานที่โดยใชรูปแบบการผสมผสานกันอยางเหมาะสมกับ

เน้ือหาวิชา ลักษณะผูเรียน และกิจกรรมการเรียน

การประเมินผลการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานหรือก่ึงออนไลน (Blended Learning)

การวัดผลการประเมินผลการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานหรือกึ่งออนไลน สิ่งสําคัญที่จะตองนํามาพิจารณา

ก็คือองคประกอบตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของกับการจัดการเรียนรูทั้งแบบเผชิญหนากันและการเรียนรูแบบออนไลน

การกําหนดการวัดและประเมินผลการเรียนของผูเรียนทั้งระหวางเรียนและหลังเรียน ควรทําการประเมินทั้ง

กิจกรรมการเรียนในหองเรียนปกติและการเรียนแบบออนไลน รวมกับการประเมินตามสภาพจริง ซึ่งการติดตามผล

ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรูแบบผสมผสาน สามารถวัดและประเมินผลที่เกิดขึ้นทั้งจากการเรียนการสอนภายในชั้น

เรียนแบบเผชิญหนาและการเรียนการสอนภายนอกชั้นเรียน เพื่อนําขอบกพรองที่พบกลับมาแกไขและพัฒนา

กระบวนการเรียนรูและบทเรียนจนเกิดความสมบูรณ และเหมาะสม

3. M-Learning

ความเปนมาของ M-Learning

ในป ค.ศ. 1968 อลัน เค และเพื่อนรวมงานในกลุมวิจัยเพื่อการเรียนรูไดรวมกันพัฒนา ไดนาบุค

(Dynabook) คือ คอมพิวเตอรเคลื่อนที่ขนาดเล็กที่ใชในการเรียนการสอน จึงอาจถือไดวา ไดนาบุคเปนเคร่ืองมือ

สําหรับ M-Learning เคร่ืองแรก ๆ

ในป ค.ศ. 1975 IBM 5000 ไดกลายเปนคอมพิวเตอรพกพาเคร่ืองแรกที่วางรากฐานของอุปกรณ

พกพาเพื่อการศึกษา

ในป ค.ศ. 1996 บริษัท Palm ปลอย PalmOS ออกมาซึ่งทําใหสามารถเขาสูโปรแกรมการเรียนรูผาน

ทางหูฟงได

ในป ค.ศ. 2001 คณะกรรมาธิการยุโรป (The European Commission) ใหทุนสนับสนุนโครงการ

นานาชาติ คือ โมบิเลิรน (MOBIlearn) และ เอ็มเลิรนน่ิง (M-Learning) แลวมีบริษัทตั้งขึ้นเพื่อดําเนินการดาน

เอ็มเลิรนน่ิง 3 ดาน คือ ดานการนําเน้ือหาเขาระบบ เอ็มเลิรนน่ิง ดานการจัดการเรียนการสอนแบบ

M-Learning และดานการพัฒนาเน้ือหา

ความหมายของ M-Learning

นักวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศหลายทานไดใหความหมายของคําวา M-Learning ไว เชนซาดี

อา ยายา และคณะ (Saadiah Yahya et al, 2010) จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมารา ประเทศมาเลเซีย กลาววา

M-Learning คือการเรียนรูที่เกิดขึ้นผานอุปกรณสื่อสารไรสาย เชน โทรศัพทมือถือ, PDAs หรือ โนตบุค

Page 20: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

17

ริว (Ryu, 2007) หัวหนาศูนยโมบายคอมพิวติ้ง (Centre for Mobile Computing) ที่มหาวิทยาลัยแมสซี่

เมืองโอคแลนด ประเทศนิวซีแลนด ระบุวา เอ็มเลิรนน่ิง คือกิจกรรมการเรียนรูที่เกิดขึ้นเมื่อผูเรียนอยูระหวางการ

เดินทาง ณ ที่ใดก็ตาม และเมื่อใดก็ตาม

เก็ดส (Geddes, 2006) ก็ใหความหมายที่คลายคลึงกันคือ เอ็มเลิรนน่ิง คือการไดมาซึ่งความรูและทักษะ

ผานทางเทคโนโลยีของเคร่ือง ประเภทพกพา ณ ที่ใดก็ตาม และเมื่อใดก็ตามซึ่งสงผลเกิดการเปลี่ยนแปลง

พฤติกรรม

วัต สัน และไวท (Watson & White, 2006) ผูเขียนรายงานเร่ืองเอ็มเลิรนน่ิงในการศึกษา (M-Learning

in Education) เนนวา เอ็มเลิรนน่ิง หมายถึงการรวมกันของ 2 P คือ เปนการเรียนจากเคร่ืองสวนตัว (Personal)

และเปนการเรียนจากเคร่ืองที่พกพาได (Portable) การที่เรียนแบบสวนตัวน้ันผูเรียนสามารถเลือกเรียนในหัวขอที่

ตองการ และการที่เรียนจากเคร่ืองที่พกพาไดน้ันกอใหเกิดโอกาสของการเรียนรู ได ซึ่งเคร่ืองแบบ Personal

Digital Assistant (PDA) และโทรศัพทมือถือน้ันเปนเคร่ืองที่ใชสําหรับเอ็มเลิรนน่ิงมากที่สุด

ดร.พูลศรี เวศยอุฬาร (2551) อาจารยประจําระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยทางไกลอินเตอรเน็ต

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ไดกลาวถึงการใหคําจํากัดความของ เอ็มเลิรนน่ิง (M-Learning) ไววา เอ็มเลิรนน่ิง คือ การ

เรียนรูโดยใชอุปกรณคอมพิวเตอรแบบพกพาที่เชื่อมตอกับขอมูลแบบไรสาย โดยทานอธิบายถึงการใหคําจํากัด

ความของเอ็มเลิรนน่ิง ไววา M-Learning น้ันนาจะแยกพิจารณาเปน 2 สวน จากรากศัพทที่นํามาประกอบกันก็

คือ

Mobile (Devices) หมายถือ อุปกรณคอมพิวเตอร หรือ โทรศัพทมือถือ และเคร่ืองเลน หรือแสดงภาพที่

พกพาติดตัวไปได

Learning หมายถึงการเรียนรู เปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเน่ืองมาจากบุคคลปะทะกับสิ่งแวดลอม

จึงเกิดประสบการณ การเรียนรูเกิดขึ้นไดเมื่อมีการแสวงหาความรู การพัฒนาความรูความสามารถของบุคคลใหมี

ประสิทธิภาพดีขึ้น รวมไปถึงกระบวนการสรางความเขาใจ และถายทอดประสบการณที่เปนประโยชนตอบุคคล

ลักษณะการจัดการเรียนรู ของ M-Learning

การเรียนรูผานโทรศัพทมือถือ (M-Learning) เปนพัฒนาการของนวัตกรรมการเรียนการสอนมาจากการ

เรียนการสอนทางไกล (D-Learning) และการจัดการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต (e-Learning) ซึ่งการเรียน

ผานโทรศัพทมือถือใชระบบเครือขายไรสาย โดยมีแนวคิดในการเรียน คือ สามารถเรียนไดโดยไมจํากัดเวลา และ

สถานที่ ผานอุปกรณเคลื่อนที่และพกพาได โดยอุปกรณเหลาน้ีตองเชื่อมตอกับอุปกรณคอมพิวเตอรในการ

นําเสนอขอมูลขาวสารใหเกิดความเขาใจระหวางผูสอนและผูเรียน

Page 21: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

18

กระบวนการเรียนรูของ M-Learning ประกอบดวย 5 ขั้นตอน ดังน้ี

• ขั้นที่ 1 ผูเรียนมีความพรอม และมีเคร่ืองมือ

• ขั้นที่ 2 เชื่อมตอเขาสูเครือขาย และพบเน้ือหาการเรียนที่ตองการ

• ขั้นที่ 3 หากพบเน้ือหาจะไปยังขั้นที่ 4 แตถาไมพบจะกลับเขาสูขั้นที่ 2

• ขั้นที่ 4 ดําเนินการเรียนรูซึ่งไมจําเปนที่จะตองอยูในเครือขาย

• ขั้นที่ 5 ไดผลการเรียนรูตามวัตถุประสงค

จะเห็นไดวา กระบวนการเรียนรูของ M-Learning น้ันเกิดขึ้นไดโดยไรขอจํากัด ดานเวลา และสถานที่

เพียงแตผูเรียนมีความพรอมและเคร่ืองมือ อีกทั้งเครือขายมีเน้ือหาที่ตองการที่สามารถใหผูเรียนเกิดการเรียนรูได

และเมื่อเกิดการดําเนินการเรียนรูขึ้นก็จะไดผลการเรียนรูตามที่กําหนดไวแตกระบวนการดังกลาวอาจไมมี

ประสิทธิภาพเพียงพอ หากบทเรียนสําหรับ M-Learning มีเน้ือหาไมครอบคลุม รวมทั้งเคร่ืองมือและเครือขาย

ไมสนับสนุนการเรียนรูในลักษณะดังกลาว ดังน้ันผูที่เกี่ยวของในดานการผลิตบทเรียนสําหรับ M-Learning จึง

ควรจะเรงดําเนินการออกแบบ พัฒนา ผลิต และกระจายสื่อที่มีประสิทธิภาพสําหรับการเรียนดวย M-Learning

แนวคิดในการออกแบบการเรียนรูแบบ M-Learning

ในอนาคตมนุษยในสังคมโลกมีแนวโนมวาตองใช Social Networking เปนชองทางหลักในการ

ติดตอสื่อสาร และเปนไปไดวารูปแบบการสื่อสารในสังคมโลกยุคตอไปจะดํารงอยูบนโลกเสมือนจริง (Virtual

Page 22: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

19

Communication) มากกวาการสื่อสารที่อยูบนโลกของความเปนจริง หองเรียนเสมือนจริงในปจจุบันมีอยู 2

ลักษณะ คือ

1) จัดการเรียนการสอนในหองเรียนธรรมดา แตมีการถายทอดสดภาพและเสียงเกี่ยวกับบทเรียน โดย

อาศัยระบบโทรคมนาคมและเครือขายคอมพิวเตอร เรียกวา Online ไปยังผูเรียนที่อยูนอกหองเรียน ผูเรียน

สามารถรับฟงติดตามบทเรียนและผูสอน จากเคร่ืองคอมพิวเตอรและสามารถโตตอบกับอาจารยผูสอนหรือเพื่อน

ในชั้นเรียนได โดยอาศัยสิ่งแวดลอมทางกายภาพที่เปนจริง เรียกวา Physical Education Environment

2) การจัดหองเรียนจากโปรแกรมคอมพิวเตอรสรางภาพเสมือนจริง เรียกวา Virtual Reality โดยใช

สื่อที่เปนตัวหนังสือ Text-Based หรือภาพกราฟก Graphical-Based สงบทเรียนไปยังผูเรียน โดยผานระบบ

โทรคมนาคมและเครือขายคอมพิวเตอร หองเรียนลักษณะน้ีเรียกวา Virtual Education Environment ซึ่ง

เปน Virtual Classroom ที่แทจริง

การออกแบบหองเรียนเสมือนจริง (Virtual Communication) สามารถออกแบบใหมีลักษณะดังน้ี

1. Learning is Fun นําเทคโนโลยีของ JAVA มาเสริมในการเรียนรูแบบสนุกสนานและไมเครียด

ผูเรียนสามารถเลนเกมได

2. Multimedia ผูเรียนจะเรียนรูบทเรียนจากภาพและเสียง สามารถควบคุมขั้นตอนของการ

เรียนรูไดดวยปลายน้ิวสัมผัสของตนเอง

3. Asynchronous Learning เปนการเรียนที่ไมจําเปนจะตองมีผูสอนกับผูเรียนในเวลาและสถานที ่

เดียวกัน ผูสอนจะจัดทําและรวบรวมบทเรียนออนไลน ซึ่งใชเรียนที่ไหนก็ได เวลาใดก็ได ตามแตผูเรียนจะ

สะดวก บทเรียนมีใหเลือกมากมาย และเชื่อมโยงไปยังบทเรียนอื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวเน่ืองกัน

4. Electronic Library เปนหองสมุดอิเล็กทรอนิกส ผูเรียนสามารถคนหาสิ่งที่ตองการจาก

แหลงขอมูลตาง ๆ ทั่วโลก โดยใช Search Engine และ Web Site ตาง ๆ

5. Information on Demand ผูเรียนสามารถเรียกดูขอมูลสารสนเทศตามที่ตองการได

ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบไรสายไดพัฒนาไปอยางรวดเร็ว การศึกษาในอนาคตจึง

เปนการแลกเปลี่ยนความรูจากซีกโลกหน่ึงไปยังอีกซีกโลกหน่ึงอยางงายดาย การเรียนรูในรูปแบบหองเรียนเสมือน

จริง ตองอาศัยเคร่ืองมือที่เรียกวา M-Learning มาชวยสนับสนุนในการเรียนรู ผูสอนตองเปลี่ยนบทบาทจากผู

ถายทอดขอมูลเปนผูใหคําแนะนํา เปนผูฝก และเปนผูอํานวยความสะดวก รวมถึงเปนพี่เลี้ยงใหกับผูเรียน ซึ่ง

ผูเรียนก็ตองเปลี่ยนบทบาทจากผูรับขอมูลเปนผูสํารวจแหลงขอมูล เปนผูคิด และเปนผูปฏิบัติ ในลักษณะการ

เรียนรูรวมกันกับผูเรียนคนอื่นอยางมีปฏิสัมพันธ ดังน้ันการเรียนรูแบบ M-Learning จึงเปนเคร่ืองมือสําคัญใน

การพัฒนาผูเรียนใหเปนผูมทีักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

เครื่องมือและอุปกรณท่ีใชในการจัดการเรียนรู (Software Tools and Hardware Tools)

Software Tools ของ M-Learning

Page 23: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

20

1. Wireless Application Protocol: WAP คือมาตรฐานกําหนดวิธีในการเขาถึงขอมูล และบริการ

อินเตอรเน็ตของอุปกรณไรสายเชน โทรศัพทมือถือและเคร่ือง PDA วิธีการเขาถึงขอมูลของ WAP มีลักษณะ

การเขาถึงอินเตอรเน็ตของคอมพิวเตอรทั่วไป กลาวคืออุปกรณพกพาจะมีซอฟตแวรบราวเซอรซึ่งจะเชื่อมตอเขา

กับเกตเวยของ WAP (ซอฟตแวร ซึ่งติดตั้งอยูที่ฝงผูใหบริการระบบเครือขายซึ่งจะมีการสงผานขอมูลในเครือขาย

ไรสาย) และรองขอขอมูลจากเว็บเซิรฟเวอรบนอินเตอรเน็ต ผานทาง URL ปกติ โดยที่ขอมูลสําหรับอุปกรณไร

สายน้ีสามารถเก็บไวในเว็บเซิรฟเวอรเคร่ืองใดก็ไดบนอินเตอรเน็ต ซึ่งขอมูลเหลาน้ีจะถูกออกแบบมาเพื่ออุปกรณ

พกพาขนาดเล็ก ที่มีหนาจอขนาดเล็กและมีแบนวิดธต่ํา โดยเฉพาะขอมูลเหลาน้ีจะเขียนขึ้นโดยภาษาเฉพาะ

