2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม...

150
การจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย โดย นายเกรียงไกร กันยะ วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ

Upload: others

Post on 22-Jun-2020

20 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

การจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย

โดย นายเกรียงไกร กันยะ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศกึษาตามหลกัสูตรปริญญาศลิปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร

ปการศึกษา 2556 ลิขสิทธิข์องบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 2: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

การจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย

โดย นายเกรียงไกร กันยะ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศกึษาตามหลกัสูตรปริญญาศลิปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร

ปการศึกษา 2556 ลิขสิทธิข์องบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 3: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

THE FORMULATION OF THE CODE OF ETHICS FOR ASTROLOGER IN THAI SOCIAL

By Mr. Kriangkrai Kanya

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Arts Program in Cultural Resource Management

Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2013

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 4: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “การจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย” เสนอโดย นายเกรียงไกร กันยะ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ………………………………………………… (รองศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ) คณบดีบณัฑิตวิทยาลัย วันที่..........เดือน.........................พ.ศ.............

อาจารยที่ปรึกษาวทิยานพินธ ผูชวยศาสตราจารย ดร.มณีวรรณ ผิวนิ่ม คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานพินธ

.....................................................ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.รัศม ี ชทูรงเดช) ................./................./.................

.....................................................กรรมการ (รองศาสตราจารยชนัญ วงษวิภาค) ................./................./.................

.....................................................กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.มณีวรรณ ผิวนิม่) ................./................./.................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 5: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

52112310: สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม คําสําคัญ: นักโหราศาสตร / จรรยาบรรณ เกรียงไกร กันยะ: แนวทางการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ: ผศ.ดร.มณีวรรณ ผิวนิ่ม. 137 หนา. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพการณวิชาโหราศาสตรในสังคมไทยและนําเสนอแนวทางในการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย โดยใชวิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมขอมูลจากเอกสารวิชาการและกึ่งวิชาการ ใชการสัมภาษณแบบเปนทางการ และการสัมภาษณแบบไมเปนทางการ การสังเกตแบบมีสวนรวม และการสังเกตแบบไมมีสวนรวม ผลการวิจัยพบวา นักโหราศาสตรในสังคมไทยมี 2 ประเภท คือ นักโหราศาสตรที่พยากรณดวยหลักการโคจรของดวงดาวและหลักการสุมเลือกสัญลักษณ โหราศาสตรมบีทบาทในการตัดสินใจดําเนินชีวิตและวัฒนธรรมความเปนอยูของคนในสังคม การพยากรณมีรูปแบบที่หลากหลาย นอกจากการพยากรณกับนักโหราศาสตรโดยตรงแลวยังมีการพยากรณผานส่ือตาง ๆ ปญหาที่พบในสังคมปจจุบันคือการพยากรณไมแมน การหลอกลวง การเรียกรองทรัพยสินเพิม่จากคาบริการ ปจจุบันสมาคมโหราศาสตรทําหนาที่สอนวิชาโหราศาสตรและถายทอดจรรยาบรรณ นักโหราศาสตร โดยมีจรรยาบรรณที่ถายทอดคือ 1. หามทายเร่ืองผัวเมียวาช่ัวหรือดี 2. หามทายเร่ืองการสิ้นอายุขัย 3. หามทายเร่ืองทารกวาจะพึ่งพิงในอนาคตไดหรือไม และมีขอควรปฏิบัติของนักโหราศาสตรอีกหลายประการ แตปจจุบันองคกรโหราศาสตรที่มีอยูหลายองคกรยังไมสามารถรวมตัวกันใหมีเอกภาพเหมือนองคกรวิชาชีพอ่ืนๆได จึงยังไมมีมาตรการที่สามารถควบคุมสมาชิกอยางแทจริงได แนวทางที่จะทําใหเกิดจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรไดในอนาคต ตองมาจากการรวมกลุมกันขององคกรโหราศาสตรที่ตระหนักรวมกันถึงความจําเปนที่จะตองมีจรรยาบรรณ และรวมกันกําหนดกฏระเบียบที่มีมาตรการควบคุมอยางเปนทางการ สามารถใหคุณใหโทษกับ นักโหราศาสตรได สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือช่ือนักศึกษา….......................................... ปการศึกษา 2556 ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ…..........................................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 6: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

52112310: CULTURAL RESOURCE MANAGEMENT

KEYWORDS: ASTROLOGER / CODE OF ETHICS

KRIANGKRAI KANYA: THE FORMULATION OF THE CODE OF ETHICS FOR

ASTROLOGER IN THAI SOCIAL. THESIS ADVISOR: ASSOC.PROF. MANEEWAN PEWNIM,

Ph.D. 137 pp.

The objective of this study was to explore the circumstance of Thai astrology and

recommend appropriate approach to the formulation of the code of ethics for Thai astrologers.

The research methodologies employed are qualitative study, documentary research of both

academic and semi-academic documents, formal and informal interviews as well as

participant and non-participant observation. The research findings reveal that there are two types of astrologers in Thai

society: astrologers who predict by the orbit of the stars and those who predict from randomly

selected symbol. Astrology plays significant roles in the decision-making process and the

cultural life of Thai people. There is a large variety of astrology; people seek face-to-face

prediction and through social media. There are also problems of inaccurate and fraudulent

predictions as well as astrologers overcharging for their services. Currently, there are a

number of astrologers’ associations responsible for the teaching astrology and the

transmission of appropriate astrologers’ conducts. These conducts, which are closest to the

astrologers’ code of ethics, are the prohibitions on the following issues: 1) Suitability of

spouses; 2) Prediction of a person’s imminent death; and 3) A newborn baby’s future

prospects. The associations also passed on many recommended practices for astrologers.

However, the existing astrologers’ associations have separate practices and, unlike other

professional organizations, have no unity. For this reason, they have no real power or control

over their members. Recommendations for the formulation of astrologer’s code of ethics in

the future involve integration of astrologers’ associations with mutual recognition of the

importance of a professional code of ethics for their members. These associations must join

forces and agree on a uniform rules and regulations that can be enforced through formal

control measures that can truly commend or punish member astrologers.

Program of Cultural Resource Management Graduate School, Silpakorn University

Student’s signature…………………………….. Academic Year 2013

Thesis Advisor’s signature…………………………………….

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 7: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

กิตติกรรมประกาศ

การเรียนรูในระดับปริญญามหาบัณฑิต ส่ิงสําคัญประการหนึ่งคือจัดทําวิทยานิพนธดวยการนําความรูที่เรียนมาศึกษาวิจัยในประเด็นที่เปนประโยชนกับสังคม ในกระบวนการศึกษาวิจัยตองใชความรูและขอมูลหลายสวน ในงานวิทยานิพนธฉบับนี้ก็เชนกัน มีผูเกี่ยวของหลายฝายที่สนับสนุน ผลักดันใหวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดี โดยเฉพาะอยางยิ่งคณาจารยและเจาหนาที่สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ใหความรู ชี้แนะแนวทางและอํานวยความสะดวกตางๆ

กราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.มณีวรรณ ผิวนิ่ม อาจารยที่ปรึกษาที่มอบความเมตตา กรุณาใหคําแนะนํา ใหความรู ใหกําลังใจและติดตามผลักดันจนทําใหวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จ กราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร. ชนัญ วงษวิภาค และรองศาสตราจารย ดร. รัศมี ชูทรงเดช ที่ใหความกรุณาตรวจแกวิทยานิพนธจนมีระเบียบแบบแผนตามลักษณะงานวิชาการ และกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารยสายันต ไพรชาญจิตร ที่ใหกําลังใจในการทําวิทยานิพนธ ดร.อัมพวัลย วิศวธีรานนท ดร.ศิริวรรณ วิบูลยมา และผูชวยศาสตราจารยจริยา วิไลวรรณ ที่ติดตามดวยความหวงใยและใหคําแนะนําเทคนิควิธีการทําวิจัย

กราบขอบพระคุณ อาจารยธนกร สินเกษม นายกสมาคมโหรแหงประเทศไทยใน พระบรมราชินูปถัมภ อาจารยภิญโญ พงศเจริญ นายกสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ อาจารย ฐานิกาพิชญศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย อาจารยอารี สวัสดี ประธานมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ คณาจารยและเจาหนาที่สมาคมฯ มูลนิธิสมาคมโหรฯ ที่กรุณาเสียสละเวลาอันมีคาของทาน เปดโอกาสใหผูวิจัยสัมภาษณ ใหเอกสาร ขอมูลความรูเกี่ยวกับวิชาโหราศาสตร นักโหราศาสตร อันเปนประโยชนตอการศึกษาวิจัย

กราบขอบพระคุณ คุณแมดวงงา กันยะ และคุณพอ ที่ใหอนุญาตผูวิจัยไดเรียนดวยความเต็มใจ ขอบคุณพี่อุย พี่นาย ที่สนับสนุนการเรียน ขอบคุณนองโบว ที่มอบความปรารถนาดี ขอบคุณเพื่อน CRM ทุกทาน ที่มอบมิตรภาพใหแกกันทั้งใหกําลังใจ ติดตามสอบถาม ใหความชวยเหลือผลักดันจนงานวิทยานิพนธสําเร็จ และขอบคุณ พี่อ๊ีด พี่คุม บริษัทบานเกิดเมืองนอน พี่แจส พี่หมู พี่จา พี่เก พี่ต๊ิดต่ี ทีมบริษัทกลากาว อินสไปเรช่ัน จํากัด ที่สนับสนุนและประคับประคองชีวิตและการทํางาน วิทยานิพนธฉบับนี้ยังทําใหผูวิจัยไดเรียนรูความรัก ความเมตตา ความปรารถนาดีของครูตอศิษย เพื่อนตอเพื่อน พี่ตอนองและนักโหราศาสตรตอคนในสังคม ในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมถาทุกคนยึดเร่ืองเหลานี้เปนพื้นฐาน คงไมใชเร่ืองยากที่สังคมไทยจะมีทรัพยากรวัฒนธรรมที่มีกระบวนการจัดการอยางเปนประโยชนตอคนในสังคมไทย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 8: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย ...................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ.................................................................................................. จ กิตติกรรมประกาศ ........................................................................................................ ฉ สารบัญตาราง........................................................................................................... ... ฎ สารบัญภาพ ................................................................................................................ ฏ บทที่ 1 บทนํา ........................................................................................................... 1 ที่มาและความสําคัญของปญหา .............................................................. 1 คําถามการวิจัย ...................................................................................... 6 วัตถุประสงคของการวิจัย ........................................................................ 6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ...................................................................... 6 ขอบเขตในการวิจัย ................................................................................. 6 ระยะเวลาในการศึกษา ........................................................................... 7 นิยามศัพทเฉพาะ ................................................................................... 7 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ ................................................................................ 9 แนวคิดเร่ืองโหราศาสตร .......................................................................... 9

ความหมายของโหราศาสตร............................................................. 9 ความเปนมาของโหราศาสตร ........................................................... 10 คุณประโยชนของโหราศาสตร .......................................................... 11 บทบาทของโหราศาสตรตอสังคมไทย................................................ 13 แนวคิดเร่ืองการถายทอดวัฒนธรรมและควบคุมทางสังคม ......................... 19 รูปแบบการถายทอดวัฒนธรรม......................................................... 19 การควบคุมทางสังคม ...................................................................... 19 การควบคุมที่เปนนามธรรม .............................................................. 21 การควบคุมที่เปนรูปธรรม................................................................. 23 แนวคิดเร่ืองจรรรยาบรรณ ....................................................................... 24

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 9: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

บทที่ หนา แนวคิดการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม..................................................... 27 ความหมายของวัฒนธรรม ............................................................... 27 ลักษณะของวัฒนธรรม .................................................................... 28 ทรัพยากรวัฒนธรรม........................................................................ 29 ประเภทของทรัพยากรวัฒนธรรม ...................................................... 30 การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ........................................................ 30 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ............................................................................. 32 3 ระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย................................................................................ 36 พื้นที่การศึกษา ....................................................................................... 36 ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา ................................................... 37 เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาวิจัย................................................................. 38 วิธีการศึกษาวิจัย .................................................................................... 38 การวิเคราะหขอมูล ................................................................................. 41 การนําเสนอขอมูล .................................................................................. 41

กรอบแนวคิดในการวิจัย.......................................................................... 41 4 ผลการศึกษา ................................................................................................. 43 สภาพการณโหราศาสตรในสังคมไทยอดีตและปจจุบัน............................... 43 โหราศาสตรในอดีต ......................................................................... 43 โหราศาสตรในปจจุบัน..................................................................... 49 นักโหราศาสตรในสังคมไทย .................................................................... 54 ประเภทนักโหราศาสตร.................................................................... 54 รูปแบบการใหบริการพยากรณ ......................................................... 55 จรรยาบรรณของนักโหราศาสตร ....................................................... 58 การถายทอดความรูและจรรยาบรรณทางโหราศาสตรของกลุมองคกร โหราศาสตรในปจจุบัน..................................................................... 68 สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ ................................. 68 สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย................................................... 70 สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ .......................................................... 72

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 10: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

บทที่ หนา มูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภ..................... 74 การถายทอดความรูและจรรยาบรรณทางโหราศาสตร......................... 76

ความคิดเห็นของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตรตอจรรยาบรรณ

นักโหราศาสตร ............................................................................... 83 ความคิดเห็นของอาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตรและวิชาการพยากรณ ตอการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร .................................... 92 ความคิดเห็นของนายกสมาคมโหราศาสตรตอการจัดทําจรรยาบรรณ ของนักโหราศาสตร ......................................................................... 98 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ............................................... 106 ประเภทและบทบาทของนักโหราศาสตร รูปแบบและปญหาในการใช

องคความรูดานโหราศาสตรเพื่อใหบริการพยากรณในสังคมไทย ......... 106 ประเภทนักโหราศาสตร.................................................................... 106 รูปแบบการใหบริการพยากรณ ......................................................... 107 ปญหาในการพยากรณ .................................................................... 107 การควบคุมนักโหราศาสตรในสังคมไทยผานการถายทอดองคความรู ดานโหราศาสตรและดานจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร................... 108 การควบคุมพฤติกรรมนักโหราศาสตร................................................ 108 การถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตรของกลุมองคกรโหราศาสตร ในสังคมไทย............................................................................ 108 อภิปรายผลการวิจัย................................................................................ 109 ขอเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร ในสังคมไทย ................................................................................... 114 ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาตอไป ...................................................... 114 รายการอางอิง.............................................................................................................. 116 ภาคผนวก.................................................................................................................... 121

ภาคผนวก ก แนวคําถามสัมภาษณเร่ืองการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ในสังคมไทย แบบสัมภาษณสําหรับนายกสมาคมโหราศาสตร...... 122

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 11: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

หนา ภาคผนวก ข แนวคําถามสัมภาษณเร่ืองการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ในสังคมไทย แบบสัมภาษณสําหรับอาจารยผูสอนวิชา โหราศาสตรและวิชาการพยากรณ ............................................. 128 ภาคผนวก ค แนวคําถามสัมภาษณเร่ืองการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ในสังคมไทย แบบสัมภาษณสําหรับผูที่เคยรับบริการพยากรณ โชคชะตาจากนักโหราศาสตร .................................................... 133 ประวัติผูวิจัย ................................................................................................................ 137

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 12: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 จํานวนและรอยละ ของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร จําแนกตามเพศ ........... 83

2 จํานวนและรอยละของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร จําแนกตามชวงอายุ ...... 84

3 จํานวนและรอยละการนับถอืศาสนาของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร จําแนกตามศาสนา ................................................................................. 85

4 จํานวนและรอยละ ระดับการศึกษาของผูใหสัมภาษณ จาํแนกตามระดับ ............ 85

5 จํานวนและรอยละ อาชีพของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร จําแนกตามอาชีพ 86

6 จํานวนและรอยละ วิชาโหราศาสตรที่ผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร เลือกรับบริการพยากรณจากนักโหราศาสตร จําแนกตามวิชา ในผูรับบริการณ 1 คนอาจเลือกใชการพยากรณมากกวา 1 วิชา .................. 88 7 จริยธรรมที่ผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร อยากใหนกัโหราศาสตรมี................ 90 8 แนวทางการพฒันาจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ของผูรับบริการพยากรณ โหราศาสตร ........................................................................................... 91 9 จํานวนและรอยละ ของโหราจารยจําแนกตามเพศ ............................................. 93

10 จํานวนและรอยละ ของโหราจารยจําแนกตามชวงอายุ ...................................... 93 11 จํานวนและรอยละ การนับถอืศาสนาของโหราจารยจําแนกตามศาสนา ............... 94

12 จํานวนและรอยละ ระดับการศึกษาของโหราจารย จาํแนกตามระดับการศึกษา .... 94

13 จํานวนและรอยละ อาชีพของโหราจารย จําแนกตามอาชีพ ................................. 95

14 จํานวนและรอยละ ของนายกสมาคมโหราศาสตร จําแนกตามเพศ ...................... 98

15 จํานวนและรอยละ ของนายกสมาคมโหราศาสตร จําแนกตามชวงอาย ุ ............... 99

16 จํานวนและรอยละ การนับถอืศาสนาของนายกสมาคมโหราศาสตร จําแนกตามศาสนา ................................................................................. 99

17 จํานวนและรอยละ ระดับการศึกษาของนายกสมาคมโหราศาสตร จําแนกตามระดับการศึกษา..................................................................... 100

18 จํานวนและรอยละ อาชีพของผูใหสัมภาษณ จําแนกตามอาชีพ .......................... 100

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 13: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 1 เว็บไซตใหบริการพยากรณดวงชะตา และการพยากรณทางโทรศัพท .................. 56 2 คอลัมนประจําหนังสือพิมพรายวัน ใหบริการพยากรณดวงชะตา ........................ 57 3 คอลัมนประจํานิตยสารรายสัปดาห ใหบริการพยากรณดวงชะตา ....................... 57 4 หนังสือวิชาโหราศาสตรไทยที่โหราจารยเขียนข้ึนเพื่อใชสอนในหองเรียน ............. 79 5 อุปกรณในการพยากรณดวงชะตา จานคํานวณ กับปฏิทินโหราศาสตร ............... 80 6 ตําราโหราศาสตร ที่นํามาศึกษาดวยตนเอง ...................................................... 80 7 โปรแกรมคํานวณและพยากรณโหราศาสตร มหาหมอดู..................................... 81

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 14: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

บทที่ 1

บทนํา

ที่มาและความสําคัญของปญหา มนุษยเปนส่ิงมีชีวิตที่ตองอาศัยอยูรวมกันเปนกลุม มีการจัดระบบความสัมพันธระหวางมนุษยดวยกันเองเพื่อความอยูรอดและปกติสุข ในการอาศัยกับธรรมชาติแวดลอมก็ตองจัดพฤติกรรม และความเชื่อใหอยูรวมกับธรรมชาติได ขณะเดียวกันก็มีอีกหลายอยางที่ไมสามารถสัมผัส รับรู อธิบายความได เปนส่ิงเหนือธรรมชาติก็ตองมีวิธีการจัดวิธีคิด ความเช่ือเพื่อใหเกิดความสบายใจ จัดพฤติกรรมการแสดงออกใหเหมาะสม ส่ิงเหลานี้ลวนเปนส่ิงที่เราเรียกวาวัฒนธรรม วัฒนธรรมในแตละสังคมจะมีระบบความเชื่อ คานิยม ที่แตกตางกันไป แมปจจุบันความรูตอส่ิงตาง ๆ และเทคโนโลยีมีความเจริญกาวหนากวาเดิมมาก แตมนุษยก็ยังมีระบบความเชื่อทั้งในเร่ืองที่สามารถพิสูจนไดดวยความรูทางวิทยาศาสตร ดวยการทดลองปฏิบัติ และในเร่ืองที่ไมสามารถพิสูจนได ซึ่งถูกยกใหเปนส่ิงเหนือธรรมชาติ ทั้งที่อาจไมใชเร่ืองล้ีลับ แตมีเหตุมีปจจัยอยูในตัว ซึ่งบางเร่ืองมนุษยเราก็สามารถทํานายได จากการสังเกตส่ิงแวดลอม ยกตัวอยางเชน เราสังเกตเห็นทองฟามืดคร้ึมมีเมฆหมอก มีลมพัดมาทําทาวาจะมีฝนตกภายในไมชา จากส่ิงแวดลอมของธรรมชาติเชนนี้ เราก็สามารถทํานายไดดวยตนเองวาจะมีฝนตกข้ึนแลว ซึ่งแสดงใหเห็นวาสิ่งแวดลอมจากธรรมชาติเปนเครื่องหมายบอกเหตุการณลวงหนาได (จรัญ พิกุล, 2504:16) ซึ่งเรื่องที่มนุษยเราไมรูในการดําเนินชีวิตนั้นมีอยูทุกชวงเวลา ตองมีการตัดสินใจอยูตลอด เมื่อเกิดความไมมั่นใจ เมื่อนั้น มนุษยจะเขาหาโหร เพื่อใชเปนเครื่องชวยในการตัดสินใจ (ภิญโญ พงศเจริญ, 2543: 23) โหราศาสตรเปนศาสตรที่มีอายุเกาแก จากหลักฐานทางประวัติศาสตรนาจะเกิดในราว 5,000 ปมาแลว ตามบริเวณหุบผาแมน้ํายูเฟรติสและแมน้าํไทกริส จากนั้นขยายเขาสูพวกเบบิโลเนียน แอสซีเรียน และมาถึงอียิปตเชี่ยน ซึ่งสมัยนี้มีความเจริญกาวหนาขึ้นมาก และไดเผยแพรไปทางตะวันตก คือ กรีซโรม ทางตะวันออก คือ อินเดีย พมา จีน ไทย (จรัญ พิกุล, 2504: 12) ในสังคมไทยความเชื่อทางโหราศาสตรมีการขุดคนพบหลักฐานทางโบราณคดีในสมัยสุโขทัย คือ ศิลาจารึกวัดปามะมวง ซึ่งในดานที่สอง มีคํากลาวสรรเสริญพระยาลิไทยวา

1

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 15: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

2

เรียนพระวินัยพระอภิธรรมโดยโลกาจารย มีพราหมณะแลดาบส เปนตน สมเด็จบพิตรทรงพระราชบัญญัติคัมภีรเพทศาสตราคม ธรรมนิยายมีโชติศาสตร (ตําราโหร) เปนตน (ตํารา) พรรษา มาส สุริยคราส จันทคราส ทรงสรรพพิจาณา พระองคทรงพระปรีชาอาฬาริก ฝายผาลคุณานุต (คือ วันสิ้นเดือนสี่). .. แลศักราชที่กิดทรงไดแกใหสั้นเบาถูกตอง พระองคทรงพิจารณาอูณ อธิกมาส ทินวาร นักษัตร ใหทราบเปนสังเขปโดยกรรมสิทธิ์ สมเด็จบพิตรอาจถอน อาจลบ อาจเติม... โดยสิทธิศักดิ์พระกรรมทุกมาตราปรากฏศรีเกียรติยศแท” (ส.พลายนอย, 2525: 1)

หลักฐานนี้แสดงใหเห็นความรุงเร่ืองของวิชาโหราศาสตรต้ังแตสมัยสุโขทัย พระยาลิไทยทรงเชี่ยวชาญโหราศาสตรเปนอยางยิ่ง พระองคทรงพระราชนิพนธตําราโหราศาสตร 2 เลม คือ ทักษาสังคหปกรณ และจักรทีปนี และยังทรงนิพนธหนังสือไทยเลมแรก คือ ไตรภูมิพระรวง ซึ่งมีความรูเกี่ยวกับโหราศาสตรอยูดวย ความรูทางโหราศาสตรมีการสืบทอดตอกันมาในยุคสมัยกรุงศรีอยุธยา ราชสํานักทุกสมัยจะตองมีกรมโหรหลวง ไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปน พระยาโหราธิบดี มีหนาที่คํานวณปฎิทินประจําป คํานวณฤกษยาม ตลอดจนคําพยากรณสวนพระองคและบานเมือง ตอจนยุคสมัยรัตนโกสินทร กรมโหรหลวงก็ยังมีบทบาทสําคัญ จนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ 6 วิทยาการสมัยใหมเขามามีอิทธิพล จึงมีการยุบกรมโหรหลวงใหเปนเพียงกองหนึ่งและตอมาลดเปนแผนกหนึ่งในราชวัง ภายหลังการเปล่ียนแปลงระบอบการปกครองแลว ผูที่สนใจวิชาโหราศาสตรก็ไดรวมตัวกันเปนสมาคมโหรฯ สมาคมโหราศาสตรจนถึงปจจุบัน (ภิญโญ พงศเจริญ, 2543: 141-142) บทบาทของโหราศาสตรตอสังคมไทยดังที่ปรากฏมาในอดีต ในราชสํานักจะเปนการคํานวณปฏิทินประจําป คํานวณฤกษยาม ประกาศเหตุการณพิเศษที่จะเกิดข้ึน ดังเชน พระบาท สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎพระจอมเกลาเจาอยูหัว ไดทรงคํานวณการเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงที่ตําบลหวากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ ถาเปนคนทั่วไปมักจะเปนเรื่องการดําเนินชีวิตที่สําคัญ มักเกี่ยวของกับพิธีกรรมและฤกษยาม มงคล เชน ฤกษแตงงาน โกนจุก ตัดผม การต้ังชื่อ เคร่ืองประดับ เคร่ืองแตงกาย สี เลข ที่ถูกโฉลกหนุนเสริมเจาของดวงชะตา ฯลฯ และผูเขามารับบริการพยากรณจากนักโหราศาสตรจึงต้ังความหวังวาเมื่อมาหาหมอดูแลวจะทําใหสบายใจข้ึนมากที่สุด (พิไลรัตน รุจิวณิชยกุล, 2524: 152-155) ในสังคมปจจุบัน ผูคนยังคงนิยมไปหานักโหราศาสตรและหมอดูเพื่อใหทํานายโชคชะตา เร่ืองที่คนมักถามมากที่สุดเปนเร่ืองความรักซ่ึงรวมไปถึงปญหาครอบครัว เร่ืองการงาน เร่ืองการศึกษา เร่ืองโรคภัยไขเจ็บ เร่ืองโชคลาภ ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึนในสังคม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 16: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

3

(สานิต ศิริวิศิษฐกุลล, 2535: 182-188) ซึ่งจํานวนนักโหราศาสตร มีการแพรขยายจํานวนเปนอันมาก และในการมารับบริการพยากรณตองเสียคาใชจาย ซึ่งมักจะมีคาบริการ อยูที่ 100-500 บาท สวนใหญจะไปรับบริการ ปละ 1 คร้ัง แตสวนหนึ่งก็มากกวา 3 คร้ังตอป (กฤติ ต้ังพรโชติชวง, 2552: 59) ในการสํารวจ “คนกรุงเทพฯกับการใชบริการหมอดู ในป 2551 ธุรกิจหมอดูและธุรกิจตอเนื่องนั้นกอใหเกิดเม็ดเงินสะพัดในธุรกิจถึง 2,550 ลานบาท โดยแยกเปนธุรกิจหมอดูโดยเฉพาะทําใหเกิดเม็ดเงินสะพัดในป 2551 ประมาณ 1,850 ลานบาท (ศูนยวิจัยกสิกรไทย, 2551) และรูปแบบการทํานายมีการพัฒนาไปหลายรูปแบบ ไมจําเพาะวาตองเดินทางมาหาใหนักโหราศาสตรทํานาย มีการใชส่ือที่ทันสมัยในการใหบริการทํานาย ทั้งในอินเทอรเน็ต โทรศัพทมือถือ และบริการผานระบบออดิโอเท็กซ อีเมล จดหมาย SMS ฯลฯ ทําใหคนสามารถเขาถึงการทํานายดวยโหราศาสตรไดงายข้ึน โดยเฉพาะกลุมวัยรุนหรือกลุมนักเรียน นักศึกษา กลุมหนุมสาวสมัยใหมที่อยูในวัยทํางาน ที่เคยชินกับการใชเคร่ืองมือและอุปกรณการสื่อสารที่ทันสมัย ตลอดจนคนที่อยูในวัยทํางาน เนื่องจากการใชบริการหมอดูไฮเทคมีความสะดวก รวดเร็ว และไมตองเสียคาใชจายในการเดินทาง ไมตองรอคิวเปนเวลานานและไมตองนัดหมายลวงหนา นอกจากนี้ ในเว็บไซด หนังสือพิมพ หนังสือนิตยสารตาง ๆ ก็มีการทํานายโชคชะตาตามวันเกิด ราศีเกิด หรือปนักษัตร ซึ่งเปนการใหคําทํานายฟรี ซึ่งเปนการทํานายแบบทั่วไป ซึ่งถาตองการจะรูรายละเอียดจึงจะมีการเรียกเก็บคาใชจาย ทําใหกลุมผูที่เขามาใชบริการเปนกลุมวยัรุนซึ่งเนนอานคําพยากรณเพื่อความบันเทิงมากกวาความตองการรูโชคชะตาอยางจริงจัง ความนิยมในการพยากรณชะตาชีวิตของตนเองของคนในสังคม ทําใหคนโดยคนทั่วไปมักเขาใจวานักโหราศาสตรและหมอดูเปนบุคคลเดียวกัน เพียงแตจะเลือกใชชื่อเรียกอยางไรก็ไดเหมือนกับวา นักโหราศาสตรเปนชื่อเรียกอยางเปนทางการ หมอดูเปนคําที่ใชเรียกทั่วไป แตอันที่จริงแลว นักโหราศาสตรหรือที่เรียกกันวา “โหร” คือ ผูทํานายดวงชะตาและปรากฏการณตาง ๆ บนโลก โดยใชวิชาโหราศาสตร อันเปนวิชาที่เรียนเร่ืองตําแหนงของดวงดาว การโคจรของดวงดาว อิทธิพลของดวงดาวตอชีวิตคนและสรรพสิ่งบนโลก การเรียนรูเรื่องดวงดาว ทําใหโหรคํานวณวัน เวลา กําหนดปฏิทิน ฤดูกาล ออกฤกษยามที่เหมาะสม ขณะที่ “หมอดู” คือ ผูทํานายดวงชะตาชีวิตคน โดยใชวิชาการพยากรณอ่ืน ๆ ที่ไมใชวิชาโหราศาสตร เชน เลข 7 ตัว เลข 12 ตัว ลายมือ ไพยิปซี ไพปอก เส่ียงทาย เขาทรง เปนตน ส่ิงที่ทําใหคนในสังคมเขาใจวาโหรและหมอดูเปนบุคคลเดีวยกัน เพราะนักโหราศาสตรสวนหนึ่ง ไดประกอบอาชีพเปนนักพยากรณอยางเต็มตัว บางสวนก็นําความรูทางโหราศาสตรไปเปนความรูเสริมกับการประกอบอาชีพหลัก เชน แพทย ดูในเร่ือง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 17: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

4

โชคชะตาของคนไข สถาปนิกนําเร่ืองฮวงจุยมาออกแบบบาน เปนตน แตในการประกอบอาชีพเปนนักโหราศาสตร ก็ยังมีนักโหราศาสตรบางสวน ทําการพยากรณโดยไมไดใชความรูที่ถูกตองอยางแทจริง หรือไมมีการพัฒนาวิชาความรูของตนเอง หรือบางคนเห็นแกได หลอกลวงเรียกเก็บเพื่อทําพิธีสะเดาะหเคราะห ทําเสนห ซึ่งปรากฏเปนขาวตามสื่อตาง ๆ อยูเสมอ ซึ่งทําใหความนาเชื่อถือของวิชาชีพนักโหราศาสตรเส่ือมเสีย ซึ่งจากการสํารวจคนกรุงเทพฯ ที่ใชบริการหมอดู พบวา รอยละ 13.5 ของกลุมตัวอยางทั้งหมดระบุวาถูกหมอดูหลอก รอยละ 49.5 นั้นไมแนใจวาถูกหลอกหรือไม และรอยละ 37 นั้นไมเคยถูกหมอดูหลอก (ศูนยวิจัยกสิกรไทย, 2550) ความรูในหลักวิชาโหราศาสตรไมถองแท การยึดเอาความกลัว ความไมรูของคนมาเปนเคร่ืองมือของนักโหราศาสตรบางคน ทําใหภาพลักษณของวิชาโหราศาสตรตอคนในสังคมสวนหนึ่งกลายเปนเร่ืองที่หลอกลวง ซึ่งภิญโญ พงศเจริญ ไดกลาวถึงสาเหตุวา

การศึกษาโหราศาสตรในยุคน้ีเปนเร่ืองฉาบฉวยมากกวาท่ีจะสนใจใครรูอยางจริงจัง ไมเหมือนในสมัยกอนท่ีบรรดาโหรมักจะครํ่าเครง เสาะแสวงหาครูอาจารยท่ีมีความรูความสามารถ ใชความพยายามท่ีจะขอเขาไปเปนศิษย... แตสมัยน้ีมองกันเปนเร่ืองงาย ๆ ใคร ๆ ก็เรียนได ใชเวลาไมเทาไหร บางคนเรียนไดปเดียว พอทําทาวาจะดูไดนิด ๆ หนอย ๆ ก็เปดออฟฟศรับดูดวงแลว (ภิญโญ พงศเจริญ, 2537: 33)

การทําหนาที่พยากรณเหตุการณตาง ๆ ของโหร ในอดีตราชสํานักมีตําแหนงพระโหราธิบดี ดังมีกฏมณเฑียรบาล (ส. พลายนอย, 2525:1-2) ที่ระบุถึงหนาที่และบทลงโทษของโหรประจําราชสํานัก ไวดังนี้

เดิมตําแหนงโหราหนาหลังเปนคนแลฝายใตขึ้นด่ังน้ี โหราหนา คือ พระโหราธิบดี พขุนโชติสาตราจาริย ราชบหลัด โหราหลัง คือ พระโลกทีปโหราธิบดี พขุนเทพากร ราชบหลัด แลโหราหนาไดราชการขางหนา แลราชการพราหมณะพระราชพิธี คือ การทวาทโสศกท้ัง ๑๒ เดือน เวนแตพระราชพิธีตรียําพวายไดโหราขางหลัง อน่ึง โหราหนาไดราชการ คือ การพระราชพิธีพยุหบาตราพิไชยสงคราม และราชการฝายขางหนาแลราชการทหารท้ังปวง ถาหาตัวมิได ไดแก ขุนโชตบหลัด ฯลฯ อน่ึง โหรพราหมณทายเคราะหทายศึก ทายฤกษผิดลงอาชญาลูกประคําใหญแขวนคอ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 18: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

5

จากกฏมณเฑียรบาลขางตนจะเห็นวา โหราศาสตรมีความเปนวิชาชีพอยางหนึ่งที่ไดรับการยกยอง ผูที่รับราชการเปนโหรา ตองมีความรูในวิชาโหราศาสตรอยางแมนยํา ทั้งการทํานาย การใหฤกษ เม่ือทายผิดมีการลงโทษ ในสังคมไทยทั่วไป ก็มีความนิยมในโหราศาสตร การทํานายโชคชะตา การหาฤกษยามที่ดี การเลือกสีเส้ือผาใหถูกโฉลก ฯลฯ ครูบาอาจารยโหราศาสตรในอดีตจึงกําหนดจรรยาบรรณโหรไวและบอกสืบตอกันมา (ขาแผนดิน, 2548: 200) คือ ทายสามีภรรยาใหราคี ทายชีวีวิบัติตัดชันษา ทายคุณโทษทารกทาริกา เรียนโหราครูหามการทํานาย เหตุที่กําหนดจรรยาบรรณเหลานี้ไว เพราะการพยากรณในหลักวิชาโหราศาสตร เปนส่ิงที่ตองใชความสุขุมละเอียดละออ ซึ่งถาดูไมทั่วถึงจะทําใหการพยากรณพลิกผันจากหนามือเปนหลังมือ ซึ่งสงผลเลวรายตอชีวิตผูมารับการพยากรณได การถายทอดจรรยาบรรณมาจากครูบาอาจารย ดวยประเด็นสําคัญเพียง 3 เร่ืองนั้น ในอดีตคนท่ีจะเรียนจะตองมีความสนใจเสาะแสวงหาอาจารย นักโหราศาสตรจึงมีนอย จรรยาบรรณในการพยากรณจึงสามารถควบคุมไดงาย แตปจจุบันความรูดานโหราศาสตรมีการเผยแพรขยายกวางมากข้ึน มีกลุมสมาคม สถาบัน หลายองคกร ทําหนาที่ถายทอดความรูใหกับคนที่สนใจในสังคม ทําใหเกิดปญหาอุปสรรคในการพัฒนาโหราศาสตร คือโหรขาดความรูตามหลักวิชาการอยางแทจริง ขาดความชํานาญ ขาดการศึกษาพัฒนาปรับปรุงวิชาการใหทันสมัย อีกทั้งไมมีจุดยืน มักเกิดความขัดแยงและแขงขันกัน โดยมีเร่ืองพาณิชยมาเกี่ยวของมาก นอกจากนั้นมีการแบงพรรคแบงพวก และขาดจรรยาบรรณของความเปนโหร และยังไมมีหนวยงานหรือองคกรกลางควบคุมความประพฤติของโหร (ภิญโญ พงศเจริญ, 2543:143) โหราศาสตรเปนวัฒนธรรมของคนไทยมาตั้งแตในอดีตและสืบทอดมาถึงปจจุบัน มีการสั่งสมเปนความรู เอกสารตํารา มีนักโหราศาสตรหรือโหร เปนบุคคลที่ทําหนาที่พยากรณและสืบทอดวิชาความรู นับเปนทรัพยากรทางวัฒนธรรมของสังคมไทย และนักโหราศาสตรกลายเปนอาชีพที่แพรหลายมากข้ึน คําทํานายจากนักโหราศาสตร เปนเรื่องที่สงผลตอสภาวะจิตใจนําไปสูการตัดสินใจดําเนินชีวิตของผูที ่รับบริการพยากรณ ควรจะมีการควบคุมใหคําทํานายตาง ๆ ถูกตองตามหลักวิชา มีการนําวิชาโหราศาสตรมาใชใหเปนประโยชนตอคนในสังคม ซึ่งแนวทางหนึ่งคือการใชหลักจรรยาบรรณวิชาชีพมากํากับการใชหลักวิชาโหราศาสตรในการพยากรณ ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ มีเปาหมายในการศึกษาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมดาน โหราศาตร ผานทางจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร เพื่อทําความเขาใจรูปแบบการถายทอดความรูการควบคุมการใชความรูเพื่อการพยากรณของนักโหราศาตรและจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 19: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

6

ในปจจุบันวาเปนอยางไร มีความเหมาะสมหรือไม มีขอจํากัดอยางไร เพื่อหาขอเสนอแนะแนวทางในการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรที่เหมาะสมกับสภาพการณในสังคมไทยปจจุบัน โดยถือเปนมาตรการหน่ึงที่จะสามารถชวยจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมองคความรูดานโหราศาสตร ใหเปนที่ยอมรับในสังคมไทยปจจุบันไดตอไป คําถามการวิจัย การพยากรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทยมีจรรยาบรรณอยางไรบาง มีการถายทอดและควบคุมจรรยาบรรณอยางไร เพื่อใหนักโหราศาสตร นําหลักวิชาโหราศาสตรไปใชพยากรณอยางมีคุณคาตอคนในสังคม จรรยาบรรณที่มีอยูมีความเหมาะสมหรือขอจํากัดอยางไร วัตถุประสงคของการวิจัย 1. ศึกษาภาพรวมของประเภทและบทบาทของนักโหราศาสตร รูปแบบและปญหาในการใชองคความรูดานโหราศาสตรเพื่อใหบริการพยากรณในสังคมไทย 2. ศึกษาการควบคุมนักโหราศาสตรในสังคมไทยผานการถายทอดองคความรูดานโหราศาสตรและดานจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร 3. ศึกษาแนวทางท่ีเหมาะสมในการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดทราบประเภทและบทบาทของนักโหราศาสตร รวมถึงรูปแบบการพยากรณและปญหาที่เกิดข้ึนจากการใชองคความรูดานโหราศาสตร 2. ไดทราบการควบคุมนักโหราศาสตรในสังคมไทยจากการถายทอดความรูและจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร 3. ไดแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดทําจรรยาบรรณวิชาชีพของนักโหราศาสตรในสังคมไทย ขอบเขตในการวิจัย ในการศึกษาเร่ืองการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย มีขอบเขตในการศึกษาดังนี้

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 20: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

7

ขอบเขตดานเนื้อหา การศึกษาคร้ังนี้เปนการศึกษาเชิงคุณภาพ (Quality Research) โดยใชกรอบแนวคิดหลักในการเก็บขอมูลและการวิเคราะหเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร ดังตอไปนี้ 1. ภาพรวมของการใชทรัพยากรวัฒนธรรมดานองคความรูทางโหราศาสตรในสังคมไทย ในประเด็นเกี่ยวกับ ประวัติความเปนมา คุณประโยชน ตลอดจนบทบาทและความสําคัญของโหราศาสตรในสังคมไทย 2. ประเภทของนักโหราศาสตร/นักพยากรณในสังคมไทย รูปแบบการใหบริการพยากรณ และปญหาที่เกิดข้ึนในการรับบริการ 3. ศึกษาการถายทอดความรูและจรรยาบรรณทางโหราศาสตรของกลุมองคกรโหราศาสตร ประวัติการกอต้ังกลุม การดําเนินงานของกลุม รูปแบบและมาตรการที่ใชควบคุมสมาชิก ขอบเขตดานพื้นที่ เก็บรวบรวมขอมูลจากนักโหราศาสตรและผูรับบริการพยากรณในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเนนศึกษานักโหราศาสตรที่เปนสมาชิกกลุมองคกรนักโหราศาสตรในสังคมไทยที่ต้ังอยูที่กรุงเทพมหานคร 4 องคกร คือ สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ สมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย และมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ สวนผูรับบริการพยากรณเปนกลุมผูที่เคยรับการพยากรณทั่วไป จํานวน 30 คน ระยะเวลาในการศึกษา ต้ังแตเดือนมีนาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2557 นิยามศัพทเฉพาะ ในงานวิจัยคร้ังนี้ ผูศึกษาไดนิยามคําศัพทเฉพาะจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 และการประมวลจากงานศึกษาที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดความเขาใจในงานศึกษา ดังนี้ โหราศาสตร หมายถึง วิชาวาดวยการพยากรณชะตาชีวิตบุคคล และปรากฏการณตาง ๆ บนโลก โดยใชตําแหนงดวงดาว การโคจรของดวงดาว เปนหลักในการพยากรณ ซึ่งวิชาโหราศาสตรในสังคมไทยมีทั้งวิชาโหราศาสตรไทย วิชาโหราศาสตรพมา และวิชาโหราศาสตรสากล

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 21: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

8

นักโหราศาสตร หมายถึง บุคคลในสังคมไทยที่นําวิชาความรูการพยากรณ ทั้งวิชาโหราศาสตรไทย วิชาโหราศาสตรพมา วิชาโหราศาสตรสากล และวิชาการพยากรณอ่ืน ๆ ไป พยากรณโชคชะตาบุคคล ปรากฏการณตาง ๆ หรือเหตุการณในอดีต ปจจุบัน อนาคต ซึ่งแยกไดเปน 2 กลุม คือ 1. โหร หมายถึง ผูที่พยากรณโชคชะตาบุคคล ปรากฏการณตาง ๆ เหตุการณในอดีต ปจจุบัน อนาคต ดวยวิชาโหราศาสตร ซึ่งมีทั้งวิชาโหราศาสตรไทย วิชาโหราศาสตรพมา และโหราศาสตรสากล 2. หมอดู หรือนักพยากรณ หมายถึง ผูที่พยากรณโชคชะตาบุคคล ดวยวิชาการพยากรณอ่ืน ๆ ที่ไมใชวิชาโหราศาสตรโดยตรง เชน การดูลายมือ โหงวเฮง ฮวงจุย เลข 7 ตัว เลข 12 ตัว ไพปอก ไพยิปซี ลายเซ็น และอ่ืน ๆ โหราจารย หมายถึง ผูมีความรู ความชํานาญในวิชาโหราศาสตร ทั้งวิชาโหราศาสตรไทย วิชาโหราศาสตรพมา โหราศาสตรสากล รวมถึงวิชาพยากรณอ่ืน ๆ และสามารถสอนวิชาแกผูอ่ืนได จรรยาบรรณโหร หมายถึง ขอหาม หรือขอปฏิบัติในการพยากรณโชคชะตาของนักโหราศาสตร มารยาทโหร หมายถึง ขอปฏิบัติในการพยากรณโชคชะตาของนักโหราศาสตร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 22: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

บทที่ 2

แนวคิดทฤษฎีที่เกีย่วของ ในการศึกษาวิจัยเร่ืองแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตรในสังคมไทยไดศึกษาแนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวของกับงานศึกษาวิจัย ดังนี้ 1. แนวคิดเร่ืองโหราศาสตร 2. แนวคิดเร่ืองการถายทอดวัฒนธรรมและควบคุมสังคม 3. แนวคิดเร่ืองจรรยาบรรณ 4. แนวคิดการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม 5. งานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิดเร่ืองโหราศาสตร ความหมายของโหราศาสตร โหราศาสตร เปนวิชาที่วาดวยการทํานายและการพยากรณ โดยอาศัยตําแหนงของดวงดาวตาง ๆ เปนเคร่ืองชี้ และอธิบายอํานาจของดวงดาวตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอชีวิตมนุษยและปรากฏการณตาง ๆ บนโลก คําวา “โหราศาสตร” เปนศัพทสันสกฤต แปลวา วิชาวาดวยเวลา และ “โหราศาสตร” ตามตํารา พฤหัสชาตกา ของ วราหมิหิระ กลาววา เปนคําที่มาจาการผสมสองคํา คือ “อโห” และ “ราตรี” ซึ่งแปลวา วันและคืน แตไดตัดอักษรพยางคแรกและพยางคหลังออกเสีย จึงเหลือแตคําวา “โหรา” และยังมีอีกคําหนึ่งที่ใชเรียกแทนคําวา “โหราศาสตร” คือคําวา “โชยติษศาสตร” แปลวา “วิชาวาดวยความสวาง” (พระยาบริรักษเวชชการ, 2511: 17) คําวา โหรา ยังปรากฏการออกเสียงและความหมายที่สอดคลองกันในภาษาอ่ืน ๆ คือในภาษาสเปน คําวา “Hora” นี้ อานออกเสียงวา “Orah” (โอรา) ซึ่งแปลวา นาฬิกาหรือช่ัวโมง และในภาษาละติน “Hora” ก็แปลวา ชั่วโมงเหมือนกัน (ดนัย ไชยโยธา, 2546: 59) ในภาษาอังกฤษเรียกวิชานี้วา Astrology (แอสตรอลโลยี) แปลวา วิชาวาดวยดาว จากการใหความหมายของโหราศาสตรขางตน “โหราศาสตร” จึงเปนวิชาพยากรณที่ใชดวงดาว เวลาตําแหนงของดวงดาว และการโคจรของดวงดาว มาอธิบายถึงอิทธิพลตอมนุษยและสรรพส่ิงที่ปรากฏบนโลก เปนสําคัญ การพยากรณดวยวิธีอ่ืน เชน การดูลายมือ การเส่ียงทาย การทํานายดวยไพ การนับเลข เปนตน จึงไมใชการพยากรณดวยหลักวิชาโหราศาสตร

9

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 23: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  10

ความเปนมาของโหราศาสตร โหราศาสตร เปนศาสตรที่เกาแกมีอายุยาวนาน เชื่อกันวาแตแรกเริ่มนั้นถือกําเนิดจากชนชาวอียิปตโบราณ ดวยเปนชนชาติแรก ๆ ที่ทําการบันทึกแนวการเคลื่อนตัวของดวงดาว ตอมาไดมีการบันทึกเร่ืองราวเหตุการณตาง ๆ ทั้งเร่ืองของบานเมือง วิถีชีวิตบุคคลเปนปูมโดยอิงลักษณะการเดินทางโคจรของดวงดาวและเหตุการณผิดปกติบนฝากฟา เชน ดาวตก และไดสืบทอดตอเนื่องกันมาผานประเทศอินเดีย และนาจะเขามาสูประเทศไทยกอนสมัยสุโขทัย เพราะปรากฏหลักฐานสมัยพระยาลิไทยหรือพระมหาธรรมราชาที่ 1 ในหลักฐานศิลาจารึกวัดปามะมวงดานที่สอง มีคํากลาวสรรเสริญพระยาลิไทยวา

เรียนพระวินัยพระอภิธรรมโดยโลกาจารย มีพราหมณะแลดาบส เปนตน สมเด็จบพิตรทรงพระราชบัญญัติคัมภีรเพทศาสตราคม ธรรมนิยายมีโชติศาสตร (ตําราโหร) เปนตน (ตํารา) พรรษา มาส สุริยคราส จันทคราส ทรงสรรพพิจาณา พระองคทรงพระปรีชาอาฬาริก ฝายผาลคุณานุต (คือวันส้ินเดือนส่ี) ... แลศักราชท่ีกิดทรงไดแกใหส้ันเบาถูกตอง พระองคทรงพิจารณาอูณ อธิกมาส ทินวาร นักษัตร ใหทราบเปนสังเขปโดยกรรมสิทธิ์ สมเด็จบพิตรอาจถอน อาจลบ อาจเติม... โดยสิทธิศักด์ิพระกรรมทุกมาตราปรากฏศรีเกียรติยศแท (ส. พลายนอย, 2525: 1)

ในสมัยโบราณนั้น ผูใชโหราศาสตรมักเปนขุนนางที่ทุมเทชีวิตทั้งชีวิตเพื่อศึกษาศาสตรเหลานี้ต้ังแตคร้ังเยาววัย และมักเนนในการพยากรณเร่ืองเก่ียวกับในราชสํานักหรือบานเมืองสืบเนื่องมาจนปจจุบัน โหราศาสตรไดรับความนิยมและเผยแพรสูสามัญชน อยางไรก็ดีโหราศาสตรเปนหลักสถิติ มีการบันทึกเขียนเปนตําราหลายรูปแบบ และมีการพัฒนาในการอานคาสถิติอยางพิศดาร เพื่อใหทันยุคทันเหตุการณ คุณประโยชนของโหราศาสตร วิชาโหราศาสตรเปนวิชาที่มีความละเอียดออนลึกซึ้ง ผูศึกษาตองมีความเพียรพยายามและความจําที่ดี เมื่อพยากรณไปแลวตองมีการติดตามพิสูจนขอเท็จจริงเปนระยะเวลานานพอสมควร โหราศาสตรจึงมักถูกมองจากผูที่ไมมีความเชื่อ หรือ ความรูทางโหราศาสตรวาเปนเร่ืองงมงาย มีแตการคาดเดาท่ีไมสามารถพิสูจนขอเท็จจริงไดเหมือวิทยาศาสตร จึงไมเปนที่ยอมรับวาเปนวิทยาศาสตรอันแทจริง เพราะโหราศาสตร เนนการพยากรณเรื่องราวเหตุการณในอนาคต แตอยางไรก็ดี ผูที่สนใจ มีความเชื่อและศึกษาโหราศาสตร เชื่อวาโหราศาสตรเปนวิชาที่ชวยใหผูใชวิชานี้ไดปฏิบัติตนใหถูกตองกับกาลเวลาที่ดาวพระเคราะหแสดง เชน แสดงใหเห็นถึงชีวิตโดยทั่วไป

