2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป...

148
เพศสถานะในงานศิลปะของไมเคิล เชาวนาศัย โดย นายบารมี สมาธิปญญา วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทฤษฎีศิลป ภาควิชาทฤษฎีศิลป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2555 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ

Upload: others

Post on 09-Jun-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

เพศสถานะในงานศิลปะของไมเคิล เชาวนาศัย

โดย

นายบารมี สมาธิปญญา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศกึษาตามหลกัสูตรปริญญาศลิปมหาบณัฑิต

สาขาวชิาทฤษฎีศลิป ภาควิชาทฤษฎีศลิป

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร ปการศึกษา 2555

ลิขสิทธิข์องบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 2: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

เพศสถานะในงานศิลปะของไมเคิล เชาวนาศัย

โดย นายบารมี สมาธิปญญา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศกึษาตามหลกัสูตรปริญญาศลิปมหาบณัฑิต

สาขาวชิาทฤษฎีศลิป ภาควิชาทฤษฎีศลิป

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร ปการศึกษา 2555

ลิขสิทธิข์องบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 3: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

GENDER IN MICHAEL SHAOWANASAI'S WORKS

By Mr. Baramee Smathipunya

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

Master of Fine Arts Program in Art Theory Department of Art Theory

Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2012

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 4: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “เพศสถานะในงาน

ศิลปะของไมเคิล เชาวนาศัย” เสนอโดย นายบารมี สมาธิปญญา เปนสวนหนึ่งของการศึกษา

ตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทฤษฎีศิลป

……..............................................................

(ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ4)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันที่........เดือน...........................พ.ศ.............

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

รองศาสตราจารยสุธี คุณาวิชยานนท

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ

.......................................................ประธานกรรมการ

(อาจารย ดร. สุธา ลีนะวัต)

................../................../..................

.......................................................กรรมการ

(ศาสตราจารยเกียรติคุณ กําจร สุนพงษศรี)

................../................../..................

.......................................................กรรมการ

(รองศาสตราจารย สุธี คุณาวิชยานนท)

................../................../..................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 5: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป

คําสําคัญ : เพศสถานะ / ไมเคิล เชาวนาศัย

บารมี สมาธิปญญา : เพศสถานะในงานศิลปะของไมเคิล เชาวนาศัย. อาจารยที่

ปรึกษาวิทยานิพนธ : รศ. สุธี คุณาวิชยานนท. 136 หนา.

การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อแสดงใหเห็นความเชื่อมโยงสอดคลองกันระหวาง

ศิลปะ เพศสถานะและสังคมในงานของไมเคิล เชาวนาศัย และบทบาทในเร่ืองการเรียกรองสิทธิ

มนุษยชนและคนรักเพศเดียวกัน

จากการศึกษาผลงานของไมเคิลต้ังแตป พ.ศ.2540 -2554 พบวางานของศิลปนนั้นมี

ความเก่ียวของกับเพศสถานะอยางนาสนใจ โดยแบงไดเปน 5 กลุม คือ เพศสถานะกับอัตลักษณ

เกย, เพศสถานะกับศาสนา, เพศสถานะกับบทบาทผูหญิง, เพศสถานะกับประวัติศาสตร รวมถึง

เพศสถานะในภาพยนตรไอออน พุสซ่ีอีกดวย

ศิลปนไดต้ังคําถามเกี่ยวกับเร่ืองอัตลักษณสอดคลองกับแนวคิดหลังสมัยใหมซึ่งอัต

ลักษณนั้นไมไดเปนส่ิงที่ตายตัว เปล่ียนแปลงไมได เร่ืองเพศสถานะก็เชนเดียวกัน ในมุมมอง

ศาสนาจะเห็นไดชัดที่ผูหญิงอยูระดับตํ่ากวาชาย ในเร่ืองบทบาทของผูหญิงนั้นศิลปนก็ต้ังคําถาม

กับแบบอยางผูหญิงในอุดมคติวาการเปนเมียและแมที่ดี ที่ตองสวยรวย เกง ทุกอยาง ใน

ประวัติศาสตรนั้นก็มีการตอสูของผูหญิงดวย ทวากลาวถึงไมมากนัก และในภาพยนตรไอออน พุส

ซี่ ก็จะแสดงใหเห็นความเปนหญิงเกง ในการเปนนักสืบและการตอสู

ภาควิชาทฤษฎีศิลป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ลายมือช่ือนักศึกษา ................................... ปการศึกษา 2555

ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ...................................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 6: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

51005207 : MAJOR : ART THEORY

KEY WORDS : GENDER / MICHAEL SHAOWANASAI

BARAMEE SMATHIPUNYA : GENDER IN MICHAEL SHAOWANASAI'S WORKS.

THESIS ADVISOR : ASSOC. PROF. SUTHEE KUNAVICHAYANONT. 136 pp.

The purposes of this thesis were to show the relative of art and gender in Michael

Shaowanasai’s works and his works have roled the human rights and homosexual.

In Michael’s works (1997-2011) are divided into 5 groups : Gender and Gay

Identities, Gender and Religion,Gender and Women’s Roles,Gender and History,and Gender

in The Adventure of Iron Pussy.

Michael have questions about the identities. The Identities are not stable or

unchangeable. And gender is stable and changeable. We can see in clear that women are

lower than men in religion concept. Michael have questions about the idea of good mother

and good wife. In his films The Adventure of Iron Pussy showed the clever woman who can

be both a spy and a fighter.

Department of Art Theory Graduate School, Silpakorn University

Student's signature ………………………………… Academic Year 2012

Thesis Advisor's signature ........................................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 7: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้ลุลวงไดดวยความกรุณาของ รองศาสตราจารยสุธี คุณาวิชยานนท

ที่ดูแลเอาใจใสเสมอมาต้ังแตเรียนกับอาจารยและรับเปนที่ปรึกษาวิทยาพนธ นอกจากนี้ผูศึกษาไม

คาดฝนวาจะไดเปนกัลยาณมิตรกับศิลปนคนสําคัญคนหนึ่งของไทยคือ ไมเคิล เชาวนาศัย ผูเปน

ประเด็นศึกษา คอยใหคําแนะนําและความรูมากมาย คุณฐิติกา อัศวเดชเมธากุล ที่คอยชวยเหลือ

ในหลายเร่ืองในทุกดานเกี่ยวกับการออกแบบ จัดหนาตางๆ และเพื่อนรุนที่สามที่เคยรวมเรียน

คอยไตถามทุกขสุขเสมอมา

เหนือส่ิงอ่ืนใดการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตของผูศึกษาจะเกิดข้ึนไมไดเลย

หากไมมี “คุณแมขาส้ัน” กรัณยา ชัยรัตน ผูชวยเหลือทั้งกําลังใจและทุนการศึกษาเสมอมา ทําให

ผูศึกษาประจักษวา “พระเจามีอยูจริง”

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 8: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................... ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ................................................................................................ จ

กิตติกรรมประกาศ ...................................................................................................... ฉ

สารบัญภาพ............................................................................................................... ฌ

บทที ่

1 บทนาํ ......................................................................................................... 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ................................................ 1

วัตถุประสงคของการศึกษา.................................................................... 3

สมมติฐานของการศึกษา....................................................................... 4

ขอบเขตการศึกษา ................................................................................ 4

ข้ันตอนการศึกษา ................................................................................. 4

ขอตกลงเบื้องตน .................................................................................. 4

ความจํากัดทางการศึกษา ..................................................................... 5

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ .................................................................... 5

2 แนวคิดเร่ืองเพศสถานะ : วรรณกรรมที่เกีย่วของ ............................................. 6

ความหมายของเพศ/เพศสรีระ เพศสถานะ และเพศวิถี ............................. 6

ลักเพศวทิยา (Queer Theory) ............................................................... 14

เพศในมุมมองจิตวิทยา ......................................................................... 19

เพศในมุมมองทางการแพทย ................................................................. 22

เพศในมุมมองศาสนา ........................................................................... 24

เพศในมุมมองประวัติศาสตร.................................................................. 27

เพศในงานศิลปะ .................................................................................. 32

เพศสถานะในส่ือมวลชนของไทยมมุมองจากนกัวิชาการส่ือสารมวลชน

และมานษุยวทิยา.......................................................................... 39

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 9: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

บทที ่ หนา

3 เพศสถานะในงานศิลปะรวมสมัยไทย ต้ังแตป พ.ศ.2535 -2554 ....................... 43

ผลงานของจักรพันธุ โปษยะกฤต............................................................ 43

ผลงานของอภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล..................................................... 49

ผลงานของโอหม พันธุไพโรจน ............................................................... 54

ผลงานของปน ปน นาคประเสริฐ ........................................................... 57

4 ประวัติและผลงานของไมเคิล เชาวนาศัย ....................................................... 62

ประวัติชีวิตของไมเคิล เชาวนาศัย .......................................................... 62

ผลงานของไมเคิล เชาวนาศัยชวงป พ.ศ. 2540-2554............................... 65

ภาพรวมของผลงานทีม่ีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาและการใชคําในการส่ือสาร

ความคิด ...................................................................................... 77

ผลงานทีม่ีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา ........................................................... 77

ผลงานที่ใชคําในการส่ือสารความคิด...................................................... 80

5 เพศสถานะในงานของไมเคิล เชาวนาศัย ....................................................... 85

เพศสถานะกบัอัตลักษณเกย.................................................................. 85

เพศสถานะกบัศาสนา ........................................................................... 99

เพศสถานะกบับทบาทผูหญิง................................................................. 107

เพศสถานะกบัประวัติศาสตร ................................................................. 112

เพศสถานะในไอออน พุสซ่ี .................................................................... 116

6 สรุปและขอเสนอแนะ .......................................................................................... 126

ขอเสนอแนะ................................................................................................ 128

รายการอางอิง............................................................................................................ 129

ประวัติผูวิจัย .............................................................................................................. 136

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 10: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา

1 ภาพผลงานช่ือ Untitled (Portrait of Ross in L.A.) โดย เฟลิกซ กอนซาเลซ

ทอรเรส.................................................................................................. 33

2 ภาพผลงานช่ือ We Don't Need Another Hero โดยบารบารา ครูเกอร.............. 34

3 ภาพผลงานช่ือ Passage โดย เจนน ีซาวลิล ..................................................... 35

4 ภาพผลงานช่ือ Les Maries โดย ปแอรและจีลล............................................... 36

5 ภาพผลงานช่ือ Ajitto โดย โรเบิรต แม็พเพลิธอรพ ............................................. 37

6 ภาพจิตรกรรมฝาผนงัทหารกาํลังชกัลากหญิงสองคนที่อยูในอารมณสวาท .......... 38

7 ภาพจิตรกรรมฝาผนงัผูหญิงเชยนมกันทีว่ดัคงคาราม จ.ราชบุรี........................... 39

8 ภาพผลงานช่ือ รอออกฉาก โดยจักรพนัธุ โปษยะกฤต........................................ 44

9 ภาพผลงานช่ือ วัลลภิศร สดประเสริฐ (ตอง) โดยจักรพนัธุ โปษยะกฤต................ 46

10 ภาพผลงานช่ือ คนนัง่ โดยจักรพันธุ โปษยะกฤต................................................ 47

11 ภาพผลงานช่ือ พระพรหม โดยจักรพนัธุ โปษยะกฤต ......................................... 48

12 โปสเตอรภาพยนตรเร่ือง Mysterious Object at Noon...................................... 50

13 โปสเตอรภาพยนตรเร่ืองสัตวประหลาด (Tropical malady) ............................... 51

14 ภาพนิง่จากภาพยนตรเร่ืองสัตวประหลาด (Tropical malady) ........................... 52

15 ภาพนิง่จากวดีิโออารต Primitive Project โดยอภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล .......... 53

16 ภาพผลงาน ชุด New Identity โดยโอหม พันธุไพโรจน....................................... 54

17 ภาพผลงาน ชุด Underage โดยโอหม พนัธุไพโรจน........................................... 56

18 ภาพผลงานช่ือ Employee of the Month โดยปน ปน นาคประเสริฐ ................... 57

19 ภาพผลงานช่ือ นางกวัก โดยปน ปน นาคประเสริฐ............................................ 59

20 ภาพผลงานช่ือ Rum Nang GwakGa โดยปน ปน นาคประเสริฐ ........................ 60

21 ภาพผลงานช่ือ Untitled โดยไมเคิล เชาวนาศัย................................................. 64

22 สถานที ่Project 304 49/3 ถนนเศรษฐสิริ พญาไท กรุงเทพฯ ,2539 ................... 65

23 โปสเตอรภาพยนตร The Adventure of Iron Pussy ภาคที่ 4 หัวใจทระนง .......... 68

24 หนาปกสูจิบัตรเทศกาลเวนสิ เบียนนาเล คร้ังที่ 50 ณ ศาลาไทย ประเทศอิตาลี.... 69

25 โปสเตอรภาพยนตร หมากเตะรีเทิรนส ............................................................. 70

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 11: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

ภาพที ่ หนา

26 โปสเตอรภาพยนตร แกงชะนีกับอีแอบ ............................................................. 71

27 หนาปกหนงัสือ SALA ของนาวิน ลาวัลยชัยกุล ................................................. 72

28 หนาปกหลังของหนังสือ SALA ของนาวิน ลาวัลยชยักุล ..................................... 73

29 โปสเตอรภาพยนตร ความจําส้ันแตรักฉันยาว ................................................... 74

30 โปสเตอรภาพยนตร ความสุขของกะทิ.............................................................. 74

31 ปกหนาสูจิบัตรเทศกาลเวนสิ เบียนนาเลคร้ังที่ 53 ณ ศาลาไทย ประเทศอิตาลี... 75

32 ฉากหนึง่ของภาพยนตรเร่ือง Camellia............................................................. 76

33 ภาพผลงานช่ือ กระจก โดยไมเคิล เชาวนาศัย ................................................... 78

34 ภาพผลงานช่ือ พระพุทธ โดยไมเคิล เชาวนาศัย ................................................ 79

35 ภาพผลงานช่ือ พระธรรม โดยไมเคิล เชาวนาศัย ............................................... 79

36 ภาพผลงานช่ือ พระสงฆ โดยไมเคิล เชาวนาศัย ................................................ 80

37 ภาพผลงานช่ือ ฟลาวเวอร โดยไมเคิล เชาวนาศัย.............................................. 81

38 ภาพผลงานช่ือ At last โดยไมเคิล เชาวนาศัย ................................................... 82

39 ภาพผลงานช่ือ VIH โดยไมเคิล เชาวนาศัย ....................................................... 83

40 ภาพผลงานช่ือ french men smell good โดยไมเคิล เชาวนาศัย ........................ 84

41 ภาพนิง่จากวดีิโออารต WELCOME TO MY LAND โดยไมเคิล เชาวนาศัย.......... 86

42 ภาพนิง่จากวดีิโออารต WELCOME TO MY LAND โดยไมเคิล เชาวนาศัย.......... 87

43 ภาพผลงานช่ือ So Sorry for the inconveniences โดยไมเคิล เชาวนาศัย .......... 88

44 ภาพผลงานช่ือ So Sorry for the inconveniences II โดยไมเคิล เชาวนาศัย........ 89

45 ภาพผลงานช่ือ Henna1 โดยไมเคิล เชาวนาศัย................................................ 90

46 ภาพผลงานช่ือ Henna2 โดยไมเคิล เชาวนาศัย................................................ 91

47 ภาพผลงานช่ือ Henna3 โดยไมเคิล เชาวนาศัย................................................ 91

48 ภาพผลงานช่ือ Henna4 โดยไมเคิล เชาวนาศัย................................................ 92

49 ภาพผลงานช่ือ Glad Day 1 โดยไมเคิล เชาวนาศัย ........................................... 93

50 ภาพผลงานช่ือ Glad Day 2 โดยไมเคิล เชาวนาศัย ........................................... 93

51 ภาพผลงานช่ือ Glad Day วิลเลียม เบลค......................................................... 94

52 ภาพผลงานช่ือ La Porte โดยไมเคิล เชาวนาศัย................................................ 95

53 ภาพผลงานช่ือ L’ Etoile โดยไมเคิล เชาวนาศัย................................................. 95

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 12: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

ภาพที ่ หนา

54 ภาพผลงานช่ือ เกย เก โดยไมเคิล เชาวนาศัย ................................................... 96

55 ภาพผลงานช่ือ He กับ Yet โดยไมเคิล เชาวนาศัย............................................ 97

56 ภาพผลงานช่ือ Qua ว y โดยไมเคิล เชาวนาศัย................................................ 97

57 ภาพผลงานช่ือ Portraits of a Man in Habits#1 โดยไมเคิล เชาวนาศัย .............. 99

58 ภาพผลงานช่ือ Portraits of a Man in Habits#2 โดยไมเคิล เชาวนาศัย .............. 100

59 ภาพผลงานชุด ผูหญิงในเส้ือลายดอกกุหลาบ โดยไมเคิล เชาวนาศัย .................. 102

60 ภาพผลงานช่ือ The ecstasy of St. Teresa โดยแบรนินี ................................... 103

61 ภาพผลงานชุด Four Positions of Divina โดยไมเคิล เชาวนาศัย........................ 105

62 ภาพผลงานช่ือ Three Ages of Woman โดยไมเคิล เชาวนาศัย.......................... 106

63 ภาพผลงานช่ือ กุหลาบจามุน 1 โดยไมเคิล เชาวนาศัย ...................................... 108

64 ภาพผลงานช่ือ กุหลาบจามุน 2 โดยไมเคิล เชาวนาศัย ...................................... 108

65 ภาพผลงานช่ือ ชุด ผูหญิงในอุดมคติ โดยไมเคิล เชาวนาศัย .............................. 109

66 ภาพผลงานช่ือ ชุด แมพระแหงแดนพื้นลุม โดยไมเคิล เชาวนาศัย ....................... 111

67 ภาพผลงานช่ือ Hoana โดยไมเคิล เชาวนาศัย................................................. 112

68 ภาพผลงานช่ือ Joanna โดยไมเคิล เชาวนาศัย ................................................. 113

69 ภาพผลงานช่ือ Khmer-Donna-Annunciation โดยไมเคิล เชาวนาศัย................. 114

70 ภาพผลงานช่ือ Khmer-Donna-e Bambino โดยไมเคิล เชาวนาศัย .................... 115

71 ภาพนิง่จากภาพยนตร The Adventure of Iron Pussy ภาคที่สอง Bunzai Chaiyo

โดยไมเคิล เชาวนาศัย ............................................................................. 119

72 ภาพนิง่จาก The Adventure of Iron Pussy ภาคที่ 4 หวัใจทระนง (The Brave

Heart)................................................................................................... 121

73 ภาพผลงานช่ือ ตัวอยางภาพจาก SALA โดยศิลปน นาวนิ ลาวัลยชัยกลุ ............. 123

74 ภาพนิง่จากภาพยนตรเร่ือง Camellia ปพ.ศ. 2554 ........................................... 124

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 13: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

1

บทที่ 1

บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมาการเมืองและเศรษฐกิจของโลกไดเปล่ียนแปลง

อยางรวดเร็ว สังคมไดพัฒนาตามโลกที่เปล่ียนไป ยุคเสรีประชาธิปไตยทําใหเกิดการเคล่ือนไหว

เพื่อเรียกรองสิทธิมีมากมาย รวมทั้งเร่ืองการเรียกรองสิทธิเทาเทียมทางเพศ เพราะเพศหญิงและ

เพศอื่นๆ ที่ถูกกดขี่นั้นไดต้ังคําถามกับระบบปตาธิปไตยที่ชายเปนใหญครอบงํามาโดยตลอด

นอกจากความเคล่ือนไหวทางสังคมแลว เร่ืองเพศและเพศสถานะ ก็ยังปรากฏอยูในงานศิลปะซึ่ง

สะทอนสังคมเกี่ยวกับเร่ืองดังกลาวในยุคนั้นๆ

เพศสถานะ (gender) เปนประเด็นที่นาศึกษาไมนอยไปกวาเพศสรีระ (sex) เพราะ

เพศสรีระนั้นเปนการจําแนกตามหลักการชีววิทยา ซึ่งสวนใหญอยูกับเราไปตลอดชีวิต (ไมนับผูที่

ผาตัดแปลงเพศ ซึ่งเปนอีกประเด็นหนึ่ง) แตเพศสถานะไมใชส่ิงที่ติดตัวเราตลอดไปและสามารถ

เปล่ียนแปลงได เนื่องจากเพศสถานะนั้นเกิดจากสังคม ส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรมที่เราอยูกําหนด

ชีวิตของเรา ไมวาจะเปนเพศหญิง (female) หรือเพศชาย (male) ตางตองเรียนรูบทบาท

พฤติกรรมที่เปนหญิง (feminine) หรือชาย (masculine) ที่เหมาะสมและเปนที่ยอมรับจากสังคม

สวนใหญ เชน ผูชายแท (Real Man) ควรจะเขมแข็ง ไมออนแอหรือออนไหวงาย ขณะที่ ผูหญิงแท

(Real Woman) ควรจะเรียบรอย ละเอียดออนและมีคุณสมบัติพรอมสําหรับการเปนแมศรีเรือน0

1

สวนคําวาเพศสรีระ (sex) นั้นจะนํามาใชในความหมายเฉพาะเร่ืองเพศวิถีของบุคคล

(sexuality) หรือรสนิยมทางเพศของบุคคล (sex orientation) 1

2 ในทางจิตวิทยา ทฤษฎีจิต

วิเคราะหของฟรอยด (Sigmund Freud) มีแนวคิดเกี่ยวกับเร่ืองเพศวา ต้ังแตแรกเกิดของมนุษย

นั้นมีลักษณะเปนไบเซ็กชวล (Bi-sexual) คือสามารถเปนไดทั้งเพศหญิงและเพศชาย เด็กที่มีอายุ

2-3 ปยังไมรับรูวาตนอยูเพศใด จนอายุราว 3-5 ป เด็กจึงจะรับรูและจดจําเพศสถานะของตน เร่ิม

                                                            

1 Julia T. Wood, Gendered lives : communication, gender, and culture,10 th

ed. (Boston : Wadsworth, 2009), 23-24. 

2 Alfred Kinsey, Sexual Behavior the Human Female (Indiana, 1953), 25. 

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 14: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

2

เรียนรูบทบาทหนาที่และทําความเขาใจตอโลก เพื่อเปนชายหรือหญิงที่ดีตามวัฒนธรรมที่กําหนด

โดยสังคม2

3

ฌากส ลากอง (Jacques Lacan) นักจิตวิทยาชาวฝร่ังเศสพัฒนาแนวคิดตอยอดจาก

ฟรอยดเพื่อแสดงใหเห็นวา สาระสําคัญของทฤษฎีจิตวิเคราะห คือ มนุษยเปนสถานะที่ถูกสราง

โดยกฎเกณฑที่มาจากภายนอกตนเองผานภาพลักษณที่สังคมหยิบยื่นให โดยแนวคิดของฟรอยด

และลากองพยายามที่จะปฏิเสธวามนุษยมีความแตกตางทางเพศเพราะเหตุผลทางธรรมชาติ แต

ความแตกตางเกิดมาจากระบบสัญลักษณที่สังคมสรางข้ึน มนุษยจําตองยอมรับเพศสถานะใน

ความเปนหญิงหรือความเปนชายที่สังคมหยิบยื่นใหและเพศสรีระเพียงอยางเดียวนั้นไมสามารถ

กําหนดความเปนหญิงหรือชายได34

แนวคิดหลังสมัยใหมนั้นมีเร่ืองเพศสถานะเกี่ยวของอยูดวย เพราะเร่ืองเพศวิถีของ

บุคคลนั้นเปนส่ิงไมตายตัว และสังคมกําหนดไวเพียงบทบาทที่มีความเปนหญิงหรือชายเทานั้น

ในความเปนจริงแลวภาวะของคนปกติมีความหลากหลายมากกวานั้น เชน ชายที่มีเพศสรีระเปน

ชายอาจมีเพศวิถีที่เปนชายรักชายได เพราะเปนรสนิยมทางเพศที่เกิดข้ึนได ไมถือเปนเร่ืองผิดปกติ

แตที่สังคมมองวาผิดปกติเพราะวาสังคมไดสรางขอจํากัดมากมายและยอมรับจนกลายเปน

บรรทัดฐาน ดังเชนทฤษฎีที่ศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองเพศสถานะของ Queer Theory5 โดยมีจุดเร่ิมตน

จากการพัฒนาแนวคิดของมิเชล ฟูโกต (Michel Foucault)

ในงานศิลปะนั้นมีการแสดงออกเก่ียวกับเร่ืองเพศทั้งเพศสถานะ เพศสรีระและ

กามารมณ มาต้ังแตสมัยกรีกที่เปนลวดลายบนเครื่องปนดินเผา หรือในประเทศไทยก็มีจิตรกรรรม

ฝาผนังเชิงสังวาสของเพศเดียวกันปรากฏอยูในภาพกาก (ภาพในสวนไมสําคัญ) สําหรับศิลปะ

รวมสมัยของตะวันตกนั้นจะมีกลุม “The Guerrilla Girls” ที่ต้ังคําถามและเสียดสีเกี่ยวเร่ืองเพศ

สถานะซึ่งสอดคลองกับการเรียกรองสิทธิสตรี สงผลใหมีความเคล่ือนไหวตางๆ ที่เรียกรองสิทธิ

ของตนขยายวงกวางไปสูกลุมคนรักเพศเดียวกัน (เกยและเลสเบี้ยน) โรคเอดส (ที่ถูกมองในทาง

ลบวาคนกลุมรักเพศเดียวกันเปนเอดสจํานวนมาก) การแตงงานของเพศเดียวกัน ซึ่งเร่ิมมาต้ังแต

                                                            

3 Julia T. Wood, Gendered lives : communication, gender, and culture, 49. 

4 เกสร สิทธหินิว้, “ผาตัดแปลงเพศ ผาตัดชวีิตหญิงในรางชาย,” สารคดี 23, 23

(กุมภาพนัธ 2551): 58. 

5 Kathryn Woodward, Identity and difference, 5th ed. (London: Thousand

Oaks, 2007), 214. 

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 15: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

3

ชวงคริสตทศวรรษ 1970 เปนตนมา ประเด็นเร่ืองเพศสถานะนั้นมีมาอยางตอเนื่อง ตัวอยาง เจนนี่

ซาวิลล (Jenny Saville) ไดผลิตผลงาน ภาพถายชื่อ Passage ในป ค.ศ.2004 หรือแชปแมน บรา

เธอร (Chapman Brothers) สรางผลงานช่ือ Zygotic Accleleration, Biogenetic De-

sublimated Libidinal Model ในป ค.ศ. 19956

สําหรับศิลปะรวมสมัยของไทยมีงานเก่ียวกับเพศสถานะจํานวนไมมากนัก เพราะ

วงการศิลปะถูกครอบงําโดยผูชาย ประกอบดวยศิลปนที่เปนเกย หรือรักเพศเดียวกัน มักไมได

กลาวถึงประเด็นเร่ืองเพศสถานะเปนหลัก เนื้อหาจึงเปนเร่ืองที่ศิลปนตองการจะถายทอด ซึ่งมี

มากมาย เชน การเมือง วัฒนธรรม ประเพณี ส่ิงแวดลอมและการเฉลิมพระเกียรติ เปนตน ทวาไม

เคิล เชาวนาศัย ศิลปนชายรักชายผูทาทายกฎเกณฑสังคมไทยและมีประเด็นเร่ืองเพศสถานะแฝง

อยูในงานของเขาเสมอ อีกทั้ง ตัวศิลปนเองยังเปนแบบในการถายภาพและส่ือสารความคิดของ

ตนผานรางของตัวเองดวย ตัวอยางผลงานเชน Portraits of a Man in Habits ไมเคิลหมจีวร

แสดงบทบาทเปนพระสงฆถือผาเช็ดหนาลายการตูนสีชมพู ผลงานช้ินนี้สะทอนใหเห็นวาภิกษุ

และสามเณรบางรูปนั้นเปนเกย เชื่อมโยงเร่ืองเพศสถานะกับศาสนาและสะทอนสังคมไปพรอมๆ

กัน ป 2546 งาน แกลเลอรีอุปโลกน ภาพการเปดเผยรางกายเปลือยเปลาในชองเล็กๆ นั้นแสดง

แนวคิดเร่ืองอัตลักษณของพวกรักรวมเพศ การเรียกรองสิทธิอีกทั้งใหความสําคัญเกี่ยวกับความ

เปนมนุษย งาน ผูหญิงในเส้ือลายดอกกุหลาบ เปนภาพตัวศิลปนเองใสเคร่ืองประดับสัญลักษณ

ตางกัน 4 ภาพ ก็ต้ังคําถามเกี่ยวกับ ศาสนาและบรรทัดฐานเกี่ยวกับสังคมที่มีตอผูหญิง

วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อแสดงใหเห็นถึงความเช่ือมโยงสอดคลองกันระหวางศิลปะ เพศสถานะและ

สังคมในงานของ ไมเคิล เชาวนาศัย

2. เพื่อศึกษาบทบาทของศิลปนในเร่ืองการเรียกรองสิทธิมนุษยชนและคนรักเพศ

เดียวกัน

                                                            

6 Grant Pooke and Diana Newall, Art history: the basics (New York:

Routledge, 2008), 160. 