ของ WAP มีชื่อเรียกวา WML ( Wireless Markup Language )

2. General Packet Radio Services: GPRS ซึ่งเปนบริการเสริมแบบใหมที่รองรับการรับสงขอมูล

ขาวสาร บนเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ GPRS สามารถรองรับการใหบริการที่เพิ่มมากขึ้นกวาระบบ CSD และ

SMS

3. Enhanced Data rates for GSM Evolution: EDGE ระบบอินเทอรเน็ตไรสาย 2.75G ในเครือขาย

โทรศัพทมือถือ เปนเทคโนโลยีตามมาตรฐานสากลที่กําหนดโดย ITU (International Telecommunications

Union) คลายกับระบบจีพีอารเอส แตมีความเร็วที่สูงกวาคือที่ประมาณ 200-300 Kbps ซึ่งสูงกวาจีพีอารเอสสี่เทา

แตในบางพื้นที่ถาหากใชเอดจไมได โทรศัพทก็จะเปลี่ยนไปใชจีพีอารเอสเอง ช วยใหการรับสงขอมูลบน

โทรศัพทมือถือไดมากกวาและรวดเร็วกวา ทั้งการเขา WAP และ WEB รับสง MMS, Video/Audio Streaming

และ Interactive Gaming และเปนกาวสําคัญเพื่อการกาวเขาสูยุค 3G

4. Bluetooth ระบบสื่อสารของอุปกรณอิเล็คโทรนิคแบบสองทาง ดวยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range

Radio Links) โดยปราศจากการใชสายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมตอ

5. Wireless Markup Language: WML เปนภาษาที่ใชในการสรางเอกสาร ซึ่งสนับสนุนการแสดงผลบน

หนาจออุปกรณสื่อสารไรสาย ที่สนับสนุนเทคโนโลยี WAP (Wireless Application Protocol) โดยภาษา WML มี

การพัฒนามาจากภาษา HTML ซึ่งเปนมาตรฐานบนเครือขายอินเทอรเน็ต ทําให WML มีความคลายคลึงกับ

HTML ในแงการสรางและพัฒนาระบบ แตเหมาะสําหรับการแสดงผลบนจอภาพขนาดเล็กผานเครือขายสื่อสารที่มี

แบนดวิทต่ํา เชน เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ หรือวิทยุติดตามตัวแบบสองทาง

Hardware Tools ของ M-Learning

1. PDAs (Personal Digital Assistant) คือคอมพิวเตอรแบบพกพาขนาดเล็ก ทีรู่จักกันทั่วไป

ไดแก Pocket PC กับ Palm เคร่ืองมือสื่อสารในกลุมน้ียังรวมถึง PDA Phone นอกจากน้ียังหมายถึงเคร่ือง

คอมพิวเตอรขนาดเล็กอื่น ๆ อีก เชน lap top, Note book และ Tablet PC

Page 24: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

21

2. Smart Phones คือโทรศัพทมือถือ ที่บรรจุเอาหนาที่ของ PDA เขาไปดวยเพียงแตไมม ีStylus แต

สามารถลงโปรแกรมเพิ่มเติมเหมือนกับ PDA และ PDA phone ได ขอดีของอุปกรณกลุมน้ีคือมีขนาดเล็กพกพา

สะดวกประหยัดไฟ และราคาไมแพงมากนัก

3. IPod, เคร่ืองเลน MP3 คือ เคร่ืองเสียงแบบพกพา ที่สามารถรับขอมูลจากคอมพิวเตอรดวยการตอ

สาย USB หรือ รับดวยสัญญาณ Blue tooth สําหรับรุนใหม ๆ มีฮารดดิสกจุไดถึง 60 GB. และมีชอง Video

out และมีเกมสใหเลือกเลนไดอีกดวย

ขอดี-ขอเสียของเอ็มเลิรนน่ิง

แมเอ็มเลิรนน่ิงไดเร่ิมใชเปนคร้ังแรกในชวง ป 1995-2000 (Keegan, 2006) เน่ืองจากมีปริมาณการ

พัฒนาอีเลิรนน่ิง ในมหาวิทยาลัยตาง ๆ อยางมากในชวงดังกลาว พรอมกับเปนชวงที่เทคโนโลยีไรสายมีการเติบโต

อยางมาก และคาดวาเทคโนโลยีไรสายเหลาน้ีจะมาแทนที่การเชื่อมตอดวยสายตาง ๆ ในที่สุด นอกจากน้ียังมกีาร

คาดคะเนอีกวาผูคนสวนมากจะรับสื่อจากคอมพิวเตอรไรสายมากกวาอานจากหนาจอคอมพิวเตอรแบบเดิมเสียอีก

ดวยศักยภาพของสังคมยุคขอมูลขาวสาร เอ็มเลิรนน่ิงจึงเปนประเด็นที่ถูกนํามาอภิปรายในเว็บไซตอยางแพรหลาย

เก็ดส (Geddes, 2006) ไดทําการศึกษาประโยชนของเอ็มเลิรนน่ิง และสรุปวาประโยชนที่ชัดเจนอยางยิง่น้ัน

สามารถจัดไดเปน 4 หมวด คือ

1. การเขาถึงขอมูล (Access) ไดทุกที่ ทุกเวลา

2. สรางสภาพแวดลอมเพื่อการเรียนรู (Context) เพราะเอ็มเลิรนน่ิงชวยใหการเรียนรูจากสถานที่ใดก็

ตามที่มีความตองการเรียนรู ยกตัวอยางเชน การสื่อสารกับแหลงขอมูล และผูสอนในการเรียนจากสิ่งตางๆ เชน ใน

พิพิธภัณฑที่ผูเรียนแตละคนมีเคร่ืองมือสื่อสารติดตอกับวิทยากรหรือผูสอนไดตลอดเวลา

3. การรวมมือ (Collaboration) ระหวางผูเรียนกับผูสอน และเพื่อนรวมชั้นเรียนไดทุกที่ ทุกเวลา

4. ทําใหผูเรียนสนใจมากขึ้น (Appeal) โดยเฉพาะในกลุมวัยรุน เชน ผูเรียนที่ไมคอยสนใจเรียนใน

หองเรียน แตอยากจะเรียนดวยตนเองมากขึ้นดวยเอ็มเลิรนน่ิง

สวนความคิดเห็นของนักศึกษาที่วิทยาลัยการอุดมศึกษานิวแมน ที่เมืองเบอรมิงแฮม ประเทศอังกฤษ

(Newman College Higher Education in Birmingham, 2006) ซึ่งสรางเว็บไซตใหความรูเกี่ยวกับ

เอ็มเลิรนน่ิง และไดรวบรวมขอด-ีขอเสียของเอ็มเลิรนน่ิงไว ซึ่งสามารถสรุปโดยสังเขปดังตอไปน้ี

ขอดีของเอ็มเลิรนน่ิง

1. มีความเปนสวนตัว และอิสระที่จะเลือกเรียนรู และรับรู

Page 25: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

22

2. ไมมีขอจํากัดดานเวลา สถานที่ เพิ่มความเปนไปไดในการเรียนรู

3. มีแรงจูงใจตอการเรียนรูมากขึ้น

4. สงเสริมใหเกิดการเรียนรูไดจริง

5. ดวยเทคโนโลยีของเอ็มเลิรนน่ิง ทําใหเปลี่ยนสภาพการเรียนจากที่ยึดผูสอนเปนศูนยกลาง ไปสูการมี

ปฏิสัมพันธโดยตรงกับผูเรียน จึงเปนการสงเสริมใหมีการสื่อสารกบัเพื่อนและผูสอนมากขึ้น

6. สามารถรับขอมูลที่ไมมีการระบุชื่อได ซึ่งทําใหผูเรียนที่ไมมั่นใจกลาแสดงออกมากขึ้น

7. สามารถสงขอมูลไปยังผูสอนได อีกทั้งกระจายซอฟตแวรไปยังผูเรียนทุกคนได ทําใหผูเรียนทุกคนมี

ซอฟตแวรรุนเดียวกันเร็วกวาการโทรศัพท หรืออีเมล

8. เคร่ืองคอมพิวเตอรแบบพกพา เคร่ือง PDA หรือโทรศัพทมือถือที่ใชสําหรับเอ็มเลิรนน่ิงน้ัน ชวยลดความ

แตกตางทางดิจิตัลเน่ืองจากราคาเคร่ืองถูกกวาคอมพิวเตอร

9. สะดวกสบายและมีประสิทธิภาพทั้งในสภาพแวดลอมทางการเรียนและการทํางาน

10. เคร่ืองประเภทพกพาตางๆ สงเสริมใหผูเรียนมีความกระตือรือรนทางการเรียนและมีความรับผิดชอบตอ

การเรียนดวยตนเอง

นอกจากน้ีผูเขียนยังอยากจะย้ําวาความสําเร็จ และความนิยมของ Mobile Learning ในอนาคตที่จะมี

เพิ่มขึ้นเร่ือย ๆ น้ัน ขึ้นอยูกับ เทคโนโลยีตาง ๆ ที่ใหการสนับสนุนดวย ยกตัวอยางเชน การมี Browser ที่เหมาะสม

กับ Mobile Device ดังที่คาย Nokia ไดออก S60 ซึ่งเปน Browser ที่ยอขนาดของเว็บไซตปกติ (Scaling down

the page) ใหแสดงผลไดอยางดีบนหนาจอเคร่ืองคอมพิวเตอรขนาดพกพาได สวน Browser ตระกูล Opera จาก

ประเทศนอรเวยน้ันก็มี Small Screen Rendering ซึ่งชวยจัดเอกสารบนหนาเว็บใหเหมาะกับขนาดของจอบน

เคร่ืองคอมพิวเตอรขนาดพกพาอีกเชนกัน (Greene, 2006)

ขอเสียของเอ็มเลิรนน่ิง

1. ขนาดของความจุ Memory และขนาดหนาจอที่จํากัดอาจจะเปนอุปสรรคสําหรับการอานขอมูล แปนกด

ตัวอักษรไมสะดวกรวดเร็วเทากับคียบอรดคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ อีกทั้งเคร่ืองยังขาดมาตรฐาน ที่ตอง

คํานึงถึงเมื่อออกแบบสื่อ เชน ขนาดหนาจอ แบบของหนาจอ ที่บางรุนเปนแนวตั้ง บางรุนเปนแนวนอน

2. การเชื่อมตอกับเครือขาย ยังมีราคาที่คอนขางแพง และคุณภาพอาจจะยังไมนาพอใจนัก

Page 26: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

23

3. ซอฟตแวรที่มีอยูในทองตลาดทั่วไป ไมสามารถใชไดกับเคร่ืองโทรศัพทแบบพกพาได

4. ราคาเคร่ืองใหมรุนที่ดี ยังแพงอยู อีกทั้งอาจจะถูกขโมยไดงาย

5. ความแข็งแรงของเคร่ืองยังเทียบไมไดกับคอมพิวเตอรตั้งโตะ

6. อัพเกรดยาก และเคร่ืองบางรุนก็มีศักยภาพจํากัด

7. การพัฒนาดานเทคโนโลยีอยางตอเน่ือง สงผลใหขาดมาตรฐานของการผลิตสื่อเพื่อเอ็มเลิรนน่ิง

8. ตลาดของเคร่ืองโทรศัพทมือถือมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว พอพอกับเคร่ืองที่สามารถตกรุนอยางรวดเร็ว

9. เมื่อมีผูใชเครือขายไรสายมากขึ้น ทําใหการรับสงสัญญาณชาลง

10. ยังไมมีมาตรฐานความปลอดภัยของขอมูล

นอกจากน้ี คีออท (Keough, 2005) ยังไดระบุขอดอยที่สําคัญของเอ็มเลิรนน่ิงอีกดวยน่ันคือ เอ็มเลิรนน่ิง

ขึ้นอยูกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ไมวาจะเปนการใชเคร่ือง และการสงสัญญาณ

การประยุกตใช M-Learning ดานหลักสูตรและดานการสอนและการนํามาใชในประเทศไทย

การประยุกตใช M-Learning ในดานหลักสูตร และการสอน เน่ืองจาก M-Learning เปนการเรียนรู โดย

ใชอุปกรณคอมพิวเตอรแบบพกพาที่เชื่อมตอกับขอมูลแบบไรสายที่สามารถเขาถึงไดทุกที่และทุกเวลา ประกอบกับ

จํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอรแบบพกพาที่ใชเปนเคร่ืองมือน้ันมีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางเร่ือย ๆ

จากบทความของดร.พูลศรี เวศยอุฬาร ไดกลาวไวในบทความเกี่ยวกับ Mobile Learning

(M-Learning) การเรียนทางเครือขายไรสายไววา ในทางปฏิบัติแลว เอ็มเลิรนน่ิงเปนอีเลิรนน่ิงที่ผูเรียนใชอุปกรณ

คอมพิวเตอรแบบพกพา เพื่อเขาถึงบทเรียน และเพิ่มพูนความรูใหกับตนเองได นอกจากน้ีตามหลักการแลวอีเลริ

นน่ิงเปนสวนหน่ึงของดีเลิรนน่ิง (D-Learning) หรือคําเต็ม Distance Learning ซึ่งหมายถึงการเรียนทางไกล

น้ันเอง ดังน้ันเพื่อใหเห็นความสัมพันธของ การเรียนรูทั้ง 3 รูปแบบ ไดแก เอ็มเลิรนน่ิง, อีเลิรนน่ิง และดีเลิรนน่ิง

(M-E-D-learning) และรูปแบบการศึกษาในปจจุบัน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา

15 ที่วาการจัดการศึกษาน้ันมี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย

ดังมีรายละเอียดดังตอไปน้ี

1. การศึกษาในระบบ (Formal Education) เปนการศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร

ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอน เชน

การศึกษาในโรงเรียน และมหาวิทยาลยัในหองเรียนแบบปกต ิ

Page 27: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

24

2. การศึกษานอกระบบ (Non - Formal Education) เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนด

จุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไข

สําคัญของการสําเร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพ

ปญหาและความตองการของบุคคลแตละกลุม

3. การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) เปนการศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตาม

ความสนใจ ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม

สื่อ หรือแหลงความรูอื่น ๆ

ทั้งน้ีสถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึงหรือทั้งสามรูปแบบก็ได ความสัมพันธของ

รูปแบบการเรียนรูทั้ง 3 รูปแบบ (M-E-D-learning) และการจัดการศึกษา 3 รูปแบบสามารถแสดงไวในรูป

รูปความสัมพันธของรูปแบบการเรียนรู และการจัดการศึกษา

จากรูปความสัมพันธของรูปแบบการเรียนรู และการจัดการศึกษาแสดงใหเห็นไดกวา การจัดการศึกษาน้ัน

มีสวนที่เลื่อมกันอยูเน่ืองจากบุคคลที่มีความประสงคจะทําการศึกษาน้ันอาจจะใชบริการของการจัดการศึกษาทั้ง 3

แบบพรอมกันได ทางดานการศึกษาทางไกลน้ันก็เปนระบบการศึกษาที่สามารถเกิดขึ้นไดในแตละประเภทของการ

จัดการศึกษาเชนกัน สวนอีเลิรนน่ิงน้ันก็เปนสวนหน่ึงที่เกิดขึ้นในดีเลิรนน่ิง หรือการศึกษาทางไกล และเอ็มเลิรนน่ิง