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 24: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  11

ของเจาชะตาวาเปนอยางไร ควรจะประกอบอาชีพอะไร ฐานะจะเปนเชนไร จะมีโชคดี โชคราย อยางไร เมื่อไหร คูครองจะเปนอยางไร ซึ่งเมื่อรูแลวจะไดประพฤติปฏิบัติตน ใหเหมาะสมกับเหตุการณ นั่นคือการดําเนินชีวิตใหเหมาะสมกับดวงชะตาของตนเอง ซึ่งคุณประโยชนของวิชาโหราศาสตรกับการดําเนินชีวิตของมนุษยนั้น พอสรุปไดดังนี้ 1. ใชเปนแนวทางในการตัดสินใจในการดําเนินชีวิต ในการตัดสินใจของคน ถาไมมีความรู ไมเคยมีประสบการณผานมากอน ยอมคิดหาหนทางไดโดยยาก ยิ่งถาเปนเร่ืองที่สงผลถึงอนาคตนั้น ยอมตองการแนวทางหรือแสงสวางที่ปลายอุโมงค ใหเห็นเปนแนวคลําทางได ซึ่งวิชาโหราศาสตร ที่มีกฏเกณฑในการพยากรณจึงชวยใหคนเห็นทิศทางที่เหมาะสมไดมาก ในอดีตหมอยาจะทําการรักษาคนไข ก็ตองตรวจสอบดวงชะตาของคนไข วาถึงเวลาส้ินอายุขัยหรือไม และเปนคนธาตุไหน จะไดจัดยาใหถูกธาตุของคนไข 2. ใชในการวางแผนอนาคต คําพยากรณทางโหราศาสตร ทําใหรูเหตุการณลวงหนา วาชีวิตเราจะดี งามอยางไร ชวยแนะนําแนวทาง การเรียน การทํางาน การหาคูครอง สุขภาพอนามัย โชคลาภที่จะได เหตุรายที่จะเจอ เมื่อทราบเหตุการณลวงหนา โดยเฉพาะเร่ืองราย ๆ ทําใหเกิดการระมัดระวัง หาแนวทางปองกันเร่ืองรายที่จะเกิดข้ึน หรือทําใหบรรเทาลง เบาบางลงไดบาง เปนเคร่ืองเตือนสติมนุษยไมใหประมาท เชน คําพยากรณบงบอกวาจะเกิดอุบัติเหตุ เราก็ตองขับรถยนต หรือเดินทางดวยความระมัดระวังยิ่งข้ึน หนักจะไดเปนเบา หรือไมเกิดข้ึนเลย ไมใชวา คําพยากรณบอกจะวาเกิดอุบัติเหตุก็เกิดความกลัว แตก็ขับรถดวยความไมระมัดระวัง เชนเดิม อันนี้จะไมเกิดเปนประโยชนจากการพยากรณ (สานิต ศิริวิศิษฐกุล, 2547: 27) เมื่อรูลวงหนาแลวจะได เตรียมพรอมที่จะรับกับเร่ืองราวตาง ๆ ดวยแนวทางที่พึงปฏิบัติ ใหเหมาะสมกับเวลา ตลอดจนสถานการณที่จะเปนคุณประโยชนแกตนเอง รวมทั้งความสัมพันธกับบุคคลอ่ืนใหไดผลดีเปนสําคัญ 3. เปนเครื่องชี้ใหคนเขาหาหลักศาสนา เมื่อโหรใหการพยากรณ นอกจากบอกเร่ืองราวที่จะเกิดข้ึนแลว โหรตองแนะนําแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมใหกับผูรับการพยากรณดวย ซึ่งความเช่ือทางโหราศาสตรจะถูกยึดโยงเขากับหลักศาสนาพุทธ ในเร่ืองกฏแหงกรรม การเวียนวายตายเกิดในแตละภพชาติ เพราะการศึกษาดวงชะตาตามหลักโหราศาสตรเปนการอานกรรมเกาที่แตละบุคคลไดกระทําไวแตชาติปางกอน หากบุคคลใดกระทํากรรมดีหรือกระทํากรรมไมดีไว ก็จะสามารถอานไดจากดาวพระเคราะหที่อยูในราศีตาง ๆ และบุคคลนั้นจะไมสามารถหลีกเล่ียงวิบากหรือผลกรรมท่ีตนกระทําเอาไวไดเลย (ดนัย ไชยโยธา, 2546: 77) และคนที่มาหาโหรสวนใหญจะมาเพื่อขอคําปรึกษา หาก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 25: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  12

เราสามารถชี้ทางธรรม ใหเขาเลือกทําแตความดีได โดยอาศัยพื้นดวงที่เขานํามาใหเราดูนั้นเปนฐานในการพิจารณาวาเขามีจุดเดนหรือดอยอยางไร โดยเนนในจุดเดนใหเขาไดทําความดีใหมากขึ้นเรื่อย ๆ สวนในจุดดอยก็ควรใหกําลังใจเขา ใหเขาหาทางแกโดยหลีกเลี่ยงการซํ้าเติมเพราะจะเปนการไปสมทบความเคราะหรายใหมีมากขึ้น พยายามดึงเขาเขาหาพุทธศาสนาใหได ทําความเขาใจกับเขาใหเห็นวาเคราะหรายตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเปนเพราะผลกรรมของเขาเองในอดีตชาติ เมื่อชีวิตยังไมสิ้นสุด เราก็ยังพอมีหนทางที่จะแกไขได เชน การแผเมตตาธรรม การถวายสังฆทาน ซึ่งถาหากเขารูจักการสังเกตดูจะพบวา การกระทําเชนนั้นสามารถใหผลดีไดอยางคาดไมถึง ผมคิดวาตลอดระยะเวลาที่เราทํานาย เราควรอิงในเรื่องกฏแหงกรรมไว ควรช้ีทางธรรมที่ถูกที่ควรใหแกชีวิตเขา (ธานินทร กรัยวิเชียร, 2542: 12-13) ดังนั้น ในการพยากรณของโหร จึงแฝงดวยขอคิด แนวปรัชญาในการดําเนินชีวิต หลักคิดทางศาสนา ใหคนดําเนินชีวิตใหถูกตองตามทํานองคลองธรรม 4. เปนที่พึ่งทางดานจิตใจ สิ่งที่ทําใหคนคลายความเครียด ความกังวลใจ สังคมไทยเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็วมาก ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง คนในสังคมตองปรับตัวตามอยางรวดเร็ว เกิดการแขงขันกันมากข้ึน ผูคนเห็นแตประโยชนสวนตน พยายามพาใหชีวิตตนเองไปอยูในจุดที่สูงกวาผูอ่ืน ทําใหคนเกิดความเครียดความวิตกกังวลใจ เมื่อคิดหาทางออกไมไดก็หาแนวทางการตัดสินใจ หมอดูอาจตองทําหนาที่เปนจิตแพทย คอยปลอบประโลมกลอมเกลา แนะนําผูเดือดรอนใจมิใหกระทําการใด ๆ อันอาจเปนอันตรายตอผูอื่น ชวยชีวิตคนไมใหเขาทําบาป ทํากรรมตอกัน บางทีผูมาหาหนาตาทุกขระทม เมื่อดูหมอเดินกลับออกไปหนาตาย้ิมแยมแจมใสกลายเปนคนละคน เหมือนชุบชีวิตใหเขาใหม ทําใหกลับไปทํามาหากินตอไป (จรัญ พิกุล, 2522: 44) นอกจากการพยากรณดวงชะตาบุคคล โหราศาสตรยังถูกนําไปใชประโยชนในดานอ่ืน ๆ อีก ซึ่งวิชาโหราศาสตร ไดมีการนําไปใชใหเปนประโยชนกับดานอ่ืน ๆ อีก เชน 1. การใชพยากรณความเปนไปของดินฟาอากาศ โดยอาศัยโหราศาสตรกับอุตุนิยมศาสตรเพื่อจะไดทราบลวงหนา และหาทางปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ 2. การใชพยากรณเหตุการณรายดีของบานเมือง ที่จะเกิดข้ึนในพ้ืนที่ภูมิภาคตาง ๆ ซึ่งจะชวยเตรียมแผนการณปองกันลวงหนา เชน การชุมนุมประทวงเรียกรองทางการเมือง ฯลฯ 3. การใชประกอบกับการสอบสวนคดีตาง ๆ เชน การตรวจสอบพื้นชะตาผูตองหาวาเปนอยางไร และในชวงเหตุคดีนั้น ดวงชะตาเปนอยางไร เพื่อประกอบการตัดสินใจของเจาหนาที่ เปนตน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 26: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  13

4. ใชประกอบในการวินิจฉัยโรคและสุขภาพของคนไข เพื่อการหายาที่เหมาะสม หาฤกษยามในการผาตัดรักษาคนไข 5. ใชในการพิจารณานิสัยใจคอของคนภายใตบังคับบัญชา สําหรับคัดเลือกเขาทํางาน การเล่ือนตําแหนง ในการใชหลักวิชาโหราศาสตรกับเร่ืองนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ไดพระราชนิพนธ ตําราโหราศาสตร ต้ังช่ือวา “ตรีภพ” อันเปนตําราการดูลักษณะหญิงชาย ซึ่งในปจจุบันมักมีการพิมพรวมไปในตําราพรหมชาติ ดังนี้ (พ. สุวรรณ, 2539: 60) ตัวเราพระจอมเกลา บํารุงเหลาราษฏรสําราญ เล้ียงเสนาขาราชการ ใชแบบนี้ดีหนักหนา ฯ ตํารานี้ชื่อตรีภพ จงปรารถนาเรงศึกษา หญิงชายที่เกิดมา ตามชาตาชั่วและดี ฯ บทบาทของโหราศาสตรตอสังคมไทย โหราศาสตร เปนวัฒนธรรมหนึ่งของสังคมไทย มีบทบาทตอการดําเนินชีวิตของคนไทยมาโดยตลอด ในสภาพการณสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ทําใหคนในสังคมประสบกับเหตุการณ ปญหาหลายอยางในชีวิต โหราศาสตรจึงเขามามีบทบาทในการพยากรณหาคําตอบ หาทิศทางในการดําเนินชีวิตตอไป บทบาทของโหราศาสตรที่มีตอสังคม มีดังนี้ 1. บทบาททางดานการดําเนินชีวิตของบุคคล การดําเนินชีวิตในปจจุบันมีความซับซอน ผูคนแขงขันกันมากข้ึน ทําใหการดําเนินชีวิตมีปญหา ไมราบร่ืน ไมเปนอยางที่คาดหวังต้ังใจไว ซึ่งตามพื้นฐานความเชื่อของคนไทย เช่ือในเร่ืองบุญกรรม ตามหลักศาสนาพุทธ อยูแลว เมื่อประสบปญหาที่มองไมเห็นทางออก จึงตองใชหลักวิชาโหราศาสตร พยากรณความเปนไปที่จะเกิดข้ึน ซึ่งชวยใหผูที่มารับการพยากรณ เกดิความสบายใจ คลายกังวล เขาใจตนเอง อีกทั้งไดรับกําลังใจและแนวทางปฏิบัติที่ควรตามหลักศีลธรรมของศาสนา จากการศึกษาวิจัยปญหาสุขภาพจิตของผูมารับบริการหมอดู ศึกษาเฉพาะกรณีผูมารับบริการหมอดูของสมาคมโหราศาสตรแหงประเทศไทย พบวา เหตุผลที่มาหาหมอดูเพราะอยากรูเร่ืองอนาคตมากที่สุด สวนปญหาของผูมารับบริการจากหมอดูมีความคาดหวังวาเมื่อมาหาหมอดูจะทําใหสบายใจข้ึนมากที่สุด นอกนั้นมีบางสวนที่ตอบวาทําใหมีความหวัง คลายความวิตกกังวล และหลังจากรับบริการจากหมอดูแลวสวนใหญรูสึกสบายใจข้ึน (พิไลรัตน รุจิวณิชยกุล, 2524: 152-155) และจากผลการศึกษาวิจัยภาวะสุขภาพจิตของผูใชบริการหมอดูในเขตเทศบาลนครขอนแกน ก็พบวา ส่ิงที่ผูใชบริการหมอดูไดรับคือ ทําใหรูสึกผอนคลาย ลดความทุกขใจลง ชวยใหมีกําลังใจและมีความหวังในชีวิตมากขึ้น และการดูหมอยังมีประโยชนชวยแกปญหาได หรือใน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 27: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  14

บางราย ก็ไปคุยกับหมอดูเมื่อมีเวลาวางเพื่อใหเกิดความสบายใจ (อุดม เพชรสังหาร และคณะ, 2541: 70) นอกจากการปรึกษาเพื่อคล่ีคลายความกังวลใจแลว โหราศาสตรยังมีบทบาทในการนํามาตัดสินใจในการดําเนินชีวิตนี้ ฯพณฯ ธานินทร กรัยวิเชียร ไดกลาวไวในโอกาสที่ใหโอวาทแกผูสําเร็จกรศึกษาอบรมวิชาพยากรณ ของสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ วา

มีอีกเร่ืองท่ียืนยันวาโหราศาสตรเปนเร่ืองท่ีนาเชื่อถือได คือผมมีอาจารยอยูทานหน่ึง ทานเปนเจาอาวาสวัดสระเกษ (สมเด็จพระสังฆราช อยู ญาโณทัย) ซึ่งทางบานผมนับถือทานมาก ชื่อของผม ทานก็ทรงตั้งให ผมจะเรียนวิชาอะไรทานก็ทรงเลือกให ทานใหผมเร ียนว ิชากฏหมาย และเมื ่อสําเร ็จกฏหมายจากเมืองไทยแลว จะไปเร ียนตอตางประเทศ ก็ทูลถามทานวาจะไปเรียนตอประเทศไหนดี ทานก็บอกใหไปประเทศอังกฤษ เมื ่อไปถึงจะเขามหาวิทยาลัยก็ถามทานอีก ทานก็บอกใหเขามหาวิทยาลัยลอนดอน ทั้ง ๆ ที่มีอยูหลายมหาวิทยาลัยในตอนนั้นที่สามารถเลือกเรียนได จนกระทั่งกลับมาเมืองไทยก็ถามทานอีกวา ผมควรจะเปนผูพิพากษาหรือทนายความดี ทานบอกวาสามารถเปนไดทั้งสองอยาง ผมขอใหทานเลือกให ทานเลือกใหเปนผูพิพากษา ดังนั้นหากยอนหลังกลับไปแลวใหผมเลือกเอง ผมอาจตัดสินใจไมไดดีอยางนี้ จึงนับเปนตัวอยางของการใชโหราศาสตรชวยในการตัดสินใจ (ธานินทร กรัยวิเชียร, 2542: 11-12)

2. บทบาททางดานเศรษฐกิจ ศูนยวิจัยกสิกรไทย ไดทําการวิจัย “คนกรุงเทพฯ กับการใชบริการหมอดู” ในป 2551 พบวา ธุรกิจหมอดูและธุรกิจตอเนื่องนั้นกอใหเกิดมูลคาทางการเงินในธุรกิจถึง 2,550 ลานบาท ซึ่งในงานวิจัยมีแยกรายละเอียด เฉพาะคาบริการหมอดู มีมูลคาถึง 1,850 ลานบาท และธุรกิจตอเนื่องจากการไปใชบริการหมอดู เชน ธุรกิจทําบุญ สะเดาะเคราะห ธุรกิจหนังสือพยากรณดวงชะตา รวมไปถึงธุรกิจส่ือสารประเภทอินเทอรเน็ตและออรดิโอเท็กซที่ใหบริการพยากรณ อีก 700 ลานบาท แตถาดูในภาพรวมทุกภูมิภาคนั้นศูนยวิจัยกสิกรไทย ไดทําการสํารวจ“คนไทยกับการใชบริการหมอดู” ในป 2548 พบวา มูลคาการใชบริการหมอดูสูงถึง 4,000 ลานบาท และในธุรกิจตอเนื่องอีกประมาณ 200 ลานบาท ซึ่งแนวโนมนั้นมูลคาทางธุรกิจจะสูงข้ึนทุกป นับเปนมูลคามหาศาล

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 28: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  15

นอกจากการใชบริการหมอดูหรือโหรแลว ในปจจุบันเราจะพบวา หนังสือพิมพ นิตยสาร และเว็บไซตตาง ๆ ก็จะมีการนําเสนอการพยากรณดวงชะตา ทั้งรายวัน รายสัปดาห รายเดือน และเม่ือส้ินปก็จะมีการตีพิมพคําทํานายชะตาชีวิตในปถัดไป ใหประชาชนทั่วไปไดรับรูชะตาชีวิตตนเอง ซึ่งนับวันยิ่งมีหมอดู หรือโหร หันมาเขียนหนังสือจําหนายกันมากข้ึน ขณะเดียวกันก็มีคนสนใจไปเรียนวิชาโหราศาสตรตามสมาคม ที่มีการจัดต้ังและไดรับรองตามกฏหมาย เชน สมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระราชินูปถัมภ สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย มูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภรวมถึงชมรม หรือ โหราจารยที่มีการเปดสอนเปนการสวนตัว ทําใหธุรกิจเกี่ยวกับอุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการพยากรณ โดยเฉพาะตําราโหราศาสตร ปฏิทิน 100 ป หรือไพปอก ไพยิปซี ซึ่งมีวางจําหนายอยางหลากหลาย มียอดขายที่เพิ่มข้ึนดวย มูลคาทางธุรกิจที่มหาศาลเพิ่มข้ึนทุกป จึงเกิดธุรกิจใหม ๆ และจากขอมูลสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ โหราจารยทานหนึ่ง ใหขอมูลวาปจจุบันมีคนรุนใหมใหความสนใจเรียนมีคนสนใจเรียนโหราศาสตรมากข้ึน จากที่แทบจะไมมีเลย ซึ่งมีทั้งนักศึกษาอายุ 18-19 ป บัณฑิตจบใหม อายุ 22-25 ป นอกจากนี้ยังมีแพทย ทนายความ สถาปนิก มัณฑนากร ผูบริหาร พนักงานขายประกัน (ถนอมศักด์ิ จิรายุสวัสด์ิ, 2554: 31) ในขณะที่สมาคมโหรแหงประเทศไทยฯ ก็พบวา คนรุนใหมที่มีหนาที่การงานดี วิศวกร สถาปนิก ขาราชการ ทนายความ พนักงานบริษัท หรือพระสงฆก็มี มาเรียนมากข้ึน และที่นาแปลกใจคือสวนใหญในแตละชั้นเรียน จะเปนผูหญิงมากกวาผูชาย (นายกสมาคมโหรแหงประเทศไทย, 2556) ดังนั้น จะเห็นวา โหราศาสตรและการพยากรณตาง ๆ มีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในสังคมไทยดวย 3. บทบาททางดานวัฒนธรรม โหร ไดเขามามีบทบาทชวยงานดานวัฒนธรรม พิธีกรรม ตาง ๆ ของบานเมือง เชนการใหฤกษยาม การกําหนดวันนักขัตฤกษ เชน เทศกาลตรุษสงกรานต ตรุษไทย ตรุษจีน สารทไทย พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีพืชมงคล พิธีตั้งศาล พิธีวางหลักศิลาฤกษ พิธียกชอฟา พิธีฝงลูกนิมิต เปนตน และยังชวยแทรกคติธรรม คําสอนทางศาสนาไปกับการพยากรณเพื่อใหประชาชนปฏิบัติในทางที่ถูกตองดวย เรื่องของโหราศาสตรในวัฒนธรรมของคนไทย ที่มีการสืบทอดมาแตครั้งอดีตกาลนั้น มีอยูหลายเรื่อง ซึ ่งมีการสอดแทรกไปในการประพันธวรรณคดีเรื่องตาง ๆ ดังที่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงสอดแทรกความรูทางโหราศาสตรในพระราชนิพนธเรื่องรามเกียรติ์ เชน ตอนอภิเษกพระรามและนางสีดา ซึ่งทาวชนกจักรวรรด์ิ มีพระราชดํารัสใหขุนโหรหาฤกษอภิเษก ซึ่งไดมีการจารึกไวในแผนหิน และฝงไวรอบระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม มาเปนตัวอยาง ดังนี้

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 29: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  16

ขุนโหรรับส่ังไท ภูธร คูณคิดตามพยากรณ ตรวจแลว เทวาประชุมจร จันทรจัก ตรีเอย รุงสิบหกช้ันแผว ฤกษนั้นพลันถวาย ฯ ทรงสดับโหรใหฤกษ จันทรตรี ตรัสส่ังสุรเสนี ใหญนอย เร็วเรงจัดปรางศรี โศภิต ผองแฮ อํามาตยรับส่ังคลอย จัดพรอมเกณฑการ ฯ สวนการมงคลอ่ืน ๆ เชนการ ตัดผม สวมเส้ือผา ก็มีการบอกไวตามหลักตํารา เพื่อใหกระทําการใหตรงกับวันมงคล ที่วา ใครจะตัดเกษให พิจารณ อาทิตยมีชนมาน มากไซร ศะศิจะสําราญ รังโรค ผิววันอังคารได เดชลํ้าฦาชา ฯ ตัดผมวันพุธแลว อัปลักษณ นาพอ พฤหัสบดีเทพยดารักษ ปกปอง วันศุกรจะมีภัก ษามาก เสารเกิดมงคลซอง แซผูสรรเสริญ ฯ แตถาหากเปนการข้ึนบานใหม นุงหมผาใหม หรือจะยกเสาเอก ปลูกบานสรางเรือนแลว ตามหลักตําราหามเด็ดขาด ดังนี้ อาทิตยใครนุงผา พึงชนะ มารแฮ ศะศิเปนเสนหพะ พบชู อังคารทุกขจะปะ ปนโทษ พุธจะมีสุขผู นุงผาพึงจํา ฯ พฤหัสบดีจะนุงผา พูลสวัสด์ิ วันศุกรทรัพยสมบัติ มากดวย วันเสารตําราตัด เด็ดขาด ใครนุงหมจะมวย มอดใหระไวระวังฯ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 30: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  17

ปลูกเรือนวันระวิรอน รําคาญ จันทรสวัสด์ิภุมมาน มักราง พุธ, ครู, อยูใสสานต์ิ ศุกรสิท ธิแฮ ผิววันเสารสราง โศกเศราโทรมสลาย ฯ อธิบายความใหเขาใจวา ถานุงหมเส้ือผาใหมในวันอาทิตยจะชนะศัตรู วันจันทรจะทําใหมีเสนหแกคนที่พบเห็น วันอังคารจะทําใหไดรับความทุกขรอน วันพุธและวันพฤหัสบดี จะทําใหไดรับความสมบูรณพูลสุข วันศุกรจะทําใหเกิดทรัพยสิน สําหรับวันเสารนั้นหามเด็ดขาด จะกอใหเกิดความเดือดรอน อาจจะเจ็บถึงตายได สําหรับการปลูกบานก็เชนกัน หามปลูกบานวันอาทิตย จะบังเกิดความเดือดรอน วันจันทรปลูกแลวจะบังเกิดสวัสดี วันอังคารปลูกแลว มักไมไดอยู วันพุธ พฤหัสบดี และศุกร ทั้งสามวันนี้ดี ปลูกแลวจะไดอยูอาศัยดวยความเปนสุข สําหรับวันเสารนั้นหามขาด จะทําใหรับความทุกขรอนเศราโศกอยางสาหัส การปลูกบานในที่นี้ หมายความวาเอาเสาลงหลุม หรือตอกเสาเข็ม เปนปฐมฤกษ และในวันเสารนี้แมวาจะเปนการข้ึนบานใหม ตามตําราก็หามเหมือนกัน ดังที่วา ข้ึนบานวันเสาร เผาผีวันศุกร ตัดจุกวันอังคาร แตงงานวันพุธ สิบเอ็ดนารี สิบส่ีภิกขุ อธิบายใหเขาใจไดวา หามข้ึนบานใหมในวันเสาร หามทําการฌาปนกิจศพในวันศุกร หามทําพิธีตัดจุกเด็กในวันอังคาร หามทําพิธีแตงงานในวันพุธ หรือ วันข้ึนหรือวันแรม 11 คํ่า และหามไมใหบวชพระในวันข้ึนหรือวันแรม 14 คํ่า (เทพย สาริกบุตร, 2506: 47-56) หลักการวันมงคลตามตําราที่โหราจารยไดถายทอดมาน้ัน โหรในปจจุบันก็นํามาใชประกอบในการหาฤกษยาม เพื่อทําพิธีกรรมตาง ๆ และคนในสังคมก็นํามาใชในชีวิตประจําวันดวย 4. บทบาททางดานการเมือง โหรเปนผูพยากรณอนาคตดวยหลักดวงดาว ที่สงผลมายังสรรพชีวิตบนโลก ทั้งชะตาบุคคล และชะตาบานเมือง ในอดีตราชสํานักจะมีพระโหราธิบดี หรือโหรหลวง คอยถวายคําพยากรณ ตอเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึนกับบานเมือง แตพระมหากษัตริยไทย ผูปรีชาสามารถดานโหราศาสตร ก็มักจะวิเคราะหพยากรณเพื่อเปนหลักในการบริหารบานเมืองดวยพระองคเอง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ไดพยากรณดวงชะตากรุงเทพมหานคร จากขอความที่ไดบันทึกใน จดหมายเหตุความทรงจํา ของกรมหลวงนรินทรเทวี ถึงเหตุการณเม่ือตอนเกิดฟาผาเพลิงไหมพระที่นั่งอัมรินทรมหาปราสาท

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 31: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  18

“ณ วันอาทิตย เดือน ๗ ข้ึน ๑ คํ่า ประกาเอกศก เพลาบาย ๓ โมง ๖ บาท อสุนีบาตพาดสายตกติดหนาบันมุขเด็จเบ้ืองทิศอุดร ไหมตลอดทรงบนปราสาท ปลายหักฟดฟาดลงพระปรัศซายเปนสองซ้ํา ลงซุมพระทวารแตเฉพาะไหม” พระโองการตรัสวา “เราไดยกพระไตรปฏก เทวาใหโอกาสแกเรา ตอเสียเมืองจึงจะเสียปราสาท ดวยชาตาเมืองคอดกิ่วใน ๗ ป ๗ เดือน เสร็จส้ินพระเคราะหเมือง จะถาวรลําดับกษัตริยถึง ๑๕๐ ป” (เทพ สาริกยบุตร, 2506: 2-3) อันคําพยากรณนี ้ สืบเนื ่องมาจากเหตุการณอวมงคลนิมิตร ที่เกิดขึ้นขณะฝง เสาหลักเมืองกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2325 ที่มีงูตัวเล็ก ๆ 4 ตัวเล้ือยลงหลุมขณะที่มีการนําเสาลงหลุม ทําใหบรรดาเชื้อพระวงศและขาราชบริพารทุกฝายตางวิตกถึงเร่ือง รายที่จะเกิดข้ึน ซึ่งผลพยากรณนั้นแมนยําเปนอยางยิ่ง คือ เมื่อกรุงเทพมหานครมีอายุได 150 ป ไดมีการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปน ระบอบประชาธิปไตย ในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 มาในยุคปจจุบัน แมไมมีโหรหลวงคอยใหคําทํานายชะตาบานเมือง แตโหรก็ถูกถามเร่ืองดวงชะตา ความเปนไปของบานเมืองเชนกัน โดยเฉพาะในชวงที่มีสถานการณตาง ๆ ซึ่งส่ือหนังสือพิมพ ส่ือออนไลน ตางก็นําคําพยากรณมาเผยแพรอยางหลากหลาย อาทิ หนังสือพิมพโพสทูเดย ฉบับวันที่ 16 ธันวาคม 2556 ลงคําพยากรณ โหร ชี้ชัด!! ต้ังแต 16 ธ.ค. เปนตนไป 1 เดือน ดวงประเทศเขมแข็งมากสุด จะเห็นแสงการปฏิรูป-มีเร่ืองพลิกล็อคไมคาดฝน ASTV ผูจัดการออนไลน วันที่ 5 มกราคม 2557 ลงคําพยากรณของโหร วาฟนดวงเมืองป 57 นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร ตองระเห็จออกนอกประเทศ เมืองไทยจะมีนายกฯคนใหมที่อยูฝงตรงขามกับรัฐบาลยิ่งลักษณ แตอยูไดไมนานเพราะแคเขามาปรับปรุงและพัฒนาเพื่อนําพาบานเมืองเดินไปสูจุดสูงข้ึน ดานสถาบันการเงินจะลมระเนระนาด ประเทศไทยมีหนี้สินกันถวนทั่ว แตวงการแพทย-การศึกษารุดหนาสวนกระแสการเมือง หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจออนไลน วันที่ 18 มกราคม 2557 ลงคําพยากรณของโหร จากการตรวจสอบดวงดาวนั้น พบวา รัฐบาลจะไมถูกโคนลมดวยกําลังของทหาร เพราะในดวงของผูนําหญิงยังคงเดินนําหนาทหารอยู แตจะเผชิญกับการตัดสินคดีตาง ๆ ขององคกรอิสระอยางศาล ซึ่งจะเขามาดําเนินการสวนการชุมนุมทางการเมืองที่เกิดข้ึนในขณะน้ี มองวาจะออนแรงลงในชวงเดือนกุมภาพันธ 2557 หลังจากนั้นศาลจะเขามามีอิทธิพลทางการเมือง ทําใหมองวาปญหาความวุนวายทางการการเมืองจะจบในครึ่งแรกของปนี้ และคร่ึงปหลังจะเปนการปฏิรูปประเทศวางกฏเกณฑประเทศใหม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 32: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  19

หนังสือพิมพแนวหนา ฉบับวันที่ 8 มกราคม 2557 ลงคําพยากรณของนักโหราศาสตรชื่อดังของจังหวัดสุรินทร กลาววา ขอทํานายดวงเมืองไทยวาจะมีเหตุการณจลาจล มีการลมตายเกิดข้ึน มีการเลือกต้ังตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อเลือกต้ังเสร็จจะไมสามารถจัดต้ังรัฐบาลไดเทานั้นเอง คําทํานายของโหรที่มีตอเร่ืองบานเมืองจะถูกส่ือสารใหรับรูกันทั่ว จึงมีผลตอจิตใจคนในบานเมืองเปนจํานวนมาก ในยุคสมัยที่ผานมาที่นายธานินทร กรัยวิเชียร เปนนายกรัฐมนตรี ไดมีการออก ปร.42 หรือกฎหมายปฏิรูปรัฐธรรมนูญมาบังคับส่ือและโหร หามทํานายดวงเมือง ดวงรัฐบาลเผยแพรเปนเวลานานถึง 10 ป จนมายกเลิกในสมัย พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เปนนายกรัฐมนตรี (เกงกาจ จงใจพระ, 2555) แตในปจจุบันเราจะพบวาทุกคร้ังที่บานเมืองประสบภาวะวิกฤติ คําพยากรณจากโหรที่มีความรู จะเปนที่สนใจของคนในสังคมเปนอันมาก ขณะที่คนไมสนใจก็มีมากเชนกัน แตคําพยากรณที่โหรทํานานมานั้น ก็ทําใหหลายคนไดเตรียมตัวรับมือกับสถานการณที่จะเกิดข้ึนในอนาคต จากแนวคิดเร่ืองโหราศาสตร ทําใหผูวิจัยเขาใจลักษณะของวิชาโหราศาสตร บทบาทของโหราศาสตรที่มีตอสังคมไทย และคุณประโยชนของโหราศาสตร ซึ่งผูวิจัยจะนําไปเปนขอมูลในการออกแบบสัมภาษณกลุมตัวอยาง และวิเคราะหเกี่ยวกับเนื้อหาจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร ซึ่งตองมีแนวทางที่สอดคลองกับบทบาทและคุณประโยชนที่มีตอสังคมไทย แนวคิดเร่ืองการถายทอดวัฒนธรรมและการควบคุมทางสังคม รูปแบบการถายทอดวัฒนธรรม สุพัตรา สุภาพ (2549: 25-31) ไดอธิบายวา การถายทอดวัฒนธรรม คือ การสอนใหคนรุนหลังรูถึงระบบสัญลักษณของสังคม ซึ่งเคยไดมีการตกลงกันไววาประกอบดวยอะไรบาง โดยการที่มนุษยในสังคมหนึ่ง ๆ จะตองเรียนรูระบบสัญลักษณที่มนุษยสรางข้ึนมาเปนหลักแกนกลางในการยึดถือ ประพฤติปฏิบัติ ไดแก บรรทัดฐานทางสังคม คานิยม ความเช่ือ และส่ิงของเคร่ืองใชตาง ๆ ในการดํารงชีวิต ซึ่งเปนส่ิงที่สมาชิกสวนใหญในสังคมเห็นวาถูกตองดีงาม และยึดถือในการประพฤติปฏิบัติสืบตอกันมา การถายทอดทางวัฒนธรรมแบงได 2 ลักษณะ คือ การถายทอดวัฒนธรรมในสังคมเดียวกัน คือ สืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูคนอีกรุนหนึ่ง ซึ่งมักผานสถาบันครอบครัว ชุมชน และการถายทอดวัฒนธรรมจากสังคมหนึ่งไปสูอีกสังคมหนึ่ง ซึ่งฝายที่รับวัฒนธรรมใหมจะละทิ้งวัฒนธรรมเดิมของตัวเองบางสวน และนําวัฒนธรรมใหมมาผสมกลมกลืน ทําใหสูญเสียเอกลักษณเดิมของตนเองไป กลายเปนความเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม ซึ่งในแตละสังคมจะมีความเปล่ียนแปลง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 33: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  20

ทางวัฒนธรรมข้ึนเสมอ โดยเฉพาะในยุคปจจุบันที่มีการติดตอส่ือสารกันระหวางสังคมไดอยางงาย แตคานิยมหลักที่ใชเปนกฏเกณฑของสังคม จะยังคงอยูไมเปล่ียนแปลง เชน การไหว แมจะมีรูปแบบทักทายดวยการจับมือแบบทางตะวันตก เขามาในสังคมไทย แตคนไทยก็ยังยึดการไหว และถือเปนเอกลักษณของสังคมไทยดวย การถายทอดทางวัฒนธรรม จึงเปนกระบวนการปฏิสัมพันธระหวางบุคคลกับส่ิงแวดลอม ซึ่งเรียกวาการเรียนรู (Learning) สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท (วิกร ตัณฑวุฑโฒ, 2536: 106-108) คือ 1. การเรียนรูที่ไมมีรูปแบบ เปนกระบวนการที่บุคคลมีปฏิสัมพันธกับส่ิงที่เปนระบบสังคม วัฒนธรรม เปนเร่ืองพื้นฐานในการดํารงชีวิต บุคคลจะไดเรียนรูคานิยม เจตคติ พฤติกรรมที่เหมาะสมกับการใชชีวิต เปนการเรียนรูที่ทําใหเกิดพัฒนาการดานจิตใจและอารมณเปน หลอหลอมใหเกิดตัวตนของบุคคล มักเกิดจากการเรียนรูจากการใชชีวิต 2. การเรียนรูที่มีรูปแบบ เปนกระบวนการที่เกิดจากการปฏิสัมพันธที่มีความเปนระบบและแบบแผนชัดเจน มักเกิดข้ึนในสถาบันตาง ๆ ที่เปนสวนหนึ่งในระบบสังคม เชน โรงเรียน สถาบัน ซึ่งจะทําใหบุคคลเกิดการเรียนรูอยางมีรูปแบบ เฉพาะเจาะจงในเร่ืองที่ตองการถายทอด เปนการเรียนรูที่ทําใหบุคคลเกิดการพัฒนาดานทักษะ ความรู การเรียนรูทั้งที่ไมมีรูปแบบและมีรูปแบบ จึงเปนกระบวนการถายทอดวัฒนธรรมผานการปฏิสัมพันธของบุคคลกับสิ่งแวดลอม ทั้งดานจิตใจ คานิยม จริยธรรม วัฒนธรรม สังคม ซึ่ง สุธิวงศ พงศไพบูลย (2545: 20-21) ไดกลาวถึงการเรียนรูของสังคมไทยวาเปนการใหปรับเปล่ียนความคิด พฤติกรรมเขาสูแบบแผนจารีตที่คนในรุนกอนไดกําหนดเปนทฤษฎีหรือบรรทัดฐาน เพื่อสรางอัตลักษณของบุคคลใหสอดคลองกับคนรุนที่ผานมา อันเปนสวนสําคัญที่แสดงใหเห็นถึงการเปนคนรวมสังคมเดียวกัน ซึ่งความรูนั้นเปนสิ่งที่สั่งสมสืบตอกันมาเปนภูมิปญญาหรือกติกา และมีกระบวนการถายทอดดวยวิธีการบอกเลา การสอน ทําใหเห็นหรือตอกย้ําผานประเพณีและพิธีกรรม บุคคลที่ถูกถายทอดจะตองปฏิบัติซ้ํา พิสูจนซ้ําเพื่อใหเขาถึงความจริงของความรูที่ถายทอดมานั้น การควบคุมทางสังคม มนุษยเมื่อมาอยูรวมกัน มีการติดตอสื่อสารระหวางกัน มีความสัมพันธในการดํารงอยูรวมกันเราเรียกวา สังคม และเมื่อมีคนจํานวนมากข้ึน มีความซับซอนมากข้ึนก็เรียกชุมชน เมือง รัฐ ประเทศชาติ การที่มนุษยมาอยูรวมกันตองมีการจัดระบบความสัมพันธระหวางกัน บรรทัดฐาน (Norms) ถือเปนกลไกสําคัญในการควบคุมสังคม เพราะเปนแบบแผนของพฤติกรรมตาม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 34: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  21

สถานภาพและบทบาท ที่บุคคลตองประพฤติหรือละเวน เปนธรรมเนียม ระเบียบ กฏเกณฑ หรือคานิยมที่สังคมกําหนดไวเปนแนวทางที่เปนที่เขาใจรวมกันไดวาเปนคนกลุมเดียวกัน ทําใหเกิดความแนนอนและความเปนระเบียบในชีวิตทางสังคม เชน คนไทยทักทายผูอาวุโสกวาดวยการไหว ขณะที่ชาวตะวันตกทักทายกันดวยการจับมือ ซึ่งตางแสดงออกกันโดยไมตองใชเวลานึกคิดไตรตรอง (ปฬาณี ฐิติวัฒนา, 2523: 55-65) บรรทัดฐาน จึงเปนวัฒนธรรมประเภทนามธรรม ที่คนในสังคมยึดถือกอเปนระเบียบสังคม ซึ่งการทําใหคนยึดถือบรรทัดฐาน ในทางสังคมวิทยาเรียกวาการควบคุมทางสังคม ซึ่งทําไดหลายวิธี วิธีหนึ่งคือการใหคุณและใหโทษ (Sanctions) ไดแก การลงโทษผูฝาฝนและใหรางวัลแกผู ปฏิบัติตาม การลงโทษเปนวิธ ีการที ่ใชทั ่วไปตั้งแตในครอบครัวจนถึงการลงโทษโดยเจาหนาที่ของรัฐ คือมีทั้งการควบคุมที่เปนทางการ (formal control) และการควบคุมที่ไมเปนทางการ (informal control) การควบคุมอยางไมเปนทางการที่ทําโดยญาติพี่นองและชาวบานนั้น เปนการควบคุมที่มีประสิทธิภาพมากเมื่อเทียบกับการควบคุมโดยเจาหนาที่รัฐ การจัดระเบียบทางสังคมซ่ึงทําใหเกิดการควบคุมทางสังคม (Social control) เพราะมนุษยตองพึ่งพาอาศัยกัน การพึ่งพาอาศัย ไมจําเปนตองเปนเร่ืองผลประโยชนสวนตัวแตอยางเดียว มีเร่ืองอุดมคติของสังคมมาเกี่ยวของดวย (สุพัตรา สุภาพ, 2519: 10-15) ซึ่งรูปแบบการจัดระเบียบมี 4 รูปแบบ คือ 1. ระบบเครือญาติ (kinship) เปนระบบที่สําคัญที่ทําใหครอบครัวดํารงอยูได และเปนแหลงของความชวยเหลือและเคารพนับถือของคนในครอบครัว 2. ความจงรักภักดี (fealty) คือ การที่บุคคลหน่ึง ซื่อตรง นบนอบ นับถือ ตออีกบุคคลหนึ่ง มีความลึกซึ้งมากกวาการใหคําสัญญาธรรมดา 3. สถานภาพ (status) คือ ตําแหนงที่ไดรับจากกลุม ซึ่งจะมีสิทธิ หนาที่ที่เกี่ยวของกับบุคคลอ่ืน และสังคมโดยรวมดวย 4. สัญญา (contract) และการประสานงานกันอยางมีเหตุผล (rational coordination) คือการที่บุคคลผูกพันกันดวยคําสัญญา ตามกฏเกณฑที่ไดใหแกกัน ซึ่งเมื่อมีความเดนชัดข้ึน จะพัฒนาไปสูการจัดต้ังกลุม และกําหนดรูปแบบความประพฤติของสมาชิกในสังคมใหอยูในระเบียบ การควบคุมที่เปนนามธรรม การควบคุมทางสังคมที่เปนนามธรรม หรือวิธีการควบคุมอยางไมเปนทางการมีหลายวิธีต้ังแตการซุบซิบนินทา การหัวเราะเยาะ จนถึงการตัดญาติขาดมิตรกับผูฝาฝนจารีตประเพณีที่ถือวาสําคัญ วิธีการเหลานี้เปนการควบคุมจากภายนอก (External control) วิธีการสําคัญอีก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 35: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  22

ประการหนึ่งที่ทําใหบุคคลยอมรับปฏิบัติตามบรรทัดฐาน คือ การอบรมปลูกฝงจนบุคคลเกิดจิตสํานึกในการควบคุมตนเอง (internal control) เพราะเห็นวาบรรทัดฐานตาง ๆ เปนสิ่งที่ถูกตองดีงาม ผูที่มีสวนรวมในการควบคุมทางสังคมมีต้ังแตตัวเอง ครอบครัว เพื่อนบาน ไปจนถึง ศาสนาและอํานาจรัฐ (จํานงค อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ, 2549: 34-35) ในสังคมไทยยังมีเร่ือง กฏแหงกรรม ตามหลักความเชื่อทางพุทธศาสนา มาควบคุมพฤติกรรม ทานพุทธทาสภิกขุ (2529: 55-88) กลาวไววา ตามหลักพุทธศาสนา คําวา กรรม แปลวา การกระทํา หมายถึง การกระทําที่ประกอบดวยเจตนา คือ กระทําดวยความต้ังใจหรือจงใจ ดังพุทธพจนที่วา “ภิกษุทั้งหลาย เราเรียกเจตนน่ันแหละวาเปนกรรม บุคคลจงใจแลว จึงกระทําดวยกาย ดวยาจา ดวยใจ กรรมมี 3 ประเภท โดยแบงตามการแสดงออก คือ 1. กายกรรม ไดแก การกระทําหรือพฤติกรรม ที่แสดงออกทางกาย 2. วจีกรรม ไดแก การกระทําหรือพฤติกรรม ที่แสดงออกทางวาจา 3. มโนกรรม ไดแก การกระทําทางใจ หรือความรูสึกนึกคิดตาง ๆ พระพุทธศาสนาเรียกกรรมดีวา “กุศลกรรม” หรือ ที่เรียกทั่วไปวา บุญ ซึ่งหมายถึงการกระทําที่ดีดวยกุศลเจตนา เชน ใหทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ซึ่งใหผลเปนความสุขกาย สบายใจ และ เรียกกรรมชั่ววา “อกุศลกรรม” หรือที่เรียกทั่วไปวา บาป ซึ่งหมายถึงการกระทําที่ไมดี ดวยอกุศลเจตนา เชน ลักทรัพย ฆาสัตว ในแนวคิดเร่ืองกฏแหงกรรมนี้ เช่ือวา ทําดีไดดี ทําช่ัวไดชั่ว โดยกรรมอาจใหผลทันตาในชาตินี้ หรือชาติหนา แนวคิดเร่ืองกฏแหงกรรม จึงสัมพันธกับความเช่ือเร่ืองการเวียนวายตายเกิดในพุทธศาสนา ในเร่ืองกฏแหงกรรม ถาแยกตามระยะเวลาการสงผลของกรรม ในทางพุทธศาสตรไดจําแนกไวดังนี้ 1. ทิฏฐธัมมเวทนิยกรรม ไดแก กุศล อกุศล อันไดเห็นในปจจุบันชาติ กลาวคือ กระทําในชาตินี้ ก็ใหผลในชาตินี้ 2. อุปปชชเวทนิยกรรม ไดแก กุศล อกุศล อันบุคคลกระทําในชาตินี้ แตใหผลในชาติหนา 3. อปราปรนิยกรรม ไดแก กุศล อกุศล อันบุคคลกระทําในชาตินี้ แตนาน ๆ ไปหลายชาติจึงจะไดผล 4. อโหสิกรรม ไดแก อกุศลที่ติดตามไมทัน ไมเกิดผล ในการควบคุมกลุมคนที่มีความคิด ความเช่ือเดียวกัน ตองมีหลักความประพฤติที่จะอบรมส่ังสอน ควบคุมใหอยูในคุณธรรม หรือศีลธรรม ใหเกิดการดํารงชีวิตตามคานิยม ตามวัฒนธรรมของกลุม ของสังคม ซึ่งส่ิงเหลานี้เราเรียกวา จริยธรรม (Ethic) ซึ่งมาจากภาษากรีกวา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 36: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  23

Ethos แปลวา ลักษณะนิสัยที่สามารถตัดสินคุณคาไดตามความหมายของความดี ความงาม และความสุข (ประภาศรี สีหอําไพ, 2550: 19-24) ความดี คือ กุศลธรรม เปนการประพฤติธรรมทั้งกาย วาจา ใจ เกื้อกูลกัน ไมเบียดเบียน ไมทํารายกัน ยึดหลักทําดีไดดี ทําช่ัวไดชั่ว ในการดํารงชีวิตโดยสุจริตธรรม คนดีจึงหมายถึง คนทีม่ีศีลธรรม ไมมีความโลภ ความโกรธ ความหลง ความงาม คือ ความรูสึกประทับใจที่เกิดจากคุณธรรม นํามาสูการประพฤติปฏิบัติที่เปนระเบียบเรียบรอย มีวินัย มีศีลธรรม มีจิตใจงาม ความสุข คือ ความรูสึกสบายใจ สบายกาย การควบคุมที่เปนรูปธรรม การควบคุมอยางเปนรูปธรรม เปนการสรางรูปแบบความประพฤติ ซึ่งเปนการแสดงออกมาจากจิตใจ ซึ่งก็คือการนําหลักจริยธรรมมากํากับ เมื่อมนุษยมีการรวมกลุม เปนชมรม สมาคม หรือแวดวงวิชาชีพตาง ๆ อาทิ ราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือธุรกิจเอกชน จะมีการกําหนดส่ิงที่ควรประพฤติปฏิบัติสําหรับผูประกอบอาชีพตาง ๆ เรียกวา จรรยาบรรณ ซึ่งมีความสําคัญเทากับกฏ ระเบียบ ขอบังคับ ถาหลีกเล่ียง ละเมิด ละเวนไมปฏิบัติตามจะถูกตําหนิติเตียน หรือถูกลงโทษตามกฏเกณฑที่กําหนดไว จรรยาบรรณเปนการนําหลักจริยธรรมมากํากับการประกอบอาชีพนั้น ๆ เพื่อสงเสริมใหผูประกอบอาชีพมีหลักยึดเหนี่ยวน้ําใจใหมีคุณธรรม และประกอบอาชีพนั้น ๆ ดวยความซ่ือสัตย สุจริต ยุติธรรม เกิดประโยชนตอตนเองและสวนรวม (พิภพ วชังเงิน, 2545: 13-14) จากแนวคิดการถายทอดวัฒนธรรมและการควบคุมสังคมพบวา ส่ิงที่มนุษยยึดถือประพฤติปฏิบัติ เชนบรรทัดฐานทางสังคม คานิยม ความเช่ือ จะถูกถายทอดผานสถาบันซึ่งมีทั้งสถาบันครอบครัว ชุมชน หรือสมาคมที่บุคคลในสังคมรวมกลุมกัน โดยเปนการปรับเปล่ียนความคิด พฤติกรรมเขาสูแบบแผนจารีตที่คนในรุนกอนไดกําหนดเปนทฤษฎีหรือบรรทัดฐานมีกระบวนการถายทอดดวยวิธีการบอกเลา การสอน ทําใหเห็นหรือตอกย้ําผานประเพณีและพิธีกรรมและจะตองมีการควบคุม โดยใชหลักความเช่ือทางศาสนา หลักจริยธรรมในการควบคุมจิตใจ และการใชหลักกฏเกณฑ จรรยาบรรณในการควบคุมอยางเปนทางการ เปนการสรางหลักยึดปฏิบัติ เพื่อนําไปสูการอยูรวมกัน ซึ่งผูวิจัยจะใชแนวคิดดังกลาวมาขางตน มาวิเคราะหผลการศึกษา ในเนื้อหาที่เกี่ยวของกับองคความรูดานโหราศาสตร รูปแบบการถายทอดความรูโหราศาสตร กลไกที่ใชในการควบคุมนักโหราศาสตร ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 37: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  24

