บทความ งานกู ชาติ ของ ......

13
นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕ ทความ ขยายพระราชอาณาเขต ไดลานนา ลานชาง และแสนหวี โดยไมตองรบ ตั้งแตป พ.ศ.๒๑๓๕ ถึง พ.ศ.๒๑๓๘ ผลงาน ของกองทัพไทยภายใตการนำของสมเด็จพระ นเรศวร สรางผลงานไวมากมาย จนทำใหบารมี อิทธิพลของสมเด็จพระนเรศวรสูงสงขึ้น กำลังทาง ทหารของพระองคเกรียงไกรเปนที่ยำเกรงตอบรรดา ประเทศตาง ๆ จนเหนือบารมีอิทธิพลของพระเจา หงสาวดีนันทบุเรง ซึ่งตกต่ำเสื่อมถอยลงหัวเมืองขึ้น ตาง ๆ ไดประกาศเอกราชไมขึ้นกับกรุงหงสาวดี ทีละเมืองสองเมือง การประกาศเอกราชของเจาหนอแกว แหง แควนลานชาง มีผลทำใหเชียงใหม ลานนา กับลาน ชาง เขามาอยูกับอาณาจักรอยุธยาโดยไมตองรบ พระหนอแกว เปนพระราชโอรสของพระเจา ไชยเชษฐาธิราช ซึ่งเปนพระมหากษัตริยที่ชาวลาน ชางเคารพยกยองวาเปนมหาราช เปนผูไมยอมกม หัวใหพระเจาบุเรงนอง จนตลอดพระชนมชีพ สูพมา อยูที่เมืองหลวงพระบางไมได ก็ถอยหนีไปตั้งหลักสู ที่เมืองเวียงจันทนตอไป เปนนักรบแบบกองโจรผู สามารถพระองคหนึ่ง บุเรงนองชนะยึดเมืองได แต จับตัวไมได พอพมายกทัพกลับไปทานก็ออกจากปา มาแยงเมืองคืน ภายหลังพระองคไดหายสาบสูญไป ในปา เมื่อยกทัพไปรบกับเวียดนาม ทำใหอาณาจักร ลานชาง วุนวายอยูพักหนึ่ง พระหนอแกวนั้นพระเจาบุเรงนอง จับตัวเอาไว ที่กรุงหงสาวดี ตั้งแตพมาตีเมืองหลวงพระบางไดใน ครั้งแรก ขณะที่พระหนอแกวยังทรงพระเยาว ประทับอยูที่กรุงหงสาวดีเรื่อยมาจนเปนหนุใน สมัยพระเจาหงสาวดีบุเรงนอง พระองคคงจะรูจักมัก พลเร�อเอก วสินธ สาร�กะภูติ งานกู ชาติ ของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตอนอวสาน ð41

Upload: others

Post on 21-Sep-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

บทความ

ขยายพระราชอาณาเขต ไดลานนา ลานชาง และแสนหวี โดยไมตองรบ ตั้งแตป พ.ศ.๒๑๓๕ ถึง พ.ศ.๒๑๓๘ ผลงานของกองทัพไทยภายใตการนำของสมเด็จพระนเรศวร สรางผลงานไวมากมาย จนทำใหบารมี อิทธิพลของสมเด็จพระนเรศวรสูงสงขึ้น กำลังทางทหารของพระองคเกรียงไกรเปนที่ยำเกรงตอบรรดาประเทศตาง ๆ จนเหนือบารมีอิทธิพลของพระเจา หงสาวดีนันทบุเรง ซึ่งตกต่ำเสื่อมถอยลงหัวเมืองขึ้นตาง ๆ ไดประกาศเอกราชไมขึ้นกับกรุงหงสาวดี ทีละเมืองสองเมือง การประกาศเอกราชของเจาหนอแกว แหงแควนลานชาง มีผลทำใหเชียงใหม ลานนา กับลานชาง เขามาอยูกับอาณาจักรอยุธยาโดยไมตองรบ พระหนอแกว เปนพระราชโอรสของพระเจา

ไชยเชษฐาธิราช ซึ่งเปนพระมหากษัตริยที่ชาวลานชางเคารพยกยองวาเปนมหาราช เปนผูไมยอมกมหัวใหพระเจาบุเรงนอง จนตลอดพระชนมชีพ สูพมาอยูที่เมืองหลวงพระบางไมได ก็ถอยหนีไปตั้งหลักสูที่เมืองเวียงจันทนตอไป เปนนักรบแบบกองโจรผูสามารถพระองคหนึ่ง บุเรงนองชนะยึดเมืองได แตจับตัวไมได พอพมายกทัพกลับไปทานก็ออกจากปามาแยงเมืองคืน ภายหลังพระองคไดหายสาบสูญไปในปา เมื่อยกทัพไปรบกับเวียดนาม ทำใหอาณาจักรลานชาง วุนวายอยูพักหนึ่ง พระหนอแกวนั้นพระเจาบุเรงนอง จับตัวเอาไวที่กรุงหงสาวดี ตั้งแตพมาตีเมืองหลวงพระบางไดในครั้ งแรก ขณะที่พระหนอแกวยังทรงพระเยาว ประทับอยูที่กรุงหงสาวดีเรื่อยมาจนเปนหนุม ในสมัยพระเจาหงสาวดีบุเรงนอง พระองคคงจะรูจักมัก

พลเร�อเอก วสินธ สาร�กะภูติ

งานกูชาติของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ตอนอวสาน

ð41

Page 2: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

คุนกับสมเด็จพระนเรศวร และเจาฟาไทยใหญอื่น ๆ ผู เปนตัวจำนำดวยกัน เมื่ออาณาจักรลานชาง มีปญหาเรื่องผูปกครองประเทศ ทางลานชางจึงขอพระหนอแกว จากพระเจาหงสาวดี นันทบุเรง จากกรุงหงสาวดีไปเปนกษัตริยปกครองลานชาง ขณะที่มีพระชนม ๑๙ พรรษา เปนหนุมแลว ซึ่งเปนชวงที่อิทธิพลของพระเจาหงสาวดีเริ่มคลอนแคลน พระเจาหงสาวดีจึงไมขัดของ โปรดใหพระหนอแกวไปครองอาณาจักรลานชางตามที่ขอ พระหนอแกวไปครองอาณาจักรลานชางไมนานเห็นวาศักยภาพทางการทหารของกรุงหงสาวดีถูกสมเด็จพระนเรศวร ตอยตีเสียจนนวมไปแลว ลานชางก็อยูหางไกลจากหงสาวดีมาก คงไมสามารถยกทัพมารุกรานลานชางได พระหนอแกวจึงประกาศเอกราช พอประกาศเอกราชเสร็จ ทานก็สงคนกลับไปชักชวนชาวลานชางที่ถูกกวาดตอนไปอยูเมืองตาง ๆ ของพมาตั้งแตสมัยพระเจาบุเรงนอง ใหกลับคืนบานเมืองของตน โดยเฉพาะที่เชียงใหม มีชาวลานชางอยูมากกวาที่อื่น ชาวลานชางเคารพรักพระหนอแกวอยูแลว เมื่อทราบวาพระหนอแกวโอรสพระไชยเชษฐาธิราช ประกาศเอกราชจึงพากันหลบหนีกลับลานชาง แตชาวลานชางที่อยูในเชียงใหม และจากหัวเมืองตาง ๆ ในพมาที่จำเปนตองเดินทางผานเมืองเชียงใหมถูกพระเจาเชียงใหมมังนรธาชอ ซึ่งเปนเจานายเชื้อพระวงศพมาโอรสพระเจาบุเรงนอง สกัดจับไมยอมใหกลับไปถึงลานชาง พระเจาลานชางไมพอพระทัย ยุใหเจาเมืองนานเปนกบฏตอเชียงใหม แลวพระหนอแกวใหเตรียมกองทัพจะมาตีเชียงใหมอีกดวย พระเจาเชียงใหม กำลังตกอยูในระหวางเขาควายจะขอทัพจากหงสาวดีผูพี่มาชวยก็ไมได เพราะตนขัดคำสั่งไมยอมสงโอรสไปเปนตัวจำนำ มีความผิดนอง ๆ เปนขบถอยูแลว มองไปทางใตก็ไมรูวา สมเด็จพระนเรศวร จะยกกองทัพมาตีเชียงใหมเมื่อใด แคมีศึกลานชางมาติดเมืองเชียงใหมก็ยังไมแนใจวาชาวลานชางในเชียงใหมที่มีอยูไมนอยนั้นจะกอกบฏวุนวายภายในเมืองอยางใดบาง และชาว