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 16: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

4

สมมติฐานของการศึกษา 1. ผลงานของไมเคิล เชาวนาศัยมีคุณคาในเชิงวิจารณเกี่ยวกับเร่ืองเพศสถานะ

กระตุนใหผูชมงานไดตระหนักและฉุกคิดถึงเร่ืองดังกลาว มีการเชื่อมโยงสอดคลองระหวาง ศิลปะ

เพศสถานะ ศาสนา และสังคม

2. ศิลปนมีบทบาทในการเรียกรองสิทธิมนุษยชนและคนรักเพศเดียวกัน โดยส่ือสาร

ผานงานของตน

ขอบเขตการศึกษา 1. ศึกษางานศิลปะของไมเคิล เชาวนาศัยต้ังแตป พ.ศ. 2540-2554 เปนระยะเวลา 14

ป ซึ่งทําใหเห็นพัฒนาการไดเปนอยางดี

2. ศึกษาจากศิลปนโดยตรง นักวิชาการ และนักวิจารณ

ขั้นตอนการศึกษา 1. งานนิพนธฉบับนี้เปนการศึกษาเชิงคุณภาพ วิเคราะหจากเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวกับ

เพศสถานะ พฤติกรรมรักเพศเดียวกัน โดยเฉพาะกลุมชายรักชาย ไดแก ตํารา งานวิจัย บทความ

วิชาการ บทความแสดงความคิดเห็น หนังสือพิมพ นิตยสาร วารสารและส่ืออิเล็กทรอนิกส ฯลฯ

2. ศึกษางานของไมเคิล เชาวนาศัย โดยศึกษาจากงานจริงของศิลปน สูจิบัตร

ภาพถาย วิดีโอ บทความตามเว็บไซต หนังสือตางๆและการสัมภาษณโดยตรง เพื่อจะไดทราบ

แนวคิดของศิลปน รวมไปถึงมุมมองและแนวทางในการสรางสรรคงาน

3. วิเคราะห โดยนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหงานแตละช้ินของศิลปนอยางละเอียดและ

เปนระบบ

4. สรุปและเสนอแนะ จากการศึกษาโดยวิธีขางตนเพื่อนําไปสูบทสรุปเกี่ยวกับ เพศ

สถานะกับงานของศิลปน

ขอตกลงเบื้องตน ทัศนศิลปมีดวยกันหลายแขนง อาทิ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพและส่ือ

ประสม ฯลฯ แตในวิทยานิพนธนี้ จะกลาวถึงงานศิลปะของไมเคิล เชาวนาศัยเฉพาะที่เปน

ภาพถาย ซึ่งศิลปนจะเปนผูแสดงแบบเองและหากใชส่ืออ่ืน เชน วิดีโออารต ส่ือประสม หรือ การ

แสดงสด ผูศึกษาก็จะศึกษาจากภาพถายที่บันทึกไวเปนหลัก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 17: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

5

ความจํากัดทางการศึกษา เนื่องจากเปนการศึกษายอนหลังต้ังแตป 2540 ผูศึกษาจึงศึกษาผลงานบางช้ินของ

ศิลปนจากสูจิบัตร ภาพถายและแฟมผลงานของศิลปน ซึ่งมิใชชิ้นงานจริงที่ศิลปนใชแสดง

นิทรรศการ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เขาใจถึงความเช่ือมโยงระหวางเพศสถานะ ศิลปะและสังคม ผานงานของไมเคิล

เชาวนาศัย ซึ่งเปนศิลปะรวมสมัยของไทย

2. เขาใจบทบาทของศิลปนในเร่ืองการเรียกรองสิทธิมนุษยชนและกลุมคนรักเพศ

เดียวกัน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 18: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

6

บทที่ 2

แนวคิดเร่ืองเพศสถานะ: วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ

เพศเปนเร่ืองสวนตัว และใกลชิดกับเรามาก ในสังคมไทยมีความอิหลักอิเหล่ือ ทํานอง

วาทําไดแตหามพูด ถึงกระนั้น เร่ืองเพศนั้นถูกหยิบยกมาเปนประเด็นในทางสังคม ส่ือมวลชน และ

ศิลปะแขนงตาง ๆ เสมอ ยิ่งเมื่อโยงกับรสนิยมทางเพศ ความรัก สถาบันครอบครัวแลว หลายคน

จะใหความสนใจเปนอยางยิ่ง

ในบทนี้จะทบทวนความหมายที่เกี่ยวของกับเร่ืองเพศ ส่ิงที่เกี่ยวของกับเร่ืองเพศ เชน

จิตวิทยา การแพทย ฯลฯ เพื่อจะไดเขาใจภาพรวมไดดียิ่งข้ึน เพื่อนําไปเชื่อมโยงกับผลงานศิลปะ

ของไมเคิล เชาวนาศัย

ความหมายของเพศ/เพศสรีระ เพศสถานะ และเพศวิถี ในสังคมไทยนั้นมีการใชคําวา “เพศ” ในลักษณะที่ปะปนกันมากมาย ทับซอนและ

กอใหเกิดความสับสน เพราะอธิบายท้ังในดานสรีระ คุณลักษณะความเปนชาย ความเปนหญิง

รวมไปถึงรสนิยมทางเพศ พฤติกรรม และกิจกรรมทางเพศ 0

1 เพื่อใหเกิดความเขาใจจําเปนตอง

อธิบายความหมายที่แตกตางกันระหวาง เพศ/เพศสรีระ (Sex) เพศสถานะ (Gender) และเพศวิถี

(Sexuality)

1. เพศ/เพศสรีระ (Sex) หมายถึง รูปที่แสดงใหรูวาหญิงหรือชาย1

2 กลาวคือลักษณะ

ทางชีวภาพที่ติดตัวมาต้ังแตเกิด และจะตัดสินชัดเจนจากอวัยวะเพศ แนวคิดที่รองรับคือ มนษุยนัน้

มีเพศเดียว ไมเปนเพศชาย (Male) ก็เปนเพศหญิง (Female) แตคําวา Sex ในภาษาอังกฤษนั้นมี

                                                            

1 Thaweesit Suchada, “From Village to factory “Girl” Shifting Narratives on

Gender and Sexuality in Thailand” (Ph. D. dissertation, University of Washington, 2002),

121.

2 ราชบัณฑิตสถาน, พจนานกุรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (กรุงเทพฯ :

นานมีบุคสพับลิเคช่ันส, 2546),801.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 19: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

7

ความหมายมากกวาสรีระทางเพศ กลาวคือยังหมายถึงการรวมเพศอีกดวย 2

3 กลาวคือ Sex นั้น

เปนไปเพื่อการสืบพันธุ และตองเกิดจากชายหญิงเทานั้น (Heterosexual for Procreation) ตอง

แสดงออกถึงความรัก ไมใชกามารมณอยางเดียว รวมถึงความจะรักษาพรหมจรรยจนถึงวัน

แตงงาน แนวคิดสตรีนิยมนั้น แมจะยอมรับวาหญิงและชายมีความแตกตางกันทางดานสรีระ แตก็

มองวา คุณลักษณะของความเปนหญิงชายที่แตกตางกันนั้นไมไดเกิดตามธรรมชาติ แตถูกหลอ

หลอมทางสังคมที่สงผานทางสถาบันตาง ๆ เพื่อใหตระหนักบทบาททางเพศของสังคมที่คาดหวัง

ดังวาทะอันโดงดังของซีโมน เดอ โบวัวร (Simone de Beauvoir) ในหนังสือ เพศที่สอง (The

Second Sex) วา“One is not born a woman, but rather becomes one.” (เราไมไดเกิดมาเปน

ผูหญิง แตเราคอย ๆ ถูกทําใหเปนผูหญิง)4 หมายความวาเพศนั้นเปนส่ิงที่ถูกสราง และไมได

หมายความแตเพศหญิงเทานั้น แตเพศตาง ๆ ก็ถูกสรางคําจํากัดความ การนิยามความหมายดวย

เชนกัน

2. เพศสถานะ (Gender)4

5 หมายถึง ความแตกตางระหวางผูหญิงผูชายตามอวัยวะ

เพศแตถาพิจาณาในทางสังคมวิทยา จะหมายถึงการจําแนกทางสังคมซ่ึงไมจําเปนตองแบงตาม

ชีววิทยาและการแพทยเสมอไป 5

6 ตัวอยางของความเปนหญิง ความเปนชาย ที่สังคมกําหนดข้ึน

เชน ผูหญิงตองมีความออนโยน นุมนวล ใชอารมณเปนใหญ ผูชายตองแข็งแรง เขมแข็ง ใชเหตุผล

เปนตน เมื่อเพศสถานะเปนส่ิงที่สังคมใหความสําคัญและควบคุมอยางเขมงวด เนื่องจากผูกโยงไว

กับคานิยม บรรทัดฐาน ศีลธรรม ศาสนา สังคมและรัฐ จึงเกิดการตีกรอบ และควบคุมเพศสถานะ

ใหเขากับกฎเกณฑที่กําหนดไว กอใหคนในสังคมตองปฏิบัติตามโดยไมวารูตัวหรือไม และดู

เหมือนวาเปนธรรมชาติ หากใครไมปฏิบัติตามที่กําหนดไวก็จะเปนคนชายขอบของสังคม เนือ่งจาก

ไมมีใครทําตามที่สังคมคาดหวังไดทั้งหมด เชน ผูหญิงบางคนอาจเขมแข็งมากกวาผูชายบางคน                                                             

3 ชลิดาภรณ สงสัมพนัธ, “เพศวิถี : นิยามความหมาย และพัฒนากรอบแนวคิด”

(เอกสารในการสัมมนาเร่ืองสตรีกับการเมอืง เสนอที่คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ระหวางวันที่ 17- 18 มีนาคม 2551).

4 นพพร ประชากุล, “แนวคิดสกุลสตรีนิยม,” สารคดี 17, 195 (พฤษภาคม 2544):

114.

5 ในการแปลเปนภาษาไทยนัน้มีผูใชคําวา เพศสภาพ เพศสภาวะ เพศภาวะ แตผู

ศึกษาเห็นวาเพศสถานะมีนยัทางการเมืองมากกวาคําวา เพศสภาพ

6 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพทสงัคมวิทยาอังกฤษ-ไทย ฉบับ

ราชบณัฑิตยสถาน (กรุงเทพฯ: ราชบัณฑติยสถาน, 2549),133.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 20: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

8

และผูชายบางคนก็ออนโยน ไมกาวราว มุทะลุดุดัน ดังการศึกษาดานมานุษยวิทยาของมากาเร็ด

มี้ด (Magaret Mead) ในหนังสือ Sex and Temperament in Three Primitive Societies (ป

ค.ศ.1935)7 ไดศึกษาชนเผานิวกินี 3 เผา พบวา การยอมรับคุณลักษณะความเปนหญิงและความ

เปนชายใชไมไดกับสังคมทั้งสามกลุมนี้ เนื่องจาก ในสองชนเผา คือ ชนเผา Arapesh สมาชิกทุก

คนถูกสอนใหรวมมือกัน ไมมีความกาวราว ผูชายและผูหญิงมีลักษณะคลายกันทางบุคลิกภาพ

เชนเดียวกับผูชายในเผา Tchambuli (ปจจุบัน สะกดวา Chambri) มีบุคลิกภาพทางเพศแสดง

ลักษณะความเปนหญิง ไมกาวราว แตผูหญิงกลับมีลักษณะความเปนชาย สวนชนเผา

Mundugumor ทั้งผูชายและผูหญิงมีความกาวราว

ในการศึกษาของโธมัส เลเกอร (Thomas Laqueur) พบวา ความเช่ือของคน

สมัยกอนคริสตศตวรรษที่ 18 นั้นรางกายในสายตาคนทั่วไปเปนรางกายที่ไมมีเพศ (ungendered,

generic body)8 หมายความวารางกายผูหญิงมีทุกอยางที่รางกายผูชายมี เพียงแตอยูคนละที่

เชน ชองคลอดก็คือองคชาติที่อยูในรางกาย รังไขคืออัณฑะ ซึ่งผูหญิงจะไมไดถูกมองวาดอยกวา

ผูชายในเร่ืองรางกาย แตเกิดจากการรับความหมายตาง ๆ ทางสังคม ไมวา วัฒนธรรม/ธรรมชาติ

ความเปนพอ/ความเปนแม ความเปนผูชาย/ความเปนผูหญิง ขวา/ซาย และคูตรงขามอ่ืน ๆ ใน

ประวัติศาสตรของมนุษยชาตินั้น ความแตกตางของเพศสถานะ (Gender) มากอนความแตกตาง

ของเพศสรีระ (Sex) ซึ่งขัดกับความรูสึกของคนในปจจุบันที่ เราจะจัดความแตกตางทางอวยัวะเพศ

กลาวคือ หากมีองคชาติก็เปนจัดเปนเพศชาย ในทางตรงขามหากไมมีองคชาติจะเปนเพศหญิง

จากนั้นมาพิจารณาดูเพศสถานะวา ทําตนเหมาะสมกับเพศสถานะหรือไม เชน หากบุคคลนั้นมี

อวัยวะเพศชายก็ควรจะจะมีเพศสถานะที่เปนผูนํา เขมแข็ง ไมออนหวาน รวมทั้งชอบผูหญิง

เปนตน 8

9

การเปล่ียนแปลงทัศนะเร่ืองรางกายขนานใหญ เกิดข้ึนในคริสตศตวรรษที่ 18

ความแตกตางของลักษณะกายวิภาค และสรีระระหวางชายหญิงถูกแยกประเภทอยางชัดเจน

จวบจนตอมาในคริสตศตวรรษที่ 19 วิทยาศาสตรเจริญกาวหนามากข้ึน รางกายผูหญิงไดรับความ

                                                            

7 พรพิไล ถมงัสัตว, ปรัชญาผูหญิง (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณวิทยาลัย, 2539), 14-15.

8 Thomas Laqueur, Making Sex :Body and gender from Greek to Freud

(Massachusetts :Harvard University Press, 1990), 60-61, อางถงึใน ปริตตา เฉลิมเผา

กออนันตกูล,บรรณาธิการ, เผยราง พรางกาย (กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2541), 20.

9 เร่ืองเดียวกนั, 21.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 21: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

9

สนใจเปนพิเศษ จนไดขอสรุปวารางกายผูหญิงถูกสรางมาเพื่อสืบเผาพันธุ เล้ียงดูเด็ก ตนศตวรรษ

นี้การแบงแยกรางกายหญิงชายชัดมากข้ึน การมองโลกเร่ิมเปล่ียนไป เชน การมีประจําเดือนของ

เพศหญิงที่แสดงความสมบูรณของรางกายไดกลายเปนสาเหตุของความปวยไข รวมทั้งใชทฤษฎี

ของชารลส ดารวิน (Charles Darwin) วาผูหญิงเปนวิวัฒนาการในลําดับที่ตํ่ากวาผูชาย9

10

จากที่กลาวมาขางตน จะเห็นไดวา เร่ืองเพศสรีระกับเพศสถานะน้ันเช่ือมโยงกัน

และสามารถเปล่ียนแปลงไดตลอด เกิดการถกเถียงเสมอมา เชน การกําหนดความสัมพันธแบบคู

ตรงขาม เชน หญิงคูกับชาย การใชอารมณกับการใชเหตุผล เปนการกําหนดลักษณะแบบคูตรง

ขามเทานั้น (Binary Opposition) จึงมีลักษณะแฝงเร่ืองความเหนือกวา ดอยกวาอยู นักคิดแนว

สตรีนิยมบางคนเสนอวาควรปฏิเสธวิธีคิดที่เนนแบงข้ัวตรงขามและความเหนือกวาดอยกวาของ คู

ตรงขาม เพราะความจริงตัวมันเองมีลักษณะเปนองครวมไมสามารถแบงแยกได1011

ในวงการศิลปะนั้น นักวิชาการสายสตรีนิยมไดหันมาสนใจเกี่ยวกับเพศสถานะท่ีอยู

ในทฤษฎีศิลปและสุนทรียศาสตรตะวันตกเปนอยางมาก โดยเฉพาะสามทศวรรษหลังของปลาย

คริสตศตวรรษที่ 20 หนังสือที่นาสนใจเลมหนึ่งคือ Gender and Aesthetics ตีพิมพในป

ค.ศ.2004 ของคาโรลิน คอรสเมเยอร (Carolyn Korsmeyer)

อิสเมย บารเวลล (Ismay Barwell) นักวิชาการชาวนิวซีแลนด ผูเขียนบทความสรุป

เกี่ยวกับหนังสือ Gender and Aesthetics ของคาโรลิน คอรสเมเยอรวา

ลักษณะเพศสภาพท่ีชัดเจนตายตัว (Deep Gender) ในลักษณะคูตรงขาม ฝายกระทํากับ

ฝายถูกกระทํา จิตกับกาย ฯลฯ โครงสรางเหลาน้ีเองเปนคุณลักษณะที่ประกอบขึ้นเปนอุดมคติ วา

ผูชายตองเปนแบบนี้ ผูหญิงตองเปนแบบนั้น และลักษณะอุดมคตินี้ก็ปรากฏอยูในในความคิด

เก่ียวกับศิลปะ ศิลปน งานสรางสรรคของศิลปนและการตอบสนองในทางสุนทรียะ ลักษณะอุดม

คติเหลานี้เปนลักษณะที่เชื่อมโยงกับความเปนชาย (Masculine) ทั้งส้ินถายทอดผานผลงานของ

นักปรัชญา ต้ังแต เพลโต (Plato) เอ็ดมุนด เบิรก (Edmund Burke) คานท (Immanuel Kant)

เร่ือยมาจนถึงศตวรรษท่ี 20 โลกของผูหญิงจะเปนพื้นที่สวนตัว พื้นที่ในบาน เพราะงานศิลปะที่

ผูหญิงจะเก่ียวของได ก็จะเปนงานฝมือ งานเย็บปกถักรอย เชน ถักผาพันคอ ทอผา ผูหญิงก็

                                                            

10 เร่ืองเดียวกนั, 23.

11 Mary Warren, The Nature of Woman: An Encyclopedia and Guide to the

Literature (Callifonia:Edge Press, 1980), อางถึงใน วารุณี ภูริสินสทิธิ,์สตรีนยิม ขบวนการ

และแนวคิดทางสงัคมแหงศตวรรษที่ 20 (กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2545), 18.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 22: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

10

สามารถประเมินวามันสวยงามหรือไมไดระดับหนึ่ง แตไมใชประเมินคุณคาเร่ืองศิลปะท่ีเปน

จิตรกรรม ประติมากรรม หรือแนวอื่น ๆ ดวยเหตุนี้การสรางและการตระหนักคุณคางานศิลปะจึง

เปนเร่ืองยาก เพราะมันไมเหมาะกับผูหญิงหรือผูหญิงที่มีความเปนกุลสตรีเต็มตัว11

12

นอกจากนี้แลวมุมองของคอรส เมเยอรผูเขียนหนังสือ Gender and Aesthetics ยงั

ชี้ใหเห็นวาผูหญิงเขาถึงความงามของศิลปะยากกวาผูชาย และเร่ืองความงามทางสุนทรียไม

เหมาะกับผูหญิงนั่นหมายความวาศักยภาพทางสติปญญาของผูชายจะชวยใหเขาถึงคุณคาของ

งานศิลปะท่ีลํ้าลึกและซับซอนไดมากกวาผูหญิง และผูหญิงเปนเพศที่ถูกคาดหวังใหมีลักษณะนา

เอ็นดูและดึงดูดใจ ยอมมีความชอบโนมเอียงไปในส่ิงที่นาเอ็นดูและดึงดูดใจเปนธรรมดา ซึ่ง

หมายถึงของใชสวนตัว งานฝมือ เส้ือผา เคร่ืองแตงกาย เปนตน

คอรสเมเยอรไดยกประเด็นสําคัญทางสุนทรียศาสตรคือเร่ืองความงาม (The

Beautiful) และความสูงสง (The Sublime) ตามแนวคิดของเอ็ดมุนด เบิรกนักปรัชญาชาวองกฤษ

นั้นเขาไดกําหนดลักษณะของส่ิงสวยงามใหเชื่อมโยงกับลักษณะเรือนรางของผูหญิง (ตามที่เขา

เคยรับรูมา) กลาวคือ“เล็ก, มีสัดสวนที่ลงตัว, โคงเวา, มีโครงรางบอบบาง, และมีสีสันวิจิตรบรรจง”

ในทางตรงขาม วัตถุส่ิงของที่มีลักษณะสูงสง (Sublime) กลับมีลักษณะ “ไมไดรับการตกแตง

ขรุขระไมไดสัดสวน ทรงพลัง นาเกรงขาม และมืดมน”12

13

ลักษณะเพศสภาพท่ีชัดเจนตายตัวจึงมีบทบาทสําคัญ ณ ที่นี้ “ความเปนหญิง” จะ

เช่ือมโยงกับ “เรือนราง” ในขณะท่ี “ความเปนชาย” จะเชื่อมโยงกับ “จิตใจ” ฉะนั้นจึงไมใชเร่ืองนา

ประหลาดใจท่ีพบวา ในบรรดาประสาทสัมผัสทั้งหา มีเพียงการมองเห็นและการไดยินเทานั้นที่ให

ความรูสึกพึงพอใจทางสุนทรียะ ทั้งนี้เพราะเปนที่รูกันวา มันเกี่ยวของกับรางกายนอยกวาการรับรส

และการไดกลิ่น

สําหรับการประเมินความงามตามแนวคิดแบบคานท (Kantian) ในเร่ืองการดึงดูด

ความสนใจทางสุนทรียะไดรับการกําหนดบทบาททางเพศสถานะ (Gendered) ในรูปแบบเดียวกัน

กับการสรางสรรคงานศิลปะ การดึงดูดความสนใจทางสุนทรียะควรมีความเปนกลาง อีกทั้งควรอยู

เหนือความปรารถนาและผลประโยชนสวนบุคคล

                                                            

12 Ismay Barwell, Review of Gender and Aesthetics, accessed April 15,

2011, available from http://www.aesthetics-online.org/

13 Ibid.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 23: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

11

ประเด็นเร่ือง“ความพึงพอใจที่ยุงยาก” (Difficult Pleasure) ในบทสุดทายของ

หนังสือ Gender and Aesthetics นี้ เปนความคิดที่นาสนใจยิ่งและเปดประเด็นใหเกิดการถกเถียง

ความนาขยะแขยงอาจเทียบไดกับความสวยงามในศตวรรษที่ 21 และลักษณะสูงสงที่เคยเปน

มาตรฐานคุณคาทางสุนทรียะในศตวรรษที่ 18 และ 19 และคอรสเมเยอรพยายามที่จะเสนอ

แนวคิดที่สามารถสรางลักษณะแบบสูงสงของผูหญิงข้ึนมา (Create a Feminine Sublime) ซึ่ง

ลักษณะสูงสงแบบผูชาย (Masculine Sublime) นั้นเปนการละเมิดความพยายามที่จะจินตนาการ

หรือทําความเขาใจ ลักษณะสูงสงไมเพียงแตโนมนาวใหเกิดความกลัว แตยังรวมไปถึงความ

ต่ืนเตนตลอดจนลักษณะดึงดูดใจอีกดวย ลักษณะสูงสงนอกจากทําใหเกิดความรูสึกต่ืนเตนแลว

ในขณะเดียวกันมันยังไดสรางความกลัวไดดวยเชนกัน การเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง

(Oscillation) ระหวางความเจ็บปวดจากความกลัวและความพึงพอใจจากความต่ืนเตน ยอมไดรับ

การแกไขจนนําไปสูความชื่นชอบหรือการสดุดีดวยการระลึกถึงส่ิงที่พวกเรามีอยูในตัวเอง

3. เพศวิถี (Sexuality) ประกอบดวยความหมาย 3 มิติ คือพฤติกรรมทางเพศ (Sexual

Practice) ความพึงพอใจทางเพศ (Sexual Pleasure) และแรงปรารถนาทางเพศ (Sexual

Desire)14 แตเพศวิถีหลักในสังคมไทยนั้นเปนส่ิงที่มีความคลายคลึงกับเพศสถานะคือ เพศสถานะ

เปนตัวบอกวาควรจะรักใครชอบใคร ภาษาที่พูดถึงเพศวิถีจึงเปน รักเพศเดียวกัน (Homosexuality)

รักตางเพศ (Heterosexuality) และรักสองเพศ (Bisexuality) ซึ่งในแตละสังคม วัฒนธรรมจะเปน

ผูสรางกฎเกณฑข้ึนมา เพศวิถีจึงเปนเร่ืองที่เกี่ยวของกับสํานึกในเร่ืองความเปนหญิงเปนชายใน

อุดมคติ การมีคู การสรางครอบครัวจนถึงการสรางกติกาและกําหนดจริยธรรมทางเพศในสังคม

เพศวิถีเปนเร่ืองที่มากกวาพฤติกรรมตามธรรมชาติและสัญชาตญาณของมนุษย ซึ่งกฎหมาย

วัฒนธรรม สังคมสามารถใชเร่ืองเพศวิถีเปนเครื่องมือในการควบคุมมนุษย เพราะสังคมท่ีให

ความสําคัญเกี่ยวกับการดํารงเผาพันธุของมนุษยอยูตอไป ยอมตองจัดการกับเพศวิถีนี้ โดย

กําหนดวารูปแบบความสัมพันธระหวางชายหญิงหรือเพศตรงขามเปนเร่ืองที่ถูกตอง14

15

เกล รูบิน (Gayle S. Rubin) นักวิชาการคนสําคัญสายสตรีนิยมมองรูปแบบของรัก

ตางเพศ (Heterosexuality) ซึ่งเปนรูปแบบหลักของความสัมพันธที่ทุกคนควรปฏิบัติตาม ถือวา

เปนความสัมพันธที่มีความชอบธรรม และมีคุณคามากที่สุด โดยจํากัดรูปแบบของความสัมพันธ

                                                            

14 วิจิตร วองวารีทิพย, “เซ็กซชวลลิต้ีบททดลองอานผานคอลัมนตอบปญหาหัวใจ,”

รัฐศาสตรสาร 21, 2 (มิถุนยายน 2542): 246.

15 พริศรา แซกวย, เพศวิถี วันวาน วันนีแ้ละวันพรุงนีท้ี่จะไมเหมือนเดิม

(เชียงใหม: ศูนยสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2547), 14-16.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 24: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

12

ทางเพศระหวางชายหญิง ในสถาบันการแตงงาน และแบบผัวเดียวเมียเดียว (Monogamy) วาตอง

มีเพศสัมพันธเพื่อสืบสกุล ไมไดทําเพื่อเงินหรือการคา คูนอนยังไมไดเลิกกัน อายุรุนราวคราว

เดียวกัน เพศสัมพันธเกิดข้ึนที่บานหรือที่รโหฐาน อีกทั้งไมใชอุปกรณเสริม หรือส่ือโปเพื่อกระตุน

อารมณ สวนเพศสัมพันธที่ผิดปกตินั้นเปนในทางตรงขามกลาวคือ เพศสัมพันธระหวางเพศ

เดียวกัน มีเพศสัมพันธกอนหรือนอกสมรส มีเพศสัมพันธที่ไมใชเพื่อสืบทายาท การซื้อ/ขายบริการ

ทางเพศ การสําเร็จความใครดวยตนเอง อายุของคูนอนตางกันมาก มีเพศสัมพันธในที่สาธารณะ

และใชส่ือหรืออุปกรณเราอารมณ ซึ่งเพศสัมพันธที่ผิดปกตินี่เองถูกมองวาเปนส่ิงที่ผิดธรรมชาติ

เบ่ียงเบน ผิดศีลธรรม เปนส่ิงที่อันตรายและนําไปสูการทําลายระเบียบของสังคม15

16

ระบบที่ชายเปนใหญที่ครอบงําหรือมีอํานาจนํา (Hegemonic Norms) นั้นสราง

เคร่ืองมือตาง ๆ เพื่อธํารงรักษาความสัมพันธที่ “ปกติ” คือแบบรักตางเพศไว ผานการสรางความ

เปนแม ความเปนเมีย โดยเห็นไดชัดจากความรักที่ทําใหเปนวัฒนธรรมของความโรแมนติก

(Culture of Romance) เชน การใหคุณคาแสดงออกถึงความรัก การปกปองและใหคุณคากับ

ระบบการแตงงานและการมีชีวิตมีคุณคาตองมาจากความรูสึกที่คนทั้งคูรักกัน ทําใหรักนั้นสมหวัง

เปนจริง การเปนคนพิเศษของใครสักคน รวมถึงการมีความสัมพันธทางเพศที่เกิดจากคนรักกันถือ

วาเปนส่ิงที่ดีที่สุด และใหเพศสัมพันธถูกนิยามในความหมายจํากัดเฉพาะการรวมเพศดวยการ

สอดใสอวัยวะเพศชายเขาไปในชองคลอดผูหญิงเทานั้น (Virginal Intercourse)17

ระบบความคิดความเชื่อเหลานี้ถูกหลอหลอมและสงผานกระบวนการขัดเกลาทาง

สังคมในระดับตาง ๆ

                                                            

16 Gayle S. Rubin, Thinking Sex : Notes for a Radical Theory of the Politics of

Sexuality. In The Lesbian & Gay Studies (New York: Routledge, 1993), 11, อางถงึใน สุ

ธรรม ธรรมรงควิทย, “อํานาจและการขัดขืน: ชายรักชายในสังคมที่ความสัมพนัธตางเพศเปนใหญ”

(วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต ภาควชิาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตรมหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร, 2548), 15-17.

17 ชลิดาภรณ สงสัมพนัธ, “การเมืองของเพศสถานะและเพศวิถี” เอกสารประกอบการ

ประชุมวิชาการเรื่อง เพศวิถกีับรัฐศาสตร จัดโดย คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ระหวางวันที่ 15- 18 กรกฎาคม 2549), อางถงึใน สุมาลี โตกทอง, “การใหความหมายและการ

ตอรองในชีวิตคูของหญิงรักหญิง” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาสตรีศึกษา

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2549), 17-18.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 25: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

13

มิเชล ฟูโกต (Michel Foucault) ผูมีอิทธิพลอยางมากตอการศึกษาในประเด็นเร่ือง

เพศวิถีดังหนังสือสําคัญเลมหนึ่งของเขาคือ The History of Sexuality Volume 1 : An

Introduction (เขียนชวงป ค.ศ.1976-1984) โดยเขาชี้ใหเห็นวา ตลอดชวงศตวรรษที่ 19 สังคม

ตะวันตกไดกระตุนวาทกรรมเกี่ยวกับเพศอยางมากมายหลายสาขา ทั้งในวงการแพทย จิตวิทยา

จริยศาสตร เพื่อที่จะเขาถึง “ความจริง” เกี่ยวกับเพศเขากับเจตจํานงของอํานาจสังคมที่จะเขาไป

ควบคุมประชากรในสวนที่ซอนเรนระดับลึกเปนสวนตัวที่ สุด และเขาไดเปดโปงใหเห็นวา

กระบวนการปลดปลอยทางเพศนับจากหลังสงครามโลกคร้ังที่สองเปนตนมานั้นเปนเพียงมายา

ของเสรีภาพ เพราะตกอยูในกับดักของอํานาจที่แสวงหาวิธีการสอดสองพฤติกรรมผูคนโดยหลอก

ใหนึกไปวาตนเองเปนอิสระ17

18

การทํางานของการกดข่ีทางเพศ (Sexual Oppression) ในสังคมสมัยใหม ไมได

ทํางานผานการกดข่ีหรือการปฏิเสธความหลากหลายทางเพศเทานั้น แตการทํางานที่สําคัญของ

อํานาจสมัยใหมที่มีตอปจเจกชนคือการเปล่ียนแปลงมนุษยใหกลายเปนองคประธาน (Subject)

ในการใชอํานาจควบคุมตนเองเปนส่ิงกระจายอยูทุกที่ และเปนส่ิงที่ถูกใชมากกวาถูกครอบครอง

ดังนั้นอํานาจจึงไมใชของคนใดคนหนึ่ง แตอํานาจคือโยงใยของความสัมพันธอันสลับซับซอน

ระหวางสวนตาง ๆ ของสังคมและในการดํารงชีวิต ดังนั้นเราไมสามารถหลบหนีหรือปลอยตัวเอง

ออกจากอํานาจได ดังที่ฟูโกตกลาววา “ที่ใดมีอํานาจ ที่นั้นยอมตองมีการตอตานขัดขืน” ซึ่งไมได

เพื่อหลุดไปจากอํานาจแตเปนการสรางความหมายใหมใหกับตัวตน18

19

นอกจากนี้ฟูโกตยังสะทอนใหเห็นในเชิงประวัติศาสตรวา แตเดิมรัฐนั้นพยายาม

ควบคุมรางกายปจเจกชนของแตละคน และแสดงออกถึงการมีอํานาจในการควบคุมสังคมผาน

การลงโทษในที่สาธารณะ จนถึงศตวรรษที่ 19 ไดเนนไปที่การกักขังและซอนผูที่เปนอาชญากรไว

ในคุก และใชวิธีการที่บีบบังคับใหคนเกิดระเบียบวินัยโดยการสอดสองดูแล ลดการลงโทษทาง

รางกาย แตเปล่ียนเปนฝกฝนและควบคุมดานจิตวิญญาณในการใชชีวิต “ปกติ” ทางสังคม ผาน

                                                            

18 นพพร ประชากุล. “คํานํา,” ใน รางกายใตบงการ (กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ

คบไฟ, 2547), (16) - (17).