แนวคิดเร่ืองจรรยาบรรณ ในการประกอบอาชีพหรือการกระทําใด ๆ ที่มีสวนสัมพันธกับผูอ่ืนในสังคม ตองมีหลักปฏิบัติที่ดี ที่คนในสังคมยอมรับ ซึ่งหลักปฏิบัติเหลานั้นกลุมองคกรวิชาชีพตาง ๆ เรียกวา จรรยาบรรณ ซึ่งมีองคประกอบของคําศัพท คือ คําวา “จรรยา” มีความหมายเดียวกับคําวา “จริยา” หมายถึง กิริยาที่ควรประพฤติในหมูคณะ บรรณ หมายถึง ขอความ หนังสือ ส่ิงที่ประมวลเขาไวเปนหมวดหมู เมือ่นํา 2 คํานี้มารวมกันเปน “จรรยาบรรณ” จึงหมายถึง ความประพฤติที่ผูประกอบอาชีพตาง ๆ ไดรวมกันกําหนดข้ึนไวเปนแนวทางประพฤติปฏิบัติ เพื่อรวมกันรักษาช่ือเสียง เกียรติคุณของวิชาชีพนั้น ๆ ใหเจริญรุงเรืองถาวร ไมมีความดางพรอย และกําหนดไวเปนลายลักษณอักษร เพื่อเปนหลักฐานใหสืบคนและอางอิงได (ปราชญา กลาผจัญ, 2544: 181-182) ซึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ไดระบุความหมายที่สอดคลองกัน จรรยาบรรณ คือ ประมวลความประพฤติที่ผูประกอบอาชีพการงานแตละอยางกําหนดข้ึน เพื่อรักษาและสงเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและฐานะของสมาชิกอาจเขียนเปนลายลักษณอักษรหรือไมก็ได จรรยาบรรณในอดีต มีลักษณะของการเปนขอหาม ขอปฏิบัติ เปนกฏที่มีการลงโทษหากไมปฏิบัติตาม มีหลักฐานปรากฏใหเห็นต้ังแตสมัยสุโขทัย ในสุภาษิตพระรวง ที่บอกถึงขอหาม ขอควรปฏิบัติ และในตํารับนางนพมาศ ที่มีเร่ืองราวจริยศาสตร 12 ประการ เชน การมีความเพียร การรูจักส่ิงผิดและชอบ (สําเริง บุญเรืองรัตน, 2540, อางถึงใน ปราชญา กลาผจัญ, 2544: 189) ในมาตรา 67 ถาคบกันกินเหลาในพระราชวัง ใหตมเหลาใหรอน กรอกปากแลวใหจําไว ผูใดเลนวาวขามพระราชวังก็ดี ซัดไมคอนกอนดินอิฐผาขามพระราชวัง โทษตัดมือ ขวางพระที่นั่งโทษถึงตาย ใชบรรดาศักด์ินอนในพระราชวัง และเขามานอนไซร ใหตีผูนอนและผูขอนอนคนละ 10 ที (ติณ ปรัชญพฤทธ์ิ, 2536, อางถึงใน ปราชญา กลาผจัญ, 2544: 189) ในปจจุบันจรรยาบรรณ จะปรากฏอยูกับการประกอบวิชาชีพ เหตุเพราะวิชาชีพคือผูประกอบอาชีพที่ตองใชความรู ความชํานาญ มีการศึกษาอบรม ฝกฝนเปนพิเศษ วิชาชีพบางวิชาชีพอาจกอใหเกิดความเสียหายตอคนในสังคม หากทําผิดพลาดแมจะไมเจตนาหรือเจตนาทุจริต การทําบกพรอง การไมเอาใจใสงานตามหลักวิชาชีพของตนเอง จะทําใหเกิดความเสียหายได ซึ่งตองอาศัยจรรยาบรรณมาประกอบ วิชาชีพจึงมีองคประกอบสําคัญ 4 ประการ คือ วิชาความรู จรรยาบรรณ การคัดสรร คือ มีการคัดเลือกบุคคล การฝกอบรม เสริมทักษะ และมีสมาคมวิชาชีพคอยควบคุม กํากับดูแล เชน สภาทนายความ แพทยสภา และสมาคมเหลานี้จะเปนผูกําหนด ประกาศจรรยาบรรณข้ึนมา (พิภพ วชังเงิน, 2545: 16)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 38: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  25

จรรยาบรรณของกลุมวิชาชีพในสังคมไทย มีหลายกลุมวิชาชีพ ผูวิจัยไดศึกษาเนื้อหาของจรรยาบรรณวิชาชีพทนายความ แพทย และวิศวกร เพราะวิชาชีพเหลานี้มีสถาบันที่กําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพของตน เพื่อควบคุมสมาชิกใหปฏิบัติตามหลักจริยธรรม (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534: 23-66) คือ จรรยาบรรณทนายความ ตามขอบังคับสภาทนายความ วาดวยมรรยาททนายความ พ.ศ.2529 ไดระบุสาระสําคัญของมรรยาท (กริยาที่ถือวาเรียบรอย) หรือจรรยาบรรณทนายความเปนหมวดหมูคือ มรรยาทตอศาลและในศาล มรรยาทตอตัวความ มรรยาทตอทนายความดวยกัน ตอประชาชนผูมีอรรถคดีและอ่ืน ๆ มรรยาทในการแตงกาย และมรรยาทในการปฏิบัติตามคําสั่งตามกฏหมายและขอบังคับ จรรยาบรรณแพทย ตามขอบังคับแพทยสภา วาดวยการรักษาจริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2526 ไดระบุจริยธรรมแหงวิชาชีพเวชกรรม คือหลักทั่วไป เปนหลักการสําคัญของวิชาชีพ เชน การดํารงตนโดยเคารพตอกฏหมายบานเมือง การไมประพฤติใหเส่ือมเสียเกียรติศักด์ิแหงวิชาชีพ การประกอบวิชาชีพดวยไมคํานึงถึงฐานะ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง และมีหลักปฏิบัติในเร่ืองการโฆษณาการประกอบวิชาชีพเวชกรรม การประกอบวิชาชีพเวชกรรม การปฏิบัติตอผูรวมวิชาชีพ การปฏิบัติตอผูรวมงาน การทดลองในมนุษย จรรยาบรรณวิศวกร ซึ่งมีการออกเปนกฏกระทรวง ฉบับที่ 8 ตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 มีการกําหนดมรรยาทแหงวิชาชีพ โดยไมไดจัดเปนหมวดหมู ประกาศเปนขอหาม ขอปฏิบัติ จํานวน 15 ขอ เชน การไมกระทําการใหเส่ือมเสียเกียรติศักด์ิแหงวิชาชีพ การปฏิบัติงานอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ เปนตน จรรยาบรรณของวิชาชีพทนายความ แพทย วิศวกร มีเนื้อหาที่กําหนดพฤติกรรมของผูประกอบวิชาชีพ ทั้งตอตนเอง ตอเพื่อนรวมงาน ตอผูที่รับบริการ และตอสังคม โดยมีกฏหมายรองรับ และมีบทลงโทษที่สําคัญคือการหามประกอบวิชาชีพนั้น ๆ หากมีการกระทําผิดจรรยาบรรณ จรรยาบรรณจึงมีความสําคัญ ดังนี้ (พิภพ วชังเงิน, 2545: 15) 1. เพื่อสงเสริมใหผูประกอบอาชีพแตละประเภท ประพฤติปฏิบัติตนถูกตองเหมาะสมตามที่แตละอาชีพไดวางหลักไวใหเปนจรรยาบรรณ ถาหากกระทําผิดยอมมีความผิด 2. ชวยควบคุมและสงเสริมใหผูประกอบการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีความสํานึกในหนาที่ และมีความรับผิดชอบตองานที่ตนทํา 3. สงเสริมและชวยควบคุมการผลิต และการปฏิบัติงานใหมีปริมาณและคุณภาพที่เชื่อถือได มีการบริการที่ดีและปลอดภัย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 39: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  26

4. สงเสริมใหผูประกอบการมีความซื่อสัตย มีความยุติธรรม ไมทุจริตตอหนาที่ สามัคคีเอ้ือเฟอเผ่ือแผ 5. สงเสริมใหผูประกอบอาชีพประเภทตาง ๆ มีความสํานึกวาการประกอบอาชีพที่ไมเห็นแกตัว ไมเอาเปรียบผูบริโภค ตรงไปตรงมาเปนกุศล สังคมยกยอง 6. จรรยาบรรณชวยพิทักษสิทธิ์และหนาที่ของผูประกอบอาชีพนั้น ๆ ตามกฏหมาย จรรยาบรรณของท้ัง 3 วิชาชีพที่กลาวมาขางตน พบวา เปนจรรยาบรรณที่มีการประกาศใหผูประกอบวิชาชีพนําไปปฏิบัติ โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายที่บัญญัติออกมาใชควบคุมแตละวิชาชีพ ทําใหพบความแตกตางระหวางจรรยาบรรณวิชาชีพและกฏหมายควบคุมวิชาชีพ (สมยศ สิงหคํา, 2550: 67-68) คือ 1. จรรยาบรรณวิชาชีพเกิดจากความตองการของผูที่อยูในกลุมวิชาชีพรวมกันสรางข้ึนมาควบคุมกันเอง ไมไดเปนกฏหมายจากรัฐ 2. จรรยาบรรณวิชาชีพเปนอุดมคติที่สูงกวาขอบังคับของกฏหมาย กลาวคือ กฏหมายเปนกฏระเบียบที่ควบคุมคนเพื่อความสงบเรียบรอยเทานั้น แตจรรยาบรรณเปนอุดมคติของแตละวิชาชีพที ่กําหนดแนวทางปฏิบัติ แนวทางพัฒนาตนเองและการเกื ้อกูลคนในสังคม ซึ ่งกฏหมายไมมี 3. จรรยาบรรณวิชาชีพเกิดจากความสมัครใจของผูที่อยูในกลุมวิชาชีพ เพื่อควบคุมกันเอง ถาไมเห็นดวยจะไมปฏิบัติตามก็สามารถทําได โดยการหยุดประกอบวิชาชีพนั้น ตางจากกฏหมายที่บงัคับวาทุกคนตองปฏิบัติตามกฏหมาย แมจะไมเห็นดวยก็ตาม 4. จรรยาบรรณวิชาชีพมีความตางจากจริยธรรมหรือศีลธรรม กลาวคือ จริยธรรม ศีลธรรม เปนการควบคุมคนทั่วไปในสังคมตามหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี แตจรรยาบรรณวิชาชีพ ควบคุมเฉพาะบุคคลในกลุมวิชาชีพเทานั้น กลาวโดยสรุปวา จรรยาบรรรณ ประกอบดวย คุณธรรม จริยธรรม อันเปนคุณงามความดีที่มีอยูในแตละบุคคล ซึ่งแสดงออกมาเปนความประพฤติที่ดีตอตนเองและผูอ่ืน จรรยาบรรณ วิชาชีพ มุงใหคนที่ประกอบวิชาชีพมีประสิทธิภาพตามกฎเกณฑมาตรฐานวิชาความรู มีเกียรติศักด์ิศรีและมีเอกลักษณทางวิชาชีพ จรรยาบรรณจึงมีลักษณะเปนประมวลกฎเกณฑความประพฤติหรือประมวลมารยาทของผูประกอบอาชีพ ที่ผูประกอบอาชีพกําหนดใหเปนหลักในการยึดเหนี่ยวคุณธรรมและจริยธรรมของบุคคลในแตละกลุมวิชาชีพ อาจเขียนเปนลายลักษณอักษรหรือไมก็ไดและตองมีองคกร สถาบันหรือสมาคม ในการกํากับควบคุมจรรยาบรรณของสมาชิก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 40: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  27

จากแนวคิดดังกลาว ผูวิจัยจะนํา ไปวิเคราะหเปรียบเทียบในเนื้อหาที่เกี่ยวของกับจรรยาบรรรณของนักโหราศาสตรในแตละสมาคม และการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย แนวคิดการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ความหมายของวัฒนธรรม เร่ืองที่เกี่ยวของกับมนุษย ลวนแตเปนเร่ืองที่ซับซอน ซับซอนดวยวิธีการ ซับซอนดวยวธิีคิด วิธีเขาใจของมนุษย วิธีปฏิบัติของมนุษยตอส่ิง ๆ หนึ่ง หรือมนุษยตอมนุษย จึงแตกตางกันตามฐานคิดของแตละคน วิถีชีวิตของคนถูกแทนดวยคําวา “วัฒนธรรม” เร่ืองนี้เปนเร่ืองลึกซึ้ง ทั้งจับตองสัมผัสได และไมอาจมองเห็นไดแตรูสึก เปรียบเสมือน “นกไมเห็นฟา ปลาไมเห็นน้ํา” คําวาวัฒนธรรมตรงกับคําศัพทภาษาอังกฤษวา “Culture” เปนคําที่ พลตรี พระเจา วรวงศเธอ กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ ทรงบัญญัติไว โดยมาจากการรวมกันของสองคํา คือ คําวา วัฒน มาจาก วฑฺฒน เปนภาษาบาลี หมายถึง ความเจริญงอกงาม และคําวา ธรรม มาจาก ธฺรม เปนภาษาสันสกฤต หมายถึง สภาพที่เปนอยูจริง รวมแลวหมายถึง สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม (วรวุธ สุวรรณฤทธิ์, 2549: 45-46) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดนิยามความหมายของวัฒนธรรมไว 4 นัย ดังนี้ คือ 1. ส่ิงที่ทําใหเจริญงอก งามแกหมูคณะ 2. วิถีชีวิตของหมูคณะ 3. ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความกลมเกลียว กาวหนาของชาติและศีลธรรมอันดีของประชาชน 4. พฤติกรรมและส่ิงที่คนในหมูผลิตสรางข้ึนดวยการเรียนรูจากกันและกัน และรวมใชอยูในหมูพวกของตน ในหนังสือ Encyclopedia of Social Science ไดอธิบายคําวา วัฒนธรรม (Culture) วาเปนคําที่ใชในวิชามานุษยวิทยาสมัยใหม (Modern Anthropology) และในทางดานสังคมศาสตร (Social Sciences) หมายถึง มรดกของสังคม (Social Heritage) เปนลักษณะเฉพาะในการดํารงชีวิตของกลุมคนที่มาอยูรวมกัน และไดมีการเปลี่ยนแปลงใหเจริญตามยุคสมัย (สุพัตรา สุภาพ, 2528) ศาสตราจารย ชารล อาร เช็มโบล ไดอธิบายความหมายของวัฒนธรรมดังนี้ วัฒนธรรม คือ ส่ิงทั้งหมดอันมีลักษณะซับซอน ซึ่งรวมเอาความรู ความเชื่อ ศิลปะ ศีลธรรม กฏหมาย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 41: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  28

ขนบธรรมเนียม และบรรดานิสัย ความประพฤติอ่ืน ๆ อันบุคคลไดไวในฐานะที่ตนเปนคนหนึ่งแหงสังคม (อานนท อาภาภิรม, 2516: 42) สุพัตรา สุภาพ (2538: 35) กลาววา วัฒนธรรมมีความหมายครอบคลุมถึงทุกส่ิงทุกอยาง ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตมนุษยในสังคม กลุมใดกลุมหนึ่ง หรือสังคมใดสังคมหนึ่ง ประกอบดวย ความรู ความเช่ือ ศีลธรรม กฏหมาย ประเพณี และทุกส่ิงทุกอยางที่คิดและทําในฐานะเปนสมาชิกของสังคม จากการใหคําอธิบายของผูรูหลายทาน ในการอธิบายคําวา วัฒนธรรม ตามรูปศัพทแลวจะใหความหมายถึงส่ิงที่เจริญ งอกงาม ดีงาม แตถาความหมายในทางวิชาการแลวจะใหความหมายที่กวางมาก ต้ังแตความคิด ความเช่ือ คานิยม ธรรมเนียม กฏ ขอบังคับ คุณธรรม จริยธรรม ภูมิปญญา ที่มนุษยไดสรางสรรคข้ึน ไมวาจะดี เหมาะสมกับคนกลุมใหญ หรือกลุมยอยก็ตาม และมีการถายทอดสงตอ ปรับปรุงเปล่ียนแปลง เปนแบบแผนวิถีชีวิตที่เหมาะสมกับการดํารงชีวิตของกลุมคนนั้น ๆ ลักษณะของวัฒนธรรม วัฒนธรรม มีลักษณะที่สามารถอธิบายใหเขาใจมากยิ่งข้ึน ดังนี้ 1. วัฒนธรรมเปนแบบแผนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู (Learned Behavior) ไมใชเกิดข้ึนเองโดยสัญชาตญาน อยางการหายใจ การไอ การจาม ฯลฯ มนุษยตองเรียนรูเพื่อปรับความคิด พฤติกรรมของตนเองตามที่สังคมตองการ มนุษยตองเรียนรูแบบแผนเดิม แลวอาจมีการเปล่ียนแปลงหรือสรางแบบแผนใหม ๆ ที่ตอบสนองวิถีชีวิตข้ึนมาได การรูจักคิด เรียนรู และถายทอด ทําใหการเรียนรูเปนลักษณะที่สําคัญของความเปนวัฒนธรรม 2. วัฒนธรรมเปนวิถีชีวิต (Way of Life) เพราะวัฒนธรรมกําหนดแบบแผนพฤติกรรมมนุษยต้ังแตเกิดจนตาย ต้ังแตรูปแบบการใชชีวิตของมนุษยในแตละวัน การกิน การนอน การทํากิจกรรมตาง ๆ เชนการทําไร การทําประมง การไปทําบุญ การดูดวง ฯลฯ และรูปแบบของสังคม เชน การปกครอง เศรษฐกิจ ประเพณี และเปนส่ิงที่กําหนดวาในสังคม ส่ิงใดดี ส่ิงใดไมดี คุณลักษณะขอนี้ทําใหเห็นความแตกตางของวัฒนธรรมแตละสังคม แตละกลุม เชน วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมจีน วัฒนธรรมฝรั่ง เปนตน 3. วัฒนธรรมเปนมรดกทางสังคม (Social Heritage) ถูกถายทอดสืบตอกันมา มนุษยสามารถถายทอด ส่ือสารกันไดโดยใชสัญลักษณ (symbolic communication) คือ การมีภาษาพูดและภาษาเขียน ซึ่งเปนเร่ืองสําคัญของมนุษยทุกกลุม ทําใหเกิดการถายทอดวัฒนธรรมจากคนรุนกอน ๆ สงตอมายังคนรุนถัดไปไดอยางไมขาดหาย หรือการแลกเปล่ียนวัฒนธรรมระหวางกลุมสังคมก็สามารถใชภาษาพูด ภาษาเขียน ทําใหเกิดการสงตออยางสืบเนื่อง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 42: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  29

4. วัฒนธรรมมีลักษณะที่เหนืออินทรีย (Superorganic) คือเปนส่ิงที่ไมใชทั้ง อนินทรีย (inorganic) และอินทรีย (organic) กลาวคือ ของสิ่งหนึ่งอาจมีความหมายแตกตางกัน ในแตละสังคมวัฒนธรรม ทั้ง ๆ ที่เปนของส่ิงเดียวกัน เชน การแลบล้ิน ในสังคมชาวธิเบต คือ การแสดงออกซึ่งความเคารพนับถือ สวนสังคมชาวไทยถือวาเปนการกระทําที่ไมสุภาพ เปนตน 5. วัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงได (Culture is Adaptive) วัฒนธรรมมีลักษณะพลวัต คือมีการเปลี่ยนแปลง ไมหยุดนิ่ง ทั้งการสูญหาย การสืบตอ หรือการปรับเปลี่ยนเปนรูปแบบใหม ทั้งนี้ข้ึนกับความพึงพอใจ ความจําเปนของสมาชิกในสังคม ทรัพยากรวัฒนธรรม จากความหมายและลักษณะของวัฒนธรรมที่กลาวมาขางตน ในวงวิชาการและนักอนุรักษ ไดใหความหมายที่เฉพาะ ที่เดนชัดขึ้นในสิ่งที่เปนผลผลิตของวัฒนธรรม หรือลักษณะตาง ๆ ของระบบวัฒนธรรมทั้งในอดีต ปจจุบัน ที่มีคาหรือเปนตัวแทน ที่สามารถสื่อถึงวัฒนธรรมตาง ๆ ได โดยใชคําวา ทรัพยากรวัฒนธรรม ซึ่งมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษแตกตางออกไป ตามการใหความหมาย เชน สมบัติวัฒธรรม (Cultural property) คือ วัตถุสิ่งของทั้งสังหาริมทรัพย อสังหาริมทรัพย ที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม สวนใหญจะเปนงานสถาปตยกรม ศิลปะ ประวัติศาสตร และหลักฐานทางโบราณคดี ทรัพยสินวัฒนธรรม (cultural asset) คือ วัตถุที่มีคุณคาเชิงธุรกิจ มรดกวัฒนธรรม (cultural heritage) คือ ส่ิงของที่เปนรูปธรรม เชน โบราณสถาน แหลงโบราณคดี สถาปตยกรรม กลุมสิ่งกอสรางและรองรอยตาง ๆ ที่มีคุณคาในเชิงประวัติศาสตร สุนทรียะ ศิลปะ มานุษยวิทยา ชาติพันธุวรรณา และวิทยาศาสตร ทรัพยากรวัฒนธรรม (Cultural resource) เร่ิมแรกจะมีความหมายเช่ือมโยงถึงหลักฐานโบราณคดี สถานที่ทางประวัติศาสตรมากกวาอยางอ่ืน เพราะถูกพัฒนาข้ึนมาโดย นักโบราณคดี แตปจจุบันมีความที่ครอบคลุมมากขึ้น ทั้งส่ิงที่เปนรูปธรรม และนามธรรม เชน ความเชื่อ คานิยม ภาษา เปนตน (ธนิก เลิศชาญฤทธิ์, 2554: 12-20) จากการพิจารณาโดยรวมแลว ผูวิจัย พบวา ทรัพยากรวัฒนธรรม (Cultural resource) มีความหมายเหมือนคําวาวัฒนธรรมโดยทั่วไป คือ เปนความคิด ความเชื่อ แบบแผนของการดําเนินชีวิต หรือส่ิงประดิษฐที่มนุษยสรางสรรค พัฒนาและสงตอเปนมรดกทางสังคม แตจะเนนใหเห็นชัดข้ึน คือ การมุงไปที่ผลผลิตของรูปแบบวัฒนธรรมนั้น ๆ ที่มีคุณคาตอมนุษยยุคนั้น หรือยุคปจจุบัน อาทิ ผลผลิตที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร เชน โบราณสถาน แหลงโบราณคดี อุทยานประวัติศาสตร ผลผลิตที่มีคุณคาทางความเชื่อ เชน ประเพณีผีตาโขน ประเพณีลอยกระทง การพยากรณดวยหลักโหราศาสตร การทําบุญสะเดาะเคราะห ผลผลิตที่ ส่ือถึงทักษะฝมือ เชน พระพุทธรูป จิตกรรมฝาผนัง เคร่ืองประดับ งานหัตถกรรม เปนตน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 43: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  30

ประเภทของทรัพยากรวัฒนธรรม ทรัพยากรวัฒนธรรมแบงไดหลายประเภท ข้ึนอยูกับวิธีการจัดแบงในแตละศาสตรการศึกษา หรือการใชงานของแตละองคกร ในที่นี้จะใชการแบงตามที่องคการยูเนสโกไดจําแนกไว โดยแบงตามลักษณะที่ปรากฏ สามารถแบงไดเปน 2 ประเภทดวยกัน คือ 1. ทรัพยากรวัฒนธรรมที่จับตองไมได (Intangible) เปนวัฒนธรรมที่เปนนามธรรม เปนความรู ความเชื่อ ทักษะ การแสดงออก การนําเสนอ การปฏิบัติ ที่ปรากฏออกมาในรูปตาง เชน ประเพณีมุขปาฐะและการแสดงออก รวมถึงภาษา ศิลปะการแสดง ขอปฏิบัติ/กฏระเบียบสังคม พิธีกรรม และเทศกาล ความรูและการปฏิบัติที่เกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติและจักรวาล และ ทักษะในงานฝมือเชิงชาง 2. ทรัพยากรวัฒนธรรมที่จับตองได (Tangible) เปนวัฒนธรรมที่เปนรูปธรรม หมายถึง ซากส่ิงของกอสราง รวมถึงวัตถุที่จับตองสัมผัสไดดวยมือ มองเห็นดวยตาของมนุษย ที่ส่ือถึงวิถีชีวิตของมนุษยทั้งในอดีตและปจจุบัน หรือวัตถุส่ิงของที่เกิดจากการคิดประดิษฐข้ึนมาเพื่อจุดมุงหมายใด จุดมุงหมายหนึ่งของการดําเนินชีวิตมนุษย เชน ถวย จาน ที่อยูอาศัย คอมพิวเตอร ภาพวาด รูปปน เปนตน โหราศาสตร จัดเปนทรัพยากรวัฒนธรรมที่จับตองไมได ดังปรากฏหลักฐานมาตั้งแตในอดีต มีการสั่งสมความรูและถายทอดกันมาอยางยาวนานปรากฏเปนหลักฐานตั้งแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบัน มีบทบาทตอวิถีชีวิตชาวไทยตั้งแตเกิดจนตาย มีทั้งบุคคลเปนผูนําความรูนี้มาใชและถายทอดใหกับผูอื ่น มีทั ้งบันทึกเอกสารความรู โหราศาสตรจึงเปนภูมิปญญาที่ใชหลักการโคจรของดวงดาวบนทองฟา และหลักความเชื่อตางๆ เรียกวา ลาง เคล็ด โฉลก ซึ่งก็มีการสืบทอดมายังปจจุบัน เชนการถือเคล็ด หามขึ้นบานวันเสาร เผาผีวันศุกร ตัดจุกวันอังคาร แตงงานวันพุธ โหราศาสตรจึงมีลักษณะเปนทรัพยากรวัฒธรรม โดยเปนทั้งความรูภูมิปญญา และมีกลุมองคกรทางโหราศาสตรที่ถายทอดความรู พรอมทั้งทําหนาที่พยากรณใหกับคนในสังคมไทยยุคปจจุบัน การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม เปนศาสตรหนึ่งที่มีลักษณะสหวิทยาการ มีเปาหมายใหการใชทรัพยากรวัฒนธรรมนั้นเกิดประโยชนสูงสุดตอคนในสังคม โดยมีแนวทางหลักในการจัดการคือ การศึกษาวิจัย และการอนุรักษปองกันทรัพยากรวัฒนธรรม โดยคํานึงถึงความยั่งยืนของทรัพยากรวัฒนธรรม และมีกระบวนการหลักในการจัดการ 3 กระบวนการ คือ การประเมินความสําคัญ (Assessing Significance) การวางแผนการจัดการ (Planning for Management) และการกําหนดรายการจัดการ (Management Program) (ธนิก เลิศชาญฤทธิ์, 2554: 64) จาก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 44: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  31

หลักการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมดังกลาวสอดคลองกับกระแสการพัฒนาของโลกที่ตองอยูบนพื้นฐานของการเคารพวิถีธรรมชาติ การเนนทางเลือกที่หลากหลายของทรัพยากรและการใชทรัพยากรอยางคํานึงถึงประโยชนของคนในปจจุบันและรุนถัดไป (ชนัญ วงษวิภาค, 2547: 86) กระบวนการจัดการดังกลาวมีการนําไปใชในเนื้อหาตาง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับทรัพยากรวัฒนธรรม เชน การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยว การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมทางโบราณคดี ซึ่งเปนทั้งการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมที่จับตองได (Tangible) และวัฒนธรรมที่จับตองไมได (Intangible) กระบวนการจัดการที่มุงใหเกิดความยั่งยืน ตองนําผูมีสวนเกี่ยวของโดยตรงเขามารวมจัดการ ซึ่งนอกจากจะทําใหเกิดผลการจัดการที่เปนรูปธรรมแลว ยังกอใหเกิดการสรางพลังปญญาและการจัดระบบความสัมพันธที่ดีตอกันภายในกลุมบุคคล ผูเช่ียวชาญที่เขาไปดําเนินการจะมีบทบาทรับฟงและสนับสนุนใหอยูในกรอบจริยธรรม คุณธรรม กฎหมายของสังคมเทานั้น (สายันต ไพรชาญจิตร, 2550: 210-220) การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมจึงอยูในกรอบของจริยธรรม ทําใหเกิดการใชทรัพยากรอยางคุมคา ซึ่งในการกํากับควบคุมการใชทรัพยากรวัฒนธรรม วิธีการหนึ่งคือการออกกฏหมายควบคุม เพราะทรัพยากรวัฒนธรรมบางอยางมีมูลคาทางเศรษฐกิจ ทําใหเกิดการคาขาย แลกเปล่ียน ตองมีมาตรการควบคุม หามปรามและลงโทษ ผูที่ทําลาย คาขาย แตก็เปนวิธีการที่ยังไมสามารถควบคุมไดอยางแทจริง จึงมีการกําหนดวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งคือกําหนดจริยธรรมหรือจรรยาบรรณ สําหรับผูที่ประกอบวิชาชีพเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ทําใหเกิดความรับผิดชอบตอวิชาชีพของตนเอง เปนหลักคิดสําคัญที่ทําใหคนในสังคม เกิดความมั่นใจวามีการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมบนหลักการที่เหมาะสม (ธนิก เลิศชาญฤทธิ์, 2554: 174-189) แนวคิดการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ที่กลาวมาขางตน มีความสอดคลองกับเรื่องที่ศึกษา กลาวคือ โหราศาสตรเปนศาสตรแหงความเชื่อที่มีทั้งเอกสารตําราที่ถายทอดมาแตในอดีต มีโหร หมอดู เปนผูทําหนาที ่ส ืบทอดความรู และทําหนาที ่พยากรณโชคชะตาบุคคล โหราศาสตรจึงมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของคนในสังคมสวนหนึ่งเปนอันมาก คนสวนหนึ่งที่เชื่อโหราศาสตรไมไดรับคําทํานายตามหลักวิชา ทําใหคุณคาโหราศาสตรผิดเพี้ยนไปจากคุณคาอดีต ซึ่งในงานศึกษานี้ผูวิจัยเนนเรื่องจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร อันเปนวัฒธรรมที่จับตองไมได ผูวิจัย จะนําแนวคิดการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมที่กลาวมานั้น วิเคราะหหาแนวทางการจัดการที่เหมาะสมเพื่อใหเกิดประโยชนจากการใชหลักวิชาโหราศาสตรในการพยากรณชะตาบุคคลในสังคม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 45: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  32

วรรณกรรมที่เกี่ยวของ สานิต ศิริวิศิษฐกุล (2535) ไดทําการศึกษาวิจัยเร่ือง “หมอดู: กระบวนการสรางตัวตนและความสัมพันธทางสังคม” ผลการศึกษา พบวา ลักษณะของวิชาโหราศาสตรด้ังเดิม มีลักษณะเปนศาสตรบริสุทธิ์ซึ่งไมเกี่ยวของกับศาสนาและไสยศาสตร สามารถแบงออกเปน 2 ภาค คือ ภาคคํานวณและภาคพยากรณ แตโหราศาสตรที่มีในสังคมไทยนั้น มีความหลากหลายจึงมีภาคพิธีกรรมมาเกี่ยวของ ทั้งนี้เปนผลจากความเชื่อด้ังเดิมของหมอดูแตละคน อันเปนผลจากการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมของโหราศาสตรที่เขามาในสังคมไทยมีการผสมเขากับความเช่ือทางศาสนา และความเชื่อในลัทธิวิญญาณศาสตร ลัทธิเทพ และความเชื่อดังกลาวถูกสอดแทรกในกระบวนพยากรณ การสรางตัวตนของหมอดู มีความสัมพันธกับความเช่ือด้ังเดิม โดยผูที่เขามารับการอบรมเพื่อเปนหมอดูจะมีความเช่ือทางโหราศาสตรจากการขัดเกลาทางสังคม หรือจากประสบการณทางโหราศาสตรผลักดันใหเขามารับการอบรมจากสมาคมโหราศาสตร และเมื่อเขามารับการอบรมจะไดเรียนรูกฏเกณฑทางโหราศาสตร ธรรมเนียมปฏิบัติ บทบาทและหนาที่ เร่ิมพัฒนาตัวตนเปนหมอดูใหเปนที่ยอมรับของผูที่ไปเรียนดวยกัน โดยมีกระบวนการฝกหัดบทบาทหมอดู ดวยการดูดวงชะตากับผูที่มาเรียนดวยกัน กับเพือนฝูงหรือคนใกลชิด และการฝกดูดวงชะตากับคนที่ไมรูจัก ซึ่งกระบวนการฝกนี้ถือเปนหัวใจของการพัฒนาตัวตนใหเปนหมอดู เมื่อเปนหมอดู ความคาดหวังของผูมารับบริการจะมีความสําคัญอยางมากตอการกอรูปตัวตนของหมอดู ซึ่งเร่ืองที่ผูมารับบริการคาดหวังคือเร่ืองความรักรวมถึงครอบครัว การงาน การศึกษา โรคภัยไขเจ็บและประการสุดทาย คือ ความเชื่อและความคาดหวังของผูมารับบริการ และสถานการณในสังคมที่บุคคลผูนั้นเผชิญอยู จะมีผลตอความเช่ือตอคําพยากรณของหมอดูและการมองรูปลักษณะของโหราศาสตร จากงานศึกษาวิจัยดังกลาว ผูวิจัยจะนําเร่ืองการอบรมจากสมาคมโหราศาสตรที่มีการถายทอดกฏเกณฑทางโหราศาสตร ธรรมเนียมปฏิบัติ บทบาทและหนาที่ กระบวนการขัดเกลาใหเปนหมอดู มาวิเคราะหเปรียบเทียบกับผลการศึกษาคร้ังนี้ ในสวนที่เกี่ยวกับ การถายทอดความรูและจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ของสมาคมโหราศาสตร กัญชัช ศศิธร (2541) ไดทําการศึกษาวิจัย เร่ือง บทบาทของหมอดูในสังคมไทย กรณีศึกษาเฉพาะกรุงเทพมหานคร และภิญโญ พงศเจริญ (2543) ไดทําการศึกษาเร่ืองบทบาท โหรในสังคมไทย พบวา ผลการศึกษามีความใกลเคียงกัน คือ งานของกัญชัช ศศิธร หมอดูที่ศึกษา สวนใหญเปนเพศชาย จะอยูในชวงอายุ 51-80 ป ระดับการศึกษาสวนใหญสูงกวาระดับปริญญาตรี

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 46: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  33

และมีรายไดระหวาง 10,000-30,000 บาท สวนงานของภิญโญ มีอายุเฉลี่ย 63.83 ป ระดับการศึกษาสวนใหญอยูในระดับปริญญาตรี และจะมีรายไดมากกวา 30,000 บาทตอเดือน ในเร่ืองบทบาทของหมอดูนั้น งานของกัญชัช ศศิธร จะเนนบทบาทของหมอดูในมุมของผูมารับบริการ ซึ่งเห็นวาหมอดูมีบทบาททางดานจิตใจ ทําใหเกิดความเช่ือมั่นในการกระทําการอยางหนึ่งอยางใด และไมมีบทบาทตอสังคมมากนัก ขณะที่งานของภิญโญ พงศเจริญ ซึ่งอีกบทบาทหนึ่งคือการเปนนายกสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ ไดกลาวถึงบทบาทของโหรอยางกวางขวางทั้งดานปจเจกบุคคล คือ ผอนคลายความตึงเครียดทางจิตใจ ทําใหมีความมั่นใจ เปนเคร่ืองชวยตัดสินใจในการวางแผนอนาคต การเลือกซื้อของใชตาง ๆ ดานครอบครัว สรางความสัมพันธในครัวเรือน ชี้แนวทางปฏิบัติตอกันในการครองเรือน เลือกการศึกษาและอาชีพใหบุตร ธิดา ต้ังชื่อ วางแผนอนาคต การวางฤกษผานาที การจัดบานเรือน ดานองคกรหรือหนวยงาน คือ การสรางความสัมพันธคนในองคกร การวางแผนงานและกําหนดนโยบาย เปนเคร่ืองชวยตัดสินใจ การสรางความเชื่อมั่น เร่ืองพิธีกรรม ฤกษยาม และดานสังคม ซึ่งมีทั้งเร่ืองเศรษฐกิจ การเมือง สังคม จิตใจ พิธีกรรมศาสนา วัฒนธรรมประเพณี การเตือนภัยพิบัติ อุตุนิยม การแพทย การสังคมสงเคราะห ในเร่ืองการปญหาอุปสรรคนั้น ภิญโญ พงศเจริญ ไดกลาววา ปจจัยสําคัญอยูที่ตัวโหรเอง ที่ยังขาดความรูตามหลักวิชาการอยางแทจริง ขาดความชํานาญ ขาดการศึกษาปรับปรุงวิชาการใหทันสมัย อีกทั้งไมมีจุดยืน มักเกิดความขัดแยงและแขงขันกัน โดยมีเรื่องพาณิชยมาเกี่ยวของมาก นอกจากนั้นมีการแบงพรรคแบงพวก และขาดจรรยาบรรณของความเปนโหร สวนปจจัยภายนอก พบวา โหรยังไมมีหนวยงานหรือองคกรกลางในการควบคุมความประพฤติของโหร อีกทั้งไมมีศูนยกลางในการศึกษาวิชาโหราศาสตรในระบบเดียวกัน ในเร่ืองการพัฒนาหมอดู และโหรนั้น ทั้งกัญชัช ศศิธร และภิญโญ พงศเจริญ กลาวสอดคลองกันคือ ควรสนับสนุนใหเกิดการรวมตัวเปนองคกรทางวิชาชีพ เพื่อใหการศึกษาโหราศาสตรอยางเปนระบบ มีการพัฒนาความรูและมีการควบคุมมาตรฐานและดานจริยธรรมของหมอดูและโหรใหมีบทบาทที่เหมาะสมในสังคมไทย แนวคิดงานวิจัยดังกลาว สามารถนํามาใชวิเคราะหเปรียบเทียบกับผลการศึกษาในคร้ังนี้ในสวนที่เกี่ยวกับบทบาทของหมอดูและโหรที่มีตอสังคมไทย และแนวทางการพัฒนาวิชาชีพทางโหราศาสตรโดยการต้ังองคกรทางวิชาชีพ มาพัฒนาควบคุมจริยธรรม จรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย ในงานศึกษาวิจัยอ่ืนที่เกี่ยวของกับโหราศาสตร มีผูทําการศึกษาในดานตาง ๆ คือการศึกษาที่มุงเนนประโยชนจากโหราศาสตร เชน พิไลรัตน รุจิวณิชยกุล (2524) ไดทําการศึกษาวิจัยเร่ือง การศึกษาปญหาสุขภาพจิตของผูมารับบริการจากหมอดูของสมาคมโหราศาสตรแหง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 47: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  34

ประเทศไทย พบวาเมื่อมาหาหมอดูจะทําใหสบายใจข้ึนทําใหมีความหวัง คลายความวิตกกังวล และหลังจากรับบริการจากหมอดูแลวสวนใหญตอบวารูสึกสบายใจข้ึน สอดคลองกับ ยลลดา มณเฑียรมณี (2538) ไดทําการศึกษาวิจัยเร่ือง หมอดู : ทางเลือกสําหรับความ มั่นคงทางจิตใจ พบวา สาเหตุที่ทําใหผูมารับบริการ มาหาหมอดู เพราะมีความคาดหวังวา หมอดูจะเปนที่พึ่งทางใจ เปนที่ปรึกษา และแนะแนวทางเพื่อแกไขปญหาที่ เกิดข้ึนในชีวิตประจําวันได เปนการสรางความมั่นใจ กําลังใจ ใหกับผูมารับบริการที่ตองการผูรวมตัดสินใจใน การกระทําตาง ๆ ที่อาจเกิดข้ึนในอนาคต ในอนาคต เพื่อจะไดวางแผนการในการดําเนินชีวิตใหมีความ พรอมและรัดกุมมากยิ่งข้ึน การศึกษาท่ีมุงเนน ความนิยมในการใชบริการพยากรณจากหมอดูของคนในสังคม เชน ณัฐยา นอยเหลือ (2546) ศึกษาวิจัยเร่ือง การวิเคราะหอุปสงคของการใชบริการหมอดูในกรุงเทพมหานคร พบวา มีผูใชบริการหมอดูในกรุงเทพมหานคร รอยละ 58.8 ลักษณะของผูใชบริการหมอดูสวนใหญจะเปนผูหญิง อายุ 20-30 ป และเช่ือในคําทํานายของหมอดู โดยสวนใหญจะใชบริการหมอดูเฉล่ีย 1-2 คร้ังตอป และนิยมดูดวงแบบใชวันเดือนปเกิดมากที่สุด โดยราคาเฉล่ียในการใชบริการ 100-300 บาทตอคร้ัง และผูใชบริการจะใชบริการหมอดูในกรณีที่มีปญหาคับของใจเปนสวนใหญ เนื่องจากเห็นวาหมอดูสามารถทําใหรูสึกคลายกังวลข้ึนได โดยปญหาที่นิยมถามหมอดูมากที่สุด คือ ปญหาอาชีพการงาน การศึกษาที่มุงเนน การส่ือสารของนักโหราศาสตร เชน สิรินทรสฤษฎ วินิจสร (2548) ไดทําการศึกษาวิจัย เร่ือง การสื่อสารระหวางหมอดูกับผูเขารับบริการ พบวา การสื่อสารระหวางหมอดูกับผูเขารับบริการจะประกอบไปดวย 4 ชวงของการส่ือสาร คือ ชวงที่ 1 ชวงของการทําความรูจักในเบ้ืองตน ชวงที่ 2 ชวงของการเขาสูการใหคําทํานาย ชวงที่ 3 ชวงของการสนทนาโตตอบระหวางหมอดูกับผูเขารับบริการ ชวงที่ 4 ชวงยุติการสนทนา และปจจัยที่สงผลใหเกิดเปนความพึงพอใจแกผูเขารับบริการ คือ ปจจัยที่เกิดจากตัวผูเขารับบริการ ไดแก ความเช่ือทัศนคติ ความตองการความคาดหวัง และปจจัยที่เกิดจากตัวของหมอดู ไดแก คําทํานายในเชิงบวกที่หมอดูมีให ความแมนยําของหมอดู คําแนะนําวิธีแกไขปญหาที่หมอดูมีให วิธีการพูดคุยของหมอดู และบุคลิกลักษณะของหมอดู นวฤทธ์ิ เอิบอ่ิม (2540) ไดทําการศึกษาศึกษาวิจัยเร่ือง แนวทางการสรางความเช่ือของนักโหราศาสตรผานส่ือส่ิงพิมพในบริบททางโหราศาสตรและทางธุรกิจพบวา นักโหราศาสตรมีการสรางความเช่ือโดย มีการนําเสนอขาวสารทางโหราศาสตรดานลบมากกวาดานบวก การใหความรูหรือการแนะนําปรึกษาปญหาชีวิตผานส่ือส่ิงพิมพ และมีการใชกลยุทธในการโนมนาวใจเพื่อสรางชื่อเสียงใหกับตัวนักโหราศาสตร ในบริบททางโหราศาสตรในฐานะโหราจารย หมอดูชื่อดัง คอลัมนิสตที่มีผลงานตามส่ือส่ิงพิมพซึ่งไดรับการสนับสนุนจากส่ือมวลชน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 48: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  35

ราตรี ปนแกว (2554) ไดทําการศึกษาวิจัยเร่ือง หมอดูออนไลน: การสื่อสารความเช่ือโหราศาสตรผานส่ืออินเตอรเน็ต พบวา รูปแบบการส่ือสารผานส่ืออินเตอรเน็ต ทําใหหมอดูมีการปรับตัวการส่ือสารความเชื่อโหราศาสตร ใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของคนรุนใหม โดยไมมีขอจํากัดเรื่องเวลาและสถานที่ แตการสื่อสารผานสื่ออินเตอรเน็ต ยังไมสามารถสรางความนาเชื่อถือและความศักดิ์สิทธิ์ในหลักวิชาโหราศาสตรได เหมือนกับการดูหมอดวยการสื่อสารแบบเผชิญหนา ซึ่งสามารถใหความนาเชื่อถือ ความพึงพอใจแกผูดูได ดังผลการศึกษาของ สิรินทรสฤษฎ วินิจสร (2548) ที่ไดกลาวมาขางตน

จากการศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับโหราศาสตรที่กลาวมาขางตน พบวา ยังไมมีงานศึกษาที่เกี่ยวของกับเร่ืองจริยธรรม จรรยาบรรณของนักโหราศาสตรหรือหมอดู ทั้งที่เปนวิชาที่มีการสืบทอดมาแตในอดีต และมีการประกอบเปนวิชาชีพ ใหคําปรึกษาในการดําเนินชีวิตของคนไทยใหเกิดความม่ันใจในการกระทําบางอยาง ในงานศึกษาวิจัยนี้ จึงจะนําแนวคิดเร่ืองโหราศาสตร แนวคิดเร่ืองการถายทอดวัฒนธรรมและควบคุมสังคม แนวคิดการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม แนวคิดเร่ืองจรรยาบรรณ และผลการศึกษาวิจัยบางประการ ที่กลาวมาขางตน ไปวิเคราะหผลการศึกษาเร่ืองการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรตอไป  

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 49: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

36

บทที่ 3

ระเบียบวธิีการศกึษาวิจัย

การศึกษาวิจัยเร่ือง “การจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย” เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อใหมีความเขาใจในเร่ืองจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย อันเปนสวนสําคัญตอการดํารงของศาสตรดานนี้ โดยศึกษา จรรยาบรรณเดิมของ นักโหราศาสตรมีอะไรบาง ปจจุบันเปนอยางไร การถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตร แนวทางในการจัดทําจรรยาบรรณทางวิชาชีพของนักโหราศาสตร โดยศึกษากลุมองคกรที่ทําหนาที่ถายทอด ควบคุมจริยธรรมนักโหราศาสตร เพื่อนําไปสูขอเสนอแนะแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย พื้นที่การศึกษา ดําเนินการศึกษาขอมูลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จากกลุมองคกรนักโหราศาสตร ที่มีการจดทะเบียนกอต้ังเปนสมาคม มีโครงสรางองคกร มีที่ทําการกลุมและการดําเนินกิจกรรมในกลุม มาเปนระยะเวลาไมตํ่ากวา 5 ป คือ 1. สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ ที่ต้ัง ศาลาราย วัดราชนัดดารามวรวิหาร เลขที่ 2 ถนนมหาไชย แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 2. สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ ที่ต้ัง เลขที่ 239/3 ถนนพระสุเมรุ ซอยขางธนาคารกสิกรไทย บางลําภู แขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 3. สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย ที่ต้ัง เลขที่ 178 วัดเอ่ียมวรนุช ศาลาจารุเสถียรอุปถัมภ ถนนสามเสน แขวงบานพานถม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 4. มูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ ที่ต้ัง เลขที่ 67 ตรอกบานพานถม ถนนสุเมรุ เขตพระนคร กรุงเทพ 10200

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 50: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

37  

ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา ในการศึกษาวิจัย เพื่อใหไดขอมูลที่นาเชื่อถือ เพียงพอแกการวิเคราะห ผูวิจัยเลือกศึกษาขอมูลจากประชากร ที่มีสวนเกี่ยวของกับการพยากรณดวยวิชาทางโหราศาสตร 3 กลุม คือนายกสมาคมโหราศาสตร ผูสอนวิชาโหราศาสตร และผูที่รับบริการพยากรณโหราศาสตร โดยกําหนดขนาดกลุมตัวอยางและวิธีการคัดเลือก ดังนี้ 1. กลุมนายกสมาคมโหราศาสตร โดยเปนนายกสมาคม 3 แหง และประธานมูลนิธิ 1 แหง รวมจํานวน 4 คน ใชวิธีการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive sampling) และเก็บขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) เปนรายบุคคล ตามแบบสัมภาษณเก็บขอมูลกลุมนายกสมาคม คือ 1.1 นายภิญโญ พงศเจริญ นายกสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ 1.2 นายธนกร สินเกษม นายกสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ 1.3 นางฐานิกาพิชญศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย 1.4 นายอารี สวัสดี ประธานมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ 2. กลุมอาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตรและวิชาการพยากรณ ใชวิธีการคัดเลือกแบบลูกโซ (Snowball Selection) โดยใหนายกสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ นายกสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ นายกสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย และประธานมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภ เปนผูคัดเลือกอาจารยผูสอนของสมาคมใหผูวิจัย จํานวนสมาคมละ 2 คน รวมจํานวน 8 คน และเก็บขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) เปนรายบุคคลตามแบบสัมภาษณเก็บขอมูลกลุมอาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตร คือ 2.1 นางธัญมน สุริยาศักด์ิ สอนวิชาโหราศาสตรไทย สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ 2.2 นางพรประภา พันธบูรณะ สอนวิชาเลข 7 ตัว 4 ฐาน ลายเซ็นตพื้นฐานและพยากรณ สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ 2.3 นายศิวนาถ ฤชุพันธ สอนวิชาโหราศาสตรไทย คัมภีรมหาสัตตเลข ไพยิปซี สมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ 2.4 นางภาวิณี สุขพร สอนวิชาโหราศาสตรไทย ไพยิปซี เลข 7 ตัว 11 ฐาน สมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ 2.5 นายอาคม หนูทอง สอนวิชาศาสตรฮวงจุย ดวงจีน สมาคมสหพนัธโหร-แพทยแผนไทย 2.6 นางหญิงณัฐชาพัชร สันติเลิศ สอนวิชาลายมือพยากรณ สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย

 

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 51: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

38  

2.7 นายวิโรจน กรดนิยมชัย สอนวิชาโหราศาสตรยูเรเนี่ยน มูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภ 2.8 นายวรพล ไมสน สอนวิชาโหราศาสตรไทย "สุริยยาตรศึกษา" มูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภ 3. กลุมผูที่เคยรับบริการพยากรณโชคชะตาจากนักโหราศาสตร ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จํานวน 30 คน ชาย 5 คน หญิง 25 คน อายุระหวาง 18-60 ป โดยใชวิธีการคัดเลือกแบบตามสะดวก (Convenience Selection) จากผูที่มารับบริการพยากรณที่สมาคม และผูที่ไดรับการแนะนําจากคนรูจักวาเคยรับบริการพยากรณและยินดีใหขอมูล การเก็บขอมูลใชวิธีการสัมภาษณแบบไมเปนทางการ (Informal Interview) โดยใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured interview) กับกลุมผูที่เคยรับบริการพยากรณโชคชะตาจากนักโหราศาสตร เกี่ยวกับประสบการณการไปรับการพยากรณจากนักโหราศาสตร วิชาโหราศาสตรหรือการพยากรณที่ดู ความคิดเห็นตอจริยธรรม จรรยาบรรณของนักโหราศาสตร เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัย 1. แบบสัมภาษณกลุมตัวอยางการศึกษา (Guideline interview) 2. สมุดบันทึก สําหรับใชในการจดบันทึกรายละเอียดจากการสัมภาษณ การสังเกต 3. เคร่ืองมือชวยจดจํา (Recording Tools) ไดแก กลองถายภาพ ใชในการบันทึกภาพ สถานที่และกิจกรรม เคร่ืองบันทึกเสียง ใชในการบันทึกขอมูลจากผูใหสัมภาษณ วิธีการศึกษาวิจัย ในการศึกษาวิจัย ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยการคนควาขอมูลจากเอกสารทางวิชาการ บทความ ขาวสารทางส่ืออินเตอรเน็ต งานวิจัยที่เกี่ยวของ และไดลงพื้นที่เก็บขอมูลในสมาคมโหราศาสตร โดยการสังเกตการสอนวิชาโหราศาสตร และการสัมภาษณผูใหขอมูลสําคัญ (Key Informant) การศึกษาขอมูลเอกสาร (Documentary Study) ผูวิจัย รวบรวมขอมูลทางวิชาการที่เกี่ยวของกับประเด็นการวิจัย ทั้งแนวความคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวของกับงานศึกษาคร้ังนี้จากขอมูลเอกสาร ตํารา นิตยสาร วารสาร บทความ วทิยานพินธ หนังสือ บทความ รวมทั้งส่ืออินเตอรเน็ต เพื่อใหทราบลักษณะปญหาของประเด็นการศึกษาวิจัย และทราบวาประเด็นใดบางไดมีการศึกษาวิจัยแลว ไดผลอยางไร สัมพันธกับประเด็นที่ผูวิจัยกําลังศึกษาอยางไร จากนั้นผูวิจัยไดนําแนวคิด ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวของมาเปนแนวทาง

 

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 52: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