ก็เปนสวนหน่ึงของอีเลิรนน่ิงน้ันเอง ทั้งน้ี เปนที่นาสังเกตวาทั้งอีเลิรนน่ิงและเอ็มเลิรนน่ิงน้ันอาจจะนํามาใชไดใน

การจัดการศึกษาทุกแบบ เอ็มเลิรนน่ิงกําลังกาวเขามาเปนการเรียนรูคูกับสังคมอยางแทจริง เน่ืองจากความเปน

อิสระของเครือขายไรสาย ที่สามารถเขาถึงไดทุกที่ ทุกเวลา อีกทั้งจํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอรแบบพกพาที่ใชเปน

เคร่ืองมือน้ันมีจํานวนเพิ่มขึ้นเร่ือย ๆ อยางไรก็ดีสิ่งที่สําคัญยิ่งของเอ็มเลิรนน่ิงน้ันอยูที่การเรียนรู และการมุงพัฒนา

Page 28: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

25

เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพไดอยางแทจริง

ในอีกดานหน่ึง ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน ยังไดกลาวถึง M-Learning ไววา สําหรับประเทศไทยน้ัน ไดมี

การนําเอ็มเลิรนน่ิงมาใชกันบางแลว

- ตัวอยางที่หน่ึงคือที“่มหาวิทยาลัยรามคําแหง” ซึ่งใหนักศึกษาสามารถดาวนโหลดเทปการบรรยายเพื่อ

นํามาใชในโทรศัพทมือถือไดผานทางเว็บเอ็มเลิรนน่ิงของทางมหาวิทยาลัย (www.m-learning.ru.ac.th)

- ตัวอยางที่สอง คือ ที่ "วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ” มีการทดลองใช

เอ็มเลิรนน่ิงในการสอนภาษาอังกฤษ (mlearn.cide.au.edu)

- ตัวอยางที่สาม คือ ที่ “มหาวิทยาลัยหอการคา” มีการใชเอ็มเลิรนน่ิงในการเรียนการสอนเร่ิมใชใน

หลักสูตรเอ็มบีเอ (MBA) โดยนักศึกษาจะไดรับแจกมือถือไอโฟนสามจีความจุ 8 กิกกะไบต คนละ1 เคร่ือง

ใชสําหรับดาวนโหลดไฟลการเรียนการสอนแตละคาบเพื่อศึกษาและทบทวนบทเรียนตางๆ ไดสะดวกขึ้น

ตัวอยางที่สี่ คือ ที่ “มหาวิทยาลัยรังสิต” ในระบบการศึกษาทางไกลผานอินเทอรเน็ต (RSU Cyber

University) ไดรวมกับบริษัทสามารถเทเลคอมจํากัด (มหาชน) พัฒนาระบบดานการศึกษาทางไกลผาน

อุปกรณเคลื่อนที่แบบไรสาย

แนวโนมเอ็มเลิรนน่ิง

นับเปนเวลากวา 10 ปแลวที่เอ็มเลิรนน่ิงไดเติบโตขึ้นมาจากการวิจัยเล็ก ๆ จนกลายเปนโครงการที่สําคัญ

ในหลายหนวยงาน อาทิ สถานศึกษา หนวยงานภาครัฐและหนวยงานเอกชน เปนตน ถึงป พ.ศ. 2552 เอ็มเลิรนน่ิง

ก็ยังถือวาอยูในชวงเร่ิมพัฒนา เพราะสวนใหญมีการนําเอ็มเลิรนน่ิงมาคนควาวิจัยมากกวาการนํามาใชจริง เอ็ม

เลิรนน่ิงยังไมเปนที่แพรหลายมากนักก็เปนเพราะวายังมีอุปสรรคในเร่ืองของความสามารถ และการประยุกตใชของ

โทรศัพทมือถือและอุปกรณเคลื่อนที่ตาง ๆ ถาในอนาคตมีการพัฒนาเทคโนโลยีดานอุปกรณเคลื่อนที่ใหมี

ความสามารถมากขึ้นและมีความยืดหยุนในการประยุกตใชก็เปนที่คาดไววา เอ็มเลิรนน่ิงจะเปนที่ยอมรับอยาง

แพรหลายตอไปอีกประเด็นหน่ึงที่ควรพิจารณาในการพัฒนาเทคโนโลยีดานอุปกรณการเคลื่อนที่ก็คือ การรักษา

ความปลอดภัยไอที เพราะถึงป พ.ศ. 2552 มีการกลาวขวัญในดานการความปลอดภัยไอทีเปนอยางมากสวน

ประเด็นดานการปลอดภัยก็อาจเปนอีกประเด็นหน่ึงที่ทําใหการใชเอ็มเลิรนน่ิงยังไมเปนที่แพรหลายมากนัก เพราะ

ผูเรียนหรือผูใชบริการอาจถูกละเมิดขอมูลสวนตัว ทําใหมีผลกระทบตอผลการศึกษาได

4. From Web 2.0 to Web 3.0: Educational Impacts

Page 29: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

26

ปจจุบันเทคโนโลยีมีความกาวหนาอยูตลอดเวลา หน่ึงในน้ันคือการพัฒนาจากเว็บ 2.0 ไปยังเว็บ 3.0 การ

เปลี่ยนแปลงขางตน จึงสงผลกระทบตอการจัดการเรียนรูอยางหลีกหนีไมพน ในที่น้ีจึงขอนําเสนอประเด็นตาง ๆ

ที่เกี่ยวของกับเว็บ 2.0 และ 3.0 ที่สงผลกระทบตอการจัดการศึกษา ดังน้ี

ความหมายของ web 2.0

คําวา "Web 2.0" ถูกใชเปนคร้ังแรกในเดือนมกราคมป 1999 โดย DiNucci ที่ปรึกษาในการออกแบบ

ขอมูลอิเล็กทรอนิกสในบทความ "Fragmented Future" จากน้ันยังไมมีผูใหความหมายไดอยางชัดเจน ตอมา

Robb (2002) ไดเขียน “Web 2.0 คืออะไร” โดยกลาวไววา “Web 2.0 เปนระบบที่หยุดรูปแบบรุนเกาที่เปน

ลักษณะของเว็บไซตสวนกลางแตไดเปลี่ยนแปลงโดยเนนเว็บไซด และอินเตอรเน็ต” ในป 2004 เร่ิมจะไดรับความ

นิยมมากขึ้นเมื่อบริษัท O'Reilly media และ MediaLive จัดการประชุม “Web 2.0 conference” โดย John

Battelle and Tim O'Reilly ไดสรุปคําจํากัดความไววา “Web 2.0 เปรียบเสมือนธุรกิจ ซึ่งเว็บไซตกําลัง

กลายเปน platform หน่ึงที่อยูเหนือการใชงานของซอฟตแวร โดยไมยึดติดกับตัวซอฟตแวรเหมือนระบบ

คอมพิวเตอรที่ผานมาโดยมขีอมูล ที่เกิดจากผูใชหลายคน (ตัวอยางเชน บล็อก) เปนตัวผลักดันความสําเร็จของ

เว็บไซตอีกตอหน่ึง ซึ่งเว็บไซตในปจจุบันมีลักษณะการสรางโดยผูใชที่อิสระ และแยกจากกัน ภายใตซอฟตแวรตัว

เดียวกัน เพื่อสรรคสรางระบบใหกอเกิดประโยชนในองครวม”

คุณลักษณะ และองคประกอบของ Web 2.0

Web 2.0 ทําใหผูใชสามารถทํามากกวาการดึงขอมูลแทนที่จะเปนเพียงการอานอยางเดียว ผูใชมีสวนรวม

สามารถไปแสดงความคิดเห็นในบทความหรือในเว็บไซต ซึ่งเจาของเว็บไซตในปจจุบันอาจเปนเพียงใครก็ไดที่

ตองการเขามาเปดเว็บไซตไวแลวเชิญชวนใหคนทั่วไปเขามามีสวนรวมในการสรางเน้ือหาและนําเสนอขอมูลผาน

เว็บไซตของตนเอง รวมถึงการเปนศูนยกลางในการแลกเปลี่ยนไฟลในรูปแบบตาง ๆ

องคประกอบของ web 2.0

Ross Dawson (2007) ไดกลาวถึงองคประกอบของ web 2.0 โดยแบงเปน 4 กลุม ตามลักษณะของ

เคร่ืองมือและบริการคือ

1. Web Application

2. Content Sharing

3. Recommendation/filtering

4. Social Network

Page 30: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

27

Ross Dawson เชื่อวาเว็บ 2.0 น้ัน เปนการทํางานรวมกันระหวางสองลักษณะเคร่ืองมือและบริการ

ดังกลาว ซึ่งแสดงเปนแผนผังไดดังน้ี

ประเภทของ Web 2.0

Web 2.0 ที่ใชเปนเคร่ืองมือ สามารถแบงประเภทได ดังน้ี

1. เปนเคร่ืองมือที่ใชในการแกไขภาพ เชน aviary, lunapic, picnik 2. เปนเคร่ืองมือที่ใชในการใหความรวมมือออนไลน เชน google docs, skrbl, scribbla

3. เปนเคร่ืองมือที่ใชเปนเครือขายสังคม เชน edmodo, twitter, groups.google

4. เปนเคร่ืองมือที่ใชในดานศิลปะ เชน flockdraw, edu.glogste, sumopain

5. เปนเคร่ืองมือที่ใชในดานวิดีโอ เชน youtube, teachertube, edutube

Web Application

Social Network

Cont

ent S

harin

g Recom

mendation/filtering

แอพพลิเคชั่นที ่ใหบริการแบงปนขอมูล

Blog

Wiki

RSS feed

แอพพลิเคชั่นที ่ใหบริการเครื่องมือ/รวมรวมคุณลักษณะ

Online Office

Search Engine

บริการแบงปนขอมูลโดยเครือขายสังคม

Blog

Video Music Photo Sharing

Wiki

Social bookmark

บริการกรองขอมูลรวมกัน

New community

Geo Social Networking

Page 31: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

28

6. เปนเคร่ืองมือที่ใชในการนําเสนอ เชน slideshare, vuvox, prezi

7. เปนเคร่ืองมือในการทําMind Mapping เชน padlet, bubbl.us, mywebspiration

8. เปนเคร่ืองมือที่ในการแปลงไฟล เชน zamzar, mediaconverter

Web 2.0 application

Web 2.0 สามารถแยกไดชัดเจนวาเทคโนโลยีและซอฟแวรเปนเร่ืองเกี่ยวกับการใหบริการการ

ทํางานรวมกันบนเว็บไซด และซอฟแวรที่เอื้อใหเกิดการมีสวนรวมของผูใชในการเรียนรู การสรางความรูและชวย

เพิ่มการรับรู โดยสามารถแบงประเภทได ดังน้ี

1. แบบบูรณาการ

- Desktop เชน Google Homepage, Clic!Dev, Computadora, Desktoptwo, eskobo,

eyeOS, Favoor, HomePortals, NetVibes, Nowsy, ORCA Desktop, Pageflakes, Protopage, Windows

Live, YouOS, YourMinis, Zimbio, XIN

- Office suites เชน Google Docs, Zoho

- Boards เชน Stixy, YouFig.com

- Feed Reader เชน Google Reader, Bloglines, FeedLounge, Feeds 2.0, NewsAlloy,

NewsGator, Newshutch, Rojo, Wizag

2. การสื่อสาร

- Email เชน Gmail, Hotmail, Mailroom, Simdesk, Webmail.us, Yahoo! Mail, Zimbra

Collaboration Suite

- Fax เชน eFax, InterFax, TrustFax

- Feed Processor เชน Feed Digest, FeedBlitz, FeedBurner, Feeds2Be, SocialMail,

Spanning Salesforce, Teleflip

- File Sender เชน YouSendIt, Approver.com, DropLoad, DropSend, Krunch,

MailBigFile, Gigafile

- Instant Messenger เชน Meebo, Campfire, eBuddy.com, Gabbly, JumpChat, Kool

IM, Lingr, Mabber, MSN Web Messenger, Wablet

- Polls เชน Zoho Polls, dPolls, PollGenius, PollPub.com, QuestionForm

- Voicemail เชน SpinVox, Aptela, GotVoice, Odeo

- Web Conferencing เชน Webex, GoToMeeting, Dimdim

Page 32: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

29

- Voice over IP เชน Vyew

- Microblogging / status เชน Jaiku, Twitter, Pownce

3. การใชงานการเขียน

- Notepad เชน Gmail, Fleck, Google Notebook, Helipad, Magnoto, Posticky.com,

shortText.com, SnapBits, SNIPPit, StickyTag, stikkit, Workspace, Wridea

- Weblog (blogs) เชน WordPress, Blogger, Blogtronix, TypePad

- Word Processor เชน GoogleDocs, Zoho writer, writeboard.com, YourDraft,

writewith.com, thinkfree, Coventi, MoonEdit, ajaxWrite, gOFFICE Word Processing, iNetWord,

RallyPoint

- Desktop Publishing เชน gOFFICE Desktop Publishing

- Document Manager เชน EchoSign, Alfresco, Blinksale, FreshBooks, Koral,

ShareMethods

- Web Publishing เชน Google Pages, Blockstar, Freewebs, Office Live, SiteKreator,

Socialtext, Synthasite, Weebly, Weebly, Wetpaint

- Note Taking เชน NoteTango!, NoteMesh, NoteCentric

- Flashcard เชน SharingStudyStack, Quizlet, FlashCardExchange

- Wikis เชน wikispaces, Jotspot, Daniel K. Schneider

- Other collaborative writing เชน YouFig.com, BricaBox

4. หนาเว็บและเว็บไซต เชน Pageflakes, Facebook, Workstreamer, Spruz

5. การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล

- เคร่ืองมือการสํารวจออนไลน เชน Requestio, Typeform

- เคร่ืองคิดเลข เชน Google Calculator, Calcoolate, Instacalc

- Spreadsheets เชน ajaxXLS, EditGrid, gOFFICE Spreadsheets, iRows, Num Sum,

Sheester, ThinkFree Calc, wikiCalc, XCellery

6. การจัดการขอมูลและการเก็บ

- ฐานขอมูล เชน Google Base, Dabble DB, Zoho Creator, Baseportal, Bitcut, Google

gears, Caspio Bridge, eUnifyDB, Lazybase, MyOwnDB, QuickBase, Online CMS & Knowledge

Management System, Knowledge Base Software & Online FAQ

- File hosting เชน 4shared, Box.net, fluxiom, Backpack, Omnidrive, Openomy,

Streamload, Strongspace, Xmail Hard Drive, allmydata

Page 33: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

30

7. บุคมารคสังคมและการอางอิง

- Bookmarks เชน BlinkList, BlogMarks, Blue Dot, Clipmarks, Cogenz, ConnectBeam,

, Furl, Google Bookmarks, listal, LookLater, ma.gnolia, Netvouz, Raw Sugar, Simpy, Spurl, Yahoo!