19 Michel Foucault, The history of Sexuality Volume 1 :An Introduction, trans.

By Robert Hurley (New York:Vintage,1990) 82-85, อางถึงใน สุธรรม ธรรมรงควิทย. “อํานาจ

และการขัดขืน: ชายรักชายในสังคมที่ความสัมพนัธตางเพศเปนใหญ,” 32-38.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 26: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

14

โรงเรียน โรงพยาบาล และสถาบันอ่ืน ๆ อํานาจจึงไมไดมาจากชนชั้นปกครองแตอยูทุกหนทุกแหง

ซึ่งทําใหเกิดการลงโทษ ดัดแปลง หรือจัดการกับพวกเบี่ยงเบน19

20

ดังนั้นเพศ/เพศสรีระ (Sex) เพศสถานะ (Gender) และเพศวิถี (Sexuality) เปนส่ิงที่

สอดคลองเช่ือมโยงกัน แตไมจําเปนตองเปนในทิศทางเดียวกันกับความเช่ือ ความหมายที่สังคม

กําหนด อยางไรก็ตามเร่ืองเพศนั้นเกี่ยวของกับการเมืองและมีความสัมพันธเชิงอํานาจดวยทั้งสิ้น

ลักเพศวิทยา20

21 (Queer Theory) นักวิชาการสายมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรในปจจุบัน มักใชลักเพศวิทยา

(Queer Theory) เปนเคร่ืองมือในการศึกษาวรรณกรรม การเมือง ศิลปะ ฯลฯ ซึ่งความจริง

กอนหนาก็มีการศึกษาเ ร่ือง เกย เลสเ บ้ียน และกะเทย (Transgender) ซึ่ ง เ ร่ิมในชวง

คริสตทศวรรษที่ 70 ซึ่งเปนคลื่นลูกแรก แนวคิดหลักคือ อัตลักษณ (Identity) เปนส่ิงที่ตายตัว

ไมมีเปล่ียนแปลง (Essentialism) และสืบคนวาเกยนั้นมีมาต้ังแตโบราณ อยูในทุกสังคมทั่วโลก

พอมีงานวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธทางเพศชายดวยกันที่พบไดตามชนเผาไมวาจะเปน

ทวีปอเมริกา แอฟริกา หรืองานวิจัยของกิลเบิรต เฮิรดต (Gilbert Herdt) ศึกษากามกิจของ

ชนเผาแซมเบีย บนเกาะปาปว นิวกินี (Papua New Guinea) ซึ่งสังคมชนเผาจะเช่ือกันวาน้ําอสุจิ

จะชวยใหเด็กเติบโตทั้งรางกายและจิตใจ พอเด็กผูชายอายุประมาณ 11-12 ปก็จะสําเร็จความใคร

ดวยปากระหวางเด็กผูชายกับผูชายที่เปนผูใหญ และเด็กผูชายจะกินน้ําอสุจิของผูใหญเพื่อเปน

การเพิ่มพลังทุกคืน จนอายุราว 16 ปถึงวัยแตงงาน2 1

22 ซึ่งเราอาจจะมองวาเปนพฤติกรรมการรวม

เพศของคนรักเพศเดียวกัน แตชนเผานี้ไมไดถือวาตัวเองเปนเกย อัตลักษณความเปนชายอยูที่การ

เปนนักลา การเปนสามี พิธีกรรมดังกลาวเปนการสรางวินัยใหกับเด็กชายวาตําแหนงในสังคมของ

                                                            

20 ธงชัย วนิิจจะกูล,วิธกีารศกึษาประวัติศาสตรแบบวงศาวิทยา(Genealogy)

(กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร, 2534), 50, อางถงึใน สุมาลี โตกทอง,

“การใหความหมายและการตอรองในชีวิตคูของหญิงรักหญิง,” 19-20.

21 ปเตอร แจ็คสัน (Peter Jackson) นักวิชาการผูเชีย่วชาญทางดานเพศสถานะ เพศวิถี

ในสังคมไทยไดเสนอวา Queer Theory เปนไทยใหไดความรูสึกเดียวกัน อาจจะใชคําวา "ลักเพศ

วิทยา" หรือ "วิปริตวิทยา" หรือ "วิตถารศึกษา" ผูศึกษาเลือกใชคํานี ้อยางที่ นพพร ประชากุล เสนอ

และเทอดศักด์ิ รมจําปา ใช

22 ธเนศ วงศยานนาวา, เพศ: จากธรรมชาติ สูจริยธรรมจนถึงสนุทรียะ (กรุงเทพฯ:

มติชน, 2551), 21.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 27: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

15

ตนคืออะไร ดวยเหตุนี้จึงมีการปรับปรุง และเปล่ียนแปลงแนวคิดวา อัตลักษณนั้นสามารถเปลี่ยน

ตามเวลา ข้ึนอยูกับวัฒนธรรมภายนอก ซึ่งนักวิชาการในคลื่นลูกที่สอง (คริสตทศวรรษที่ 80) ไดนํา

จุดนี้เปนแนวคิดหลักรวมทั้งขยายวงกวางไปสูคนกลุมอ่ืน ๆ เชน คนผิวสี คนชั้นกรรมาชีพ ที่ไม

จํากัดเฉพาะคนผิวขาวที่อยูในยุโรปหรืออเมริกาเทานั้น

"Queer" เปนคําอังกฤษโบราณ ซึ่งแปลวา แปลก พิลึก เพี้ยน ตนศตวรรษที่ 20

ชาวอังกฤษและอเมริกาใชคํานี้เรียกคนรักเพศเดียวกันและคนที่แตงตัวขามเพศ นัยของคําส่ือถึง

การดูถูก เปนคําที่แรง โดยกลุมเคล่ือนไหวเกยและเลสเบ้ียนในยุโรปและอเมริกาเลือกใชเพื่อ

ประกาศ “การดํารงอยูอยางประจักษชัด” ผานยุทธวิธีการยืนยันความเบี่ยงเบน เพื่อหลอมกิจกรรม

ทางการเมือง ทามกลางความต่ืนตัวของโรคเอดส คนรุนใหมเลือกที่จะใชคําวา “Queer” ที่ดูถูก

อยางแรงนี้มาเปนสัญลักษณ เอาความหมายแงลบมาทําเปนบวก เปนยุทธศาสตรทางภาษา เพื่อ

โตกลับชุดความรูที่พวงมากับความหมายเดิมในพื้นที่สาธารณะ22

23 อีกนัยหนึ่ง Queer ยังหมายถึง

คนที่มีลักษณะหญิงและชายไมเปนไปตามบรรทัดฐานของสังคมดวย เชน คนรักสองเพศ คนขาม

เพศหรือกะเทย เลสเบ้ียน เกย มีเพศวิถีที่ตางไป รวมทั้งอาจรวมถึงคนรักตางเพศแตมีเพศวิถีไม

สอดรับกับวัฒนธรรมการสมรสแบบ “ผัวเดียวเมียเดียว”24 ก็ได

ความอับอายที่เกิดข้ึนกับกลุมลักเพศนั้นมาจากส่ิงที่สังคมยึดถือนั้นตางจากรูปแบบวิถี

ชีวิตของกลุมซึ่งไมเคิล วอรเนอร (Michael Warner) นักวรรณคดีชาวอเมริกันแสดงใหเห็นวา

การเมืองวาดวยความปกติ (ไมเบ่ียงเบนจากบรรทัดฐานทางสังคม) เปนรูปแบบใหมลาสุดของ

เร่ืองราวความสับสนที่เดนชัดในการเมืองของเกย นับแตการจัดต้ังองคกร Mattachine Society

(ในสหรัฐอเมริกา ป ค.ศ.1950) ดานหนึ่ง ดูเหมือนเปนการตอบโตที่สมบูรณแบบตอความละอาย

ทางเพศ อะไรจะเปนการสรางความชอบธรรมใหตนเองไดดีไปกวายืนยันวาตนเองดูเหมือนปกติ

ปญหาที่เกิดข้ึนเสมอคือการรับเอามาตรฐานนี้เปนการโยนความอับอายไปใหผูอ่ืนที่ไกลออกไป

จากมาตรฐานและไมไดรับความเคารพ ดูเหมือนจะเปนไปไมไดที่จะคิดวาตนเองปกติโดยไมคิดวา

คนบางประเภทเปนโรค24

25

                                                            

23Jane Pilcher and Imelda Whelehan. Fifty Keys Cncepts in Gender Studies.

(London: Sage, 2004), อางถงึใน นทัธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ, แดศักด์ิศรีเสมอกันทกุ

ชั้นชน (กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร, 2553), 46-47.

24 เร่ืองเดียวกนั.

25 Michael Warner, The trouble with Normal: Sex, Politics and the Ethics of

Queer Life (Massachusetts: Harvard University Press, 2003), 60.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 28: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

16

ปกติคนเรานั้นสามารถอยูในกลุมประเภทตาง ๆ ได เปนตนวาอยูในกลุมคนชาติใด

เชื้อชาติ น้ําหนัก สวนสูง ความถี่ของการสําเร็จความใคร เพศของคูครอง และรายไดตอป จากนั้น

โดยอาศัยองคประกอบของสภาวะปกติ (Normalcy) เหลานี้ ประวัติของคน ๆ นั้นจะตางจาก

บรรทัดฐานตามปกติอยูดี เร่ืองเพศนั้นความจริงก็เชนเดียวกับการกิน การด่ืม การหายใจ ซึ่ง

เกิดข้ึนทุกหนแหง แตถาคิดในอีกแงหนึ่ง เร่ืองเพศก็ไมมีวันเปนเร่ืองปกติ มันมีความยุงยากและ

เบ่ียงเบนในจังหวะของมันรวมทั้งในความหมายทางจิตใจและวัฒนธรรม 25

26

นักคิดคนสําคัญที่มีตอแนวคิดลักเพศวิทยามี 3 คน คือ อีฟ โคซอฟสกี-เซดวิค

(Eve Kosofsky-Sedgwick) จูดิต บัตเลอร (Judith Butler) และมิเชล ฟูโกต (Michel Foucault)

โดยสามารถนําไปใชประยุกตตอไดหลากหลาย ไดแก

อีฟ โคซอฟสกี-เซดวิค (Eve Kosofsky-Sedgwick) นักวิชาการดานวรรณคดี หนังสือ

เลมสําคัญคือ Epistemology of the Closet ตีพิมพในป ค.ศ. 1990 โดยทําการขุดคนและ

เปดเผยส่ิงที่ถูกปกปดออกมาเปดเผย โดยบทสุดทายของเลมนี้พูดถึง มาเซล พรุสต (Marcel

Proust) นักเขียนคนสําคัญชาวฝร่ังเศสเร่ือง Remembrance of The Things Past (À la

recherche du temps perdu) แนวคิดหลักที่ใชคือ แนวคิดการร้ือสราง (Deconstructionism) คือ

แนวคิดนี้ชี้ใหเห็นถึงคูตรงขาม ของวัฒนธรรมกระแสหลัก เชน ตะวันออกกับตะวันตก ขาวกับดํา

รักตางเพศกับรักเพศเดียวกัน เปนตน ซึ่งความเปนคนรักตางเพศจะเปนกระแสหลัก เปดเผยได

สวนคนรักเพศเดียวกันจะตรงขามคือเปนคนชายขอบ ตองปดบัง ไมเปดเผย โดยเซดวิคจะช้ีใหเห็น

คูตรงขามนี้ในวรรณกรรมที่สําคัญของคนอ่ืนอีก เชน เชค สเปยร ในตอนนั้นสามารถพูดถึงโสเภณี

และเร่ืองเพศไดอยางเปดเผย แตปจจุบัน (ป ค.ศ.1990 ความเห็นของเซดวิค – ผูเขียน) พูดไมคอย

ไดหรือไมสะดวกนัก

แนวคิดขางตนนี้สามารถนํามาวิเคราะหวรรณกรรมของไทยเพ่ือหาแนวคิดเร่ืองกะเทย

หรือคนรักเพศเดียวกัน เชน ในวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทรตอนตนเร่ือง ดาหลัง แตงในสมัยรัชกาล

ที่ 1 มีการกลาวถึงกะเทยในตอนที่ปนหยีปลอมตัวเปนกะเทยสะระหนากะดี เพื่อจะเขาไปหานางมิ

สาตัวเอกฝายหญิง ในเร่ืองตอนนี้กลาววา (เนนโดยผูเขียน)

เม่ือน้ัน ปนหยีปรีเปรมเกษมสันต

กับองคอนุชาวิลาวัณย รีบผายผันขึ้นบนพลับพลาชัย

จึ่งปรึกษาวาพี่พึ่งจะมา ทาวกาหลังยังหารูจักไม

                                                            

26Ibid., 54.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 29: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

17

เม่ือเจาจะเขาไปเวียงชัย พี่จะแกลงแปลงไปเปนกะเทย

ทําเสงี่ยมเจียมตัวเปนผูนอย ใหใชสอยถือพานหมากเสวย

จงบอกโฉมงามทรามเชย วาพี่เปนชะเลยเจาไดมา26

27

ทําใหเราเห็นวาสังคมสมัยตนกรุงรัตนโกสินทรมีการพูดถึงผูที่แตงกายขามเพศและ

ประพฤติตัวไมเหมาะสมกับเพศของตนอยางในตอนที่ยกมาคือเปนผูชายแตวางตัวเรียบรอย คอย

ถือพาน วาเปนกะเทย หากเปนวรรณกรรมรวมสมัย จะเห็นไดจากงานของนัทธนัย ประสานนาม ที่

ศึกษาชนกลุมนอยทางเพศเกี่ยวกับชายรักชายจากวรรณกรรมเร่ือง ซากดอกไม ดายสีมวงและหวง

จําแลง ซึ่งวีรวัฒน กนกนุเคราะหเปนผูแตง27

28 โดยการกระทํานี้เรียกวา Queering the Canon โดย

คําวา Queering ในที่นี้เปนคํากริยา แปลวา หาหลักฐาน (เชน คนรักเพศเดียวกัน) ที่ถูกปกปดจาก

กระแสหลัก28

29

จูดิต บัตเลอร (Judith Butler) นักวิชาการที่สําคัญคนหนึ่งในชวงปลายศตวรรษที่ 20

งานช้ินสําคัญชิ้นหนึ่งช่ือ Gender Trouble: Feminism and the Subversion of Identity (ป

ค.ศ.1990) ใหความคิดเห็นที่นาสนใจวาเมื่อใดอัตลักษณของคนเร่ิมไปไมไดกับแนวคิดทางการ

เมือง และการเมืองก็ไมไดเปนส่ิงที่มาจากมติรวมกันของคนในสังคมเมื่อนั้นการกอตัวรูปแบบ

การเมืองใหมจะเกิดข้ึน พรอมกับการสลายลงของการเมืองแบบเกา ซึ่งรวมถึงวัฒนธรรมทางเพศ

และแนวคิดเร่ืองเพศสถานะเม่ือแพรสูวงการและยอมรับมากข้ึนมันจะไปสั่นคลอนและทําใหความ

เชื่อวามนุษยมีแคเพศผูเพศเมียนั้นหมดพลังลงไป29

30

                                                            

27 พระบาทสมเด็จพระพทุธยอดฟาจุฬาโลก, ดาหลัง (พระนคร : กรมศิลปากร, 2499),

942.

28 นทัธนัย ประสานนาม, “ผิดดวยหรือที่จะปรารถนา: ชนกลุมนอยทางเพศในนวนิยาย

ไตรภาคของวีรวัฒน กนกนุเคราะห,” ใน แดศักด์ิศรเีสมอกันทุกชัน้ชน : วรรณกรรมกับสทิธิ

มนุษยชนศึกษา, นทัธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ (กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาวรรณคดี

คณะมนุษยศาสตร มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร, 2553), 45 -79.

29 ปเตอร แจ็คสัน, Queer Theory, เขาถงึเมื่อ 14 เมษายน 2554 เขาถึงไดจาก

http://www.prachatai.com/column-archives/node/2080

30ชัยพัฒน อัครเศรณี, ทฤษฎหีนังอะไรวะ (กรุงเทพมหานคร: เปเปอรกูด้ีส,

2551),111.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 30: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

18

นอกจากนี้แนวคิดที่นาสนใจของเธออีกเร่ืองหนึ่งคือจูดิตไดเสนอวา เพศสถานะเปน

การแสดงออก (Gender as Performance) คือ

การแสดงออกและนําเสนอตัวตนนั้นจะมุงใหความสําคัญตอการเรียนรูสถานะ และ

การสวมบทบาทเพศสถานะหญิงชาย การแสดงออกเพ่ือใหเปนอัตลักษณเปนส่ิงที่สังคมพยายาม

กําหนดวิถีทาง หรือต้ังเงื่อนไขในการเขามาสวมบทบาท โดยไมปฏิบัติตามก็จะถูกลงโทษ

อยางไรก็ตามขอกําหนดท่ีสังคมสรางขึ้นเพื่อใหสมาชิกสวมบทบาทนั้น ไมมีคนใดที่สามารถสวม

บทบาทไดตามที่สังคมตองการ ซึ่งเปนระดับอุดมคติ (Ideal) และในการกําหนดกฎเกณฑนี้

แสดงใหเห็นถึงการใชอํานาจยอมมีการตอตานแฝงมาอยูเสมอ และลักษณะท่ีสําคัญของ

กระบวนการแสดง (Performativity) ที่สําคัญคือการสวมบทบาทตามที่สังคมกําหนดเกิดขึ้น พรอม

กับการตอตานขัดขืน30

31

มิเชล ฟูโกต (Michel Foucault) นักปรัชญาคนสําคัญของโลกหลังสมัยใหมมีความรู

หลายดาน และแนวคิดเกี่ยวกับ “อํานาจ” และ “เพศ” ที่เกี่ยวกับอัตลักษณทางเพศและเพศวิถี

หนังสือเลมสําคัญคือ 2The History of Sexuality (เขียนชวงป ค.ศ.1976-1984)นั้นตองการให

เห็นวา เรื่องเพศวิถีมันมีที่มาที่ไป ซึ่งประมาณ 200 - 300 ปกอนนั้นไมวาจะเปนคนรักเพศ

เดียวกันหรือตางเพศ ไมไดสําคัญตออัตลักษณของคนสมัยนั้นเทาใดนัก มีอยางอื่นที่สําคัญกวา

เชน อาชีพ สถานภาพการสมรส แตพอ 150 ปกอน (คือชวงศตวรรษที่ 19) ระบบอํานาจทาง

สังคมเปลี ่ยนรูปแบบใหม การศึกษา การประกอบอาชีพ กฎหมาย โครงสรางทางสังคม

เปลี่ยนไป เนนการควบคุมทางรางกายและพฤติกรรมทางเพศมากขึ้น และมีสวนสําคัญในการ

สรางอัตลักษณไปดวย

แมวาแนวคิดลักเพศวิทยานั้นนําเขามาจากตะวันตก แตถึงกระนั้นก็สามารถนําทฤษฎี

หรือแนวคิดตาง ๆ มาใชนั้นก็ตองเลือกและประยุกตใหเหมาะสมกับสังคมไทย เพราะอยางฟูโกต

นั้นใชสังคมฝร่ังเศสเปนหลัก อยางปเตอร แจ็คสัน (Peter A. Jackson) นักวิชาการดานเพศสถานะ

และเพศวิถีชาวออสเตรเลีย ไดเสนอวา ในแตละวัฒนธรรมนั้นการลงโทษและการควบคุมเร่ืองเพศ

                                                            

31 ศรัณย มหาสุภาพ, “การสรางอัตลักษณเกยในงานเขียนแนวอัตชวีประวัติเกยรวม

สมัย” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551), 5-6.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 31: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

19

และเพศสถานะของสังคมมีความหลากหลาย และการเกลียดกลัวรักเพศเดียวกันนั้นไมไดเปนส่ิง

สากลรูปแบบเดียว31

32

หากจะใชเร่ือง “อํานาจ” มาศึกษาสังคมไทยแลว ยุคที่เห็นไดชัดเจนและเปนตัวอยางที่

ดีคือสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเร่ืองนโยบายการจัดต้ังคณะกรรมการที่จะต้ังชื่อคนไทยให

ตรงเพศ กอนหนานั้นช่ือคนไทยไมไดระบุวาเปนเพศใด เชน สมศักด์ิอาจเปนผูหญิงหรือผูชายก็ได

แตคณะกรรมการนี้ระบุเพศใหตายตัว โดยประกาศชื่อที่ถูกตองตามเพศ และบังคับใหพอแมที่ต้ัง

ชื่อลูกตองต้ังช่ือตามเพศ ดังนั้นหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ชื่อคนไทยจึงมีเพศ แสดงใหเห็นอํานาจ

รัฐเขามาควบคุม

นอกจากนี้ยังรวมถึงเร่ืองการแตงกาย มีกฎหมายระบุวา ถาชาวบานจะไปอําเภอ

ตองแตงตัวใหเรียบรอย คือ ผูชายตองใสกางเกง ผูหญิงตองใสกระโปรง และตองใสเส้ือดวย ตาม

แบบตะวันตก แตวาจอมพล ป. ไมไดสนใจเพศสถานะ กลาวคือไมไดสนใจวาผูชายที่ใสกางเกงมี

ลักษณะกระตุงกระต้ิง มีจริตเหมือนผูหญิงหรือไม ชอบเพศตรงขามหรือเพศเดียวกัน ซึ่งจอมพล ป.

ไมไดเขามาควบคุมตรงถึงตุดนี้ ทวาก็เปนการใชอํานาจเกี่ยวกับรางกาย กรณีดังกลาวสามารถใช

ทฤษฎีของฟูโกตเร่ือง Bio-Power (ชวีอํานาจ) มาศึกษาสังคมไทยได3233

เพศในมุมมองจิตวิทยา ความแตกตางทางเพศนอกจากปจจัยทางชีววิทยาแลว นักจิตวิทยาไดศึกษา

พัฒนาการจิตใจของมนุษย ความหลากหลายทางเพศ การชอบเพศเดียวกัน ชอบเพศตรงขาม

สวนหนึ่งเกิดจากการเล้ียงดูของครอบครัวต้ังแตเด็กอันมีอิทธิพลตอไปในอนาคต มีทฤษฎีที่อธิบาย

เร่ืองเพศดังตอไปนี้ ทฤษฎีการเรียนรู (Learning Theory) อีวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) ไดทําการศึกษาในป ค.ศ. 1960 โดยทดลองกับสุนัข

สุนัขจะน้ําลายไหลเม่ือไดยินเสียงกระด่ิงเมื่อถึงเวลาใหอาหารมากกวาเวลาที่เห็นอาหาร และ

เชื่อมโยงกับเร่ืองพฤติกรรมทางเพศคือ บทบาทชายหญิงนั้นข้ึนอยูกับการเรียนรูไมใชเปนเพราะ

                                                            

32 ปเตอร แจ็คสัน, “การวิจัยของไทยเร่ืองรักรวมเพศชายและการขามเพศกับขอจํากดั

ทางวัฒนธรรมของแนววิเคราะหแบบฟูโกต,” ใน ทั้งรกั ทั้งใคร ทั้งใชความรุนแรงตอผูหญิง,

กาญจนา แกวเทพ, พริศรา แซกวย และวรรณา ทองสิมา, บรรณาธิการ (เชียงใหม: ศูนยสตรีศึกษา

คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2548), 371-427.

33 ปเตอร แจ็คสัน, Queer Theory.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 32: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

20

ธรรมชาติหรือพันธุกรรม เปนการถายทอดทางวัฒนธรรมโดยคนจะช่ืนชมพฤติกรรมที่เหมาะสม

ทางเพศ (Gender-Appropriate Behavior) ที่นาสนใจคือ พอมีความคาดหวังใหลูกมีบทบาททาง

เพศมากกวาแม3334 ทฤษฎีบทบาทจําลองและรูปแบบทางเพศ (Role Modeling Sex Typing Theory) การกระทําสําคัญกวาการพรํ่าสอน กลาวคือเด็กเรียนรูเพราะเห็นตัวอยางจากในบาน

และสังคม เด็กจะสรางรูปแบบหรือบทบาทจําลองโดยอัตโนมัติ และเมื่อเด็กไดเรียนรูมากข้ึน เด็ก

จะสรางรูปแบบทางเพศตามที่ตนตองการ ทั้งนี้บุคคลที่ไมไดมีความประพฤติตามที่สังคม

คาดหมายนั้น ไดมีการอธิบายวา เปนการใหความรูและรูปแบบทางเพศที่ผิดพลาดจากครอบครัว

ผูปกครองหรือบุคคลใกลชิดทําใหเปนบุคคลรักเพศเดียวกันได และตอมากําหนดบทบาททางเพศ

ในเวลาตอมา34

35 ทฤษฎีรอยประทับหรือแบบพิมพทางสังคม (Social Scripting Theory) เปนเร่ืองการเรียนรูเชนกัน แตกลาวถึงแรงผลักแรงเสริม แรงกระตุน แบบมีเงื่อนไข และ

บางกรณียังรวมถึงความรูและแรงบีบบังคับดานชีวภาพของสังคมเปนองคประกอบดวย จาก

การศึกษาของวิลเลียม ไซมอน (William Simon) และจอหน แกนญอน (John Gagnon) ป

ค.ศ.1969 เห็นวาพฤติกรรมทางเพศของบุคคลจะเปนประสบการณหรือรอยประทับความรูสึกของ

บุคคลวัยเด็กไดก็ตอเมื่อวัยเด็กไดมีการเรียนรูและเขาใจในเร่ืองนี้อยางชัดเจนจนสามารถทีจ่ะนาํไป

เปนตนแบบในการกระทําหนาที่ตามบทบาททางเพศของเขาได3536 ทฤษฎีความรูความเขาใจ (Cognitive Theory) ทฤษฎีพัฒนาการทางปญญาของลอวเรนซ โคลเบิรก (Lawremce Kolberg) อธิบาย

วาเด็กจะมีการพัฒนาทางความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศวาเปนหญิงหรือชายตามพฤติกรรม

ของผูอ่ืน และปฏิบัติตามนั้น ซึ่งจะเร่ิมอายุประมาณ 2-3 ป โดยเด็กสามารถบอกไดวาตัวเองเปน

ผูหญิงหรือผูชาย และอายุ 4-5 ขวบข้ึนไปก็จะรับรูจากคนรอบขาง รวมทั้งเด็กสังเกตพฤติกรรมจาก

สภาพแวดลอมดวย36

37

                                                            

34 นงลักษณ เอมประดิษฐ และคณะ, ความรูทั่วไปเกี่ยวกับเพศศกึษา (กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2546), 20-22.

35 เร่ืองเดียวกนั.

36 เร่ืองเดียวกนั, 20-22.

37 เร่ืองเดียวกนั, 56.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 33: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

21

ทฤษฎีจิตวิเคราะห (Psychoanalytic Theory) ซิกมันด ฟรอยด (Sigmund Freud) กลาววา เด็ก ๆ เร่ิมเรียนรูเกี่ยวกับเร่ืองเพศในชวง

3-5 ป เรียกวาระยะองคชาต (Phallic Stage) เด็กจะรูเกี่ยวกับอวัยวะเพศตนเองและมี

ความตองการทางเพศ โดยเด็กผูชายจะมีความรักแม รูสึกหวงแหน ตองการใกลชิดและอบอุน

จากแม และเกลียดทุกคนที่แยงชิงความรักของแมไปจากตน จนอยากเปนพอเสียเอง ทําใหเกิดปม

Oedipus Complex แตในขณะเดียวกันก็รูสึกเกลียดและกลัวพอ ทําใหเด็กตองหางจากเปาหมาย

แหงความรัก (Love Object) คร้ังแรกในชีวิตของตน

สําหรับเด็กผูหญิงนั้นจะกลับกันคือ ตองการกําจัดแมและสนิทกับพอ โดยอธิบายวา

เด็กผูหญิงอิจฉาเด็กผูชายที่มีองคชาต (Penis Envy) จึงโทษแมที่ทําใหเปนแบบนี้ โกรธและคิดวา

ส่ิงที่ดีคือตองทําตัวใหนาดึงดูดคนที่มีอวัยวะเพศชายนั้นจะไดมารัก จึงทําตัวเปนผูหญิงเพื่อใหพอ

รักเธอ

ฟรอยดเช่ือวาต้ังแตแรกเกิดมนุษยเรานั้นมีลักษณะเปนไบเซ็กชวล(Bisexual) มี

ลักษณะความเปนผูหญิง (Femininity) และความเปนผูชาย (Masculinity) อยูในตัว37

38

ฌากส ลากอง (Jacques Lacan) นักทฤษฎีจิตวิเคราะหชาวฝร่ังเศส ไดพัฒนาทฤษฎี

จิตวิเคราะหของฟรอยดตอใหสมบูรณยิ่งข้ึน โดยผสานเขากับภาษาศาสตรโดยเฉพาะแนวคิดของ

เฟอรดินองด เดอ โซซูร (Ferdinand de Saussure) นักภาษาศาสตรชาวสวิสเร่ืองภาษากับระบบ

สัญลักษณ3839

สําหรับ “องคชาต” ในแนวคิดของลากองนั้นไมไดเปนเพียงอวัยวะเพศชายเทานั้น แต

เปนสัญลักษณแทนการครอบงําอีกดวย ในวัยเด็กเมื่อเกิดปมเอดิปส เด็กทั้งชายและหญิงจึงมี

ความผูกพันกับแม และพอมาทําลายความผูกพันนี้ ทําใหเกิดปมแหงการถูกตอน (Castration

Complex) เด็กผูหญิงจะเร่ิมเขาใจความหมายขององคชาตในฐานะที่ตนเองไมมี และเด็กผูชายจะ

เขาใจความหมายขององคชาตวาเปนตัวแทนแหงกฎเกณฑของพอ ซึ่งองคชาตนั้นเปนสัญลักษณที่

เกิดจากภาษา และเด็กจะเก็บกดเร่ืองการบงชี้ตนเองกับองคชาตในจิตไรสํานึก

ที่นาสนใจคือ ลากองเช่ือวาไมสามารถนิยามความเปนผูหญิงในลักษณะที่เปนสากล

ได และการที่จะนิยาม “ความเปนผูหญิง” ควรจะเร่ิมที่ความพึงพอใจทางเซ็กซของผูหญิง

(Feminine Jouissance)

                                                            

38 ยศ สันตสมบติั, ฟรอยดและพัฒนาการของจิตวิเคราะห: จากความฝนสูทฤษฎี

สังคม (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวทิยาลัยธรรมศาสตร,2550), 44-47.