ลานนาเชียงใหมจะชวยตน (พมา) ตอสูปองกัน เมืองจากทัพลานชางเขมแข็งแคใด แตเดิมชาวลานนาทำตามคำสั่งพมา เพราะกลัวกำลังกองทัพพมาจากกรุงหงสาวดี แตบัดนี้สถานการณเปลี่ยนไป แคทัพลานชาง พระเจาเชียงใหมก็คงเอาตัวไมรอดแลว ไมตองพูดถึงกองทัพอยุธยา ดังนั้นพระเจาเชียงใหม จึงตกลงใจโดยไมยากสงทูตนำพระราชสาสนไปกรุงศรีอยุธยา พรอมเครื่องราชบรรณาการ ขอเปนเมืองขึ้นขอบขัณฑสีมาของกรุงศรีอยุธยา พรอมกับไดขอกองทัพจากสมเด็จพระนเรศวร ขึ้นไปชวยปองกันเมืองเชียงใหมจากลานชางดวย กรุงศรีอยุธยาจึงไดเมืองเชียงใหมมาเปนเมืองขึ้นโดยไมตองรบดวยประการฉะนี้ แตก็ตองตะลอมอยูอีกหลายป กวาพระเจาเชียงใหมจะตัดความเปนอัตตาที่ เปนโอรสพระเจาชนะสิบทิศลงไปไดจนยอมรับอำนาจของ สมเด็จพระนเรศวรโดยศิโรราบ สมเด็จพระนเรศวรโปรดใหเจาพระยาสุรสีห เจาเมืองพิษณุโลก เปนขาหลวงคุมกำลัง ๓,๐๐๐ เชิญ ศุภอักษรขึ้นไปยังเมืองเชียงใหม วากลาวใหเจาเมอืงเชยีงใหม ปลอยเชลยชาวลานชางกลบัไปลานชาง ตอจากนั้นก็เลยขึ้นไปยังเชียงแสน ที่กองทัพลานชาง และลานนา ตั้ งประจันหนากันอยู เจาพระยาสุรสีห สั่งใหหยุดรบ และเรียกแมทัพทั้ง ๒ ฝาย มาประชุมฟงพระราชวินิจฉัย ของสมเด็จพระนเรศวร ทั้ง ๒ ฝาย ก็เชื่อแตโดยดี และเลิกรบกัน สิ่งที่เกิดขึ้นนี้แสดงใหเห็นถึงพระราชอำนาจของสมเด็จพระนเรศวร และอำนาจของกรุงศรีอยุธยา ที่มีตอแควนลานนา ลานชาง ซึ่งเปนแควนสำคัญทางดานเหนือ เมื่อขาวเรื่องนี้แพรหลายไปทั่วบริเวณ ปรากฏวาบรรดาหัวเมืองไทยใหญตาง ๆ ที่กอนหนานั้นเคยขึ้นกับพมาตางหวาดหวั่น เมื่อการไกลเกลี่ยศึกลานนา ลานชาง ที่เมืองเชียงแสนจบลงแลว เจาพระยาสุรสีห ไดแตงตั้งให พระยารามเดโช อยูวาการที่เชียงแสนนั้น ตามนโยบายของ สมเด็จพระนเรศวร ที่จะใหมา เกลี้ยกลอมชาวลานนา ลานชาง และไทยใหญ ใหกลับ

ð42

Page 3: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

มาอยูกับกรุงศรีอยุธยา พระยารามเดโช เปนเจานายชั้นสูงของชาวลานนา ที่หลบหนีพมาไปรับราชการกับสมเด็จพระนเรศวร เมื่อเชียงใหมเสียแกพมา รับราชการจนกาวหนา เปนถึงพระยารามเดโช สมเด็จพระนเรศวร จึงสงขึ้นมาเพื่อผูกจิตใจชาว ลานนา และก็ ไดผล ชาวลานนาที่ ไมชอบการปกครองแบบกดขี่ของพมา จึงชวยเหลือชาวลานนา ลานชางที่ถูกพมากดขี่ บรรดาหัวเมืองลานนาทางใตหลายเมืองตางก็มาเขากับ พระยารามเดโช ทำใหเวลานั้นลานนาแตกเปนสองฝาย ในที่สุดสมเด็จพระนเรศวร โปรดใหสมเด็จพระเอกาทศรถ เสด็จมาไกลเกลี่ย เมื่อครั้งยกทัพกลับจากตีเมืองตองอู ป พ.ศ.๒๑๔๒ ทำใหพระเจาเชียงใหม กับ พระยารามเดโช กลับมาปรองดองกันเปนผลให มังนรธาชอ เจาเมืองเชียงใหม ทรงซาบซึ้งในพระราชหฤทัยของสมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถ ที่ทรงเขาใจ และชวยเหลือหยาศึกครั้งนี้ จึงยอมศิโรราบกับอยุธยาดวยดี พรอมกันนี้ก็ไดถวายพระไชยาทิพย พระราชบุตรองครอง และนันทกะสู มารับราชการในกรุงศรีอยุธยาดวย ทั้งที่กอนหนานี้ไมยอมสงราชบุตรไปเปนตัวจำนำที่กรุงหงสาวดี นอกจากนี้พงศาวดารพมายังไดกลาวไวอีกวา ไดถวายพระราชธิดาอีกองคหนึ่ง เปนพระมเหสีแดสมเด็จพระนเรศวรดวย นับจากนั้นเชียงใหมก็กลับมาเปนประเทศราชของกรุงศรีอยุธยา โดยการเอาชนะดวย น้ำใจ ไมตองใชกำลัง ผลจากการไกลเกลี่ยสงบศึกลานนา ลานชาง ที่เมืองเชียงแสน แสดงใหเห็นถึงพระราชอำนาจของสมเด็จพระนเรศวร ทาวพระยาแสนหวี จึงไดแตงทูตคุมเครื่องราชบรรณาการลงมาขอเปนขอบขัณฑสีมา พรอมกับทูลขอเจาดำไขนอยใหกลับไปครองเมืองแสนหวี เจาดำไขนอย เคยถูกพระเจาหงสาวดี เอาตัวไปกักไว ณ กรุงหงสาวดี เพราะแยงกันครองเมืองแสนหวี ระหวางพี่นองดวยกัน ครั้นไทยไดเมืองเมาะลำเลิง เมื่อป พ.ศ.๒๑๓๗ เจาดำไขนอย ไดหนี