My Web, zurpy

- Reference managers เชน Connotea, LibraryThing

- Navigation trails เชน Trailfire

8. เครื่องเลนสื่อและสิ่งประดิษฐ Digital รวมกัน

- จัดการภาพ เชน Flickr, 23, AllYouCanUpload, Riya, SmugMug, Zenfolio, Zoto

- Video and Podcasts เชน Youtube, Video.Google, ClickCaster

- เคร่ืองเลนเพลง เชน MP3tunes, ajaxTunes, Jinzora, last.fm, Pandora, Streampad

9. รูปแบบแปรรูป

เชน http://media-convert.com, http://zamzar.com, http://pdfmenot.com

10. การแกไขมัลติมีเดียการนําเสนอและการวาดภาพ

- การแกไขภาพ เชน Snipshot, PXN8, Phixr, Pixer

- การนําเสนอ เชน Zoho Show, AJAX-S, Empressr, fliptrack, gOFFICE Presentations,

Preezo, S5, Scooch, Slide, Slideshare, Spresent, ThinkFree Show, Thumbstacks.

- Drawing / whiteboards เชน Gliffy, ajaxSketch, Cumulate Draw, Imagination

Cubed, LiThA-Paint.

- Graphs เชน CreateAGraph, Chartle.net, Wordle, ChartGo.com

- UML เชน yUML.

- Outliner เชน iOutliner, iJot, Listigator, ListPool, Nelements, SproutLiner

- เคร่ืองมิกซเสียง เชน RAZZ Mixer

- ตัดตอวีดีโอ เชน Jumpcut, eyespot

- รวมในหน่ึงเดียว เชน Aviary

11. การทําแผนท่ีและการอภิปรายแนวคิดแผนภาพ

- Mind mapping and concept maps เชน Mayomi, Bubbl.us, Mindomo,

MindMeister, Gliffy Online, Drop mind

- การอภิปราย เชน CoPe_It

12. เครือขาย

- รายชื่อผูติดตอ เชน LinkedIn, Plaxo, Plugoo, Bebo, Yahoo! 360, Multiply

Page 34: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

31

- สถานที่ เชน Ning, Facebook

13. จัดงาน (เฉพาะสําหรับการศึกษา)

- จัดงานสวนบุคคล เชน Stu.dicio.us

- โครงการดานการศึกษา เชน NoteStar

- การบาน เชน GradeFix

- เคร่ืองมือครู เชน Gradebook, Chalksite, iversity, Engrade

- E-Portfolios เชน See Learning e-portfolios, DIGIcation

14. ระบบการจัดการเรียนรู / E-Learning

เชน Haiku LMS (Haiku), LearnHub, Mindpicnic, Unison

15. จัดงาน

- อเนกประสงค เชน Scrybe

- ปฏิทิน เชน Google Calendar, 30 Boxes, CalendarHub, Epointment, HipCal, Jotlet,

Kiko, Planzo, Spongecell, TimeBridge, Trumba,

- vivapop เชน Famundo

- จัดงานสวนบุคคล เชน Zoho Planner, Athyrium, MyTicklerFile, SynapseLife, Tracks,

TracksLife, voo2do.

- โครงการ เชน See also, Zoho Project, OnStage Project Portal

- ผูจัดการกลุม เชน CollectiveX, AirSet, BlueTie, Central Desktop, eloops.com,

Foldera, GroupLoop, GroupSharp, HiveLive, TeamWork Live, Todoz, WebEx WebOffice.

- Task Manager เชน Ta-da Lists, Bla-bla List, e2doList, iPrioritize, Joe's Goals,

Orchestrate, Remember The Milk, Rough Underbelly, TaskFreak!, TaskTHIS, tasktoy, Toodledo,

Tudu Lists, Wallnote,Remember the milk, Asana.com

- ติดตามเวลา เชน Tick, 14Dayz, Beeplet, clockodo, Harvest, Deskmeister,

16. การพัฒนาและ WebOS

- On-line เคร่ืองมือในการพัฒนาเว็บ เชน Web2Rain

- การกําหนดคา On-line และ hostring การใชงานเว็บ เชน web widget and mashup,

Ning, Coghead, Dapper, Mashery, Morfik, Pingdom.

- ระบบปฏิบัติการ เชน web operating system

Page 35: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

32

17. สวนขยายบราวเซอร เชน Zotero

18. อ่ืน ๆ

- CRM เชน SugarCRM, Relenta CRM, Salesboom, Salesforce.com.

- Clipboard เชน cl1p

- พรอมรับคําสั่ง เชน YubNub, JS/UIX

- ติดตามคาใชจาย เชน foonance, billQ, ClearCheckbook, Mvelopes, OneStatement.

- การออกแบบฟอรม เชน Wufoo, FormLogix, FormSpring, Icebrrg, jotForm, Sidewalk,

Sidewalk, The Form Assembly

- เคร่ืองพิมพ เชน Kinko's, Big Blue Saw, Lulu.

- เคร่ืองสแกน scanR, Mytago

- Utilities เชน Timeline, emurse, FiveRuns, MyOpenID, Naymz, simplifid, Zamzar.

Web 2.0 service

จากการศึกษาจะเห็นไดวา web 2.0 จะมีความเกี่ยวของกันของในดาน service และ application ซึ่ง 2

ตัวน้ีจะมีการทํางานรวมกัน ตัวอยาง Web 2.0 บริการออนไลนและการใชงาน มีดังน้ี

1. การบัญชีการเงินและใบแจงหน้ี เชน Free Agent, FreshBooks, LessAccounting, Pulse,

Ballpark, Mint, Outright, ronin

2. การตลาดอีเมล เชน MailChimp, CampaignMonitor, OtherInbox

3. CRMการทํางานรวมกัน และผลผลิต เชน 5pm, Basecamp, Socialcast, Goplan, Onehub,

Planning Center Online, Tracking time, Seavus DropMind, Officevp, SUBERNOVA, colaab, Nirvana,

planzome

4. เครื่องมือสื่อสังคม เชน Dialogix, Gigya’s, nomee, Shout'Em, Youmeo

5. แชรไฟลและการตรวจสอบ เชน Fileshare HQ, Reinvigorate, W3roi, freelancerkit,

SugarSync, FileGears

6. เว็บแอพลิเคชันอ่ืน ๆ ท่ีนาสนใจ เชน CoTweet, Site Remark, BigContacts, BuySellAds.com,

CrowdSound, Task.fm, Lifetick, iamnews, Gist, Product Planner การประยุกตใชทางการศึกษา

พัฒนาการของเว็บ 2.0 ทําใหบทบาทของผูใชเว็บไซตเปลี่ยนแปลงไป กลาวคือ เดิมผูใชเว็บไซตเปน

ผูเสพขอมูลที่อยูบนเว็บเทาน้ัน แตปจจุบันผูใชเว็บไซตมีบทบาทเปนทั้งผูสรางและผูเสพ ดังที่ Brian Kingsley

(n.d.) กลาวไววา เว็บ 2.0 ทําใหเกิดการสื่อสารสองทาง การทํางานรวมกันและการแบงปนขอมูลความรู

Page 36: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

33

คุณสมบัติดังกลาวทําใหเว็บ 2.0 กลายเปนเคร่ืองมือสําคัญในการเรียนรูของผูเรียนและการจัดการเรียนรู

ของผูสอนในสังคมปจจุบัน สอดคลองกับความสําคัญของเว็บไซตทีม่ีตอการจัดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง

Randy Rodgers (2008) กลาวไววา การอานหรือเขียนบนเว็บไซตเปนเคร่ืองมือสําหรับการเรียนและการจัดการ

เรียนรูในศตวรรษที่ 21

เว็บ 2.0 มีอยูหลายแบบ เชน Blog, Wikis, Video Web, Podcasting, Teleconferencing, Photo

Management, Office Tool, Social Network แตละแบบมีคุณลักษณะที่แตกตางกัน ผูสอนสามารถนําไปใชใน

การศึกษาไดตามความเหมาะสม อยางไรก็ตาม ในทีน้ีขอนําเสนอเทคโนโลยีที่สามารถนํามาใชกับการจัด

การเรียนรู ดังน้ี

Photo Management and sharing Website

Photo Management and sharing Website เปนเว็บไซตสังคมออนไลนประเภทหน่ึง ที ่

ใหบริการฝากภาพออนไลน จัดการภาพถาย ทั้งยังสามารถแบงปนรูปภาพหรือซื้อขายรูปภาพกันไดอีกดวย อาทิ

Photobucket, Flickr, Zoomr, Glowfoto เปนตน

Ryan Birkemose (n.d.) เสนอแนวทางการใช Flickr เปนหองเรียนเสมือนในการจัดการเรียนรูแบบ

รวมมือ (collaborative learning) คือ ผูเรียนสามารถสรางกลุมและเรียนรูรวมกันแบบออนไลน โดยทั้งผูเรียน

และผูสอนสรางคําอธิบายและขอความสื่อสารกันในรูปแบบของภาพ และสําหรับผูเรียนในระดับ อุดมศึกษายัง

สามารถใชจัดการเรียนรูแบบไมมีผูสอน เชน การสอนวิทยาศาสตร ผูสอนสามารถสรางภาพใน Flickr แสดง

ขั้นตอนการทดลองใหผูเรียนไดปฏิบัติตาม นอกจากน้ียังไดเสนอตัวอยางการใช Flickr ในการจัดการเรียนรูสําหรับ

ครูผูสอนภาษา กลาวคือ ผูสอนสามารถมอบหมายงานใหนักเรียนทาง Flickr Home Page ของนักเรียน โดยให

นักเรียนเลาเร่ืองดวยภาพตามจํานวนภาพที่ครูกําหนด

David Jake (n.d.) เสนอแนวทางในการใช Flickr ในการจัดการเรียนรูเพื่อเพิ่มทักษะการดู (visual

literacy skills) ทักษะการเขียนสรางสรรค ทักษะการเขียนสื่อความ ดวยการกําหนดภาพทั้งภาพเดี่ยวและชุดภาพ

เพื่อใหผูเรียนเขียนเลาเร่ืองจากภาพ การใช Flickr ทําใหผูเรียนมีสวนรวมในการพัฒนาเร่ืองทางออนไลนรวมกัน

Richard Solomon (2011) เสนอแนวทางการใช Photobucket ในการจัดการเรียนรูเพื่อสงเสริมการ

เรียนรู โดยแสดงตัวอยางการใชแบงปนภาพในรูปแบบสไลดภาพทาง Photobucket ในการรวบรวมผลงานการ

ของนักเรียนเปน “พอตฟอลิโอภาพ” ของชั้นเรียน

Office Tool

Office tool หรือ Produdtivity Tool เปนเว็บไซตที่ใหบริการเคร่ืองมือในการผลิตงานในรูปแบบ Text

Document, Spreadsheet, Presentation เว็บไซตที่ใหบริการประเภทน้ีอาทิ Google Doc, Zoho,

Bazzword, Thinkfree เปนตน

Page 37: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

34

Julia Stiglitz (n.d.) กลาววา การใช Google Doc ในหองเรียนเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ

การเรียนรู สงเสริมใหเกิดการเรียนรูแบบรวมมือ พรอมทั้งเสนอแนวทางในการใช Google Doc ในการจัด

การเรียนรูไวถึง 32 วิธี ขอนําเสนอบางวิธีโดยแบงออกเปนกลุมไดดังน้ี

1. ใชในการสื่อสารเพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู

1.1 ใช Google Doc การวางแผนการสอนแบบบูรณาการรวมกับผูสอนอื่น

1.2 ใช Google Doc เขียนขอความถึงผูสอนอื่นในทีม

1.3 ใช Google Doc แบงปนแผนการจัดการเรียนรูในโรงเรียน

1.4 ใช Google Doc ใชสื่อสารกับผูปกครอง

2. ใชในการจัดการเรียนรู

2.1 ใช Google Doc ในการสอนกระบวนการเขียน โดยมอบหมายภาระงานซึ่ง

สามารถทําแบบเดี่ยวหรือแบบรวมมือก็ได

2.2 ใช Spread sheet ติดตามงานของผูเรียน

2.3 ใช Google form และ Spread sheet ในการทดลองและเก็บขอมูลแบบสอบถาม

2.4 ใช Google Calendar ในการนัดหมายนักเรียน

3. ใชในการวัดและประเมินผล

3.1 ใช Google form ในการประเมินผลกอนเรียน

3.2 ใช Google Doc Presentation ในการนําเสนองาน และเก็บผลงานผูเรียน

Social Network

Stan Bumgardner และ Kirk Knestis (2011) กลาววา Social Network คือ เทคโนโลยีที่เชื่อมโยง

บุคคลเขาหากันในรูปแบบสังคมเสมือน และเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงวิธีการทํางาน การเลน หรือแมกระทั่งการซื้อใน

ยุคปจจุบัน วิธีการศึกษาก็เปนสิ่งหน่ึงที่จะเปลี่ยนแปลงไปดวย Social Network มีหลากหลายเว็บไซต เชน Ning,

Facebook, Twitter เปนตน

Fran Smith (2007) กลาวถึงความสําคัญของการใช Social Network ในการจัดการเรียนรูวา ใน

ปจจุบันมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองพัฒนาผูเรียนใหมีความสามารถในการติดตอสื่อสารกับสังคมโลก เพิ่มพูนทักษะ

เพื่อเปนประชากรคุณภาพในศตวรรษที่ 21 พรอมกันน้ียังไดเสนอแนวทางในการใช Social Network ในการ

จัดการเรียนรู วาผูสอนสามารถเก็บรวบรวม จัดการ และแบงปน Link เพื่อเปนตัวใหผูเรียนไดศกึษา โดยผูสอนไม

จําเปนตองมีเซฟเวอรเปนของตนเอง ผูสอนสามารถจัดการเรียนรูไดตลอดเวลาเพียงมีเคร่ืองคอมพิวเตอรและ

อินเตอรเน็ต

Margaret Rubega อางถึงใน Andrew Revkin (2011) ใช Twitter ในการจัดการเรียนรูและเปน

เคร่ืองมือในการสื่อสารกับผูเรียนในรายวิชาชวีวิทยา โดยใหผูเรียนสังเกตพฤติกรรมของนก และโพส

Page 38: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

35

พฤติกรรมที่นาสนใจของนกบน Twitter เมื่อพบเห็นพฤติกรรมเหลาน้ัน ทําใหผูเรียนไดเรียนรูตลอดเวลา ทั้งน้ี

ผูเรียนคนอื่นยังไดเรียนรูจากเครือขายรวมกันอีกดวย

Mark Sample (2011) ใช Twitter รวมกับสื่อภาพยนตร โดยใหผูเรียนเขียนขอความเกี่ยวกับ

ภาพยนตรที่ไดดู โดยมอบหมายใหนักเรียนเขียนขอความเกี่ยวกับเอเลี่ยน หลังจากไดชมภาพยนตรแนว

วิทยาศาสตรที่เกี่ยวกับมนุษยตางดาว จากน้ันใหผูเรียนใชแอพพลิเคชั่น Wardle (แอพพลิเคชั่นรวมรวมคําสําคัญ)

รวบรวมความหมายและคําอธิบายที่เกี่ยวกับเอเลี่ยน

Podcast

Podcast ยอมาจาก Personal On Demand + Broadcast คือ การเลนตามความตองการน่ันเอง

บางกระแสก็กลาวมาจาก คําวา iPod+Broadcast เน่ืองจากการรับชมในชวงแรก ๆ นิยมทําดวย iPod แตน่ันก็

แปลวาผูไมมี iPod ไมสามารถรับชมได Podcast จึงเปนการตอบโจทยที่กลาวมาไดเปนอยางดี เพราะPodcast