39 เร่ืองเดียวกนั, 107-110.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 34: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

22

อิริกาเร (Irigaray) นักสตรีนิยมไดเสนอวา

รางกายของผูหญิงสามารถตักตวงความสุขความพึงพอใจไดมากกวารางกายของผูชาย

เน่ืองจากการบรรลุจุดสุดยอดทางเพศของผูหญิงมีความหลากหลาย ซึ่งผูชายมีแคการหล่ัง

(Ejaculation) อยางเดียว ทวาผูหญิงสามารถบรรลุจุดสุดยอดแบบ Vaginal Orgasm อันเกิดจาก

การสอดใสหรือรวมเพศ และแบบ Clitoral Orgasm ซึ่งไมจําเปนตองมีการสอดใสหรือรวมเพศกับ

ผูชาย39

40

นักวิชาการนําทฤษฎีจิตวิเคราะหไปใชในการวิจารณงานศิลปะหลายแขนงดวยกัน อีก

ทั้งสัมพันธกับกลุมสตรีนิยม ไมวาจะในรูปแบบที่เห็นดวยหรือโตแยงก็ตาม และมีการพัฒนาตอไป

เร่ือย ๆ เพื่อหาคําอธิบายในการตอสูทางการเมืองเร่ืองเพศ

เพศในมุมมองทางการแพทย รางกายมนุษยนั้นประกอบดวยเซลลจํานวนมากมายและหลากหลายชนิด โดยแตละ

ชนิดจะประกอบข้ึนเปนอวัยวะซึ่งทําหนาที่ของตน เชน หัวใจ มีหนาที่สูบฉีดโลหติหลอเลีย้งรางกาย

เปนตน สวนที่เปนอวัยวะเพศของมนุษยนั้นเติบโตมาจากเซลลตนกําเนิด ในเพศชายมีอัณฑะทํา

หนาที่ผลิตอสุจิและฮอรโมนเพศชาย สําหรับผูหญิงจะมีรังไขทําหนาที่ผลิตไขและฮอรโมนเพศหญิง

แตอวัยวะเพศที่เปนเคร่ืองเพศอยูภายนอกนั้นเติบโตมาจากเซลลภายนอกซ่ึงเปนคนละสวนกับที่

เจริญมาเปนรังไขหรืออัณฑะ

นอกจากนี้เพศของมนุษยยังถูกกําหนดจากโครโมโซมอีกดวย การที่จะเปนเพศใดนั้น

ข้ึนอยูกับโครโมโซมของอสุจิที่เขาไปผสมกับรังไข ซึ่งอสุจิมีทั้งโครโมโซม X และโครโมโซม Y

หากอสุจิโครโมโซม X เขาไปผสมกับรังไขก็จะไดเพศหญิง ในทางตรงขามหากเปนโครโมโซม Y ก็

จะเปนเพศชาย

พฤติกรรมทางเพศของมนุษยนั้นเปนเร่ืองซับซอน มีปจจัยหลายอยางที่ทําใหเกิดความ

หลากหลายทางเพศ ไมวาจะเกิดจากฮอรโมน สารเคมี การอบรมเล้ียงดู การเลียนแบบ อิทธิพล

จากส่ิงแวดลอม อยางไรก็ตามสาเหตุของความผิดปกติทางเพศที่พูดกันเสมอคือ

                                                            

40 อภิญญา เฟองฟูสกุล, อัตลกัษณ : การทบทวนทฤษฎแีละกรอบแนวคิด

(กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ, 2546), 119.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 35: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

23

1. เล้ียงดูแบบผิดเพศ เนื่องจากบิดามารดาไมมีความรูเกี่ยวกับเร่ืองเพศ รวมถึงมี

ความตองการใหบุตรตัวเองเปนอีกเพศหน่ึงจึงเล้ียงดูแบบที่ตนตองการ ซึ่ง 3-5 ปแรกสําคัญมาก

ตอการพัฒนาการทางรางกายและจิตใจของเด็ก หากเล้ียงดูไมถูกตองอาจเกิดเบ่ียงเบนทางเพศได

2. สภาพแวดลอมของเด็ก ต้ังแตใกลตัว คือคนในครอบครัว หากครอบครัวที่มีลูก

หลายคน มีลูกสาวมากกวาลูกชายหรือมีลูกชายมากกวาลูกสาว เด็กอาจซึมซับเอาพฤติกรรมของ

เพศที่มีจํานวนมากกวา เด็กอาจซึมซับและแสดงเอกลักษณทางเพศจากพี่นองหรือญาติของตน

จนทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงทั้งรางกายและจิตใจ เนื่องจากเด็กจะนําประสบการณที่ตนประสบ

มาใช

3. เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม

3.1 สาเหตุจากภาวะผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซมที่เกิดจากความผิดปกติของ

โครโมโซมเพศ ไดแก กะเทยแท (True Hermaphroditism) มีอวัยวะทั้งชายและหญิงในคนเดียวกนั

สวนโครโมโซมเพศปกติและกะเทยเทียม (Pseudo Hermaphroditism) มีโครโมโซมเพศปกติ แตมี

ความผิดปกติของฮอรโมนเพศ ทําใหหญิงมีลักษณะคลายชาย และชายมีลักษณะคลายหญิง 40

41

3.2 เกิดจากสภาวะทางจิตใจ ทําใหพฤติกรรมทางเพศตางจากบุคคลทั่วไป เดิม

แบงออกเปนกามวิปริต (Sex Inversion) กับกามวิตถาร (Sex Perversion) แตปจจุบันมีการแบง

เพิ่มอีก 2 ประเภท รวมเปน 4 ประเภทคือ41

42

3.2.1 ภาวะบกพรองทางเพศ (Sexual Dysfunction) เชน องคชาตไมแข็งตัว

หล่ังอสุจิเร็วหรือชาเกินไป รังเกียจกิจกรรมทางเพศ อารมณไมดีหลังมีเพศสัมพันธ เปนตน

3.2.2 ภาวะเบ่ียงเบนทางเพศ (Sexual Deviation or Disorders of Sexual

Preference or Paraphilias) เชน อยากรวมเพศกับเด็ก มีความสุขกับการไดรับความเจ็บปวดหรือ

ทําใหผูอ่ืนเจ็บปวด ชอบอวดอวัยวะเพศ รวมเพศกับวัตถุ เปนตน

3.2.3 ภาวะรักเพศเดียวกัน (Sexual Orientation Disorders of Ego

Dystonic Homosexuality) คือ ชายรักชาย หญิงรักหญิง หรือรักไดทั้งสองเพศ (Bisexualism)

3.2.4 ภาวะเอกลักษณผิดเพศ (Gender Identity Disorders) เชน ผูที่ผาตัด

แปลงเพศผูที่ชอบแตงกายเลียนแบบเพศตรงขามของตน หรือกรณีอ่ืน ๆ ที่ระบุชัดเจนไมได เชน มี

หนาอกเหมือนผูหญิง (ผาตัดเฉพาะชวงบน หรือกินยาคุมกําเนิด) แตมีอวัยวะเพศชายดวย

                                                            

41 ไพรัตน พฤกษชาติคุณากร และคณะ, จติเวชศาสตร (เชียงใหม: โครงการตํารา

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2533), 269.

42 นงลักษณ เอมประดิษฐ และคณะ, ความรูทั่วไปเกี่ยวกับเพศศกึษา, 123.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 36: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

24

รองพล เจริญพันธ นักกฎหมายและอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติ 4 2

43 ไดเสนอวาความรู

ทางการแพทยจะสําคัญเปนอยางมาก การกระทําผิดทางกฎหมายเก่ียวกับเร่ืองทางเพศ เชน

ขมขืน ชําเรา แพทยจําเปนตองวินิจฉัยเร่ืองนี้ ซึ่งในการอธิบายวาใครจะมีชีวิตตามแบบแผนของ

เพศใดนั้น แพทยจะใชกระบวนการทดสอบบุคคลดังกลาว 5 ประการดวยกันคือ

1. การทดสอบโครโมโซม (Chromosomal Test)

2. การทดสอบดูเชื้ออสุจิ หรือรังไข (Gonadal Test)

3. การทดสอบรูปและลักษณะเคร่ืองเพศ (Genital Test)

4. การทดสอบความรูสึกและสภาพจิตใจ (Psychological Test)

5. การทดสอบฮอรโมน (Hormonal Test) ชองวางระหวางบรรทัดตองเทากันทั้งเลม

ปจจุบันในเร่ืองภาวะรักเพศเดียวกันนั้น หาใชเปนความผิดปกติทางจิตแตอยางใด ในป ค.ศ.1986

สมาคมจิตวิทยาแหงอเมริกันก็ไดออกมาประกาศถอดถอนประเด็นนี้ออกจากบัญชีรายชื่อความ

ผิดปกติทางจิต เนื่องจากงานวิจัย 40 กวาปที่ผานมา แสดงใหเห็นวา วิถีทางเพศแบบรักเพศ

เดียวกันไมไดเปนอาการเจ็บปวยทางจิตแตอยางใด องคการอนามัยโลกเอง ก็ไดประกาศถอดถอน

ประเด็น การรักเพศเดียวกันออกจากบัญชีจําแนกโรคระหวางประเทศป ค.ศ.1992 ในขณะท่ี

ประเทศไทยน้ัน กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขรับรองเร่ืองดังกลาวตามองคการอนามัยโลก

เมื่อป ค.ศ. 2002 (พ.ศ.2545) ซึ่งเปนเวลาถึงสิบปหลังจากองคการอนามัยโลกประกาศ

แตเราจะพบอคติที่คนในสังคม ส่ือมวลชน แฝงความไมเทาเทียมเร่ืองเพศ หรือมองวา

กลุมคนรักเพศเดียวกันมีความตางจากผูอ่ืนอยูดี

เพศในมุมมองศาสนา

ศาสนาเปนส่ิงที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในสังคม เร่ืองเกี่ยวกับเพศก็เปนอีกเร่ืองหนึ่ง

ที่บัญญัติไวในหลักธรรมคําสอน สําหรับสังคมไทยน้ัน ศาสนาพุทธมีความสําคัญและมีอิทธิพล

เปนอยางมาก กุลวีร ประภาพรพิพัฒน ไดกลาวถึงเร่ืองตัวตนทางเพศในคัมภีร มหาวิภังค วามี

ตัวตน 4 แบบ คือ ชาย หญิง บัณเฑาะก และอุภโตพยัญชนก ซึ่งชาย หญิงนั้นตรงตามที่ทุกคน

                                                            

43 รองพล เจริญพันธ, “ปญหากฎหมายครอบครัวและกฎหมายอาญาทีเ่กี่ยวกับการ

ผาตัดแปลงเพศในประเทศทีใ่ชคอมมอนลอว,” นิติศาสตร 10 (2521): 409-434.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 37: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

25

เขาใจคือดูตามอวัยวะเพศ สําหรับบัณเฑาะกคือผูที่ไมมีอวัยวะเพศ มีแตทอปสสาวะ และอุภโตพ

ยัญชนก คือผูที่มีอวัยวะเพศและจิตใจที่สามารถเปล่ียนไปมาระหวางชายหญิงได4344

นอกจากนี้ยังจําแนกบัณเฑาะกไว 5 ประเภท คือ

1. อาสิตตกบัณเฑาะก คือ ผูที่สําเร็จความใครโดยการใชปากอมองคชาตของผูอ่ืน

และหล่ังน้ํากามราดตัวเอง

2. อุสสูยบัณเฑาะก คือ ผูที่สําเร็จความใครเมื่อแอบดูผูอ่ืนรวมเพศกัน

3. โอปกกมิกบัณเฑาะก คือ ผูที่ถูกตอน เชน พวกขันที

4. ปกขบัณเฑาะก คือ ผูที่เปนบัณเฑาะกเฉพาะเวลาขางแรม องเขาไปดู

5. นปุงสกบัณเฑาะก คือ ผูที่ไมปรากฏทั้งสองเพศ มีแตชองขับถายปสสาวะ44

45

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 มีโองการใหชําระ

กฎหมายตราสามดวงซ่ึงระบุวากะเทยหรือบัณเฑาะกไมสามารถเปนพยานในศาลได 4 5

46

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 1 มุงใหราษฎรของพระองครักษาศีลอยูเสมอ โดยเฉพาะ

ศีลขอสาม กาเม สุมิจฉาฯ นั้นผูที่ผิดศีลดังกลาวตองใชผลกรรมเปนเวลานาน เปนสัตวที่ถูกตอน

500 ชาติ และเปนกะเทย 500 ชาติ และกลาวถึงผลกรรมของนางรุจาที่ปรากฏอยูในพระไตรปฎก

นางรุจานั้นเคยเปนผูชายลูกนายชางทองหนาตาดีและละเมิดภรรยาผูอ่ืนในชาติกอน มีผลใหเกิด

เปนกะเทยในตระกูลที่มีโภคทรัพยมาก46

47

ถึงแมวาพุทธศาสนาจะไมไดถือวาพฤติกรรมรักเพศเดียวกันเปนบาป เปนเพียงแตผล

กรรมของอดีตชาติซึ่งไมสามารถแกไขได แตในชาติภพปจจุบันมนุษยสามารถประพฤติปฏิบัติตน

ใหอยูในศีลธรรมไมวาตนจะอยูสถานะใดก็ตาม

                                                            

44 กุลวีร ประภาพรพิพฒัน, “แนวคิดและจริยศาสตรที่เกี่ยวกับเพศในพทุธศาสนาเถร

วาท” (วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาพทุธศาสนศึกษา คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2545), 39.

45 เร่ืองเดียวกนั.

46 เทอดศักด์ิ รมจําปา, “วาทกรรมเก่ียวกบัเกยในสังคมไทย พ.ศ.2508 - 2542”

(วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2545), 13.

47 เร่ืองเดียวกนั, 18.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 38: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

26

ศาสนาคริสตมีอิทธิพลตอคริตศาสนิกชนเปนอยางมาก พระคริสตธรรมคัมภีรนั้นเปน

คัมภีรอันศักด์ิสิทธิ์อยูเหนือจิตใจของชาวคริสตมาเปนเวลานับพันป พระคัมภีรระบุวาการสมสูกับ

เพศเดียวกันเปนบาป ผูกระทําผิดลวงประเพณีไมเพียงแตจะถูกลงโทษเปนรายบุคคลเทานั้นแตจะ

ถูกลงโทษทั้งสังคมอีกดวยดังเชนเมืองโซดอม(Sodom) และโกโมราห (Gomorrah) ซึ่งปรากฏใน

พระคัมภีรพันธะสัญญาเดิม ในตํานานการสรางโลก หรือปฐมกาล (Genesis 19 : 4 -11) ได

กลาวถึงการประพฤติตนเปนคนรักเพศเดียวกันจะทําใหพระเจาลงโทษมนุษยอยางรุนแรงถึงขนาด

ที่พระองคทรงบันดาลใหเกิดไฟบรรลัยกัลปทั้งเมืองโซดอมและโกโมราห ซึ่งคนในเมืองนั้นมีการ

รวมประเวณีกับเพศเดียวกัน ซึ่งตอมาคําวา “Sodomy” มีความหมายวา การสมสูทางทวาร

(เวจมรรค) ซึ่งความจริงแลวไมไดหมายความถึงการรวมเพศของคนเพศเดียวกันเทานั้น หาก

รวมถึงการรวมเพศกับเพศตรงขาม แตใชทางทวาร อันทําใหการรวมเพศนั้นไมไดนําไปสูการ

สืบพันธุถือวาผิดตามหลักศาสนาคริสต แตคนสวนใหญมักเขาใจวา เปนชายรักชายเทานั้น

ในเลวีนิติ (Leviticus) บทที่ 18:22 ยังระบุวา “เจาอยาสมสูกับผูชายใชตางผูหญิงอัน

เปนส่ิงพึงรังเกียจ”48 และกลาวถึงบทลงโทษในบทที่ 20:13 วา “ชายใดเขานอนกับผูชายกระทํา

อยางกับผูหญิง ทั้งสองคนกระทําผิดในส่ิงอันพึงรังเกียจ ใหขวางทั้งสองคนนั้นเสียใหตาย ที่เขา

ตองตายนั้นเขาเองตองรับผิดชอบ”49

แนวคิดของศาสนาคริสตที่มีตอบุคคลรักเพศเดียวกันนี้ มีอิทธิพลมาถึงสยามในสมัย

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระบรมราชโองการใหประกาศใชพระราชกําหนด

ลักษณะขมขืนลวงประเวณี ร.ศ.118 (พ.ศ.2441) กําหนดโทษผูขมขืนกระทําชําเราหญิงอันมิใช

ภรรยาตน และผูกระทําผิดธรรมดามนุษยซึ่งหมายถึงคนท่ีรักเพศเดียวกัน นับไดวาพระราชกําหนด

ฉบับนี้นําแนวคิดเร่ือง Sodomy ของประเทศที่นับถือศาสนาคริสตมาบัญญัติเปนกฎหมายบงัคับใช

เปนคร้ังแรก และลงโทษจําคุกสูงสุดถึงสิบป จนกระทั่งป พ.ศ.2499 ประเทศไทยไดยกเลิกความผิด

ฐานกระทําผิดธรรมดามนุษย แตถึงกระนั้นก็ยังมีความเชื่ออยูวาคนรักเพศเดียวกันเปนคนผิดปกติ

ของสังคม49

50

                                                            

48 สมาคมพระคริสตธรรมไทย, พระคริสตธรรมคัมภีร (กรุงเทพฯ: สมาคมพระคริสต

ธรรมไทย, 2554), 151.

49 เร่ืองเดียวกนั, 153-154.

50 ยุทธนา เลิศประดิษฐ, “สิทธแิละเสรีภาพของรักรวมเพศชายตามกฎหมาย

รัฐธรรมนูญ: วเิคราะหปญหาจากสังคมไทย” (วทิยานพินธปริญญามหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543), 41-42.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 39: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

27

หลักกฎหมายอิสลาม (ชารีอะฮฺ) ซึ่งยังใชอยูในหลายประเทศ เชน อัฟกานิสถาน ตุรกี ตูนิเซีย ซาอุดิอาระเบีย และอิหราน การมีเพศสัมพันธกับเพศเดียวกันถือวาเปนความผิด เหตุการณสําคัญคร้ังหนึ่งในป ค.ศ.2005 นักโทษวัยรุนชายสองคนมาหมุด อาซการี (Mahmoud Asgari) อายุ 18 ป และอายาซ มารโฮนี (Ayaz Marhoni) อายุ 16 ป ถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอในประเทศอิหราน ในขอหารักเพศเดียวกัน ทําใหเกิดกระแสคัดคาน ตอตานทั่วโลกเพื่อเรียกรองสิทธิมนุษยชน อยางไรก็ตามทางการของอิหรานไดออกมาแถลงขาววาที่ประหารวัยรุนทั้งสองนั้นเปนขอหาที่นักโทษทั้งสองขมขืนเด็กอายุ 13 ป ไมใชประหารเพราะทั้งคูเปนคนรักกันหรือมีเพศสัมพันธกัน สําหรับศาสนาอิสลามนั้น หากเปนกะเทย สามารถแตงงานได ดังกลาวไวในอัลอุม เลม 5 วา “ดังนั้นเม่ือเขาเปนกะเทย ก็อนุญาตใหเขาแตงงานกับเพศไหนก็ไดตามที่เขาประสงค แลวเมือ่เขาแตงงานกับเพศหนึ่งแลว ก็ไมอนุญาตใหเขาแตงงานกับเพศอ่ืนอีก” ซึ่งหมายความวากะเทยนั้นแตงงานได แตตองแปลงเพศแลว หากเปนบุคคลรักเพศเดียวกันโดยที่ฝายใดฝายหน่ึงไมไดแปลงเพศแลวสมสูกันจะมีโทษถึงตาย จากที่กลาวมาขางตน จะเห็นไดวาศาสนามีบทบาทสําคัญตอคนในสังคม ทั้งความเชื่อและแนวคิดตาง ๆ หลักธรรมทางศาสนาในบางเร่ืองนั้นสามารถบัญญัติเปนกฎหมายไดอีกดวย อาจจะเปนไปไดวา เร่ืองราวเกี่ยวกับเพศของมนุษยมีความซับซอน เพราะมนุษยไมตองการรวมเพศเพื่อสืบพันธุแตอยางเดียว และทุกคนตางก็มีความใครกันทั้งนั้น ศาสนาเปนเคร่ืองมืออยางหนึ่งในการควบคุมเร่ืองเพศ อยางไรก็ตามในสังคมไทยปจจุบันมีการเปดกวางดานความคิดและพัฒนาการดานสิทธิมนุษยชนมากข้ึน ทําใหเกิดการตอรองและถกเถียงประเด็นเร่ืองเพศกันอยางกวางขวางลึกซึ้งอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน เพศในมุมมองประวัติศาสตร ในสังคมกรีก (ราว 1200-300 ป กอน ค.ศ.) นั้น การมีเพศสัมพันธกับเพศเดียวกันไมถือวาเปนเร่ืองผิดปกติแตอยางใด เพราะสังคมสมัยนั้นเร่ืองสถานะทางสังคมเปนเร่ืองสําคัญมากกวา มิตรภาพระหวางเพื่อนเพศชายดวยกันเปนเร่ืองที่ซับซอนมีทั้งรักและใครอยูดวยกัน และไมไดแบงแยกอยางเด็ดขาด และดูเหมือนวา ความสัมพันธระหวางเพศเดียวกันมีความโรแมนติกและอาจถือวาบริสุทธิ์มากกวาการรวมเพศและแตงงานระหวางคนตางเพศ50

51 แตพอชวงปลายสมัย

                                                            

51 John Boswell, Same-Sex Unions in Premodern Europe (New York :

Random House, 1994), 79, อางถงึใน ธเนศ วงศยานนาวา, เพศ : จากธรรมชาติ สูจรยิธรรม

จนถึงสุนทรยีะ, 27-28.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 40: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

28

กรีก (ประมาณ 300 ป กอน ค.ศ.) แนวคิดดังกลาวออนตัวลง อิทธิพลของปรัชญาแนวสโตอิก (Stoic) ชีวิตในอุดมคติคือชีวิตที่ปราศจากเร่ืองเพศ เพราะจะทําใหหันเหความสนใจไปจากการครุนคิดปรัชญา แตเปนแนวคิดที่ไมใชเปนกฎขอบังคับ บางกลุมของสายสโตอิกนี้ก็เชื่อวาควรอยูบนสายกลางและเปนไปเพื่อสืบพันธุเทานั้น พอคริสตศตวรรษที่ 4 จักรพรรดิคอนสแตนตินไดรับศาสนาคริสตเขามาเปนศาสนาของ

จักรวรรดิโรมัน ซึ่งศาสนาคริสตมองวาการกระทําทางเพศในเร่ืองรวมเพศกับเพศเดียวกันเปนเร่ือง

เส่ือมเสีย ชั่วชา เปนบาปอยางหนึ่ง ในชวงตนคริสตศตวรรษที่ 6 จักรพรรดิจัสติเนียน

มีพระบรมราชโองการใหจัดทําประมวลกฎหมาย โดยกําหนดโทษประหารชีวิตสําหรับชายที่มี

เพศสัมพันธกับชายดวยกัน ซึ่งถือเปนการฝนธรรมชาติและไมศรัทธาในพระเจาตามความเช่ือ

ของศาสนาคริสต

ความเชื่อเร่ืองผิดบาปนี้ฝงรากลึกในยุคกลาง และนักปรัชญาอยางเซนตออกุสทีน

(St. Augustine) และเซนตโธมัส อะไควนัส (St.Thomas Aquinas) ตีความคําสอนของพระเจา

โดยใหคําจํากัดความถึงเร่ืองเพศที่เปนธรรมชาติวาเปนเพศสัมพันธที่อยูภายใตการแตงงานเทานั้น

สวนการรวมเพศแบบตาง ๆ ไมจะทางทวารหนัก สําเร็จความใครดวยตนเอง ใชปากกับอวัยวะเพศ

ใดก็ตาม รวมเพศกับสัตว แมกระทั่งทารวมเพศที่นอกเหนือจากการหันหนาเขาหากันก็ถือวาเปน

บาปทั้งส้ิน51

52 และอะไควนัสนั้นเห็นวาผูที่มีความสัมพันธกับเพศเดียวกันนั้นมีความผิดมากกวาผูที่

มีความสัมพันธกับเพศตรงขามแตประพฤติผิด เชน มีชู อีกดวย

ในที่สุดแนวคิดเร่ืองบาปทางเพศที่ผิดตอธรรมชาตินี้ก็ไดนําไปปรับใชเปนกฎหมายใน

ภายหลัง ที่เห็นไดชัดคือ ป ค.ศ.1553 สมัยพระเจาเฮนรีที่ 8 (Henry VIII) แหงอังกฤษไดตรา

พระราชบัญญัติกําหนดโทษประหารชีวิตแกบุคคลที่ทําผิดฐานดังกลาว จวบจนปลาย

คริสตศตวรรษที่ 19 มีการปฏิรูปกฎหมายในข้ึน โดยกําหนดโทษของการเสพทางเวจมรรคลดความ

รุนแรงลง แตยังคงเปนความผิดอยู นักเขียนชาวอังกฤษชื่อดังอยางออสการ ไวลด (Oscar Wilde)

ก็ถูกลงโทษขอหากระทําการรวมเพศผิดธรรมชาติเชนกัน

ในชวงคริสตทศวรรษที่ 1860 นั้นเร่ิมมีการเรียกรองสิทธิและแกกฎหมายเก่ียวกับการมี

เพศสัมพันธกับเพศเดียวกัน บุคคลสําคัญคือ คารล เฮนริช อุลริชส (Karl Heinrich Ulrichs) และ

คารล มาเรีย เคิรตเบนนี (Karl Maria Kertbeny) ถือวาเปนผูบุกเบิกสิทธิของกลุมรักเพศเดียวกัน

เปนคร้ังแรกในยุโรป โดยอุลริชสทนายความชาวเยอรมันไดเขียนบทความอธิบายเกี่ยวกับความรัก

                                                            

52 สุธรรม ธรรมรงควิทย, “อํานาจและการขัดขืน: ชายรักชายในสังคมทีค่วามสัมพันธ

ตางเพศเปนใหญ”, 23.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 41: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

29

ระหวางเพศชายดวยกันเปนเร่ืองธรรมชาติและมีสาเหตุทางชีววิทยา ผูชายที่มีจิตใจเปนหญิงและ

การแสดงตนเหมือนผูหญิงจะเรียกวา “เยอรนิ่ง” (Urning) และในป ค.ศ.1868 คารล มาเรีย เคิรต

เบนนีนักหนังสือพิมพเชื้อสายออสเตรีย-ฮังการีเปนผูคิดคําวาความสัมพันธระหวางเพศเดียวกัน

(Homosexuality/ Homosexualitat) เพื่อที่จะอธิบายพฤติกรรมของชายรักชายและการแสดงออก

ทางเพศของบุคคล และเขาเห็นดวยกับอุลริชสที่ตองการใหแกกฎหมายเก่ียวกับรักเพศเดียวกัน

เนื่องจากเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน

ตอมาในป ค.ศ.1897 มีการต้ังกลุมของรักเพศเดียวกัน ชื่อวา Scinetific Humanitarian

Committee ในประเทศเยอรมนี โดยผูนําคนสําคัญคือ แม็กนัส เฮิรชเฟลด (Magnus Hirschfeld)

นายแพทยชาวเยอรมันที่ออกมาตอตานกฎหมายมาตรา 175 (ซึ่งระบุวาผูชายที่มีพฤติกรรมทาง

เพศกับชายอ่ืน หรือยอมใหชายอ่ืนมีการกระทําทางเพศกับตน จะตองถูกลงโทษโดยการจําคุก

หากอายุตํ่ากวา 21 ป และหากไมไดเปนฝายกระทําจะใหรอลงอาญาไวกอน) เขาพิสูจนวาคนที่รัก

เพศเดียวกันนั้นเปนสัญชาตญาณธรรมชาติที่เก็บไวภายใน ทําใหมีการแสดงบทบาทตรงกลาง

ระหวางความเปนชายและหญิง หรือเพศที่สาม รูจักในนาม Uranism กลุมของเฮริชเฟลดมอัีนตอง

ลมสลายเพราะถูกปราบปรามโดยพรรคนาซี5253 ในเยอรมนี

สําหรับฝงสหรัฐอเมริกานั้นเหตุการณสําคัญในการเรียกรองสิทธิเกิดข้ึนในศตวรรษที่

20 โดยชุมชนเกยในยานกรีนิช วิลเลจ (Greenwich Village) เปนจุดเร่ิมตนที่สําคัญของการ

เรียกรองสิทธิเสรีภาพของคนกลุมเกยและกลุมรักเพศเดียวกันในเหตุการรจลาจลที่บาร สโตนวอลล

(Stonewall Riot) เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1969 ตํารวจทั้งในและนอกเครื่องแบบเขาไปปดลอม

บารดังกลาว คืนนั้นกลุมเกยอยูที่นั่นประมาณ 200 คน ตํารวจเขาไปจับกุมผูชายที่แตงตัวเปนหญิง

และคืนตอมาเจาหนาที่ตํารวจไดกลับมาปดลอมอีกคร้ัง ทําใหสถานการณทวีความรุนแรงข้ึน กลุม

รักเพศเดียวกันมารวมตัวกันหนาบาร แขวนแผนปายการเรียกรองความเปนธรรมวา “THEY

INVADED OUR RIGHT; LEGALIZE GAY BAR; SUPPORT GAY POWER” เกิดการปะทะกัน

ขวางปาส่ิงของสุดทายตํารวจเขาจับกุมดวยกระบองเหล็ก 5 3

54 เหตุการณคร้ังนี้สงผลใหเกิดกลุม

                                                            

53 นฤพนธ ดวงวิเศษ, สถานภาพความรูการศกึษาการเคลื่อนไหวทางสังคมของ

ชาวเกย, เขาถงึเมื่อ 3 กันยายน 2554, เขาถึงไดจาก http://www.sac.or.th/main/article_detail.php?

article_id=178&category_id=27

54ศรัณย มหาสุภาพ, “การสรางอัตลักษณเกยในงานเขียนแนวอัตชวีประวัติเกยรวม

สมัย,” 62-64.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 42: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

30

เรียกรองสิทธิมากมายของกลุมรักเพศเดียวกัน เชน กลุม ACT UP หรือ กลุม GAY LIBERATION

FRONT (GLF)

ประวัติศาสตรเร่ืองรักเพศเดียวกันแบบชายรักชายของประเทศไทยนั้นไมพบบันทึกที่มี

ลักษณะโจงแจง แตกลาวถึงความประพฤติของเจานายบางองคที่ไมยอมอยูกับหมอมหาม แตนยิม

อยูกับกลุมละครที่สนิทสนมเชน กรมหลวงรักษรณเรศร ในพระราชพงศาวดารสมัยรัชกาลที่ 3

ต้ังแตเลนละครเขาแลว ก็ไมไดบรรทมขางในดวยหมอมหามเลย บรรทมอยูแตเกงขางทอง

พระโรงดวยพวกละคร จึงรับส่ังใหเอาพวกละครมาแยกยายกันไตถาม ไดความสมกันวาเปนสวาท

ไมถึงชําเรา แตเอามือเจาละครและมือทานกําคุยหฐานดวยกันทั้งสองฝายใหสําเร็จภาวะธาตุ

เคล่ือนพรอมกันเปนแตเทานั้น54

55

จากขอความดังกลาวพอจะเรียกพฤติกรรมรักเพศชายดวยกันสมัยนั้นไดวา “การเลน

สวาท” และสําหรับหญิงรักหญิงใชวา “เลนเพื่อน” ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขาของ

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวกําชับพระเจาลูกเธอทั้งหลายมิใหเลนเพื่อน55

56

ประเทศไทยนั้นมีคําเรียกชายที่กระตุงกระต้ิงหรือมีลักษณะผูหญิงวา ตุด หรือ กะเทย

แตปจจุบันมีคําวา “เกย” รวมทั้งคําแสลงอ่ืน ๆ เชน เกง กวาง เปนตน ซึ่งในทางประวัติศาสตรนั้น

คําวา “กะเทย” มีอยูในสังคมไทยมาชานานต้ังแตสมัยกรุงศรีอยุธยา และพฤติกรรมชายรักชายนั้น

เปนเร่ืองวิปริต ผิดเพศ วิตถาร แตสังคมไทยไมเขาใจคําวากะเทยกับเกยตางกันอยางไร56

57

ป พ.ศ.2504 นายแพทยสุด แสงวิเชียร และนายแพทยอรุณ ภาคสุวรรณ ไดเรียก

พฤติกรรมการรวมเพศกับชายดวยกันของนักโทษชายนั้นวาเปน “พวกชายลักเพศ” คนเหลานี้เปน

คนที่มีรางกายเปนชายปกติ แตความรูสึกและกิริยาทาทางเปนผูหญิง ซึ่งตองไดรับการรักษา57

58 ถือ

วาเปนผูมีความผิดปกติทางจิต สวนศัพทคําวา “กะเทย” ในทางการแพทยนั้นหมายถึงบุคคลที่

                                                            

55 เจาพระยาทพิากรวาศี, พระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 3, เลม 2 (พระนคร: องคการ

คาคุรุสภา, 2504), 135-136, อางถึงใน ยทุธนา เลิศประดิษฐ, “สิทธแิละเสรีภาพของรักรวมเพศ

ชายตามกฎหมายรัฐธรรมนญู:วิเคราะหปญหาจากสังคมไทย”, 34-35.