ออกมาขอพึ่งไทย สมเด็จพระนเรศวรโปรดใหชุบเลี้ยงไวในกรุงศรีอยุธยา เมื่อเมืองแสนหวีแสดงเจตจำนงเปนเชนนั้น สมเดจ็พระนเรศวร กท็รงแสดงความยนิด ีและโปรด ฯ ใหขาหลวงคุมกองทหารไปสงเจาดำไขนอย จนถึงเมืองแสนหวี และขณะที่ทัพไทยเดินทัพผานเมืองไทยใหญไปนั้น ไดมีเมืองไทยใหญอื่น ๆ ยอมออนนอมขอยอมขึ้นกับกรุงศรีอยุธยาโดยตลอด เปนอันวา หัวเมืองไทยใหญบนฝงตะวันออกของแมน้ำสาละวิน ที่ เคยขึ้นอยูกับกรุงหงสาวดี ไดมาออนนอมขอขึ้นกับกรุงศรีอยุธยาทั้งสิ้น เปนครั้งแรกที่อาณาเขตของไทยทางเหนือ สามารถแผขยายไปถึงชายแดนจีน การไดลานนา ลานชาง แสนหวี และหัวเมืองไทยใหญฝงตะวันออกของแมน้ำสาละวิน มาเปนหัวเมืองขึ้นในราชอาณาจักรอยุธยา จึงไมตองใชการทำสงครามสูรบดวยประการฉะนี้ นี่คือศิลปการดำเนินงานการเมือง การทูตที่ยอดเยี่ยมของสมเด็จพระนเรศวร สงครามครั�งสุดทาย พ.ศ.๒๑๔๘ ผลจากการยกทัพไปตีพมาครั้ งที่ ๒ ในป พ.ศ.๒๑๔๒ ของสมเด็จพระนเรศวร ซึ่งทัพไทยไดรุกขึ้นไปถึงกรุงหงสาวดี แลวไปลอมเมืองตองอู แมจะไมไดเมืองตองอู แตผลของการสงครามครั้งนี้ทำให กรุงหงสาวดี ถูกทำใหเปนเมืองราง บานเมืองถูกเผาวอดวายดวยฝมือของพมา ยะไขเอง มิใชการกระทำของทหารไทย แตประการใด ผลกระทบที่สำคัญคือ ทำใหพระเจาหงสาวดีนันทบุเรง ที่พระเจาตองอูจับไปเปนตัวหุนเชิดนั้นถูกพระสังกะทัต ราชโอรสพระเจาตองอูลอบวางยาพิษปลงพระชนมพระเจาหงสาวดี ในเดือน ๑๒ แรม ๑๐ ค่ำ ปชวด พ.ศ.๒๑๔๓ จึงทำใหอาณาจักรพมาหงสาวดีลมสลายลง พมาแตกแยกออกเปน หัวเมืองใหญ ๆ ๓ รัฐอิสระ ไดแก เมืองแปร เมืองอังวะ และเมืองตองอู เจานะยองราม พระอนุชาของพระเจานันทบุเรง

ð43

Page 4: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

ทีห่นไีปคราวทีพ่ระเจาหงสาวดถีกูพระเจาตองอจูบัตวัไป ไดไปตั้งตัวเปนใหญอยูทางภาคเหนือของพมาที่เมอืงองัวะ ซึง่วางเจาเมอืงตัง้แตพระเจาองัวะองคกอนไดเลือ่นเปนพระมหาอปุราช ชาวเมอืงเหน็วา เจานะยองรามเปนราชโอรสพระเจาบเุรงนอง จงึเชญิขึน้ครองเมอืงองัวะ แลวทำพธิรีาชาภเิษกเปนพระเจาแผนดนิพมา พระนามวา “สหีสธุรรมราชา” พระองคตองมองหากำลังพลมารวมทำสงคราม เพื่อกอตั้งอาณาจักรพมาขึ้นใหม หัวเมืองพมาทางใตตองอ ู แปร ยังแตกแยกเปนอสิระกนั จงึตองมองไปทีไ่ทยใหญ ซึง่วางศึกสงครามมานานไป มีประชาชนหนาแนนกวาทางดานใต เมืองไทยใหญทั้งหมด ๑๙ รัฐ (เมือง) ในสมัยพระเจาบุเรงนองนั้น ๑๙ รัฐไทยใหญตกเปนเมืองขึ้นพมาทั้งหมด ตอมาเมื่อกรุงศรีอยุธยาประกาศเอกราช และมีกำลังกลาแข็งขึ้น สมเด็จพระนเรศวร ก็ไดเมืองตาง ๆ ที่ตั้งอยูฟากตะวันออกของแมน้ำสาละวินไวในปกครองไดทั้งหมด ขณะที่เมืองทางฝงตะวันตกแมน้ำสาละวิน พากันแข็งเมืองจากพมาตั้งตัวเปนอิสระทั้งหมด พระเจาสีหสุธรรมราชาไดขยายอำนาจไปทางดานตะวันตกไทยใหญ ขั้นตนตีเมืองไทยใหญหัวเมืองทางดานตะวันออกของแมน้ำสะละวินซึ�งขึ้นอยูกับอาณาจักรอยุธยา โดยขั้นตนชิมลางที่เมืองนาย (เมืองหน�าย) กอน แลวกำลังจะตีเมืองแสนหวีตอไป การขยายอำนาจพมาเมืองอังวะของพระเจา “สีหสุธรรมราชา” มาทางลัดไทยใหญจึงกระทบกระเทือนตออิทธิพลของไทยอยุธยาโดยตรง สมเด็จพระนเรศวร พิจารณาสถานการณในพมาแลว เห็นวาพระเจาตองอูหมดส้ินอำนาจลงไปแลว เหลือแตพระเจาอังวะเทาน้ันท่ีกำลังเติบโตกลาแข็งข้ึน จึงใหจัดกองทัพยกไปตีพมาเมืองอังวะ กอนท่ีพระเจาอังวะจะยกทัพมาตีเมืองทางภาคกลาง ภาคใตของไทยใหญไดสำเร็จ

แผนการเดินทัพของไทย แผนเดิมสมเด็จพระนเรศวร ใหเตรียมกองทัพไวตั้งแต ป พ.ศ.๒๑๔๖ เพื่อจะยกไปเมืองตองอูให

ได เพราะพระเจาตองอูบังอาจหักหลังพระองค แตเมื่อตอมาเมืองอังวะกลายมาเปนภัยคุกคามตอความมั่นคงของราชอาณาจักรอยุธยามากกวาตองอู เพราะกำลังรุกรานแควนไทยใหญ สวนที่อยูในราชอาณาจักรอยุธยา พระองคจึงเปลี่ยนเปาหมายการทำสงครามไปที่เมืองอังวะ แทนเมืองตองอู แผนเสนทางเดินทัพของพระองคจึงมุงตรงไปที่เมืองอังวะโดยตรง นั่นคือขึ้นไปตั้งหลักรวมพลทั้งหมดที่เมืองเชียงใหม โดยใหเกณฑทัพหัวเมืองประเทศราชทุกเมืองไปรวมศึกดวย จากเชียงใหม แยกเดินทัพเปน ๒ เสนทาง คือ ■ เสนทางตะวันตกไปทางเมืองหาง สมเด็จพระนเรศวร เปนจอมทัพคุมเอง กะจะไปขามแมน้ำสาละวินที่เมืองหาง ■ เสนทางตะวันออก ไปทางเมืองฝาง ใหสมเด็จพระเอกาทศรถ ควบคุมบัญชาการทัพ ทั้ง ๒ เสนทางนี้เปนการเดินทัพในเขตแควนไทยใหญที่ขึ้นอยูกับอยุธยา จึงเสมือนการเดินทัพอยูในเขตแดนของอยุธยา จึงนาจะปลอดภัยดีกวาการเดินทัพผานทางดินแดนมอญ และพมา ไมตองทำการรบระหวางทาง อีกทั้งนาจะไดกำลังพล และเสบียงอาหารจากแควนไทยใหญในสังกัดมารวมดวย การปกปดการขาวกองทัพทำไดดีกวา กำลังพลไมเครียด ระหวางเดินทัพอยูในเขตไทยใหญ ก็เทากับเปนการปองกันแควนไทยใหญจากพมาโดยตรง และเมื่อสุดเขตไทยใหญก็มุ งตรงเขาหาเมืองอังวะ เปาหมายหลักทันที แสดงวาสมเด็จพระนเรศวร ตองการเดินทัพจูโจมเขาหาเมืองอังวะโดยตรง การเดินทัพทางแดนมอญ เมาะตะมะ หงสาวดี เขาแดนพมาตองผานแปร ตองอู ไปถึงอังวะ มีชวงระยะทางอยูในเขตอิทธิพลของขาศึกยาวไกล มอญเองก็ยังไววางใจไมไดเต็มรอย เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เดี๋ยวเขากับไทย เดี๋ยวหันไปเขากับพมา มียะไขคอยเปนกองโจรตีกองลำเลียงอยูดวย และเมื่อเขาตีหัวเมืองพมา เมืองแปร ซึ่งทำเลที่ตั้งเหมือนเปนดานหนาของเมืองอังวะ พระเจาอังวะอาจยกทัพมาชวยพระเจาแปร ขณะเดียวกัน พระเจาตองอู ก็ยัง