39  

ในการศึกษาวิจัย ไดแก แนวคิดเรื่องการถายทอดวัฒนธรรมและควบคุมสังคม แนวคิดเรื่องจรรยาบรรณ แนวคิดการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวของ และผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลจรรยาบรรณนักโหราศาสตร จากผูสอนวิชาโหราศาสตรบางคน ที่ทําเปนเอกสารใชในการสอนวิชาโหราศาสตร ซึ่งขอมูลเอกสารเหลานี้ผูวิจัยนํามาเปนขอมูลในการศึกษาจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ขอมูลเอกสาร บทความ วิทยานิพนธ หนังสือทางวิชาการ และเอกสารตางที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดทําการศึกษารวบรวมมาจากแหลงคนควาตาง ๆ คือ หอสมุดสาขาวังทาพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ กรุงเทพมหานคร หอสมุดปรีดี พนมยงค มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร หอสมุดแหงชาติ กรุงเทพมหานคร สํานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ส่ือทางอินเตอรเน็ต ฯลฯ การสัมภาษณ ผูวิจัย ใชวิธีการสัมภาษณกับกลุมผูใหขอมูล 3 กลุม ที่กลาวมาขางตน ทั้งการสัมภาษณแบบเปนทางการ (Formal interview) โดยใชแนวคําถามสัมภาษณ (Interview guide) ซึ่งมีประเด็นคําถามที่ไดจัดเตรียมไวลวงหนาโดยใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured interview) และการสัมภาษณแบบไมเปนทางการ (Informal interview) 1. กลุมนายกสมาคมโหราศาสตร ผูวิจัย ทําการสัมภาษณนายกสมาคมโหราศาสตร 3 แหง และประธานมูลนิธิ 1 แหง ซึ่งเปนผูใหขอมูลสําคัญ (Key Informant) โดยสัมภาษณแบบเปนทางการ (Formal interview) และใชแนวคําถามสัมภาษณ (Interview guide) ในประเด็นที่ครอบคลุมเนื้อหาที่ศึกษา ดังนี้ 1.1 ขอมูลสวนตัว คือ เพศ อายุ ศาสนา การศึกษา อาชีพ 1.2 การเรียนรูเร่ืองโหราศาสตร คือ เร่ิมศึกษาเร่ืองโหราศาสตรเมื่อไหร ที่ไหน อยางไร แบบแผนการพยากรณ 1.3 จริยธรรมทางโหราศาสตร คือ บทบาทหนาที่ของโหร จริยธรรมของโหร มีอยางไรบาง 1.4 การรวมกลุมสมาคม คือ ประวัติความเปนมา วัตถุประสงคของสมาคม บทบาทของสมาคมตอสังคม มีการถายทอดจรรยาบรรณอยางไร มีการควบคุมจริยธรรมอยางไร มีปญหาอุปสรรคอยางไรบาง

 

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 53: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

40  

1.5 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนักโหราศาสตร ในฐานะทรัพยากรทางวัฒนธรรม คือ การพยากรณ/หมอดู มีคุณคาทางดานใดบาง นักโหราศาสตรหรือหมอดูมีบทบาทอะไรบางในสังคมปจจุบัน การพยากรณ/หมอดูมีปญหาอะไรบาง การพัฒนาปรับปรุงนักโหราศาสตรหรือหมอดู ใหเปนที่ไววางใจของคนในสังคม 1.6 ความคิดเห็นเกี่ยวกับจรรยาบรรณโหรที่ไดรับการถายทอดมา และแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณของผูที่ทําหนาที่พยากรณทางโหราศาสตร 2. กลุมอาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตร ผูวิจัยทําการสัมภาษณอาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตรและวิชาการพยากรณ ของสมาคมโหราศาสตร 3 แหง และมูลนิธิ 1 แหง ซึ่งเปนผูใหขอมูลสําคัญ (Key Informant) โดยสัมภาษณแบบเปนทางการ (Formal interview) และใชแนวคําถามสัมภาษณ (Interview guide) ในประเด็นที่ครอบคลุมเนื้อหาที่ศึกษา แบงออกเปน 6 หมวด ดังนี้ 2.1 ขอมูลสวนตัว คือ เพศ อายุ ศาสนา การศึกษา อาชีพ 2.2 การเรียนรูเร่ืองโหราศาสตร คือ เร่ิมศึกษาเร่ืองโหราศาสตรเมื่อไหร ที่ไหน อยางไร แบบแผนการพยากรณ 2.3 จริยธรรมทางโหราศาสตร คือ บทบาทหนาที่ของโหร จริยธรรมของโหร มีอยางไรบาง 2.4 การถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตร คือ มีการถายทอดจรรยาบรรณอยางไร มีการควบคุมจริยธรรมอยางไร มีปญหาอุปสรรคอยางไรบาง 2.5 ความคิดเห็นเกี่ยวกับนักโหราศาสตรหรือหมอดู ในฐานะทรัพยากรทางวัฒนธรรม คือ การพยากรณ/หมอดู มีคุณคาทางดานใดบาง นักโหราศาสตรมีบทบาทอะไรบางในสังคมปจจุบัน การพยากรณ/หมอดูมีปญหาอะไรบาง การพัฒนาปรับปรุงนักโหราศาสตร ใหเปนที่ไววางใจของคนในสังคม 2.6 ความคิดเห็นเกี่ยวกับจรรยาบรรณโหรที่ไดรับการถายทอดมา และแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณของผูที่ทําหนาที่พยากรณทางโหราศาสตร 3. กลุมผูที่เคยรับบริการพยากรณโชคชะตาจากนักโหราศาสตร สัมภาษณแบบไมเปนทางการ (Informal Interview) กับกลุมผูที่เคยรับบริการพยากรณโชคชะตาจากนักโหราศาสตร เกี่ยวกับประสบการณการไปรับการพยากรณจากนักโหราศาสตร วิชาโหราศาสตรหรือการพยากรณที่ดู ความคิดเห็นตอจริยธรรม จรรยาบรรณของนักโหราศาสตร

 

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 54: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

41  

4. การสังเกต (Observation) ผูวิจัยไดใชวิธีการสังเกตแบบไมมีสวนรวม (Non-participant observation) คือ ผูวิจัยไมไดเขาไปมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมของสมาคมโหราศาสตร เปนเพียงการสังเกตจากภายนอกกิจกรรม โดยการเขาไปสังเกตการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของสมาคม, การสอนวิชาโหราศาสตร, การพยากรณดวงชะตาใหกับผูที่มารับบริการพยากรณ การออกรานพยากรณการกุศล เปนตน และการสังเกตแบบมีสวนรวม (Participant observation) โดยผูวิจัยไปรับบริการพยากรณจากนักโหราศาสตร เพื่อสังเกตแบบแผนการพยากรณและลักษณะการนําหลักวิชามาพยากรณ การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูล (Data Analysis) เปนการสรางขอสรุป โดยการนําขอมูลมาจัดระบบ ตีความ เปรียบเทียบหาความเชื่อมโยงของขอมูลแตละแหง โดยผูวิจัยใชวิธีการวิเคราะหขอมลูแบบบรรยาย (Descriptive Analysis) โดยนําขอมูลมาวิเคราะห สรางขอสรุปจรรยาบรรณทางโหราศาสตร วิธีการถายทอด แนวทางการจัดทําจรรยาบรรณ เพื่อใหเกิดการยึดถือปฏิบัติในการใชความรูทางโหราศาสตรมาพยากรณอยางถูกตองตามหลักจรรยาบรรณ ดังนี้ 1. การวิเคราะหขอมูลจากเอกสาร โดยการนําขอมูลจากงานวิจัย หนังสือวิชาการที่เกี่ยวกับโหราศาสตร เอกสารจากสมาคมโหร มาวิเคราะหบรรยาย 2. การวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณและการสังเกตกลุมตัวอยาง โดยการนําขอมูลมาตีความ วิเคราะหความสอดคลอง ความแตกตางของขอมูลความคิดเห็นจากกลุมที่ทําการเก็บขอมูล การนําเสนอขอมูล การศึกษาวิจัยนี้ ผูวิจัยใชรูปแบบการนําเสนอแบบบรรยายความ (Descriptive Analysis) โดยการนําผลการศึกษาขอมูลในประเด็นตาง ๆ ไปวิเคราะหและสังเคราะหเปนขอสรุปแนวทางท่ีเหมาะสมในการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตรในสังคมไทย กรอบแนวคิดในการวิจัย โหราศาสตรเปนวิชาความรู อันเปนวัฒนธรรมภูมิปญญาที่อยูคูกับสังคมไทยมาอยางยาวนานและมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตคนไทย โดยการใหนักโหราศาสตรที่มีการรวมกลุมกันเพื่อพัฒนาวิชาความรูทางโหราศาสตรและถายทอดวิชาความรูนี้เปนผูใหแนวทางในการจัดทํา

 

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 55: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

 

 

42

จรรยาบรรณนักโหราศาสตร เปนแนวทางหนึ่งที่ชวยพัฒนาวิชาโหราศาสตรใหมีความนาเชื่อถือ เปนที่ยอมรับของคนในสังคม นําไปสูการสรางนักโหราศาสตรที่มีคุณธรรม จริยธรรม เปนทีพ่ึง่ของคนในสังคมไทย สรุปเปนกรอบแนวคิดงานวิจัย ไดดังนี้

ทรัพยากรวฒันธรรมที่จับตองไมได วิชาโหราศาสตร/วิชาพยากรณ

จรรยาบรรณนักโหราศาสตร

คุณธรรม

จริยธรรม ความเชื่อเร่ืองกรรม

บทบาท/คุณคาของโหราศาสตรตอคน

ในสังคม

การถายทอดความรูโหราศาสตรและการ

พยากรณ

โหราศาสตร

ทรัพยากรวฒันธรรมที่จับตองได โหร/หมอดู/นกัพยากรณ สมาคมโหราศาสตร

Page 56: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

บทที่ 4

ผลการศึกษา การศึกษาวิจัยเร่ือง การจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตรในสังคมไทย เปนการศึกษาจรรยาบรรรณของนักโหราศาสตรในปจจุบัน โดยในบทนี้ผูวิจัยจะนําเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวของโหราศาสตรในสังคมไทย ที่ยังดํารงอยูมาจนปจจุบัน เพื่อการวิเคราะหแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร เนื้อหาในบทแบงออกเปน 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สภาพการณโหราศาสตรในสังคมไทยในอดีตและปจจุบัน ตอนที่ 2 นักโหราศาสตรในสังคมไทย ตอนที่ 3 การถายทอดความรูและจรรยาบรรณทางโหราศาสตรของกลุมองคกรโหราศาสตรในปจจุบัน ตอนที่ 4 ความคิดเห็นของผู รับบริการพยากรณโหราศาสตรตอจรรยาบรรณ นักโหราศาสตร ตอนที่ 5 ความคิดเห็นของอาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตรและวิชาการพยากรณตอ การจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร ตอนที่ 6 ความคิดเห็นของนายกสมาคมโหราศาสตรตอการจัดทําจรรยาบรรณของ นักโหราศาสตร ตอนท่ี 1 สภาพการณโหราศาสตรในสังคมไทยในอดีตและปจจุบัน โหราศาสตรในอดีต โหราศาสตรอยูในวิถีชีวิตคนไทย ปรากฏอยูทุกยุคสมัย ทั้งที่ปรากฏเปนบันทึก หรือเปนคําบอกเลาสืบตอกันมาตั้งแตสมัยสุโขทัย เพราะมีหลักฐานแนชัดวาในสมัยนั้นรูจักการเคลื่อนยายของดวงดาวตาง ๆ กันอยูแลว ซึ่งการรูจักดวงดาวนาจะเปนภูมิปญญาพื้นฐานของชาวไทย เพราะดวงดาว ใชในการบอกทิศทางในตอนกลางคืน พระอาทิตย ก็ใชบอกทิศทางและเวลาในตอนกลางวัน

43

Page 57: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

44

ในสมัยอยุธยา วิชาโหราศาสตรนาจะมีความเจริญรุงเรืองมาก มีการบันทึกความแมนยําในการพยากรณของพระโหราธิบดีในพระราชพงศาวดาร ที่โดดเดนและมีการกลาวถึงกันมากคือสมัยพระเจาประสาททอง มีพระโหราธิบดีที่ทายไดแมนยําอยางนาพิศวง จนลํ่าลือตอ ๆ กันมาวา พระโหราทายหนู ดังปรากฏเปนหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา วา

ศักราช 1005 ปมะแมศก (พ.ศ.2186) พระโหราถวายฏีกาวาใน 3 วัน จะเกิดเพลิงในพระราชวัง สมเด็จพระเจาอยูหัวตรัสไดทรงฟงตกพระทัย ดวยพระโหราคนนี้แมนยาํนัก ครั้งหนึ่งเสด็จอยูในพระที่นั่งไพชยนตมหาประสาท มูสิกะ(หนู) ตกลงมา ทรงพระกรุณาเอาขันทองครอบไว ใหหาพระโหรามาทาย พระโหราคํานวณแลวทูลวาสัตว 4 เทา ทรงพระกรุณาตรัสวากี่ตัว พระโหราคํานวณแลวทูลวา 4 ตัว ทรงพระกรุณาตรัสวา 4 เทานั้นถูกอยู แตที่ 4 ตัวนั้นผิดแลว ครั้นเปดขันทองขึ้น เห็นลูกมูสิกะ คลานอยู 3 ตัว กับแม 1 ตัว เปน 4 ตัว ก็ทรงพระกรุณาตรัสสรรเสริญพระโหราธิบดีวาแมนกวาตาเห็นอีกใหพระราชทานเงินตราชั่งหน่ึงเส้ือผา 2 สํารับ แตน้ันมาก็เชื่อถือพระโหราธิบดีนัก คร้ันทราบวาจะเกิดเพลิง จึงมิไวพระทัย ใหขนของในพระราชวังออกไปอยูวัดชัยวัฒนาราม ทั้งเรือบัลลังก และเรือศรี เรือคลัง คับคั่งแออัดกันอยู และในพระราชวังนั้น เกณฑไพร 3,000 สรรพดวยพราขอกะตรอนํ้ารักษา หามมิใหหุงขาวในพระราชวัง แลวใหเรือตํารวจคอยบอกเหตุทุกทุมโมง คร้ังเถิงคํารบ 3 วัน เพลาสายแลว 4 นาฬิกา เรือตํารวจลงไปกราบทูลพระกรุณาวาสงบอยู สมเด็จพระจาอยูหัวตรัสวา ครั้งนี้เห็นพระโหราจะผิดอยูแลว สั่งเรือเถิดจะเขาพระราชวัง เจาพนักงานก็เลื่อนเรือพระที่นั่งกิ่งเขารับเสด็จ พระเจาอยูหัวเสด็จมาเถิงฉนวนประจําทา พระโหราอยูทายเรือพระที่นั่ง กราบทูลวาขอใหย่ําฆองคํ่ากอน จึงจะส้ินพระเคราะห สมเด็จพระเจาอยูหัวก็ใหลอยเรือพระท่ีน่ังอยู เพลาชายแลว 5 นาฬิกาเมฆพยับคลุมขึ้นทางประจิมทิศ ฝนตกพรํา ๆ ลงมา ทรงพระกรุณาตรัสแกพระโหราวา ฝนตกลงมาส้ินเหตุแลวกระมัง พระโหรากราบทูลวา ขอพระราชทานงดกอน พอสิ้นคําลง อสุนีเปรี้ยงลงมาตองเหมพระมหาประสาท เปนเพลิงติดพลุงโพลงขึ้นไหมลามลงมา คนทั้งหลายซึ่งอยูในพระราชวังมิรูที่จะทําประการใด และดีบุก อันดาดหลังคานั้น ไหลราดลงมาดังหาฝน เพลิงก็ไหมติดตอไปทั้งหองคลัง เรือนหลัง 110 เรือนจึงดับได สมเด็จพระเจาอยูหัวตรัสใหพระโหราดูวา เพลิงฟาไหมดังนี้จะดีหรือราย พระโหรากราบทูลพระกรุณาวาดีจะมีพระราชลาภ และกอบดวยอิสริยยศ บริวารยศ พระเกียรติ จะปรากฏไปนานาประเทศทั้งปวง บรรดาอริราชไพรี จะเกรงพระเดชเดชานุภาพเปนอันมาก สมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงฟง มีพระทัยปราโมทยยิ่งนัก ครั้งนั้นไหมแตพระที่นั่งมังคลาภิเษกท่ีชื ่อปราสาททอง พระที่นั ่งจักรวรรดิไพชยนตมหาประสาท และพระที่นั ่งสรรเพชญ

  

Page 58: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

45

ปราสาท จะไดไหมดวยหามิได สมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จเขาพระราชวัง ทรงพระกรุณาใหชางจับการกอพระมหาประสาท และทําคลังเรือนขางในทั้งปวง 3 เดือน เรือนขางในเสร็จ แตพระมหาประสาทปหน่ึงจึงสําเร็จใหนามชื่อพระวิหารสมเด็จ (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, 2507 : 358-360)

โหราที่กลาวถึงในพระราชพงศาวดาร คือ พระโหราธิบดีในสมัยกรุงศรีอยุธยา นับเปนตําแหนงขาราชการชั้นสูง มีศักดินา 3000 กลาวกันมาวาเปนผูแตงหนังสือจินดามณี ตําราเรียนหนังสือไทยที่ใชเปนแบบเรียนในสมัยกรุงศรีอยุธยา (ธนิต อยูโพธิ์, 2500: 50) ในสมัยรัตนโกสินทร เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกเสด็จข้ึนครองราชย แลวแตงตั้งโหรประจําราชสํานัก เปนตําแหนงที่มีอยูทั้งฝายวังหลวงและวังหนา เรียกวา กรมโหรวังหลวง ตามทําเนียบดังนี้ พระโหราธิบดี เจากรมโหรหนา พระโลกทีป เจากรมโหรหลัง ขุนโชติสาตราจาริย ราชปลัดกรมโหรหนา ขุนเทพากร ราชปลัดกรมโหรหลัง สวนกรมโหรวังหนา มีดังนี้ หลวงญาณเวท เจากรมโหรหนา หลวงไตรเพทวิสัย เจากรมโหรหลัง ขุนโลกยพรหมา ปลัดกรมโหรหนา ขุนโลกยพยากรณ ปลัดกรมโหรหลัง พระโหราธิบดี จะทําหนาที่พยากรณ ถวายฤกษยาม เพื่อการตัดสินพระทัยบริหารราชการแผนดินของพระมหากษัตริย ดังปรากฏในกฏมณเฑียรบาล กลาวถึงหนาที่โหร ไวดังนี้ เดิมตําแหนงโหราหนาหลังเปนคนแลฝายใตขึ้นด่ังน้ี โหราหนาคือพระโหราธิบดี พขุนโชติสาตราจาริยราชบหลัด โหราหลัง พระโลกทีปโหราธิบดี พขุนเทพากร ราชบหลัด แลโหราหนาไดราชการขางหนา แลราชการพราหมณะพระราชพิธีคือ การทวาทโสศกท้ัง 12 เดือน เวนแตการพระราชพิธี ตรียําพวายไดโหราขางหลัง

  

Page 59: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

46

อน่ึง โหราหนาไดราชการ คือการพระราชพิธีพยุหบาตราพิไชยสงคราม และราชการฝายขางหนาแลราชการขาทหารท้ังปวง ถาหาตัวมิได ไดแกขุนโชตบหลัด ฯลฯ อน่ึง โหรพราหมณทายเคราะหทายศึก ทายฤกษผิดลงอาชญาลูกประคําใหญแขวนคอ (ส. พลายนอย 2525: 1-6)

โหราศาสตร จึงเปนหลักวิชาที่มีผลตอการดําเนินชีวิตของคนไทย มีบุคคลทําหนาที่พยากรณและมีบทบาทอยางสําคัญตอการบริหารบานเมือง มีตําแหนงทางราชการช้ันสูง คือ พระโหราธิบดี ถาพิจารณาตามยศฐาบรรดาศักด์ิ ก็มีตําแหนงเปนเจากรมโหร มีศักดินา 3,000 ไร นอกจากมีนักโหราศาสตรทําหนาที่พยากรณแลว ในสวนหลักวิชาโหราศาสตร ก็มีการรวบรวมเปนองคความรู เขียนเปนตํารา ถายทอดสืบตอกันมา ซึ่งนอกจากจะมีโหราธิบดี เปนผูทรงความรูทางโหราศาสตรแลว พระมหากษัตริยบางพระองคก็มีความเชี่ยวชาญในเร่ืองโหราศาสตรเชนกัน ดังปรากฏในบทพระราชนิพนธเร่ืองรามเกียรต ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ไดสอดแทรกเร่ืองราวทางโหราศาสตร ทั้งดวงชะตาและฤกษยามตามหลักวิชาโหราศาสตรอยูหลายบท เปนขอบงชี้ถึงพระปรีชาสามารถของพระองคในดานโหราศาสตรอยางลึกซ้ึง เพราะไมอยางนั้นคงไมสามารถถายทอดออกมาเปนบทโคลงกลอนที่มีความงดงามทางภาษาและความหมายได ยกตัวอยางบทพระราชนิพนธเร่ืองรามเกียรต์ิ ตอน ราชาภิเษกพระราม วา บัดนั้น ขุนโหรผูเฒาทั้งสี่ รับส่ังแลวดูในคัมภีร โดยฤกษดิถีปฏิทิน อันในชันษาพระจักริศ เทวาสถิตอยูเมษส้ิน ลักษณจันทรนั้นจรมาอยูมิน ราหูอสุรินทรเล็งลัคน แลวเทียบชาตาพระนคร จะถาวรถึงที่พระยาจักร แตพระเคราะหโคจรนั้นรายนัก เทวาเสริดพักรวุนไป จะจากพระนครไปนอนปา จะราชาภิเษกยังไมได แตเทวันนั้นเขาดลใจ ที่รายใหกลับเปนดี ทูลวายังสิบหาวัน ข้ึนสามคํ่าวันจันทรเดือนส่ี เวลาย่ํารุงหานาที เปนศรีศุภฤกษสถาวร ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งในวงการโหราศาสตร ยกยองพระองควาเปนบิดาของวิชาโหราศาสตร ที่สืบตอมาถึงปจจุบัน เพราะทรงศึกษาทั้งตําราไทยและตางชาติ รวมทั้งวิชาดาราศาสตร และพระปรีชาสามารถของพระองคเปนที่ประจักษแกหมูคนไทย  

Page 60: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

47

และคนตางชาติ เมื่อทรงคํานวณต้ังแตป พ.ศ.2409 วา ประมาณ 2 ปขางหนา คือในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2411 จะเกิดสุริยปราคาเต็มดวง และระบุตําแหนงที่สามารถมองเห็นไดชัดเจนที่ตําบลหวากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ ซึ่งไดพิสูจนแลววา เปนไปตามที่พระองคฯ คํานวณจริง ๆ และพระองคไดพระราชนิพนธตําราโหราศาสตร ชื่อตําราตรีภพ เปนตําราโหราศาสตรที่ดูงาย เขาใจงาย และมีความแมนยํา ใหเปนความรูตกทอดมายังคนรุนหลัง ไดศึกษา และนํามาใชในการพยากรณลักษณะบุคคล ดังนี้

ตําราตรีภพ (ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั รัชกาลที ่4)

ตัวเราพระจอมเกลา บํารุงเหลาราษฎรสําราญ เล้ียงเสนาขาราชการ ใชแบบนี้ดีหนักหนา ฯ ตํารานี้ชื่อตรีภพ จงปรารถเรงศึกษา หญิงชายที่เกิดมา ตามชาตาช่ัวและดี ฯ ใหเอาเดือนกับวัน ประสมกันเขากับป แมไดเทาใดมี จึงประกอบใหควรทาย ถาเห็นมากกวาสิบ จงลบลิบเสียใหหาย เหลือนั้นควรทํานาย ตามตํารับโบราณมา ฯ ไมตองไปคูณหาร ใหปวยการเสียเวลา ตรีภพดังนี้นา นั้นแนนักประจักษจริง ฯ วิธีคํานวณ ใหเอา วัน เดือน ปเกิด บวกเขาดวยกัน คือ ป นับปชวดเปนตน (ปชวด = 1, ปฉลู = 2 …), เดือน นับเดือนอายเปนตน (เดือนอาย = 1, เดือนยี่ = 2 …), วัน นับวันอาทิตยเปนตน (วันอาทิตย = 1, วันจันทร = 2 …) เมื่อเทียบ วัน เดือน ปเกิด เปนตัวเลขเสร็จแลว นํามาบวกเขาดวยกัน ถามีเศษเกินกวา 10 ข้ึนไป ตองเอา 10 ลบ เหลือเศษเทาใด แลวใหเอาเศษที่เหลือนั้นเปนจํานวนทาย ตัวอยาง คนเกิดปมะเมีย = 7 เดือนพฤศจิกายน = 12 วันจันทร = 2 รวมกันได = 21 จํานวน 21 นี้ ลบออก 10 เหลือ 11 ซึ่งยังเกิน 10 อยู ก็เอา 10 ไปลบอีกคร้ัง เหลือเศษ 1 เมื่อคํานวณเสร็จแลว คําทํานายไดบอกวา

  

Page 61: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

48

เศษ 1 เสาเรือนไฟไหม ชาตาใครทั้งชายหญิง ไรเรือนที่เพื่อนพิง ที่พึ่งพักพํานักเนาว ฯ จะเรรอนระเหระหน เรงเจียมตนอยาดูเบา เพราะวาชาตาเรา โทษประกอบจึงเกิดกรรม ฯ เศษ 2 จะครองไข มีโรครายรุมประจํา หยูกยาจะหาทํา บถูกแทจนแกตัว ฯ เศษ 3 ความสบาย มีขาควายและเกวียนวัว พอสมสกุลตัว เขาที่ทายสถานกลางฯ เศษ 4 มีขาครอก อเนกนอกคณานาง อุปถัมภลวนสําอางค บไขชุกบทุกขเปนฯ เศษ 5 ชาตากลับ ทุนทรัพยก็แสนเข็ญ ภายหลังชาตาเปน ทุนทรัพยจะนับพัน ฯ เศษ 6 จะยกญาติ เปนเช้ือชาติประเสริฐสรรพ เงินตรายศถาพลัน ทุนทรัพยลําดับมี ฯ เศษ 7 นั้นผาขาด จะนุงหมก็เต็มที พักตรายอมราคี ระคายคับทั้งทรัพยสิน ฯ

เศษ 8 นั้นเปร่ืองยศ จะปรากฏกระเด่ืองดิน ทรัพยสฤงคารสถานถิ่น ทั้งอํานาจและวาสนา ฯ เศษ 9 กินขาวกลางตลาด เสมอชาติสุนักขา ถึงจะดีมีวาสนา ตองประกอบทําการงาน แมตระกูลทลิททก ถึงตํ่าตกก็บนาน ด่ังนักเลงสุราบาน พอขวนขวายใสทองตน ฯ เศษ 10 นกแขกเตา ทํารวงเลาริมฝงชล แสวงดียอมดียอมมีผล อยาคลุกเคลากับเหลาพาล ฯ เหมือนปกษีอันมีปก รูหลบหลีกธนูพราน ถาประมาทจะเสียการ จะชอกช้ําระกํากาย ฯ จงสําเร็จเสร็จสิบทัศ คร้ันแจงชัดคําทํานาย จะดีชั่วคนทั้งหลาย เปนบุพกรรมหนุนนํามา ฯ อยาเสียใจวาเปนเคราะห คราวเฉพาะดวงชาตา ตรีภพดังนี้นา มันแนนักประจักษเอย

  

Page 62: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

49

ตําราตรีภพนี้ มีการนํามาพิมพเผยแพรในตําราพรหมชาติ ฉบับหลวง เรียกวา “ตําราเศษของพระจอมเกลาฯ” ตําราพรหมชาติฉบับราษฎร เรียกวา “ ตําราตรีภพ” ”ตําราเศษพระจอมเกลาฯ” หรือ “ตําราจอมตรีภพ” (พ. สุวรณ, 2539: 59-65) ซึ่งในการพิมพเผยแพรนั้น มักจะตัดโคลงลักษณะเพศชาย และลักษณะเพศหญิงออกไป ซึ่งมีถึง 27 บท โดยเปนการทํานายลักษณะเพศหญิง 12 บท และทํานายลักษณะเพศชาย 15 บท อาจจะเปนเพราะมีเนื้อหาเกี่ยวกับคุณลักษณะทางเพศ การพิมพเผยแพรอาจไมเหมาะสม แตถามองในเร่ืองหลักวิชานั้น ถือวาทําใหองคความรูขาดหายไปอยางนาเสียดาย โหราศาสตรไทย มีการสั่งสมความรูและถายทอดกันมาอยางยาวนานปรากฏเปนหลักฐานตั้งแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบัน มีบทบาทตอวิถีชีวิตชาวไทยตั้งแตเกิดจนตาย มีทั้งบุคคลเปนผูนําความรูนี้มาใชและถายทอดใหกับผูอ่ืน มีทั้งบันทึกเอกสารความรู โหราศาสตรไทยจึงเปนทรัพยากรวัฒนธรรมที่จับตองไมได (Intangible cultural) ที่ควรแกการสืบทอดตอไป โหราศาสตรในปจจุบัน ปจจุบันนักโหราศาสตรมีการรวมกลุมกันต้ังเปนสมาคมนักโหราศาสตรโดยมี 3 สมาคม มีการจดทะเบียนกับหนวยงานของราชการ มีการรับสมัครสมาชิก มีกฏระเบียบ มีคณะกรรมการดําเนินงานใหบรรลุตามวัตถุประสงคของสมาคม จากจุดมุงหมายของสมาคมที่ตองการเผยแพรความรูทางโหราศาสตรใหกับผูสนใจ และมีผูสนใจสมัครเรียนเปนจํานวนมากในแตละรุน แตละวิชา อีกทั้งบางคนเมื่อเรียนจบแลว ไมไดมุงนําความรูไปพยากรณผูอ่ืน และก็ไมใชวาผูที่เรียน สอบไดวุฒิบัตรจากทางสมาคมทุกคน จะพยากรณได ทุกวิชาตองมีการศึกษาเพิ่มเติม ทั้งโดยการมาสมัครเรียนในสาขาที่เกี่ยวของเพิ่มเติม หรือ บางคนก็มาสมัครเรียนวิชาเดิมอีกคร้ัง หรือบางคนก็ไปสมัครเรียนกับสมาคมหนึ่งเพื่อเรียนวิชา เคล็ดลับกับโหราจารยทานอ่ืน ๆ เพิ่มเติม เชน เรียนโหราศาสตรไทยที่สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ แลวไปเรียนวิชาเดียวกันที่ สมาคมโหราศาสตรนานาชาติตอ เม่ือเรียนจบ ทุกคนจะไดใบวุฒิบัตร และสมาชิกสมาคม ซึ่งเมื่อเขาเปนสมาชิกตองปฏิบัติตามกฏระเบียบ ซึ่งแตละสมาคมจะดูแลสมาชิกของตนเอง แตถามีความประพฤติที่ผิดหลักจรรยาบรรณ ผิดกฏระเบียบของสมาคม นายกสมาคม จะลงโทษ ปลดออกจากการเปนสมาชิกสมาคม หรือเปนตัวแทนของสมาคมในการแจงดําเนินคดีกับหมอดูคนนั้น ๆ ซึ่งในความคิดเห็นของนายกสมาคม และอาจารยผูสอนโหราศาสตร บอกวา การควบคุมพฤติกรรมสมาชิก ทําไดยากมาก เพราะสมาชิกมีจํานวนมาก แตถารูก็ไปดําเนินการทันที แตตองมีคนแจงถึงจะรู บางทีผูเสียหายก็แจงความดําเนินคดีเอง ซึ่งมักมีใหเห็นตามส่ือหนังสือพิมพอยูเปนระยะ

  

Page 63: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

50

ปรากฏการณที่เกิดข้ึนในปจจุบันมีโหรหรือหมอดูที่เรียกรองเงิน ซึ่งจากการสัมภาษณอาจารยธนกร สินเกษม นายกสมาคมโหราศาสตรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ ใหขอมูลวา

วงการโหรเรียกวา “หมอดูยุทธจักร” หมอดูประเภทน้ี จะไปต้ังเตนทในสถานท่ีตาง ๆ เมื่อมีคนเดินผาน จะมีคนทําหนาท่ีเปนนายหนาไปชักชวน ไปจูงมือใหเขามาใชบริการพยากรณ แลวหลอกใหเสียคาพยากรณ เสียคาทําบุญสะเดาะเคราะห เชน ถาคุณเดินมา เขาจะเขามาทัก “ราศีคุณดูดีจังเลยครับ ผมอยากจะดูมือคุณหนอย พอดูไปดูมา ก็หลอกวา ผมเห็นละ เมียคุณตองตาย ลูกตองเจ็บหนัก ถาอยากรอดตองแกครับ (ธนกร สินเกษม, 2556)

การทักเร่ืองราย ทายเร่ืองดี ทําใหคนที่ถูกทายใหความสนใจกับเร่ืองรายมากกวาเร่ืองดี อันเปนธรรมดาของมนุษย การทายเร่ืองราย ๆ ทําใหคนเกิดความกลัว อยากหาทางออกเพื่อใหพนจากส่ิงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งก็จะมีการกระทําบางอยาง เชน บริจาคเงิน ทําบุญ ทําพิธีกรรมสะเดาะเคราะห ซึ่งหมอดูที่หลอกลวงจะบอกวา ทําดวยตนเองไมได ตองใหผูรู ผูมีวิชา เปนผูกระทําการให เปนการเรียกเงินทอง ทํามาหากินกับความไมรูของคน ซึ่งไมไดมีแตอาชีพหมอดูเทานั้น ในสังคมปจจุบันก็พบวามีการใชหลักความไมรูของคน การไมบอกรายละเอียดอยางตรงไปตรงมา หลอกลวงคนในสังคม พฤติกรรมการหลอกลวงโดยใชหลักวิชาทางโหราศาสตรไปพยากรณ ชะตาบุคคลนี้ เปนเรื่องที่ทุกสมาคมพยายามสอดสองดูแล แตเรื่องนี้ตองไดรับความรวมมือจากผูที่ถูกหลอกดวย การศึกษา ตําแหนงหนาที่การงานไมไดเปนส่ิงรับประกันความรูเทาทันเสมอไป

มีแพทยหญิงคนหน่ึงโดนหลอกเงินไป ๕ ลานบาท ถึงจะมาบอก อ.ธนกร พวกน้ีชอบอาง สมาคมโหรแหงประเทศไทยฯ เขาอาจถายสําเนาบัตรสมาชิกสมาคมโหรฯ โชวไว เพื่อไมใหตํารวจไปเลนงานเขา แตบัตรอาจจะขาดอายุแลวก็ได หรือไมใชบัตรจริง พวกหมอดูยุทธจักร จะมีปายแขวนคอเปนบัตรสมาคมโหรแหงประเทศไทยฯเลย แตปลอมท้ังน้ัน (ธนกร สินเกษม, 2556)

เมื่อถูกหลอกลวง ผูเสียหายจึงจะไปแจงความดําเนินคดี ซึ่งเปนคดีแพง ฐานหลอกลวง ตมตุน ซึ่งในปจจุบันกฏหมายควบคุมนักโหราศาสตรโดยตรงไมมี จึงทําใหการพยากรณเกิดข้ึนอยางแพรหลาย ซึ่งโหรเกงกาจ จงใจพระ กลาววา

  

Page 64: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

51

ประมาณพ.ศ. 2520 สมัยธานินทร กรัยวิเชียร เปนนายกรัฐมนตรี มีการออก ปร.42 หรือกฎหมายปฏิรูปรัฐธรรมนูญมาบังคับส่ือและโหรหามทํานายดวงเมือง ดวงรัฐบาลเผยแพรเปนเวลานานถึง 10 ป จนมายกเลิกในสมัย พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เปนนายกรัฐมนตรี และ ในสมัย พล.อ.สุนทร คงสมพงษ ทํารัฐประหาร โดยส่ังใหกรมประชาสัมพันธหามโหรพยากรณเผยแพรทางส่ือตาง ๆ จึงเขาไปขอรองใหปลดล็อกกฎหมายปดปาก เพื่อใหอิสระกับหมอดูจากพันธการน้ีดวย ดังน้ันเมื่อเปรียบเทียบกันระหวางความอิสระของโหรสมัยกอนกับโหรสมัยน้ี แตกตางกันราวฟากับเหวใครอยากดังก็ทายเร่ืองแรง ๆ ออกไป ไมเกิดก็ชางมัน โหรยุคน้ีใครนึกอยากจะทํานายดวงเมืองก็ทํากันงาย ๆ ไมมีกฎหมายควบคุม อยางสายฮอตไลนดูดวงทางโทรศัพท 1900 ก็ดูกันไปเร่ือย แมแตคนทรงท่ัวไปก็ยังทํานายดวงเมืองได ซึ่งเปนเร่ืองท่ีทําใหสังคมไทยและสังคมโหรในสายตาคนท่ัวไปเลวรายมาก ๆ จนวันน้ีผมมานึกเสียใจท่ีไปขอรองใหยกเลิกกฎหมายโหร (ไทยรัฐออนไลน, 2555)

การออกมาส่ือสารวิชาโหราศาสตรดวยการพยากรณดวงชะตาบุคคล ดวงชะตาบานเมือง ผานส่ือตาง ๆ ดังกลาวนี้ทําใหวิชาโหราศาสตร และโหร หมอดู เปนที่รูจักของคนในสังคมมากข้ึน กลายเปนเร่ืองที่ยอมรับกันมากข้ึน แตก็ยังอยูในกรอบที่วา “เปนความเชือ่สวนบุคคล โปรดใชวิจารณญาณ” แตถึงกระนั้น คนที่เช่ือในเร่ืองโหราศาสตรก็มีจํานวนมากพอที่ทําใหการพยากรณดวยวิชาโหราศาสตร กลายเปนอาชีพสรางรายไดใหกับโหรหรือหมอดูได นายภิญโญ พงศเจริญ นายกสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ ทําภาคนิพนธ ศึกษาเร่ืองบทบาทโหรในสังคมไทย มีการสํารวจรายไดของโหรที่มีชื่อเสียง ในป 2542 พบวา โหรมีรายไดเฉล่ีย 40,000 – 50,000 บาทตอเดือน สวนโหรที่มีชื่อเสียงมาก ๆ อยูในระดับโหราจารย เชน อาจารยเกงกาจ จงใจพระ มีรายไดรวม 10 ลานบาทตอป อาจารยภานุวัฒน พันธุวิชาติกุล มีรายไดรวม 100,000 บาทตอเดือน อาจารยพัฒนา พัฒนศิริ มีรายไดรวม 75,000 บาทตอเดือน อาจารยอรรถวิโรจน ศรีตุลา มีรายไดรวม 40,000 – 50,000 บาทตอเดือน อาจารยขนิษฐา โรจนศตพงศ มีรายไดรวม 40,000 – 50,000 บาทตอเดือน อาจารยบัญชา เลิศธนู มีรายไดรวม 40,000 ตอเดือน นับวาเปนรายไดที่สูงมาก ซึ่งโหราจารยเหลานี้มักมีคาบริการในการพยากรณไมตํ่ากวา 1,000 บาทตอคร้ัง แตก็มีรายไดอ่ืน ๆ ดวย เชนการเปนที่ปรึกษาสวนตัว การเขียนคอลัมน การออกรายการโทรทัศน การเขียนหนังสือ ฯลฯ ในขณะท่ีโหรหรือหมอดูทั่วไป ที่รับพยากรณที่สมาคมโหร หรือ สํานักงานโหร หรือชมรมโหราศาสตร จะมีคาบริการประมาณ 200 – 500 บาท แตก็มีหมอดูบางคนที่ต้ังโตะพยากรณเพียงลําพัง จะต้ังราคาการพยากรณที่ถูกกวา เชน 19 บาท 59 บาท 99 บาท ซึ่งยังพอมีตามสถานที่

  

Page 65: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

52

ตางๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร เชน หนาศาลฏีกา ทาชาง ทาเตียน หรือตามวัดตาง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร จากการสังเกตของผูวิจัย การใหบริการพยากรณของนักโหราศาสตร ณ สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ คิดคาบริการพยากรณคร้ังละ 200 บาท ในระยะเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ใน 1 วันจะมีผูมารับบริการพยากรณประมาณ 5 ราย นักโหราศาสตรจะมีรายไดเฉล่ียตอเดือน ประมาณ 30,000 บาท (5 ราย x 30 วัน x 200 บาท) แตในสวนของสมาคมโหราศาสาตรนานาชาติ และสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย จะมีการคิดคาบริการพยากรณคร้ังละ 300 บาท ซึ่งทําใหนักโหราศาสตรมีรายไดเฉล่ียตอเดือนประมาณ 45,000 บาท เพราะแมวาบางวันอาจจะมีผูมารับบริการไมถึง 5 ราย หรือไมไดมาพยากรณที่สมาคมฯ ทุกวัน แตนักโหราศาสตร ก็ยังรับใหบริการพยากรณนอกสถานท่ี กับผูที่ติดตอมาเปนการสวนตัว หรือ เปดรานใหบริการพยากรณ นอกเหนือจากการมาใหบริการพยากรณ ณ สมาคมฯ โหราศาสตรถือไดวาเปนวิชาชีพ โหร หรือ หมอดู ก็เปนอาชีพอิสระ เมื่อมีการเรียกรับคาตอบแทนในการพยากรณ โหรหรือหมอดูจึงมีรายได เมื่อมีรายไดก็ตองมีการเสียภาษีตามที่กฏหมายกําหนด ในการกําหนดการพยากรณดวงชะตาใหเปนอาชีพ เพื่อจัดเก็บภาษีนั้น เคยมีปรากฏเม่ือ 30 กวาปกอน ซึ่ง โหรบัวทอง เรือนโชติ ไดเขียนไวในบทความวา

ใน ป พ.ศ. 2521 สมัยรัฐบาลนายธานินทร กรัยวิเชียร เปนนายกรัฐมนตรี ไดออกเปนกฏหมายใหบรรดาโหรท้ังหลายใหญนอย ไปจดทะเบียนการคาตอกรมสรรพากร และสรรพากรจังหวัดท่ัวราชอาณาจักร โหรจึงฟนคืนชีพ “เปนอาชีพโหร” อีกคร้ัง แตมิใชอาชีพท่ีมีหนาตาหรือมีเกียรติเหมือนสมัยกอน เปนอาชีพทางการคา เหมือนอยางพอคาวาณิชยท่ัวไปน้ันเอง ในป 2521 สรรพากรจังหวัดเชียงใหม ไปหาผมท่ีบานแจงวาใหผมไปจดทะบียนการคา ผมเองงง จนใหคําตอบไมได แตแลวสรรพากรจังหวัดก็เปดแฟม อางคําส่ังทางกฏหมายออกมาใหผมดู ไหน ๆ เราก็เปนโหรมานานพอสมควร ขอมีอาชีพเปนโหรทีเถอะ ผมจึงไปจดทะเบียนการคาชื่อสถานการคา “รับตรวจโชคชะตาราศี” ซึ่งฝายสรรพากรใหไว (บัวทอง เรือนโชติ, 2525: 497-498)

ในปจจุบัน ไมมีกฏหมายระบุใหโหรเปนอาชีพแลว แตก็มีกฏหมายเกี่ยวกับภาษีที่ใกลเคียงกับการประกอบอาชีพนักพยากรณ คือประมวลกฏหมายรัษฎากรมาตรา 40 (2) และ (6) คือ

  

Page 66: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

53

มาตรา 40 (2) เงินไดเนื่องจากหนาที่หรือตําแหนงงานที่ทํา หรือจากการรับทํางานให ไมวาจะเปนคาธรรมเนียม คานายหนา คาสวนลด เงินอุดหนุนในงานที่ทํา เบ้ียประชุม บําเหน็จ โบนัส เงินคาเชาบาน เงินที่คํานวณไดจากมูลคาของการไดอยูบานที่ผูจายเงินไดใหอยูโดยไมเสียคาเชา เงินที่ผูจายเงินไดจายชําระหนี้ใด ๆ ซึ่งผูมีเงินไดมีหนาที่ตองชําระ และเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนใด ๆ บรรดาท่ีไดเนื่องจากหนาที่หรือตําแหนงงานที่ทํา หรือจากการรับทํางานใหนั้นไมวาหนาที่ หรือตําแหนงงาน หรืองานที่รับทําใหนั้นจะเปนการประจําหรือช่ัวคราว มาตรา 40 (6) ที่ระบุวา เงินไดจากวิชาชีพอิสระ คือ วิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลปะ วิศวกรรม สถาปตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพอิสระอ่ืน ซึ่งจะไดมีพระราชกฤษฎีกากําหนดชนิดไว ซึ่งยังไมมีการกลาวถึงอาชีพโหร หมอดู หรือนักพยากรณเลย ถาจะตีความใหเขากับลักษณะงานการใหบริการพยากรณของโหร หรือ หมอดู ในมาตรา 40 (2) ระบุวา เงนิไดจากการรบัทํางานให ซึ่งการพยากรณดวงชะตาแลวไดรับคาตอบแทน ก็เปนการรับทํางานให แตในมาตรา 40 (6) โหร หรือ หมอดู ก็ยังไมอยูในคําอธิบายวาอาชีพอิสระ ที่ตองเสียภาษี ดังนั้น โหร หรือ หมอดู จึงมีการเสียภาษีเงินไดตามอาชีพอ่ืน ๆ ของโหรหรือหมอดู เชน นายภิญโญ พงศเจริญ นายกสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ มีอาชีพทนายความ และโหรหรือหมอดูจะเสียภาษีเงินไดสวนบุคคลก็เมื่อมีการไปรับทํางานกับบริษัทตาง ๆ ที่มีการหักภาษี ณ ที่จาย แตโดยมากเปนการยื่นเพื่อหักลดหยอนภาษีมากกวา เพราะคาตอบแทนการพยากรณนั้น กรมสรรพากรยังไมเคยประเมินรายได และไมมีใครทราบไดวา โหรหรือหมอดูมีรายไดจากการพยากรณเทาไหรกันแน เพราะในการพยากรณไมมีใบเสร็จ ใบกํากับภาษี หรือการเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม (VAT 7 %) จากผูมารับบริการพยากรณ แตถาหมอดู ตองการขอคาลดหยอนภาษีก็สามารถทําได คือ ต้ังธุรกิจรับพยากรณดวงชะตา ในรูปคณะบุคคล หรือบริษัท มีสํานักงาน มีพนักงาน และอุปกรณตาง ๆ เชน คอมพิวเตอร โทรศัพท โตะเกาอ้ี ฯลฯ ก็จะเขาลักษณะ เปนเงินไดตามมาตรา 40(8) แหงประมวลรัษฎากร ที่ระบุวา เงินไดจากการธุรกิจ การพาณิชย การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนสง หรือการอ่ืนนอกจากที่ระบุไวใน (1) ถึง (7) ทําใหสามารถ หักคาใชจายได ตามที่เกิดข้ึนจริง เชน เงินเดือน คาเชา คาไฟฟา ประปา คาโทรศัพท คาเส่ือมราคารถยนต คาพาหนะ เปนตน ความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนกับวงการโหราศาสตร การพยากรณเร่ืองราวในอนาคต ที่มีโหร และหมอดู เปนผูทําหนาที่ใชวิชาความรูที่ไดรํ่าเรียนสืบทอดมาจากโหราจารย จากพระสงฆผูมีวิชาความรู มาพยากรณคล่ีคลายความทุกขใหกับคนทั่วไป ทํานายอะไรก็เปนเร่ืองจริง ไมมีการโกหกมดเท็จ เพราะถือวาเปนบาป ในอดีตนั้นการที่จะดูหมอถึงกับตองมีการยกขันครู โดยตองมี  

Page 67: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

54

ดอกไมธูปเทียนและเงินตามกําลังทรัพย (ศิริญญา สุจินตวงษ, 2554:37) จากอดีตที่การดูหมออยูในวงแคบ มาปจจุบันคนรูจักโหราศาสตรมากขึ้น ทําใหคนสนใจดูหมอมากข้ึน เปนโอกาสใหคนที่ไมมีความรูจริง คนที่มีเจตนาจะหลอกลวงผูอ่ืนดวยวิชาการพยากรณอนาคตมีมากข้ึน หากินไดงายข้ึน การควบคุมดูแลโดยองคกรสมาคม หรือกฏหมาย สามารถควบคุมไดระดับหนึ่ง การจะนําไปสูบทลงโทษนั้นตองมีปจจัยอ่ืนมาประกอบดวย เชน ตองมีผูเสียหายรองเรียน หรือแจงความดําเนินคดี และกรรมการสมาคม หรือ เจาหนาที่ตํารวจ ก็ตองดําเนินการในทันที แตส่ิงหนึ่งที่ทุกสมาคมตระหนักและพยายามทําใหเกิดข้ึนคือการปลูกฝงคุณธรรม จรรยาบรรณใหกับผูที่มาเรียนวิชาโหราศาสตร ซึ่งก็ข้ึนอยูกับกลวิธีการสอนของโหราจารย และฐานทุนทางคุณธรรมที่ผูเรียนมีมาแตเดิมดวย ซึ่งเปนเร่ืองสําคัญอยางยิ่ง ตอนท่ี 2 นักโหราศาสตรในสังคมไทย ประเภทนักโหราศาสตร นักโหราศาสตร คือผูทําหนาที่พยากรณโชคชะตาหรือเร่ืองราวตาง ๆ ที่เกิดข้ึนในสังคมไทย ซึ่งเปนผูใชหลักวิชาในการพยากรณ ไมไดใชพลังนอกเหนือกฏเกณฑธรรมชาติมาเปนสวนสําคัญในการพยากรณ ซึ่งเปนวิชาที่มีการถายทอดกันมารุนตอรุน ในยุคปจจุบัน อาจแยกนักโหราศาสตร ไดเปน 2 กลุม ดังนี้ 1. การพยากรณโดยใชหลักการโคจรของดวงดาว จักรราศี ที่สงผลตอการดําเนินชีวิตของบุคคล หรือสรรพส่ิงบนโลก นักโหราศาสตรในกลุมนี้ จะรูถึงอํานาจของดวงดาวที่มีอิทธิพลตอโลกเปนผูรูกาลเวลาที่จะเกิดเหตุรายแกสรรพส่ิงทั้งหลาย รวมทั้งที่จะเกิดภัยธรรมชาติ อันมาจากอิทธิพลของดวงดาวและส่ิงที่มนุษยเปนผูกระทํา นั่นคือสามารถพยากรณไดทั้งชะตาชีวิตบุคคล ชะตาบานเมือง และใหฤกษยามกระทําการตาง ๆ อันเปนมงคลหนุนเสริมใหสําเร็จ จะตองเรียนรูการโคจรของดาวบนทองฟา หรือที่เรียกกันวาดาราศาสตร สามารถคํานวณดาวตาง ๆ ที่โคจรในแตละราศี กี่องศา กี่ลิปดา รูเร่ืองอธิกมาส-อธิกวาร ในรอบ 1 ป ตองเรียนรูดาวฤกษ 27 กลุม ตองเรียนรูฤกษยาม หาวัน-ยาม-ฤกษ-ราศี-ดิถี-ตามกาลโยคประจําป ใหรูวันดี ธงชัย อธิบดี อุบาทว โลกาวินาศ สามารถใหฤกษแตงงาน ฤกษปฏิสนธิใหไดบุตรเปนหญิงหรือชาย วิชาที่ใชพยากรณ ตองมีขอมูลวันเดือนปและเวลาเกิดเปนสําคัญ เชน โหราศาสตรไทย โหราศาสตรยูเรเน่ียน และมีการแตกแขนงตอยอดวิชาไปอีก เชน คัมภีรมหาสัตตเลข ยามอัฐกาล ฯลฯ นักโหราศาสตรในกลุมนี้จะเรียกวา โหร

  

Page 68: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

55

2. การพยากรณโดยใชการสุมเลือกสัญลักษณ เปนส่ือในการทํานาย นักโหราศาสตรกลุมนี้ไมไดใชหลักการโคจรของดวงดาวในการพยากรณ แตใชหลักวาทุกอยางในโลกธาตุมีความเกี่ยวพันกัน ถาเห็นส่ิงหนึ่งก็จะรูถึงอีกส่ิงหนึ่ง เปนการดูจากสัญลักษณ หรือลักษณะ เชน การพยากรณโดย การดูลายมือ โหงวเฮง ไพปอก ใบไม จับต้ิว เซียมซี ลายเซ็น เลขรถ บาน บัตรประชาชน ฯลฯ สวนใหญจะเปนการพยากรณชะตาชีวิตบุคคล นักโหราศาสตรในกลุมนี้จะเรียกวา หมอดู ฉะนั้น จึงพอจะแบงไดวานักโหราศาสตร มี 2 ประเภท ที่เรียกกันวา "โหร" กับ "หมอดู" โหรตองศึกษาวิชาโหราศาสตร ซึ่งเปนเร่ืองการโคจรของดวงดาว ตองรอบรูรายสาขาวิชา ตองใชเวลาศึกษานาน เพราะพยากรณไดหลากหลายทั้งชะตาบุคคล ชะตาบานเมือง สวนหมอดู จะศึกษาวิชาการทํานายเฉพาะชะตาบุคคลเปนหลัก แตอยางไรจะเปนโหรหรือหมอดู หนาที่สําคัญตอคนในสังคมปจจุบันคือการทําหนาที่เหมือนจิตแพทย ทําใหคนที่มาดูหมอ รูสึกผอนคลาย ลดความทุกขใจลง ชวยใหมีกําลังใจ และมีความหวังในชีวิตมากข้ึน และการดูหมอยังมีประโยชนชวยแกปญหาไดหรือในบางรายก็ไปคุยกับหมอดูเมื ่อมีเวลาวางเพื ่อใหเกิดความสบายใจ (อุดม เพชรสังหาร และคณะ, 2541: 70) รูปแบบการใหบริการพยากรณ จากการสัมภาษณโหราจารย นายกสมาคมโหราศาสตรและผูรับบริการพยากรณ พบวาการใหบริการพยากรณของนักโหราศาสตรไดรับความนิยมจากคนในสังคม สะทอนไดจากการพยากรณดวงชะตาในปจจุบันมีหลากหลายรูปแบบมาก ไมจํากัดอยูแตเฉพาะการเดินทางไปพบโหรหรือหมอดูเพื่อทํานายดวงชะตา ณ สมาคมโหราศาสตร สํานักงานโหร ชมรมโหราศาสตรเทานั้น มีการทําเปนบริษัทธุรกิจ เชน รานพยากรณโฮราเวิรล ที่มีการรวมนักโหราศาสตร นักพยากรณมาใหบริการรับพยากรณดวงชะตา ขณะเดียวกัน เมื่อคนในสังคมบริโภคสื่อมากข้ึน นักโหราศาสตรก็มีการปรับรูปแบบการพยากรณใหผานส่ือที่เขาถึงผูรับบริการพยากรณมากข้ึน

ส่ือส่ิงพิมพ ในหนังสือพิมพรายวัน นิตยสาร จะมีคอลัมนดูดวง พยากรณโชคชะตาตามราศี หรือตามวันเกิด หนังสือพอกเก็ตบุค นิยมพิมพมาจําหนายในชวงปลายป ท่ีมีการพยากรณดวงชะตารายปท้ังแยกเปนรายเดือน รายลัคนาราศี การบอกฤกษยามท่ีดีในแตละเดือน การนุงหมผาในแตละวัน การต้ังชื่อ การทําบุญสะเดาะเคราะหเสริมบารมี ฯลฯ ซึ่งมีนักโหราศาสตรท่ีจัดทําหนังสือพยากรณดวงชะตา หรือเขียนหนังสือ บทความการพยากรณ เชนนิตยสารผูจัดการสุดสัปดาห นิตยสารโหราเวสก (ธนกร สินเกษม, 2557)

  

Page 69: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

56

ส่ืออิเลคทรอนิกสหรือส่ือออนไลน เชน เว็บไซค แอพลิเคชั่นโทรศัพทมือถือ หนังสือพิมพออนไลน การพยากรณทางระบบขอความ(SMS) ระบบออดิโอเทกซ (โทรศัพทหมายเลข 1900) ซีดีบันทึกคําพยากรณ ส่ือประเภทนี้คนรุนใหมในสังคมเขาถึงไดงายและมีนักโหราศาสตรใชส่ือประภทนี้ในการสื่อสารกับคนในสังคม โดยพบเห็นไดตามส่ือออนไลนทั่วไป ส่ือวิทยุโทรทัศน เชน รายการทีวีทั้งชองฟรีทีวี หรือ ชองทีวีดาวเทียม ที่ใหผูชมสามารถโทรศัพทไปทํานายดวงชะตาในรายการได หรือการเชิญหมอดูมาออกรายการ ใหการพยากรณเร่ืองที่เปนประเด็นสนใจของคนในสังคม โหราศาสตรไดถูกนําไปใชในการทํานายเร่ืองอ่ืน ๆ ดวย เชน โหรกับการเมือง มีการพยากรณการบริหารงานของรัฐบาล มีการพยากรณการเลือกต้ังทั้งระดับชาติ และระดับทองถิ่นอยางการเลือกต้ังผูวาราชการกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังมี โหรกับเศรษฐกิจ ทายเร่ืองภาวะเศรษฐกิจ โหรกับการแขงขันกีฬา เชนการทายผลฟุตบอลโลก โหรกับวงการบันเทิง ซึ่งมักจะทายเร่ืองการครองคูของดารานักแสดง และที่มักสรางกระแสใหคนในสังคมสนใจมากคือการทํานายเรื่องภัยพิบัตินับต้ังแตการทํานายวาโลกจะแตกในป คริสตศักราช 2000 (ป 2543) เหตุการณสึนามิ ในป 2546

ภาพที่ 1 เว็บไซตใหบริการพยากรณดวงชะตา และการพยากรณทางโทรศัพท ที่มา: โฮโรเวิลด, เว็บไซตใหบริการพยากรณดวงชะตา, เขาถึงเมื่อ 24 มกราคม 2557, เขาถึงไดจาก http://service.horoworld.com/live1900

  

Page 70: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

57

ภาพที่ 2 คอลัมนประจําหนังสือพิมพรายวัน ใหบริการพยากรณดวงชะตา ที่มา: อาจารยนพ, “ดวงดาวของทาน,” ไทยรัฐ (20 พฤษภาคม 2557): 11.