56 กิติศักด์ิ ปรกติ,”ตํานานรักรวมเพศของไทย,”นิติศาสตร, 13(2526): 84-95.

57 เทอดศักด์ิ รมจําปา, “วาทกรรมเก่ียวกบัเกยในสังคมไทย พ.ศ. 2508-2542,” 44.

58 เร่ืองเดียวกนั.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 43: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

31

ผิดปกติทางรางกายเพราะมีอวัยวะสืบพันธุทั้งสองเพศอยูในคน ๆ เดียว จะเห็นไดวา เร่ืองความรู

ทางการแพทยมีอํานาจในการอธิบายวาสิ่งใดปกติ ส่ิงใดผิดปกติ หรือเบ่ียงเบน

สําหรับคําวา “เกย” นั้นปรากฏคร้ังแรกในหนังสือพิมพไทยรัฐวันที่ 11 ตุลาคม

พ.ศ.2508 มีรายงานขาวเกี่ยวกับผูชายขายบริการทางเพศใหกับชาวตางชาติ ซึ่งผูชายเหลานี้เรียก

ตัวเองวาเกย และในชวงแรกนั้น เกยถูกมองวาเปนปญหาสังคมที่สามารถนําไปสูอาชญากรรมได

ขาวเกี่ยวกับบารเกยคร้ังแรกปรากฏป พ.ศ.2515 หนังสือพิมพไทยรัฐไดสัมภาษณยศ

วดีเจาของบารเกยยานพัฒนพงษ ซึ่งเขากลาววาสังคมไมควรเหยียดหยามเกย นฤพนธ ดวงวิเศษ

นักวิชาการประจําศูนยมานุษยวิทยาสิรินธรไดระบุวาบารเกยแหงนี้ถือเปนชมรมเกยแหงแรก

ของประเทศไทย มีสมาชิกราว 3,000 คน ทั้งไทยและชาวตางชาติ58

59

ภายหลังจากการเกิดบารเกยของยศวดีแลว ก็มีนิตยสารเกยเกิดข้ึนในป พ.ศ.2524

นิตยสารจีแอลถือเปนนิตยสารเลมแรกที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเกยและเลสเบ้ียน ตอมาป พ.ศ.2525

นิตยสารเชิงชาย และในป พ.ศ.2526 เกิดนิตยสารมิถุนา ซึ่งจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับเพศ ประสบการณ

ชีวิตของเกย และป พ.ศ.2528 นิตยสารมิถุนาจูเนียรเสนอประเด็นเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและความ

เคล่ือนไหวของเกยในโลกตะวันตก

นอกจากนี้ ดร.เสรี วงษมณฑา เปนบุคคลสําคัญที่เปดเผยตัวเองวาเปนเกยตอ

สาธารณะและพยายามใหสังคมเขาใจวาเกยเปนคนธรรมดาคนหนึ่ง โดยเขียนบทความลง

นิตยสารหลายแหงและมีการอภิปรายเร่ืองเกยกับกฎหมาย จัดโดยคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร ในป พ.ศ.2526

นที ธีระโรจนพงษ ถือเปนบุคคลสําคัญอีกคนหนึ่ง ที่เปดเผยตัวเองและมีความ

ประพฤติดีจนสังคมยอมรับ ในปพ.ศ.2532 เขาไดตั้งกลุม ภราดรภาพยับยั้งโรคเอดสแหงประเทศ

ไทย (Fraternity for AIDS Cessation in Thailand) เพื่อใหความรูเกี่ยวกับโรคเอดสในบารเกย

ซาวนาเกย จัดกิจกรรมเพื่อพบปะสังสรรคและแลกเปล่ียนขาวสาร ทวากลุมนี้ทํางานในชวงส้ัน ๆ

เพราะขาดงบประมาณและไมไดรับการสนับสนุนจากภาคธุรกิจ

โรคเอดสเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหสังคมมองเกยในแงลบ เกยมักถูกมองวาเปนพวก

สําสอนทางเพศ และทําใหโรคเอดสแพรระบาดอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทําใหเกิดการรณรงค

เพื่อตอตานโรคเอดสในกลุมชาวเกย ในป พ.ศ.2542 กมลเศรษฐ เกงการเรือ ใหคําปรึกษาคลินิก

นิรนาม สภากาชาดไทย พบวาคนรักเพศเดียวกันนั้นติดเช้ือเอชไอวีมากข้ึน กมลเศรษฐจึงจัดเวที

                                                            

59 นฤพนธ ดวงวิเศษ, สถานภาพความรูการศกึษาการเคลื่อนไหวทางสังคมของ

ชาวเกย.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 44: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

32

เสวนา หลังจากเปนตัวแทนไปประชุมเกี่ยวกับโรคเอดสและเพศสถานะที่ประเทศบังกลาเทศ

กลับมาเขาไดต้ัง “ฟาสีรุง” และไดจดทะเบียนเปนสมาคมฟาสีรุงแหงประเทศไทยในป พ.ศ.2546

นอกจากนี้ยังมีองคกรบางกอกเรนโบว (Bangkok Rainbow Organization) กอต้ังในป พ.ศ.2545

โดยนิกร อาทิตย ซึ่งทํางานรวมกับสมาคมฟาสีรุง และเปนแหลงทุนเดียวกัน เพื่อสรางเครือขาย

ความหลากหลายทางเพศของประเทศ เพื่อผลักดันเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของเกย เลสเบ้ียน กะเทย

และคนขามเพศ

จากการศึกษาของใจ อ๊ึงภากรณ เช่ือวาความเคล่ือนไหวของกลุมเกยและเลสเบี้ยนใน

ประเทศไทยน้ันเกิดจากสถานการณเอดสในชวงคริสตทศวรรษ 1980 แตไมมีจิตสํานึกทาง

การเมืองเชนเดียวกับสังคมตะวันตก แตเนนการแสดงออกถึงตัวตน เปดเผย และสรางความเขาใจ

ตอสังคม เพื่อใหสังคมยอมรับ59

60

ผูศึกษาเห็นวา การเคล่ือนไหวของเกยและกลุมหลากหลายทางเพศนั้น จําเปนตองใช

ทัศนะที่เปดกวาง และไมควรเอาศีลธรรมตายตัวเครงครัด มาใชในการวัดวาใครเปนคนดี หรือไมดี

เชน เกยเที่ยวกลางคืนไมดี เพราะการดํารงชีวิต พฤติกรรมทางเพศไมไดเกี่ยวกับการเปนคนดี

หรือไม และการเรียกรองสิทธิเกยนั้นไมไดทําเพื่อกลุมรักเพศเดียวกัน หากยังเกี่ยวของกบัความเปน

มนุษยที่มีความหลากหลายอีกดวย

เพศในงานศิลปะ เพศ เพศสถานะ และเพศวิถี เปนประเด็นที่มีศิลปนหยิบยกมาส่ือในงานของตนเสมอ

ไมวายุคสมัยใด ยิ่งเปนเร่ืองเก่ียวกับกามารมณและเพศวิถีที่ตางไปจากสังคมสวนใหญ (เชน

พฤติกรรมชายรักชาย และหญิงรักหญิง) ราวกับวาการเปนชนกลุมนอย หรือชนชายขอบยิ่งทําใหมี

ประเด็นนาสนใจข้ึน ในยุคโพสตโมเดิรน (เร่ิมชัดเจนชวงคริสตทศวรรษ 1970) นั้นเนื้อหาของงาน

ศิลปะไดขยายออกไปสูวงกวางมากขึ้นทั้งในเชิงวิพากษวิจารณ เสียดสี ลอเลียน ในประเด็นเร่ือง

เพศสถานะ เพศวิถี หรือชาติพันธุ รวมทั้งการต้ังคําถามกับศิลปะในเร่ืองความงาม ความเปน

ตนแบบ และแนวคิดแบบโมเดิรน

เฟลิกซ กอนซาเลซ ทอรเรส (Félix González-Torres) เปนศิลปนสําคัญคนหนึ่งในชวง

ปลายคริสตทศวรรษ 1970 ถึงชวงตน 1980 นําเสนอเร่ืองราวเกี่ยวของเพศไดอยางนาสนใจ และ

ตัวศิลปนเองก็เปนคนรักเพศเดียวกันดวย ทอรเรสสะทอนประเด็นเร่ืองการกีดกันความเปนอ่ืน

                                                            

60 ใจ อ๊ึงภากรณ, ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในไทย (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ

ประชาธิปไตยแรงงาน, 2545), 79.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 45: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

33

ที่เกิดข้ึนในสังคม ความเปนอ่ืนในที่นี้คือรสนิยมทางเพศที่ตางจากสังคมสวนใหญ งานทีผู่เขียนเหน็

วานาสนใจคือ Untitled (Portrait of Ross in L.A.) ป ค.ศ.1991

ผลงาน Untitled (Portrait of Ross in L.A.) การจัดวางลูกอมหลากสีสันสวยงาม

น้ําหนักรวม 175 ปอนดซึ่งเปนน้ําหนักของรอสส เลยคอค (Ross Laycock) คูรักของทอรเรสซึ่ง

เสียชีวิตดวยโรคเอดส ผูชมสามารถหยิบลูกอมไปได ผลงานช้ินนี้สามารถตีความไดวา การที่ผูชม

ไมหยิบลูกอมอาจเปนเพราะธรรมเนียมในการชมงานศิลปะจะหามไมใหคนดูแตะตองหรือหยิบ

ผลงานแลวนํากลับไปดวย หรือการที่ไมหยิบลูกอมอาจเปรียบไดกับความกลัวในการสัมผัสผูติด

เชื้อเอดส ทําไดแตมองดวยตาเทานั้น

ภาพที่ 1 เฟลิกซ กอนซาเลซ ทอรเรส, Untitled (Portrait of Ross in L.A.) [ศิลปะจัดวาง],

กระดาษหอลูกอมหลากสี น้ําหนัก 175 ปอนด ขนาดแปรผันไดตามพื้นที่ ผลงานใน

ภาพมีขนาด ประมาณ 91 x 91 x 91 เซนติเมตร, 2536.

ที่มา: Felix Gonzalez-Torres, Untitled, accessed August 3, 2011, available from http://

www.artic.edu/aic/collections/artwork/152961

งานศิลปะแนวเฟมินิสต (Feminist) นั้นก็มีความนาสนใจเชนกัน เพราะไดต้ังคําถาม

กับสังคมที่อยูในระบบที่ผูชายเปนใหญ เชนงานของบารบารา ครูเกอร (Barbara Kruger) ชื่อ We

Don’t Need Another Hero ป ค.ศ. 1987

Page 46: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

34

ในผลงาน We Don't Need Another Hero ของบารบารา ครูเกอรไดต้ังคําถาม

เกี่ยวกับคานิยมที่ยกยองใหเพศชายเปนผูนํา เปนฮีโร และเพศชายตองมีพฤติกรรมที่เขมแข็ง ครูเก

อรนําภาพโปสเตอรรณรงคในชวงสงครามโลกคร้ังที่สองในคริสตทศวรรษ 1950 มาใช ภาพนี้เปน

ภาพขาวดําและแถบคําพูดสีแดงตัวอักษรสีขาวความวา We Don't Need Another Hero เหมือน

แถลงการณอยางหนึ่งที่บอกวาโลกนี้มีเพศชายเปนฮีโรก็เพียงพอแลว โลกไมตองการฮีโรที่เปนเพศ

อ่ืน ๆ อีก

ภาพที่ 2 บารบารา ครูเกอร, We Don't Need Another Hero [ซิลคสกรีน], ภาพขาวดําซิลค

สกรีนบนแผนพลาสติกไวนิล ขนาด 277 x 533 เซนติเมตร, 2530.

ที่มา: Barbara Kruger, We don’t need another hero, accessed July 26, 2011 available

from http://www.arthistoryarchive.com/arthistory/feminist/Barbara/Kruger.html

นอกจากนี้ยังมีงานที่ทาทายมโนทัศนเกี่ยวกับรางกาย เชน ภาพเปลือยที่นาสนใจอยาง

งานของเจนนี ซาวิลล (Jenny Saville) ดังภาพที่ 3 แสดงใหเห็นถึงกะเทยที่มีเตานมเหมือนผูหญิง

แตยังคงมีอวัยวะเพศชายอยู

Page 47: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

35

ภาพที่ 3 เจนนี ซาวิลล, Passage [จิตรกรรม], สีน้ํามันผาใบขนาด 336 x 290 เซนติเมตร, 2547

ที่มา: Jenny Saville, Passage, accessed July 26, 2011 available from http://www.saatchi-

gallery.co.uk/artists/jenny_saville.htm

ภาพนี้ไมใชภาพเปลือยธรรมดาอยางที่เราเห็นทั่วไปที่มักจะเปนภาพเรือนรางอัน

งดงามของผูหญิง สวนโคงเวาตามสรีระ หรือเห็นเปนกลาม ลํ่าสันสําหรับภาพเปลือยของผูชาย แต

ภาพของซาวิลลนี้กลับทําใหเราต้ังคําถามเกี่ยวกับเพศสรีระ ซึ่งในภาพมีการผสมผสานกัน ชวงบน

เปนผูหญิง ชวงลางเปนผูชาย เปนการแสดงภาวะอันไมคงที่ตายตัวเกี่ยวกับเพศสถานะ

ศิลปนเกยที่เปนคูรักกันที่มีชื่อเสียงคูหนึ่งของวงการศิลปะคือ ปแอรและจีลล (Pierre et

Gilles) ทั้งสองทํางานคูกันเสมอ โดยปแอรจะถายภาพและจีลลจะตกแตงภาพ ศิลปนมักเชิญ

บุคคลที่มีชื่อเสียงมาเปนแบบ แตบางคร้ังศิลปนคูนี้บางคร้ังเปนแบบคูกันเสียเอง ตัวอยางเชน

ผลงาน Les Maries ป ค.ศ.1992

Page 48: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

36

ภาพที่ 4 ปแอรและจีลล, Les Maries [ภาพถาย], ขนาดภาพ 417 x 530 เซนติเมตร รวมกรอบ,

2537.

ที่มา: Jerome Noirmont,Pierre et Gilles,accessed July 26, 2011,available from

5 http://www.denoirmont.com/portfolio-artiste-pierre-et-gilles-galerie-jerome-de-

noirmont.html

ชื่องาน Les Maries นั้นเปนภาษาฝร่ังเศสแปลวาสามี (ในที่นี้เปนพหูพจนหมายถึงทั้ง

สองคน) คลายกับเปนการต้ังคําถามบทบาทของเพศวิถีที่ความเปนสามีข้ึนอยูกับเพศสรีระหรือเพศ

สถานะ เปนการถายแบบเปนภาพเจาบาวและเจาสาวในชุดวันวิวาห งานของศิลปนอาจเสียดสี

การแตงงานก็ได เพราะจุดหมายอยางหนึ่งของคูรักชายหญิงโดยทั่วไปมักจะถือวาการแตงงานเปน

เร่ืองสําคัญมาก และครอบครัวจะสมบูรณไดก็ตองมีลูก ซึ่งเปนการเชิดชูคานิยมของสังคมแบบเดิม

ไมเปดพื้นที่ใหคนรักเพศเดียวกัน หรือความรักนอกสถาบันการแตงงาน สําหรับคนรักเพศเดียวกัน

นั้นแมวาสามารถแตงงานจดทะเบียนสมรสไดแลวในบางประเทศ โดยมีกฎหมายมารองรับ แตถึง

กระนั้นกวากฎหมายจะออกมาบังคับใชได ก็ประสบปญหาและตองเรียกรองสิทธิอยูมาเปน

เวลานาน

Page 49: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

37

งานของศิลปนเกยอีกคนหนึ่งที่หลงใหลในความงามของเพศชายผิวดําเปนอยางมาก

คือโรเบิรต แม็พเพิลธอรพ (Robert Mapplethorpe) ตัวอยางงานชุด Black Male Mapplethorpe

นั้นถือวาสวยงามและยกยองความงามของเพศชาย ดังปรากฏในภาพที่ 5 ศิลปนนําเสนอวา

รางกายเพศชายก็เปนวัตถุแหงความปรารถนาทางเพศได เพราะสวนใหญเราจะคิดวาผูหญิงเปน

เพียงวัตถุทางเพศเทานั้น

ภาพที่ 5 โรเบิรต แม็พเพิลธอรพ, Ajitto [ภาพถาย], เทคนิคเจลาติน ซิลเวอรปร้ินท, ขนาดไม

ระบุ, 2524.

ที่มา: Ryan Smith, Robert Mapplethrope, accessed July 26, 2011, availble from http://

arthistorianh.tumblr.com/post/1341276338/robert-mapplethorpe-ajitto-gelatin-silver-print จากที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวาสังคมตะวันตกนั้นพูดถึงเร่ืองราวเกี่ยวกับเพศสถานะ

ในหลายรูปแบบเชนการทาทายและการต้ังคําถามเร่ืองเพศสถานะที่ไมคงที่ตามความเชื่อด้ังเดิม

ระบบที่ฝายชายเปนใหญ ศิลปนที่กลาวมาขางตนลวนแลวแตกลาเปดเผยรสนิยมของตัวเองและ

ไดนํามาแสดงออกผานงานศิลปะ ไมวาจะดูเสียดสีหรือจริงจังขึงขังก็ตาม ผูศึกษาคิดวาเร่ืองเพศ

สรีระและเพศสถานะเปนเร่ืองที่นาสนใจและใกลตัวเรามาก ไมวาเราจะมีเพศสรีระแบบใด มีเพศ

Page 50: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

38

สถานะหรือเพศวิถีแบบไหน ก็สามารถนํามาถายทอดผานงานศิลปะ และเรามักจะพบประเด็น

เหลานี้อยูในงานศิลปะรวมสมัยอยูเสมอ

สําหรับประเทศไทย เร่ืองราวเกี่ยวกับเพศ หรือบทสังวาสโดยเฉพาะรสนิยมที่ชอบเพศ

เดียวกันนั้นปรากฏอยูในจิตรกรรมฝาผนังตามวัดตาง ๆ จากการศึกษาของวราภรณ วิชญรัตน ทํา

ใหทราบวามีภาพในเชิงเกี้ยวพาราสีของชายรักชายบาง แตไมชัดเจนเพราะการรับหรือสงบุหร่ี

ระหวางเจาชายและบาวไพรนั้นอาจจะไมไดเปนการเกี้ยวพาราสีแตอยางใด สวนหญิงรักหญิงจะ

ชัดเจนกวา ภาพเหลานั้นเปนภาพกากภาพที่แทรกอยูในภาพเหตุการณอันไมไดเปนสวนสําคัญ

ภาพที่ 6 ทหารกําลังชักลากหญิงสองคนที่อยูในอารมณสวาท

ที่มา: วราภรณ วิชญรัตน, “เชิงสังวาสของเพศเดียวกัน ในจิตรกรรมฝาผนังแบบประเพณีไทยสมัย

รัตนโกสินทร (รัชกาลที่ 1-5)” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ

มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2549), 32.

Page 51: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

39

ภาพที่ 7 ภาพฝาผนังผูหญิงเชยนมกันที่วัดคงคาราม จ.ราชบุรี

ที่มา: ทวีเกียรติ สมถวิล, จิตรกรรมหญิงรักหญิง, เขาถึงเมื่อ 26 กรกฎาคม 2554, เขาถึงไดจาก

6http://www.sapaan.org/article/34.html

เร่ืองราวเกี่ยวกับเชิงสังวาสในจิตรกรรมฝาผนังก็เร่ิมลดลงในสมัยรัชกาลที่ 5 อาจเปน

เพราะเร่ิมรับวัฒนธรรมตะวันตก และคร้ันถึงสมัยรัชกาลที่ 6 นิยมสรางสถานศึกษามากกวาวัด ทํา

ใหเร่ืองเพศที่ปรากฏอยูตามฝาผนังลดจํานวนลงไป

เพศสถานะในสื่อมวลชนของไทยมุมมองจากนักวิชาการสื่อสารมวลชนและมานุษยวิทยา เพศสถานะเปนอีกเร่ืองหนึ่งที่ปรากฏอยูในส่ือมากมาย ไมวาจะเปนละครโทรทัศน ขาว

ตามหนาหนังสือพิมพหรือเว็บไซตตาง ๆ ฯลฯ ผูศึกษาตองการใหเห็นภาพรวมของเพศสถานะใน

สังคมไทยในมุมมองของนักวิชาการสองสาขาคือส่ือสารมวลชนและมานุษยวิทยา เพือ่ใหเหน็ความ

เชื่อมโยงสอดคลองกับศิลปะที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเร่ืองเพศสถานะ เนื่องจากผูศึกษาเชื่อวาศิลปะไม

สามารถแยกขาดจากบริบททางสังคมในยุคนั้น ๆ ได จึงเปนการดีที่จะทราบความรูความคิดเห็น

จากสาขาอ่ืน ๆ

พจนา ธูปแกว อาจารยประจําคณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร ไดเลาถึงกลุมรักเพศเดียวกันในส่ือมวลชนชวงเติบโตเร่ิมราวป พ.ศ. 2528 วา

ส่ือโทรทัศนไดนํานักแสดงหรือพิธีกร ชายไมจริงหญิงไมแทมานานแลว อยาง”เทง สติเฟอง”,

“วสันต อุตตมะโยธิน”, “มา” หรือ “อรนภา กฤษฎี” รวมถึงดาราชายที่แตงตัวเปนหญิงปรากฏตัว

มากมาย ซึ่งสวนมากจะเปนในดานตลกขบขัน สําหรับดานภาพยนตรไทยนั้น มีตัวอยางเยอะมาก

Page 52: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

40

เชนเพลงสุดทาย (ป พ.ศ. 2528), สตรีเหล็ก (ป พ.ศ. 2543), สตรีเหล็ก 2 (ป พ.ศ.2546), บิวต้ีฟูล บ

อกเซอร (ป พ.ศ. 2546) ฯลฯ ซึ่งส่ือตาง ๆ เหลานี้คิดวามีผลทําใหคนในสังคมสวนใหญยอมรับกลุม

รักเพศเดียวกันมากขึ้น60

61

ผูศึกษาไดสอบถามความเห็นของพจนาเก่ียวกับนิตยสารแอตติจูด(attitude) ฉบับ

ภาษาไทย (ซึ่ง attitude เปนนิตยสารที่มีชื่อเสียงของประเทศอังกฤษ และบริษัท จีเอ็มเอ็ม อินเตอร

พัลลิชช่ิง จํากัด ซื้อสิทธิ์ในการการจัดพิมพเปนภาษาไทย) วางฉบับปฐมฤกษเดือนมีนาคม ป พ.ศ.

2554 อาจารยพจนาไดใหความเห็นวา

นาจะเปนนิมิตหมายที่ดี เพราะคนทั่วไปนาจะเขาใจวานิตยสารเกยนั้น ไมจําเปนตองเนนที่

รูปโปเปลือยอยางเดียว สามารถมีเน้ือหาสาระไดเหมือนกัน และท่ีผานมาปกก็ไมไดโปอะไร ขางใน

ก็มีเร่ืองราวหลากหลาย ทั้งศิลปะ วรรณกรรม ดนตรี รวมท้ังบุคคลที่เปนรักเพศเดียวกันอยาง

เปดเผยมาใหสัมภาษณอีกดวยมองในแงดี มันอาจบอกถึงการมีตัวตนของคนกลุมนี้ (รักเพศ

เดียวกัน) ในขณะเดียวกันนิตยสารน้ีก็ยังเปนนิตยสารเฉพาะกลุมอยูไมไดแพรหลายไปยังคนกลุม

อื่น ๆ 61

62

ผูศึกษาคิดวาเร่ืองเพศสถานะนั้นเปนการเมืองรูปแบบหนึ่งที่ผูกติดกับตัวเราอยางที่

กลาวไวในหัวขอ ความหมายของเพศ/เพศสรีระ เพศสถานะ และเพศวิถี และในสาขาส่ือสารมวลชน

นั้น ก็มีสาขาการสื่อสารทางการเมือง (Political Communication) ซึ่งเปนสาขาที่อาจารยพจนา

สนใจ และศึกษาเร่ืองเพศสถานะในแงการเมือง ผูศึกษาจึงไดสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของกลุม

คนรักเพศเดียวกันในประเทศไทย

ยังมองวากฎหมายไทยยังไมไดรองรับกลุมผูรักเพศเดียวกัน ไมวาการจดทะเบียนสมรส หรือ

การรับรองบุตรหากมีความตองการเล้ียงดูก็ตาม คนกลุมนี้ยังมีคุณลักษณะความเปนอื่น และยังไม

สามารถเปล่ียนแปลงทัศนคติในแงลบของกลุมรักเพศเดียวกันไดในขณะนี้ ประกอบกับโครงสราง

ทางสังคมของไทยเองไมเอื้ออํานวยหรือสงเสริมใหตอสูเรียกรองกับผูมีอํานาจ และยังมีเร่ืองความ

ออนนอมและเกรงใจอยูอีกดวย อยางกรณีสถาบันราชภัฏกีดกันพวกรักเพศเดียวกันไมใหเปนครู

หรือกระแสคัดคานดร.เสรีไมใหเปนผูชวยรัฐมนตรีเนื่องจากคุณสมบัติไมเหมาะสม หรือบริษัท

                                                            

61 สัมภาษณ พจนา ธูปแกว, อาจารยประจําคณะวารสารศาสตรและส่ือสารมวชน

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 5 มิถุนายน 2555.

62 สัมภาษณ พจนา ธูปแกว, 5 มิถุนายน 2555.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 53: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

41

ประกันบางแหงไมยอมใหพวกรักเพศเดียวกันทําประกันเนื่องจากมีพฤติกรรมที่เส่ียงตอโรคราย

(เอดส)เม่ือหลายปกอน ส่ิงตาง ๆ เหลานี้กลุมคนรักเพศเดียวกันจึงเหมือนอยูในสภาพยอมจํานน

และปกปดตลอดเวลา จึงหวังวาส่ือจะทําหนาที่ใหสังคมไทยเขาใจคนกลุมน้ีไดสักวันหนึ่ง62

63

สําหรับมุมมองเกี่ยวกับเพศสถานะในเชิงมานุษยวิทยานั้น ผูศึกษาไดสัมภาษณ

นฤพนธ ดวงวิเศษ นักวิชาการประจําศูนยมานุษยวิทยา สิรินธร ซึ่งไดแงมุมที่นาสนใจ อยางเร่ือง

การแตงกายขามเพศวา

กอนหนาท่ีจะรับอิทธิพลตะวันตกในชวงลาอาณานิคมนั้น ในสังคมแถบเอเชียตะวันออก

เฉียงใต ผูชายที่มีลักษณะเหมือนผูหญิง จะไดรับการยกยองวาเปนผูวิเศษ โดยจะเปนผูทําพิธีใน

หลายกรณี เปนเจาแม รางทรง หรือศาสดาพยากรณได และเวลาท่ีจะทําพิธีดังกลาว คน ๆ นั้น จะ

แตงกายขามเพศ ซึ่งเขาไปสูพิธีการท่ีขลังและศักด์ิสิทธิ์ และเช่ือวาคนที่มีเพศสถานะดังกลาว

สามารถเปนส่ือในการชวยเหลือชุมชน หรือสังคมนั้น ๆ ได6364

สําหรับการเรียกรองสิทธิของคนรักเพศเดียวกันใหจดทะเบียนสมรสได นฤพนธก็มี

ความเห็นที่ตางออกไปคือ

เห็นดวยหากกฎหมายของไทยจะอนุญาตใหแตงงานได แตวามันไมใชคําตอบสุดทาย

เพราะการที่จะเรียกรองใหออกกฎหมายดังกลาวได ตองมีผูนําสังคมที่เขมแข็ง ทั้งคนรักเพศ

เดียวกันและรักตางเพศตองเขาใจและเห็นความสําคัญที่จะมีกฎหมายตรงน้ี โดยสวนตัวนั้นจะมี

คําถาม เพราะการเรียกรองแตงงานของเพศเดียวกันนั้นสุดทายก็ตกเปนสวนหน่ึงของรักตางเพศที่

สถาปนามาอยางมั่นคง ซึ่งแนวคิดแบบเควียร Queer นั้นตองการรื้อถอน นอกจากนี้การเรียกรอง

สิทธิตาง ๆ ของคนรักเพศเดียวกันนั้นก็ไมไดเปนไปเพื่อความเทาเทียมกับคนรักเพศเดียวกันคนอ่ืน ๆ

ในแงหนึ่งเปนเร่ืองสิทธิพิเศษสําหรับเกย เลสเบ้ียนที่มีฐานะดี มีรายได มีการศึกษา และมีชีวิตแบบ

บริโภคนิยม เปนเร่ืองของการเปรียบเทียบเพ่ือใหเทากับรักตางเพศ มากกวาจะเปนการวิจารณ

บรรทัดฐานรักตางเพศ 65

                                                            

63 สัมภาษณ พจนา ธูปแกว, 5 มิถุนายน 2555.