ð44

Page 5: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

เปนวัวสันหลังหวะ จึงอาจยกทัพมารวมรุมกินโตะทัพไทยดวย และเมื่อรวมกำลังพล ๓ หัวเมืองแลว ฝายไทยไมไดเปรียบ และเมื่อตองรบไปตลอดทาง แมจะชนะทหารก็จะอิดโรยมากกวาจะถึง เมืองอังวะเปาหมายหลัก เสนทางนี้จึงนาจะเสียเวลา และเสียกำลังพลมากกวา อีกทั้งอาจมีปญหาดานการสงกำลงับำรงุ (เสบยีงอาหาร) เหมอืนคราวกอน แผนการเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวร ครั้งนี้ยอดเยี่ยมมาก วางแผนดีก็สำเร็จไปแลวครึ่งหนึ่ง นาเสียดายที่มีเหตุอันทำใหจอมทัพสิ้นพระชนมเสียกอน เราจึงไมไดเห็นการปฏิบัติตาง ๆ ตามแผนนี้ มิฉะนั้นการทหารของกองทัพไทยคงจะไดบทเรียนมาใหลูกหลาน เหลน โหลน ไดศึกษาตอไป เคลื่อนทัพ โปรดให เคลื่อนทัพออกจากพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดี เดือนยี่ แรม ๘ ค่ำ ปมะโรง พ.ศ.๒๑๔๗ กำลังพลเดินเทา ๑๐๐,๐๐๐ คน ชางเครื่อง ๘๐๐ มา ๑,๕๐๐ (ฝายไทยยกทัพกี่ครั้งก็มีชางเครื่อง ๘๐๐ มา ๑,๕๐๐ จำนวนไมเปลี่ยนแปลง ทำใหสงสัยวาเปนจำนวนจริงหรือยกเมฆ) สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถ เสด็จโดยกระบวนเรือขึ้นเหยียบชัยภูมิ ในตำบลเอกราช ใหขุนแผนสะทาน ฟนไมขมนาม โดยการพระราชพิธีพิชัยสงครามเสร็จ ก็เสด็จออกทัพชัยในตำบลพระหลอแลวเดินทัพทางบก สมเด็จพระนเรศวร ทรงชางตนพลายศรีชัยศักดิ์ สมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงชางตนพระมหาศักดานุภาพ เดินทัพผานไปทางกำแพงเพชร ขึ้นไปยังเชียงใหม รวมพลอยูที่เชียงใหม ๑ เดือน ไดทัพหัวเมืองเหนือ เมืองเชียงใหม ลานชาง เมืองมอญ มารวมอีกประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ คน รวมเปนกำลังกองทัพไทย ประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ คน นับวาเปนกองทัพกษัตริยขนาดใหญ มีจำนวนกำลังพลมากที่สุดเทาที่ไทยเคยมีมาแตกอนแมตอมาจนถึงกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๔ ก็ไมมีการจัดทัพ ยกทัพที่มีกำลังพลมากมายถึง ๒ แสนคนอีกเลย ขนาดมีกำลังพล ๑๐๐,๐๐๐ - ๑๒๐,๐๐๐ คน ก็นับวามากมายแลว

กองทัพไทยเคลื่อนออกจากเมืองเชียงใหม ในวันพฤหัสบดี เดือน ๕ แรม ๑๑ ค่ำ ปมะเส็ง พ.ศ.๒๑๔๘ เมื่อถึงเชียงดาว ไดแยกเดินทัพเปน ๒ เสนทาง กองทัพที่ ๑ สมเด็จพระนเรศวร เปนจอมทัพ สมทบดวยพระเจาเชียงใหม และโอรส ๒ องค มีกำลังจากอยุธยา และลานนา กับมอญ เคลื่อนทัพไปทางตะวันตก ผานเมืองงาย ชองกิ่วผายอก ตรงไปยังเมืองหาง กะวาจะไปขามแมน้ำสาละวินที่เมืองหาง กองทัพที่ ๒ สมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงนำกำลังสวนที่เหลือ เคลื่อนทัพไปตามเสนทางตะวันออก ตรงไปยังเมืองฝาง เสนทางนี้จะตองผานภูเขาทุรกันดารกวาเสนทางตะวันตกมาก จอมทัพสิ�นพระชนม เมื่อกองทัพสมเด็จพระนเรศวร เดินทัพถึงเมืองหาง หรือเมืองหางหลวง ซึ่งเปนหัวเมืองของเมืองเชียงใหม ตั้งคายหลวงประทับอยูที่ทุงแกว ขณะที่ประทับแรมอยูที่นั้น สมเด็จพระนเรศวร เกิดประชวรเปนพระยอด (ฝ) ที่พระพักตร กลายเปนพิษราย (เอกสารบางฉบับกลาววาถูกแมลงมีพิษตอย บางแหงกลาววาชางทรงตกหลุมตอที่มีรังอยูใตดิน) จนพระอาการหนัก จึงตรัสสั่งใหขาหลวงรีบไปเชิญเสด็จ สมเด็จพระเอกาทศรถ มาเฝา สมเด็จพระเอกาทศรถ รีบมาเฝาทัน ทรงพยาบาลอยู ๓ วัน สมเด็จพระนเรศวร ก็สวรรคต ในวันจันทร เดือน ๖ ขึ้น ๘ ค่ำ เวลาบายแลว ๒ บาท ปมะเส็ง ตรงกับวันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๑๔๘ มีพระชนมายุได ๕๐ พรรษา เสวยราชยมาได ๑๕ ปพอดี เมื่อจอมทัพสูงสุดสวรรคตไปแลว แมสมเด็จพระนเรศวร จะมีรับสั่งใหสมเด็จพระเอกาทศรถ นำกองทัพไปตีเมืองอังวะตอไป ไมตองถอยทัพกลับ แตสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงรูซึ้งในพระทัยวา ขวัญของกองทัพไทย อยูที่สมเด็จพระนเรศวร พระองค เดียว เมื่อสิ้นสมเด็จพระนเรศวร ประสิทธิภาพในการทำสงครามของกองทัพไทย ก็จะ

ð45

Page 6: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

ลดลง พระองคจึงไมเสี่ยงที่จะยกทัพไปตีเมืองอังวะ ตามรับสั่งของสมเด็จพระนเรศวร คงเห็นวา รักษาอำนาจอิทธิพล และอาณาเขตของอาณาจักรอยุธยาเทาที่มีอยูขณะนี้ไวใหคงอยูตามเดิมก็ดีแลว อยุธยาทำศึกตอเนื่องมาหลายสิบป ตั้งแตรุนพอ จนรุนหลาน มีอาณาเขตกวางขวาง มั่นคง สมควรจะไดรับการพักผอนไดแลว ถอนทัพกลับคืนเมือง สมเด็จพระเอกาทศรถ จึงใหถอนทัพกลับคืนเมืองยุติการตีเมืองอังวะไวแคแผนการขั้นการเดินทัพไดคอนทางเทานั้น การสวรรคตของ สมเด็จพระนเรศวร นี้นับเปนการสวรรคตอยางชายชาติทหารโดยแท เรียกไดวา “ตายในหนาที่ราชการ” ขณะกำลังคุมกองทัพไปทำสงคราม ปราบปรามอริราชศัตรู ขณะสวรรคตนั้น ยังอยูในวัยหนุมฉกรรจเต็มที่

ปจฉิมพระบรมราชโองการ วันวลิต กลาวไววากอนเสด็จสวรรคต ไดทรงขอใหสมเด็จพระเอกาทศรถ สาบานวาไมถอยทัพกลับไปจนกวาจะไดชัยชนะ และอยาเพิ่งถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระองค เมื่อไดชัยชนะขาศึกแลว ใหมัดพระบรมศพเขากับหัวชาง แลวจูงเขาเมือง เพื่อพระองคจะไดทรงประสบความสำเร็จตามพระราชปณิธาน ที่ไดทรงตั้งไว นี่คือน้ำพระราชหฤทัยอันเด็ดเดี่ยวแนวแนของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เปน “ปจฉิมพระบรมราชโองการ” ของพระองค แตสมเด็จพระเอกาทศรถ ไมสามารถทรงปฏิบัติตามพระราชบัญชาได แมยามนั้นกำลังของกองทัพไทยเรามีมากพอ สำหรับทำศึกใหญใหสำเร็จตามพระราชประสงคได หัวเมืองไทยใหญในเวลานั้นไดมาขอขึ้นตอไทยเปนอันมาก ที่เหลือก็ไมยอมอยูในอำนาจของพมาอีกตอไป พมาเองก็ระส่ำระสายหนัก แตกกันเปนหลายกก ถึงกับรบกันเองวุนวาย กองทัพไทยคงสามารถ

■ พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมืองงาย อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม สรางขึ้นเพื่อเปนอนุสรณ แดสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ�งสวรรคตที่เมืองหางภายในบริเวณมีคายหลวงจำลอง สรางตามแบบคายทหารโบราณในสมัยอยุธยา

■ สมเด็จพระนเรศวรเสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปทางเมืองเชียงใหมเพื่อที่จะไปตีอังวะ แตสวรรคตที่เมืองหาง สมเด็จพระเอกาทศรถจึงเชิญพระบรมศพกลับสูพระนครศรีอยุธยา

ð46

Page 7: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

เอาชนะยึดกรุงอังวะไดไมยาก แตสมเด็จพระเอกาทศรถ ไดทรงประจักษแนชัดวา มิ่งขวัญของกองทัพไทย อยูที่สมเด็จพระนเรศวร เมื่อขาดสมเด็จพระนเรศวร เสียแลว กองทัพก็แทบจะสูญสิ้นหมดทุกสิ่ง ทะแกลวทหารไมมีแกใจที่จะตอสูรบพุงอีกตอไป ดังนั้นกองทัพไทยจึงพึงถอนกลับมากอน เปนมาตรการที่ดีที่สุด ที่จะรักษาสถานภาพความเปนมหาอำนาจของราชอาณาจักรอยุธยาไวไดสืบตอไป “พระองครับเอาภารกิจบานเมืองมาในเวลาที่ประเทศชาติ อยูในฐานะต่ำตอย ถึงกับเปนเมืองขึ้นของพมา แตไดทรงละทิ้งประเทศไป ในเวลาที่ไทยเปนมหาอำนาจในสุวรรณภูมิ” พระเกียรติคุณ หลวงวจิติรวาทการ ไดสดดุวีรีกรรม อนัยิง่ใหญของ สมเดจ็พระนเรศวรไว มคีวามสำคญัตอนหนึง่ ดงันี้ “ทรงเปนกษัตริยที่ออกหนา และทำการทุกอยางดวยพระองคเอง ในการสงครามทุกครั้ง ไดทรงปฏิบัติหนาที่เปนทั้งแมทัพและหนาที่พลทหาร ครั้งใดที่ทรงรูสึกวา เปนการสำคัญ และเปนการยากแลว ก็ทรงลงมือทำดวยพระองคเองทันที ปลอยงานที่งายไวใหคนอื่น ผลที่สมเด็จพระนเรศวร ไดทรงทำไวใหแกประเทศไทยนั้น คือสันติสุข เพราะตั้งแตเสร็จสงครามยุทธหัตถีแลว ก็ไมมีศัตรูตางดาวกลาเขามาย่ำยี่กรุงศรีอยุธยาอีก จนตลอดเวลาศตวรรษครึ่ง แปลวาสมเด็จพระนเรศวร ทรงใชเวลา ๒๐ ป ทำสงคราม เพื่อสรางความรมเย็นใหแกไทย เปนเวลา ๑๕๐ ป ซึ่งเปนมรดกอันล้ำเลิศ ที่พระองคทรงสราง และทำไวแกชาติ” หมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมทย ไดสดุดีพระเกียรติไวอยางนาประทับใจยิ่ง ตอนหนึ่งวา “ในสมัย สมเด็จพระนเรศวร เปนเจานั้น พมาออนอำนาจลงถึงที่สุด แตไทยไดแผอำนาจออกไปกวางไกลมาก ตั้งแตพมาใตทั้งหมด หรือจากฝงทะเลมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันตก ไปจนถึงฝงมหาสมุทรแปซิฟก ดานตะวันออก ทางใตแผอำนาจลงไปถึงแหลมมลายู และทางเหนือก็ถึงฝงแมน้ำโขง

โดยตลอด รวมทั้งรัฐไทยใหญเปนบางรัฐ” “คนไทยในสมัย พระนเรศวร จึงปลอดภัย พนจากความเกรงกลัว ที่ตองถูกพมาตีเอาบานเมือง และริบทรัพยสมบัติ กวาดตอนเอาไปเปนเชลย ซึ่งความกลัวนี้มีมานาน ตั้งแตแผนดินพระมหา จักรพรรดิ และแผนดินพระมหินทราธิราช แมในตนแผนดินพระมหาธรรมราชา จะมีความปลอดภัยขึ้นบางแตก็เปนความปลอดภัยที่อัปยศ เพราะพมาเขามาเปนใหญในบานเมือง มีอำนาจเกณฑทัพไทยไปใชในการสงครามแผอำนาจของตนได” “ความปลอดภัยอันแทจริง มาเกิดมีขึ้นเพราะสมเด็จพระนเรศวร เปนเจาพระองคเดียว ผูทรงกอใหเกิดความคิดใหม วิธีการใหม และความหวังใหมขึ้นในใจคนไทย ถึงคนไทยจะเกรงกลัวพระราชอาญาแหงพระนเรศวรเปนเจายิ่งกวาความตาย ความกลัวนั้นก็ยังดีกวาความกลัวพมา หรือความหวาดหวั่นผูมีอำนาจทางทิศอื่น เชน พระยาละแวก” “ความเกรงกลัวพระราชอาญาสมเด็จพระนเรศวรนั้น เกิดจากความเคารพรัก และความภูมิใจ เพราะสมเด็จพระนเรศวร ทรงปฏิบัติพระองคใหแลเห็นชัดทั่วกันวา พระราชกรณียกิจนอยใหญนั้น เปนไปเพื่อประโยชนรวมกันของคนไทย และเพื่อประโยชนของบานเมือง มิไดเปนไปเพื่อประโยชนสวนพระองคเองเลยแมแตนอย จะเห็นไดวา สวนใหญแหงพระชนมชีพนั้น พระองคจะอยูในสนามรบ หรือในชนบท ประทับแตในพลับพลา หรือในคาย มิไดเสวยสุขอยูในปราสาทราชมณเฑียร หรือในพระนคร” ในมุมมองของทหาร มองในดานงานกูชาติ ที่พระองคไดกระทำเพื่อคนไทย และอาณาจักรอยุธยา หรือจะเรียกสมัยนี้วา เพื่อคนไทยและประเทศไทย ในฐานะพระมหากษัตริย ที่ทรงเปนจอมทัพ นำทัพสูศึกสงคราม ทรงเปนแมทัพที่ดีที่สุดพระองคหนึ่งที่แควน หรืออาณาจักรไทยตาง ๆ เคยมีมา ■ ทรงรอบรูการใชอาวุธสงครามทุกชนิด ทั้งอาวุธแบบเกา เชน ดาบ หอก ทวน งาว ธนู ฯลฯ และอาวุธสมัยใหม เชน ปนเล็ก (ปนไฟ ปนนกสับ)