ภาพที่ 3 คอลัมนประจํานิตยสารรายสัปดาห ใหบริการพยากรณดวงชะตา ที่มา: อุตตราษาฒ, “คูสมกับราศี,” คูสรางคูสม 34, 817 (4 ตุลาคม 2557): 97.

  

Page 71: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

58

จรรยาบรรณของนักโหราศาสตร การควบคุมนักโหราศาสตร โหราจารยในอดีตมีการคิดเร่ืองจริยธรรมของนักโหราศาสตร แลวถายทอดกันมา ซึ่งในปจจุบันควรเรียกวา จรรยาบรรณของนักโหราศาสตร เพราะมีการประกอบเปนวิชาชีพ การกําหนดไวเปนมาตรฐานจะทําใหเกิดการพัฒนาวิชาชีพ และทําใหเกิดความนาเช่ือถือในวิชาชีพ ซึ่งวิชาชีพนี้มีความพิเศษกวาวิชาชีพอ่ืน เพราะมีหลักความเช่ือ หลักศาสนา หลักวิชาการพยาการณอนาคต ซึ่งเปนเร่ืองที่ไมสามารถมองเห็น จับตองไดโดยทันที การสรางความนาเชื่อถือในเร่ืองนี้ตองเห็นดวยตา คนถึงจะเกิดความศรัทธาเหมือนเม่ือคร้ัง พระจาประสาททองเกิดความเชื่อถือในพระโหราธิบดีคร้ังเมื่อทายหนูที่ตกลงมาจากหลังคา จนคนขนานนามวา “โหราทายหนู” ในแบบแผนการทํานายของโหรหรือหมอดูจึงตองมีการทายอดีตกอน เพื่อทดสอบความแมนยําตามขอมูลวันเดือนปเกิด และเวลาเกิดที่ผูมารับการพยากรณใหกับหมอดู ซึ่งในเร่ืองจรรยาบรรณโหรนั้น ตามโหราจารยที่ไดสั่งสอนสืบตอกันมา วา “ทายสมพงษเมียผัวเร่ืองชั่วดี หรือทายสามีภรรยาใหราคี ทายชีวีวิษัติตัดชันษา ทายคุณโทษทารกทาริกา เรียนโหราครูหามการทํานาย” จรรยาบรรณ ทั้ง 3 ขอนี้ คือ เร่ืองเนื้อคูสามี ภรรยา เร่ืองวันส้ินอายุขัย เร่ืองความกตัญูของลูก ยังไดรับการส่ังสอนตอ ๆ กันมา ในสวนของสมาคมโหราศาสตร และมูลนิธิโหรฯที่ศึกษา ยังยึดจรรยาบรรณทั้ง 3 ขอนี้เปนหลักอยู แตไมถึงกับเปนขอหามในการพยากรณใน 3 เร่ืองนี้อยางเด็ดขาดเพียงแตวาทายแลวจะ พูดส่ือสารอยางไรไมใหเกิดผลกระทบในทางรายกับตัวเขา เชน เห็นวาสามีเขามีแนวโนมจะนอกใจ ก็อาจบอกภรรยาที่มาพยากรณวา ชวงนี้ใหดูแลสามีดี ๆ ใหคุยกันบอย ๆ ใจเย็น ๆ อยาดุดาถาไมรูสาเหตุที่แทจริง (ศิวนาถ ฤชุพันธ, 2556) ซึ่งเหตุที่หามการทํานายใน 3 เร่ืองนี้ เพราะวิชาโหราศาสตรไมไดตางกับศาสตรอ่ืน ๆ เชน วิศวกรรมศาสตร เศรษฐศาสตร แพทยศาสตร ดาราศาสตร ฯลฯ ความรอบรูยังไมสมบูรณ ยังมีที่ไมรูอีกมากมาย ยังจะตองศึกษาคนควากันไปอีกไมรูจบ แตเราก็สามารถใชประโยชนจากศาสตรเหลานี้ไดในขอบเขตที่เหมาะสม และเพราะเหตุที่ความรูยังไมสมบูรณ ดังนั้นไมวาในกรณีใดคําทํานายทางโหราศาสตรก็ยังคงเปนคําทํานายอยูนั่นเอง ไมอาจรับรองไดวาจะถูกตอง 100% ยิ่งในกรณีของโหราศาสตร ซึ่งเปนเพียงเคร่ืองชี้กรรมเกาเทานั้น ในขณะที่ความเปนไปในชีวิตข้ึนอยูกับการกระทําในชาตินี้ดวย ซึ่งข้ึนอยูกับตัวเจาชะตาเองที่จะเปนผูลิขิตชีวิตของตัวเอง ยิ่งตองพึงระวังใหมากกับการนําผลคําทํานายไปใช กลาวคือ

  

Page 72: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

59

ทายสมพงษเมียผัวเร่ืองช่ัวดี หรือการทายสามีภรรยาใหราคี คือการพยากรณ คนที่แตงงานเปนสามีภรรยา อยูกินแลว วาเปนเนื้อคูกันหรือไม ครองคูกันแลว ชีวิตราบร่ืน ดีรายอยางไร ซึ่งเปนเร่ืองที่ไมควรทํานาย เพราะถาเปนเร่ืองราย จะทําใหคูสามีภรรยาระแวง หึงหวง เปนเหตุใหทะเลาะกันได หรือถาทายแตเร่ืองดี อาจทําใหตองใชชีวิตรวมกันอยางอดทนแตไมมีความสุข และการครองคูกันนั้น มีญาติพี่นองของท้ัง 2 ฝายมาเกี่ยวของ มาเก่ียวของ หรือมีเพื่อนฝูง ผูใหญที่เคารพนับถือ การทายเรื่องนี้ นักโหราศาสตรอาจใชวิธีการเล่ียงคําพูด ไมตัดสินชี้ชัด ชวยหาทางออกใหกับทั้งสามี ภรรยา ทายชีวีวิษัติตัดชันษา คือ หามทายวาบุคคลใดจะเสียชีวิต เพราะจะทําใหเกิดความวิตกจริต ไมสบายใจ กลัววาจะตาย จนไมเปนอันทําอะไรที่เปนประโยชนตอชีวิต หรือ อาจทําเร่ืองราย ๆ ตอสังคมเพราะคิดวาอยางไรเสียตนเองก็ตาย ซึ่งไมเปนผลดีตอใครในการทํานายเร่ืองนี้ ทายคุณโทษทารกทาริกา คือการทํานายวาลูกคนนี้ หรือคนไหน จะไดเปนที่พึ่งแกพอแม ซึ่งอาจสงผลใหเด็กไดรับการเล้ียงดูแบบลําเอียง จะเปนสรางปญหาใหกับเด็ก กับพอแมในระยะยาว พอแมอาจบังคับเด็กใหทําในทิศทางที่นักโหราศาสตรทํานาย โดยที่ไมไดใหความสําคัญกับความชอบ ความถนัดของเด็ก อาจเปนการสรางปญหาใหกับพอแมและตัวเด็ก มากกวาการชี้แนะแนวทาง แมวาในทางหลักวิชาจะบอกแนวทางการประกอบอาชีพที่เหมาะสมไดจริง แตควรใหเด็กเติบโตพอที่จะคิดและตัดสินใจไดดวยตัวเองคอยทํานายจะเปนประโยชนกับพอแม และเด็กมากกวา นอกจากจรรยาบรรณโหร 3 ขอหลักดังกลาวขางตนแลว แตละสมาคมไดกําหนด มารยาทโหร เพื่อเปนแนวทางในการพยากรณ และถายทอดใหกับลูกศิษยที่เขารับการอบรม ซึ่งในทัศนะของผูวิจัยแลว ควรเรียกจรรยาบรรณโหร เพราะเปนแนวปฏิบัติในการเปนโหร หรือหมอดู มีลักษณะเปนการควบคุมใหปฏิบัติตามเพื่อการพัฒนาวิชาชีพและหลักวิชาโหราศาสตร มีความสอดคลองและแตกตางกันบาง คือ 1. สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ ไดกําหนดแนวทาง เรียกวาจรรยาบรรณโหร ดังนี้ (คณพศ ครองผล, 2556: ปกหลังใน) 1. โหรทุกคนพึงตองรักษาความลับของผูมาดู เสมอดวยความลับของตนเอง 2. แขกผูมาดูนั้น ใหถือเปนผูมีเกียรติ พึงตอนรับดวยไมตรีจิต อยาใชคําหยาบคาย ไมนาฟงกับผูมาดู 3. พึงประพฤติตนใหสมเปนนที่นับถือของประชาชน มีความประพฤติเรียบรอย และตองมีมารยาทอันดีงาม

  

Page 73: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

60

4. ในการทํานายดวงชะตา จะตองพิจารณาอยางละเอียดรอบคอบ อยาสะเพรา และตองรักษาความเที่ยงธรรมในการดู โดยไมมีอคติลําเอียงใด ๆ 5. เมื่อดูรายก็พึงชี้ชองทางที่จะแกไขไวดวยเสมอ หามเรียกคาสะเดาะเคราะหใด ๆ โดยเด็ดขาด 2. สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย ไดกําหนดคุณสมบัติของผูที่จะเปนโหร และขอควรประพฤติในการเปนโหรที่ดี รวมถึงขอหามในการพยากรณ (จรรยาบรรณโหร) ดังนี้ (คุณสมบัติของผูที่จะเปนโหร, 2557) คุณสมบัติภายนอก 1. รางกาย มีสุขภาพดี 2. ทางวาจา ดี 3. การแตงกาย 4. ทางสํานักงาน และส่ิงแวดลอม คุณสมบัติภายใน 1. มีพรสวรรค 2. มีการศึกษาคนควา 3. มีสติปญญาความรู 4. มีศีลธรรมจรรยา เวนจากอกุศลธรรม 4 สําหรับผูที่จะเรียนวิชาโหราศาสตร ตามหลักวิชาของสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทยนั้น โหราจารยของสมาคม ไดถายทอดตอกันมาวา จะตองฆานางทั้ง 4 ใหตายเสียกอน คือตองทําจิตใจใหสะอาด ปราศจากอคติ 4 ประการ คือ 1. ฉันทาคติ คือ ตองไมลําเอียง เพราะความรัก 2. โทสาคติ คือ ตองไมลําเอียง เพราะความโกรธ 3. โมหาคติ คือ ตองไมลําเอียง เพราะความหลง 4. ภยาคติ คือ ตองไมลําเอียง เพราะความกลัว ในการพยากรณ ก็ไดบอกกลาววิธีการ และจรรยาบรรณ ไวคือ เมื่อผูกดวงชะตาเสร็จ ใหพยากรณสอบทานเหตุการณในอดีต และปจจุบันสัก 3-4 ขอ ถาถูกตองจึงพยากรณตอไป แตถาหากพยากรณไมถูกตอง อยาพยายามเล่ือนลัคนาของผูมารับพยากรณเปนอันขาด ใหต้ังขอสังเกตกอนวา ในวันนั้นความคิดอาจสับสนทําใหไมมีสมาธิ หรือขอมูลเวลาเกิดที่ผูรับบริการพยากรณใหมานั้น ผิด หรือผูมารับบริการพยากรณแกลงบอกใหผิดเพื่อลองวิชาความรู และมีขอหามในการพยากรณ ดังนี้

  

Page 74: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

61

1. อยาพยากรณดวงชาตาสามีที่มีขอเสียหายตอหนาภรรยาและบุตรธิวดา 2. อยาพยากรณดวงชาตาภรรยาที่มีขอเสียหายตอหนาสามีและบุตรธิดา 3. อยาพยากรณดวงชาตาบุตรธิดาตอหนาบิดามารดา 4. อยาถือเสียงเฮฮาที่ตนพยากรณถูก เปนเคร่ืองมือโฆษณาหาเสียง 5. อยาพยากรณดวงชาตาหนุมสาวที่กําลังรักกันอยูวาไมไดแตงงานกัน 6. ตองรักษาความลับของผูที่มาใหพยากรณ อยานําไปเปดเผยหรือนําไปโฆษณาหาเสียงใหแกตนเอง 7. อยาพยากรณใหแกผูที่ไมรูเวลาแนนอนเปนอันขาด 3. สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ ไดกําหนดแนวทางการพยากรณไวเปนมารยาทโหรหรือควรจะเรียกวา จรรยาบรรณโหร ใหสมาชิกทุกคนปฏิบัติ ดังนี้ (สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ, 2542: 15-16) ผูเปนโหรหนือนักโหราศาสตรนั้น ควรมีมารยาทในการพยากรณเชนเดียวกับผูเปนแพทยที่ตองมีจรรยาบรรณเพราะแพทยเปนผูรักษาคนไข ความลับของคนไขแตละคนแพทยไมควรนําไปเปดเผยอยางไร ความลับของผูมาใหโหรพยากรณก็ไมควรนําไปเปดเผยอยางนั้น ความลับในที่นี้หมายถึงเร่ืองราวสวนตัวของเจาของดวงชะตาพรอมทั้งระบุชื่อเสียง ทั้งนี้ไมนับถึงการวิจารณดวงชะตาโดยทั่วไปที่ไมเจาะจงตัวบุคคลมารยาทโหรที่สําคัญที่ผูเปนโหรควรสังวรไว มีดังนี้ 1. ตองพยากรณโดยปราศจากโลภะ โทสะ โมหะ คือไมใหพยากรณไปโดยความโลภในลาภสักการ หรือพยากรณไปดวยความโกรธ หรือดวยความหลง เขาใจผิด อะไรที่ไมแนใจโหรไมควรพยากรณ 2. ตองพยากรณโดยปราศจากอคติ คือตองไมมีความลําเอียงในการพยากรณ เพราะรักเพราะชอบเจาของชะตาจึงพยากรณใหแกส่ิงที่ดี ส่ิงที่ไมดีจะไมยอมบอกไมได โหรควรเตือนใหทราบถึงสัญญาณอันตรายที่จะมาสูชะตา เร่ืองที่เจาชะตาจะเช่ือหรือไมเปนอีกเร่ืองหนึ่ง 3. ตองพยากรณโดยปราศจากความกลัว คือไมตองเกรงกลัวบารมีใครในการพยากรณ หรือ เกรงใจไมกลาบอกความจริง ถาเห็นวามีส่ิงรายแรงในดวงชะตาคอย ๆ หาคําพูดที่อธิบายแบบออม โดยไมตองพูดตรง ๆ จนเกินไป 4. ควรพยากรณโดยเฉพาะตัวตอตัว การพยากรณตอหนาบุคคลหลายคนทําใหโหรไมกลาระบุใหชัดเจน เชน เจาชะตาพาเพื่อนมาดวยแลวนั่งฟงการพยากรณ สมมติวาในดวงชะตาของเจาของชะตานั้นปรากฏวามีเพื่อนไมดี โหรก็ไมกลาพูดออกมาเพราะมีเพื่อนมาดวย

  

Page 75: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

62

5. ไมควรพยากรณสําหรับผูที่ไมทราบเวลาเกิดแนนอน จะเปนการทําใหการพยากรณผิดหมด 6. ไมควรหาโอกาสเอาผลประโยชนจากเจาชะตา กรณีที่เจาชะตากําลังดวงไมดีมีเคราะหราย โหรไมควรถือโอกาสเอาผลประโยชนจากเจาชะตาโดยการเรียกรองเงินหรือทรัพยสินใด ๆ จากเจาชะตาโดยอางวาเปนการสะเดาะเคราะห ทางที่ดีแลวควรแนะนําใหเจาชะตาไปทําบุญกุศลเองจะเหมาะกวา เพื่อผอนหนักใหเปนเบา เปนการสรางกรรมดีไวและใหทําบอย ๆ จนกวาเคราะหจะหมดไป 7. ไมควรโฆษณาตนเองในขณะพยากรณ การโฆษณาตนเองในขณะที่พยากรณ เปนการโออวดความสามารถของตนเองตอเจาชะตาหรือแขกอ่ืน ๆ เพราะตามหลักแลว ความดีของมนุษยยอมไมควรออกจากปากตนเอง ควรออกจากปากผูอ่ืนจะเหมาะกวา 8. ไมควรทับถมการพยากรณของโหรอ่ืน ๆ เจาชะตาสวนใหญมักจะผานโหรมาหลายคนและมักจะมีการเอยช่ือถึงหรือพูดวาเคยมีโหรคนน้ันคนนี้ทายไวแลวไมถูกบาง อะไรบาง ตามมารยาทโหรแลวควรรับฟงไวเฉย ๆ แตไมควรวิจารณทับถมตอหนาเจาชะตา เพราะโหรแตละคนก็มีหลักเกณฑและประสบการณในการพยากรณตาง ๆ กัน 9. ควรพยากรณใหตรงจุดไมปดบังอําพราง สวนใหญผูมาใหการพยากรณมักมีความทุกขมาโหรควรเปนผูแกปญหาให โดยพยากรณใหตรงจุดที่เจาของชะตาตองการทราบ และควรบอกใหหมด ไมควรขยักไวเพื่อใหมาหาคราวตอไปอีก แบบที่ชาวบานมักเรียกหมอที่รักษาไมหายวา เล้ียงไข ซึ่งความจริงอาจเปนการวินิจฉัยโรคผิดก็ได จึงการจายยาผิดไมตรงกับโรคที่เปน อาการจึงไมทุเลา การพยากรณก็อาจเปนเชนนั้นได คือไมตรงจุดที่เจาชะตาตองการทราบก็ได ฉนั้นอะไรที่โหรไมแนใจแลวอยาเดา เพราะเทากับวาทานจายยาผิดไปนั่นเอง 10. ควรระมัดระวังถอยคําที่ใชพยากรณ ในการพยากรณดวงชะตาควรใชถอยคําที่สุภาพ ไมควรกลาวผลุสวาทและอยาพยายามซักถามกาวกายในเร่ืองสวนตัวของเจาชะตาจนมากเกินไป โดยเฉพาะเจาชะตาที่เปนหญิงมาใหพยากรณนั้นโหรไมควรถือโอกาสเอาเปรียบเจาชะตา เพราะเจาชะตาที่มาพบโหรสวนใหญมักมีปญหามาปรึกษาหรือขอคําแนะนําจากโหรอยูแลว ฉะนั้นโหรจึงควรใชถอยคําที่สุภาพและสํารวมกริยาเพื่อใหเปนที่เคารพนับถือของเจาชะตาที่มาใหพยากรณ 11. ตองรักษาความลับของผูมาใหพยากรณ เชนเดียวกับแพทยตองรักษาความลับของคนไข ไมเอาเร่ืองของเจาชะตาวิพากษวิจารณเปนที่สนุกสนาน ขบขันกันในหมูเพือ่นฝูงของโหรเอง จริงอยูดวงชะตาบางคนอาจะแปลกประหลาด มีเร่ืองพิลึกพิสดารกวาดวงปกติ โหรผูนั้นก็ควรศึกษาและเก็บสถิติ วาดวงแบบนี้ทุกดวงจะมีเหตุการณเชนนี้เสมอไปหรือไม แลวจึงต้ังเปนหลัก

  

Page 76: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

63

ไมใชเห็นดวงเดียวแลวนําไปเปนหลักตลอด แลวนํามาวิพากษวิจารณกันเปนที่ขบขัน โหรเองควรจะขอบคุณเจาของดวงชะตาที่ทําใหตนเองไดมีโอกาสศึกษาเชนนี้มากกวา 12. ควรศึกษาคนควาแบบไมรูจบ การคํานวณยังมีแบบไมรูจบ วิชาโหราศาสตรก็ควรมีการคนควาไมรูจบส้ินเหมือนกัน เชนเดียวกับวิชาแพทยที่ตองมีการศึกษาคนควาอยูตลอดเวลาเพราะมีโรคใหม ๆ เกิดข้ึนเร่ือย ดวงชะตาก็มีแปลก ๆ ที่ไมตรงตามตํารามากมาย จึงตองการศึกษาคนควาตอไปโดยไมรูจบเชนกัน 4. มูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ มูลนิธิมีความแตกตางจากสมาคมโหราศาสตรทั้ง 3 สมาคม คือไมมีการรับสมัครสมาชิก จึงไมมีบทบาทในการควบคุม สมาชิก แตการทําหนาที่สอนวิชาโหราศาสตร ไดมีมารยาทโหร หรือควรเรียกวา จรรยาบรรณโหร ที่ถายทอดใหกับลูกศิษยดวย ดังนี้ (วัชรพล ไมสน, 2557) 1. โหรทุกคนพึงรักษาความลับของคนมาดูเสมอดวยความลับของตน 2. ไมควรใชคําทํานายแมจะเปนเปนเร่ืองจริงก็ตามอันเปนเหตุใหกระทบกระเทือนขวัญของผูมาดูอยางรายแรง เชน การมรณะ เปนตน แตจะบอกกลาวไวแกผูแทนไวก็ได 3. อยาใชภาษาคําทํานายเชิงบริภาษผูดู หรือใชคําหยาบคายไมนาฟง ทําใหผูดูมีความละอายในทามกลางชุมนุมชน 4. เมื่อดูรายก็พึงจะชี้ชองทางที่จะแกไวดวยเสมอ และไมควรจะรับหนาที่สะเดาะเคราะหโดยเห็นแกลาภสักการะ เวนแตเจาตัวขอรองก็แนะนําใหไป 5. อยาพูดจาขมขูหรือขมข่ีดูถูก สมประมาทโหรที่มีความรูออนกวา หรือผูที่แกกวา หรือไมใชครูเดียวกับตน (ยกตนขมทาน) 6. การดูหมิ่นเหยียดหยามครูบาอาจารยของคนอ่ืนนั้น เทากับตนเองบริภาษอาจารยตนเอง 7. ธรรมดาที่ตนยกตนเองยอมไมข้ึน ตองอาศัยคนอ่ืนยกฉันใด ถามีโอกาสควรจะชวยยกยองคุณงามความดีของโหรผูอ่ืนเสมอ เพื่อแสดงเปนคนน้ําใจกวางขวางไว ถาคนผูนั้นเปนโหรจริง ๆ 8. พึงประพฤติตนใหสมเปนที่เคารพนับถือของประชาชน มีนิสัยสุจริตยุติธรรม มีความประพฤติเรียบรอยเสมอตนเสมอปลาย ไมฉุนเฉียวตึงตัง 9. แขกผูมาดูนั้นใหถือวเปนแขกพิเศษ พึงจักตอนรับดวยอาการกระปร้ีกระเปรา โอภาปราศรัยดวยความไมตรีรักเสมอ ไมวาทานจะอยูในอารมณใด

  

Page 77: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

64

10. พึงรักษารางกาย และแตงการสะอาดเรียบรอย ไมเปนที่รังเกียจแหงสังคม และระวังกิริยาวาจาใหดี 11. ไมพึงแยงอาชีพซ่ึงกันและกัน ขอนี้ถือวาเสียมารยาทอยางแรง 12. ผูเปนโหรอาชีพไมควรไปดูในสถานที่ตํ่าชาอันเปนทางใหผูอ่ืนเหยียดหยามเกียรติของหมูโหร 13. พึงรักษาความเที่ยงธรรมในการดู จงกวดขันปราศจากอคติลําเอียงใด ๆ อยาเชื่อขาว อยามีอุปาทาน อยางเปนหมอแล 14. ในการพยากรณดวงชะตา พึงใชความพิจารณาใหละเอียดถี่ถวน ไมหยาบสะเพรา 15. ตองใชเสรีภาพในการทํานายเต็มที่ ดีก็บอกวาดี รายก็บอกวาราย ไมยกยอง ทั้งนี้โดยใชคําพูดใหเหมาะสม อยาใหบาดหู กระทบกระเทือนใจ พึงทํานายโดยสุภาพเสมอ 16. ถาเห็นตนวา ตนยังไมพรอมที่จะทํานาย เพราะอารมณยังไมดี หรือยังไมมีความรูพอ หรือวิจารณยังไมละเอียด ก็อยาไปทํานายเลย 17. อยาแสดงตนเปนคนเห็นแกลาภสักการะเกินไป คนที่มาขอใหดูแมจะไมมีคาคํานับครู ก็พึงทํานายโดยเต็มใจ 18. ไมควรจะไปทํานายการบานการเมือง ใหเปนการยุงยาก เพราะถูกผิดก็ไมสูจะไดผลอะไรแกตน 19. ไมควรสนับสนุนผูที่มาดูใหกระทําการที่ผิดกฎหมาย ศีลธรรม เชน หนุนใหฉอราษฎรบังหลวง ลักขโมย ปลนสดมภ คาของเถื่อนเปนตน อยาไปใหฤกษผานาทีแกผูดูนั้น ๆ เวนแตไมทราบจริง ๆ 20. ในเวลาผูมาดูที่ทุกขรอนสาหัส คําทํานายใดที่จะเปนเคร่ืองชวยปลอบโยนใหคลายทุกข หรือปลอบใจใหมีกําลังใจ อาจหาญร่ืนเริง ก็ควรใชคําทํานายนั้น ๆ แมจะเพี้ยนจากคําตรงไปบางนิดหนอยก็ควรยอมให 21. ผูที่มีเคราะหดี กลับทายเปนรายโดยจงใจ หรือเคราะหนอยก็บอกเปนมาก เพื่อหวังสินจางรางวัลอยางอ่ืนใด ไมควรประพฤติเปนอันขาด 22. พึงถอมตนวาเปนผูรูนอยเสมอ ขุนแผนไมมีลูกศิษยมีแตอาจารยฉันใด ทานก็ควรถอมตัวของทาน ภายหลังทานจะไดอาจารยชั้นวิเศษมาสอนทานดวยความเต็มใจ ผูที่อวดรูใครเลาจะสอน

  

Page 78: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

65

23. โหรทุกทานพึงถือวา มีความรูแจงเห็นจริงเฉพาะอยาง ไมใชตรัสรูทุกอยาง ฉะนั้นส่ิงใดตนรูก็บอกวารู ที่ไมรูก็บอกวาไมรูตรง ๆ แนะนําใหผูที่รูยิ่งกวาตน 24. โหรไมควรดึงดันทิฐิมานะ เอาแตความเห็นของตนเปนใหญ ควรสดับตรับฟงความเห็นของผูอ่ืนบาง ถามีเหตุผลดีก็ควรรับฟง และรับปฏิบัติดวยสุจริตใจ 25. ควรรักหมูรักคณะ ไมรุกรานกันเอง ควรมีสามัคคีธรรมตอกัน ใหสม่ําเสมอ ชวยเหลือกันในส่ิงที่ควร ขอปฏิบัติในการพยากรณของนักโหราศาสตรที่ไดมีการยึดถือ และถายทอดใหกับผูที่เขามาเรียนวิชาโหราศาสตรในแตละสมาคมก็มีความแตกตางในเรื่องรายละเอียดของการปฏิบัติ เมื่อเปรียบเทียบแนวปฏิบัติของนักโหราศาสตรแตละสมาคม มูลนิธิแลว สรุปประเด็นหลักในการปฏิบัติ ไดดังนี้ หลักประพฤติตนท่ัวไป 1. โหรตองรักษาศีล 5 ตามหลักศาสนาพุทธเปนหลักธรรมพื้นฐานในการประพฤติปฏิบัติ 2. โหรตองประพฤติตนใหสมเปนที่นับถือของประชาชน มีความประพฤติเรียบรอยและตองมีมารยาทอันดีงาม ไมควรไปดูในสถานที่ตํ่าชาอันทําใหผูอ่ืนเหยียดหยามเกียรติของหมูโหร 3. โหรตองดูแลรักษารางกายและแตงกายใหสะอาดเรียบรอย ไมเปนที่รังเกียจในสังคม และระวังกิริยาวาจาใหดี และถาเห็นวายังตนเองยังไมพรอมที่จะทํานาย เพราะอารมณยงัไมดีหรือวิจารณยังไมละเอียด ก็อยาไปทํานายดวงชะตาผูอ่ืน 4. โหรตองถอมตนวาเปนผูรูนอยเสมอ เพื่อจะไดเปนที่เมตตาของโหราจารยทานตาง ๆ ที่จะถายทอดดวิชาความรูการพยากรณทางโหราศาสตรใหอยูเสมอ 5. โหรไมควรโฆษณาตนเองในขณะพยากรณ เพราะจะเปนการโออวดความสามารถของตนเองตอเจาชะตา ความดีความสามารถใหผูอ่ืนเปนคนบอกจะดีกวา หลักปฏิบัติในการพยากรณ 6. โหรทุกคนพึงตองรักษาความลับของผูมาดู เสมือนเปนความลับของตนเอง 7. โหรตองใหเกียรติผูมาพยากรณดวงชะตา พึงตอนรับดวยไมตรีจิต อยาใชคําหยาบคาย ไมนาฟงกับผูมาดู 8. กรณีที่ผูมาพยากรณดวงชะตาทุกขรอนสาหัส คําทํานายใดที่จะเปนเคร่ืองชวยปลอบโยนใหคลายทุกข หรือปลอบใจใหมีกําลังใจ ก็ควรใชคําทํานายนั้น ๆ แมจะเพี้ยนจากคํา พยากรณที่แทจริงไปบางนิดหนอย ก็ควรพยากรณใหเพราะจะเปนผลดีมากกวา แตอยาใหเสียหลักวิชา   

Page 79: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

66

9. โหรตองไมพยากรณผูที่มีเคราะหดี ใหกลับเปนเร่ืองรายโดยจงใจ หรือเคราะหนอยก็บอกเปนมาก เพื่อมุงหวังผลประโยชนบางอยาง 10. โหรจะตองพิจารณาอยางละเอียดรอบคอบ อยาสะเพราและตองรักษาความเที่ยงธรรมในการพยากรณดวงชะตา โดยไมมีอคติลําเอียงใด ๆ ตองพยากรณโดยปราศจากโลภะ โทสะ โมหะ คือไมใหพยากรณไปดวยความโกรธ หรือดวยความหลงเขาใจผิด 11. โหรตองไมแสดงตนเปนคนเห็นแกทรัพยสินเงินทอง มุงหวังในคาบูชาครูในการพยากรณจนเกินไป คนที่มาขอใหพยากรณดวงชะตา แมจะไมมีคาบูชาครู ก็ควรพยากรณดวยความเต็มใจ 12. โหรเมื่อเห็นเร่ืองราย ควรชี้ชองทางที่จะแกไขไวดวยเสมอ เชนกรณีที่เจาชะตากําลังดวงไมดีมีเคราะหราย โหรไมควรถือโอกาสเอาผลประโยชนจากเจาชะตาโดยการเรียกรองเงนิหรือทรัพยสินใด ๆ จากเจาชะตาโดยอางวาเปนการสะเดาะเคราะหโดยเด็ดขาด ทางที่ดีแลวควรแนะนําใหเจาชะตาไปทําบุญกุศลเองจะเหมาะกวา เพื่อผอนหนักใหเปนเบา 13. โหรตองพยากรณโดยปราศจากความกลัว คือไมตองเกรงกลัวบารมีใครในการพยากรณ หรือ เกรงใจไมกลาบอกความจริง ถาเห็นวามีส่ิงรายแรงในดวงชะตา คอย ๆ หาคําพูดที่อธิบายแบบออม ไมตองพูดตรง ๆ จนเกินไป จนทําใหเกิดการกระทบกระเทือนจิตใจของผูที่มาดู ดวงชะตา พึงทํานายดวยความสุภาพเสมอ 14. โหรควรพยากรณดวงชะตา กับเจาของดวงชะตาเฉพาะตัวตอตัว การพยากรณตอหนาบุคคลหลายคน อาจทําใหโหรไมกลาระบุใหชัดเจน ถาเปนเร่ืองที่กระทบกับบุคคลที่มากับเจาดวงชะตา 15. โหรไมควรพยากรณดวงชะตาสําหรับผูที่ไมทราบเวลาเกิดแนนอน จะเปนการทําใหการพยากรณผิดหมด 16. โหรควรพยากรณใหตรงจุดไมปดบังอําพราง สวนใหญผูมาใหการพยากรณมักมีความทุกข โหรควรเปนผูแกปญหาให โดยพยากรณใหตรงจุดที่เจาของชะตาตองการทราบ และควรบอกคําพยากรณใหหมด 17. โหรไมควรจะไปทํานายการบานการเมืองใหเปนการยุงยาก เพราะถูกผิดอยางไรก็ไมเกิดผลดีแกตัวโหรเอง 18. โหรไมควรสนับสนุนผูที่มาดูใหกระทําการที่ผิดกฎหมาย ผิดศีลธรรม เชน หนุนใหฉอราษฎรบังหลวง ลักขโมย ปลนสดมภ คาของเถื่อน เปนตน และอยาใหฤกษยามแกผูดูนั้น ๆ เวนแตไมทราบจริง ๆ

  

Page 80: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

67

หลักปฏิบัติในเรื่องวิชาความรู 19. โหรตองมีความรู ความเขาใจในหลักวิชาที่ใชพยากรณดวงชะตาเปนอยางดี และในการพยากรณควรตรวจดูทุกเร่ือง แตไมจําเปนตองบอกทุกเร่ือง เพราะบางเร่ืองไมมีประโยชนกับผูมาพยากรณดวงชะตา 20. โหรทุกทานพึงถือวา มีความรูแจงเห็นจริงเฉพาะอยาง ไมใชรูทุกอยาง ฉะนั้นส่ิงใดที่รูก็บอกวารู ส่ิงใดที่ไมรูก็บอกวาไมรู และแนะนําใหไปหาโหร ที่มีความรูมากกวาตนเอง 21. โหรควรศึกษาคนควาแบบไมรูจบ วิชาโหราศาสตรมีความซับซอน มีเคล็ดลับในการทํานายอยูหลายประการแตกตางตามการประสบการณของโหราจารย ขณะที่การพยากรณใหถูกเร่ือง ก็ตองมีการปรับปรุง อธิบายใหเขากับยุคสมัย โหรจึงควรมีการคนควาไมรูจบส้ิน เชนเดียวกับวิชาแพทยที่ตองมีการศึกษาคนควาอยูตลอดเวลาเพราะมีโรคใหม ๆ เกิดข้ึนเร่ือย ดวงชะตาก็มีแปลก ๆ ที่ไมตรงตามตํารามากมาย จึงตองการศึกษาคนควาตอไปโดยไมรูจบเชนกัน

หลักปฏิบัติตอกลุมโหร 22. โหรตองไมดูหมิ่นเหยียดหยามครูบาอาจารยของโหรทานอ่ืน เพราะถือวาเปนการไมเคารพครูโหราศาสตร เปรียบเสมือนการเหยียดหยามครูอาจารยของตนเอง 23. โหรตองไมแยงกันประกอบอาชีพในหมูโหรดวยกัน ควรรักหมูรักคณะ มีสามัคคีธรรมตอกันใหสม่ําเสมอ ชวยเหลือกันในส่ิงที่ควร 24. โหรไมควรทับถมการพยากรณของโหรคนอ่ืน ๆ เพราะผูที่มาดูดวงชะตาอาจมีการพูดวาเคยมีโหรคนนั้นคนนี้ทายไวแลวไมถูกบาง โหรควรรับฟงเพราะโหรแตละคนก็มีหลักเกณฑและประสบการณในการพยากรณตาง ๆ กัน ถามีโอกาสควรจะชวยยกยองคุณงามความดีของโหรผูอ่ืน เพื่อแสดงความเปนคนน้ําใจกวางขวางไว ถาคนผูนั้นเปนโหรจริง ๆ ขอปฏิบัติเหลานี้ เปน จรรยาบรรณโหร ที่นักโหราศาสตร ไมวาจะเปนนักโหราศาสตรสมัครเลน หรือนักโหราศาสตรอาชีพ รวมถึงโหราจารยที่ทําหนาที่ถายทอดวิชาความรูทางโหราศาสตร ยึดถือใหตรงกัน เพื่อใหคนในสังคมไดรับการปฏิบัติอยางถูกตอง ไดรับการพยากรณตามหลักวิชา จะทําใหเกิดการพัฒนาวิชาโหราศาสตรใหเปนหลักวิชาที่คนในสังคมสามารถพึ่งพานําทางชีวิตได เม่ือสภาพสังคมเปล่ียนไป โหราศาสตรไดรับความนิยมแพรหลายมากข้ึน ก็มีการออกแนวทางปฏิบัติ ที่เรียกวา มารยาทโหร ซึ่งอันที่จริงควรเรียกใหเปนทางการวา จรรยาบรรณโหร เพื่อใหเปนขอยึดถือตรงกันของนักโหราศาสตรทุกสมาคม ไมวาจะเปนนักโหราศาสตรสมัครเลน หรือนักโหราศาสตรอาชีพ รวมถึงโหราจารยที่ทําหนาที่ถายทอดวิชาความรูทางโหราศาสตร เพื่อให  

Page 81: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

68

คนในสังคมไดรับการปฏิบัติอยางถูกตอง ไดรับการพยากรณตามหลักวิชา จะทําใหเกิดการพัฒนาวิชาโหราศาสตรใหเปนหลักวิชาที่คนในสังคมสามารถพึ่งพานําทางชีวิตได ตอนท่ี 3 การถายทอดความรูและจรรยาบรรณทางโหราศาสตรของกลุมองคกรโหราศาสตรในปจจุบัน ในปจจุบันมีการรวมกลุมนักโหราศาสตร ที่อยากจะพัฒนาวิชาความรูทางโหราศาสตร และถายทอดความรูโหราศาสตรใหแพรหลาย อันเปนการสืบทอดวิชาโหราศาสตรใหอยูคูสังคมไทย โดยมีการรวมกลุมปนสมาคม มูลนิธิ ชมรม อยูหลายแหง แตที่มีการรวมกลุม มีการจัดการภายในองคกรและดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่องมีดังนี้คือ 1. สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ หลังจากที่มีการยุบเลิกคณะโหรประจําราชสํานักในปลายสมัย รัชกาลที่ 7 ซึ่งนาจะมีสาเหตุมาจากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า มีการยุบเลิกหนวยงานราชการหลายหนวยงาน เพื่อลดคาใชจาย และเม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงการปกครองประเทศ พ.ศ. 2475 ขาราชการกรมโหรก็ตางออกมาประกอบอาชีพ อิสระในเชิงวิชาการดานนี้ เปนการสวนตัว เปนที่รูกันทั่วไป ในงานที่ตองใชฤกษผานาที เชนเดียวกับพราหมณและพระสงฆ ซึ่งตองจัดใหมีเปนธรรมเนียม เมื่อวิชาการโหรเผยแพรออกสูสามัญชนในวงกวางข้ึน มีผูที่สนใจศึกษาโหราศาสตร เชน หมอมเจาเจริญศุขโสภาคย เกษมสันต พระยาบริรักษเวชชการ พระยาประสงคสรรพการ และพระยาอาณาจักรบริบาล หมอมหลวงยวง อิสรเสนา นายพิภพ ตังคณะสิงห รอยโทภูมิ กาญจนัษฐายี ไดริเร่ิมความคิดในการรวบรวมผูที่ศึกษาโหราศาสตรและผูที่ประกอบวิชาชีพโหรเขาดวยกัน โดยไดชักชวนผูที่มีวิทยฐานะ คือ นักกฏหมาย แพทย วิศวกรรม พุทธศาสน และผูที่มีตําแหนงหนาที่การงานในหนวยราชการ หรือธุรกิจเอกชน มารวมกลุมเปน สมาคมโหรแหงประเทศไทยข้ึน โดยตองการที่จะฟนฟูวิชาโหราศาสตรใหคงอยูกับประเทศไทย และไดกําหนดวัตถุประสงคในการกอต้ังสมาคมโหรแหงประเทศไทย ไวดังนี้ 1. เพื่อสมานสามัคคีในระหวางนักพยากรณทั้งหลายทุกสาขาไมจํากัดชาติ ศาสนา 2. เพื่อแลกเปล่ียนความรของนักพยากรณใหสูงข้ึน 3. เพื่อชวยกันสรางปฏิทินอยางละเอียดถูกตองข้ึนใชในหมูสมาชิก 4. เพื่อรวบรวมตําราพยากรณเกาใหมทุกสาขา ทั้งในและนอกประเทศ 5. คนควา รวบรวมสถิติพยากรณเกาใหม เพื่อเผยแพรรักษาไวเปนแบบฉบับ 6. ชวยเหลืออุปการะในการพิธีทั้งปวงเกี่ยวกับหนาที่ของโหร ใหแกสมาชิกหรือบุคคลภายนอก

  

Page 82: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

69

ในการดําเนินการกอต้ังสมาคมฯ มีผูแทนสมาคมฯ 4 ทาน คือ หมอมเจาเจริญศุขโสภาคย เกษมสันต พระยาบริรักษเวชชการ พระยาประสงคสรรพการ และพระยาอาณาจักรบริบาล เปนผูไปขออนุญาตจดทะเบียนสมาคมตอเจาหนาที่ตํารวจสันติบาล เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 เวลา 11 นาฬิกา 41 นาที ซึ่งตรงกับ วันข้ึน 7 คํ่า เดือน 7 ปกุน ซึ่งถือเปนฤกษกําเนิดสมาคม สมาคมโหรแหงประเทศไทย มีสมาชิกคร้ังแรกทั้งส้ิน 24 คน มีนาวาเอก หมอมเจาเจริญสุขโศภาคย เกษมสันต เปนนายกสมาคม มีเจาคุณบริรักษเวชชการ เปนรองนายกฯ และผูเชี่ยวชาญทางโหราศาสตรอีก 7 ทาน เปนกรรมการบริหารสมาคมชุดแรก รวม 9 ทาน โดยมีสํานักงานอยูที่อาคารหอสมุด มหามงกุฏราชวิทยาลัย ภายในวัดบวรนิเวศวิหาร และตอมาไดทําพิธีเปดปายปฐมฤกษสมาคม ในวันพฤหัสบดี ข้ึน 9 คํ่า เดือน 8 ปกุน จุลศักราช 1309 ตรงกับวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2490 เวลา 10.48 นาฬิกา โดยเจาคุณธรรมปาโมกข ผูอํานวยการหอสมุดมหามกุฎราชวิทยาลัย เปนผูทําพิธีแทนสมเด็จพระสังฆราช ในการดําเนินระยะแรกผูอุปการะแกสมาคมโหรแหง ประเทศไทย 5 ทานคือ สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ พระธรรมวโรดม ซึ่งตอมาไดรับการ สถาปนาเปนสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อยู ญาโนทโย) วัดสระเกศ พระธรรมปาโมกข ซึ่งตอมาไดเปนพระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ) วัดบวรนิเวศ พระศรีสัจจญาณมุนี (สนธิ์) วัดสุทัศน และ พระภัทรมุนี (อ๋ิน ภทรมุนี) วัดทองนพคุณ ตอมาสมาคมโหรแหงประเทศไทย ไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ รับเขาอยูในพระราชินูปถัมภ มาจนถงึปจจุบัน ในปจจุบันสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ ไดดําเนินงานมาแลว 67 ป (พ.ศ.2490-2557) และไดยายสํานักงาน มาอยูที่ 239/3 ถนนพระสุเมรุ ซอยขางธนาคารกสิกรไทย บางลําภู แขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โดยนายธนกร สินเกษม ไดรับการเลือกต้ังเปนนายกสมาคมโหรแหงประเทศไทยฯ มาต้ังแตปพ.ศ.2544 จนถึงปจจุบัน นับเปนสมัยที่ 7 และมีคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ จํานวน 34 คน สมาคมโหรแหงประเทศไทย ไดเผยแพรความรูโหราศาสตรโดยการเปดหลักสูตรอบรมวิชาโหราศาสตร หลายสาขาวิชา ดังนี้ อานคนจากใบหนา, โหรทายหนู, เสนสายลายเซ็น, ไพยิปซี (TAROT) โหราศาสตรไทย, โหราศาสตร นามศาสตร ถอดรหัสชีวิต ลายมือระบบเมตริก คัมภีรมหาสัตตเลข ลายมือ โหราศาสตรยูเรเนียน โหงวเฮง ฮวงจุย 1 เพื่อที่อยูอาศัย ฮวงจุย 2 เพื่อโชคลาภและบารมี เลข 7 ตัว 9 ฐาน (ระบบถอดหัวใจเรือนชะตา) เลข 7 ตัว 11 ฐาน (ระบบพระเคราะหเจาเรือน) ลายมือคือแผนที่ของขีวิต ลายเซ็นเสนสายชีวิต

  

Page 83: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

70

เลข 7 ตัว พิสดาร ตนุหกจร, เทคนิคการทํานาย, โหราศาสตรไทย ระบบนวางคจกัร, ยามอัฐกาลและชั้นฉาย อินทภาส-บาทจันทร โหราศาสตรไทย ระบบธาตุ ใบไมพลังจิต ทักษามหายุค (ตํารับ ส.สัจจญาณ) โหราศาสตรการใหฤกษ ยูเรเนียนภาคพยากรณ ตุกตาไขนาม (มอญ) โหราศาสตรประยุกต เลข 7 ตัว ทักษากาลโยค โคดนโปเลียน พิธีกรรมแบบโบราณของไทย สมุนไพรเพื่อสุขภาพ ผูที่เขารับการอบรมกับสมาคมโหรแหงประเทศไทยฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตรตองมีการสอบ โดยตองทําคะแนนใหได 60 คะแนนข้ึนไปจึงจะสอบผาน และจะมีการประกาศผลคะแนนและลําดับการสอบลงในวารสารของทางสมาคมโหรดวยฯ และจะจัดพิธีมอบวุฒิบัตรใหกับผูที่เรียนจบและสอบผานในวันไหวครูประจําป และทางสมาคมโหรฯ จะออกบัตรสมาชิกสมาคมโหรฯ ใหดวย ซึ่งหมายถึงการเขาเปนสมาชิกสมาคมฯ อยางสมบูรณ โดยในบัตรจะมีการระบุหมายเลขสมาชิกดวย นอกจากนี้ สมาคมโหรฯ ยังมีกิจกรรมการบรรยายพิเศษ และการพยากรณแขนง ตาง ๆ อีกดวย มีการผลิตนิตยสารชื่อ พยากรณสาร ซึ่งระยะแรกออกเปนรายเดือน ปจจุบันออกราย 6 เดือน เพื่อเผยแพรความรู กิจกรรม ขาวสารของสมาคมแกสาธารณะ และทางสมาคมฯ ยังใหบริการพยากรณใหกับประชาชนทั่วไป โดยนักพยากรณของสมาคมโหรฯ ที่มีชื่อเสียงและมีความแมนยํา และมีคาบริการที่ไมสูงมากนัก คือ 1. สํานักงานของสมาคมโหรฯ เลขที่ 239/3 ถนนพระสุเมรุ ซอยขางธนาคารกสิกรไทย บางลําภู แขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 2. หางดิโอลสยามพลาซา ชั้น 3 แขวงบูรพา กรุงเทพมหานคร 3. สํานักงานของสมาคมโหรฯ ซอยวัดสมเกล้ียง เลขที่ 35/12-13 ตําบลบางคูเวียง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี สมาคมโหรฯ ยังจัดกิจกรรมพยากรณการกุศลเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสวันแมแหงชาติ และวันพอแหงชาติ ณ บริเวณราชนาวีสโมสร ทาชาง กรุงเทพมหานคร เพื่อหารายไดนําทูลเกลาถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ และรับวาจางออกงานพยากรณตามสถานทิ่ หนวยงานตาง ๆ โดยจะจัดทีมนักพยากรณของสมาคมโหรฯไปใหบริการพยากรณ 2. สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย สมาคมสหพันธโหร – แพทยแผนไทย แตเดิมชื่อ สมาคมสหพันธโหร กอต้ังเมื่อป พ.ศ.2514 โดยพอครูดวงสุริยะเนตร หรือชื่อจริงวา นายสําราญ สุวรรณวัฒน และอาจารยเปลง เพ็งศรีทอง โดยสํานักงานของสมาคม ต้ังอยู ณ วัดเอ่ียมวรนุช เลขที่ 178 ศาลาจารุเสถียรอุปถัมภ

  

Page 84: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

71

ถนนสามเสน แขวงบานพานถม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร และตอมาในป พ.ศ.2544 ไดจดทะเบียนเปล่ียนช่ือใหมเปน “สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย” โดยมีวัตถุประสงคของการรวมกลุมจัดต้ังสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย ดังนี้ 1. สงเสริมใหมีการศึกษาอบรมวิชาพยากรณ และการแพทยแผนไทย 2. อบรมและสงเสริมนักพยากรณใหมีความรูคูคุณธรรม 3. สงเสริมความสามัคคี และชวยเหลือสมาชิกตามโอกาสอันควร 4. สงเสริมพุทธศาสนาและรวมทํากิจกรรมเพื่อการกุศลกับองคกรตาง ๆ สมาคมสหพันธโหรฯ มีผูถายทอดความรูหลักคือ พอครูดวงสุริยเนตร ที่ไดรับการถายทอดวิชาโหราศาสตรพมาจากเพื่อนของบิดาซึ่งเปนชาวจีนที่คาขายพลอยในพมา พอครูดวงสุริยเนตร เกิดเมื่อ พ.ศ. 2468 ทานมีประสบการณในการใชวิชาพยากรณต้ังแตอายุ 16 ป เม่ืออายุครบบวชไดเขาอุปสมบทที่วัดนางนองวรวิหาร บางขุนเทียน เมื่อป พ.ศ.2490 ไดรับสมณศักด์ิ “พระครูสังฆรักษ” เมื่อ พ.ศ. 2493 และลาสิกขาบทเมื่อ พ.ศ. 2498 จากนั้นทํางานดานพยากรณมาตลอด จนกระทั่งไดถึงแกกรรมเม่ือ 26 กุมภาพันธ พ.ศ.2553 สิริอายุ 85 ป โดยทานไดดํารงตําแหนงนายกสมาคมฯ ต้ังแตป พ.ศ.2520-2553 สมาคมสหพันธโหร - แพทยแผนไทย ดําเนินการมาแลว 43 ป (พ.ศ.2514-2557) ปจจุบันมี นางฐานิกาพิชญศา เอกนาม ดํารงตําแหนงนายกสมาคมสหพันธโหร – แพทยแผนไทย และมีคณะกรรมการบริหารงานรวม 25 คน กิจกรรมของสมาคมสหพันธโหรฯ มีการเปดอบรมวิชาโหราศาสตรใหกับผูที่สนใจ โดยจัดการเรียนการสอนที่ วัดเอ่ียมวรนุข ในวันหยุดเสาร-อาทิตย ดังนี้ 1. วิชาแพทยแผนไทย มีการเปดอบรม 2 รายวิชา คือ 1.1 วิชา เภสัชกรรม หลักสูตร 2 ป โดยเรียนทุกวันเสาร เวลา 13.00-14.00 น. 1.2 วิชาเวชกรรม หลักสูตร 3 ป โดยเรียนทุกวันเสาร เวลา 14.00-15.00 น. 2. วิชาโหราศาสตร มีการเปดอบรม 5 รายวิชา คือ 2.1 วิชาไพยิปซี หลักสูตร 3 เดือน โดยเรียนทุกวันเสาร เวลา 10.00-12.00 น. 2.2 วิชาลายมือพยากรณ หลักสูตร 3 เดือน เรียนทุกวันเสาร เวลา 12.00-14.00 น. 2.3 วิชาโหราศาสตรพมา หลักสูตร 2 เดือน เรียนทุกวันเสาร เวลา 14.00-16.00 น. 2.4 วิชาฮวงจุย หลักสูตร 3 เดือน เรียนทุกวันอาทิตย เวลา 09.30-11.30 น.