64 สัมภาษณ นฤพนธ ดวงวิเศษ, นักวชิาการประจําศูนยมานษุยวิทยาสิรินธร, 3

พฤษภาคม 2555.

65 สัมภาษณ นฤพนธ ดวงวิเศษ, 3 พฤษภาคม 2555.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 54: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

42

จากท่ีกลาวมาขางตน ผูศึกษาไดกลาวถึงเพศสถานะในงานศิลปะไทยรวมสมัย และ

มุมมองของนักวิชาการทางดานส่ือสารมวลชนและมานุษยวิทยา ทําใหเห็นประเด็นเร่ืองเพศ

สถานะวาเปนเร่ืองใกลตัวเรา มีศิลปนหลายคนหยิบเอาเพศสถานะมาใชส่ือบอกวาตนมีเพศ

สถานะใด อีกทั้งในสังคมไทยปจจุบัน มีส่ือตาง ๆ มากมาย ไมวานิตยสาร รายการโทรทัศน

เว็บไซต ภาพยนตร ที่สะทอนใหเห็นความหลากหลายทางเพศในสังคม ซึ่งเห็นไดถึงความ

เปล่ียนแปลงตาง ๆ ในทางที่ดีข้ึน มีการยอมรับและใหกําลังใจสําหรับผูที่เปดเผยวาตนเองเปนคน

รักเพศเดียวกัน นอกจากนี้มีนักวิชาการหลายดานหลายสาขาเร่ิมศึกษาประเด็นเร่ืองเพศสถานะ

มากข้ึนในสังคมไทย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 55: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

43

บทที่ 3

ศิลปนชายรกัชายในงานศิลปะรวมสมัยไทย ต้ังแตป พ.ศ. 2535 - 2554

ในบทที่สองแนวคิดเร่ืองเพศสถานะ: วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ผูศึกษาไดกลาวถึง

ประเด็นเร่ืองเพศ เพศสถานะ และเพศวิถี ซึ่งไดความโดยสรุปวา เพศสรีระนั้นเปนลักษณะทาง

ชีวภาพติดตอเรามาต้ังแตกําเนิด แตเพศสถานะนั้น เปนส่ิงที่สรางจากสังคมผานการเรียนรูทาง

โรงเรียน หรือศาสนา เชนผูหญิงควรเรียบรอยออนโยน ใชอารมณมากกวาเหตุผล สวนผูชาย

จะตองเขมแข็ง ใชเหตุผลมากกวาอารมณ นอกจากนี้ยังเช่ือมโยงไปถึงเร่ืองเพศวิถี ซึ่งสังคมสวน

ใหญคาดหวังวา ผูชายก็ควรจะคูกับผูหญิง ควรจะรักเดียวใจเดียว และมีเพศสัมพันธเมื่อแตงงาน

เทานั้น

ผูศึกษาคิดวาในปจจุบันสังคมสวนใหญไมไดมีเพศสถานะ หรือเพศวิถีตามที่สังคม

หลอหลอมไว หลายคนเปดเผยวารักเพศเดียวกัน ละครโทรทัศน ภาพยนตร มักจะมตัีวละครรักเพศ

เดียวกันอยูดวย ในวงการศิลปะรวมสมัยไทยเองก็เชนกัน ในบทนี้ผูศึกษาจะนําเสนอผลงานศิลปะ

ของศิลปนรักเพศเดียวกันของไทย ในที่นี้เนนชายรักชาย (เกย) เทานั้น ต้ังแตป พ.ศ.2535-2554

โดยผูศึกษาคัดเลือกมาทั้งหมด 4 ราย ดังนี้

1. จักรพันธุ โปษยกฤต

2. อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล

3. โอหม พันธุไพโรจน

4. ปน ปน นาคประเสริฐ

ผูศึกษาตองการใหเห็นภาพรวมของศิลปะรวมสมัยไทยนอกจากไมเคิล เชาวนาศัยที่

เปนศิลปนเกยคนหนึ่งของเมืองไทยยังมีศิลปนอีกหลายคนทํางานเพื่อสะทอนเร่ืองเพศของตนเอง

ซึ่งจะกลาวเปนหัวขอในแตละบุคคล

ผลงานของจักรพันธุ โปษยกฤต จักรพันธุ โปษยกฤต ศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป (จิตรกรรม) ป พ.ศ.2543 จักรพันธุ

นั้นสนใจศิลปะต้ังแตเด็ก จบชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และไดรับศิลปบัณฑิต

สาขาจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ป พ.ศ.2510 เคยเปนพระอาจารยพิเศษถวายการสอนวิชา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 56: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

44  

จิตรกรรมใหกับสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาหญิงอุบลรัตนราชกัญญา (ทูลกระหมอมหญิง

อุบลรัตน) และสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาหญิงสิรินธรเทพรัตนราชสุดาฯ (สมเด็จพระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) ปพ.ศ.2512-2517 เปนอาจารยพิเศษสอนวิชาศิลปะไทย

คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ปจจุบันเปนศิลปนอิสระ0

1

ผลงานของจักรพันธุนั้นมีความออนชอยงดงามอยางยิ่งไมวาจะเปนภาพนางรํา ตัวเอก

ในวรรณคดีตาง ๆ อยางที่เรามักพบเห็นจากปกนิตยสารพลอยแกมเพชร หรือภาพหญิงไทยบน

ส.ค.ส.มูลนิธิโรงพยาบาลเด็กต้ังแตป พ.ศ.2526

ภาพที่ 8 จักรพันธุ โปษยกฤต, รอออกฉาก [จิตรกรรม], สีน้ํา ขนาด 35 x 55 เซนติเมตร, 2534.

ที่มา: มูลนิธจิกัรพันธุ โปษยกฤต, ผลงาน, เขาถึงเมื่อ 2 มกราคม 2555, เขาถึงไดจาก http://www.

chakrabhand.org/website/images.php?lang=th&imgs=02/02057-NO-12.jpg

                                                            

1 มูลนธิิจักรพนัธุ โปษยกฤต, ประวัติศลิปน, เขาถึงเมื่อ 1 ตุลาคม 2555, เขาถงึได

จาก http://www.chakrabhand.org/website/profile.php?lang=th

Page 57: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

45  

แนวทางการเขียนภาพผูหญิงดังตัวอยางผลงานช่ือ รอออกฉาก นี้เปรียบเสมือนเปน

ภาพที่เปนเอกลักษณของศิลปนที่ถายทอดลักษณะผูหญิงไทยในอุดมคติ การวาดภาพนั้นประณีต

เรียบรอย สะอาด มีความเช่ียวชาญในเร่ืองกายวิภาค สัดสวนถูกตองตามหลักวิชาการ กลาวคือ

เปนการวาดภาพแนวเหมือนจริง (realistic) ในขณะเดียวกันก็มีความสมบูรณแบบ หนาตาสวย

หลอ ในกรณีภาพผูชายจัดไดวาเปนอุดมคติ (idealistic) ไปพรอม ๆ กันดังที่สุธี คุณาวิชยานนท

กลาววา

อาจารยเปนตนแบบของการวาดภาพแนวออนหวาน ทั้งฝมือ รสนิยมในการใชสี การจัด

องคประกอบตาง ๆ ผูชาย ผูหญิง หนาสวยหวานหมด ลายละเอียดประณีตมากสมบูรณแบบย่ิง

กวางานโบราณอีก เพราะเสนของอาจารยเน้ียบเทากันหมด ประณีต บรรจง ออกไปในแนวสมบูรณ

แบบมากกวา1

2

ลักษณะผูหญิงที่ปรากฏในผลงานของจักรพันธุนี่เองสะทอนความเปนตัวตนไดอีกดวย

เปนไปไดวามีความเปนศิลปน หรือจิตสํานึกของศิลปนอยูในภาพดังกลาว ผูศึกษามีความเห็นวา

ผลงานจิตรกรรมสะทอนความเปนจักรพันธุซึ่ง มีลักษณะความเปนเพศหญิงมาก นอกจากนี้จักร

พันธุเองก็ไมไดปดบังเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศของตนและใหสัมภาษณหลายครั้งก็พูดถึงผูชายคน

ใกลชิดที่ชื่อวา ตอง วัลลภิศร สดประเสริฐ ซึ่งปรากฏอยูในผลงานหลายชิ้นของจักรพันธุ

                                                            

2 สุธี คุณาวิชยานนท ใน สุวรณณา เปรมโสตร, “จักรพันธุ โปรษยกฤต : ชีวิตเพื่อศิลปะ

ศิลปะคือชีวิต” สารคดี 25, 293 (กรกฎาคม 2552): 85.

Page 58: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

46  

ภาพที่ 9 จักรพันธุ โปษยกฤต, วัลลภิศร สดประเสริฐ (ตอง) [จิตรกรรม], สีปาสเตล ขนาด

30 x 36.9 เซนติเมตร, 2515.

ที่มา: มหาวิทยาลัยศิลปากร, นิทรรศการศิลปกรรมเชิดชูเกียรติจักรพันธุ โปษยกฤต

(กรุงเทพฯ: อมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง, 2546), 74.

Page 59: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

47  

ภาพท่ี 10 จักรพนัธุ โปษยกฤต, คนน่ัง [จิตรกรรม], สีอะคริลิก ขนาด 160 x 183 เซนติเมตร, 2517.

ที่มา: สุวรณณา เปรมโสตร, “จักรพนัธุ โปษยกฤต : ชีวิตเพื่อศิลปะ ศิลปะคือชีวิต” สารคดี 25,

293 (กรกฎาคม 2552): 89.

ภาพ คนนั่ง ไดรางวัลเหรียญเงินจากการแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ป พ.ศ.2517 ผูเปน

แบบในภาพคือ ตอง วัลลภิศร สดประเสริฐ ชายผูนี้เปนคนใกลชิดและเคยไดเรียนกับจักรพันธุ

โปษยกฤต สมัยที่วัลลภิศรเปนนักศึกษาคณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร และตอมาได

ทํางานกับจักรพันธุจนถึงทุกวันนี้

Page 60: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

48  

ภาพที ่11 จักรพันธุ โปษยกฤต, พระพรหม [จิตรกรรม], สีน้าํมนั ขนาดภาพ 160 x 183

เซนติเมตร, 2519.

ที่มา: มหาวทิยาลัยศิลปากร, นิทรรศการศิลปกรรมเชิดชูเกียรติจกัรพันธุ โปษยกฤต

(กรุงเทพฯ: อมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง, 2546), 74

ภาพ พระพรหม นั้นสวยงามยิ่งพระพรหมทรงหงส สีที่สวยงาม น้ําหนักออนแกทั้งภาพ

ผูศึกษาเห็นจุดที่นาสนใจคือ พระพรหมนั้นเปนผูชาย แมวาจักรพันธุวาดภาพผูชายถูกสัดสวนตาม

กายวิภาค ทวาใบหนาและมือของพระพรหมน้ันดูออนหวาน งดงามราวกับผูหญิง แสดงใหเห็นถึง

ความงามของเพศชายอีกลักษณะหน่ึงคือไมใชดูแข็งแกรง หาวหาญ ผิวเขม แตเปนผูชายที่หนา

สวย หวาน ราวกับผูหญิง

Page 61: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

49  

แมผลงานไมไดแสดงเร่ืองชายรักชายอยางชัดเจน แตลักษณะการเขียนที่ประณีต

ออนหวานประกอบกับผูชมงานและผูศึกษาที่รูเบ้ืองหลัง จึงสามารถปะติดปะตอไดวามีเร่ืองชายรัก

ชายซอนอยู อาจเปนเพราะจักรพันธุนั้นเปนคนรุนเกา บวกกับบุคลิกนิสัยสวนตัวที่สุภาพเรียบรอย

จึงไมไดแสดงเร่ืองรักเพศเดียวกันชัดแจง

ผลงานตัวอยางที่ผูศึกษายกมาน้ันพอสรุปไดวา ผลงานของจักรพันธุไดนําเสนอผาน

รูปราง ทรวดทรงเปนหลัก โดยใชสี ทั้งนี้จะแตกตางกับศิลปนรุนใหม ๆ ซึ่งมักจะเปนภาพถาย สีสัน

จัดจาน อีกทั้งนําเสนอเร่ืองเพศอยางโจงแจง แสดงตัวตน อัตลักษณอยางชัดเจน ดังที่จะกลาวใน

หัวขอตอ ๆ ไป จะทําใหเราเห็นการเปดเผยเร่ืองเพศของศิลปนแตละคน แตละสมัย และแตละส่ือที่

ศิลปนใชไดเปนอยางดี

ผลงานของอภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล

อภิชาตพงศ เกิดที่กรุงเทพมหานครแตยายไปอยูขอนแกนต้ังแตเด็กจนสําเร็จการศึกษา

ระดับปริญญาตรีจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จากนั้นศึกษาระดับ

ปริญญาโทดานภาพยนตร ที่สถาบันศิลปะแหงชิคาโก (The School of the Art Institute of

Chicago) โดยทําภาพยนตรและวิดีโอมาต้ังแตป พ.ศ. 2533 ผลงานภาพยนตรเร่ืองยาวเร่ืองแรกคือ

ดอกฟาในมือมาร (Mysterious Object at Noon) เปนผลงานที่ยากจะจัดประเภทวาเปนภาพยนตร

สารคดีหรือไม เนื่องจากเปนการบันทึกจินตนาการของคนในพื้นที่ ตางความเชื่อ ตางภูมิลําเนา ตาง

อาชีพ ซึ่งจัดไดวาเปนการถายทอดแนวสารคดี แตทวาตอนทายของภาพยนตรอภิชาติพงศนําเร่ือง

ดังที่จินตนาการตอนตนเร่ืองมาใหนักแสดงสมัครเลนมาแสดงเปนละครตามเร่ืองเลาที่อภิชาติพงศ

ไดสัมภาษณชาวบานทั่วประเทศที่ปรากฏในภาพยนตรชวงแรกอีกทอดหน่ึง

Page 62: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

50  

ภาพที่ 12 โปสเตอรภาพยนตรเร่ือง Mysterious Object at Noon, ขนาดไมระบุ, 2545.

ที่มา: วีกิพีเดีย, Mysterious Object at Noon, เขาถึงเมื่อ 5 มกราคม 2556, เขาถึงไดจาก

0 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:

Mysterious_Object_at_Noon.jpg

ความคิดสรางสรรคในการทําภาพยนตรของอภิชาติพงศนั้นโดยเฉพาะวิธีการเลาเร่ืองที่

มีลักษณะเฉพาะตัวจนไดรับการยกยองจากนานาชาติเปนอยางมาก เชน ภาพยนตรเร่ือง สุด

เสนหา (Blissfully Yours) ที่ออกฉายปพ.ศ. 2545 ไดรับรางวัล Un Certain Regard จากเทศการ

หนังเมืองคานส ประเทศฝร่ังเศสในปเดียวกัน

ผลงานหนึ่งที่แสดงรสนิยมทางเพศของผูกํากับภาพยนตรวารักเพศเดียวกันคือ

ภาพยนตรเร่ือง สัตวประหลาด (Tropical malady) ป พ.ศ. 2547 และเร่ืองนี้ไดเปนตัวแทนสาย

หลักในเทศกาลภาพยนตรเมืองคานสในปเดียวกัน

Page 63: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

51  

ภาพที่ 13 โปสเตอรภาพยนตรเร่ืองสัตวประหลาด (Tropical malady), ขนาดไมระบุ, 2547.

ที่มา: น้ําตาล [นามแฝง], สัตวประหลาด, เขาถึงเมื่อ 25 ธันวาคม 2555, เขาถึงไดจาก http://

www.numtan.com/story_4/view.php?id=37

ภาพยนตรเร่ืองนี้เปนเร่ืองราวของเกงทหารคนหน่ึงรักกับโตงชาวบานธรรมดา ความรัก

กําลังราบร่ืนทั้งสองมีความสุข อยูมาวันหนึ่งโตงก็หายตัวไปประจวบกับเจอรอยเทาของสัตวที่มา

ฆาวัวของชาวบาน เร่ืองราวของสัตวประหลาดตาง ๆ ในตํานาน ผนวกกับการตามลาสัตว

ประหลาดก็เกิดข้ึน

Page 64: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

52  

ภาพที่ 14 อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล, ผูกํากับ, สัตวประหลาด (Tropical malady) [ภาพยนตร],

กรุงเทพฯ: คิกเดอะแมชชีน, 2547.

ที่มา: น้ําตาล [นามแฝง],สัตวประหลาด, เขาถึงเมื่อ 25 ธันวาคม 2555, เขาถึงไดจาก http://

www.numtan.com/story_4/view.php?id=37

ผูกํากับภาพยนตรกลาวถึงเร่ืองนี้วา

เราทุกคนมีโรคชนิดหนึ่ง นั่นคือการยึดติดไมวาคนหรือส่ิงของ ไมวาจะเปนทุกขจากอดีต

ความทรงจําหรือกังวลถึงอนาคต ไมสามารถอิสระไดอยางแทจริง นอกจากน้ีการมองคนรักเพศ

เดียวกันวาเปนตัวประหลาด แปลกประหลาด โดยมิไดมองวาแทจริงแลว เราตางยึดกรอบคิดอะไร

บางอยางไวเหมือนกัน เราตางก็มีความแปลกประหลาดไวในตัวพอ ๆ กัน2

3

นอกจากนี้อภิชาติพงศยังมีผลงานดานวิดีโออารตอีกดวย อยาง Primitive Project ซึ่ง

ผลงานชิ้นนี้เปนผลงานนํารองไปสูภาพยนตรเร่ืองลุงบุญมีระลึกชาติ โดยมีเร่ืองราวเกี่ยวกับ

การเมืองแฝงคือหมูบานนาบัว จังหวัดนครพนม ซึ่งเปนพื้นที่กองทัพไทยยึดครองชวงป พ.ศ.2503-

2523 เพื่อตอสูกับกลุมคอมมิวนิสต

                                                            

3 อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล, สัตววิกาล (กรุงเทพฯ: โอเพนบุคส, 2550), 263.

Page 65: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

53  

ภาพที่ 15 อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล, ผูกํากับ, Primitive Project [วิดีโออารต] กรุงเทพฯ: คิก

เดอะแมชชีน, 2552.

ที่มา: อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล, Primitive, เขาถึงเมื่อ 25 ธันวาคม 2555, เขาถึงไดจาก http://

www.animateprojects.org/films/by_project/primitive/primitive

ผลงานชุดนี้มีความสําคัญเนื่องจากเปนโครงการที่นําไปสูภาพยนตรเร่ือง ลุงบุญมี

ระลึกชาติซึ่งเปนภาพยนตรไทยเร่ืองแรกที่ไดรับรางวัลปาลมทองคําจากเทศกาลภาพยนตรเมือง

คานส ปพ.ศ. 2553 ซึ่งเปนหมุดเวลาสําคัญทางประวัติศาสตรของภาพยนตรไทย ชวงนั้นจึงมี

บทความและบทสัมภาษณผูกํากับคนนี้เปนจํานวนมากที่นาสนใจคือบทสัมภาษณของไบรอัน

เคอรติน (Brian Curtin) นักวิจารณศิลปะและพํานักในกรุงเทพฯ ไดต้ังขอสังเกตวางานของ

อภิชาติพงศนั้นหลายเร่ือง หลายชุด มีประเด็นเกี่ยวกับ Homoeroticism ซึ่งตัวอภิชาติพงศเองก็

ไมไดปฏิเสธและกลาวเสริมวาตนนั้นหลงใหลในความงามของผูชาย 4

จากผลงานที่กลาวขางตนจะเห็นไดวาอภิชาติพงศนั้นไดนําเสนอเร่ืองราวรักเพศ

เดียวกันของตนในผลงาน และไดเสนอความคิดเกี่ยวกับเร่ืองเพศไวอยางนาสนใจ เนื่องจากสังคม

สวนใหญยังไมยอมรับกลุมคนรักเพศเดียวกันมากนัก ยังมองเปนเร่ืองแปลกประหลาด ตัวตลก

เหมือนภาพยนตรไทยทั่วไปที่เนน แนวผี กับกะเทย แตภาพยนตรของอภิชาติพงศนั้นแมมีเร่ือง

                                                            

4 ไบรอัน เคอรติน, “การเมืองเร่ืองสวนตัว อภิชาติพงศ วรีะเศรษฐกุล สนทนากับไบรอัน

เคอรติน,” แปลโดย เถกิง พฒัโนภาษ, Bioscope 7, 103 (มิถุนายน 2553): 62-63.

Page 66: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

54  

ดังกลาว คือพูดถึง ผี วิญญาณ และรสนิยมทางเพศนั้น กลับเสนอมุมมองท่ีนาสนใจ ผานแนวคิด

เร่ืองการเวียนวายตายเกิด ความเชื่อ ตํานาน ภูมิปญญาของไทย รวมทั้งเสนอผานความรักผานคน

สามัญชน ซึ่งไมไดสรางตามสูตรสําเร็จของหลักการตลาดภาพยนตรทั่วไป ซึ่งผูศึกษาคิดวาเปน

ลักษณะเฉพาะตัวของผูกํากับคนนี้

ผลงานของโอหม พันธุไพโรจน โอหม พันธุไพโรจน จบการศึกษาจากคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป

พ.ศ. 2534 ดวยความสนใจภาพถาย จึงไปศึกษาดานภาพถายและภาพยนตรในระดับปริญญาโท

จากมหาวิทยาลัยแหงรัฐจอรเจีย แอตแลนตา (Georgia State University Atlanta) ในป พ.ศ.

2543 ผลงานสวนใหญเปนภาพแฟช่ัน นายแบบ นางแบบหนาตาดี หากเปนผลงานเกี่ยวกับเพศ

สถานะนั้นนาสนใจยิ่ง ดังงาน ชุด Identity Crisis

ภาพที่ 16 โอหม พันธุไพโรจน, New Identity, [ภาพถาย] ขนาดแตละภาพ 90 x 120 เซนติเมตร,

2553.

ที่มา: โอหม พันธุไพโรจน, New Identity, เขาถึงเมื่อ 5 ตุลาคม 2555, เขาถึงไดจาก http://

dooddot.com/blog/view/120 2555

Page 67: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

55  

ผลงานดังภาพที่ 16 นี่เรียกวาเปนผลงานชุดไตรภาพ (triptychs) ศิลปนไดอาศัยจารีต

ภาพถาย “รูปพันธุ” (ethnographic photography) ซึ่งเปนการสํารวจและบันทึกขอมูลทางชาติ

พันธุของนักมานุษยวิทยา เพื่อคนหาเอกลักษณ หรืออัตลักษณของชนเผา หรือชาติพันธุที่ตน

ศึกษาในภาคสนาม ซึ่งแตเดิมจารีตของภาพถาย “รูปพันธุ” นี้ ชางภาพสมัยกอนใชเพื่อแสดงถึง

ความจริงแบบภววิสัย (objective truth) ของ “เผา” หรือ “พันธุ” ของคนกลุมตาง ๆ ได แตแทนที่

โอหมจะใชแนวทางดังกลาวเพื่ออวดอางความเปนจริงเกี่ยวกับรูปลักษณอยางเดียว โอหมกลับ

นําเสนอภาพรางกายของชายแปลงเพศ ทําใหเราตระหนักถึงความกํากวม ซับซอน ของเพศสรีระที่

แมติดตัวเรามาต้ังแตเกิด แตเราก็สามารถแปลงเพศได ภาพถายของโอหมไดเชิญเขามาสํารวจของ

รูปลักษณของคนแปลงเพศ ศิลปนเลาใหฟงอยางนาสนใจวา

ภาพแรกขณะท่ีใบหนายังเปลือยเปลา เราจะยังไมเห็นรอยย้ิมของพวกเธอปรากฏขึ้น ภาพท่ี

สองการหลับตาคือการปฏิเสธวิถีชีวิตของความเปนผูชาย และภาพท่ีสามแววตาพวกเธอดูมี

ความสุข ปากเร่ิมฉีกย้ิม ภูมิใจกับการถูกเติมแตงใหเปนหญิง4

5

ผูศึกษามองวางานดังกลาวมีความนาสนใจ ตรงที่นําเสนอหวงเวลาที่แสนส้ันใหผูชมได

เห็นวาเธอมีความสุข เพราะสวนใหญแลว ส่ือมวลชนของไทย ละคร ภาพยนตรตาง ๆ จะนําเสนอ

กะเทย เกย คนรักรวมเพศในแนวตลก เสียดสี มากกวา แตผลงานชุดนี้ทําใหเราคิดถึงความหมาย

ของช่ือผลงานวา New Identity6 ซึ่งแปลวาอัตลักษณใหมนั้นมีความนาสนใจอยางยิ่ง เพราะในแง

หนึ่งภาพดังกลาว ก็มีลักษณะเหมือนภาพติดบัตรประชาชน เพื่อเปนการจําแนกหรือบอกวาเรานั้น

มีลักษณะหนาตาอยางไร และบุคคลที่โอหมเลือกมานั้นเปนชายแปลงเพศทําใหเราตองต้ังคําถาม

วา หากภาพที่ติดบนบัตรประชาชนที่ทางราชการออกใหมีลักษณะผูหญิง แตในบัตรระบุคํานําหนา

วา “นาย” ซึ่งมันขัดกันอยางมาก ทําใหเราตองต้ังกับคําถามเร่ืองอัตลักษณทางเพศชายและหญิงที่

ติดตัวมาแตกําเนิด

นอกจากเร่ืองเพศสถานะที่เกี่ยวของกับอัตลักษณที่นาสนใจแลว ผลงาน Underage มี

ความนาสนใจเชนกัน ดังตัวอยางในภาพ

                                                            

5 สัมภาษณ โอหม พันธุไพโรจน, ศิลปน, 9 พฤศจิกายน2555.

6 ผลงานดังกลาวจัดแสดงที ่Whitespace Gallery บนช้ันสองของโรงภาพยนตรลิโด

ยานสยามสแควร วนัที ่19 กรกฎาคม-17 สิงหาคม พ.ศ.2551

Page 68: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

56  

ภาพที่ 17 โอหม พันธุไพโรจน, Underage [ภาพถาย], 2554.

ที่มา: โอหม พันธุไพโรจน, Underage, เขาถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2555, เขาถึงไดจาก http://

ohmphotography.com/index.php?/currentproject/underage/

ในนิทรรศการ More or Less Queer7 มีผลงานชุด Underage ของโอหม พันธุ

ไพโรจนอยูดวย ซึ่งเปนการนําเสนอเร่ืองราวเกี่ยวกับเด็กผูชายขายบริการทางเพศและอายุตํ่ากวา

18 ป ซึ่งเปนการกระทําที่ผิดกฎหมาย จากภาพที่ 17 เราไดเห็นภาพเด็กผูชายสองคนเปนวัยรุน

อายุราว 12 ป และ 16 ป ไมใสเส้ือ สายตามองมาที่ผูชมภาพเหมือนการเชิญชวน ดานหลังภาพ

เปนหนาตึกแถวบริเวณคลองหลอด และสนามหลวง ภาพถายชุดนี้เปนภาพแนวสารคดี ไมไดจัด

แสงแบบถายในสตูดิโอ จึงเปนการนําเสนอความจริงเชนเดียวกับภาพขาวในหนังสือพิมพ

นอกจากนี้ผูศึกษาไดชมวิดีโอแนวสารคดี (Documentary) เร่ือง Underage อันเปน

ที่มาของภาพชุดนี้ ไดทราบวาพวกเขาก็ยังตองเลี้ยงชีพดวยการขายบริการดังกลาว ไมวาขาย

ใหกับลูกคาที่เปนผูชายหรือผูหญิง ตองหลบหนีตํารวจ ความจําเปนที่ตองมาขายบริการทางเพศ

ซึ่งบางคนฝนอยากเปนตํารวจ อยากเปนนักเตน ฯลฯซ่ึงทําใหเราเห็นปญหาสังคม เด็กเรรอน เด็ก

ขายบริการทางเพศไปพรอมกัน ผูศึกษามองเร่ืองเพศสถานะของเด็กขายบริการนี้ตางไปจากเดิม

เพราะเขาสามารถใหบริการทางเพศไดกับคนทั้งสองเพศ นั่นหมายความวา พวกเขาไมไดทําตามที่

สังคมกําหนดไว วาคนเราควรจะมีเพศสัมพันธกับคนที่เรารักและเปนเพศตรงขามเทานั้น

นอกจากนี้เร่ืองเพศสถานะยังเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจและกฎหมายซึ่งเปนปญหาใหญอีกดวย

                                                            

7 นทิรรศการดังกลาวจัดแสดงที ่โนสเปซแกลอรี Nospace Gallery ต้ังแตวันที ่ 3 -31

มีนาคม พ.ศ. 2554 ไบรอัน เคอรติน (Brian Curtin) เปนภัณฑารักษ

Page 69: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

57  

จากผลงานที่ยกตัวอยางมาขางตน ทําใหเราต้ังคําถาม เกี่ยวกับมุมมอง ความคิด

เกี่ยวกับเร่ืองเพศ กะเทย ที่คนเราสามารถผาตัดแปลงเพศ เปล่ียนอัตลักษณทางเพศของตนได นั่น

หมายความวา เพศหรือเพศสถานะนั้นล่ืนไหล ไมหยุดนิ่ง และมีความกํากวม ซับซอน นอกจากนี้

ผลงานเร่ืองเด็กชายขายบริการ นั่นทําใหเราเห็นวา หลายคนที่ไมมีคูครองก็สามารถหาคูนอนจาก

การซื้อบริการทางเพศได คนในสังคมไมไดทําตามสังคมในอุดมคติที่ตองรักเพศตรงขาม ตองมี

เพศสัมพันธเพราะความรักเทานั้น การที่เด็กขายบริการทางเพศ ทําใหเราเห็นชีวิตของคนกลุมนี้

เชื่อมโยงกับปญหาสังคมที่เราอยูอีกดวย เร่ืองเพศจึงเปนทั้งเร่ืองสวนตัวและเปนการเมืองไดอีกดวย

ผลงานของปน ปน นาคประเสริฐ ปน ปน นาคประเสริฐ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีดานศิลปะจากมหาวิทยาลัยแหง

แคลิฟอรเนีย, ลอส แองเจอลิส (University of California, Los Angeles) เม่ือสําเร็จการศึกษาได

กลับมาประเทศไทยต้ังแตป พ.ศ. 2554 และไดจัดแสดงงานศิลปะเร่ือยมา โดยมากมีเนื้อหา

เกี่ยวของกับเร่ืองเพศ เชนผลงาน Employee of the Month (ภาพที่ 18)

ภาพที่ 18 ปน ปน นาคประเสริฐ, Employee of the Month [ภาพถาย], ขนาดภาพรวมกรอบ

90 x 120 เซนติเมตร, 2553.