ð47

Page 8: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

และปนใหญ ทรงรูชนิดเชี่ยวชาญในการใช ชนิดที่ทางทหารเรียกวา “รูจนเปนครูสอนได” ■ ทรงรอบรูในยุทธศาสตร ยุทธวิธี การสงครามของชาติคูสงครามตาง ๆ ที่จะตองสูรบดวย จนรูจุดออน จุดแข็ง ของแตละชาติ แตละเมือง เนื่องจากไ ด มี โ อ ก า ส ไ ป ศึ ก ษ า อ ยู ใ น ก รุ ง ห ง ส า ว ดี ดินแดนขาศึก ในสมัยพระเจาบุเรงนอง กรุงหงสาวดี คือศูนยรวมทางวิทยาการทุกชนิด ของอุษาคเนย ทรงรูเชี่ยวชาญทางยุทธวิธี จนสามารถนำมาใชอยางไดผลดี แมจะมีเวลาจำกัดในการเตรียมการตาง ๆ เชน การจัดทัพซุมโจมตี ในการรบตาง ๆ การใชการรบนอกแบบ หรือการรบแบบกองโจร จนทำใหคนนอย เอาชนะคนมากกวาได เปนตน ทรงเชี่ยวชาญในการรบแบบ “การปฏิบัติโดยฉับพลัน” ตามแบบสงครามสมัยใหมทุกลักษณะ ■ มีความกลาหาญ เด็ดเดี่ยว ดุเดือด ในการรบ แตสุขุมรอบคอบ ทรงนำหนาตลุยเขาหาขาศึกโดยไมเกรงอันตรายที่จะเกิดแกพระองค เชน ตอนไลตามเรือพระยาจีนจันตุ ฯลฯ ■ รวมทุกข รวมสุขกับผูใตบังคับบัญชา ไมเอาเปรียบ งานใดยากทรงนำ และทำเอง เชน นำตีแยงคาย กลับคืนจากพมา นำหนวยจูโจมตีขนาดเล็ก ถึงขนาดนำปนคายขาศึก ฯลฯ จะเห็นไดวาทรงเปนผูบังคับบัญชาทหารชนิดครบเครื่อง คือ มีฝมือ รอบรู ใจสู ผูใตบังคับบัญชารัก ในฐานะพระมหากษัตริย ผูบริหารปกครองประเทศ ประชาชน ทรงเปนพระมหากษัตริยที่ทรงเสียสละความสุขสวนพระองค เพื่อประชาชน ทำใหประชาชน อยูดี กินดี อยูเย็นเปนสุข ทำใหประเทศไทยเปนที่ยกยองของนานาชาติ ทั้งใกลและไกล ทรงเปนพระมหากษตัรยิทีท่นัสมยั เปนนกับรหิารทีม่สีายพระเนตรกวางไกล ทัง้งานการทตู และงานการคา ทรงประสูติมาเพื่อ “กูชาติ สรางชาติ และขยายราชอาณาจักร” แลวก็ทรงจากไป โดยไมมีเวลาเสวยความสุข จากผลงานที่ทรงกระทำไวเหมือนงานของพระโพธิสัตว ผูมาปราบยุคเข็ญ โชคดีของคนไทย ประเทศไทยที่ไดพระองคประสูติมาเปนพระมหา

กษัตริย ของราชอาณาจักรอยุธยา

ว�เคราะหการเดินทัพในศึกครั�งสุดทาย ศึกครั้งสุดทายของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในป พ.ศ.๒๑๔๗ ถือเปนการทำศึกเพื่อขยายราชอาณาจักร และตอบโตพมาที่กระทำย่ำยีตอไทยอยุธยา กองทัพไทยยังไมเคยโจมตียึดเมืองสำคัญของพมาไดดวยกำลังทหารแมแตเมืองเดียว เคยยึดไดแตเมืองมอญ เมื่อคราวยกทัพไปโจมตีกรุงหงสาวดี ในป พ.ศ.๒๓๔๒ แมทัพไทยจะเขากรุงหงสาวดีได แตก็เปนการเขาสูเมืองราง เพราะพมาตองอูกับ ยะไข รวมมือกันทำลายกรุงหงสาวดีกอนที่ทัพไทยจะไปถึง ไทยจึงไดหงสาวดีเมืองราง ไมมีทั้งผูคน ทรัพยสมบัติ แมแตอาคารที่พัก เพราะถูกยะไขเผาเรียบหมด สงครามที่ทัพไทยเตรียมไปโจมตีพมาในป พ.ศ.๒๑๔๗ ซึ่งประวัติศาสตรไทยบันทึกวาเปนสงครามครัง้สดุทายของสมเดจ็พระนเรศวรมหาราชนัน้ ประวัติศาสตรหลายฉบับวา พระองคทานเตรียมไปโจมตีเมืองตองอูอีกครั้ง ตอบแทนที่ตองอูหักหลังกองทัพไทย ที่ชวนยะไขชิงไปตียึดทรัพยสมบัติของหงสาวดีเสียกอน โดยใชสถานการณกองทัพไทยกำลังยกไปโจมตี เปนตัวบีบใหพระเจานันทบุเรง

■ พระองคดำทรงชี้พระดัชน�ไปยังประเทศพมาพระองคขาวทรงชีล้งที่พื้นปฐพี ภาพนูนสูงที่ฐานพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรหนาเจดียวัดภูเขาทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ð48

Page 9: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

ยอมจำนนตอกองทัพตองอู คราวกอนเมื่อป พ.ศ. ๒๑๔๒ ยกทัพไปตีตองอู แตเสบียงหมดจึงตองถอยทัพกลับคราวนี้จึงจะไปโจมตีใหม ประวัติศาสตรบางฉบับถึงกับบันทึกวา เมื่อกลับจากตองอู ป พ.ศ. ๒๑๔๒ แลว พระองคไมยอมกลับเขาประทับในพระราชวังที่กรุงศรีอยุธยา กลาววาพระองคปฏิญาณวา ถายังตียึดเมืองตองอูไมได ก็จะไมเสด็จเขาประทับในพระราชวังกรุงศรีอยุธยา เท็จจริงเปนอยางใดไมทราบ แตนักประวัติศาสตรรุนปจจุบันหลายทานลงความเห็นวา สงครามครั้งนี้พระองคเตรียมกองทัพไปโจมตีเมืองอังวะ ที่พระเจาสีหสุธรรมราชา (เจานะยองราม) ราชบุตรของพระเจาบุเรงนอง ไดรวบรวมกำลังตั้งอาณาจักรพมาขึ้นมาใหม กำลังโตวันโตคืน และพมาใหการสนับสนุน พระองคเปนเชื้อสายของพระเจาบุเรงนองโดยตรง สวนเมืองตองอูนั้นกำลังหมดบทบาทลงไปเรื่อย ๆ สมเด็จพระนเรศวรจึงทรงเปลี่ยนเปาหมายจากตองอูเปนอังวะ ถาไดอังวะ ตองอู และแปร ก็เหมือนอยูในกำมือ อาจไดเปนเมืองขึ้นโดยไมตองรบ พระเจาสีหสุธรรมราชา (นะยองราม) ประวัติศาสตรพมาบางฉบับกลาววา พระองคมีพระมารดาเปนชาวมอญ เปนธิดาของอำมาตยผูใหญของพระเจาบุเรงนอง ที่พระเจาบุเรงนองโปรดมาก แตพอที่เปนอำมาตยรวมอยูในกลุมกบฎชาวมอญ เมื่อป พ.ศ.๒๑๐๖ (คราวเสร็จศึกสงครามชาง

เผือกกับไทยกรุงศรีอยุธยา) พระมารดาจึงถูกประหารไปดวย แตพระองครอดเพราะพระเจาบุเรงนองใหลูกนองคนสนิทเอาไปดูแล ดูจากแผนการเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวร ที่ออกจากที่รวมพลเมืองเชียงใหม เคลื่อนออกไปทางเหนือ ผาน อำเภอเชียงดาวปจจุบัน แลวแยกเปน ๒ กองทัพ กองทัพที่ ๑ พระองคคุมเองเดินทัพไปทางซายไปสูเมอืงหาง (หางหลวง) สวนกองทพัที ่ ๒ สมเด็จพะเอกาทศรถคุม แยกเดินทัพไปทางขวาไปเมอืงฝาง กำลงัทัง้หมดมปีระมาณ ๒๐๐,๐๐๐ คน คงจะแบงกองทัพละ ๑๐๐,๐๐๐ คน ประวัติศาสตรไทยทุกฉบับกลาวไวแคนี้ เลยไมทราบวาแผนการเดินทัพของไทยจากที่รวมพลเมืองเชียงใหมไปเมืองอังวะนั้นใชเสนทางใด แตดูจากที่เคลื่อนทัพในขั้นตนถึงเมืองหาง และเมืองฝาง ก็แสดงใหเห็นวาทัพไทยจะไปตีเมืองอังวะแนนอน เมืองตองอูตั้งอยู ในแนวเสนรุงใกลเคียงกับเมืองเชียงใหม ถาจะไปตีเมืองตองอู ก็ตองลงไปทางตะวันตก และคงไมแยกอีกทัพไปเมืองฝาง เพราะจะหางเปาหมายเมืองตองอูออกไปคนละทิศ มาดูกันวาเสนทางเดินทัพทั้ง ๒ ของกองทัพไทยเมื่อป พ.ศ.๒๑๔๗ - ๒๑๔๘ นั้น นาจะใชแนวเสนทางใดไปสูเมืองอังวะ ความจริงแผนเดินทัพครั้งนั้นตองกำหนดไวแลวแนนอน แตบังเอิญแมทัพใหญสิ้นพระชนมระหวางที่เดินทัพ ภารกิจโจมตียึดเมืองอังวะจึงตองงด แลวยกทัพกลับคืนถิ่น แผนการ เดินทัพที่กำหนดและบันทึกเปนหลักฐานไวนั้น คงจะถูกเผาเมื่อกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ ๒ เมื่อป พ.ศ.๒๓๑๐ พวกเรารุนหลงัจงึไมทราบ กองทพัไทยไมเคยเดินทัพขึ้นเหนือออกจากเชียงใหม ไปทางแนวเสนทางเมืองหางมากอนเลย พอบรรพบุรุษทานจะเดินทัพนำทางก็มีอันตองยุติแผน พวกเราเลยไมทราบ แตในฐานะที่เปนทหารฝายการรบ ก็อยากทราบวา ทวดของทวดของทวด ๑๐ ชั้นนั้น ทานจะเคลื่อนทัพ (เดิน) ไปทางไหน จึงขอลองวาดภาพดูตามกำลังสติปญญา ถูกผิดคงไมวากัน เพราะเราเกิดไมทัน ขอใหไดคิด ลองเอาความรูทางทหารใน