  

Page 85: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

72

2.5 วิชาดวงราศีจักร หลักสูตร 3 เดือน เรียนทุกวันอาทิตย เวลา 11.30-13.30 น. โดยผูที่อบรมสําเร็จทุกรายวิชา ทางสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย จะออกใบวุฒิบัตรให และถือวาเปนสมาชิกของสมาคมฯ โดยตองชําระคาสมัครเปนประจําทุกป และทุกวันที่ 5 เดือนพฤษภาคมของทุกป จะถือเอาวันคลายวันเกิดของพอครูดวงสุริยะเนตร เปนวันทําพิธีครอบครูและไหวครูรับวุฒิบัตร นอกจากนี้ทางสมาคมสหพันธโหรฯ ไดทํากิจกรรมสาธารณะกุศล ออกรานพยากรณกับสภากาชาดไทย ในงานกาชาดเปนประจําทุกป และรวบรวมรายไดทูลเกลาถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี อีกทั้งรับการวาจางออกงานพยากรณตามสถานทิ่ หนวยงานตาง ๆ โดยจะจัดทีมนักพยากรณของสมาคมสหพันธโหรฯ ไปใหบริการพยากรณ ขณะเดียวกันที่สํานักงานสมาคมสหพันธโหรฯ วัดเอ่ียมวรนุช จัดใหมีนักพยากรณผูเช่ียวชาญคอยใหบริการตรวจดวงชะตากับผูที่สนใจทั่วไป ในอัตราคาบริการที่ไมสูงมากนัก 3. สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ ไดเร่ิมกอต้ังข้ึนในป พ.ศ.2516 โดยมีคณะบุคคลคณะหนึ่ง อาทิเชน อาจารยพันโทวิจอม ปรีดานุชาต อาจารยบุญเรือน วรรณวิจิตร พ.อ.พิเศษนายแพทย ชวย ทองใบ อาจารยเทอม เสตะกสิกร อาจารยทองเจือ อางแกว อาจารยสมพงษ วิจิตรบรรณการ อาจารยอารมณ ชื่นเชาวไว อ.ส.สัจจญาณ (สมสักก พิมพสุรินทร) ในระยะเริ่มแรกไดรวมตัวกันจัดตั้งชมรมโหราศาสตรนานาชาติขึ้น โดยมีสํานักงานตั้งอยู ณ โรงเรียนปุณยะรัตเวช วัดบุรณะศิริมาตยาราม เลขที่ 5 ถนนอัษฎางค เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยไดรับการสนับสนุนจากทานพระเดชพระคุณพระเทพวราพร (เปล่ียน ปุณโณ) และพระอุดมศีลคุณ (เสริม สุวฑฺฒโน) ซึ่งชมรมโหราศาสตรนานาชาติไดมีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับในวงกวาง มีประชาชนใหความสนใจสมัครเปนสมาชิกของ ชมรมเปนจํานวนมาก กิจการของชมรมเปนที่ยอมรับของสังคมโดยทั่วไป ตอมาคณะผูเร่ิมการกอต้ังชมรมจํานวน 51 คน ไดเร่ิมการกอต้ังสมาคมโหราศาสตรนานาชาติข้ึน โดยไดยื่นจดทะเบียนเปนสมาคมตอกรมการศาสนา โดยไดรับอนุญาตจากอธิบดีกรมการศาสนาใหดําเนินการจัดต้ังเปนสมาคมได ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ.2517 และผูบังคับการตํารวจสันติบาลไดอนุญาตใหจดทะเบียนต้ังสมาคมไดในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2517 มีสํานักงานแหงใหญอยูที่โรงเรียนปุณยะรัตเวช วัดบุรณะศิริมาตยาราม เลขที่ 5 ถนนอัษฎางค เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงคในการจัดต้ังสมาคม ดังนี้

  

Page 86: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

73

1. วางรากฐานโหราศาสตรใหมั่นคงสมบูรณยิ่งข้ึน 2. เผยแพรวิชาโหราศาสตร และหรือศาสตรที่ละมายคลายกันใหกับประชาชนผูสนใจทั่วไป “โดยยึดสามัคคีธรรมเปนมูลฐาน” 3. ผดุงและสงเสริมกิจกรรมวัฒนธรรมอันดี และการสังคมศึกษาคนควาพัฒนาโหราศาสตร พรอมกับศาสตรที่ละมายคลายกันกับโหราศาสตรทุก ๆ “แขนงนิยม” 4. เปดและสงเสริมสัมพันธภาพ แลกเปล่ียนความรูซึ่งกันและกันกับสมาคมโหรนานาชาติ ทั้งนี้ ไมเกี่ยวของกับการเมือง ตอมาในปพ.ศ.2524 นายภิญโญ พงศเจริญ เลขาธิการสมาคมโหราศาสตรนานาชาติในขณะนั้น ไดเล็งเห็นวาวัดบุรณะศิริมาตยาราม มีพื้นที่ไมเพียงพอกับจํานวนของสมาชิกและผูสนใจที่เพิ่มจํานวนมากข้ึนเร่ือย ๆ จึงไดดําเนินการขออนุญาตจากพระเดชพระคุณพระราชปญญาโสภณ (สุข ปุญญวาส) (เจาอาวาสวัดราชนัดดารามวรวิหาร) ใชสถานที่เปนที่ต้ังสํานักงานใหญแหงใหมของสมาคมโหราศาสตรนานาชาติในขณะนั้น และไดรับความอนถเคราะหจากเจาอาวาสพระเดชพระคุณพระราชปญญารังสี (เอ่ียม ธมฺมภาโร) พระเดชพระคุณพระราชเมธี (วัฒนา เขมโก) ตามลําดับ ดังนั้นทางสมาคมโหราศาสตรนานาชาติจึงไดแจงดําเนินการจดทะเบียนเปล่ียนแปลงที่ต้ังของสมาคมแหงใหมเปน วัดราชนัดดารามวรวิหาร เลขที่ 2 ถนนมหาไชย แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตลอดระยะเวลา 40 ป นับต้ังแตกอต้ังสมาคมโหราศาสตรนานาชาติข้ึนมา (พ.ศ.2517-2557) สมาคมโหราศาสตรนานาชาติไดดําเนินกิจการตามวัตถุประสงคเร่ือยมาจนถึงปจจุบัน โดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมและนายกสมาคมมาทั้งส้ิน 8 สมัย โดยในปจจุบันมี นายภิญโญ พงศเจริญ ดํารงตําแหนงนายกสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ พรอมดวยคณะกรรมการบริหารจํานวน 35 คน การอบรมวิชาโหราศาสตรของสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ มีการจัดอบรมหลายสถานที่ หลายวิชา ซึ่งมีระยะเวลาที่แตกตางกันไป ดังนี้ 1. สํานักงานสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ (สํานักงานใหญ) วัดราชนัดดา 2. สํานักงานสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ โครงการปอมปราบศัตรูพาย (ส่ีแยกสะพานเทวกรรม) 3. สํานักงานสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ โครงการพหลโยธิน 32 เสนานิคม 1 วันเวลาในการจัดอบรมแตละรายวิชาจะแตกตางกัน เชน ถาอบรมที่สํานักงานฯ วัดราชนัดดา สวนใหญจะจัดวันเสาร-อาทิตย เพราะใชหองเรียน โรงอาหารของโรงเรียนเปนสถานท่ี

  

Page 87: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

74

จัดอบรม แตถาใชหองของสํานักงานฯ จะมีการเปดการอบรมทุกวัน เปนทางเลือกใหผูสนใจเรียนสามารถมาอบรมไดโดยสะดวก โดยสมาคมโหราศาสตรนานาชาติเปดอบรมวิชาการพยากรณโหราศาสตรดังนี้ การใหฤกษ ดวงพิชัยสงคราม, การใหฤกษชั้นสูง, เลข 7 ตัวพิสดาร, เลข 7 ตัว 9 ฐาน เชียงแสน, เลข 7 ตัวพมา, เลขศาสตรการต้ังชื่อ ทักษามหาภูติ ทักษามหายุค โหวงเฮง ฮวงจุยชัยภูมิศาสตร ฮวงจุยกับชีวิต ฮวงจุยอ้ีจิง หัตถศาสตร ลายมือประยุกต วิจัย ลายมอืพยากรณชัน้สงูลายเซ็นตพื้นฐานและพยากรณ ไพยิปซีพื้นฐานและพยากรณ ไพโหราศาสตร ไพออราเคิล พยากรณ ไพภควัตกีตา (จิตสัมผัส) ไพทาโร (จิตสัมผัส) พิธีกรรมโบราณ พลังใบไมบงบอกชีวิตอักขระเลขยันตโบราณ ยามอัฐกาล เลขบาน เลขรถ บัตรประชาชน เบอรโทรศัพท คอมพิวเตอรเพือ่นักโหราศาสตร โหราศาสตรไทยเบื้องตน โหราศาสตรไทย ภาคพยากรณ โหราศาสตรไทยระบบลัคนาจักร โหราศาสตรไทยระบบลัคนาจักร (ชั้นสูง) โหราศาสตรไทยระบบเรือนธาตุ โหราศาสตรภาคภาษาอังกฤษ โหราศาสตรชะตาบานเมือง โหราศาสตรสุริยาตร โหราศาสตรภาระตะ (ฮินดู)โหราศาสตรระบบสิบลัคน โหราศาสตรพมาประยุกต ผูที่ผานการอบรม จะไดรับวุฒิบัตรรับรองความรูจากสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ โดยทางสมาคมโหราศาสตรฯ จะจัดพิธีมอบวุฒิบัตรพรอมกับพิธีไหวครูโหราศาสตรและการประชุมใหญสามัญประจําป นอกจากการเปดอบรมวิชาโหราศาสตรแลว สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ ยังจัดกิจกรรมอบรมวิชาโหราศาสตรไทยข้ันพื้นฐาน ใหกับผูที่สนใจฟรี จัดกิจกรรมพยากรณการกุศลเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว การเผยแพรความรูโหราศาสตรใหกับประชาชนทั่วไปฟรี และเปดรับพยากรณโชคชะตาราศีใหกับผูที่สนใจทั่วไป ในราคาที่ไมสูงมากนัก จากนักพยากรณผูเชี่ยวชาญในทุกสาขาวิชา ของสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ อันเปนการชวยคลายความทุกขใหกับคนในสังคม 4. มูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ สมาคมโหรแหงประเทศไทยฯ ไดมีการดําเนินงาน และพัฒนามาอยางตอเนื่อง จนกระทั่ง ป พ.ศ.2537 องคสมเด็จพระสังฆราช ไดมีพระดําริ และประทานทุนจัดต้ังมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2538 และทรงรับมูลนิธิฯ ไวในอุปถัมภ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ.2539 และไดดําเนินการรับใบอนุญาตจดทะเบียนเปนมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ มีการประชุมแตงต้ังคณะกรรมการโดย อาจารยเอ้ือ บัวสรวง ดํารงตําแหนงเปนประธานมูลนิธิฯคนแรก ต้ังแตปพ.ศ.2538-2543 ตอมาในป 2544 ไดมีการ

  

Page 88: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

75

เลือกต้ังคณะกรรมการชุดใหม อาจารยอารี สวัสดี ไดรับการเลือกใหดํารงตําแหนงประธานมูลนิธิฯ คนที่ 2 และอาจารยวรพรรณ เลาหะวิไลย เปนเลขานุการ จนถึงปจจุบันมูลนิธิสมาคมโหร ในพระสังฆราชูปถัมภ ไดดําเนินการมาแลว 19 ป (พ.ศ.2538-2557) โดยการกอต้ังมูลนิธิสมาคมโหรฯ มีวัตถุประสงค ดังนี้ 1. เพื่อสงเสริมการศึกษาวิชาการพยากรณทุกแขนง และสวัสดิการ 2. เพื่อซ้ือที่ดิน อาคาร หรือกอสราง ซอมแซม พัฒนาอาคารของมูลนิธิสมาคมโหรฯ (ส.ท.ส). 3. เพื่อเปนศูนยกลางแลกเปล่ียนความรู เผยแพรวิชาโหราศาสตร และกิจกรรมทางพุทธศาสนา 4. เพื่อดําเนินการ เพื่อสาธารณะประโยชน หรือรวมมือกับองคกรทางกุศลอ่ืน ๆ ทาํกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน รวมตลอดถึงการต้ังโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาในรูปแบบตาง ๆ ดวย 5. ไมดําเนินการเกี่ยวของกับการเมืองแตประการใด และไดจัดต้ังชมรมโหราศาสตร เพื่อดําเนินการเปดอบรมวิชาพยากรณศาสตร และจัดใหมีการพยากรณแกบุคคลทั่วไป ณ ที่ทําการมูลนิธิฯ ซึ่งเปนกิจกรรมเพื่อใหมูลนิธิฯ สามารถดํารงอยูได พรอมกันนี้ยังไดมีการรับบริจาคเปนทุนมูลนิธิ รับบริจาคบํารุงการกุศล รับบริจาคเปนคาใชจายในการดําเนินงาน เพื่อใหมูลนิธิฯ ไดทํากิจกรรมครบถวน การดําเนินงานของมูลนิธิโหรฯ จัดใหมีการเปดอบรมวิชาพยากรณในสาขาตาง ๆ โดยผูที่ อาจารยผูสอนรับรองวาผานการอบรม และมีชั่วโมงในการอบรมเพียงพอ จะไดรับวุฒิบัตร ซึ่งจะมีการมอบกันในวันไหวครูประจําป วิชาที่เปดอบรมมีดังนี้ 1. หลักสูตรโหราศาสตร เปดอบรมวิชา ดารา + โหราศาสตร 2. หลักสูตรโหราศาสตรไทย เปดอบรมวิชาโหราศาสตรไทย, โหราศาสตรไทย "สุริยยาตรศึกษา" 3. หลักสูตรโหราศาสตรยูเรเนียน 4. หลักสูตรหัตถศาสตร เปดอบรมวิชาหัตถศาสตร, กาลเวลาบนฝามือ (ใชดวง+ลายมือ) 5. หลักสูตรเลข 7 ตัว 6. หลักสูตรไพยิบซี

  

Page 89: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

76

นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่ทางมูลนิธิฯ ไดดําเนินการเพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการกอต้ัง มูลนิธิฯ คือ 1. จัดใหมีพิธีไหวครู และรับสัมฤทธิบัตรสําหรับผูสําเร็จการอบรม 2. จัดทําหนังสือ "สารมูลนิธิสมาคมโหรฯ" เพื่อเผยแพรความรุโหราศาสตร และพยากรณศาสตรแขนงตาง ๆ ตามโอกาศเหมาะสม 3. จัดใหมีการบรรยายพิเศษในโอกาสตาง ๆ เชน วันไหวครู วันที่กิจกรรมพิเศษ 4. รับเชิญบรรยายพิเศษนอกสถานที่ วิชาหัตถศาสตร (ลายมือ) วิชาโหราศาสตรไทย 5. รับพยากรณนอกสถานที่ 6. เผยแพรความรุโหราศาสตรและศาสตรการพยากรณตามหลักสูตรวิชาที่ถูกตองตอคนทั่วไป 7. อ่ืน ๆ สําหรับผูที่สนใจที่จะปรึกษาเร่ืองดวงชะตาของตัวเอง และครอบครัว ทางมูลนิธิฯ ก็มี "นักพยากรณมืออาชีพ" ประจําอยูที่มูลนิธิฯ ใหบริการทุกวัน สนใจรับการพยากรณสามารถติดตอพยากรณไดทุกวัน ต้ังแตเวลา 10.00-16.00 น.

การถายทอดความรูและจรรยาบรรณทางโหราศาสตร การศึกษาถึงการถายทอดความรูแลจรรยาบรรณโหราศาสตรในสังคมไทย ผูวิจัยจะแบงเปน 2 ชวงคือ ชวงกอนการรวมกลุมเปนสมาคมโหราศาสตร อันเปนการศึกษาเรียนรูในอดีต และชวงหลังการรวมกลุมเปนสมาคมโหราศาสตร อันเปนชวงที่วิชาโหราศาสตร มีการเรียนรูถายทอดวิชาเพื่อสรางนักพยากรณอยางแพรหลาย โดยการรวมกลุมเปนสมาคมของผูที่มีความรูทางดานโหราศาสตร ชวงกอนการรวมกลุมเปนสมาคมโหราศาสตร เนื้อหาวิชาโหราศาสตร ที่มีการรํ่าเรียนกันนั้นมีหลักวิชาและคัมภีรวิชาโหราศาสตรมากมายที่ถายทอดกันมาแตโบราณ ทั้งมีการบันทึกไวเปนคัมภีรหรือปกรณและที่ไมมีการบันทึก แตใชวิธีการสอนสั่งหรือลงมือปฏิบัติ แลวจดจํา เมื่อสรุปแลวคงแบงเปนหลักใหญได 3 ภาค คือ ภาค 1 สุริยาตร และมานัตต เปนภาคคํานวณหาจุดเคล่ือนยาย ตําแหนงที่อยูของดวงดาวพระเคาะห วิธีคํานวณหาวัน เดือน ป เวลาสุริยุปราคา และจันทรุปราคา มีกฏเกณฑคํานวณอยางแนนอน สําหรับทําปฏิทินใชในทางราชการ และปฏิทินโหราศาสตร ภาค 2 การพยากรณโชคชะตาราศี เปนการทํานายทายทักเหตุการณของโลก ของประเทศบานเมือง และดวงชะตาของบุคคล โดยอาศัยการโคจรของดาวพระเคราะห ทํามุมกันหรือ

  

Page 90: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

77

ทับกัน และมีความสัมพันธกับดวงชะตา มีเกณฑดี เกณฑรายอยางใด มีกฏเกณฑในการพยากรณมากมาย ซึ่งนักปราชญทางการพยากรณไดแตงรวบรวมไว บางคัมภีรเขียนข้ึนโดยพระอรหันตก็มี เชน คัมภีรจักรทีปนี ในการพยากรณตองใชปฏิทินหรือปูมโหราศาสตรดังกลาวขางตน ประกอบ ภาค 3 พิธีกรรมตาง ๆ วาดวยวิธีสะเดาะเคราะห วิธีรับสงดาวพระเคราะหตาง ๆ โดยอาศัยพิธีของพราหมณเกี่ยวกับไสยศาสตรบาง และพิธีกรรมทางพุทธศาสนาบาง (สุพรรณ อยูเกษ อางถึงใน แสงอรุณ รัตกสิกร และคณะ, 2551: 420) การสอนวิชาโหราศาสตรในอดีตไมไดมีการต้ังสถาบันสําหรับถายทอด ผูที่อยากเรียนตองเขาไปขอเปนลูกศิษยเรียนกับอาจารยเอง ซึ่งก็มีบุคคลเพียง 2 กลุม ที่มีความรูความเชี่ยวชาญดานนี้ คือ พระภิกษุสงฆ และ โหราจารย ซึ่งโหราจารยนี้ มักเขาไปรับราชการ ไดรับตําแหนงเปนโหราธิบดี สวนพระมหากษัตริย เจานายฝายตาง ๆ ก็รํ่าเรียนวิชาโหราศาสตรมาจากพระภิกษุสงฆ ที่เปนพระช้ันผูใหญ หรือ จากขาราชการที่ทําหนาที่เกี่ยวกับการพยากรณ เชน โหราธบิดี ดังปรากฏหลักฐานในพระนิพนธสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส วา

เราเร่ิมเรียนโหราศาสตร กับขุนเทพยกรณ (ทัด) ต้ังตนหัดทําปฏิทินกอน เขาใจยากจริง เพราะเราเอาโหราศาสตรกับพยากรณศาสตร รวมเขาเปนศาสตรเดียวกัน ทําใหเขาใจวาเรียนโหราศาสตรก็เพื่อมีวิชา รูจักทํานายเหตุการณตาง ๆ จึงมุงไปเสียทางน้ีน และเพราะวิธีสอนบกพรองดวย ไมไดอธิบายใหเขาใจรสคือกิจของโหราศาสตรวาเปนเชนไร ปฏิทินคืออะไร ชื่อตาง ๆ คือ ศักราช มาสเกณฑ อวมาน หรคุณ และอื่น ๆ หมายเอาอะไร เหตุไฉนจึงต้ังศักราชแลวกระจายออกเปนองคเหลาน้ัน ราศี องศา ลิบดา กําหนดหมายอะไร ควมเดินของพระอาทิตย พระจันทร และดาวพระเคราะหท่ีเรียกวามัธยมก็ดี สมผุสก็ดี เปนอาทิ ในตําราบอกวา ถาจะทําองคชื่อน้ัน ใหต้ังเกณฑอยางน้ัน แลวทําเลขอยางน้ัน ๆ เร่ิมต้ังแตทําวันธงชัย วันอธิบดี วันอุบาทว วันโลกาวินาศ ท่ีไมไดเก่ียวกับโหราศาสตรเลย แตเก่ียวกับพยากรณศาสตร กวาจะคลําเขาใจไดแตละอยางชางยากเสียจริง ๆ ขาพเจาไมแนใจวา โหรอธิบายไดทุกคน โหรไมรูจักดาวฤกษ หรือแมดาวพระเคราะหดวย เปนมีแน ขุนเทพยากรณ (ทัด) ถึงแกกรรมในระหวางเรียน ไดไปขอเรียนกับครูเปย คร้ังยังบวชและเปนพระครูปลัดสุวัฒนสุตคุณ ท่ีวัดราชประดิษฐ ต้ังใจจะทําปฏิทินใหจบป ทํารวมมาไดมากแลว ถึงสมผุสพระเคราะหเห็นกวาจะคร่ึงแลว จับเลนธรรมะจัดเขา เห็นเหลวไหล เลยเลิก เราจึงรูไมมาก พยากรณศาสตรยิ่งรูนอย เปนแตเสด็จพระอุปชฌายะ ทรงแนะประทานบาง ไมไดเรียน จริง ๆ จัง ๆ แตเรายังไดใชความรูโหราศาสตรอยูบาง ไดชวยชําระปูมเกาถวายเสด็จพระอุปชฌายะ (พ. สุวรรณ, 2539: 45-46)

  

Page 91: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

78

สวนชาวบานการที่จะรํ่าเรียนมาเปนหมอดู นั้นไมใชเร่ืองงายนัก เพราะครูอาจารยดานนี้ก็คือพระสงฆ กอนที่จะรับเขามาเปนศิษย ก็ตองมีการตรวจดวง ตองมีคุณธรรม ไมคิดลางครู ตองนอบนอม สอนงายและที่สําคัญตองมีความจําดี เนื่องจากสมัยโบราณนั้นการบันทึกตาง ๆ ไมมี ดังนั้นหากรูมาวาพระรูปไหนสอนเร่ืองอะไรแมน แมวาจะตองเดินทางไกลแคไหน คนสมัยกอนนั้นตองด้ันดนไปหา วิชาที่เรียนยุคแรก ๆ เปนเร่ืองการฝกดูฤกษยาม โดยจะตองฝกเขียนและทํานายไปดวย ในระหวางที่เรียนนั้น ก็ใชวาครูจะถายทอดวิชาใหทั้งหมดทีเดียว จะตองคอย ๆ เปน คอย ๆ ไป ครูที่สอนจะคอยดูวาลูกศิษยตนเองนั้นขยันขันแข็งและอดทนเพียงใด ไดชวยเหลืองานตาง ๆ ในวัดมากแคไหน ซึ่งเปนเร่ืองที่ดูไดไมยาก เนื่องจากในอดีตนั้นลูกศิษยมักมาใชชีวิตอยูกับครูที่วัด เม่ือเรียนจบจะตองมีการรับสัจจะ เชน จะตองเปนคนไมอกตัญู ไมเรียกรองเงินทองจากคนที่เดือดรอนมาพึ่งพิง บางคร้ังถึงขนาดมีการสาปแชงลูกศิษยที่คิดลางครู อกตัญูตอครูเลยทีเดียว ซึ่งเหลานี้จะเห็นไดวา หากลูกศิษยคิดโออวด นินทาวารายอาจารย ก็จะมีอันเปนไป เชน ชาวบานขับออกจากหมูบาน ไมยอมรับวาเปนคนในทองถิ่นของตน เปนตน (ศิริญญา สุจินตวงษ, 2554: 36-37)

ชวงหลังการรวมกลุมเปนสมาคมโหราศาสตร การศึกษาวิชาโหราศาสตรไทยในชวงนี้ มีกลุมคนที่ศึกษาวิชาโหราศาสตร เชน หมอมหลวงยวง อิสรเสนา, นายพิภพ ตังคณะสิงห, รอยโทภูมิ กาญจนัษฐายี เปนตน รวมตัวจดทะเบียนสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในเดือนมิถุนายน พ.ศ.2490 เพื่อเผยแพรวิชาความรูโหราศาสตร ทําใหการศึกษาวิชาโหราศาสตรไมจํากัดอยูที่วัด หรือขาราชการที่ทําหนาที่เกี่ยวกับโหรแลว เปล่ียนมาเปนการศึกษาจากตัวบุคคลนักโหราศาสตรที่มีชื่อเสียงและเรียนกันเฉพาะบางแงมุมหรือบางแนวทางเปนสวนใหญ โดยไดมีการกําหนดหลักสูตรการเรียน ซึ่งก็ทําใหรูหลักวิชาโหราศาสตรที่สามารถพยากรณได แตหากใครสนใจในวิชาช้ันสูง ก็ตองแยกไปเรียนเปนสวนตัวจากอาจารยแตละทานตางหากออกไป การเรียนในชวงแรก ๆ นี้เร่ิมมีการพิมพตําราโหราศาสตร และมีปฏิทินโหรจําหนายใหกับผูเรียนวิชาโหราศาสตร ซึ่งก็ข้ึนอยูกับอาจารยผูสอนดวยวาใชแนวทางไหน หนังสือสวนใหญ จะบอกแคหลักวิชา ยังไมมีคําอธิบายโดยละเอียด การเรียนจึงตองยึดเอา ตัวครู เปนหลัก โดยการเรียนกับสมาคมโหรนั้นจะเรียนในวันเสารและอาทิตย จากขอมูลการสัมภาษณ อาจารยวิโรจน กรดนิยมชัย (2557) ไดบอกสภาพการเรียนวิชาโหราศาสตร วา

อ.ประยูร พลอารีย ทานจะทําเอกสารมาสอน จะเปนเน้ือหาทฤษฎีท่ีจะเรียนวันน้ี จะมาเปนชุด ใหไปเย็บรวมเลมเอง จากน้ัน ทานจะเอาเหตุการณปจจุบันเหตุการณสําคัญ ๆ ตาง ๆ เร่ืองการเมืองบาง เร่ืองสังคมบาง มาสอดแทรกในเนื้อหาตลอดเวลา สมัยน้ันเรียนกัน

  

Page 92: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

79

ประมาณ 8 เดือน แลวในหองเรียนอาจารยก็จะบรรยายปากเปลา เราก็จะจดบันทึกไว ส่ือในหองเรียนก็เปนกระดานดํา และก็มีจานโหราศาสตรสําหรับหมุนดวงตาง ๆ การเรียนไมไดมีเซ็นชื่อ ไมไดบังคับ ใครมาก็มา พวกแอบมาน่ังเรียนก็มี การสอนทานก็บรรยายอยางเดียว อ.ปรีชา ไมมีเอกสาร ดนปากเปลาเลย ก็จะมีกระดานวาดรูปมือ แลวอาจารยก็วาดเสน บรรยายเลย เสนน้ีเปนอยางนี้ เสนน้ีเปนอยางน้ี อาจารยก็วาดใหดูเลย เราก็จดตาม ไปหาซื้อตรายางรูปมือ ขนาดเล็ก ๆ ขนาดประมาณ 3 น้ิว มาปมลงบนกระดาษ อาจารยวาดเสนใหดู เราก็เขียนเสนตาม แลวก็จดคําอธิบาย วาเสนเปนยังไง เนินเปนยังไง สีของมือเปนยังไง

นอกจากการเรียนกับโหราจารยที่สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภแลว ก็ยังมีสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย และมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ ที่เปดสอนวิชาโหราศาสตร รวมถึงมีการจัดต้ังชมรม หรือโรงเรียน สอนเปนการสวนตัว ซึ่งการสอนโดยโหราจารยนี้ จะมีเอกสารการสอนที่โหราจารยรวบรวมข้ึนมาเอง เย็บเลมจําหนายใหกันนักศึกษาโหราศาสตรในชั่วโมงแรกของการเรียน เพราะเปนหลักวิชาและเนื้อหาที่อาจารยจะสอน ซึ่งมักจะมีความรูจากประสบการณของอาจารยดวย ไวแลวเชน โหราศาสตรไทย คัมภีรมหาสัตตเลข ฯลฯ

ภาพที่ 4 หนังสือวิชาโหราศาสตรไทยที่โหราจารยเขียนข้ึนเพื่อใชสอนในหองเรียน

บางวิชาอาจารย ก็อาจใหไปหาซ้ือหนังสือ และอุปกรณจากรานหนังสือทั่วไปได หรือเอาของเดิมที่นักศึกษามีอยูแลวได ซึ่งมักเปนอุปกรณพื้นฐานทั่ว ๆ ไป เชน ไพยิปซี ปฏิทินโหราศาสตร เปนตน

  

Page 93: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

80

ภาพที่ 5 อุปกรณในการพยากรณดวงชะตา จานคํานวณ กับปฏิทินโหราศาสตร ตําราโหราศาสตรที่มีการพิมพจําหนายอยางแพรหลาย ทําใหรูปแบบการศึกษาวิชาโหราศาสตรเปล่ียนไป เปนการหาซ้ือตํารามาศึกษาดวยตนเอง เชน คุณฟองสนาน จามรจันทร นักจัดรายการวิทยุที่ผันตัวมาศึกษาโหราศาสตร ก็ศึกษาจากตําราดวยตนเอง

ภาพที่ 6 ตําราโหราศาสตร ที่พิมพจําหนายใหผูสนใจนํามาศึกษาดวยตนเอง

  

Page 94: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

81

และในชวง พ.ศ. 2540 เปนตนมา ในแวดวงโหราศาสตรมีการนําระบบคอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ต มาใช โดยการเขียนโปรแกรมทํานาย เพียงแคกรอกขอมูลลงไป ระบบก็จะคํานวณตัวเลขและตําแหนงดวงดาวให นักโหราศาสตรก็เพียงแปลผลมาเปนคําพยากรณ ซึ่งทําใหสะดวก และเกิดความคลาดเคล่ือนในการคํานวณไดนอย เชน โปรแกรม มหาหมอดู ซึ่งผูเขียนโปรแกรม ก็เปนผูที่ศึกษาโหราศาสตร และมีความรูดานคอมพิวเตอร

ภาพที่ 7 โปรแกรมคํานวณและพยากรณโหราศาสตร มหาหมอดู ที่มา: มาหาหมอดู, โปรแกรมคํานวณและพยากรณโหราศาสตร, เขาถึงเมื่อ 26 มกราคม 2557, เขาถึงไดจาก http://www.mahamodo.com การเขามามีบทบาทของระบบคอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ต ทําใหการศึกษาโหราศาสตรแพรหลายมากย่ิงข้ึน สงผลใหแนวทางการศึกษาโหราศาสตรแบบเอาหนังสือเปนครูเร่ิมเปล่ียนไป โดยเปล่ียนไปสูการศึกษาการใชโปรแกรมประมวลผลทางดานโหราศาสตรแทน ในสังคมจึงมีนักพยากรณที่ไมไดผานระบบการเรียนจากสมาคมโหราศาสตรอยูสวนหนึ่ง แตผลเสียของการเอา ตําราเปนครู ก็คือ หลักวิชาและตําราหลาย ๆ อยางจะสาบสูญไป เพราะ การจัดพิมพหนงัสือยอมมี

  

Page 95: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

82

การจํากัดเฉพาะหัวเร่ือง ซึ่งไมสามารถอธิบายไดกวางขวางเชนเดียวกับ การพูดคุยตอหนา ดังนั้น หลักตาง ๆ ที่ไมไดจัดพิมพเอาไว ก็ยอมสาบสูญไป ยิ่งกวานั้น เมื่อเขาสูระบบคอมพิวเตอร คนก็ยอมสนใจเพียงแค ผลลัพธของคําทํานายมากกวา ศิลปะของการพยากรณ วิชาโหราศาสตรจึงยิ่งเส่ือมโทรมเร็วข้ึน ซึ่งในการศึกษาวิชาโหราศาสตรไทย โหราจารยของวงการโหราศาสตรไทย ไดสรุปหลักการเรียนโหราศาสตรใหมีความรอบรู และสามารถพยากรณไดทุกโอกาส (พิสณห สุรฤกษ, 2528: 267) ดังนี้ 1. ตองพยายามอานตํารับตําราใหมากที่สุดเทาที่จะมากได 2. ตองพยายามจดจํากฏเกณฑใหไดทุก ๆ กฏเกณฑ 3. ตองพยายามสังเกตและจดจําความเคลื่อนไหวของธรรมชาติ 4. ตองพยายามทดสอบ พิสูจน และคนควาอยูเสมอ ๆ 5. ตองบันทึกจดจํา และแสดงความคิดเห็น ขอสังเกตไวใหปรากฏ 6. ความรูทานจะหาไดจากการศึกษา สวนความชํานาญตองฝกฝนตนเอง ในสวนจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร โหราจารยจะสอนสอดแทรกไปในระหวางการเรียน รวมทั้งการประพฤติตัวใหเปนแบบอยางกับลูกศิษยดวย เร่ืองจรรยาบรรณนักโหราศาสตรไมไดมีการจัดช่ัวโมงสอนเร่ืองจรรยาบรรณอยางชัดเจน เนื้อหาเร่ืองนี้จะข้ึนอยูกับโหราจารยแตละคน เชน สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย จะระบุในเนื้อหาการเรียนอยางชัดเจนวาตองมีการเรียนรูเร่ืองจรรยาบรรณโหร และบางสมาคมจะมีการเผยแพรเร่ืองจรรยาบรรณโหร อาทิ สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย จะพิมพติดไวที่บอรดประชาสัมพันธ สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภจะพิมพไวที่ปกหลังในของนิตยสารพยากรณสาร ตางจากอดีตที่โหราจารยหรือพระสงฆจะรับใครมาเปนลูกศิษยวิชาโหราศาสตร ตองมีการตรวจสอบดวงชะตา วาเปนคนดี มีศีลธรรม ไมมีจิตคิดลางครู เมื่อเรียนจบตองมีการรับสัจจะ ไมเรียกรองเงินทองจากผูเดือดรอนที่มาพึ่งพิง (ศิริญญา สุจินตวงษ, 2554: 36-37) ซึ่งจากการสัมภาษณนายกสมาคม และโหราจารย ทั้ง 3 สมาคม ไมมีการตรวจดวงชะตาของผูสมัครอบรมโหราศาสตรกอน วาเหมาะสมกับการเรียน การนําวิชาโหราศาสตรไปใชพยากรณผูอ่ืนหรือไม ปจจุบันมีคนรุนใหมมีการศึกษาระดับปริญญา หลากหลายอาขีพ เปนทหาร ตํารวจ ทนายความ สถาปนิก พนักงานบริษัทหางรานเอกชน เขาเรียนวิชาโหราศาสตรที่สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ และมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภอยางไมขาดสาย ไมนับที่ไปเรียนกับชมรมโหราศาสตร และอาจารยทางโหราศาสตรที่เปดสอนเปนการสวนตัวอีก อยางเชน

  

Page 96: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

83

ที่สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ มีการเปดสอนโหราศาสตรสาขาตาง ๆ ทุกวันในแตละสัปดาห และมีการขยายสาขาเพ่ือเปดการสอนอีก 3 สาขา และแตละสมาคม ก็มีการขยายวิชาใหมีการเรียนรูที่ลึกซึ้งยิ่งข้ึน อยางเชน สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ ในป พ.ศ.2556 มีการเปดวิชาใหม 4 วิชา คือ โหราศาสตรไทยระบบธาตุ ใบไมพลังจิต โหราศาสตรไทยระบบนวางศจักร ยามอัฐกาล และช้ันฉาย (พยากรณสาร, 2556: 47) ตอนท่ี 4 ความคิดเห็นของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตรตอจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ผูวิจัยไดทําการศึกษาความคิดเห็นกลุมผูที่เคยรับบริการพยากรณโชคชะตาจาก นักโหราศาสตร ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จํานวน 30 คน โดยการสัมภาษณแบบไมเปนทางการ เกี่ยวกับจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร ประมวลเปนขอมูล สรุปไดดังรายละเอียดตอไปนี้

ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ เปนการประมวลขอมูล จําแนกตามเพศ อายุ ศาสนา ระดับการศึกษา อาชีพ สามารถสรุปรายละเอียดไดดังนี้ 1. เพศของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน (คน) รอยละ

ชาย 5 16.67 หญิง 25 83.33

รวม 30 100.00 (ประมวลผลจากการสัมภาษณผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร ป พ.ศ.2557) จากตารางที่ 1 สรุปไดวา ผูใหสัมภาษณเปนเพศชายจํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 16.67 และเปนเพศหญิง จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 83.33 ในการสัมภาษณคร้ังนี้ผูใหสัมภาษณสวนใหญเปนเพศหญิง เพราะมีจํานวนบุคคลที่มีประสบการณในการรับบริการพยากรณโหราศาสตร และใหความรวมมือในการใหสัมภาษณมากกวาเพศชาย

  

Page 97: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

84

2. อายุของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร จําแนกตามชวงอายุ

อายุ จํานวน (คน) รอยละ

ตํ่ากวา 20 ป 2 6.67

21-30 ป 9 30.00

31-40 ป 15 50.00

41-50 ป 3 10.00

51-60 ป 1 3.33

60 ปข้ึนไป - 0

รวม 30 100.00

(ประมวลผลจากการสัมภาษณผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร ป พ.ศ.2557) จากตารางที่ 2 สรุปไดวา ผูใหสัมภาษณทั้งเพศชายและเพศหญิง จําแนก เปนชวงอายุตํ่ากวา 20 ป จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 6.67 ชวงอายุ 21-30 ป จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 30.00 ชวงอายุ 31-40 ป จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 50.00 ชวงอายุ 41-50 ป จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 10.00 ชวงอายุ 51-60 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 3.33 โดยผูรับบริการพยากรณโหราศาสตรสวนใหญอยูในชวงอายุ 31-40 ป

  

Page 98: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

85

3. ศาสนาของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละการนับถือศาสนาของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร จําแนก ตามศาสนา

ศาสนา จํานวน (คน) รอยละ

พุทธ 30 100.00 คริสต - - อิสลาม - - ซิกข - -

รวม 30 100.00 (ประมวลผลจากการสัมภาษณผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร ป พ.ศ.2557)

จากตารางที่ 3 สรุปไดวาผูใหการสัมภาษณทั้ง 30 คน คิดเปนรอยละ 100.00 นับถือศาสนาพุทธ แสดงใหเห็นวาคนที่นับถือศาสนาพุทธมีการไปรับการบริการพยากรณโหราศาสตรเปนจํานวนมาก 4. ระดับการศึกษาของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละ ระดับการศึกษาของผูใหสัมภาษณ จําแนกตามระดับ

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละ

ตํ่ากวา ป.6 - - ม.ตน-ม.ปลาย 3 10.00 อนุปริญญาหรือเทียบเทา 1 3.33 ปริญญาตรี 17 56.67 ปริญญาโท 8 26.67 ปริญญาเอก 1 3.33

รวม 30 100.00 (ประมวลผลจากการสัมภาษณผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร ป พ.ศ.2557)

  

Page 99: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

86

จากตารางที่ 4 สรุปไดวา ผูใหสัมภาษณ มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน-มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 10 การศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเทา จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 3.33 การศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 56.67 การศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 26.67 การศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 3.33 พบวา ผูรับบริการพยากรณโหราศาสตรสวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี 5. อาชีพของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละ อาชีพของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร จําแนกตามอาชีพ

อาชีพ จํานวน (คน) รอยละ

รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 10 33.33 ธุรกิจสวนตัว/คาขาย 3 10.00 นักศึกษา 1 3.33 พนกังานบริษทัเอกชน 16 53.37

รวม 30 100.00 (ประมวลผลจากการสัมภาษณผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร ป พ.ศ.2557) จากตารางที่ 5 สรุปไดวา ผูใหสัมภาษณ ประกอบอาชีพรับราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 33.33 ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัวหรือคาขาย จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 10 อยูระหวางการศึกษา จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 3.33 และประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 53.37 โดยกลุมอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนไปรับบริการพยากรณโหราศาสตรมากที่สุด

ขอมูลเกี่ยวกับการไปรับบริการพยากรณโชคชะตาจากนักโหราศาสตร เปนการประมวลขอมูลจากความคิดเห็นของผูไปรับบริการพยากรณ สามารถสรุปรายละเอียดไดดังนี้ 1. วัตถุประสงคของผูมารับบริการพยากรณ ผูมารับบริการพยากรณ มีวัตถุประสงคในการเลือกรับบริการดวยเหตุผลที่แตกตางกัน สรุปไดดังนี้   

Page 100: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

87

1.1 อยากรู อยากหาคําตอบในส่ิงที่สงสัย ซึ่งเปนเร่ืองในอนาคต เชน แนวทางในการใชชีวิต อยากรูวาส่ิงที่คาดหวังจะไดหรือไม เพื่อจะไดนํามาปรับแกไขเร่ืองในปจจุบันใหดีข้ึน 1.2 ตองการคําปรึกษา ใหเกิดความมั่นใจในการตัดสินใจแกปญหาในชีวิต ที่คิดหาหนทางไมได 1.3 ไมไดต้ังใจมารับบริการพยากรณ แตเพื่อน คนในครอบครัวชวนไปดู 1.4 อยากทดสอบวาหมอดูใหคําพยากรณที่แมนยําจริงหรือไม 2. วิธีการพยากรณของนักโหราศาสตร ผูรับบริการพยากรณ มีการใชบริการพยากรณโหราศาสตรหลากหลายรูปแบบ ซึ่งแตละวิชามีรูปแบบแตกตางกัน สามารถสรุปเปนวิธีการพยากรณภาพรวมไดดังนี้ 2.1 นักโหราศาสตร จะถามขอมูลวัน เดือน ปพ.ศ.ที่เกิด และเวลาตกฟาก เพื่อนําไปผูกดวงชะตา 2.2 นักโหราศาสตรผูกดวงเสร็จ จะทํานายภาพรวมของชีวิตกอนเปนเร่ือง บุคลิกนิสัย พื้นฐานจิตใจ ความคิด การประกอบอาชีพ ฯลฯ หรือเร่ืองที่โดดเดน ตรงกับสิงที่เจาชะตาตองพบเจอในชวงระยะเวลาไมนานหลังการทํานาย 2.3 นักโหราศาสตรทํานายเรื่องครอบครัว การงาน ทรัพยสินเงินทอง สุขภาพ ความรัก โชคลาภ อุบัติเหตุ 2.4 นักโหราศาสตรเปดโอกาสใหผูรับบริการสอบถอมเร่ืองที่อยากรูนอกเหนือจากที่ไดพยากรณไวต้ังแตตน 3. เรื่องที่ใหนักโหราศาสตรพยากรณ ผูรับบริการพยากรณ มักจะใหนักโหราศาสตรพยากรณในเร่ืองที่ตองการรู สามารถสรุปไดดังนี้ 3.1 การงาน 3.2 คูครอง/ความรัก 3.3 สุขภาพ/อุบัติเหตุ 3.4 โชคลาภ 3.5 เคราะหกรรม

  

Page 101: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

88

4. วิชาโหราศาสตรที่เลือกพยากรณ ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละ วิชาโหราศาสตรที่ผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร เลือกรับบริการ

พยากรณจากนักโหราศาสตร จําแนกตามวิชา ในผูรับบริการณ 1 คนอาจเลือกใชการพยากรณมากกวา 1 วิชา

วิชาโหราศาสตร จํานวน (คน) รอยละ

โหราศาสตรไทย 9 30.00 ลายมือ 10 33.33 ไพยิปซี 8 26.67 ไพปอก 5 16.67 โหวงเฮง 1 3.33 เลข 7 ตัว 6 20.00 กราฟชีวิต 3 10.00

รางทรง/จิตสัมผัส 4 13.33 (ประมวลผลจากการสัมภาษณผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร ป พ.ศ.2557) จากตารางที่ 6 สรุปไดวา ผูใหสัมภาษณ เลือกวิชาโหราศาสตรในการพยากรณโชคชะตาตนเอง วิชาโหราศาสตรไทย จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 30.00 วิชาลายมือ จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 33.33 วิชาไพยิปซี จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 26.67 วิชาไพปอก จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 16.67 วิชาโหวงเฮง จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 3.33 วิชาเลข 7 ตัว จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 20.00 วิชากราฟชีวิต จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 10.00 รางทรง/จิตสัมผัสจํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 13.33 จากขอมูลดังกลาว พบวา ผูรับบริการพยากรณ ไมไดเช่ือหรือเลือกวิชาโหราศาสตรเพียงวิชาเดียวในการพยากรณ โดยวิชาที่มีผูรับบริการพยากรณใชมากที่สุดคือ ลายมือ รองลงมาคือ โหราศาสตรไทย และ ไพยิปซี