ที่มา : ปน ปน นาคประเสริฐ, MORE OR LESS QUEER (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท), ไมปรากฏเลขหนา.

Page 70: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

58  

ศิลปนไดกลาวถึงผลงานช้ินนี้วา

โลกแหงการแขงขันนั้นมีอยูทั่วไป ไมวาจะท่ีทํางานหรือบริษัทตาง ๆ พนักงานในองคกรน้ัน ๆ

ก็พยายามแขงขันใหตัวเองไดเปนพนักงานดีเดนในเดือนนั้น ๆ หรือประจําป คราวนี้ก็เกิดความคิด

วา หากอาชีพของคนท่ีขายบริการทางเพศละจะเปนอยางไร จะมีการเปดเผยใบหนาไดอยางสงา

ไหม เพราะถูกมองวาเปนอาชีพที่ไมดี และอยางกรณีนี้ คือขายบริการใหเพศเดียวกัน มักจะถูกมอง

ในแงลบไปอีก ในท่ีสุดจึงนําเสนอภาพนี้ออกมา7

8

ผูศึกษามีความคิดวาศิลปนมีความกลาที่จะนําเสนอผลงานนี้เปนอยางมาก ภาพ

พนักงานแหงเดือน Employee of the Month เปนภาพรูทวาร และขนอยูโดยรอบ ไมคอยสวยงาม

นัก โดยปกติแลวภาพพนักงานดีเดนจะเปนรูปใบหนาของบุคคล ซึ่งมักจะมีรอยยิ้มแสดงความ

ภูมิใจที่ไดรับการยกยองอีกดวย แตภาพนี้กลับแสดงถึงรูทวาร อันเปนส่ิงลับและสวนตัวมาก นํามา

ติดแทนใบหนาของผูไดรางวัลชวนใหคิดเกี่ยวกับอาชีพที่ตองใชอวัยวะดังกลาวทํางานคือ การขาย

บริการทางเพศ ผูศึกษาคิดวา ศิลปนตองการใหมองเห็นอีกแงมุมหนึ่งของปายพนักงานดีเดน ซึ่ง

สวนใหญแลวเปนอาชีพบริการ ตามรานอาหาร ซึ่งอาชีพดังกลาวเราจะเนนเร่ืองใบหนาที่รับแขก

อัธยาศัยดี มีจิตใจบริการ แตทวาการขายบริการทางเพศนั้นนอกจากเร่ืองหนาตา รูปรางแลว ทวาร

เปนเปนส่ิงที่คนขายบริการตองใหผูซื้อเห็นเชนกัน

นอกจากนี้ยังคิดตอไปไดวาการที่รูทวารไดรับการยกยองเปนพนักงานดีเดนดานขาย

บริการทางเพศนั้นเปนอยางไร ซึ่งอาจจะวัดจากแขกผูมาซื้อบริการจํานวนมากที่สุดในเดือนนั้น ๆ

หรือการบริการที่ทําใหลูกคาพึงพอใจ นอกจากนี้ยังเปนการเปดมุมมองเรื่องเพศที่แปลกไปจาก

สังคมสวนใหญอีกดวย เขากับช่ือของนิทรรศการแปลกมากหรือแปลกนอย MORE OR LESS

QUEER ผูศึกษาคิดวาศิลปนนําเสนอไดอยางนาสนใจ

ผลงานนี้ไดแสดงในนิทรรศการ MORE OR LESS QUEER ไบรอัน เคอรติน (Brian

Curtin) เปนภัณฑารักษ โดยแสดงงานงานรวมกับศิลปนทานอ่ืนเชน มารค รอบบินส (Mark

Robbins) เรเน สมิทธ (Rene Smith) จัดแสดงท่ี No Space Gallery ต้ังแตวันที่ 3 – 13 มีนาคม

พ.ศ. 2554

                                                            

8 สัมภาษณ ปน ปน นาคประเสริฐ, ศิลปน, 4 เมษายน 2555.

Page 71: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

59  

นอกจากนี้นิทรรศการที่ทําใหปน ปน เปนที่รูจักอยางมากคือ GAGASMICISM จัด

แสดงที่หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร (BACC) ต้ังแตวันที่ 11 กันยายน - 11 ตุลาคม

พ.ศ.2554 โดยศิลปนไดแตงกายราวกับเปนเลด้ี กากา (Lady Gaga) นักรองที่มีชื่อเสียงระดับโลก

นําเสนอเร่ืองเพศสถานะ พุทธพาณิชย และทุนนิยม อีกทั้งปน ปน ไดเปล่ียนช่ือตัวเองเปน เจาหญิง

ปนจีนา (Princess Pangina) และไดกลาวเร่ืองเปดเผยความเปนเกยของตนอยางนาสนใจยิ่ง

ศิลปนคิดวาคนส่ือสารกับจิตวิญญาณของหญิงสาวภายใตจิตสํานึกของตนเอง เหมือนกับ

เราคิดหรือพูดอยูในโลกสวนตัวของตัวเอง และหากไดรับการปลดปลอยดวยเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล

แลวสามารถกล่ันกรองจิตวิญญาณของตนเองออกมา และไดตัดสินใจที่จะใหจิตวิญญาณไดแสดง

ตัวตนสูโลกแหงความจริง โดยถายทอดจากจิตใตสํานึกใหปรากฏออกมา และเลด้ี กากา ทําใหจิต

วิญญาณน้ันเปนแสงนําทางมีความเปนตัวของตัวเอง 9

ภาพที่ 19 ปน ปน นาคประเสริฐ, นางกวัก, [ประติมากรรม ], ขนาดไมระบุ, 2554.

ที่มา : ปน ปน นาคประเสริฐ, GAGASMICISM (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2554), ไมปรากฏเลขหนา.

                                                            

9 สัมภาษณ ปน ปน นาคประเสริฐ, ศิลปน, 4 เมษายน 2555.

Page 72: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

60  

ในนิทรรศการมีนางกวักแบบในภาพที่ 19 เต็มไปหมด ทั่วหอง และผนัง ภาพนางกวัก

สามารถพบเห็นไดทั่วไปตามรานอาหาร เจาของรานมักจะต้ังไวหนารานเชิญชวนใหลูกคาเขามา

มาก ๆ เพื่อสรางรายได และอาจมีดอกไม อาหารถวายนางกวักดวย แตนางกวักของปน ปน ไมได

สวมชุดไทยอยางที่เราเห็นตุนตา แตเปนการนําบุคลิกของปน ปน รวมกับ เลด้ี กากา มานําเสนอ

นอกจากนี้ศิลปนยังเปดใหผูชมนิทรรศการ ซื้อนางกวักกลับไปบานไดอีกดวย โดยไมกําหนดราคา

ศิลปนใหสัมภาษณวา

สังคมไทยเปนสังคมที่แปลกมาก มีความเช่ือหลากหลาย ทั้งพุทธ พราหมณ หรือไสยศาสตร

และนอกจากนี้ยังมีเร่ืองเงินเขามาเก่ียวของอีกดวย อยางเร่ืองจตุคามรามเทพที่เคยเปนกระแสมาก

ความเชื่อส่ิงตาง ๆ เหลานี้แสดงถึงความเปนไทยแบบหนึ่ง และความที่คนไทยชอบเกาะกระแส

นี่เอง จึงนําเร่ืองนักรองยอดนิยมของโลกมารวมกับความเชื่อของไทย ๆ คือนางกวัก และกลายเปน

วาประสบความสําเร็จอยางย่ิง มีผูชมอุดหนุนเปนจํานวนมาก9

10

ภาพที่ 20 ปน ปน นาคประเสริฐ, Rum Nang GwakGa [วิดีโอออารต], 2554.

ที่มา : Brian Curtin, “Queer Waack Nang Gaga,” Bangkok Post (May 10, 2011): 13.

                                                            

10 สัมภาษณ ปน ปน นาคประเสริฐ , ศิลปน, 4 เมษายน 2555.

Page 73: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

61  

ในปพ.ศ. 2554 ปน ปนเปนผูชนะเลิศจากการเตนในยูทูบ (You tube) และไดไปชม

คอนเสิรตเลด้ี กากาฟรีโดยไมตองเสียคาใชจายใด ๆ ทั้งส้ิน ศิลปนเลยใครครวญเก่ียวกับการไดไป

ชมคอนเสิรตคร้ังดังกลาว วาเหตุใดตนจึงไดรับโอกาสครั้งนี้ เปนเพราะกรรมเกาในอดีตชาติหรือ

อยางไร แตถึงกระนั้นทําใหตระหนักถึงพระเจาวาพระองคนาจะมีอยูจริง ปน ปนกลาววา

เติบโตมาจากครอบครัวแบบพุทธ ไมไดเช่ือเร่ืองพระเจา(ในศาสนาคริสต-ผูศึกษา) รูสึกวา

ตัวเองเปนแกะดํา กลับรูสึกวาเบื้องบนกําลังส่ือสารดวย และไมเคยรูสึกใกลชิดกับ "พระเจา"

ขนาดนี้มากอน ขณะท่ีอยูนิวยอรก รูสึกถึงส่ิงกระตุนจากภายใน รวมกับความปรารถนาท่ีอยากจะ

หลบหนีจากโลกท่ีเต็มไปดวยสังคมกลางคืนของกลุมคนรักตางเพศ ซึ่งถูกซอนเรนไวและ "เสียง" ที่

ไดยิน ทําใหเขาไดรับคําตอบอันนํามาซึ่งความเปล่ียนแปลงของชีวิตเสียงดังกลาว เปรียบไดกับจิต

วิญญาณ ซึ่งสามารถอธิบายไดดวยหลักจิตวิทยาของ Carl Jung และก็เปดเผยตัวตนในชวงฮัล

โลวีน (ประมาณป พ.ศ.2549) เหมือนกับเกยคนอื่น ๆ 10

11

ผูศึกษาเห็นวาศิลปนปน ปนมีความนาสนใจในเร่ืองมุมมองความคิดเกี่ยวกับจิตวิทยา

ในการเปดเผยตัวตนซ่ึงมีความเกี่ยวของกับ The Self ในทฤษฎีของคารล ยุง คือ ยุงมีความเชื่อวา

ตัวตนของเรานั้นมีแผนที่ที่ละเอียดมาต้ังแตเกิด และมันสามารถปรากฏตัวสูความเปนจริงได ซึ่ง

เปนหนทางสูความเปนปจเจกบุคคล และจะมีการปรับความหลากหลายบุคลิกภาพในตัวเราให

สมดุลหากบุคคลดังกลาวสํารวจจิตใตสํานึกของเราเองจะรูสึกสบายใจและยอมรับมากข้ึน11

12

ในหัวขอนี้ผูศึกษาไดยกตัวอยางเพื่อแสดงผลงานของศิลปนไทยที่นําเสนอผลงาน

เกี่ยวกับเพศสถานะเพื่อผูสนใจจะไดมองเห็นภาพตัวอยางของศิลปะรวมสมัยของจักรพันธุ โปษยก

ฤต,อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล,โอหม พันธุไพโรจนและปน ปน นาคประเสิรฐ ไดเห็นการถายทอด

ความเปนตัวตน บุคลิกของศิลปนในการเสนอเร่ืองราวเกี่ยวกับชายรักชายตางกันไป ทั้งรูปแบบส่ือ

ที่ใช หรือเนื้อหาเร่ืองราวของผลงาน

                                                            

11 สัมภาษณ ปน ปน นาคประเสริฐ, ศิลปน, 4 เมษายน 2555.

12 นพมาศ ธีระเวคิน, ทฤษฎบีุคลิกภาพและการปรับตัว (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2551), 54.

Page 74: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

62

บทที่ 4

ประวัติและผลงานของไมเคิล เชาวนาศัย

บทนี้เปนการกลาวถึงประวัติและผลงานของไมเคิล เชาวนาศัย โดยผูศึกษาตองการให

เห็นภาพรวมของศิลปน โดยแบงเปนหัวขอดังนี้

1. ประวัติของศิลปน เนนประวัติการศึกษาเปนหลัก จนถึงป พ.ศ. 2539

2. ผลงานของศิลปนต้ังแตป พ.ศ. 2540 ซึ่งเปนปที่ศิลปนสําเร็จการศึกษาจากสหรัฐ

อเมริกาและกลับมาประเทศไทยในปเดียวกัน จนถึงป พ.ศ. 2554

3. ภาพรวมของผลงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาและการใชคําในการส่ือสารความคิด

เพื่อใหเห็นถึงความสามารถของศิลปนที่สนใจจะส่ือเร่ืองราวตาง ๆ ที่ไมมีเพียงแตเพศสถานะ

เทานั้น

ผูศึกษาตองการใหรายละเอียดพื้นฐานเกี่ยวกับขอมูลศิลปนและผลงานตาง ๆ ต้ังแตป

พ.ศ.2540-2554 รวมทั้งหมด 14 ป นาจะเปนประโยชนสําหรับคนที่สนใจงานของไมเคิล

เชาวนาศัยนั้นสามารถคนควาตอไปไดอีก ในฐานะที่ศิลปนนั้นทํางานในวงการศิลปะรวมสมัยไทย

และในระดับนานาชาติ

ประวัติชีวิตของไมเคิล เชาวนาศัย ไมเคิล เชาวนาศัยเกิดเมื่อป พ.ศ.2507 ณ เมืองฟลาเดลเฟย สหรัฐอเมริกา เนื่องจาก

ตอนนั้นนายแพทยอรุณและจินตนา เชาวนาศัย (บิดาและมารดาของศิลปนตามลําดับ) ไดรับทุน

เพื่อเดินศึกษาตอโดยบิดาไดศึกษาดานการแพทยสาขาจิตเวชและมารดาศึกษาดานพยาบาลใน

ประเทศดังกลาว ทั้งบิดาและมารดาจึงแจงเกิดโดยต้ังชื่อแบบฝร่ังวาไมเคิล เขาไดสัญชาติสอง

สัญชาติคือไทยและอเมริกัน จากนั้นกลับมาประเทศไทยเมื่ออายุ 3 ขวบ จบการศึกษาระดับมัธยม

ปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และศึกษาตอคณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรียน

ถึงชั้นปที่ 3 ไดตัดสินใจลาออก แมวาเหลืออีกเพียงปเดียวก็จะจบการศึกษาระดับปริญญาตรี

ศิลปนไดเลาถึงการลาออกครั้งนี้วา

Page 75: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

63

บิดาไดแนะนําใหไปศึกษาที่ตางประเทศหลายครั้ง แตรูสึกวา หากลาออกตอนปหนึ่งหรือ

ปสอง เหมือนกับวาเราเรียนไมเกง โดนรีไทร แตตองการใหเห็นวา เราเรียนได อีกอยางจุฬาฯ

นั้นก็เปนมหาวิทยาลัยชั ้นนําและคาเทอมสมัยนั้นก็ถูกมาก ก็เลยคิดอยูนานกวาตัดสินใจไป

อเมริกา 0

1

ในที่ สุดศิลปนไดไปศึกษาตอระดับศิลปบัณฑิตที่ประเทศสหรัฐอเมริกาจนไดรับ

ศิลปบัณฑิตจากสถาบันศิลปะซานฟรานซิสโก (San Francisco Art Institute) สาขาภาพถาย

ป พ.ศ.2537 สําหรับผลงานภาพถายเปนที่นาเสียดายที่สูญหายไปหมด ตอจากนั้นไดศึกษาตอ

ระดับศิลปมหาบัณฑิต สาขาศิลปะแสดงสด (Performance) จากสถาบันศิลปะแหงชิคาโก (The

Art Institute of Chicago) ป พ.ศ.2539 ศิลปนไดเลาถึงสาเหตุที่เลือกเรียนทั้งสองสาขาเพราะวา

รู สึกชอบถายภาพ ไดถายทอดมุมมองของตัวเอง และทุกวันนี้ก็ยังเสนอความคิดผาน

ภาพถายอยู แมวาตัวเองเปนแบบ ไมไดเปนชางภาพเองก็ตาม คิดวามันสนุกมาก ไดลางอัดภาพ

ขาวดําในหองมืด จนทุกวันนี้โลกเปลี่ยนเปนดิจิตัลไปหมดแลว โชคดีที่ไดเลือกเรียน ตอมาอยาก

เปลี่ยนบรรยากาศบาง เลยเลือกเรียน Performance (ศิลปะแสดงสด) เพราะตอนอยูจุฬาฯ ก็มี

เพื ่อนอยู สาขาศิลปะการละคร ที ่คณะอักษรศาสตร รู ส ึกว าละครมันนาสนใจมาก แมว า

Performance จะตางจากละครเวทีอยู แตก็รู สึกสนุก ในการถายทอดเรื่องราวจากตัวเรา ใช

รางกาย สีหนา ทาทางของเราเอง สนุกมาก และรูสึกวาตัวเองสวย และสุดทายก็ไดใชความรูที่

เรียนมา เพราะตัวเองเปนนักแสดงดวย เลนเอง กํากับเองก็มี งานศิลปะก็ใชภาพถาย 1

2

เนื่องจากผลงานสมัยเรียนที่สหรัฐอเมริกาของศิลปนนั้นสูญหายในเหตุการณน้ําทวมป

พ.ศ. 2554 เทาที่หลักฐานหลงเหลืออยูเปนภาพศิลปนแสดงงานชิ้นสุดทายระดับปริญญาโท ทํา

ศิลปะแสดงสด โดยมีเพื่อนเปนผูถายภาพให ศิลปนไดกลาวถึงงานนี้วา

                                                            

1 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 2 พฤษภาคม 2555. 

2 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 2 พฤษภาคม 2555. 

Page 76: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

64

ภาพที่ 21 ไมเคิล เชาวนาศัย, Untitled [แสดงสด], 2539.

ที่มา: Michael Shaowanasi, Untitled [CD-ROM] (Chicago: The Art Institute of Chicago,

1996).

ต่ืนเตนแตเราก็กลา แกผากันเปนเรื่องปกติ ใครก็ทํากัน ตอนแสดงนั้นเราแกผาเดินออกมา

จากหลังฉากกั้น ซึ่งเราจัดขาวสารเปนไมกางเขนเรียบรอยแลว พอเขาเรียกชื่อผูสอบเขาไป ตอน

นั้นจําไดเลยวามีคณะกรรมการ 12 คน เราก็เดินออกมา เดินเวียนรอบไมกางเขน กระโดดโลด

เตนของเราไป จากนั้นก็ลมลง เหมือนสิ้นหวังแลวก็กําลังดิ้นรนหาทาทางออก โดยใหไมกางเขน

เปนเหมือนทางสวาง ไมถึง 15 นาทีนะคิดวา แสดงไมนาน แตตอบคําถามคณะกรรมการเกือบ

ชั่วโมง สําหรับคําถามวาทําไมเลือกใชขาว ขอตอบตามตรงไมรูวาทําไมตอนนั้นเลือกใชขาว อาจ

เปนเพราะเราเปนคนตะวันออก ชอบกินขาว หรือคิดถึงบานก็ไมรู แตถามาถามและใหอธิบาย

ตอนนี้ก็จะตอบไดวา เราเอาตะวันออกและตะวันตกมาผสานกัน เอาพระแมโพสพ มารดาแหง

ขาวกับเครื่องหมายไมกางเขนซึ่งเปนฝรั่งมารวมกัน พระเยซูนั้นก็ไถบาปเพื่อมนุษยชาติ พระแม

โพสพก็ใหเราอิ่มทองเหมือนกัน เปนคุณคาทางใจและคุณคาทางกายที่คูกันและเปนชายหญิง

เหมือนหยินหยางอีกดวย2

3

                                                            

3 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 2 พฤษภาคม 2555. 

Page 77: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

65

ผลงานของไมเคิล เชาวนาศัยชวงป พ.ศ. 2540 – 2554 ไมเคิล เชาวนาศัยกลับมาสูประเทศไทยในป พ.ศ. 2539 หลังจากจบการศึกษาระดับ

ปริญญาโท จากสถาบันศิลปะจากชิคาโก (The Art Institute of Chicago) ซึ่งที่นั่นไมเคิลไดรูจกักบั

กฤติยา กาวีวงศ (ปจจุบันเปนผูอํานวยการหอศิลป จิม ทอมปสัน) และอภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล

(ผูกํากับภาพยนตรไทยคนแรกที่ไดรับรางวัลปาลมทองคํา จากเทศกาลภาพยนตรเมืองคานส

ประเทศฝร่ังเศส) ทั้งสามคนกลับมาประเทศไทยและไดต้ังกลุม Project 304 ในปเดียวกันนั่นเอง

ภาพที่ 22 สถานที่ Project 304 49/3 ถนนเศรษฐสิริ พญาไท กรุงเทพฯ ,2539.

ที่มา: โปรเจกต 304, สถานท่ี, เขาถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2555, เขาไดจาก http://rama9art.

org/gallery/project304/index.html

เดิมสถานท่ีของ Project 304 ต้ังอยูที่หอง 304 อาคารสหกรณเคหสถานกรุงเทพ เทอด

ดําริ ตรงขามกับสถานีรถไฟฟาสามเสน ตอมายายมาอยูที่ 49/3 ถนนเศรษฐสิริ พญาไท กรุงเทพฯ

ซึ่งติดกับโรงพยาบาลวิชัยยุทธ ปจจุบันนี้กลุม Project 304 ไมมีสถานที่เฉพาะ และกําลังจัดทํา

หนังสือครบรอบ 16 ป (ในป พ.ศ. 2555) อีกดวย

Project 304 เปนพื้นที่แสดงศิลปะไมแสวงหากําไร (non-profit art space) จัดต้ังเพื่อ

สนับสนุนศิลปะรวมสมัยและกิจกรรมทางวัฒนธรรมผานนิทรรศการทางศิลปะโดยใชส่ือใหม (New

Media) รวมทั้งเปนหัวเร่ียวหัวแรงสําคัญในเทศกาลตาง ๆ เชน เทศกาลภาพยนตรทดลอง

กรุงเทพฯ (Bangkok Experimental Film Festival-BEFF) และการจัดทําส่ือส่ิงพิมพภายใตชื่อ

bang เปนตน

Page 78: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

66

นอกจากกิจกรรมที่ไมเคิลไดรวมจัดในนาม Project 304 ดังกลาว ไมเคิลไดจัดทําวิดีโอ

อารตในช่ือวา KKK ป พ.ศ.2539 หรือชื่อภาษาไทยวา ขอบคุณครับ ในรูปแบบภาพยนตรเงียบ

ความยาวประมาณ 6 นาที บันทึกเปนวิดีโอระบบ VHS ซึ่งภาพยนตรดังกลาวเปนเร่ืองราวแสดงถึง

วัฒนธรรมไทยที่ยกมือไหว ทั้งกลาวสวัสดีทักทาย ขอบคุณและอําลา และมีประโยค “Welcome to

Thailand” แทรกอยูเปนระยะกับภาพศิลปนยกมือไหว ซึ่งสามารถตีความเร่ืองประเทศไทยเปน

เมืองคาบริการทางเพศได และเปนที่นาเสียดายวาวิดีโอนั้นสูญหาย

ตอมา ป พ.ศ.2540 ไมเคิล เชาวนาศัย เปนผูกํากับภาพยนตรและเขียนบท รวมทั้ง

แสดงบทนําในภาพยนตรเร่ือง The Adventure of Iron Pussy (การผจญภัยของไอออน พุสซ่ี)

ภาคแรก บันทึกเปนวิดีโอระบบ VHS มีความยาว 8 นาที ความหมายของช่ือภาพยนตรนาสนใจ

ตรงที่วา Pussy นอกจากแปลวาแมวแลวยังเปนคําแสลงหมายถึงอวัยวะเพศหญิงอีกดวย เร่ือง

การเร่ิมตนการผจญภัยโดยมีตนกําเนิดของ นายมงคลผูกลายรางเปน Iron Pussy (ไมเคิลแสดง

เปนนายมงคลและแตงกายเปนผูหญิงเมื่อแสดงเปน Iron Pussy) เปนผูเขาชวยเหลืออะโกโกบอย

ซึ่งปกติแลวผูที่มีอาชีพนี้สวนใหญหนาตาและหุนดี นุงนอยหมนอย เตนโชวบนเวที ทั้งที่อาจมีขาย

บริการทางเพศกับลูกคาที่มาชมอีกดวย และศิลปนไดใชยานพัฒนพงษเนื่องจากเปนสถานเริงรมย

เปนที่รูจักระดับนานาชาติ สําหรับภาพยนตรในภาคแรกศิลปนไดเขาไปชวยอะโกโกบอย 2 คน

เนื่องจากการมีพอเลาเปนชาวยุโรป ลอลวงใหมาคาประเวณี

นอกจากนี้ยังมีภาพยนตรเร่ือง Eastern Wind บันทึกเปนวิดีโอระบบ VHS ความยาว

23 นาที เปนการสัมภาษณคนทั่วไปตามทองถนนวา ศิลปะคืออะไร ที่ใชชื่อวา Eastern Wind

แปลวาลมตะวันออกนั้น ตองการแสดงมุมมองเกี่ยวกับศิลปะของชาวตะวันออก ในป พ.ศ.2540

ปเดียวกันนี้ศิลปนไดสรางสรรคภาพยนตรอีกเร่ืองคือ Hope บันทึกเปนวิดีโอระบบ VHS ความยาว

23 นาที เร่ือง Hope หรือ ความหวัง เปนวิดีโออารต ศิลปนพนมมือแสดงสีหนาออนวอนหรือขอ

อะไรสักอยาง ซึ่งไมไดเลาเร่ืองอะไรมากกวานี้ เปนที่นาเสียดายยิ่งเนื่องจากภาพยนตรทั้งหมดที่

สรางสรรคข้ึนในป พ.ศ.2540 นั้นสูญหายเนื่องจากเหตุการณน้ําทวมปพ.ศ.2554

ในป พ.ศ.2542 ศิลปนไดเขียนบท กํากับและแสดงเปน Iron Pussy ในภาพยนตรเร่ือง

The Adventure of Iron Pussy ภาคที่สอง คร้ังนี้มีชื่อตอนวา Bunzai Chaiyo บันทึกเปนวิดีโอ

ระบบ VHSความยาว 22 นาที เนื้อเร่ืองคลายภาคแรก แตภาคนี้นายมงคล ผูกลายรางเปน Iron

Pussy เปนผูเขาชวยเหลืออะโกโกบอย โดยแกงมามาซัง (แมเลา) ชาวญ่ีปุนสามคนมาขมเหงรังแก

ภาพยนตรเร่ืองนี้ไดรางวัล รัตน เปสตันยี จากเทศกาลภาพยนตรส้ันคร้ังที่ 3 จัดโดยมูลนิธิหนังไทย

นับเปนความสําเร็จของศิลปนและหลังจากนั้นศิลปนก็คิดสรางสรรคภาคตอ ๆ ไป จนเปน

เอกลักษณของตัวเอง

Page 79: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

67

ป พ.ศ.2543 ศิลปนไดนําผลงานภาพยนตรวิดีโอ Eastern Wind (23 นาที) แสดงใน

งานนิทรรศการ alien{gener}ation โดยมีศิลปนอ่ืน ๆ รวมดวย เชน มนตรี เติมสมบัติ, พิมพกา โต

วิระ, ปรัชญา พิณทอง, ประพนธ คําจิ่มและทรงพล ชาญใชจักร เปนตน ที่ หอศิลปวิทยนิทรรศน

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ต้ังแตวันที่ 3-30 พฤษภาคม หลังจากนิทรรศการนี้แลว ไมเคิลไดสราง

ภาพยนตรเร่ืองThe Adventure of Iron Pussy ภาคที่สาม ตอน To be, or not to be บันทึกเปน

วิดีโอระบบ VHS ความยาว 30 นาที เนื้อเร่ืองคลายทั้งสองภาคแตภาคนี้นายมงคล ผูกลายราง

เปน Iron Pussy เปนผูเขาชวยเหลืออะโกโกบอย โดยแกงแมเลาชาวจีนมาขมเหงรังแก

ป พ.ศ.2544 ไมเคิลแสดงผลงานชื่อ So Sorry for the inconveniences จัดทํา

โปสเตอรขนาด 39.4 x 53.3 ซ.ม. เปนภาพถายขาวดํา ศิลปนไมสวมเสื้อ ยิ้มและพนมมือ งานนี้

จัดโดยหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ รวมกับ Project 304 แสดงนิทรรศการ ณ หอศิลป

มหาวิทยาลัยกรุงเทพกลวยน้ําไท ซึ่งผลงานชิ้นเดียวกันนี้ไดนําไปแสดงที่ประเทศญี่ปุนในงาน

Underconstruction New Dimensions of Asian Art ณ โตเกียวโอเปราซิต้ีอารตแกลอรี (Tokyo

Opera City Art Gallery) ในป พ.ศ. 2545 และผลงานชิ้นนี้ไดนําไปแสดงอีกคร้ังหนึ่งในเทศกาล

เวนิสเบียนนาเล ณ ศาลาไทย ที่ประเทศอิตาลี ในป พ.ศ. 2546

ในปพ.ศ. 2544 เดียวกันนี้ ศิลปนไดรวมแสดงงานใน นิทรรศการ Borderline เปน

ภาพถายของไมเคิล มีถอยคําภาษาอังกฤษเต็มใบหนาและศีรษะอันโลนของศิลปน เชน คําวา

“Fame”, “Whore”, “Sex” เปนตน โดยแสดงรวมกับศิลปนไทยและเทศมากมาย เชน นิวัติ

กองเพียร, โรเบิรต มัพพัลโทรป (Robert Mapplethorpe) เปนตน ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน

จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย ต้ังแตวันที่ 1-28 ธันวาคม

ในปถัดมา พ.ศ.2545 ไมเคิลแสดงนิทรรศการ ms@oas เปนนิทรรศการเด่ียว (Solo

Exhibition) ที่ โอเพนอารต สเปซ (Open Art Space) วันที่ 14-24 กุมภาพันธ ในงานนี้ที่เดนคือ

ภาพศิลปนเปลือยโดยไมมีหัวนมและอวัยวะเพศ หลายคนจํางานช้ินนี้ของศิลปนไดเปนอยางดี

นอกจากแสดงงานแลวในปเดียวกันนี้ไมเคิลไดเปนผูอํานวยการเทศกาลภาพยนตรและวิดีโอไพรด

เกยและเลสเบ้ียนนานาชาติ กรุงเทพฯ (Bangkok Pride Gay & Lesbian International Film And

Video Festival) ต้ังแตวันที่ 5 ตุลาคม - 16 พฤศจิกายน โดยไดรับการสนับสนุนและจัดฉาย

ภาพยนตรที่สถาบันเกอเธ

Page 80: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

68

ภาพที่ 23 โปสเตอรภาพยนตร The Adventure of Iron Pussy ภาคที่ 4 หัวใจทระนง, 2546.