ð49

Page 10: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

ปจจุบันมาจับแลววาดภาพออกมาเปนตัวอักษร ทานผูอานขอใหพิจารณาตามไปดวย จะเห็นวาภาพที่ผมวาดนี้สมเหตุสมผลหรือไม ■ ทำไมกองทัพไทยใช เสนทางผานพื้นที่ ไทยใหญ ๑๙ เจาฟา (สวนใหญเปนรัฐอิสระแกกัน เวนแตเมื่อตกเปนเมืองขึ้นพวกพมา หรือไทย) เหตุผลผมกลาวไวแลว เพราะพื้นที่สวนใหญอยูในอิทธิพลของอยุธยา แมบางเมืองยังไมยอมออนนอมตออยุธยา แตประชาชนสวนใหญก็นิยมยกยองสมเด็จพระนเรศวร ฯ วาเปนวีรบุรุษของเผาไทย ผูกูเอกราช เหมือนการเดินทัพในถิ่นเดียวกัน จึงปลอดภยัจากการถกูโจมต ี หรอืกอกวนระหวางทาง เปนการออมกำลังพล ไมใหเครียด ไมใหเหนื่อย กอนถึงที่หมายหลัก เปนการแสดงกำลัง (Show of Force) ของกองทัพไทยอยุธยา ใหรัฐไทยใหญตาง ๆ ไดเห็น แลวจะไดเขามารวมวงศไพบูลยเดียวกัน ในกลุมคนพูดภาษาไทย - ลาว ดวยกัน ไดเสบียงอาหารระหวางทางจากหัวเมืองไทยใหญที่กองทัพผาน หรือที่เขามาเปนพวก แมจะอยูหางแนวทางการเดินทัพ ก็อาจสงเสบียงมาชวยได ไดกำลังพลเพิ่มเติมในกองทัพ เพราะชาวไทยใหญหัวเมืองตาง ๆ ที่เคยถูกพมากดขี่ ตางก็มีความเจ็บแคนพมาอยูดวยกัน ■ ทำไมถึงแยกเดินทางเปน ๒ กองทัพ ๒ แนวทาง กองทัพอยุธยาครั้งนั้น ประวัติศาสตรบอกวามีกำลังพลถึง ๒๐๐,๐๐๐ คน ชางมากกวา ๘๐๐ มามากกวา ๑,๕๐๐ เปนกองทัพที่ใหญที่สุดเทาที่คนไทยทุกเผาเคยมีมาแตในอดีต และตอมาจนถึงปจจุบัน กองทัพไทยไมวายุคใด อาณาจักรใด ไมเคยยกทัพที่มีกำลังพลถึง ๒๐๐,๐๐๐ คน อีกเลย ลองนึกภาพดูคนจำนวนนี้พรอมขบวนชาง มา กองลำเลียงเสบียงอาหาร ลำเลียงปนใหญ กระสุน ดินดำ ถาเคลื่อนยายไปเสนทางเดียวกันจะอุยอาย ขบวนเดนิทางยาวเหยยีด ทำใหลาชาแคไหน พิจารณาภูมิประเทศภาคเหนือตั้งแตเชียงใหม

สูงขึ้นไปในเขตพื้นที่ไทยใหญ ที่เรียกวารัฐฉานเปนเนินเขาสลับซับซอน ทั้งเล็กใหญ สูงบางต่ำบาง โดยมากทิวเขาจะทอดตัวจากเหนือลงใต มีที่ราบระหวางแนวเขา เปนทั้งเสนทางการเดินทางติดตอกัน และที่ทำกิน ที่ใดกวาง อุดมสมบูรณ ก็ตั้งเปนเมือง ผมเคยไปเที่ยวจากอำเภอแมสายออกไป ทาขี้เหล็ก เชียงตุง ถึงเมืองลา ในเขตพมา เมื่อป พ.ศ.๒๕๔๘ ไดเห็นภูมิประเทศที่เปนปาเขาสลับซับซอน แมในปจจุบันยังไมเหมาะแกการเดินทัพขนาดใหญ เมื่อ ๔๐๐ กวาปกอน ภูมิประเทศยิ่งลำบาก นกึถงึการเดนิทพัในสมยัโนนแลวเหนือ่ยแทน ดูจากแผนที่ในรัฐไทยใหญ ๑๙ เจาฟา มีแมน้ำสาละวินหรือแมน้ำคง ไหลจากเหนือลงใต สองฟากฝงลำน้ำมีเมืองใหญตั้งอยูเปนระยะ ๆ มีแนวเขาทางตะวันตก ทอดเหนือใต กั้นเขตแดนระหวางพมา (ตะวันตก) กับไทยใหญ (ตะวันออก) ดังนั้นพื้นที่ราบระหวาง ๒ ฝงแมน้ำสาละวิน จึงพอสามารถใชเคลื่อนทัพขนาดใหญได แตภูมิประเทศเปนเขาเตี้ย ๆ สลับกับเนิน มิใชที่ราบแบบภาคกลางของไทย คนเกิน ๑ แสนคนคงลำบาก เสนทางนี้พมาเคยใช เนเมียวสีหบดีเคยนำทัพพมาจากอังวะผานเมืองนาย เขาสู เมืองเชียงใหมทาง ทิศเหนือ เมื่อป พ.ศ.๒๓๐๖ - ๒๓๑๐ หลังจากนั้นตัวเองก็ใชหนีกองทัพไทยของสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช เมื่อป พ.ศ.๒๓๑๗ ออกจากเชียงใหมไปเมืองนาย ไปจบชีวิตทหาร จบบทบาททางการทหารของตนเมื่อแพไทยที่เชียงใหม แนวทางการเดินทัพนี้ ออกจากเชียงใหม ประวัติศาสตรกลาววา จะไปขามลำน้ำสาละวินที่ เมืองหาง จากเมืองหางนาจะเกาะลำน้ำดานตะวันตก ผานเขตเมืองรุม เมืองคัง แวะพักที่เมืองพง แลวอาจตอไปรวมพลที่ เมืองแสนหวี ซึ่ ง เปนเมืองใหญ เมืองสำคัญของรัฐไทยใหญก็ได นาจะใชเปนที่รวมพลกอนเขาตีอังวะได หรือจะวกไปที่เมืองทีบอ ซึ่งอยูหางจากเมืองอังวะไมมาก ยังเปนเขตแดนไทยใหญก็ได ไมทราบวาจะมีพื้นที่กวางใหกองทัพ ๒ แสนคน มีที่พอหรือไม เมืองแสนหวี อยูสูงขึ้น