คือไฟลภาพหรือเสียงหรือวิดีโอที่อัพโหลดไวบนอินเตอรเน็ตเพื่อใหคนสนใจในรายการสามารถดาวนโหลด มา

รับชมไดทุกที่ทุกเวลา เพราะในปจจุบันมีเทคโนโลยีมาชวยใหรูเร่ืองราวขอมูลขาวสารไดมากและรวดเร็ว คนเราได

อยูใกลมากขึ้น อยางเชนการนําเสนอขาวของรายการทีวีหรือวิทยุ ก็ใหความสะดวกรวดเร็วในการนําเสนอขาวสาร

และอื่น ๆ ไมตองพิมพทีละขาวแตรวบรวมขาวสารมาในแตละอาทิตยทั้งขาวในประเทศและตางประเทศก็เอามา

เลาใหฟงกัน สามารถติดตาม

เหตุผลที่สําคัญ ณ ปจจุบันที่ทําให Podcast ไดรับความนิยมมาก ๆ ในตางประเทศและแมกระทั่งใน

ปจจุบันเร่ิมมีผูผลิตรายการและผูชมในบานเราเร่ิมเติบโตขึ้นมากคือ

1. ใคร ๆ ก็สามารถทํารายการได เพียงแคมีอุปกรณสําคัญ ๆ ไมกี่อยาง เชน อุปกรณบันทึกเสียง วิดีโอ

คอมพิวเตอรสําหรับการตัดตอ และการเชื่อมตออินเตอรเน็ตเพื่ออัพโหลดไฟล รายการที่ผลิตขึ้นอาจจะมีตั้งแตใช

สตูดิโอมืออาชีพหรือตัดตอที่หองนอนที่บาน เพราะความนิยมน้ีเอง แมกระทั่งสื่อใหญ ๆ ก็หันมาทํารายการเพื่อ

ตอบสนองผูชมที่มีความตองการที่หลากหลาย

2. การเลือกรับสมัครรับชมก็แสนจะงายดายหรืออยางที่เรียกวาการสมัครเพื่อขอรับชมรายการ

(Subscribe) เพียงแคมีโปรแกรมสําหรับรับชม (Podcatcher) เมื่อพบรายการที่ชอบก็แคกด Subscribe รายการ

ที่สมัครไปในแตละตอน (Episode) ก็จะดาวนโหลดมาในเคร่ืองเราอัตโนมัต ิจากคอมพิวเตอรเราอาจจะสงไฟลที่

เราชอบตอไปยังอุปกรณพกพา เชน โทรศัพทมือถือ อุปกรณฟงเพลง เลนวิดีโอแบบพกพา เพื่อไปรับฟงตอที่ไหนก็ได

3.รายการที่มีน้ันหลากลายสนองความตองการของคนหลายๆกลุมไดโดยไมจําเปนตองใหกลุมที่วาน้ันมี

มวลชนเยอะพอที่จะตองเปนกระแสหลัก เชน รายการแนะนํารถโฟลคเตา รายการทําอาหารพื้นเมือง รายการ

แนะนําสถานที่ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รายการกฎหมายเพื่อสิทธิสตรี เปนตน เพราะเน่ืองจากทางฝงผูผลิตผลิต

Page 39: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

36

ดวยตนทุนที่ต่ํามาก ไมตองมีสถานีออกอากาศ ไมมีเสาสงสัญญาณ ไมตองมีดาราคาตัวแพง ๆ มาเปนพิธีกร

รายการจึงตอบสนองคนเฉพาะกลุมไดอยางลงตัว

การวิเคราะหบทความขางตน อาจสรุปไดวา ขอดีและขอดอยของ Podcast ไดวา ขอดีคือ 1) ติดตาม

ขอมูลขาวสารไดทุกที่ทุกเวลา ทุกสวนของโลกที่เทคโนโลยีสื่อสารทั้งแบบไรสายและมีสายไปถึง และไดทั้งภาพและ

เสียง 2) สะดวกในการพกพาไปในสถานที่ตาง ๆ ผูเรียนสามารถเลือกเรียนสถานที่ใด เวลาใดก็ได และ 3) เปน

อุปกรณที่มีใชอยูแลวในชีวิตประจําวัน หากนําอุปกรณเหลาน้ีมาใชในการจัดการเรียนการสอน ก็จะเปนการเพิ่ม

ชองทางและจํานวนผูเรียนได สวนขอดอย คือ 1) จอภาพแสดงผลของอุปกรณเคลื่อนที่สวนใหญมีขนาดเล็ก ทํา

ใหไมสามารถแสดงขอมูล สารสนเทศใหผูเรียนเห็นไดอยางชัดเจน 2) การปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มอุปกรณในอุปกรณ

แบบเคลื่อนที่ทําไดยาก 3) อุปกรณแบบเคลื่อนที่ สวนมากมีขนาดหนวยความจํามีความจุนอย ทําใหมีขอจํากัดใน

การจัดเก็บไฟลประเภทมัลติมีเดีย และ 4) แบตเตอร่ีหรือแหลงจายไฟของอุปกรณเคลื่อนที่มีระยะเวลาที่จํากดั ทํา

ใหไมสามารถใชงานไดตลอดเวลา

Teleconference

Teleconference คือ การประชุมทางไกล คือ การนําเทคโนโลยีสาขาตาง ๆ เชน คอมพิวเตอร เคร่ือง

ถายโทรทัศน และระบบสื่อสารโทรคมนาคมผสมผสาน เพื่อสนับสนุนในการประชุมใหมีประสิทธิภาพ ใหบริการ

Teleconference หรือบริการโทรศัพททางไกลผาน ICQ,MSN,Net2phone เปนตน Video Teleconference

หรือการประชุมทางไกลน้ี ถูกออกแบบมาเพื่อใหคนหรือกลุมคน ซึ่งอยูกันคนละสถานที่สามารถติดตอกันไดทั้งภาพ

และเสียง โดย ผานทางจอภาพซึ่งอาจเปนคอมพิวเตอรหรือโทรทัศน ผูชมที่ฝงหน่ึงจะเห็นภาพของอีกฝงหน่ึง

ปรากฏอยูบนจอโทรทัศนของ ตัวเองและ ภาพของตัวเองก็จะไปปรากฏยังโทรทัศนของฝงตรงขามเชนเดียวกัน

คุณภาพของภาพและเสียงที่ไดจะขึ้นอยูกับความเร็วของชองทางสื่อสารที่ ใชเชื่อมตอระหวางทั้งสองฝง โดย

Teleconference มี 3 แบบดังน้ี

1. การประชุมทางไกลดวยเสียงและภาพ (Video Teleconference) ปกติเราเรียกวา Video

Conferencing อุปกรณที่ใชมี กลองถายภาพ จอภาพ ตามสถานที่ประชุมเพื่อตองการเห็นภาพและไดยินเสียง

ขณะกําลังประชุม การใชงานจะตองมีหองทํางานของ Video conference เปนพิเศษ

2. การประชุมทางไกลดวยเสียง (Audio Teleconference) คือการประชุมระหวางบุคคลที่อยูในสถานที่

หางไกล โดยการใชโทรศัพท การประชุมแบบน้ีงายตอการใชงาน เพียงใชระบบโทรศัพทติดตอ คน หรือการใช

โทรศัพทเปนกลุมก็ได

3. การประชุมทางไกลดวยคอมพิวเตอร (Computer Teleconference) จะใชคียบอรดในการสงขอมูล

ระหวางผูใช หรือมีการเชื่อมตอเทอรมินอลผานเครือขายคอมพิวเตอร

Page 40: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

37

สรุปไดวา Teleconference ชวยใหผูใชบริการไดขอมูลตาง ๆ ที่ทันสมัยรวดเร็วตอบสนองตอความ

ตองการของธุรกิจประเภทตางๆได และการติดตอสื่อสารประเภทหน่ึงที่กําลังไดรับความนิยมก็คือ การประชุม

ทางไกล โดยอาศัยอุปกรณสื่อสารสมัยใหม การประชุมทางไกลโดยการจัดอุปกรณใหผูเขารวมประชุม ซึ่งอยูคนละ

สถานที่กันสามารถประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกันไดโดยใชอุปกรณ สื่อสาร เราเรียกการประชุมแบบน้ี

วา Teleconference

Virtual World

โลกเสมือนจริง (Virtual World) คือ โลกเสมือน 3 มิติที่ถูกสรางขึ้นใน Cyber Space โดยใชโปรแกรม

สําเร็จรูปผานการเชื่อมโยงทางเครือขายอินเตอรเน็ตตาง ๆ โดยเนนใหผูเลนหรือผูใชทั่วโลก ตางมีความสัมพันธซึ่ง

กันและกันในรูปแบบตาง ๆ ที่หลากหลาย อิทธิพลของ Virtual World สงผลใหเด็กและเยาวชน และผูใหญเอง

เกิดความหลงใหล มีจํานวนผูเขาไปในโลกแหงน้ีทวีจํานวนมากขึ้นเร่ือยๆโลกเสมือน 3 มิติหรือโลกเสมือนจริง ใน

ปจจุบัน มีตัวอยางใหพวกเราไดเห็นกันหลายรูปแบบ อาทิ เครือขายสังคม เชน Hi5, Facebook เครือขายฝูงชน

เชน Crowd source - Wikipedia เครือขาย bit torrent peer to peerเครือขายแบงปนขอมูล เชน You tube,

Fickr เครือขายการพูดคุยกัน เชน MSN, ICQ, Skype เครือขายสรางหอง Virtual เชน Camfrog, Video

Conference

โลกเสมอืนจริง (Virtual World) กําลังจะใหกอใหเกิดสังคมใหมของโลกโดยไมจํากัดเชื้อชาติ ภาษา

ประเพณี วัฒนธรรม เพศ อายุ สถานที่ และระยะทาง เพียงแตผูที่เขาไปสัมผัสในโลกเสมือนจริงน้ีตองสามารถ

เขาถึงและมีทักษะของการใชเทคโนโลยีเหลาน้ันดวย ในโลกเสมือนจริง ไมจําเปนตองแสดงตัวตนที่แทจริง ไมมีการ

เผชิญหนา สามารถเลือกอยูในสังคมใดๆ ก็ไดที่เราตองการ หรือหากไมชอบก็ไปหาโลกใหมในไซเบอรไดอยาง

หลากหลายที่ตรงกับความตองการ วันหน่ึงขางหนา มนุษยอาจจะมีชีวิตอยูในโลกไซเบอร มีชีวิตอยูรวมกับผูคน

ตางๆ ในโลกเสมือนจริง ผานทางหนาจอสี่เหลี่ยมเล็กๆ หรือผานโทรศัพทมือถือ PDA , IPOD ฯลฯ แตเมื่อเงยหนา

ออกมา กับพบกับตัวตนที่แทจริงแตในโลกแหงความเปนจริง (Real World) ผูคนในอนาคตอาจจะไมมีคําวา

EMASI ตามที่ ชัยยง พรมวงศ (2551) กลาวไว คือ E - Emotion Quality (EQ)

คนจะไมมีคุณภาพทางอารมณ M - Morality Quality (MQ) คนจะขาดคุณธรรมและจริยธรรม ขาดศีลธรรมที่ดี

งาม A - Adversity Quality (AQ) คนจะขาดความอดกลั้น อดทน และฟนตัวไดชาหากพบกับความผิดหวังใน

ชีวิต S - Social Quality (SQ) คนจะไมสามารถอยูรวมสังคมกับคนอื่นๆ ได และ I - Intellectual Quality (IQ)

คนจะดอยคุณภาพทางสติปญญาและความเฉลียวฉลาด

Blogs

Blogs คือ เว็บไซตที่อนุญาตใหผูใชบริการเปนเจาของ โดยสามารถโพสขอความ หรือรูปภาพ และ

สามารถที่จะกําหนดสิทธิไดวาจะเปดเผย หรือสามารถอานไดเฉพาะบุคคลที่เปนสมาชิก Blogs มีความสะดวกใน

Page 41: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

38

การใชงาน ซึ่งแตกตางจากเว็บไซดทั่วไป ที่ตองแกไขดวยภาษา HTML หรือ ภาษาอื่น ๆ แตสําหรับ Blogs

สามารถแกไขขอความ รูปภาพ รูปแบบ ไดดวยตนเองบนเว็บไซด โดยมีลักษณะเหมือนกับ ฟรีเว็บบอรด หรือได

อารีออนไลน ที่ใหบริการทั่วไป

การใชงานโดยงายในการสราง Blogs จึงมีการนํามาประยุกตใชในการเรียนการสอน โดยใหผูเรียนไดแสดง

ความคิดเห็น ขอความ หรือความคิดเกี่ยวกับเร่ืองที่เรียนภายในกลุม หรือแลกเปลี่ยนความรูในกลุมที่เรียนดวยกัน

ผูสอนจึงสามารถสังเกตถึงแนวความคิด ความรูของผูเรียนไดจาก Blogs อีกทั้งผูสอนสามารถจัดการเรียนการสอน

สั่งงาน หรือนัดหมายผานทาง Blogs ได กลาวไดวา ขอดีของการใชบล็อก Blog ในการจัดการเรียนรู คือ 1. การ

ลดภาระ ลดคาใชจาย ลดเวลาในการทํางาน และชวยครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู และ 2. กระตุนใหเกิดการ

เรียนรู สะดวกในการเขาถึง สามารถเรียนรูไดทุกคน ทุกที่และทุกเวลา

การใช Blog ในการจัดการเรียนรูมีขั้นตอน ดังน้ี

ขั้นที่ 1 เลือกเน้ือหาที่จะใช การใชบล็อกประกอบการจัดการเรียนการสอน มิไดหมายความวาใชทั้งภาค

เรียน แตควรเลือกใชบางกรณีเพื่อกระตุนใหการเรียนการสอนมีเทคนิคที่แปลกออกไป

ขั้นที่ 2 สรางบล็อกสั่งงาน ผูสอนสราง URL เพื่อแจงใหผูเรียนทราบวาผูสอนไดสั่งงานทั้งภาคเรียนไวที่

URL ใด

ขั้นที่ 3 สรางบล็อกสงงาน ควรสราง 1 Node ตอ 1 งาน เพื่อสะดวกในการสงงานของผูเรียน และสะดวก

ในการตรวจงานผูสอน

ขั้นที่ 4 ใหผูเรียนสมัครสมาชิกและอธิบายการเรียนการสอนโดยการใชบล็อก

ขั้นที่ 5 การสงงานของผูเรียน เมื่อทําเสร็จผูเรียนจะได URL ของแตละคน หลังจากน้ันใหมาแจงสงงาน

โดยคลิกที่แสดงความคิดเห็น แลวแจง URL ของบล็อกที่ตนเองสรางไว

ขั้นที่ 6 การตรวจงานของผูสอนผูสอนเขาไปยังหองที่ผูเรียนสงงาน แลวคลิก URL ที่ผูเรียนแจงสงใน

ขอคิดเห็น

การใชบล็อก (Blog) ในการจัดการเรียนรูถือเปนอีกหน่ึงนวัตกรรมที่สามารถใชงานไดเหมาะสมกับบริบท

ของแตละโรงเรียน สถาบัน และถือเปนการเรียนรูรวมกันระหวางผูสอนและผูเรียน นับเปนการชวยเหลือพึ่งพากัน