  

Page 102: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

89

ขอมูลเกี่ยวกับสภาพการณนักโหราศาสตรในปจจุบัน เปนการประมวลขอมูลความคิดเห็นของผูไปรับบริการพยากรณในเร่ืองคุณคาของโหราศาสตรในปจจุบัน สามารถประมวลขอมูลไดดังนี้ 1. คุณคาของโหราศาสตร ผูรับบริการพยากรณสวนใหญ มีความเห็นวานักโหราศาสตรเปนเหมือนจิตแพทย เปนที่ปรึกษาทางใจ ใหคําปรึกษา แนะนําการใชชีวิต เชื่อมโยงกับหลักศาสนา ทําใหคนเช่ือเร่ืองบุญ กรรมชี้นําใหคนทําความดี เปนการสืบสานความรูภูมิปญญาโบราณ สามารถนําไปประกอบอาชีพได ในขณะที่บางคนมีความคิดเห็นวา โหราศาสตรไมมีคุณคากับสังคมวงกวางเพราะมีประโยชนเฉพาะกับคนที่เชื่อ 2. ปญหาท่ีพบจากการรับบริการพยากรณ ผูรับบริการพยากรณเคยพบกับปญหาจากการไปใชบริการพยากรณจากนักโหราศาสตร ดังนี้ 1. หมอดู ทายไมแมน 2. หมอดูไมมีคุณธรรม หลอกลวง 3. คาดูแพงเกินไป ไมมีราคามาตรฐาน 4. หมอดูมักจะโนมนาวคนดูใหทําบางอยางตามหมอ เชน ทําบุญ ซื้อของ 5. หมอดูแตละคนดูไมตรงกัน เชนเร่ืองเวลาเกิดหมอบางคนก็บอกวันนี้ บางคนก็บอกวันพรุงนี้ 6. หมอดูไมคอยมีความรูจริงในวิชาที่ดู 7. หมอดูมุงแตหาเงินมากกวาชวยคน 8. หมอดูแมน ๆ หายาก 9. หมอดู หรือ คําทํานายมีเยอะตามส่ือตาง ๆ จะเลือกเช่ืออันไหน อันไหนแมน ขอมูลเกี่ยวกับแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร เปนการประมวลขอมูล ความคิดเห็นของผูไปรับบริการพยากรณ ในเร่ืองความคาดหวังใหนักโหราศาสตรมีจรรยาบรรณอะไร และควรมีแนวทางในการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตรอยางไร สามารถสรุปรายละเอียดไดดังนี้

  

Page 103: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

90

จรรยาบรรณที่ผูมารับบริการพยากรณ คิดวานักโหราศาสตรควรมีและนํามาปฏิบัติในการพยากรณโชคชะตา มีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 7 จริยธรรมที่ผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร อยากใหนักโหราศาสตรมี

ดานจิตใจ ดานพฤติกรรม

ถือศีล ยึดหลักธรรมะ เก็บความลับคนที่มาดู มีจิตใจคิดชวยเหลือคนอ่ืน ไมหลอกลวงเอาเงินทอง มีคุณธรรม ความซ่ือสัตย ไมซ้ําเติมความทุกขคนที่มาดู ใหคําปรึกษา แนะนําทางออก ตองทายแมน 80% ของเร่ืองราวทั้งหมด ไมพูดจารุนแรงใหหวาดกลัว เสียขวัญ ซื่อสัตยตอวิชาชีพ มีความรูแมนยําในหลักวิชาที่นํามาทํานาย ไมเรียกเงินทําบุญ หรือ ขายวัตถุมงคลเพิ่ม ไมทําพิธีไสยศาสตร ไมพูดทับถมหมอดูคนอ่ืน ไมควรนัดใหผูที่มาดูใหกลับมาดูดวงอีก ไมโฆษณาเกินตัว แนะนําใหคนทําความดี ใหคนเชื่อบุญบาปกรรม ส่ังสอนใหคนพึ่งตนเองไมใชรอจากโชคชะตาอยางเดียว หามโกหก ยึดจรรยาบรรณ 3 ขอของโหร

(ประมวลผลจากการสัมภาษณผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร ป พ.ศ.2557)

  

Page 104: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

91

ผูสัมภาษณไดใหความคิดเห็น ในการปรับปรุงพัฒนาจริยธรรมของนักโหราศาสตร ผูรับบริการพยากรณ ไดเสนอแนะแนวทาง ไวดังนี้ ตารางที่ 8 แนวทางการพัฒนาจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร

แนวทาง ผูรับผิดชอบ

ควรมีสภาวิชาชีพ แลวออกใบรับรองเพื่อควบคุมวิชาความรูหมอดูสรางความภาคภูมิใจในวิชาชีพโหราศาสตร กอต้ังเปนสถาบันนักโหราศาสตร นักโหราศาสตรตองสรางคุณคาใหคนในสังคมเห็นวาวิชาโหราศาสตรมีคุณคาตอสังคม

มี ห น ว ย ง า น รั บ ร อ ง ค ว า ม รู และหนวยงาน รัฐคอยควบคุมจัดการกระทรวงวัฒนธรรม

พัฒนาจิตสํานึกสวนบุคคลของตัวหมอ

ข้ึนทะเบียนหมอดู โดยหนวยงานรัฐเพื่อใหคนมั่นใจ และหมอดูจะไดไมกลาทําผิด

ควรมีจรรยาบรรณและควบคุมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ

มีสมาคม ออกใบประกาศนียบัตรและมีใบสมาชิกที่ผานการอบรมทําใหมั่นใจวาไมถูกหลอก

ถาเปนหมอดูอาชีพ ที่ทํามาหากิน ควรมีการข้ึนทะเบียนวิชาชีพ เพื่อรับรองความรู มีการควบคุมวิชาชีพโหร มีกฏหมายควบคุม

กระทรวงวัฒนธรรม

ควรมีใบอนุญาต มีใบรับรองความรู ความประพฤติจากสมาคมโหราศาสตรควรกําหนดราคามาตรฐานในการไปดูหมอ เพื่อใหคนรูทั่วกัน

สมาคมโหราศาสตร

ถาเปนหมอดูพื้นบาน ไมควรข้ึนทะเบียนเพราะข้ึนอยูกับความศรัทธาของคนที่ไปดู

ไมตองจัดการอะไร

หมอดูควรศึกษาวิชาโหราศาสตรหลาย ๆ วิชาเพื่อการทํานายที่ใชหลาย ๆ วิชาจะไดตรวจสอบความแมนยํา และสมาคมควรทดสอบความรูกอนที่หมอดูจะออกมาทํานายชีวิตคน เหมือนแพทย

มาดูหมอตองมีวิจารณญาณ ถาหมอแนะนําให ไปทําบุญก็ตองพิจารณาวาใชห รือไม เชน ใหทําบุญ 1,000 บาท ใหทําบุญดวยรมเลือกดูหมอมีอายุหรือ ที่มีคนแนะนําวาแมน

  

Page 105: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

92

ตารางที่ 8 แนวทางการพัฒนาจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ของผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร (ตอ)

แนวทาง ผูรับผิดชอบ

ควรมีการกระตุนจิตสํานึกของหมอดูใหยึดหลักคุณธรรม หลักศาสนาพุทธปลูกฝง ความซื่อสัตย จรรยาบรรณ ต้ังแตตอนที่อบรมวิชาโหราศาสตร หมอดูควรมีความรูทางจิตวิทยา หมอดูตองใหเกียรติกับวิชาที่เรียน

สมาคมโหราศาสตร

ควรมีสมาคมใหญ 1 แหง ทําหนาที่ดูแลโหรแตจะทําไดยากมากเพราะตอนน้ีมีโหรหลายสมาคม และบางคนก็เรียนจากพอแม ผูเฒา โหรไมไดมาจากสมาคมทั้งหมด

สมาคมโหราศาสตร

มีหนวยงานกํากับ ไมใหเกิดการหลอกลวงท้ังคําทํานาย และเงินทอง

เจ าหน าที่ ตํ า รวจกับกระทรวงวัฒนธรรม

สมาคมที่เปดสอน พาไปปฏิบัติธรรม ใหเปนคนดี มีศีลธรรมในตัวเอง เพราะเปนเร่ืองภายในตัวตน จรรยาบรรณเปนเร่ืองทางจิตใจ

หนวยงานภาครัฐเขามาจัดระเบียบ

การจัดการจรรยาบรรณ อยูที่จิตสํานึกของหมอดูเอง เรียนใหเปนเร่ืองราว จริงจัง มีใบรับรองความรูจากสถานที่เรียน และควรทําเปนจรรยาบรรณวิชาชีพเพราะมีผลตอชีวิตคนที่มาดูดวงชะตา ควรข้ึนทะเบียนบรรจุการดูหมอไวในหนวยงานที่รับผิดชอบการใชสินคา บริการ

หนวยงานที่ รับผิดชอบการดูแลผูบริโภคสินคาและบริการ

(ประมวลผลจากการสัมภาษณผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร ป พ.ศ.2557) ตอนท่ี 5 ความคิดเห็นของอาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตรและวิชาการพยากรณตอการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร ผูวิจัยไดทําการศึกษาความคิดเห็นอาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตร หรือโหราจารย ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จาก 4 องคกรที่สอนวิชาโหราศาสตร รวมจํานวน 8 คน โดยการสัมภาษณแบบเปนทางการ เกี่ยวกับการถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตร แนวทางจัดทําจรรยาบรรณนกัโหราศาสตร ประมวลเปนขอมูล สรุปไดดังรายละเอียดตอไปนี้   

Page 106: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

93

ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ เปนการประมวลขอมูล จําแนกตามเพศ อายุ ศาสนา ระดับการศึกษา อาชีพ สามารถสรุปรายละเอียดไดดังนี้ 1. เพศของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้

ตารางที่ 9 จํานวนและรอยละ ของโหราจารยจําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน (คน) รอยละ

ชาย 4 50.00 หญิง 4 50.00

รวม 8 100.00

(การประมวลผลจากการสัมภาษณโหราจารย ป พ.ศ. 2557)

จากตารางที่ 9 สรุปไดวา ผูใหสัมภาษณเปนเพศชายจํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 50.00 และเปนเพศหญิง จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 50.00 ในการสัมภาษณคร้ังนี้ ผูใหสัมภาษณทั้งชายและหญิงมีสัดสวนที่เทากันแสดงใหเห็นวาไมไดมีการจํากัดเร่ืองเพศในการเปนโหราจารยถายทอดวิชาโหราศสาตร 2. อายุของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้

ตารางที่ 10 จํานวนและรอยละของโหราจารยจําแนกตามชวงอายุ

อายุ จํานวน (คน) รอยละ

ตํ่ากวา 20 ป - - 21-30 ป - - 31-40 ป 1 12.50 41-50 ป - - 51-60 ป 7 87.50 60 ปข้ึนไป - -

รวม 8 100.00

(การประมวลผลจากการสัมภาษณโหราจารย ป พ.ศ. 2557)   

Page 107: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

94

จากตารางที่ 10 สรุปไดวา ผูใหสัมภาษณทั้งเพศชายและเพศหญิง จําแนกเปนชวงอายุ ชวงอายุ 31-40 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 12.50 ชวงอายุ 51-60 ป จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 87.50 โดยโหราจารยสวนใหญอยูในชวงอายุ 51-60 ป 3. ศาสนาของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้

ตารางที่ 11 จํานวนและรอยละการนับถือศาสนาของโหราจารยจําแนกตามศาสนา

ศาสนา จํานวน (คน) รอยละ พุทธ 8 100.00 คริสต - - อิสลาม - - คริสต - - ซิกข - -

รวม 8 100.00

(การประมวลผลจากการสัมภาษณโหราจารย ป พ.ศ. 2557)

จากตารางที่ 11 สรุปไดวา ผูใหการสัมภาษณทั้ง 8 คน คิดเปนรอยละ 100.00 นับถือศาสนาพุทธ แสดงใหเห็นวาในกลุมโหราจารยไมมีผูนับถือศาสนาอ่ืน ๆ เลย 4. ระดับการศึกษาของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้

ตารางที่ 12 จํานวนและรอยละ ระดับการศึกษาของโหราจารย จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละ ตํ่ากวา ป.6 - - ม.ตน-ม.ปลาย - - อนุปริญญาหรือเทียบเทา 1 12.50 ปริญญาตรี 6 75.00 ปริญญาโท 1 12.50 ปริญญาเอก - -

รวม 8 100.00

(การประมวลผลจากการสัมภาษณโหราจารย ป พ.ศ. 2557)   

Page 108: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

95

จากตารางที่ 12 สรุปไดวา ผูใหสัมภาษณ มีการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเทา จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 12.50 การศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 75.00 การศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 12.50 โดยโหราจารยสวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี 5. อาชีพของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 13 จํานวนและรอยละ อาชีพของโหราจารย จําแนกตามอาชีพ

อาชีพ จํานวน (คน) รอยละ รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 2 25.00 ธุรกิจสวนตัว/คาขาย - - นักโหราศาสตร 6 75.00 พนกังานบริษทัเอกชน - -

รวม 8 100.00 (การประมวลผลจากการสัมภาษณโหราจารย ป พ.ศ. 2557) จากตารางที่ 13 สรุปไดวาผูใหสัมภาษณ ประกอบอาชีพรับราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 25 ประกอบอาชีพนักโหราศาสตร จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 75 โดยพบวาโหราจารยสวนใหญประกอบอาชีพนักโหราศาสตร ขอมูลเกี่ยวกับการเรียนรูโหราศาสตร เปนการประมวลขอมูลความคิดเห็นของโหราจารยเกี่ยวกับการเขามาเปนนักโหราศาสตร สามารถประมวลขอมูลไดดังนี้ การเรียนรูวิชาโหราศาสตรของโหราจารย พบวา สวนใหญจะเ ร่ิมเรียนรูวิชาโหราศาสตรในชวงที่มีหนาที่การงานที่มั่นคง หรือมีครอบครัวแลว โดยมาจากความสนใจสวนตัวเปนหลัก และอยากรูวาวิชาโหราศาสตรนี้เชื่อถือไดหรือไม โดยเขามาเรียนรูกับสมาคมโหราศาสตร หรือ เรียนเปนการสวนตัวกับโหราจารย แลวจึงเขามาเรียนรูตอที่สมาคมโหราศาสตร เมื่อเรียนจบในแตละหลักสูตรแลว ก็เรียนหลักสูตรอ่ืนเพิ่มเติม จนมีความรู ความเชี่ยวชาญ ในระหวางนี้มีการชวยในกิจการของสมาคมไปพรอม ๆ กันดวย จากนั้นโหราจารยที่สอนมาจึงจะผลักดันใหมาเปน

  

Page 109: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

96

โหราจารยสอนวิชาโหราศาสตรที่มีความเช่ียวชาญที่สมาคมโหราศาสตร เปนกระบวนการกล่ันกรองความรู ความประพฤติ การเรียนวิชาโหราศาสตร พบวา สวนมากเรียนในหองเรียน โดยมีโหราจารยบรรยายประกอบเอกสารวิชาโหราศาสตรที่โหราจารยเขียนข้ึนมาเอง และมีการฝกปฏิบัติพยากรณกับเพื่อนที่เรียนดวยกันและการไปชวยกิจกรรมพยากรณการกุศลของสมาคมโหราศาสตร โดยเมื่อเรียนจบแลวไดรับใบวุฒิบัตร มีการติดตอกับโหราจารยสอบถามขอสังสัยในวิชาความรูเปนประจํา และกลับมาพบปะกันระหวางเพื่อนที่ เ รียน โหราจารย ในงานไหวครูประจําปของสมาคมโหราศาสตร จรรยาบรรณที่ไดรับการถายทอด พบวามีเรื่องขอหามคือการหามทายสามีภรรยาวาไมใชเนื ้อคู ก ัน หามทายการสิ ้นอายุขัย หามทายอนาคตเด็ก ที ่พ อแมจะพึ ่งพิงได ซึ ่งหลักจรรยาบรรณเหลานี้ โหราจารยที่ใหการสัมภาษณ มี 2 กลุม คือผูที่จะไมพยากรณเร่ืองเหลานี้เลย และผูที่เห็นวาสามารถพยากรณได แตตองใชคําพูดที่ไมรุนแรง ไมตัดสินตรง ๆ ซึ่งเหตุผลทั้ง 2

กลุ มความเห็นนี ้ม ีความคิดเห็นตรงกันคือ เปนเรื ่องละเอียดออน ตองอาศัยความรู ว ิชาโหราศาสตรที่ลึกซึ้งมากพอ และเรื่องเหลานี้มีปจจัยหลายประการที่อาจทําใหไมเปนตามคําพยากรณเพราะดวงชะตาตองมีการกระทําประกอบดวยจึงจะเกิดผล โดยสรุปแลวจรรยาบรรณ 3

เรื่องนี้ นักโหราศาสตรจะไมพยากรณตรง ๆ และยังมีขอปฏิบัติในการพยากรณมักเรียกกันวามรรยาทโหร ซึ่งมีหลายประการซ่ึงผูวิจัยไดสรุปไวในหัวขอจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร วิธีการพยากรณนั้นโดยทั่วไปผูมารับบริการพยากรณตองเตรียมขอมูลวันเดือนปเกิด และเวลาเกิด สถานที่เกิด มาใหนักโหราศาสตรคํานวณ จากนั้นนักโหราศาสตรจะเร่ิมทํานายพื้นดวงชะตา วาทั้งชีวิตต้ังแตเกิดจนส้ินอายุขัยการดําเนินชิวิตเปนอยางไร พื้นฐานความคิด จิตใจ จากนั้นจึงพยากรณเร่ืองในปจจุบันที่จะเกิดข้ึนในชวงป วามีเร่ืองที่โดดเดนอะไรบาง เปนเร่ืองราย หรือเร่ืองดี ซึ่งเร่ืองที่พยากรณมักเปนเร่ืองการงาน การเงิน ความรักหรือครอบครัว สุขภาพ อุบัติเหตุ ซึ่งในเร่ืองรายนั้นนักโหราศาสตรตองมีคําช้ีแนะแนวทางแกไขไวดวย สวนมากจะเปนการแนะนําใหไปทําบุญดวยตนเอง แตจะเปนการทําบุญที่สอดคลองกับชะตาของผูมารับบริการพยากรณ ขอมูลเกี่ยวกับสภาพการณนักโหราศาสตรในปจจุบัน เปนการประมวลขอมูลความคิดเห็นของโหราจารยเกี่ยวกับคุณคา บทบาทของนักโหราศาสตร การถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตรใหกับผูที่มาเรียนวิชาโหราศาสตร การควบคุมจรรยาบรรณของสมาคมโหราศาสตร

  

Page 110: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

97

จากขอมูลการสัมภาษณ พบวานักโหราศาสตรในปจจุบันมีคุณคาและบทบาทตอคนในสังคมคือการเปนที่ปรึกษาทางใจ ชวยช้ีแนะแนวทางแกไขปญหาที่เกิดข้ึนกับผูที่มารับบริการพยากรณ ซึ่งเปนการชี้นําใหประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรมของสังคม ชี้นําใหใชปญญาในการตัดสินใจ เพราะคนสวนใหญที่เขามาหานักพยากรณจะมีปญหา มีความทุกขใจ ไมไดใชปญญาในการคิดหาทางแกไข ซึ่งการช้ีแนะแนวทางแกไขปญหาจะอิงกับหลักวิชาโหราศาสตร ดวงดาวบอกอยางไร ก็นํามาอธิบายตามหลักวิชา และแนวทางปฏิบัติที่ดีของสังคม ซึ่งผลที่เกิดข้ึนกับผูมารับบริการพยากรณคือเกิดความสบายใจ ไดแนวทางปฏิบัติที่ดีในการดําเนินชีวิต การถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตรของโหราจารยแตละสมาคม สูผูที่มาเรียนนั้นใชวิธีการประพฤติตนใหเปนแบบอยาง และบอกกลาวในชั้นเรียน ซึ่งมีความแตกตางกันตามลักษณะวิธีการสอนของโหราจารยแตละคน บางคนจะบอกกลาวในช่ัวโมงแรกของการเรียนโหราศาสตร บางคนทําเปนเอกสารแจก หรือเปนสวนหน่ึงในเอกสารประกอบการสอน ซึ่งจะมีจรรยาบรรณโหร 3 ประการ คือการหามทายสามีภรรยาวาไมใชเนื้อคูกัน หามทายการสิ้นอายุขัย หามทายอนาคตเด็ก ที่พอแมจะพึ่งพิงได และมีขอปฏิบัติอ่ืน ๆ เชน การซื่อสัตยตอวิชา ครูบาอาจารย และตอผูที่มารับบริการพยากรณ การหามเรียกทรัพยสินเงินทองนอกเหนือจากคาบริการพยากรณดวงชะตา การหามทับถมวิชาความรูนักโหราศาสตรคนอ่ืน สํานักอื่น เปนตน การควบคุมจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ในแตละสมาคมจะมีคณะกรรมการสมาคม ที่รวมกันดูแลเร่ืองเหลานี้ จากการสัมภาษณแตละสมาคมไมเคยมีกรณีสมาชิกของสมาคมไปทําการหลอกลวง ประพฤติผิดจรรยาบรรณ ที่สมาคมตองลงโทษ ซึ่งหากมีกรณีที่ตองลงโทษนั้น สมาคมก็มีโทษสูงสุดคือใหออกจากการเปนสมาชิกสมาคมเทานั้น และในสวนของมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภนั้น ไมมีระเบียบควบคุมเพราะไมมีการรับสมาชิกทําหนาที่เปนสถาบันถายทอดความรูโหราศาสตรเพียงอยางเดียว ขอมูลเกี่ยวกับแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร เปนการประมวลขอมูลความคิดเห็นของโหราจารยเกี่ยวกับการพัฒนาจรรยาบรรณนักโหราศาสตรใหเหมาะสมเปนประโยชนกับคนในสังคม จากการสัมภาษณอาจารยผูสอนในสมาคมหรือโหราจารย พบวามีความคิดเห็นที่สอดคลองกันหลายประเด็น สรุปไดดังนี้ 1. คนที่จะเปนนักโหราศาสตรตองมีมาตรฐานคือ ผานการเรียนจากสมาคมโหราศาสตร ซึ่งในการจัดการเรียนโหราศาสตรของแตละสมาคมตองมีมาตรฐานในการสอบความรูพรอมออกใบวุฒิบัตรรับรองความรู ซึ่งขณะนี้ทุกสมาคมโหราศาสตร และมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทยฯ มีการดําเนินการอยูแลว

  

Page 111: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

98

2. จรรยาบรรณนักโหราศาสตร ตองมีองคกรอ่ืนมากํากับจรรยาบรรณ เชน จรรยาบรรณแพทยมีแพทยสภา เปนหนวยงานคอยตรวจสอบ ตองมีการจัดต้ังองคกรในลักษณะนี้กอนถึงจะจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตรได 3. จรรยาบรรณนักโหราศาสตรควรมี แตไมรูวาใครควรเปนทํา และหนวยงานไหนควรรับผิดชอบ ตอนท่ี 6 ความคิดเห็นของนายกสมาคมโหราศาสตรตอการจัดทําจรรยาบรรณของ นักโหราศาสตร ผูวิจัยไดทําการศึกษาความคิดเห็นนายกสมาคมโหราศาสตร และประธานมูลนิธิ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จาก 4 องคกรที่สอนวิชาโหราศาสตร รวมจํานวน 4 คน โดยการสัมภาษณแบบเปนทางการ เกี่ยวกับการดําเนินงานของสมาคม การถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตร แนวทางจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ประมวลเปนขอมูล สรุปไดดังรายละเอียดตอไปนี้ ขอมูลท่ัวไปของผูใหสัมภาษณ เปนการประมวลขอมูล จําแนกตามเพศ อายุ ศาสนา ระดับการศึกษา อาชีพ สามารถสรุปรายละเอียดไดดังนี้ 1. เพศของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 14 จํานวนและรอยละ ของนายกสมาคมโหราศาสตร จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน (คน) รอยละ

ชาย 3 75.00 หญิง 1 25.00

รวม 4 100.00 (การประมวลผลจากการสัมภาษณนายกสมาคมโหราศาสตร ป พ.ศ. 2557) จากตารางที่ 14 สรุปไดวา ผูใหสัมภาษณเปนเพศชายจํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 75.00 และเปนเพศหญิง จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 25.00 โดยพบวานายกสมาคมสวนใหญเปนเพศชาย 2. อายุของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้

  

Page 112: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

99

ตารางที่ 15 จํานวนและรอยละของนายกสมาคมโหราศาสตร จําแนกตามชวงอายุ

อายุ จํานวน (คน) รอยละ ตํ่ากวา 20 ป - - 21-30 ป - - 31-40 ป - - 41-50 ป - - 51-60 ป 2 50.00 60 ปข้ึนไป 2 50.00

รวม 4 100.00 (การประมวลผลจากการสัมภาษณนายกสมาคมโหราศาสตร ป พ.ศ. 2557) จากตารางที่ 15 สรุปไดวาผูใหสัมภาษณทั้งเพศชายและเพศหญิง จําแนกเปนชวงอายุ ชวงอายุ 51-60 ป จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 50 ชวงอายุ 60 ปข้ึนไป จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 50 โดยนายกสมาคมจะมีอายุมากเกือบ 60 ปข้ึนไป 3. ศาสนาของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 16 จํานวนและรอยละการนับถือศาสนาของนายกสมาคมโหราศาสตร จําแนกตาม ศาสนา

ศาสนา จํานวน (คน) รอยละ พุทธ 4 100.00 คริสต - - อิสลาม - - คริสต - - ซิกข - -

รวม 4 100.00 (การประมวลผลจากการสัมภาษณนายกสมาคมโหราศาสตร ป พ.ศ. 2557) จากตารางที่ 16 สรุปไดวาผูใหการสัมภาษณทั้ง 4 คน คิดเปนรอยละ 100.00 นับถือศาสนาพุทธ แสดงใหเห็นวานายกสมาคมโหราศาสตรทุกคนนับถือศาสนาพุทธ   

Page 113: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

100

4. ระดับการศึกษาของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้

ตารางที่ 17 จํานวนและรอยละ ระดับการศึกษาของนายกสมาคมโหราศาสตร จําแนกตาม ระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละ ตํ่ากวา ป.6 - - ม.ตน-ม.ปลาย - - อนุปริญญาหรือเทียบเทา - - ปริญญาตรี 2 50.00 ปริญญาโท 2 50.00 ปริญญาเอก - -

รวม 4 100.00

(การประมวลผลจากการสัมภาษณนายกสมาคมโหราศาสตร ป พ.ศ. 2557) จากตารางที่ 17 ผูใหสัมภาษณ มีการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 50.00 การศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 50 โดยพบวานายกสมาคมโหราศาสตรเปนผูมีการศึกษาในระดับสูง 5. อาชีพของผูใหสัมภาษณ สรุปไดดังนี้

ตารางที่ 18 จํานวนและรอยละ อาชีพของผูใหสัมภาษณ จําแนกตามอาชีพ

อาชีพ จํานวน (คน) รอยละ รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ - - ธุรกิจสวนตัว/คาขาย - - นักโหราศาสตร 3 75.00 พนกังานบริษทัเอกชน - - นักวชิาการอิสระ 1 25.00

รวม 4 100.00

(การประมวลผลจากการสัมภาษณนายกสมาคมโหราศาสตร ป พ.ศ. 2557)

  

Page 114: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

101

จากตารางที่ 18 สรุปไดวาผูใหสัมภาษณ ประกอบอาชีพนักโหราศาสตร จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 75 ประกอบอาชีพนักวิชาการอิสระ จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 25 โดยพบวานายกสมาคมโหราศาสตร สวนใหญประกอบอาชีพนักโหราศาสตรเปนอาชีพหลัก

ขอมูลเกี่ยวกับการเรียนรูโหราศาสตร เปนการประมวลขอมูลความคิดเห็นของนายกสมาคมโหราศาสตรเกี่ยวกับการเขามาเปนนักโหราศาสตร สามารถประมวลขอมูลไดดังนี้ การเรียนรูวิชาโหราศาสตร นายกสมาคมโหราศาสตรที่เปนผูชายจะเร่ิมสนใจวิชาโหราศาสตรต้ังแตอยูในชวงวัยรุน และมีชวงชีวิตที่ผูกพันธใกลชิดกับศาสนาพุทธ เชน อาจารยธนกร สินเกษม และอาจารยอารี สวัสดี เร่ิมเรียนในชวงเวลาที่บวชเรียนที่วัด หรืออาจารยภิญโญ พงศเจริญ ที่มาจากตางจังหวัดเพื่อมาเรียนหนังสือที่กรุงเทพมหานคร ไดใหสัมภาษณวา

เรียนมาต้ังแตเด็ก สมัยเด็กเรียนท่ีสงขลา พอจบม.3 ก็ขึ้นมาอยูกรุงเทพกับลุงคือทานเจาคุณอุดมศีลคุณ (เสริม) ท่ีวัดบูรณศิริ บริเวณคลองหลอด ทานเปนพระ เปนนักโหราศาสตร ทานก็มีลูกศิษยมาขอฤกษ มีปญหามาปรึกษา ทานก็ชวยดูชวยสงเคราะห ผมก็ชวยผูกดวงใหทาน แลวทานเปนผูพยากรณ ทํามาต้ังแตสมัยเรียน และมีโหรคนอื่น ๆ เขาก็เขาไปกราบ เขาไปศึกษา เราก็ไดฟงคําสนทนา ฟงการพยากรณ ก็เร่ิมเรียนมาต้ังแตตรงน้ัน (ภิญโญ พงศเจริญ, 2557)

การเรียนวิชาโหราศาสตร เปนการเรียนกับโหราจารยโดยตรง ตําราโหราศาสตรก็มีอยูบางแตไมมากเทากับในปจจุบัน ซึ่งขณะนั้นมีสมาคมโหรแหงประเทศไทยฯ ที่เปดการสอนดวย ซึ่งอาจารยธนกร สินเกษม ไดมาเรียนกับสมาคมโหรแหงประเทศไทย และอาจารยฐานิกาพิชญศา เอกนาม ไดเร่ิมเรียนกับสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย เปนการเรียนที่มีระบบการสอนเปนชั่วโมง มีหลักสูตรการเรียนชัดเจน จรรยาบรรณที่ไดรับการถายทอด พบวามีเร่ืองขอหามเดียวกันกับโหราจารยที่ยึดถือคือการหามทายสามีภรรยาวาไมใชเนื้อคูกัน หามทายการสิ้นอายุขัย หามทายอนาคตเด็ก ที่พอแมจะพึ่งพิงได ซึ่งหลักจรรยาบรรณเหลานี้ นายกสมาคมโหราศาสตร มองวาเปนเร่ืองที่วิชาโหราศาสตรสามารถลวงรูได แตเปนเร่ืองละเอียดออนที่เม่ือบอกคําพยากรณไปแลวจะทําใหเกิดผลรายมากกวาผลดี ครูบาอาจารยแตโบราณจึงหามไว และก็ยึดปฏิบัติกันอยู แตไมถึงกับหามเด็ดขาดแตใหเลือกใชคําพูดที่ตักเตือนสติ แนะนําใหปฏิบัติในทางที่ถูกตองตามหลักศาสนามากกวา ซึ่งนายกสมาคมไดถายทอดแนวคิดนี้ไปยังโหราจารยและผูที่มาเรียนโหราศาสตรกับนายกสมาคมดวย

  

Page 115: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

102

วิธีการพยากรณ จะเหมือนกับโหราจารย เปนหลักการพื้นฐานในการพยากรณ คือพยากรณพื้นดวงชะตา ทายเหตุการณปจจุบัน และแนะนําแนวทางแกไข แนวทางปฏิบัติที่ดี ซึ่งอาจมีความแตกตางกันบางในลําดับหรือเนื้อหาในการพยากรณของนักโหราศาสตรแตละคน สวนเร่ืองที่ทํานายมักเปนเร่ืองการงาน การเงิน ครอบครัว สุขภาพ อุบัติเหตุหรือเคราะหกรรม ขอมูลเกี่ยวกับสภาพการณนักโหราศาสตรในปจจุบัน เปนการประมวลขอมูลความคิดเห็นของนายกสมาคมโหราศาสตรเกี่ยวกับคุณคา บทบาทนักโหราศาสตร การถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตรใหกับผูที่มาเรียนวิชาโหราศาสตร การควบคุมจรรยาบรรณของสมาคมโหราศาสตร นายกสมาคมโหราศาสตร มีความเห็นวาโหราศาสตรมีคุณคาตอคนในสังคมมาก เปนภูมิปญญาความรูที่ส่ังสมมาจากบรรพบุรุษ ผานการทดสอบ การถายทอดจนเปนที่นาเชื่อถือได คุณคาในอดีตมีต้ังแตการชวยเหลือบานเมืองทั้งในการสงคราม การบริหารบานเมืองของพระมหากษัตริย การชวยเหลือชีวิตคนในการรักษาพยาบาล เพราะแพทยในอดีตเปนแพทยแผนไทยการจัดยารักษา ตองรูวาคนไขชะตาถึงฆาตหรือไม และตองรูธาตุของคนไข แพทยในอดีตจึงตองเรียนวิชาโหราศาสตรดวย มาปจจุบันโหราศาสตรจะมีคุณคาตอคนในสังคมในเร่ืองการทําใหคนสบายใจ มีแนวทางในการดําเนินชีวิตที่ประสบปญหา ซึ่งคุณคาที่เปล่ียนไปก็ทําใหบทบาทของนักโหราศาสตรเปล่ียนไปดวย โหราศาสตรไดมาเปนการพยากรณชะตาบุคคลเปนหลัก คนดูจึงมากข้ึน นักโหราศาสตรก็มากข้ึน วิชาการพยากรณก็มีมากข้ึน ซึ่งทําใหเกิดปญหาการใชวิชาโหราศาสตรอยางเรงรีบ ไมไดศึกษาอยางถองแท ทําใหวิชาโหราศาสตรผิดเพี้ยน ไมแมนยําเหมือนในอดีต เกิดเปนปญหานักโหราศาสตรไมแมนยํา หลอกลวง

ในการควบคุมจรรยาบรรณนักโหราศาสตร สมาคมโหราศาสตรมารถควบคุมจรรยาบรรณนักโหราศาสตรไดแคการสอนส่ัง การบอกกลาว แตไมสามารถใหโทษใด ๆ กับนักโหราศาสตรท่ีทําผิดหลักคุณธรรม จริยธรรม หรือจรรยาบรรณ ตอคนในสังคมได ซึ่งแตกตางจากในอดีตท่ีโหรจะสังกัดราชสํานัก พระมหากษัตริยสามารถลงโทษไดตามกฏมณเฑียรบาล ยกตัวอยางในสมัยรัชกาลท่ี 4 ท่ีตรัสถามเรื่องสุริยุปราคากับโหรแลวไมมีใครตอบได จึงส่ังลงโทษใหเอาลูกประคําหอยโขงสวมคอ และยังใหกินขาวท่ีใสกะลา กับขาวใสกาบหมากเปนเวลาถึง 8 วัน และสมัยรัชกาลท่ี 5 ก็เคยส่ังลงโทษโหรที่อานประกาศเทวดาผิด ใหเอาลูกประคําไมทองหลางสวมคอและข่ีสิงโตหินท่ีประตูบันไดพระท่ีน่ังไพศาลทักษิณ (ส.พลายนอย, 2525: 2)

  

Page 116: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

103

ขอมูลเกี่ยวกับความเปนมาและการดําเนินงานของสมาคมโหราศาสตร สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ สมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย และมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภ มีการกอต้ังอยางเปนทางการ ทําหนาที่ถายทอดวิชาโหราศาสตรมาอยางยาวนาน ซึ่งรายละเอียดการดําเนินงานของสมาคม อยูในหัวขอการถายทอดความรูและจรรยาบรรณทางโหราศาสตรของกลุมองคกรโหราศาสตรในปจจุบัน ดังกลาวขางตน ขอมูลเกี่ยวกับแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร เปนการประมวลขอมูลความคิดเห็นของนายกสมาคมโหราศาสตรเกี่ยวกับการพัฒนาจรรยาบรรณนักโหราศาสตรใหเหมาะสมเปนประโยชนกับคนในสังคม พบวา มีความคิดเห็น ดังนี้ 1. จรรยาบรรณนักโหราศาสตร เปนเร่ืองที่จัดทําไดโดยมีปจจัยที่เปนเงื่อนไขสําคัญ คือความรวมมืออยางพรอมเพรียงกันของนักโหราศาสตรในสังคม และสมาคม ชมรม สถาบันโหราศาสตรตาง ๆ ในสังคมไทย เพราะจรรยาบรรณเปนเร่ืองที่ตองชวยกันกําหนดและชวยกันกํากับควบคุม เพราะจรรยาบรรรณไมใชกฏหมาย ซึ่งแนวคิดนี้ ขอยกตัวอยางขอมูลการสัมภาษณ นายภิญโญ พงศเจริญ (2557) ที่กลาววา

เมือ 30 ปท่ีแลว เราก็พบปญหาเดียวกับสมัยน้ี เร่ืองหลอกลวง เร่ืองมาตรฐานความรู ซึ่งในสังคมก็มีการหลอกลวงทุกวิชาชีพ ไมไดมีเฉพาะอาชีพโหร วงการแพทย ทนาย เขาก็เจอปญหาคลายคลึงกัน ก็มีการประชุมกันจะต้ังองคกรกลางข้ึนมา ท่ีเราเรียกวาสภาโหราจารย เพื่อจัดการดูแล ผุประกอบวิชาชีพโหราศาสตร แตโหราศาสตรและวิชาพยากรณมีเยอะแยะมาก คุณจะควบคุมตรงไหน แคไหนตองพรอมใจกัน ท้ังตัวสมาคมและสมาชิกดวย สมาคมสวนหน่ึงอาจเอา สวนหน่ึงอาจไมเอาเพราะสมาชิกท่ีสมาคมเปนหมื่นคน แตไมใชหมอดูทุกคน

2. จรรยาบรรณนักโหราศาสตร ข้ึนอยูกับจริยธรรมพื้นฐานของแตละบุคคลซึ่งมีไมเทากัน การสอนส่ังในสมาคมสามารถทําไดเพียงบอกกลาว ไมสามารถทําใหทุกคนมีจรรยาบรรณเหมือนกันได 3. คนที่มาเรียนวิชาโหราศาสตรก็มีจุดมุงหมายในการนําวิชาโหราศาสตรไปใชตางกัน บางคนเรียนเพื่ออยากจะชวยคนอ่ืน บางคนเรียนเพื่ออยากเปนโหราจารย บางคนก็เรียนเพื่อประกอบอาชีพ จรรยาบรรณที่ควรมีเพื่อควบคุมคนที่นําโหราศาสตรไปพยากรณใหคุณใหโทษบุคคลอ่ืน   

Page 117: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

104

จากการสัมภาษณนายกสมาคมโหราศาสตร อาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตรหรือโหราจารยและผูรับบริการพยากรณโหราศาสตร เกี่ยวกับขอคิดเห็นเกี่ยวกับจรรยาบรรณนักโหราศาสตร และขอเสนอแนะแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตรที่เหมาะสม พบวา มีความคิดเห็นที่สรุปได ดังนี้ จรรยาบรรณนักโหราศาสตร นายกสมาคม และอาจารยผูสอน รวมจํานวน 12 คน มีความเห็นตรงกันคือ จรรยาบรรณ เปนจริยธรรม คุณธรรมของนักโหราศาสตร เปนเร่ืองการพัฒนาจิตใจ ที่นักโหราศาสตรทุกคนตองยึดถึอไวตามครูบาอาจารยที่ไดส่ังสอนกันมา ในการพยากรณโชคชะตา หรือพยากรณเร่ืองอ่ืน ๆ โดยการยึดหลักจรรยาบรรณที่ส่ังสอนกันมา 3 เร่ืองหลัก ๆ คือ เร่ืองการหามทายการตาย หามทายสามีภรรรยาเลิกกัน หามทายอนาคตเด็ก แตไมไดหมายความวาในหลักวิชาโหราศาสตรนั้น ไมสามารถพยากรณเร่ืองเหลานี้ได ทุกทานเห็นตรงกันวา นักโหราศาสตรที่มีความรูแมนยํา สามารถรูทุกเร่ือง เพียงแตใน 3 เร่ืองนี้ เปนเร่ืองที่ไมควรพยากรณ หรือ ถาจะพยากรณ ควรมีการใชคําพูดที่นุมนวล เปนลักษณะของการแนะนําทางออก เชน ผูที่มีดวงชะตาถึงฆาต ตองแนะนําใหระวังอุบัติเหตุ ใหทําบุญเขาวัดฟงธรรม เปนตน นอกจาก จรรยาบรรณหลัก 3 ขอแลว ยังมีแนวการปฏิบัติของนักโหราศาสตรที่นายกสมาคม และอาจารยผูสอนยึดถึอปฏิบัติ ถายทอดใหกับลูกศิษยที่มาเรียนวิชาโหราศาสตร เปนขอปลีกยอยที่แตกตางกันไปบาง อาจารยในสมาคมบางทาน ก็ยึดปฏิบัติไมตรงกับนายกสมาคมทุกขอ แตโดยภาพรวมแลว ก็ยังสอดคลองกัน ขอเสนอแนะแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณ จาการศึกษาโดยการสัมภาษณ นายกสมาคม และ อาจารยผูสอน ผูวิจัยพบวา มีความเห็นที่ตรงกันและแตกตางกันในเร่ืองแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณ สําหรับขอเสนอแนะที่ตรงกันมีดังนี้ 1. สมาคมโหราศาสตรสามารถทําหนาที่ในการถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตรได แตการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนั้น เปนเร่ืองของผูที่มาเรียน ตองมีพื้นฐานและพัฒนาดวยตนเอง ตามที่อาจารยเปนแบบอยาง 2. สมาคมโหราศาสตรไมสามารถทําหนาที่ควบคุมจรรยาบรรณนักโหราศาสตรในลักษณะของการกํากับวิชาชีพได เพราะไมมีอํานาจในการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และวัตถุประสงคในการตั้งสมาคมนั้นเพื่อการพัฒนาและเผยแพรความรูทางโหราศาสตรเปนหลัก ไมไดมีหนาที่ปราบปรามผูที่นําวิชาโหราศาสตรไปประกอบอาชีพอยางทุจริต

  

Page 118: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  

105

3. การควบคุมจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรตองควบคุมที่จิตใจเปนหลัก การควบคุมดวยหลักเกณฑไมสามารถควบคุมไดอยางแทจริง เหมือนการบังคับใชกฏหมายในสังคม ที่มีผูฝาฝนอยูเปนประจํา ขอเสนอแนะที่แตกตางกัน ในการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตรอยางเปนรูปธรรมนั้น แยกไดเปน 2 กลุม ดังนี้ 1. เสนอใหมีการจัดทําจรรยาบรรณใหเปนกฏระเบียบควบคุมการประกอบวิชาชีพนักโหราศาสตร ขอเสนอแนะของกลุมนี้มองวา เร่ืองจรรยาบรรณสามารถจัดทําได โดยการออกกฏระเบียบควบคุมวิชาชีพ ที่ทุกสมาคมรวมกันทํา และถาภาครัฐเขามาชวยรับรองทางกฏหมายดวย จะทําใหมีความเขมแข็งมากข้ึน โดยในทางปฏิบัติ ทําไดต้ังแตการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ การออกบัตรประจําตัว การเปดสอบประมวลวิชาความรูกลาง แตตองอาศัยความรวมมือของสมาคมโหราศาสตรตาง ๆ ที่ถือเปนองคกรหลักทางโหราศาสตรในสังคม และภาครัฐที่ตองสนับสนุนดวย ซึ่งที่ผานมาทางกลุมสมาคมโหราศาสตร ก็ไดมีการพยายามที่จะดําเนินการ แตยังไมไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวนอยางจริงจัง 2. เสนอใหไมตองมีการจัดทําจรรยาบรรณเปนกฏระเบียบ ขอเสนอแนะกลุมนี้ มองวา จรรยาบรรณ เปนส่ิงที่นักโหราศาสตรทุกคนตองยึดปฏิบัติตามครูบาอาจารย ตามหลักศาสนาพุทธ การประพฤติผิดหลัก ยอมทําใหเกิดความเส่ือมเสียกับตนเอง ทั้งในดานวิชาความรูและช่ือเสียง การศึกษาโหราศาสตรตองใหรูถึงหลักปรัชญาของโหราศาสตรดวย นักโหราศาสตรที่ตองมีจรรยาบรรณกํากับ คือ คนที่พยากรณโชคชะตา เหตุการณตาง ๆ เพราะเปนการใชวิชาความรูที่ใหคุณใหโทษกับผูที่มารับบริการพยากรณ และนักโหราศาสตรในสังคมมีมาก ทั้งผูที่ศึกษาโหราศาสตร ผูที่พยากรณโดยไมคิดคาบริการ และผูที่พยากรณแลวคิดคาบริการ จนยึดเปนอาชีพเล้ียงตัวเอง และเห็นวาการออกกฏระเบียบ การควบคุมดวยกฏระเบียบไมสามารถควบคุมจรรยาบรรณนักโหราศาสตรไดอยางแทจริง

Page 119: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

บทที่ 5

สรุปผลการศกึษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่องแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ในเรื่องจรรยาบรรณการใหบริการพยากรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย การถายทอดจรรยาบรรณ การควบคุมนักโหราศาสตร เพื่อนําไปสูแนวทาง การจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร การเก็บรวบรวมขอมูล ไดเริ่มศึกษาขอมูลเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การสัมภาษณเชิงลึกเปนรายบุคคล การสัมภาษณแบบไมเปนทางการผูดํารงตําแหนง นายกสมาคมโหราศาสตร และอาจารยผูสอนวิชาโหราศาสตร และผูรับบริการพยากรณ จํานวน 42 คน การสังเกตการณแบบมีสวนรวม โดยการไปรับบริการพยากรณโชคชะตา การสังเกตการณแบบไมสวนรวม ในการสอนวิชาโหราศาสตร โดยมีพื้นที่ในการศึกษาคือสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ สมาคมสหพันธโหรแพทยแผนไทย และมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ ไดผลการศึกษาที่สามารถตอบวัตถุประสงคของการศึกษาไดดังตอไปนี้ ประเภทและบทบาทของนักโหราศาสตร รูปแบบและปญหาในการใชองคความรูดานโหราศาสตรเพื่อใหบริการพยากรณในสังคมไทย ประเภทนักโหราศาสตร นักโหราศาสตรในสังคมไทยแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1. การพยากรณโดยใชหลักการโคจรของดวงดาว จักรราศี ที่สงผลตอการดําเนินชีวิตของบุคคล หรือสรรพสิ่งบนโลก จึงสามารถพยากรณไดทั้งชะตาชีวิตบุคคล ชะตาบานเมือง นักโหราศาสตรกลุมนี้ ตองมีความรูเร่ืองดาราศาสตร วิชาที่ใชพยากรณ ตองมีขอมูลวันเดือนป และเวลาเกิดเปนสําคัญ เชน โหราศาสตรไทย โหราศาสตรยูเรเนี่ยน โหราศาสตรพมา และมีการแตกแขนงตอยอดวิชาไปอีก เชน คัมภีรมหาสัตตเลข ยามอัฐกาล ฯลฯ นักโหราศาสตรในกลุมนี้จะเรียกวา โหร 2. การพยากรณโดยใชการสุมเลือกสัญลักษณ เปนส่ือในการทํานาย นักโหราศาสตรกลุมนี้ไมไดใชหลักการโคจรของดวงดาวในการพยากรณ แตใชหลักวาทุกอยางในโลกธาตุมี

106

Page 120: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

107

ความเกี่ยวพันกัน ถาเห็นส่ิงหนึ่งก็จะรูถึงอีกส่ิงหนึ่ง เปนการดูจากสัญลักษณ หรือลักษณะ เชน ลายมือ ไพยิปซี สวนใหญจะเปนการพยากรณชะตาชีวิตบุคคล นักโหราศาสตรในกลุมนี้จะเรียกวา หมอดู รูปแบบการใหบริการพยากรณ การใหบริการพยากรณโชคชะตา ในปจจุบันมีความหลากหลายตามสภาพวิถีชีวิตของคนในสังคม โดยนักโหราศาสตรพยายามปรับตัวในการส่ือสารโหราศาสตรกับคนในสังคมใหมากที่สุด ซึ ่งรูปแบบการพยากรณแบบเดิมคือการเผชิญหนาระหวางนักโหราศาสตรและผูรับบริการพยากรณ จะเปนวิธีการที่คนในสังคมเลือกใช ถาตองการการพยากรณที่เปนกันเอง และไดคําแนะนําที่พึงพอใจ การเดินทางไปพบโหรหรือหมอดูเพื่อทํานายดวงชะตา ณ สมาคมโหร สํานักงานโหร ชมรมโหราศาสตร หรือการทําเปนธุรกิจบริษัท เชน โฮราเวิรล จึงมีคนไปรับบริการพยากรณอยางตอเนื่อง และเมื่อคนในสังคมบริโภคสื่อมากขึ้น โหราศาสตรก็กระจายไปพรอมกับสื่อตาง ๆ อาทิ สื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเลคทรอนิกส เชน เว็บไซค แอพลิเคชั่นโทรศัพทมือถือ หนังสือพิมพออนไลน การทํานายทางระบบขอความ (SMS) ระบบออดิโอเทกซ (โทรศัพทหมายเลข 1900) ซีดีบันทึกคําพยากรณ ส่ือวิทยุโทรทัศน เชน รายการทีวีทั้งชองฟรีทีวี หรือชองทีวีดาวเทียม ที่ใหผูชมสามารถโทรศัพทไปใหนักโหราศาสตรทํานายดวงชะตาในรายการได หรือการเชิญนักโหราศาสตรมาออกรายการ ใหการพยากรณเร่ืองที่เปนประเด็นสนใจของคนในสังคม ทําใหโหราศาสตรไดถูกนําไปใชในการทํานายเร่ืองอ่ืน ๆ ดวย ปญหาในการพยากรณ การพยากรณดวยวิชาโหราศาสตร ไดรับความสนใจจากคนในสังคมมากข้ึน ทั้งคนท่ีอยากรับการพยากรณ และคนที่อยากเปนนักโหราศาสตร การเรียนรูโหราศาสตรที่ขยายวงกวางมากข้ึน ทําใหคนที่ไมมีความรูจริง คนที่มีเจตนาจะหลอกลวงผูอ่ืน นําวิชาโหราศาสตมาประกอบเปนอาชีพไดงาย โดยปญหาที่คนในสังคมสวนใหญพบ คือ การพยากรณไมแมน การหลอกลวง การเรียกรองทรัพยสินเงินทองเพิ่มเติมจากคาบริการพยากรณ ปจจุบันสมาคมก็มีการดําเนินการอยูบาง แตไมสามารถควบคุมไดทั้งหมด เพราะไมใชหนาที่หลัก บทลงโทษมีเพียงการขับออกจากการเปนสมาชิกสมาคม และการควบคุมทําไดยาก การจะนําไปสูบทลงโทษตามกฏหมายนั้นตองมีปจจัยอ่ืนมาประกอบดวย เชน ตองมีผูเสียหายรองเรียน หรือแจงความดําเนินคดี กับเจาหนาที่ตํารวจ