ð50

Page 11: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

ไปถาระยะทางไมไกลเกินไป นาจะใชเปนที่รวมพลกอนเขาตีไดเหมาะสมกวา ทั้งความสะดวกสบาย เสบียงอาหาร เนื่องจากเจาฟาแสนหวี เจาคำไขนอย เคยหลบหนีพมามาอยูกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่อยุธยา เมื่อทาวพระยาแสนหวีแตงเครื่องบรรณาการมาขอเปนขาขอบขัณฑสีมา พรอมทั้งทูลขอเจาไขคำนอยไปครองเมืองแสนหวี สมเด็จพระนเรศวร ทานก็โปรดใหการสนับสนุน ใหกองทัพไทยถวายความปลอดภัยจากอยุธยาถึงแสนหวีดวยความเรียบรอย เสนทางนี้จึงนาจะเปนเสนทางเดินทัพ เสนที่ ๑ เสนทางซาย ที่สมเด็จพระนเรศวร ใชเดินทัพหลวง เสนทางที่ ๒ เสนทางขวา นาจะเปนเสนทางที่ใชติดตอคมนาคมกันในปจจุบัน จากไทยไปพมา สูเมืองเชียงรุงของจีน แตไมไปเชียงรุง คือ ออกจากเชียงใหมไปทางเมืองฝาง (อำเภอฝางปจจุบัน) ผานทางเหนือของเมืองเชียงราย ไปออกทางอำเภอแมสาย สมัยโนนคือเมืองเชียงแสน ขึ้นเหนือไปเมืองเขมรัฐ (เชียงตุง) จากเชียงตุง นาจะวกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ไปเมืองพง หลังจากนั้นก็ใชเสนทางรวมกับเสนทางที่ ๑ ดังนั้นเมืองพงก็อาจเปนที่รวมพลของกองทัพทั้ง ๒ กองทัพกอนเขาตีเมืองอังวะก็ได แนวทางเดินทัพนี้ สมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงเปนผูคุมทัพที่ ๒ กำลังพลทั้ง ๒ กองทัพ ประวัติศาสตรไทยไมบอกวาแบงกองทัพละเทาใด ผมคิดวาคงแบงเทา ๆ กัน กองทัพละ ๑ แสนคน มากนอยแตกตางกันไมเทาไร เพื่อใหการเดินทางไมคับคั่งจนเกินไป และพออาศัยเสบียงในทองถิ่นที่เปนเมืองเล็ก ๆ เลี้ยงไดบาง การเดินทัพทางไกล ผานภูมิประเทศทุรกันดารเชนนี้ คงตองไปอยางชา ๆ ไม ใหกำลังพลเหน็ดเหนื่อยมาก เดินไป พักไป แหงละ ๓ - ๕ วัน มีคนพื้นที่เปนคนนำทาง กอนเขาตีเมืองอังวะ นาจะรวมกองทัพทั้ง ๒ ที่แยกกันเดิน กลับมาเปนกองทัพเดียว เพื่อเปนการรวมกำลัง และใชกองทัพแบบเอกภาพในการบังคับบัญชาอยางเต็มที่ ไมนาจะแยกกันตี

แบบทัพใดถึงเมืองอังวะกอนก็โจมตีกอน ซึ่งจะทำใหความไดเปรียบดานกำลังพลหมดไป ดังนั้นจะเห็นวา แมการเดินทัพของไทยจากเมืองเชียงใหมไปตีเมืองอังวะ จะใชวิธีการ “เดินทัพเสนทางนอก” ๒ กองทัพ ๒ เสนทาง แตก็จะไปรวมพลเปนกองทัพเดียวในเขตอิทธิพลของไทย กอนเขาตีที่หมายหลักเมืองอังวะ จึงไมเหมือนการเดินทัพ เสนทางนอกของพมาที่เคยใชกับไทยอยุธยา ไทยกรุงธนบุรีหรือไทยรัตนโกสินทร ที่ตองเดินทัพแยกกันอยูในเขตแดนขาศึก ผมวาดแผนการเดินทัพ (เดา) ของกองทัพไทย สมเด็จพระนเรศวร แลวยังนึกวา แผนการเดินทัพไทยอยุธยาไปตีอังวะครั้งนี้ยอดเยี่ยมจริง ๆ นาเสียดายที่มีอันเปนไปเสียกอน มิฉะนั้นประวัติศาสตรของประเทศตาง ๆ ในแหลมทอง อุษาคเนย คงจะเปลี่ยนไปแน ๆ การวาดแผนการเดินทัพของผม ทางทหารเรียกวา การวางแผนบนแผนที่มีเพียงแผนที่หยาบ ๆ มาตราสวนใหญ เปนแผนที่ภูมิศาสตรของคุณทองใบ แตงนอย แสดงที่ตั้งเมืองสมัยสมเด็จพระนเรศวร และแสดงภูเขา แมน้ำ มิใชแผนที่ทางการทหาร ซึ่งจะมีรายละเอียดตาง ๆ มาก เปนการวางแผนบนแผนที่ที่มี รายละเอียดใหพิจารณานอยมาก ถึงกระนั้นก็คงจะชวยใหทาน ผูอานที่มิใชทหารไดมองภาพการเดินทัพขนาดใหญในสมัยโบราณของบรรพบุรุษไทย ผูแกลวกลา กลาหาญ เหลานั้นไดบาง ขอใหนึกถึงการเดินขามเขา ขามลำน้ำ ขามหวย หนองคลองบึง ผานปาชนิดตาง ๆ เดินทางกันเปนเดือน ๆ ไปรบเพื่อเอกราช และราชอาณาจักรไทยเพื่อลูก หลาน เหลน โหลน ของทานจะไดมีแผนดินเปนที่อยูอาศัยดวยความรมเย็นเปนสุข อุดมสมบูรณ ใหมีประเทศไทย ที่บริหารปกครองดวยคนไทย มาจนตราบเทาทุกวันนี้ พวกเราคนไทยรุนหลังอยาลืมพระคุณนี้ของทาน และตองชวยกันรักษาสมบัติที่ทานมอบใหสงตอถึงลูก หลาน เหลน โหลน ตอไปดวย อยาทะเลาะ แตกความสามัคคีกันจนเสียบานเสียเมือง

ð51

Page 12: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

■ เสนทางเดินทัพไทย จากเมืองเชียงใหมไปเมืองอังวะ (ตามการวิเคราะห) พ.ศ.๒๑๔๘

ð52

Page 13: บทความ งานกู ชาติ ของ ... งานกู้ชาติของ... · นาวิกศาสตร ป ที่ ๙๕ เล มที่

นาวิกศาสตร ปที่ ๙๕ เลมที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๕

ลำดับเช�้อสายกษัตร�ยอยุธยา

จารึกแผนหินออนที่ศาลสมเด็จพระนเรศวร วังจันทร และที่พระเจดีย

หลังพระวิหารพระพุทธชินราชวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช แด ลูก หลาน เหลนไทย

------------------------

อันอังคารสังขาร ของกูนี้ บัดนี้ผานสี่รอยกวาปหามีไม

ถึงกายกู ตัวกู จะจากไป วิญญาณไซร ยังอยู คูแผนดิน

ก็แผนดิน ผืนนี้ หรือมิใช ที่กูสู กูไว ใหลูกหลาน

บัดนี้หลาน เหลนอยูสุขมานาน ถึงปราศปราณ ญาณยังอยู คูพวกมึง

กู......สูกูแผนดินไว ใหอิสระ นำคนไทย สูชัยชนะ มิรูสิ้น

ถึงตัวตาย (ไป) รักษไว ซึ่งแผนดิน ปณิธานนี้ มิเลือน ถึงสิ้นปราณ

แผนดินนี้มีความศักดิ์สิทธิ์ แมแมนผูใดคิดมุงราย ตองตายสิ้น

เหตุเพราะกู ผูกอบกู กูแผนดิน ยังดูแลตราบสิ้น ชั่วกาลนาน

กรุงศรี ฯ เคยคลุกคลี ดวยสีเลือด แผนดิน เคยเดือด เลือดโลมไหล

แตไทยตอง คงนาม ความเปนไทย ถึงไมมีใคร วิญญาณกู จะสูเอง

ð53