ในการเรียนการสอนที่ดี โดยตัวอยาง Blogs ที่นํามาใชสรางเคร่ืองมือในการจัดการเรียนรู เชน

http://edublogs.org , http://wordpress-deutschland.org , http://www.edmodo.com,

https://www.blogger.com/start ฯลฯ

Page 42: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

39

Wikis

Wikis คือ Social Software ที่พัฒนาขึ้นสําหรับขอมูลสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนความรูและการแสดง

ความคิดเห็นตาง ๆ จากผูใช โดยผูใชสามารถแกไขเน้ือหาบนเพจได และสามารถใชงายโดยไมจําเปนตองเขยีน

HTML อีกทั้งสามารถประยุกตใชในการทํางานรวมกันในดานการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสอน หลาย

สถาบันการศึกษาใช wiki เพื่อแบงปนความรู ถือเปนชุมชนสําหรับการทํางานรวมกัน

Wiki มีการทํางานคลายกับการใช Blog แตมีจุดที่แตกตางกันคือ Blog สรางขึ้นเพื่อเสนอขอมูลและ

สารสนเทศตาง ๆ ตามที่เจาของบล็อกตองการนําเสนอ โดยผูอานสามารถแสดงความคิดเห็นได แตไมสามารถ

แกไขขอมูลสารสนเทศภายในบล็อกได แต wiki จะเนนใหทุกคนรวมมือกันโดยทุกคนมีสิทธิแกไขแตละหนาไดเทา

เทียมกันเพื่อปรับปรุงเน้ือหาและรูปแบบใหสมบูรณยิ่งขึ้น อีกทั้งผูใชงานสามารถสรางชุมชนของตัวเองโดยสามารถ

เขาไปอานและแกไขบทความ ไดเหมือนกับการใช webboard แตเปนการใชในยุคของเว็บ 2.0

การใช wiki ในการจัดการเรียนรู พบวา Dr.Sally Knipe จากโรงเรียนเพื่อการศึกษาของ Murray และ

Miriam Edwards มหาวิทยาลัย Charles Sturt วิทยาเขต Albury-Wodonga ไดกลาวถึงการนําเทคโนโลยี

สารสนเทศมาใชในการจัดการเรียนการสอน โดยในป 2008 มหาวิทยาลัย Charles Sturt (CSU) เร่ิมใช CSU

Interact ซึ่งเปน Learning Management System (LMS) ที่พัฒนามาจาก Sakai framework และเปนที่นิยมใช

เปนตนแบบในการพัฒนาของสถาบันการศึกษาระดับสูง

CSU Interact ใช Wiki ในการสอบ โดยใช Wiki สรางคําถามที่เกี่ยวกับความรูความเขาใจของผูเรียนใน

วิชาที่สอน แลวใหนําเสนอสิ่งที่รูเหมือนกับผูสอน คําถามในแบบทดสอบจะขึ้นอยูกับความคิดและความเขาใจใน

การสอนที่นําเสนอผานการอาน การนําเสนอ และเอกสารบรรยาย

คําถาม (จากหัวขอที่เรียนแตละสัปดาห) จะสรางโดยผูเรียน ไมใชผูสอน ในชวง 6 สัปดาหแรก ผูเรียน 10

คนจะตองตั้งคําถามใน Wiki ใหผูสอน ผูสอนจะไดคําถามทั้งหมด 60 คําถาม ผูสอนจะเลือกคําถามไปใชในการ

สอบปลายภาคตอไป โดยในการสรางคําถามแบบน้ี ผูเรียนจะตองรับผิดชอบตอการเรียนตอตัวเอง และได

ตรวจสอบเพื่อนที่เรียนดวยกัน นักเรียนจะตองมีปฏิสัมพันธกับเน้ือหาแตละสัปดาห แทนที่จะสนใจสรุปเน้ือหาตอน

ปลายภาคเพียงอยางเดียว

ผูเรียนตองสรางคําถามใหมีความแตกตาง มีหลาย "ระดับ" ของคําถามที่เหมาะกับทฤษฏีและปฏิบัติ ระดับ

ประกอบดวย ระดับ 1: คําถามใหนิยาม อธิบาย แจกแจง บอกชื่อ ระดับ 2: คําถามใหวิเคราะห เปรียบเทียบ หา

ความตาง และพยากรณ และระดับ 3: คําถามใหตัดสิน วิเคราะห คาดเดา โดยแนวการสอนที่ใชจะเปนวันที่ 1

สอนปกติ แบงกลุมผูเรียนใหอธิปรายในหัวขอที่กําหนด และสอนออนไลน สราง Vote แลวดูคําตอบ และวันที่ 2-

7 สอนปกติ อภิปรายกลุมยอย และสอนออนไลน ตอบอีเมล ดูกิจกรรมที่เกิดขึ้นใน Project, Chat

Page 43: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

40

Video web หรือ Online Video

Video web หรือ Online Video คือ การนําเสนอภาพที่เคลื่อนไหวมาพรอมกับเสียง โดยใชเทคโนโลยี

อินเทอรเน็ตและการเชื่อมตออินเทอรเน็ตความเร็วสูงในการนําเสนอ Online video เปนวิธีหน่ึงที่จะทําใหผูใช

สามารถนําเสนอผลงานของตนเอง และกระจายสูผูชมในวงกวางไดอยางรวดเร็ว และไมเสียคาใชจาย ซึ่งปจจุบัน

ไดรับความนิยมอยางแพรหลายและขยายตัวอยางรวดเร็ว เน่ืองจากเน้ือหาที่ทําเสนอในวิดีโอออนไลนไมถูกจํากัด

โดยผังรายการที่แนนอน ทําใหผูใชบริการสามารถติดตามชมไดอยางตอเน่ือง รวมทั้งผูใชสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บ

วิดีโออื่น ๆ ที่เกี่ยวของไดจํานวนมาก เชน YouTube, MSN และ Yahoo เปนตน

การใช Video web หรือ Online Videoในการจัดการเรียนรู

การนํามัลติมีเดียไปใชในหองเรียนเปนวิธีที่ดีในการใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรู วิดีโอออนไลนนับเปน

เคร่ืองมือสําหรับการเรียนการสอนมาตั้งแตป 2010 โดยเปนการเสริมบทเรียนที่นาสนใจและดึงดูดใจผูเรียนเปน

อยางดี ดังที่ เว็บไซด Edudermic ไดรวบรวม วิดีโอ 100 เร่ืองที่สามารถนํามาเปนสื่อสําหรับใชในการเรียนการ

สอน โดยแบงเปนหมวดหมูตาง ๆ ดังเชน วิดีโอที่เกี่ยวกับการศึกษาโดยทั่ว ๆ ไป, การสอนของครู ,วิทยาศาสตร

คณิตศาสตร และเทคโนโลย,ี ประวัติศาสตร ศิลปะ และสังคม ฯลฯ ซึ่งครูผูสอนสามารถหยิบไปใชในหัวขอที่

เกี่ยวของกับเน้ือหาที่ใชสอน ถือเปนสื่อที่ชวยใหผูเรียนเขาใจเน้ือหาไดอยางลึกซึ้งยิ่งขึ้น

การนําเทคโนโลยีมาเปนสื่อสําหรับการจัดการเรียนรู นับเปนสิ่งที่แปลกใหมที่ครูผูสอนและผูเรียนตอง

ปรับตัวใหเขากับสภาพสังคมในยุคปจจุบัน แตสิ่งสําคัญ คือ การเลือกใชเทคโนโลยีเพื่อเปนสื่อประกอบการสอน

ตองใชใหเหมาะสมกับผูใช เพราะผูใชเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหองคกรไดประโยชนอยางเต็มศักยภาพจากพื้นที่ใหม

แหงน้ีในโลกของการใชเทคโนโลยี และโลกของสังคมนวัตกรรม

ความหมายและคุณลักษณะของ Web 3.0

ความเจริญทางวิทยาการ ทําใหเกิดการพัฒนาอยางแพรหลาย รวมถึงการพัฒนาดานอินเทอรเน็ตดวย

ลักษณะของอินเทอรเน็ตที่พัฒนาการมาอยางตอเน่ือง นักวิชาการ (Jonathan, 2010; Cookie, 2012; Getting,

2007) ไดแบงยุคของอินเทอรเน็ตออกเปนยุคตางๆ คือ ยุคแรกหรือ web 1.0 ยุคที่สองหรือ web 2.0 และใน

ปจจุบันน้ี กําลังกาวสูยุคที่สามหรือ web 3.0

Web 3.0 เปนคําที่ใชเพื่ออธิบายขั้นตอนวิวัฒนาการของ Web 2.0 ที่มีขนาดใหญขึ้นและเขาถึงขอมูลไดดี

ขึ้น งายขึ้น เปนการเชื่อมโยงขอมูลในเว็บที่มีเน้ือหาเกี่ยวของกันทั้งภายในเว็บและภายในเครือขายของโลก มี

ฐานขอมูลที่มีความฉลาดล้ําหนาไปอยางมากเปนการใชอธิบายขอมูลรวมกับปญญาประดิษฐ จากการเพิ่มขึ้นในการ

เชื่อมตออินเทอรเน็ต ความเร็วในการใชงานเว็บมาตรฐานและความกาวหนาในคอมพิวเตอรจะมีบทบาทสําคัญใน

การวิวัฒนาการของเวิลดไวดเว็บ

Page 44: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

41

John Markoff กลาวไววา “สิ่งที่สนับสนุนใหรุน 3 ของการบริการบนอินเตอรเน็ต ซึ่งอาจจะเรียกวา

“อัจฉริยะบนเว็บ” คือ การใชขอมูลอธิบายขอมูล การคนหาดวยภาษา การมีฐานขอมูล และเทคโนโลยี

ปญญาประดิษฐทําใหสามารถใชงานไดมากขึ้นและใชงานงายขึ้น”

Nova Spivack กลาวถึง แนวโนมของ Web 3.0 ในทศวรรษที่สามของเว็บ (2010-2020) คือ

“การเปลี่ยนแปลงของเว็บจากเครือขายการใชงานที่แยกจากกันเปนทํางานรวมกัน มีการเชื่อมตอที่แพรหลายโดย

ใชอินเทอรเน็ตมือถือ เปนฐานขอมูลแบบกระจาย สามารถคนหาขอมูลไดดวยเทคโนโลยี เปนการสรางความฉลาด

ใหกับคอมพิวเตอร”

ความแตกตางของ Web 2.0 กับ 3.0 จึงอยูที่เว็บ 2.0 มีรูปแบบที่ผูเขาชมสามารถอานและเขียนได เปน

เทคโนโลยีเว็บไซดที่สามารถโตตอบกับผูใชงานได เชน บล็อก สวน Web 3.0 มีรูปแบบที่ผูชมสามารถอาน เขียน

และจัดการ คือจากที่ผูเขาชมเขาไปใชอานและเพิ่มขอมูล ผูใชก็สามารถปรับแตงขอมูลหรือระบบไดเองอยางอิสระ

มากขึ้น ดังรูปตอไปน้ี

ลักษณะของอินเทอรเน็ตในแตละยุค กลาวโดยสรุปไดวา web 1.0 เปนยุคที่อินเทอรเน็ตจะมุงนําเสนอ

ขอมูลเพียงฝายเดียวใหแกบุคคลทั่วไป web 2.0 เปนยุคที่บุคคลทั่วไปสามารถมีสวนรวมในการปรับเปลี่ยน

แบงปนขอมูลตางๆในระบบอินเทอรเน็ตได เชน การใชวิกิพีเดีย (wikipedia) ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนเน้ือหาไดโดย

Page 45: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

42

ผูรับบริการ สวน web 3.0 น้ี เปนยุคเกิดขึ้นทามกลางสังคมที่ที่อุดมไปดวยขอมูล ทําใหมีความจําเปนที่ตองมีการ

จัดการขอมูลเหลาน้ันอยางเปนระบบในรูปแบบ Metadata ทําใหเว็บกลายเปน Semantic Web ซึ่งในปจจุบัน

อาจพบเห็นไดในรูปของ Tag ทั้งน้ี อาจกลาวอีกนัยไดวา Semantic Web คือการรวมกันของฐานขอมูลแบบ

อัตโนมัติโดยใชการคาดเดาและหลักทางคณิตศาสตรเขามาชวย โดยผลลัพธของแอพลิเคชันที่สรางขึ้นบน

Semantic Web จะสงไปยังอินเทอรเน็ตและเว็บบราวเซอรซึ่งอาจฝงตัวอยูในอุปกรณตางๆ เชน โทรศัพทมือถือ

ตูเย็น โทรทัศน คอมพิวเตอร ฯลฯ (Lifeboat Foondation, 2014; Wainewright, 2005)ทั้งน้ี เทคโนโลยีที่นาจะ

มีสวนในการพัฒนาเว็บใหเปน web 3.0 สามารถประมวลไดดังน้ี

1. Artificial Intelligence หรือ AI คือระบบสมองกล ที่ชวยคาดเดาไดวาผูใชกําลังคิดหรือ

คนหาอะไรอยู

2. Semantic Web คือระบบการเชื่อมโยงขอมูลตางๆ แมตางชาติตางภาษา ใหมีความสัมพันธกัน เมื่อ

คนหาขอมูลใดๆจะมีขอมูลที่เกี่ยวของเสนอขึ้นพรอมกัน ทําใหเกิดฐานขอมูลโลก (Global Database)

3. Semantic Wiki คือการอธิบายคําคําหน่ึง คลายดิกชันนารี ซึ่งชวยใหผูใชบริการสามารถหา

ความหมายหรือขอมูลตางๆไดละเอียดและแมนยํายิ่งขึ้น

4. Ontology หรือ OWL เปนภาษาที่ใชอธิบายสิ่งตางๆใหมีความสัมพันธกัน พิจารณาจากความหมาย

ของสิ่งน้ันๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับระบบ Metadata คือภาษาที่ใชอธิบายขอมูลเชิงสัมพันธหรือ Tag

5. Composite Application คือการผสานโปรแกรมหรือบริการตางๆของเว็บตางๆเขาดวยกัน เพื่อให

ความสะดวกสบายแกผูใชบริการ

ดังน้ัน กลาวไดวา หากมีการพัฒนา Web3.0 ขึ้นอยางเต็มรูปแบบ จะกอใหเกิดประโยชนมาก กลาวคือจะ

เปนการเชื่อมโยงขอมูลใน web ที่มีเน้ือหาเกี่ยวของกันเขาดวยกันเปนเครือขายขอมูลของโลก ยังประโยชนใหเกิด

การคนควาหาขอมูลตางๆไดงายขึ้น มากขึ้นและมีประสิทธิผลขึ้น ยุคของ web3.0 จึงเปนยุคที่มีความฉลาดล้ํา

หนาไปอยางมาก นาจะนํามาซึ่งความเปลี่ยนแปลงคร้ังใหญที่ทาทายผูใชบริการ และการจัดการศึกษาที่มี

ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การจัดการเรียนรูใยยุค Web 3.0

การพิจารณาพัฒนาการของระบบอินเทอรเน็ต อาจกลาวไดวา ยุค web 1.0 เปนยุคเกษตรกรรม ยุค

web 2.0 เปนยุคอุตสาหกรรม และ ยุค web 3.0 เปนยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษาเปนสวนหน่ึงของ