Page 121: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

108

การควบคุมนักโหราศาสตรในสังคมไทยผานการถายทอดองคความรูดานโหราศาสตรและดานจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร การควบคุมพฤติกรรมนักโหราศาสตร จรรยาบรรณนักโหราศาสตร ที่สมาคมโหราศาสตรไดถายทอดผานการสอนในช้ันเรียนโดย ยึดแนวทางตามคําสอนของโหราจารยในอดีตที่วา “ทายสมพงษเมียผัวเร่ืองชั่วดี หรือทายสามีภรรยาใหราคี ทายชีวีวิบัติตัดชันษา ทายคุณโทษทารกทาริกา เรียนโหราครูหามการทํานาย" แตกระนั้นก็มีการวิเคราะหถึงเหตุที่หามการทํานาย จนนักโหราศาสตรในปจจุบัน เห็นวาเปนเร่ืองที่ทํานายได แตตองมีความแมนยําในหลักวิชาอยางแทจริง และตองพิจารณาตามความเหมาะสม ทํานายในส่ิงที่เปนประโยชนของผูมารับการพยากรณมากกวาการทํานายเร่ืองราย ๆ เพราะเร่ืองเหลานี้เปนเร่ืองละเอียดออน สงผลกระทบตอชีวิตบุคคลสูง และเม่ือสภาพสังคมเปล่ียนไป โหราศาสตรไดรับความนิยมแพรหลายมากข้ึน ก็มีการออกแนวทางปฏิบัติ ที่เรียกวา มารยาทโหร ในสวนการลงโทษนักโหราศาสตร ที่เปนสมาชิกของสมาคมโหราศาสตร จะทําไดเม่ือมีการกระทําผิดกฏระเบียบของสมาคม เชน ขาดประชุมสามัญติดตอกันเกินกวาที่กฏระเบียบสมาคมกําหนดไว หรือกระทําการสรางความเสื่อมเสียตอสมาคม ซึ่งนายกสมาคม และกรรมการบริหารสมาคม จะลงโทษโดยการคัดชื่อออกจากทะเบียนสมาชิกสมาคมเทานั้น และถาสมาชิกทานไปพยากรณหลอกลวงทรัพยสินของผูมารับการพยากรณก็จะเปนเร่ืองที่ผูรับการพยากรณตองแจงความดําเนินคดีตามกฏหมายเอง สมาคมไมไดมีบทบาทเขาไปจัดการให และกฏระเบียบของสมาคมก็ไมไดมีการระบุหนาที่ในการจัดการกับโหรหรือหมอดูที่หลอกลวง เพราะมีเจาหนาที่ตํารวจที่บังคับใชกฏหมายแพง กฏหมายอาญา ในการจัดการกับผูกระทําความผิดตอชีวิตและทรัพยสินของคนในสังคมอยูแลว การถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตรของกลุมองคกรโหราศาสตรในสังคมไทย

การเรียนวิชาโหราศาสตรกับโหราจารยที่สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภแลว ก็ยังมีสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย และมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ นอกจากการใหความรูแลว อาจารยจะถายทอดจรรยาบรรณการเปนนักโหราศาสตรผานการสอนในชั้นเรียน การเผยแพรในส่ือส่ิงพิมพของสมาคมฯ ปายประกาศในสมาคมฯ และการทําตัวใหเปนแบบอยาง โดยส่ิงที่อาจารยเนนย้ําก็คือการศึกษาใหรูหลักวิชาโหราศาสตรอยางลึกซึ้ง พัฒนาวิชาความรูอยางสม่ําเสมอ พยากรณตามส่ิงที่ดวงดาวบอกเทานั้นอยาจินตนาการแตงเติม และหามหลอกลวงดวยการพูดโกหก หรือเรียกรองทรัพยสินเงินทองจากผูมารับบริการพยากรณ

Page 122: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

109

โดยบทบาทของสมาคม ในการควบคุมจรรยาบรรณนั้น มีการกําหนดเปนคุณสมบัติของสมาชิกสมาคม ถามีการกระทําผิด กอใหเกิดความเสียหายตอสมาคม จะขับออกจากการเปนสมาชิก สวนความผิดอ่ืน ๆ ที่ไปกระทํานั้นก็ใหเปนหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจในการบังคับใชกฏหมายลงโทษ เชน การหลอกลวงตาง ๆ เพราะทางสมาคมเกิดจากการรวมกลุมของผูที่มีความสนใจเดียวกัน เปนไปดวยความสมัครใจ จึงไมสามารถกระทําการควบคุมความประพฤติของนักโหราศาสตร หรือหมอดูที่เปนสมาชิกของสมาคม ใหดํารงตนอยูในกฏระเบียบของสังคมได อภิปรายผลการวิจัย

การศึกษาวิจัยเร่ืองแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย พบวามีประเด็นที่นาสนใจในดานการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมดังตอไปนี้ 1. วิชาโหราศาสตร เปนวัฒนธรรมหนึ่งของสังคมไทยที่มีการส่ังสมและถายทอดตอเนื่องกันมาอยางยาวนาน มีเอกสารความรูที่เปนหลักวิชา เชนวิชาโหราศาสตรไทย ตําราจอมตรีภพ จัดเปนทรัพยากรวัฒนธรรมท่ีจับตองได (tangible cultural) มีผูทําหนาที่สืบทอดความรู และทําหนาที่ใชความรูในการพยากรณคือนักโหราศาสตร การทําหนาที่พยากรณของนักโหราศาสตรไดถายทอดความเช่ือโหราศาสตรดวยจึงเปนทรัพยากรวัฒนธรรมอีกรูปแบบหนึ่งที่จับตองไมได (Intangible cultural) โหราศาสตรจึงมีบทบาทตอการดําเนินชีวิตของคนในสังคไทย ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพสังคม ในปจจุบันระบบการคาขายแลกเปลี่ยนใหญข้ึน รูปแบบการดําเนินชีวิตมีความซับซอน การติดตอส่ือสารมีความรวดเร็ว การผลิตไมไดมีแตภาคการเกษตร การใหความสําคัญกับชีวิตของคนในสังคมเปลี่ยนไป นักโหราศาสตรก็ปรับตัวจากแตเดิมบทบาทนักโหราศาสตรในอดีตใชทายเหตุการณบานเมือง ดูดวงชะตาเพื่อจัดยารักษาโรคยามเจ็บไขไดปวย มาเปนการใหความสําคัญกับเร่ืองเศรษฐกิจ ซึ่งผูวิจัยพบวาเร่ืองที่นักโหราศาสตรมักพยากรณเปนเร่ืองการงาน การเงิน สอดคลองกับงานวิจัยของ ณัฐยา นอยเหลือ (2546) ที่พบวาปญหาที่คนในสังคมนิยมถามหมอดูมากที่สุดคือปญหาอาชีพการงาน นั่นเปนเพราะการดําเนินชีวิตในปจจุบันมีความซับซอน ผูคนแขงขันกันมากข้ึน ทําใหการดําเนินชีวิตมีปญหา ไมราบรื่น ไมเปนอยางที่คาดหวังต้ังใจไว จึงตองหาที่พึ่งทางใจ และหาหลักยึดที่จะทําใหการดําเนินชีวิตดีข้ึน โหราศาสตรจึงเขามามีบทบาท เชน การเลือกเบอรโทรศัพทมือถือ การเลือกสีเส้ือ การเลือกประเภทเคร่ืองประดับ การเลือกสีรถยนต เปนตน ใหถูกโฉลกกับดวงชะตาตนเอง และโหราศาสตรไดทําหนาที่ในการทําใหเกิดแบบแผนการดําเนินชีวิตกับคนกลุมหนึ่งในสังคมไทยและสงตอความเช่ือ ความรูกันมา กลายเปนลักษณะการดําเนินชีวิตแบบหนึ่งในสังคมไทยซึ่งทําใหคนอยูอยางสงบสุข

Page 123: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

110

แตบทบาทหนึ่งที่เปลี่ยนไปของนักโหราศาสตรคือการพยากรณดวงชะตาบานเมืองหร ือเหตุการณต างๆที ่จะเก ิดขึ ้นในสังคม ที ่ในอดีต จะมีโหร ทําหนาที ่พยากรณถวายพระมหากษัตริย เพื ่อใชในการบริหารบานเมือง แตปจจุบัน ผูบริหารบานเมืองไมไดใชหลักโหราศาสตรไปประกอบการบริหารบานเมือง แตโหรยังทําหนาที่นี้อยูเพื่อสืบทอดหลักวิชา การพยากรณจึงตองเผยแพรทางสื่อตางๆ การรับรูอยางกวางขวางโดยไมมีผูกลั่นกรอง เลือกใช จึงสรางผลกระทบกับคนในสังคมมากเพราะคําพยากรณนั้นมีทั้งเรื่องดีและไมดี การพยากรณดวงชะตาบานเมืองในปจจุบันจึงกลายเปนขอถกเถียงถึงบทบาทและความเช่ือในวิชาโหราศาสตร วานักโหราศาสตรควรพยากรณดวงเมืองหรือไม อยางไร 2. โหราศาสตร ก ับการถ ายทอดว ัฒนธรรม โดยม ีปรากฏเป นหล ักฐานทางประวัติศาสตร ทั้งหลักวิชาความรู และบุคคลผูทําหนาที่หนาที ่พยากรณ และมีการถายทอดความรู และสืบทอดหนาที่นั้นตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน (สุพัตรา สุภาพ, 2549: 25-31) กลาวคือ มีการสืบทอดความเชื่อโหราศาสตร มาใชในชีวิตประจําวัน ซึ่งมีการแตกแขนงการพยากรณที่หลายรูปแบบ และมีการนําวิชาโหราศาสตรไปใชอยางหลากหลาย โหราศาสตรจึงเปนวัฒนธรรมความเชื่อภูมิปญญาของสังคมไทย ในอดีตการถายทอดวิชาโหราศาสตรจะมีการถายทอดในกลุมชนช้ันสูงเชนพระมหากษัตริยิ์ ขาราชการ พระสงฆ สวนคนทั่วไปที่ไดเรียนตองไปเรียนกับพระสงฆ โดยตองฝากตัวเปนลูกศิษยวัด คอยรับใชครูบาอาจารย และใชเวลาเรียนนาน อาจใชเวลาหลายปจึงจะเรียนสําเร็จ จึงมีความสัมพันธใกลชิดกับครูบาอาจารย การเรียนวิชาโหราศาสตรจึงไมไดเรียนวิชาเพียงอยางเดียวแตจะถูกอบรมขัดเกลาพฤติกรรมอีกดวย ในปจจุบันการถายทอดวิชาโหราศาสตร จะผานการเรียนวิชาโหราศาสตรกับโหราจารยที่สมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภแลว ก็ยังมีสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย และมูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ สอดคลองกับงานศึกษาวิจัยของ สานิต ศิริวิศิษฐกุล (2535) กลาวคือ การอบรมจากสมาคมโหราศาสตร จะไดเรียนรูกฏเกณฑทางโหราศาสตร ธรรมเนียมปฏิบัติ บทบาทและหนาที่ นอกจากการใหความรูแลว อาจารยจะถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตรผานการสอนในชั้นเรียน การเผยแพรในสื่อสิ่งพิมพของสมาคมฯ ปายประกาศในสมาคมฯ และการทําตัวใหเปนแบบอยาง โดยการเรียนใชเวลาประมาณ 3 เดือนตอหลักสูตร ในระยะเวลานี้จะเรียนกับอาจารยอาทิตยละ 1 ครั้งๆละประมาณ 3 ชั่วโมง โดยครูใชวิธีบรรยายประกอบเอกสารการเรียน การสอนจึงมีลักษณะบอกกลาว และผูเรียนตองคนควาอานเพิ่มเติม ครูไมไดสนิทสนมกับผูเรียนทุกคน สนิทเปนบางคนเทานั้นที่สนใจสอบถามความรูเพิ่มเติมนอกชั่วโมงเรียน

Page 124: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

111

3. จรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในปจจุบัน ที่โหราจารยทุกสมาคมไดรับการถายทอดมาจากโหราจารยในรุนที่ผานมาคือการหามพยากรณการตาย หามพยากรณเรื่องคูสมพงศผัวเมีย และหามพยากรณเรื่องอนาคตของเด็ก ซึ่งการควบคุมนักโหราศาสตรที่สืบตอกันมาพรอมกับการถายทอดจรรยาบรรณคือการใหคํามั่นสัญญาตามกฏเกณฑที่ใหแกครูบาอาจารยโหราศาสตร สอดคลองกับแนวคิดการควบคุมทางสังคม(social control)ของ สุพัตรา สุภาพ(2519:10-15) ซึ่งคําสัญญาที่ใหแกครูบาอาจารยนั้นจะเชื่อมโยงกับเรื่องกฏแหงกรรม ตามหลักความเช่ือในศาสนาพุทธ สอดคลองกับแนวคิดทานพุทธทาสภิกขุ (2529:55-88) คือการทํากรรมดีหรือกุศลกรรม จะทําใหชีวิตมีความสุขกาย สบายใจ ทําใหการทายเรื่องที่หาม 3 ประการนั้นถือเปนการสรางบาป หรืออกุศลกรรม ซึ่งนักโหราศาสตรเชื่อวาจะสงผลตอชีวิตไมชาตินี้ก็ชาติหนา นักโหราศาสตรในอดีตจึงตองรอบรูในหลักวิชาโหราศาสตร มีความประพฤติดีเปนที่เคารพ การพยากรณผิดแลวถูกลงโทษนั้นจะปรากฏกับโหรในสังกัดราชสํานัก เชนใน รัชกาลที่ 4 ทรงลงโทษโหรที่พยากรณเหตุการณสุริยุปราคาผิด ดวยการใหคลองประคําหอยโขง ซึ่งเปนการลงโทษเพราะพยากรณไมแมนยําและลงโทษตามกฏมณเฑียรบาล แตปจจุบันการพยากรณผิดของนักโหราศาสตรในปจจุบันไมมีการลงโทษ เพราะไมมีบทกฏหมายระบุไว การจะลงโทษไดนั้นตองมีการกระทําผิดที่เขากับบทกฏหมายอื่นๆที่ระบุไว เชน การหลอกลวงทรัพยสิน เปนการกระทําผิดตามพระราชบัญญัติกฏหมายแพงและพาณิชย และเปนเพราะคนในปจจุบันใหความสําคัญกับเรื ่องจิตวิทยามากกวา การไปหานักโหราศาสตรทําใหเกิดความสบายใจ สอดคลองกับงานวิจัยของ ยลลดา มณเฑียรมณี (2538) กัญชัช ศศิธร (2541) ภิญโญ พงศเจริญ (2543) ณัฐยา นอยเหลือ (2546) ที่พบวาคนมารับบริการกับนักโหราศาสตรเพราะมีความคาดหวังวา นักโหราศาสตรจะเปนที่พึ่งทางใจ เปนที่ปรึกษา สรางความมั่นใจ แนะแนวทางเพื่อแกไขปญหาที่เกิดข้ึนในชีวิตประจําวันได อนึ่งจรรยาบรรณของนักโหราศาสตร ที่หามพยากรณใน 3 เรื่องนี้แสดงใหเห็นวาคนในอดีตใหความสําคัญกับเร่ืองทางจิตใจและความสัมพันธในครอบครัว การพยากรณวาตายอาจทําใหเจาของดวงชะตา คนรอบขางรูสึกหดหู หมดกําลังใจแทนที่จะพยายามรักษาความเจ็บปวยทางกายใหหาย กลับตองมาเจ็บปวยทางใจแทน การพยากรณคูสมพงศผัวเมียอาจทําใหเกิดปญหาทะเลาะปญหาหยารางครอบครัวอยูไมเปนสุข เพราะการอยูกินแบบผัวเมียคงมีพฤติกรรมที่ชอบหรือไมชอบกันบาง และการทายอนาคตของเด็ก ในอดีตครอบครัวหนึ่งมีลูกหลายคน พอแมควรเลี้ยงดูอยางเสมอภาคไมลําเอียงเพื่อไมใหเกิดปญหาในอนาคต ปจจุบันยังมีการยึดถือและถายทอดตอไปยังผูที ่มารับการอบรม แตก็มีการตีความในประเด็นจรรยาบรรณที่ไดรับ

Page 125: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

112

ถายทอดมาใหม คือมองวาพยากรณได เพราะความรูตามหลักวิชาโหราศาสตรทําใหลวงรูได และยุคสมัยเปลี ่ยนแปลงไป การหามในอดีตบางเรื ่องใชไมไดในยุคสมัยปจจุบัน เชน การพยากรณเร่ืองอนาคตเด็ก ในอดีตแตละครอบครัวจะมีลูกหลายคน เพราะมีที่นาหลายรอยไร ตองมีคนมาชวยทํานาใหพอกิน พอขาย ตอมาสังคมเปลี่ยนแตละครอบครัวมีที่ดินครอบครองนอยลง จึงไมจําเปนตองมีลูกมาก การพยากรณวาลูกจะพึ่งไดหรือไม จึงไมใชเรื่องสําคัญที่พอแมอยากรู แตตองใชคําพูดที่ไมรุนแรง ตรงประเด็นจนเกินไป และที่สําคัญคือตองมีความรูวิชาโหราศาสตรอยางแทจริงถึงจะพยากรณเร่ืองเหลานี้ได จรรยาบรรณโหร 3 ขอดังกลาวนี ้ เมื ่อเปรียบเทียบกับแนวคิดจรรยาบรรณ ของปราชญา กลาผจัญ (2544: 181-182) ผูศึกษาพบวายังไมใชแนวการประพฤติตนอยางแนชัด เปนเพียงการหามไมใหทํานายในเนื้อหาดังกลาว และเมื่อเปรียบเทียบกับจรรยาบรรณของวิชาชีพทนายความ แพทย และวิศวกร ก็จะเห็นวายังมีเนื้อหาที่นอยมาก ไมเพียงพอที่จะเปนแนวปฏิบัติใหกับนักโหราศาสตรได ในแตละสมาคมโหราศาสตรจึงมีแนวปฏิบัติที่แยกออกมาใหเห็นรายละเอียดการประพฤติตนของนักโหราศาสตรในแตละสมาคม ซึ่งมีความแตกตางกันบางเล็กนอย เชนสมาคมโหราศาสตรนานาชาติจะกําหนดวาไมควรโฆษณาตนเองในขณะพยากรณ เพราะเปนการโออวดความสามารถ ของตนเองตอเจาชะตาหรือแขกอ่ืน ๆ ขณะที่สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย จะกําหนดวาอยาถือเอาเสียงเฮฮาที่ตนพยากรณถูก เปนเครื่องมือโฆษณาหาเสียง ขอกําหนดเหลานี ้แตละสมาคมไมเรียกวาจรรยาบรรณนักโหราศาสตร จะเรียกวามารยาทโหร ซึ่งประเด็นมารยาทโหรของแตละสมาคมนี้ สอดคลองกับจรรยาบรรณ หรือ มรรยาท ของวิชาชีพ ทนายความ แพทย วิศวกร (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534: 23-66) แตก็ยังมีประเด็นที่คนในสังคมรูสึกถึงความไมเหมาะสมกับการที่นักโหราศาสตรออกมาพยากรณดวงชะตาบานเมืองเผยแพรทางส่ือตางๆ ทําใหคนในสังคมวิตกกับคําพยากรณที่เปนไปในทางไมดีแตเร่ืองดวงชะตาบานเมืองนี้เปนเร่ืองสําคัญเปนหนาที่ ที่โหรในอดีตตองทําหนาที่ถวายคําพยากรณกับพระมหากษัตริย ซึ่งเปนผูปกครองบานเมือง เมื ่อมองการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในภาพรวมแลวพบวายังไมสามารถทําใหเกิดขึ้นได ยังตองมีปจจัยสําคัญอีกหลายประการเมื่อเปรียบเทียบกับการจัดทําจรรยาบรรณของวิชาชีพอื่นที่นํามาศึกษา คือตองมีสถาบันรับรอง ตองมีสภาวิชาชีพ ตองมีกฏหมายควบคุมวิชาชีพ และคนที่เขาสูวิชาชีพเหลานั้นตองผานการเรียนรู การฝกฝนอยางเขมขน เชน ทนายความ ตองเรียนหลักสูตรนิติศาสตร เรียนเนติบัณฑิต ถึงจะเปนทนายความได ซึ่งผานการรับรองจากสถาบันการศึกษา กอนจะมาเขากลุมวิชาชีพทนายความ การควบคุมดวย

Page 126: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

113

การจรรยาบรรณจึงทําไดผานกระบวนการขัดเกลาในขั้นตอนตาง ๆ ตางจากนักโหราศาสตร ที่การเรียนรู ขัดเกลา มีความเปนอิสระ หลากหลายสถาบันมาก การหลอหลอมใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกันจึงทําไดยาก ซึ่งสภาพนักโหราศาสตรในปจจุบันไมไดมีการรวมกลุมเปนสถาบัน หรือสมาคมเดียวเทานั้น และวิชาโหราศาสตร การทํานายพยากรณอื่น ๆ มีเปนอันมาก ใหคนในสังคมเลือกใชบริการตามความสมัครใจ ซึ่งทําใหการควบคุมนักโหราศาสตร วิชาโหราศาสตรทําไดยากมาก อนึ่งการที่วงการโหราศาสตรยังมิอาจรวมกันเปนหนึ่งเดียวเหมือนสมาคมดังกลาวขางตนได สวนหนึ่งอาจเปนเพราะแนวคิดทฤษฏีและวิถีการปฏิบัติของแตละสมาคมมีความแตกตางหลากหลาย อีกทั้งมีการแขงขันในเชิงพาณิชยสูง เหตุนี ้จึงไมมีองคกรใดที่มีอํานาจเด็ดขาด (Authority) ที่จะส่ังการใด ๆ ได การจะจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตรในสังคมไทยไดนั้น ขอมูลจาการศึกษามีความคิดเห็นที่แตกตางกัน 2 กลุม คือกลุมแรกเสนอใหมีการจัดทําจรรยาบรรณใหเปนกฏระเบียบควบคุมการประกอบวิชาชีพนักโหราศาสตร ขอเสนอแนะของกลุมนี ้มองวา เรื ่องจรรยาบรรณสามารถจัดทําได โดยการออกกฏระเบียบควบคุมวิชาชีพ ที่ทุกสมาคมรวมกันทํา และถาภาครัฐเขามาชวยรับรองทางกฏหมายดวย จะทําใหมีความเขมแข็งมากขึ้น สวนกลุมที่สอง เสนอใหไมตองมีการจัดทําจรรยาบรรณเปนกฏระเบียบ ขอเสนอแนะกลุมนี ้ มองวา จรรยาบรรณ เปนสิ่งที่นักโหราศาสตรทุกคนตองยึดปฏิบัติตามครูบาอาจารย ตามหลักศาสนาพุทธ การประพฤติผิดหลัก ยอมทําใหเกิดความเสื่อมเสียกับตนเอง ทั้งในดานวิชาความรูและชื่อเสียง ขอมูลที่ไดจากการศึกษาครั้งนี้ชี้ใหเห็นวา หากจะจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตรตอไปในอนาคต สิ่งสําคัญที่จําเปนตองมีกอนการจัดทําจรรยาบรรณก็คือ นักโหราศาสตรตองมีการรวมตัวอยางเปนเอกภาพไดอยางมีระเบียบแบบแผน อยูในรูปของคณะกรรมการที่มีการระบุบทบาทอํานาจชัดเจน อีกทั้งการรวมเปนเอกภาพคร้ังนี้ ควรไดรับการหนุนเสริม เพื่อใหเกิดความศักดิ์สิทธิ์ ในการใชอํานาจกํากับ ควบคุมการประกอบอาชีพนักโหราศาสตร การจัดการตามแนวทางนี้คาดวาจะกอใหเกิดผลยั่งยืนที่หนุนใหวงการโหราศาสตรไทยไดอยูรับใชผูคนในสังคมไดอยางมีศีลธรรม จรรยา ตลอดไป

Page 127: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

114

ขอเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการจัดทําจรรยาบรรณของนักโหราศาสตรในสังคมไทย

ในการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร เพื่อใหเปนประโยชนตอผูที่อยูในวงการโหราศาสตร และคนในสังคม ที่ยึดถึอใชประโยชนจากวิชาโหราศาสตรในการดําเนินชีวิต ผูศึกษามีขอเสนอแนะแนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ตอสมาคมโหราศาสตร และหนวยงานรัฐที่ทําหนาที่สงเสริมวัฒนธรรม ดังนี้ 1. สมาคมโหราศาสตรทําหนาที่ในการถายทอดจรรยาบรรณนักโหราศาสตรอยางเปนมาตรฐานเดียวกัน การโดยเนนที่การสั่งสอนแนวปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม ของศาสนาพุทธ และยึดปฏิบัติตามครูบาอาจารย และหลักศาสนา ใหนักโหราศาสตรเกิดความเคารพหลักว ิชาโหราศาสตรจากจิตใจอยางแทจร ิง เพราะสภาพสังคมในปจจุบ ันมีการเปลี่ยนแปลง วิถีช ีว ิตของคนเปลี่ยนไปการพักอาศัยจากบานเปนคอนโดมิเนียม ลักษณะครอบครัวแบบคนโสด แบบครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว ระบบเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไปมีอาชีพใหมๆเกิดขึ้น มีการซื ้อขายหุ น การลงทุน สิ่งเหลานี ้เปนเรื่องที่ตองคํานึงถึงเพื ่อจัดทําขอกําหนดปฏิบัติใหครอบคลุมและเหมาะสมกับสภาพการณที่เปล่ียนไป

2. สมาคมโหราศาสตร และหนวยงานภาครัฐ ใหการรับรองวิชาชีพโหราศาสตร และจัดทําจรรยาบรรณใหเปนกฏระเบียบควบคุมการประกอบวิชาชีพนักโหราศาสตร โดยอาจมีการกระทําที่เปนรูปธรรมคือการประมวลจรรยาบรรณนักโหราศาสตร การออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ การออกบัตรประจําตัว การเปดสอบประมวลวิชาความรูกลาง การรางขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับนักโหราศาสตร เปนตน แตแนวทางนี้ขึ้นอยูกับปจจัยสําคัญคือ ผูบริหารสมาคมโหราศาสตร นักโหราศาสตร หนวยงานรัฐ และคนในสังคม ที่ตองรวมมือทําพรอมกันเพื่อใหเกิดผลทางปฏิบัติ 3. การสงเสริมพัฒนาจรรยาบรรณนักโหราศาสตร โดยสมาคมโหราศาสตรในสังคมรวมกันกําหนดจรรยาบรรณ ใหเปนหลักที่นักโหราศาสตรทุกคนตองยึดปฏิบัติตามครูบาอาจารย และหลักศาสนา เปนการรวมกันพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ใหนักโหราศาสตรเกิดความเคารพหลักวิชาโหราศาสตรจากจิตใจอยางแทจริง ซึ่งจะสงผลมาสูการปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณ

ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาตอไป

โหราศาสตร เปนวิชาที่เกี ่ยวของกับชีวิตคนไทย ควรมีการสงเสริม พัฒนาใหเปนความรูที่คนในสังคมสามารถพึ่งพิงไดเพื่อประโยชนในการดําเนินชีวิต ผูศึกษามีขอแนะนาํสําหรับการศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองจรรยาบรรณนักโหราศาสตร ตอไปดังนี้

Page 128: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

115

1. ควรจะศึกษาแนวทางการจัดตั้งสภาวิชาชีพนักโหราศาสตรและนักพยากรณ เพื่อศึกษาการจัดตั้งหนวยงานที่สามารถใหคุณใหโทษกับนักโหราศาสตรที่ทําผิดจรรยาบรรณนักโหราศาสตร อันจะเปนการสรางความนาเชื่อถือในหลักวิชาโหราศาสตรและการพยากรณดวยหลักวิชาอ่ืน ๆ ตอไป 2. ควรจะศึกษาเรื่องรูปแบบกลไกในการกํากับจรรยาบรรณนักโหราศาสตรในสื่อรายการโทรทัศน เพื่อศึกษาแนวทาง มาตรการของหนวยงานที่ทําหนาที่ผลิตสื่อรายการโทรทัศนใชกํากับ ควบคุมการผลิต การนําเสนอของรายการ ซึ่งมีผลตอการรับรูวิชาโหราศาสตรของคนในสังคม 3. ควรจะศึกษาการพยากรณในลักษณะอื่นๆ ที่ไมไดมีการนําวิชาโหราศาสตรไปประยุกตใช หรือการพยากรณที่ไมมีศาสตรรับรองอยางชัดเจน เชน หมอดูสแกนกรรม หมอดูใบไม หมอดูขยํากระดาษ จิตสัมผัส เปนตน วามีจรรยาบรรณในการพยากรณอยางไร

Page 129: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

116

รายการอางอิง กฤติ ต้ังพรโชติชวง. (2552). “กระบวนการตัดสินใจใชบริการพยากรณโหราศาสตรของ ผูใชบริการในเขตกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการการตลาด มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). “แนวทางสงเสริมภูมิปญญาไทย.” ใน การจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. กัญชัช ศศิธร. (2541). “บทบาทของหมอดูในสังคมไทย:กรณีศึกษาเฉพาะเขตกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร. กันยาวีร สัทธาพงษ. (2552). คิดใหม โหราศาสตรหลังนวยุค. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ขาแผนดิน. (2548). ฤาจะถึงกาลอวสานหมอดู. ปทุมธานี: ดีจะ พับลิชช่ิง. คณพศ ครองผล. (2556) พยากรณสาร. 67. 1 (มกราคม). จรัญ พิกุล. (2504). “โหราศาสตรกับวิถีชีวิตมนุษย.” โหราศาสตรและการพยากรณบางเรื่อง.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (2534). รวบรวมจรรยาบรรณอาจารยและจรรยาบรรณวิชาชีพ.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จํารัส ปทมสูต. (2517). อุตุโหราวิทยา คูมือการศึกษาธรรมชาติจากดวงดาว. สมุทรปราการ: ขนิษฐาการพิมพและโฆษณา. จํานงค อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ. (2549). สังคมวิทยา. พิมพคร้ังที่ 13. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. เฌอมาลย ราชภัณฑารักษ. (2545). มนุษยกับสังคม. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ฐานิกาพิชญศา เอกนาม. (2556). นายกสมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย. สัมภาษณ, 14 ธันวาคม. ณัฐยา นอยเหลือ. (2546). “การวิเคราะหอุปสงคของการใชบริการหมอดูในกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 130: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

117

ดิเรก ปทมสิริวัฒน และ พัชรินทร สิรสุนทร. (2547). ความรูคูสังคม รวมผลงานวิจัยของ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร. กรุงเทพฯ: พี เอ ลีฟวิ่ง. ถนอมศักด์ิ จิรายุสวัสด์ิ และ ปารณี คชพร. (2554). แมนขั้นเทพ. กรุงเทพฯ: ปราชญ. เทพ สาริกยบุตร. (2506). โหราศาสตรในวรรณคดี. พระนคร: ศิลปาบรรณาคาร. . (2535). แนวทางศึกษาโหราศาสตร. กรุงเทพฯ: วิทยากร. ธัญมน สุริยาศักด์ิ. (2557). โหราจารย สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ. สัมภาษณ, 27 พฤษภาคม. ธนกร สินเกษม. (2556) นายกสมาคมโหรแหงประเศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ. สัมภาษณ, 19 พฤศจิกายน. ธนิก เลิศชาญฤทธ. (2554). การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยา สิรินธร. ธนิต อยูโพธิ์. (2545). สมเด็จพระนารายณมหาราช และนักปราชญราชกวีในรชัสมัย.

กรุงเทพฯ: อักษรเจริญ. ธานินทร กรัยวิเชียร. (2542). สูจิบัตรพิธีมอบเกียรติบัตรและวุฒิบัตร พุทธศักราช 2542.

กรุงเทพฯ: สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ. นรินทร แจมจํารัส. (2549). การพัฒนาองคการ. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ: ศูนยพัฒนาทุนมนุษย มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. นวฤทธิ์ เอิบอ่ิม. (2540). “แนวทางการสรางความเชื่อของนักโหราศาสตรผานส่ือส่ิงพิมพใน บริบททางโหราศาสตรและทางธุรกิจ.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา การหนังสือพิมพ ภาควิชาวารสารสนเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปฬาณี ฐิติวัฒนา. (2523). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. ประภาศรี สีหอําไพ. (2550). พื้นฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ประเวศ วะสี. (2530). การสรางสรรคภูมิปญญาไทยเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ชุมชนพัฒนา. ปราชญา กลาผจัญ. (2544). คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: ขาวฟาง. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม) กับ พระจักพรรพิพงศ (จาด). (2507). พระนคร: คลังวิทยา.

Page 131: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

118

พรประภา พันธบูรณะ. (2557). โหราจารย สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ. สัมภาษณ, 7 พฤษภาคม. พิภพ วชังเงิน. (2545). จริยธรรมวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ. พิไลรัตน รุจิวณิชยกุล. (2524). Wการศึกษาปญหาสุขภาพจิตของผูมารับบริการจากหมอดู: ศึกษาเฉพาะกรณีผูมารับบริการจากหมอดูของสมาคมโหราศาสตรแหงประเทศไทย.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ภาวิณี สุขพร. (2556). โหราจารย สมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ. สัมภาษณ, 13 ธันวาคม. ภิญโญ พงศเจริญ. (2557) นายกสมาคมโหราศาสตรนานาชาติ. สัมภาษณ, 18 มกราคม. . (2543). “บทบาทของโหรในสังคมไทย.” ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ภักด์ิ ตามสมบัติ. (2520). ดวงชาตา. กรุงเทพฯ: กรมแผนที่ทหาร. มงคล หวังสุขใจ และคณะ. (2547). สังคมวิทยาเบื้องตน. พิมพคร้ังที่ 7. กรุงเทพฯ: สํานักวิชาการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยศรีปทุม. ยลลดา มณเฑียรมณี. (2538). “หมอดู : ทางเลือกสําหรับความ มั่นคงทางจิตใจ.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิขามานุษยวิทยาประยุกต มหาวิทยาลัยมหิดล. ราตรี ปนแกว. (2554). “หมอดูออนไลน : การสื่อสารความเชื่อโหราศาสตรผานส่ืออินเตอรเน็ต.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน. เรไร ไพรวรรณ. (2553). คติชนและภูมิปญญาไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี. วรพล ไมสน. (2557). โหราจารย มูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภ. สัมภาษณ, 19 มกราคม. วัชรพล ไมสน. (2557). มารยาทโหรเกาที่ขาพเจารูจัก. เขาถึงเมือ่ 24 มกราคม. เขาถึงได

จาก http://www.payakorn.com/webboard_ans.php?q_id=2095 วรวุธ สุวรรณฤทธิ์ และคณะ. (2549). วิถีไทย. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. วันวิสาข ชูชนม. (2537). เปดปูมประวัติ ๒๕ ยอดโหรเมืองไทย ทําเนียบหมอดู. กรุงเทพฯ: มติชน.

Page 132: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

119

วิโรจน กรดนยิมชัย. (2557). โหราจารย มูลนิธิสมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระสังฆราชูปถมัภ. สัมภาษณ, 19 มกราคม.

ศิวนาถ ฤชพุนัธ. (2556). โหราจารย สมาคมโหรแหงประเทศไทยในพระบรมราชินปูถัมภ. สัมภาษณ, 7 ธันวาคม. ศิริญญา สุจินตวงษ. (2554). ๑๐๐ เรื่องล้ําสมัยในสยาม. กรุงเทพฯ: อมรินทร. ศูนยวิจัยกสิกรไทย. (2551). ธุรกิจหมอดูป ’51-ป ’52 : ลูกคาใชบริการเพิ่ม...แตเม็ดเงิน

รวมชะลอตัว, กระแสทรรศน ฉบับท่ี 2122. เขาถึงเมื่อ 3 มกราคม. เขาถึงไดจาก https://www.kasikornresearch.com /TH/K-EconAnalysis/Pages/ViewSummary

.aspx?docid=18112 ส. พลายนอย, [นามแฝง]. (2525). “โหราศาสตรในราชสํานัก.” ใน กฏพยากรณแหงโหรสยาม

ฉบับเฉลิมรัฐ ฉัตรแกว เกาแผนดิน ฉลองกาลรัตนโกสินทรสองรอยป. กรุงเทพฯ: มิตรเจริญการพิมพ. สมาคมโหราศาสตรนานาชาติ. (2542). สูจิบัตรพิธีมอบเกียรติบัตรและวุฒิบัตร พุทธศักราช

2542. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. สมาคมสหพันธโหร-แพทยแผนไทย. (2557). คุณสมบัติของผูที่จะเปนโหร. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. สมยศ สิงหคํา. (2550). โครงการรวมพลังสงเสริมจรรยาบรรณวิชาชีพภาคสังคม. กรุงเทพฯ: สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงวัฒนธรรม. สานิต ศิริวิศิษฐกุล. (2535). “หมอดู : กระบวนการสรางตัวตนและความสัมพันธทางสังคม.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา คณะสังคมวิทยาและ มนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สิรินทรสฤษฎ วินิจสร. (2548). “การสื่อสารระหวางหมอดูกับผูเขารับบริการ.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวาทวิทยา ภาควิชาวาทวิทยาและส่ือสารการแสดง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุวรรณา สถาอานันท และ เนื่อนอย บุณยเนตร. (2535). ความคิดและภูมิปญญาไทย คํา :

รองรอยความคิด ความเชื่อไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงานวิจัย ฝายวิจัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุพัตรา สุภาพ. (2519). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. . (2538). สังคมวิทยา. พิมพคร้ังที่ 17. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

Page 133: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

120

สุพัตรา สุภาพ. (2549). สังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. สุธิวงศ พงศไพบูลย. (2545). “วัฒนธรรมการเรียนรูของคนไทย.” รวมบทความนําเสนอ

ในการประชุมวิชาการประจําป 2545. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร. เสรี พงศพิศ. (2529). คืนสูรากเหงา. กรุงเทพฯ: เทยีนวรรณ. หญิงณัฐชาพัชร สันติเลิศ. (2557). โหราจารย สมาคมสหพนัธโหร-แพทยแผนไทย. สัมภาษณ, 28 มิถุนายน. อาคม หนูทอง. (2557). โหราจารย สมาคมสหพนัธโหร-แพทยแผนไทย. สัมภาษณ, 22 มิถุนายน. อาจารยนพ. (2557) “ดวงดาวของทาน.” ไทยรัฐ (20 พฤษภาคม): 11. อานนท อาภาภิรม. (2516). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: แพรวิทยา . อารี สวัสดี. (2557). ประธานมูลนธิิสมาคมโหรแหงประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ. สัมภาษณ, 22 มิถุนายน. อุดม เพชรสังหาร แลคณะ. (2541). “สภาวะสุขภาพจิตของผูใชบริการหมอดูในเขตเทศบาล เมืองขอนแกน.” วารสารกรมสุขภาพจิต. 5, 2 (เมษายน-มิถุนายน). อุตตราษาฒ. (2557). “คูสมกับราศี.” คูสรางคูสม. 34, 817 (4 ตุลาคม): 97. เอกวิทย ณ ถลาง. (2544). ภาพรวมภูมิปญญาไทย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: อมรินทร. โฮโรเวิลด. (2557). เว็บไซตใหบริการพยากรณดวงชะตา. เขาถึงเมื่อ 24 มกราคม. เขาถึง ไดจาก http://service.horoworld.com/live1900

Page 134: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

ภาคผนวก

Page 135: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

122

ภาคผนวก ก แนวคําถามสมัภาษณเรื่องการจัดทาํจรรยาบรรณนกัโหราศาสตรในสังคมไทย

แบบสัมภาษณสาํหรับนายกสมาคมโหราศาสตร

Page 136: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

123

แนวคําถามสมัภาษณเรื่องการจัดทาํจรรยาบรรณนกัโหราศาสตรในสังคมไทย แบบสัมภาษณสาํหรับนายกสมาคมโหราศาสตร

วันท.ี...................เดือน.............................................พ.ศ. ......................ที่ดําเนนิการเก็บขอมูล

ชื่อ............................................................นามสกุล.................................................................

สมาคมโหราศาสตร.................................................................................................................

ตอนที 1 ขอมูลเกียวกบัผูใหสัมภาษณ 1.1 เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 1.2 อาย ุ ( ) ตํ่ากวา 20 ป ( ) 21 - 30 ป ( ) 31 - 40 ป ( ) 41 - 50 ป ( ) 51 – 60 ป ( ) 60 ป ข้ึนไป 1.3 ศาสนา ( ) พทุธ ( ) คริสต ( ) อิสลาม ( ) ซกิข ( ) อ่ืน ๆ........................................................................ 1.4 ระดับการศึกษา ( ) ตํ่ากวาป.6 ( ) ม.ตน – ม.ปลาย ( ) อนุปริญญาหรือเทยีบเทา ( ) ปริญญาตรี ( ) ปริญญาโท ( ) ปริญญาเอก 1.5 อาชีพ ( ) รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ( ) ธุรกิจสวนตัว / คาขาย ( ) นักโหราศาสตร ( ) พนกังานบริษัทเอกชน ( ) อ่ืน ๆ........................................................................

Page 137: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

124

ตอนที 2 การเรยีนรูโหราศาสตร 2.1 เร่ิมศึกษาเร่ืองโหราศาสตรไดอยางไร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.2 สภาพการเรียน การสอนโหราศาสตรเปนอยางไร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.3 จรรยาบรรณนักโหราศาสตร คืออะไร มีอะไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.4 วิธีการพยากรณดวงชะตามีอยางไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

Page 138: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

125

ตอนที 3 สภาพการณนักโหราศาสตรในปจจุบนั 3.1 โหราศาสตรมีคุณคาอะไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 3.2 บทบาทหนาที่ของนักโหราศาสตรในสังคมและปญหาที่เกิดข้ึน? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 3.3 สมาคม มีการถายทอดวิชาโหราศาสตรและจรรยาบรรณนักโหราศาสตรอยางไร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 3.4 สมาคม มีการควบคุมจรรยาบรรณนักโหราศาสตรอยางไร และมีปญหาอุปสรรคอยางไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

Page 139: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

126

ตอนที 4 ความเปนมาและดําเนินงานของสมาคมโหราศาสตร 4.1 ประวัติความเปนมา? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 4.2 วัตถุประสงคของสมาคม? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 4.3 บทบาทของสมาคมตอสังคม? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ตอนที 5 แนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนกัโหราศาสตร 5.1 ความคิดเหน็เกี่ยวกับจรรยาบรรณนักโหราศาสตรที่ไดรับการถายทอดมา? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

Page 140: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

127

5.2 แนวทางการจดัทําจรรยาบรรณของผูที่ทาํหนาทีพ่ยากรณทางโหราศาสตร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 5.3 แนวทางการพัฒนาปรับปรุงนักโหราศาสตร และสมาคมโหราศาสตร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

ลงช่ือ...................................................ผูสัมภาษณ วันท.ี..........เดือน...............................พ.ศ..............

Page 141: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

128

ภาคผนวก ข แนวคําถามสมัภาษณเรื่องการจัดทาํจรรยาบรรณนกัโหราศาสตรในสังคมไทย แบบสัมภาษณสาํหรับอาจารยผูสอนวชิาโหราศาสตรและวิชาการพยากรณ

Page 142: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

129

แนวคําถามสมัภาษณเรื่องการจัดทาํจรรยาบรรณนกัโหราศาสตรในสังคมไทย แบบสัมภาษณสาํหรับอาจารยผูสอนวชิาโหราศาสตรและวิชาการพยากรณ

วันท.ี...................เดือน.............................................พ.ศ. ......................ที่ดําเนนิการเก็บขอมูล

ชื่อ............................................................นามสกุล.................................................................

สมาคมโหราศาสตร.................................................................................................................

ตอนที 1 ขอมูลเกียวกบัผูใหสัมภาษณ 1.1 เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 1.2 อาย ุ ( ) ตํ่ากวา 20 ป ( ) 21 - 30 ป ( ) 31 - 40 ป ( ) 41 - 50 ป ( ) 51 – 60 ป ( ) 60 ป ข้ึนไป 1.3 ศาสนา ( ) พทุธ ( ) คริสต ( ) อิสลาม ( ) ซิกข ( ) อ่ืน ๆ........................................................................ 1.4 ระดับการศึกษา ( ) ตํ่ากวาป.6 ( ) ม.ตน – ม.ปลาย ( ) อนุปริญญาหรือเทยีบเทา ( ) ปริญญาตรี ( ) ปริญญาโท ( ) ปริญญาเอก 1.5 อาชีพ ( ) รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ( ) ธุรกิจสวนตัว / คาขาย ( ) นักโหราศาสตร ( ) พนกังานบริษัทเอกชน ( ) อ่ืน ๆ........................................................................

Page 143: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

130

ตอนที 2 การเรยีนรูโหราศาสตร 2.1 เร่ิมศึกษาเร่ืองโหราศาสตรไดอยางไร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.2 สภาพการเรียน การสอนโหราศาสตรเปนอยางไร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

.......................................................................................................................................

2.3 จรรยาบรรณนักโหราศาสตร คืออะไร มีอะไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.4 วิธีการพยากรณดวงชะตามีอยางไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

Page 144: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

131

ตอนที 3 สภาพการณนักโหราศาสตรในปจจุบนั 3.1 โหราศาสตรมีคุณคาอะไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 3.2 บทบาทหนาที่ของนักโหราศาสตรในสังคมและปญหาที่เกิดข้ึน? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 3.3 สมาคม มีการถายทอดวิชาโหราศาสตรและจรรยาบรรณนักโหราศาสตรอยางไร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 3.4 สมาคม มีการควบคุมจรรยาบรรณนักโหราศาสตรอยางไร และมีปญหาอุปสรรคอยางไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

Page 145: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

132

ตอนที 4 แนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร 4.1 ความคิดเหน็เกี่ยวกับจรรยาบรรณนักโหราศาสตรที่ไดรับการถายทอดมา? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 4.2 แนวทางการจดัทําจรรยาบรรณของผูที่ทาํหนาทีพ่ยากรณทางโหราศาสตร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 4.3 แนวทางการพัฒนาปรับปรุงนักโหราศาสตร และสมาคมโหราศาสตร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

ลงช่ือ...................................................ผูสัมภาษณ วันท.ี..........เดือน...............................พ.ศ..............

Page 146: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

133

ภาคผนวก ค. แนวคําถามสมัภาษณเรื่องการจัดทาํจรรยาบรรณนกัโหราศาสตรในสังคมไทย แบบสัมภาษณสาํหรับผูทีเ่คยรับบริการพยากรณโชคชะตาจากนกัโหราศาสตร

Page 147: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

134

แนวคําถามสมัภาษณเรื่องการจัดทาํจรรยาบรรณนกัโหราศาสตรในสังคมไทย แบบสัมภาษณสาํหรับผูทีเ่คยรับบริการพยากรณโชคชะตาจากนกัโหราศาสตร

วันท.ี...................เดือน.............................................พ.ศ. ......................ที่ดําเนนิการเก็บขอมูล

ชื่อ............................................................นามสกุล.................................................................

ตอนที 1 ขอมูลเกียวกับผูใหสัมภาษณ 1.1 เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 1.2 อายุ ( ) ตํ่ากวา 20 ป ( ) 21 - 30 ป ( ) 31 - 40 ป ( ) 41 - 50 ป ( ) 51 – 60 ป ( ) 60 ป ข้ึนไป 1.3 ศาสนา ( ) พุทธ ( ) คริสต ( ) อิสลาม ( ) ซกิข ( ) อ่ืน ๆ........................................................................ 1.4 ระดับการศึกษา ( ) ตํ่ากวาป.6 ( ) ม.ตน – ม.ปลาย ( ) อนุปริญญาหรือเทียบเทา ( ) ปริญญาตรี ( ) ปริญญาโท ( ) ปริญญาเอก 1.5 อาชีพ ( ) รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ( ) ธุรกิจสวนตัว / คาขาย ( ) นักศึกษา ( ) พนักงานบริษัทเอกชน ( ) อ่ืน ๆ........................................................................

Page 148: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

135

ตอนที 2 การรับบริการพยากรณโชคชะตา 2.1 วัตถุประสงคในการมารับบริการพยากรณ? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.2 วิธีการพยากรณของนักโหราศาสตรเปนอยางไร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.3 เรื่องที่ใหนักโหราศาสตรพยากรณมีอะไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.4 วิชาโหราศาสตรที่เลือกใหนักโหราศาสตรใชพยากรณ? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

Page 149: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

136

ตอนที 3 สภาพการณนักโหราศาสตรในปจจุบัน 3.1 โหราศาสตรมีคุณคาอะไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 3.2 ปญหาที่พบจากการไปรับบริการพยากรณโหราศาสตรมีอะไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ตอนที 4 แนวทางการจัดทําจรรยาบรรณนักโหราศาสตร 4.1 คาดหวังใหนักโหราศาสตรมีจรรยาบรรณอะไรบาง? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 4.2 แนวทางการจัดทําจรรยาบรรณของผูที่ทําหนาที่พยากรณทางโหราศาสตร? ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................

ลงช่ือ...................................................ผูสัมภาษณ วันท.ี..........เดือน...............................พ.ศ..............

Page 150: 2556 - thapra.lib.su.ac.th · ฐานิกาพิชญ ศา เอกนาม นายกสมาคมสหพันธ โหร-แพทย แผนไทย อาจารย

  137

ประวัติผูวิจยั

ชื่อ – สกลุ นายเกรียงไกร กันยะ

ที่อยู 101 หมู 4 ตําบลเจดียชัย อําเภอปว จงัหวดันานที่ทํางาน บริษัท กลากาว อินสไปเรช่ัน จํากัด เลขที่ 848/386 ถนนประชาช่ืน แขวงวงศสวาง เขตบางซ่ือ กรุงเทพมหานคร ประวัติการศกึษา พ.ศ. 2544 สําเร็จการศึกษาปริญญาบัณฑิต สาขาวชิารัฐประศาสนศาสต สถาบันราชภัฎลําปาง พ.ศ. 2545 ประกาศนยีบัตรบัณฑิต (บัณฑิตอาสาสมัคร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2552 ศึกษาตอปริญญามหาบัณฑติ สาขาวชิาการจัดการทรัพยาก วัฒนธรรม บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2546 – 2547 นักวจิัยโครงการ Trace : Trafficking from Community to

Exploitation ภายใต Unicef East Asia and Pacific Regional Office

พ.ศ. 2547 – 2550 เจาหนาที่โครงการครอบครัวเขมแข็ง สถาบันรักลูก พ.ศ. 2550 – 2556 พนกังาน บริษทั รักลูกฮิวแมน แอนด โซเชยีล อินโนเวช่ัน จาํกัด พ.ศ. 2557 – ปจจุบัน ผูบริหาร บริษทั กลากาว อินสไปเรช่ัน จํากัด