กระบวนการขัดเกลาทางสังคมแตละยุค ดังน้ันสิ่งใดที่สัมพันธกับยุคน้ัน ๆ จึงตองนําเขามาเปนสวนหน่ึงของการ

จัดการเรียนรู ดวยเหตุน้ี การจัดการเรียนรูในปจจุบันจึงควรใชเทคโนโลยี web 3.0 มาเปนสวนหน่ึงในการเรียน

การสอน

Page 46: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

43

พัฒนาการการเรียนการสอนในประเทศไทยไดวิวัฒนขึ้นตามลําดับคลายกับเทคโนโลยี เชน การสอนใน

อดีตผูสอนจะเปนแหลงความรูฝายเดียวเหมือนลักษณะของ web 1.0 ที่มุงใหขอมูลอยางเดียว แตในปจจุบันซึ่ง

เปนยุค web 3.0 ผูสอนตองปรับเปลี่ยนจากผูบอก ผูเลา ไปสูการเปนผูกํากับที่คอยประสานและกําหนดทิศทาง

ของความรู เพื่อใหผูเรียนและกลุมเพื่อนไดเขาถึงขอมูลตาง ๆ เชน หนังสือเรียน หองสมุด ขอมูลชุมชน

สื่อสารมวลชน ฐานขอมูลออนไลนไปจนถึงเครือขายอินเทอรเน็ต กลาวไดวา การเรียนรูในยุคน้ี มุงเนนการทํางาน

เปนกลุมที่แตละคนจะเชื่อมโยงความคิดและการเรียนรูตอกันอยางมีปฏิสัมพันธ ซึ่งสอดคลองกับคุณลักษณะของ

web 3.0

Moravec (2013) ไดกลาวถึงความแตกตางของการจัดการเรียนรูในยุค web 1.0 - 3.0 ไวในรูปแบบ

ตารางดังน้ี

การประยุกตใช Web 2.0 – 3.0 ทางหลักสูตรและการสอน

อิทธิพลของ Web 2.0 - 3.0 กับการจัดการหลักสูตร

ปจจุบันวิวัฒนาการของสื่อใหมไดกาวหนาไปอยางรวดเร็ว และเปนที่นิยมในการนํามาใชอยางแพรหลาย

โดยเฉพาะในวงการศึกษา จึงตองประยุกตใช Web 2.0 กับการจัดการหลักสูตร ดังที่ Kommers (2011, online)

ไดกลาวไวอยางนาสนใจ คือ

1. Web 2.0 ( Blog , Wikis , Facebook , Twitter , MSN , Linkedln , Flicker , etc ) เปนสื่อที่ชวย

เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดทําหลักสูตรโดยการชวยใหการเรียนรูของผูเรียนมีอิสระในการเรียนรูมากยิ่งขึ้น ซึ่งเปน

การนําสื่อประเภทเหลาน้ีเขาไปใชในโรงเรียน จะสนองตอจุดประสงคสําคัญและเปาหมายที่เกิดขึ้นกับผูเรียนได

Page 47: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

44

2. การนําสื่อโซเซียลมีเดียมาใชในการจัดหลักสูตรในโรงเรียน ยังเปนการเพิ่มชองทางและมีความ

เหมาะสมสําหรับผูใชที่จะสามารถพัฒนารูปแบบการสื่อสารไดดวยตนเอง โดยเฉพาะการสื่อสาร การใชเว็บไซต

และยังเปนระบบการสอนที่เหมาะสมกับผูเรียนหลากหลายระดับไดอีกดวย

การประยุกตใช Web 2.0 ในประเทศไทยมีบริษัท Intel Teach Elements ไดใช Web 2.0 มอบให

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นํามาปรับใชในการศึกษา ประกอบดวย 3 หลักสูตรยอย คือ การ

จัดการเรียนรูที่เนนโครงงานเปนสําคัญ (Project-based Approaches) การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21

(Assessment in 21st Century Classrooms) และการทํางานแบบรวมมือกันดวยเคร่ืองมือที่ใชเทคโนโลยีเว็บ

2.0 (Collaboration with Web 2.0 Tools) โดยเปนหลักสูตรระยะสั้นที่มีความนาสนใจ และผูสอนยังสามารถ

เลือกศึกษาหลักสูตรดวยตนเอง การสอนจะครอบคลุมถึงสื่อการเรียนที่เปนภาพเคลื่อนไหว (Animated e-

learning) และมีแบบฝกหัดการเรียนรูที่เนนการมีปฏิสัมพันธ (Interactive exercise) ดวย ดังน้ัน ผูเขียน

เห็นวา หลักสูตรการศึกษาในอนาคตควรเปนหลักสูตรที่มีการบูรณาการสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของกับไอซีทีเพื่อ

การศึกษาในทุกกลุมวิชาอยางเปนรูปธรรม เชน หลักสูตรภาษาไทยตองมีสาระการเรียนรูเกี่ยวกับการคนควาขอมูล

จากแหลงตาง ๆ และอางอิง หลักสูตรวิทยาศาสตรตองมีสาระการเรียนรูเกี่ยวกับประดิษฐกรรมทางเทคโนโลยี

หลักสูตรภาษาตางประเทศตองมีสาระการเรียนรูเกี่ยวกับการเรียนรูภาษาที่สามหรือที่สี่ เปนตน ทั้งน้ี เพื่อ

ตอบสนองตอการเขาถึงและบริโภคแหลงเรียนรูจากฐานขอมูลโลกไดอยางกวางขวาง ทําใหเกิดการเรียนรูอยางไมมี

ขีดจํากัด

อิทธิพลของ Web 2.0 - 3.0 กับการจัดการเรียนการสอน

ตัวอยางการใชเทคโนโลยีในยุค web 3.0 เชน Lengel (2014) จะไมใชสไลดพาวเวอรพอยต และ

บรรยายไปเร่ือย ๆ แตจะใชเว็บไซตประกอบการบรรยายซึ่งอยู เว็บ Lengel.net/123 แลวใหผูเรียนใชสมารท

โฟน หรือแท็บเล็ต เปดเว็บไซตน้ี แลวติดตามเน้ือหาที่สัมพันธกันประกอบเพิ่มเติม จากน้ันก็ตั้งคําถามแลวใหผูฟง

ชวยกันโหวตหรือแสดงความคิดเห็นน้ัน แลวแสดงคําตอบบนจอภาพใหทุกคนไดเห็น เพื่อใหผูฟงเห็นคําตอบกัน

สามารถแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรูกันได การจัดการเรียนรูโดยใช web 3.0 น้ี ยังทําให

สถาบันการศึกษาและผูเรียนสามารถเชื่อมตอถึงกันไดอยางซับซอนผานเครือขายเน็ตเวิรกไดทุกสถานที่ในทุกเวลา

ทั้งการจัดการเรียนการสอนออนไลน ตลอดจนการเรียนรูเทคโนโลยีเสมือนจริง (Immersive Learning) ที่จะกาว

เขามามีบทบาทในการจัดการเรียนรูทั้งในสถาบันจริงและการเรียนรูทางไกลทั้งในปจจุบันและอนาคต อยางไรก็

ตามผูเขียนเห็นวา ยุค web 3.0 ซึ่งเปนยุคของมหกรรมขอมูลน้ี จะทําใหผูเรียนไดเห็นขอมูลที่เกี่ยวของกับเน้ือหาที่

เรียนมากมายผานระบบอินเทอรเน็ต ดังน้ันผูสอนจึงควรมุงเนนใหผูเรียนรูจักเลือกแหลงเรียนรูที่มปีระโยชน รูจัก

Page 48: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

45

การอางอิงตามจรรยาบรรณนักวิชาการและมุงเนนใหนักเรียนเขาใจวา ขอมูลความรูตางๆมีอยูทั่วไป นักเรียนจึง

สามารถเรียนรูไดตลอดชีวิต

ตัวอยางการจัดการเรียนรูขางตน จึงพอจะเห็นเปนแนวทางไดวา การจัดการเรียนรูในยุค web 3.0 ซึ่งเปน

ยุคที่มีความเจริญดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูเรียนยุคใหมก็มีความรูและประสบการณเร่ืองไอทีมาก ดังน้ันการ

จัดการเรียนรูจึงควรบูรณาการเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียนในยุคปจจุบันเพื่อใหทันความ

เปลี่ยนแปลงของโลกยุคปจจุบัน

อิทธิพลของ web 2.0 - 3.0 กับการประเมินผลการเรียนรู

การประเมินผลการเรียนรูในยุค web 2.0-3.0 ยอมแตกตางไปจากอดตีที่เนนการประเมิน โดย

ผลสัมฤทธ์ิจากแบบทดสอบเทาน้ัน แตดวยการจัดการเรียนรูที่เนนการใช web 2.0-3.0 ทําใหการประเมินผล

การศึกษาอาจมีลักษณะที่แตกตางไปและมีลักษณะเปนสภาพจริงมากขึ้น เชน ผูสอนอาจใหผูเรียนเลนบทบาท

สมมุติในโลกเสมือนจริงเพื่อดูความสามารถในการตัดสินใจ ผูสอนอาจใหนักเรียนเลือกใชขอมูลจากฐานขอมูลโลก

มาวิเคราะหแลวหาขอสรุปของบทเรียน เปนตน

ตัวอยางของวิธีการที่เปนที่นิยมของ Web 2.0 ซึ่งเปนเคร่ืองมือที่สามารถนํามาใชสําหรับการวัดและการ

ประเมิน เชนในตอนทายของหนวยหรือภาคการศึกษาที่มีผูเรียนใช Glogster หรือ Webdoc ที่จะสะทอนใหเห็น

ถึงสิ่งที่พวกเขาไดเรียนรู โดยโปสเตอรดิจิตอลของพวกเขาอาจรวมถึงประเด็นสําคัญของการเรียนรูรายชื่อของ

คําศัพทที่พวกเขาไดเรียนรูภาพประกอบกับภาพกิจกรรมการเรียนรูที่ชื่นชอบสิ่งที่เปนสวนหน่ึงของหนวยการเรียนรู

ซึ่งเปนสิ่งที่ยากที่สุดสําหรับพวกเขาและคนอีกมากมาย

การใช Vialogues สามารถใชสําหรับการประเมินความเขาใจของนักเรียนในหัวขอใด ๆตัวอยางเชน ครู

วิทยาศาสตรสามารถโพสตวิดีโอแสดงรูปแบบที่แตกตางกันของการกัดเซาะไดแลว เพิ่มความคิดเห็นเบื้องตนหรือ

ขอสงสัยไปยังวิดีโอก็จะเปนแนวทางในการตอบสนองของนักเรียน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงระดับของความเขาใจในหัวขอ

น้ันดวย

การสราง Wordle รวมถึงความที่สําคัญจากบทเรียน ซึ่งผูเรียนสมารถผลัดกันเลือกคําตอบและบอกสิ่งที่

พวกเขาไดเรียนรู ดานลางเปนตัวอยางจากบทเรียนวิทยาศาสตรเกี่ยวกับไฟฟา ตลอดจนการใช Portfolio ไดถูก

นํามาใชในระดับมหาวิทยาลัยเพื่อเปนการวัดและการประเมิน การประเมินทางผลงานดวย Portfolio ไดแสดงให

เห็นตัวอยางของการทํางานของผูเรียน และแสดงใหเห็นวาพวกเขาไดพบกับเปาหมายการเรียนรูที่เฉพาะเจาะจง

Portfolio ยังสามารถแสดงใหเห็นถึงความคืบหนาของนักเรียนในการเรียนรูและการสะทอนการเรียนรูของพวก

เขาไดอีกดวย ดวยเหตุน้ีจึงกลาวไดวา web2.0-3.0 มีประโยชนตอการวัดและประเมินผลทางการศึกษา

กลาวไดวา ยุคของ web 3.0 จะเกิดขึ้นแนนอนในอนาคต ขึ้นอยูกับความพรอมของการปรับโครงสรางให

เปนมาตรฐานเดียวกัน เพื่อใหสามารถเชื่อมโยงขอมูลถึงกันไดงายขึ้น ในสวนน้ีบางประเทศที่พัฒนากาวหนาไปแลว

Page 49: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

46

คงใชเวลาอีกไมนานนัก สวนบางประเทศที่เพิ่งเร่ิมเขาสูยุค Web 2.0 ไดไมนานอยางประเทศไทย คงตองใชเวลาใน

การพัฒนาอีกสักระยะ แตก็มีแนวโนมที่จะพัฒนาไปเปน Web 3.0 ตามยุคสมัยที่กําลังจะเปลี่ยนไปพรอม ๆ กับ

แนวคิดในการจัดการศึกษา

บทสรุปสงทาย

ปจจุบันสังคมเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงเขาสูยคุดิจิตอลมากขึ้น มีการนําเทคโนโลยีตาง ๆ มาใชในการ

ดํารงชีวิตของมนุษยมากขึ้น ระบบการศึกษาก็ตองปรับเปลี่ยนวิธีการเพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

ตามไปดวย จากการการเรียนการสอนในรูปแบบเดิมที่เปนลักษณะของผูสอนยืนสอนหนาชั้นเรียนที่มีสื่อในการ

สอนเพียงแคกระดานดํา ก็เร่ิมมีการนําระบบเครือขายตาง ๆ และสื่อรูปแบบที่หลากหลายเขามาชวยเปนสื่อกลาง

ในการเรียนการสอนมากขึ้น โดยเฉพาะสื่ออิเล็กทรอนิกสตาง ๆ ไมวาจะเปน

1. E-Learning ซึ่งในการใชในการเรียนการสอนน้ีมีทั้งรูปแบบที่นํามาชวยในการสอนรวมกับการสอนใน

หองเรียนปกติ (Face to Face Learning) การเรียนแบบออนไลนเต็มรูปแบบ (Fully online learning) และการ

เรียนแบบผสมผสานหรือกึ่งออนไลน (Blended Learning)

2. U-Learning / M-Learning: ซึ่งเปนการจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสําเร็จรูป (Instruction

Package) ที่นําเสนอเน้ือหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผานเทคโนโลยีเครือขายทั้งแบบใชสายและไรสาย รวม

ไปถึงพวกอุปกรณตางๆ เชนโทรศัพทมือถือ ที่ใชในการประมวลผลแบบไรขอบเขต ผูเรียนสามารถเรียนไดทุกที่

และทุกเวลา

3. Web 2.0/Web 3.0 เปนเครือขายที่ทําใหผูใชสามารถดึงขอมูลและมีสวนรวม สามารถไปแสดงความ

คิดเห็นในบทความหรือในเว็บไซต ซึ่งสามารถใหคนทั่วไปเขามามีสวนรวมในการสรางเน้ือหาและนําเสนอขอมูล

ผานเว็บไซต รวมถึงการเปนศูนยกลางในการแลกเปลี่ยนไฟลในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งไดมีการพัฒนา Web 2.0 เปน

Web 3.0 เพื่อใหมขีนาดใหญขึ้นและเขาถึงขอมูลไดดีขึ้น งายขึ้น

แมวาเทคโนโลยีตาง ๆ ที่ไดกลาวมาน้ีจะชวยใหการเขาถึงขอมูล การสื่อสาร รวมทั้งการประยุกตใชทาง

การศึกษาสะดวกยิ่งขึ้น แตก็มีขอเสียหรือขอจํากัดที่แตกตางกัน ดังน้ันในการนํามาใชงานควรคํานึงถึงความ

เหมาะสมตามบริบทตาง ๆ ดวย

Page 50: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

47

เอกสารอางอิง

ภาษาไทย

กฤษณ เตตานนทรสกุล. 2557. (ออนไลน). บลูทูธ “ฟนสีฟา” เทคโนโลยีไรสายสําหรับอนาคต. .

แหลงที่มา: http://www.siamphone.com/news/bluetooth/page.htm. สืบคนเมื่อ 31

สิงหาคม 2557.

ครรชิต มาลัยวงศ. “แนวทางการจัด e-Learning สําหรับประเทศไทย”. แหลงที่มา:

http://www.drkanchit.com/ict_education/articles/eLearningForThailand.pdf. สืบคนเมื่อ

26 สิงหาคม 2557.

จิรัฏฐ แจมสวาง. (มปป). (ออนไลน). U-Learning. แหลงที่มา: http://www.ku.ac.th/icted2008/

download/u-Learning_jirat.pdf. สืบคนเมื่อ 27 สิงหาคม 2557.

Page 51: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

48

จิรัฏฐ แจมสวาง. 2551. (ออนไลน). u-Learning: u-Learning Model for ICT Professional

Development. แหลงที่มา: http://www.ku.ac.th/icted2008/download/u-

Learning_jirat.pdf. สืบคนเมื่อ30 สิงหาคม 2557.

นวพรรษ เพชรมณี และปรัชญนันท นิลสุข. 2553. (ออนไลน). Ubiquitous Learning อัจฉริยะแหงการ

ลวงรูบริบท. แหลงที่มา: http://journal.oas.psu.ac.th/index.php/asj/article/viewFile/

223/170. สืบคนเมื่อ 31 สิงหาคม 2557.

พูลศรี เวศยอุฬาร. (2551). (ออนไลน). Mobile Learning (mLearning) เอ็มเลิรนน่ิง – การเรียนทาง

เครือขายไรสาย. แหลงที่มา: http://thaimlearning.blogspot.com/2007/02/mobile-learning-

mlearning.html. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

พูลศรี เวศยอุฬาร. 2551. (ออนไลน). Mobile Learning (mLearning) เอ็มเลิรนน่ิง – การเรียนทาง

เครือขายไรสาย. แหลงที่มา: http://thaimlearning.blogspot.com/2007/02/mobile-learning-

mlearning.html. สืบคนเมื่อ30 สิงหาคม 2557.

ภราดร สุรียพงษ. (2551). (ออนไลน). การเรียนรูดวยแท็บเล็ตสูหองเรียนแหงอนาคต. แหลงที่มา:

http://www.tahper.or.th/Chiang%20mai/9956/59.pdf. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

ศรีศักดิ์ จามรมาน. 2551. (ออนไลน). อีเลิรนน่ิง เอ็มเลิรนน่ิง และยูเลิรนน่ิง.

แหลงที่มาhttps://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=

2&cad=rja&uact=8&ved=0CCYQFjAB&url=http%3A%2F%2Fblog.buu.ac.th%2

Ffile%2Fekkawitt%2FEMULearning.doc&ei=xd0BVK3NDYXY8gWSp4GIAQ&usg=

หริพล ธรรมนารักษ และปรัชญนันท นิลสุข. 2553. (ออนไลน). ECT Journal. แหลงที่มา:

http://www.prachyanun.com/pdf/mLearning2553.pdf. สืบคนเมื่อ 31 สิงหาคม 2557.

หริพล ธรรมนารักษ และคณะ. 2553. (ออนไลน). M-Learning เครื่องมือสําหรับหองเรียนเสมือนจริงแหง

อนาคต. แหลงที่มา: http://www.prachyanun.com/pdf/mLearning2553.pdf. สืบคนเมื่อ 27

สิงหาคม 2557.

อาริยา มณีสม. 2554. (ออนไลน). WAP หรือ Wireless Application Protocol คืออะไร. แหลงที่มา:

http://www.l3nr.org/posts/455173. สืบคนเมื่อ 31 สิงหาคม 2557.

ภาษาอังกฤษ

Anonymous. 2010. (ออนไลน). WEB 2.0 TOOLS. แหลงที่มา: https://sites.google.com

/site/web20tools2010/. สืบคนเมื่อ 31 สิงหาคม 2557.

Page 52: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

49

Anonymous. 2013. (ออนไลน). List of web 2.0 applications. แหลงที่มา:

http://edutechwiki.unige.ch/en/List_of_web_2.0_applications. สืบคนเมื่อ 31 สิงหาคม

2557.

Augustine Fou. 2009. (ออนไลน). What Is Web 3.0 - Characteristics of Web 3.0. แหลงที่มา:

http://www.slideshare.net/acfou/2009-06-16-what-is-web-. สืบคนเมื่อ 30 สิงหาคม 2557.

Bill Cope, Mary Kalantzis and Nick Burbules. “Action Area 4: Adapt to a Ubiquitous

Learning Environment.” In New Learning: A Charter for Change in

Education. แหลงที่มา: http://education.illinois.edu/newlearning/ubiquitous-

learning.html. สืบคนเมื่อ 26 สงิหาคม 2557.

C J Bonk, CR Graham. 2012. (ออนไลน). The handbook of blended learning: Global

perspectives, local designs. แหลงที่มา: http://books.google.co.th/books?

hl=th&lr=&id=2u2TxK06PwUC&oi=fnd&pg=PT14&ots=a0y-C63Hce&sig=

NRYfTHcSSlXt2_RjFCCGid62CII&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม

2557.

Cookie, W. 2012. (ออนไลน). What are the major differences among Web 1.0, 2.0 and

3.0?. แหลงที่มา: http://wittycookie.wordpress.com/2012/06/04/what-are-the-

major-differences-among-web-1-0-2-0-and-3-0/. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

David Jakes. 2014. (ออนไลน). Using Flickr in the classroom. แหลงที่มา:

http://www.jakesonline.org/using_flickr.pdf. สืบคนเมื่อ 27 สิงหาคม 2557.

Domenico. 2007. (ออนไลน). Web2.0 Applications. แหลงที่มา:http://www.slideshare.net/

domenico79/web20-applications. สืบคนเมื่อ 31 สิงหาคม 2557.

Driscoll, M., (n.d.). 2012. (ออนไลน). Blended learning: Let’s get beyond the hype. IBM

Global Services. แหลงที่มา: http://www-07.ibm.com/services/pdf/

blended_learning.pdf. สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2557.

Fran Smith. 2007. (ออนไลน). How to Use Social-Networking Technology for Learning

แหลงที่มา: http://www.edutopia.org/how-use-social-networking-technology. สืบคนเมื่อ

29 สิงหาคม 2557.

Geddes. 2006. (ออนไลน). Mobile learning in the 21st century: benefit for learners.

แหลงที่มา: http://knowledgetree.flexiblelearning.net.au/edition06/download/

geddes.pdf. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Page 53: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

50

Getting, B. 2007. (ออนไลน). Basic Definitions: Web 1.0, Web. 2.0, Web 3.0. แหลงที่มา:

http://www.practicalecommerce.com/articles/464-Basic-Definitions-Web-1-0-Web-2-0-

Web-3-0. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Ginns , P. & Ellis , R. 2007 . (ออนไลน). Quality in Blended Learning : Exploring the

Relationship Between Online and Face-to-Face Teaching and Learning. แหลงที่มา:

http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1096751606000728#. สืบคนเมื่อ 26

สิงหาคม 2557.

Greene, K. 2006. (ออนไลน). Better Mobile Web Browsing. แหลงที่มา:

http://www.technologyreview.com/read_article.aspx?id=16985. สืบคนเมื่อ 26

สิงหาคม 2557.

Jared M. Carman. 2005. (ออนไลน). Blended Learning Design : Five key Ingredients .

แหลงที่มา: http://www.agilantlearning.com/pdf/Blended%20Learning%20Design.pdf.

สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2557.

Julia Stiglitz. 2014. (ออนไลน). 32 Way to Use Google Apps. แหลงที่มา:

https://docs.google.com/presentation/d/1_6fh7wXkugHQbbA2ILrjsFqysvclJCbul2I3Oc912

D8/present#slide=id.i0. สืบคนเมื่อ 29 สิงหาคม 2557.

Keegan, D. 2006. (ออนไลน). The future of learning: From eLearning to mLearning,

Chapter 3. แหลงที่มา: http://learning.ericsson.net/mlearning2/project_one/

thebook/chapter3.html. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Lengel, J. 2014. Education 1-2-3: Online Companion. (ออนไลน). แหลงที่มา:

http://lengel.net/123/. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Lifeboat Foundaion. 2014. (ออนไลน). Web3.0: The Third Generation Web is coming.

แหลงที่มา: http://lifeboat.com/ex/web.3.0. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Moravec, J. 2013. (ออนไลน). What is web 3.0 and How will it change education?.

แหลงที่มา: http://www.edudemic.com/what-is-web-3-0-and-how-will-it-change-

education/. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Mary Bart. 2012. (ออนไลน). Blended Learning Course Design Creates New Opportunities

for Learning. แหลงที่มา: http://www.facultyfocus.com/articles/teaching-and-

learning/blended-learning-course-design-creates-new-opportunities-for-learning/.

สืบคนเมื่อ 27 สิงหาคม 2557.

Page 54: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

51

Miniwatts Marketing Group. 2008. (ออนไลน). World Internet Usage Statistics News and

Population Stats. แหลงที่มา: fromhttp://www.internetworldstats.com/stats.htm. สืบคน

เมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Miniwatts Marketing Group. 2007. (ออนไลน). Internet World Stats. แหลงที่มา:

http://www.internetworldstats.com/blog.htm. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Newman College Higher Education in Birmingham. 2006. (ออนไลน). Benefits of m-learning.

แหลงที่มา: http://www.newman.ac.uk/Students_Websites/~b.k.bains/benefit.htm.

สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Nova Spivack. n.d. 2013. (ออนไลน). “Eight-component framework for e-learning”.

แหลงที่มา:http://edutechwiki.unige.ch/en/Eight-component_framework_for_e-learning.

สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2557.

Norma I. Scagnoli. 2013. (ออนไลน). Blended Learning in K-12. แหลงที่มา:

http://en.wikibooks.org/wiki/Blended_Learning_in_K-12. สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2557.

Paul Anderson. 2007. (ออนไลน). What is Web 2.0? Ideas, technologies and implications

for education. แหลงที่มา: http://www.jisc.ac.uk/media/documents/techwatch/

tsw0701b.pdf. สืบคนเมื่อ 27 สิงหาคม 2557.

Phil Bradley. 2010. (ออนไลน). Web 2.0 tools, apps and resources for collaboration,

communication, RSS, images, start pages, weblogs, wikis and more. Emphasis is

on libraries, librarians and information work. แหลงที่มา: http://www.philb.com/

iwantto.htm. สืบคนเมื่อ 31 สิงหาคม 2557.

Prensky, M. 2004. (ออนไลน). What Can You Learn From A Cell Phone? – Almost Anything.

แหลงที่มา: http://www.marcprensky.com/writing/Prensky-What_Can_You

_Learn_From_a_Cell_Phone-FINAL.pdf. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Randy Rodgers. 2014. (ออนไลน). Web 2.0: Meaningful Tools for Today’s Students.

แหลงที่มา:http://www.slideshare.net/rrodgers/web-20-meaningful-tools-for- todays-

students. สืบคนเมื่อ 29 สิงหาคม 2557.

Revkin, Andrew C. 2011. (ออนไลน). On Birds, Twitter and Teaching. แหลงที่มา:

http://dotearth.blogs.nytimes.com/2011/05/05/on-birds-twitter-and-

teaching/?_php=true&_type=blogs&_r=0. สืบคนเมื่อ 28 สิงหาคม 2557.

Page 55: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

52

Reuters. 2008. (ออนไลน). Global cellphone penetration reaches 50 pct. แหลงที่มา:

http://investing.reuters.co.uk/news/articleinvesting.aspx?type=

media&storyID=nL29172095. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Richard D Solomon. 2011. (ออนไลน). How Photobucket can be used in the classroom to

promote. แหลงที่มา: http://richarddsolomonsblog.blogspot.com/2011/01/how-

photobucket-can-be-used-in.html. สืบคนเมื่อ 28 สิงหาคม 2557.

Ryan Birkemose. 2014. (ออนไลน). Flickr in the Classroom. แหลงที่มา: http://www.uwec.edu

/BITS/techtools/news/Flickr-in-the-Classroom.html . สืบคนเมื่อ 28 สิงหาคม 2557.

Ryu, H. 2007. (ออนไลน). The Status-quo of Mobile Learning. แหลงที่มา: http://tur-

www1.massey.ac.nz/~hryu/MobileLearning_v2.pdfsiamdic.com. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม

2557.

Stan Bumgardner and Kirk Knestis. 2011. (ออนไลน). Social Networking as a Tool for

Student and Teacher Learning 2557. แหลงที่มา:

http://www.districtadministration.com/article/social-networking-tool-student-and-

teacher-learning. สืบคนเมื่อ 28 สิงหาคม 2557.

Saadiah Yahya, Erny Arniza Ahmad and Kamarularifin Abd Jalil. 2010. (ออนไลน). “The

definition and characteristics of ubiquitous learning: A discussion.” In

International Journal of Education and Development using ICT. 6(1). แหลงที่มา:

http://ijedict.dec.uwi.edu//viewarticle.php?id=785. สืบคนเมื่อ 28 สิงหาคม 2557.

Sybrant Servicing Innovation. 2012. (ออนไลน). Background of Mobile Learning or

mLearning. แหลงที่มา: http://sybrant.wordpress.com/2012/04/19/background-of-

mobile-learning. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Terrance. 2009. (ออนไลน). 45 Interesting Web 2.0 Online Services And Applications That

Can Make Your Life Easier. แหลงที่มา: http://www.onextrapixel.com/2009/09/14/45-

interesting-web-2-0-services-and-applications-that-can-make-your-life-easier/. สืบคน

เมื่อ 31 สิงหาคม 2557.

Tim O'Reilly. 2005. (ออนไลน). What Is Web 2.0. แหลงที่มา: http://oreilly.com/pub/a/web2/

archive/what-is-web-20.html. สืบคนเมื่อ 31 สิงหาคม 2557.

Wainewright, P. 2005. What to Expect for Web 3.0 ?. (ออนไลน). แหลงที่มา:

http://www.zdnet.com/blog/saas/what-to-expect-from-web-3-0/68. สืบคนเมื่อ 26

Page 56: รายงาน - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedumrc/eport/ReportWK1.pdf · รายงาน นวัตกรรมและการประยุกต ใช ไอซีทีทางการศึกษา

53

สิงหาคม 2557.

Watson, H., & White, G. 2006. (ออนไลน). MLEARNING IN EDUCATION – A SUMMARY.

แหลงที่มา: http://www.educationau.edu.au/jahia/webdav/site/myjahiasite/

shared/site/mLearning.pdf. สืบคนเมื่อ 26 สิงหาคม 2557.

Web3.0. 2014. (ออนไลน). แหลงที่มา: http://fr.wikipedia.org/wiki/Web_3.0. สืบคนเมื่อ 26

สิงหาคม 2557.