ที่มา: Thai movie poster, The Adventure of Iron Pussy, เขาถึงเมื่อ 3 มกราคม 2555, เขาถึง

ไ ด จ า ก http://lh4.ggpht.com/_FAI1ouY6Frs/TI0aiBqC3vI/The%20Adventure%20of%20Iron

%20Pussy_2.jpg

ป พ.ศ.2546 ภาพยนตรเร่ือง The Adventure of Iron Pussy ภาคที่ 4 หัวใจทระนง

(The Brave Heart) บันทึกโดยกลองดิจิตัลวิดีโอ Hi8 เพื่อใหไดภาพแตกเปนเกรนเมื่อฉายบน

จอภาพยนตร เหมือนถายทําดวยกลองฟลม 16 มม. คร้ังนี้ไมเคิล แสดงและเขียนบทเชนเคย แต

กํากับรวมกับอภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล โดยมีเนื้อหาเก่ียวกับปญหาระดับชาติคือชวยรัฐบาล

ปราบปรามยาเสพติดภายใตการนําโครงสรางเร่ืองและสีสันแบบภาพยนตรไทยในอดีตเต็มรูปแบบ

เชน สีสันฉูดฉาด การพากยที่ไมคอยตรงกับปากของตัวละครที่กําลังพูดเทาใดนัก เปนตน

Page 81: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

69

ภาพที่ 24 หนาปกสูจิบัตรเทศกาลเวนิส เบียนนาเล คร้ังที่ 50 ณ ศาลาไทย ประเทศอิตาลี, 2546.

ที่มา: สํานักศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย, บันทึกประวัติศาสตรศิลปะ: นิทรรศการศิลปะ

นานาชาติเวนิสเบียนนาเลครั้งที่ 50 ประเทศอิตาลี (กรุงเทพฯ: สํานักงานศิลปะวัฒนธรรมรวม

สมัย, 2546).

ในปเดียวกันนี้ ไมเคิลไดรับคัดเลือกไปรวมแสดงงานกับศิลปนไทยอีก 4 คนใน

เทศกาลเวนิส เบียนนาเล คร้ังที่ 50 ณ ศาลาไทย ประเทศอิตาลี ในงานนี้ศิลปนไดทํา

ศิลปะการแสดงสด On the Road to Nirvana โดยแสดงประมาณ 5 นาที ทามกลางผูคนเดินไป

มา หลับตา กางแขน จากนั้นทําทาอธิษฐานราวกับวาอยูในโบสถ ปตอมา พ.ศ.2547 ศิลปนไมได

จัดแสดงผลงาน แตรวมเผยแพรและประชาสัมพันธภาพยนตรเร่ือง The Adventure of Iron

Pussy ภาคที่ 4 หัวใจทระนง (The Brave Heart) ซึ่งไดรับคัดเลือกรวมฉายในงานเทศกาล

ภาพยนตรกรุงเบอรลินคร้ังที่ 54 ประเทศเยอรมนี

ในป พ.ศ.2548 ไมเคิลจัดนิทรรศการ อภิมหาอมตะ ร.ศ. 223 มีงานสําคัญหลายชุด

เปนตนวา ผูหญิงในอุดมคติ หรือ ผูหญิงในเส้ือลายดอกกุหลาบ เปนการสวมบทบาทของศิลปนที่

Page 82: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

70

มีประเด็นเพศสถานะอยางนาสนใจ จัดแสดง ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ต้ังแตวันที่ 25 มกราคม - 28 กุมภาพันธ นับเปนนิทรรศการเด่ียวคร้ังสําคัญที่สุดคร้ังหนึ่งของ

ศิลปน เปนเหมือนงานฉลองศิลปนอายุครบครบ 40 ป นอกจากงานที่เกี่ยวกับเพศสถานะดังกลาว

มาที่เปนภาพถายแลว ยังมีภาพวาดและส่ือผสมในการนําเสนอมุมมองเร่ืองความคิด ศาสนา ฯลฯ

นับไดวาจัดไดครอบคลุมพื้นที่ของหอศิลปวิทยนิทรรศน และปเดียวกันนี้ศิลปนไดรับเชิญไป

แสดงผลงานรวมกับศิลปนทานอ่ืนในนิทรรศการ ArtconeXion ณ Elam School of Fine Arts ซึ่ง

สวนหนึ่งของมหาวิทยาลัย The University of Auckland ประเทศนิวซีแลนด

ภาพที่ 25 โปสเตอรภาพยนตร หมากเตะรีเทิรนส, 2549.

ที่มา: วิกพิีเดีย, หมากเตะรีเทิรนส, เขาถงึเมื่อ 20 สิงหาคม 2555, เขาถึงไดจาก http://

th.wikipedia.org/wiki/หมากเตะรีเทิรนส

ในป พ.ศ.2549 ศิลปนไดรวมแสดงภาพยนตรในระบบอุตสาหกรรมภาพยนตร 2 เร่ือง

ไดแกภาพยนตรเร่ือง หมากเตะรีเทิรนส รับบทเปนกรรมการขางสนามฟุตบอลและ แกงชะนีกับอี

แอบ โดยรับบทเปน พี่บี เพื่อนของแกงชะนี คอยชวยดูวาใครเปนเกยหรือไม

Page 83: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

71

ภาพที่ 26 โปสเตอรภาพยนตร แกงชะนีกับอีแอบ, 2549.

ที่มา: วิกพิีเดีย, แกงชะนีกบัอีแอบ, เขาถงึเมื่อ 20 สิงหาคม 2555, เขาถึงไดจาก http://

th.wikipedia.org/wiki/แกงชะนีกับอีแอบ

ป พ.ศ.2550 ศิลปนไดแสดงนิทรรศการ ไรชื่อ 2550 ณ นําทองแกลอรี เปนนิทรรศการ

เด่ียว งานช้ินสําคัญเกี่ยวกับการนําภาษามาใชในการสื่อเนื้อหาคือ ศิลปนเอาคําวา “พระพุทธ พระ

ธรรม พระสงฆ” มาเสนอเปนงานศิลปะจัดวางในสามลักษณะที่ตางกัน อยาง พระพุทธ เปนคําที่

ถูกฉายโดยไฟสปอตไลต ติดเลนส ถาใครเอามือไปบังจะไมเห็น คําวา พระธรรม ทําดวยไมสักติด

ผนัง ตัวอักษรแบบยอนยุคปดทอง“ม” วางอยูกับพื้นและหัวทิ่มพื้น สําหรับคําวา พระสงฆ สราง

ดวยไฟนีออน และสัญลักษณ $ แทนที่สระ “ะ” ศิลปนตองการตั้งคําถามใหมเกี่ยวกับพุทธศาสนา

ในยุคปจจุบัน โดยจัดแสดงต้ังแตวันที่ 8 สิงหาคม - 26 กันยายน และตอมาชวงตนปพ.ศ.2551

นิทรรศการ Our Lady of The Low Countries เปนภาพถาย และวิดีโอ โดยศิลปนแตงเปนผูหญิง

คลายบุคคลสําคัญของชาติ โดยภาพหน่ึงเปนรูปนั่งและอีกรูปเปนรูปยืนอยูบนอนุสาวรีย สําหรับ

วิดีโอนั้นก็เปนภาพศิลปนนั่งและยืน ฉากหลังเหมือนในภาพถายทุกอยางเพราะจัดทําในเวลา

Page 84: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

72

เดียวกัน โดยการบันทึกวิดีโอนั้นไมไดใหเพียงดานหนาของศิลปนที่อยูบนอนุสาวรียเทานั้น หากยัง

แสดงใหเห็นโดยรอบอนุสาวรียดังกลาว เพราะศิลปนตองการใหผูชมเห็น 360 องศา จัดแสดงเปน

นิทรรศการเด่ียวที่ แกลลอรีคัดมันดู ต้ังแต 9 กุมภาพันธ – 30 มีนาคม พ.ศ.2550

ไมเคิลไดรวมแสดง ในนิทรรศการ รอยยิ้มสยาม ป พ.ศ.2551 โดยการจัดนิทรรศการ

คร้ังนี้เปนการคัดเลือกศิลปนที่มีคุณภาพ และมีชื่อเสียงทั้งศิลปนไทยและตางชาติมารวมแสดงงาน

อยางคับค่ัง อาทิ ชลูด นิ่มเสมอ, อังคาร กัลยาณพงศ, มีเซียม ยิบอินซอย, ถวัลย ดัชนี, ประเทือง

เอมเจริญ, จักรพันธุ โปษยกฤต, อารยา ราษฎรจําเริญสุข, วสันต สิทธิเขตต, ชาติชาย ปุยเปย และ

อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล ฯลฯ ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร ต้ังแตวันที่ 24

กันยายน - 26 พฤศจิกายน โดยผลงานของไมเคิล มีชื่อวา Khmer-Donna-Annunciation เปน

ภาพถายขาวดํา ศิลปนใสชุดมอฮอมซ่ึงเปนเคร่ืองแบบนักโทษการเมืองสมัยนั้น มีหมายเลข ติดอยู

บริเวณอกราวกับเปนนักโทษ โดยไมเคิลไดหยิบยืมมาจากภาพเหตุการณประวัติศาสตรฆาลาง

เผาพันธุในกัมพูชามานําเสนอ

ภาพที่ 27 หนาปกหนังสือ SALA ของนาวิน ลาวัลยชัยกุล มีตอนหนึ่งของหนังสือที่เปนเร่ือง The

Adventure of Iron Pussy, 2551.

ที่มา: นาวิน ลาวัลยชยักุล, Navin's Sala,เขาถงึเมื่อ 3 มกราคม 2555, เขาถงึไดจาก http://

www.aaa.org.hk/Collection/Details/23569

Page 85: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

73

ไมเคิล เชาวนาศัยไดรวมงานกับศิลปน นาวิน ลาวัลยชัยกุลในหนังสือ SALA มีตอน

หนึ่งของหนังสือที่เปนเร่ือง The Adventure of Iron Pussy เปนภาพถายและมีบทสนทนาโดยเลา

เร่ืองในลักษณะการตูนถือวาเปนภาคที่ 5 ซึ่งเปนภาคเดียวที่เปนภาพถาย และมีบทพูดเหมือน

การตูน มิไดถายทําเปนภาพยนตรเหมือนภาคอ่ืน ๆ ในคร้ังนี้การเขียนบทและการกํากับการแสดง

เปนของนาวิน ลาวัลยชัยกุล

ภาพที่ 28 หนาปกหลังของหนังสือ SALA มีตอนหนึ่งของหนังสือที่เปนเร่ือง The Adventure of

Iron Pussy, 2551

ที่มา: นาวิน ลาวัลยชยักุล, Navin's Sala, เขาถึงเมื่อ 3 มกราคม 2555, เขาถงึไดจาก http://

www.aaa.org.hk/Collection/Details/23569

ป พ.ศ.2552 ไมเคิลแสดงงานรวมกับปาสกาล บลองโด (Pascal Blandeau) ศิลปน

ชาวฝร่ังเศส ในเทศกาลวัฒนธรรมฝร่ังเศส (La Fete ลาแฟต) โดยงานของไมเคิลจะใชคําส่ือเนื้อหา

โดยระบายสีเปนคําตาง ๆ บนผืนผาใบขนาดใหญ เชน At Last, VIH, French men smell good

เปนตน 3

4 นอกจากนี้ในป พ.ศ. 2552 ไมเคิลยังไดรวมแสดงภาพยนตรเร่ือง ความจําส้ันแตรักฉัน

ยาว โดยรับบทเปนผูพิพากษาและภาพยนตรเร่ือง ความสุขของกะทิ รับบทเปนลุงตอง ซึ่ง

กระตุงกระต้ิง เปนญาติที่สนิทกับกะทิ

                                                            

4 ผูสนใจสามารถอานรายละเอียดเพิ่มตัวในหวัขอตอไปคือ ภาพรวมของผลงานที่มี

เนื้อหาเกีย่วกบัศาสนาและการใชคําในการส่ือสารความคิด 

Page 86: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

74

ภาพที่ 29 โปสเตอรภาพยนตร ความจําสั้นแตรักฉันยาว, 2552.

ที่มา: วิกพิีเดีย, ความจําสั้นแตรักฉันยาว, เขาถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2555, เขาถงึ ไดจาก

0http://th.wikipedia.org/wiki/ความจาํส้ัน_แตรักฉันยาว

ภาพที่ 30 โปสเตอรภาพยนตร ความสุขของกะทิ, 2552.

ที่มา: วิกพิีเดีย, ความสขุของกะทิ, เขาถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2555, เขาถงึ ไดจาก http://

th.wikipedia.org/wiki/ ความสุขของกะท ิ

Page 87: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

75

ภาพที่ 31 ปกหนาสูจิบัตรเทศกาลเวนิส เบียนนาเลคร้ังที่ 53 ณ ศาลาไทย ประเทศอิตาลี, 2552.

ที่มา: สํานักศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย, บันทึกประวัติศาสตรศิลปะ : นิทรรศการศิลปะ

นานาชาติเวนิสเบียนนาเลครั้งที่ 53 ประเทศอิตาลี (กรุงเทพฯ : สํานักงานศิลปะวัฒนธรรม

รวมสมัย, 2552)

ในป พ.ศ. 2552 ไมเคิลไดรวมเทศกาลเวนิส เบียนนาเล เปนคร้ังที่สอง (คร้ังแรกรวม

เทศกาลดังกลาวป พ.ศ.2546)โดยคร้ังนี้รวมแสดงผลงานกับสาครินทร เครือออน, สุดศิริ ปุยออก,

ศุภร ชูทรงเดช และวันทนีย ศิริพัฒนานันทกูร โดยมีทีมภัณฑารักษประกอบดวย ถาวร โกอุดมวิทย

เปนภัณฑารักษ อํามฤทธิ์ ชูสุวรรณ เปนภัณฑารักษรวม และฉัตรติยา นิตยผลประเสริฐ เปนผูชวย

ภัณฑารักษ และศิลปนไทยหลายทานในเทศกาลเวนิส เบียนนาเลคร้ังที่ 53 ณ ศาลาไทย คร้ังนี้

เปนการนําเสนอโครงการ “นาวาสวรรค กัมปะนี” เปนการนําเสนอการเสียดสีแนวคิดทุนนิยมโดย

นําเสนอเปนงานศิลปะ โดยจําลองรูปแบบบริษัททัวรนาม Gondola Al paradise Co., Ltd.

เพื่อใหคนมาเที่ยวเมืองไทย เมืองที่มีชางใหข่ี มีหมอนวดราคาถูก ฯลฯ

ป พ.ศ.2553 ศิลปนแสดงผลงานภาพถายเชิงสารคดีบันทึกเร่ืองราวที่ผานมาถายเปน

ภาพขาวดํา 9 ภาพ ซึ่งเปนภาพถายที่บันทึกระหวางการจัดแสดงงานศิลปะในเทศกาลเวนิส

เบียนนาเลคร้ังที่ 53 ณ ศาลาไทย เปนภาพถายบุคคลที่เดินทางไปคร้ังนั้น เชน สาครินทร เครือ

ออนและอํามฤทธิ์ ชูสุวรรณ เปนตน ในนิทรรศการ In House By Canal ณ White Space

Page 88: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

76

Gallery ต้ังแตวันที่ 5 กุมภาพันธ - 7 มีนาคม และในชวงปลายปเดียวกันนี้ศิลปนไดจัดนิทรรศการ

เด่ียว สรีระ-มายา เปนผลงานภาพวาดเปนรูป 3 ภาพ เปนภาพศิลปนวัยเด็ก วัยกลางคนและวัย

ชรา แสดงที่นําทองแกลอรี บริเวณชั้น 2 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร ตั้งแตวันที่ 5

- 9 พฤศจิกายน

ภาพที่ 32 วิศิษฎ ศาสนเที่ยง, Camellia [ภาพยนตร], กรุงเทพฯ: บริษัท ไฟวสตารโปรดักช่ัน จํากัด,

2554.

ที่มา: เอ็มไทย [นามแฝง],Camellia, เขาถงึเมื่อ 20 สิงหาคม 2555, เขาถึงไดจาก http://movie.

mthai.com/movie-profile/new-movie/106214.html

ป พ.ศ.2554 ไมเคิลไดเขาสูอุตสาหกรรมภาพยนตรอีกคร้ังโดยแสดงภาพยนตรเร่ือง

Camellia ซึ่งมีแบงเปนสามตอนคือ รักแรก(อดีต) Iron Pussy-รักเธอ (ปจจุบัน) Kamome และรัก

สุดทาย (อนาคต) Love for Sale เปนรักหลากรูปแบบ ผานหวงเวลาที่ตางกัน จากผูกํากับสาม

สัญชาติคือ ไทย เกาหลีและญ่ีปุนตามลําดับ

ตอนรักเธอ (ปจจุบัน) Kamome ผูกํากับภาพยนตรคืออิซาโอะ ยูกิซาดะ (Isao

Yukisada) ประเทศญ่ีปุน ภาคนี้วาดวยเร่ืองของ ยองซู (คยองกู) ตากลองภาพยนตรชาวเกาหลีที่

กําลังถายทําภาพยนตรในเมืองปูซานกับหญิงสาวลึกลับคนหนึ่งซ่ึงบังเอิญเขาเจอเธอเดิน โดยไม

สวมรองเทา นั่นคือจุดเร่ิมตนที่ทําใหเขาและเธอไดผูกพันกัน

Page 89: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

77

ตอนรักสุดทาย (อนาคต) Love for Sale ผูกํากับภาพยนตรชื่อจาง จุน ฮวาน (Jang

Junhwan) ประเทศเกาหลี ภาพยนตรเปนการเลาเร่ืองราวของชายคนหนึ่งที่ถูกขโมยความรักอัน

ยิ่งใหญของเขาไปและตอนนี้เขาจะออกเดินทางเพื่อตามทวงทุกอยางกลับคืนมา

สําหรับตอน รักแรก(อดีต) Iron Pussy นําแสดง ไมเคิล เชาวนาศัย และคิม มิน จุน

จาก (Kim Minjun) ประเทศเกาหลี โดยมีวิศิษฎ ศาสนเที่ยงเปนผูกํากับภาพยนตร

เร่ืองนี้ไมเคิลรับบทเปน Iron Pussy อีกคร้ังนับไดวาเปนภาคที่ 6 ของเร่ือง The

Adventure of Iron Pussy แตในเร่ืองนี้ Iron Pussy เปนสายลับในยุค 1970s ที่ถูกสงไปปฏิบัติ

ภารกิจที่ปูซาน ทุกคร้ังที่เขาไดรับภารกิจใหม เขาจะหายเขาไปในรานเสริมสวยกอนจะกลับออกมา

ในรูปสาวสวยทรงเสนห ขณะที่เธอไปที่ไนตคลับแหงหนึ่ง เธอก็พบวาตัวเองไดตกหลุมรักกับชาย

หนุมเกาหลีแสนดีคนหนึ่งเขา (คิม มิน จุน) ความรักของเธอนั้นกําลังเร่ิมตนขณะเดียวกันก็พบวา

คนที่ตนรักนั้นเปนผูรายที่ Iron Pussy ตองฆา

ภาพรวมของผลงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาและใชคําในการสื่อสารความคิด ในการศึกษาหัวขอที่ผานมานั้น ทําใหทราบถึงผลงานตาง ๆ ของไมเคิล ทําใหทราบวา

ศิลปนสรรคผลงานต้ังแตป พ.ศ. 2540 -2554 นั้นมีเร่ืองราวนอกจากเพศสถานะอีกดวย ผูศึกษาได

พบผลงานสองประเภทคือ ผลงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาและผลงานที่ใชคําในการส่ือสาร

ความคิด ผูศึกษาขอวิเคราะหดังตอไปนี้ ผลงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา ไมเคิล เชาวนาศัย สนใจพุทธปรัชญาและเซนเปนพิเศษ จากการที่ศิลปนไดอานงานที่

เปนแนวคิดเกี่ยวกับเซน ในปพ.ศ. 2548 ไมเคิลไดสรางสรรค ผลงาน กระจก4

5 ข้ึนมาเพื่อกระตุน

ผูชมใหคิดกับขอความที่ปรากฏอยูบนกระดาษโพสตอิตสีเหลืองแปะบนกระจกวา “ถาเห็น

พระพุทธเจากลางทาง ฆาเธอซะ”

                                                            

5 ผลงานดังกลาวจัดแสดงในนิทรรศการอภิมหาอมตะ ร.ศ.223 หอศิลปะวิทยนิทรรศน

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ต้ังแตวันที่ 25 มกราคม – 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2548 

Page 90: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

78

ภาพที่ 33 ไมเคิล เชาวนาศัย, กระจก [ส่ือผสม], แปรผันตามสถานที่, 2548.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, อภิมหาอมตะ ร.ศ.223, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก

http://www.car.chula.ac.th/art/th/?page_id=309

ศิลปนตองการนําเสนอประเด็นเร่ืองตัวตน อัตตา วาเราไมควรยึดอัตตา และใน

ขณะเดียวกันการฆาพระพุทธเจานี้ ก็เปนเพียงสัญลักษณหนึ่ง ที่ตองการบอกวา การที่เราจะบรรลุ

ตัวตนได เราตองไมยึดมั่น ไมยึดติดกับคัมภีร การสองกระจกนั่นเปนการสองมองดูตัวเอง พิจารณา

ตัวเอง ศิลปนตองการใชคํากํากวมเหมือนการอานบทกวีแนวเซนนั้นจะเปนการตีความเสมอ โดย

ศิลปนไดแรงบันดาลใจจากบทกวี ปติ ของทานจัลวา โกตซังปะ ซึ่งเปนลามะทิเบตที่มีชีวิตอยู

ในชวง พ.ศ.1732-1801 ที่วา

เม่ือฉันถูกครอบงําดวยอกุศลจิต

ฉันจะไมขับไลเขาดวยมนตรคาถา

ที่ฉันจะทําคือไลกวดอัตตาตัวเอง

แปรปรับสูสัมมาทิฐิ

เม่ือวิบากเกิด ฉันจะใชอุปสรรคนั้น

เปนหนทางหักเหสูปติ5

6

ศิลปนจึงนําเร่ืองอัตตาดังกลาว และการทําลายอัตตา ตัวกูของกู ตามหลักพุทธศาสนา

มาสรางสรรคเปนผลงานดังกลาว ซึ่งสามารถตีความไดวาการฆาในความหมายท่ีตองการส่ือนั้น

เปนการฆาตัวตนเราเอง ทําลายตัวกู ของกู หาใชฆาพระพุทธเจาไม ตอนแรกผูชมอาจตกใจกับคํา

                                                            

6 สมพร ครูกส, กวีเซน, เขาถึงเมื่อ 15 กันยายน 2555, เขาถึงไดจาก http://kroosom

-dharma.blogspot.com/  

Page 91: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

79

กลาวที่ติดอยู หรือบางทีอาจผานเลยไป หากผูชมมองกระจก อาน และพิจารณาจะเขาใจศาสนาที่

แฝงอยูในงานช้ินนี้

ตอมาในปพ.ศ. 2550 ศิลปนไดนําเสนอประเด็นเกี่ยวกับพุทธศาสนาของไทยในชุดไร

ชื่อ 25507 โดยไมเคิล ไดนําคํา 3 คําของพระรัตนตรัย ไดแก พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ มา

เสนอเปนศิลปะจัดวางโดยมีรูปลักษณที่ตางกันดังนี้

พระพุทธเปนคําที่ถูกฉายบนผนังดวยไฟสปอตไลตติดเลนส ถาใครเอามือไปบังแสงก็

จะไมเห็นคํา ๆ นี้ สะทอนถึงการไรตัวตน เปนนามธรรม อีกทั้งพระพุทธเจาปรินิพพานลวงสองพัน

กวาป

ภาพที่ 34 ไมเคิล เชาวนาศัย, พระพุทธ [อินสตอลเลชั่น], ขนาดไมระบุ, 2550.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, ไรชื่อ (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2550), 12.

ภาพที่ 35 ไมเคิล เชาวนาศัย, พระธรรม [ศิลปะจัดวาง], ขนาดไมระบุ, 2550.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, ไรชื่อ (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2550), 13.

                                                            

7 ผลงานดังกลาวจัดแสดงทีน่ําทองแกลเลอรี ต้ังแตวันที่ 5 สิงหาคม ถึง 26 กันยายน

พ.ศ.2550 

Page 92: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

80

ภาพที่ 36 ไมเคิล เชาวนาศัย, พระสงฆ [ประติมากรรม], ขนาดไมระบุ, 2550.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, ไรชื่อ (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2550), 14.

พระธรรม ทําดวยไมสัก ใชรูปลักษณอักษรโบราณ ปดทอง โดยมี “ม” วางหัวทิ่ม

สามารถตีความไดวารวงลงมา คําวาพระธรรมใชรูปแบบอักษรโบราณ ผูศึกษาคิดวาพระธรรมคํา

สอนของพระพุทธเจามีมานาน อาจมีการตีความกันผิด ๆ หรือไมมีใครเขาใจเพราะตองการใชหลัก

คําสอนที่ปรับเขากับโลกสมัยใหม ใชในการดํารงชีวิตประจําวันได

พระสงฆ ศิลปนใชหลอดไฟนีออนดัดเปนคํานี้ และใช “ $” แทนสระ “ะ” ซึ่ง“ $” เปน

สัญลักษณดอลลาร หนวยเงินของสหรัฐอเมริกา มีนัยถึงพุทธพาณิชย สอดคลองกับขาวเร่ือง

พระสงฆปลอมตัวเร่ียไรเงิน หรือแมกระทั่งมีเงินไปเที่ยวสถานที่กลางคืนตาง ๆ มีอยูเสมอใน

สังคมไทย

ผลงานที่ใชคําในการสื่อสารความคิด ผลงานสวนใหญของไมเคิลนั้นโดยมากเปนภาพถายหรือวิดีโออารต ผลงานที่ใชคําก็มี

อยูบาง แมจะใชคําส่ือโดยตรง แตก็ตองตีความและมีความหมายแฝงอยูในงาน ในหัวขอนี้ผูศึกษา

จะวิเคราะหผลงานที่ใชคําในการส่ือสารความคิด โดยเรียงตามลําดับปที่แสดงนิทรรศการ ทั้งนี้

ผลงานที่มีคําอยูบนรางกายของศิลปนนั้นผูศึกษาจะกลาวตอไปในบทที่ 5 เนื่องจากเกี่ยวกับเร่ือง

เพศสถานะโดยตรง

ผลงานงานที่นาสนใจแรกเร่ิมนั้นอยูในนิทรรศการอภิมหาอมตะ ร.ศ. 223 นอกจากมี

งานชุดผูหญิงอุดมคติ และ ผูหญิงในเส้ือลายดอกกุหลาบ แลว คําตาง ๆ ที่อยูในนิทรรศการก็มี

ความนาสนใจไมแพกัน

Page 93: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

81

คําวา ฟลาวเวอร นั้นเขียนทับศัพทจากภาษาอังกฤษ “Flower” มีความหมายวา

ดอกไม ในขณะเดียวกันก็ใชทองคําเปลวมาติด ซึ่งในบริบทไทยมีคําวา “ดอกทอง” ใชดาวาผูหญิง

ที่นิสัยไมดี โดยเฉพาะเกี่ยวกับเร่ืองทางเพศ

ภาพที่ 37 ไมเคิล เชาวนาศัย, ฟลาวเวอร [ส่ือผสม] , 2548.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, อภิมหาอมตะ ร.ศ.223, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก

1http://www.car.chula.ac.th/art/th/?page_id=309

ศิลปนไดกลาวถึงงานช้ินนี้วา

ชอบคําวา ดอกทอง และชอบดอกไมอยูแลว มันสวยดี และดอกไมในภาษาอังกฤษมันออก

เสียงวา ฟลาวเวอร และคนไทยก็เอาคําวา เวอร หรือโอเวอรมาใชในวาในกรณีที่เราทําอะไรเกิน

พอดี เกินงาม และคําวาดอกไมมันก็มีนัยทางเพศอยูแลว ดอกไมกับผูหญิงนะ มันสามารถตีความ

ถึงอวัยวะเพศหญิงไดเยอะมาก แตตนตองการใชคํามากกวา ตองการใหคนไทยที่เขาใจทั้ง

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษมาชม เพราะจะสนุกและตลกกับคํา แตถาไมเขาใจ ก็ดูเอาความ

สวยงามอยางเดียวก็ได 7

8

ในป พ.ศ. 2552 ไมเคิลไดใชคําในการส่ือสารความคิดอีกคร้ังเมื่อรวมกับปาสกาล

บลองโด (Pascal Blandeau) สวนหนึ่งของเทศกาลวัฒนธรรมฝร่ังเศส (La Fete – ลาแฟต) โดย

นําเสนอเร่ืองราวของตนเอง

                                                            

8 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 2 พฤษภาคม 2555. 

Page 94: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

82

อยางประโยควา At last, I am old. ซึ่งหมายถึงในที่สุด ฉันก็แก ผูศึกษาคิดวาทําให

ผูชมคิดถึงเร่ืองชีวิตวาคนเรานั้นแกลงทุกวัน หรืออาจจะหมายถึงศิลปนก็ได ซึ่งศิลปนกลาวถึงงาน

ชิ้นนี้วา

ตอนที่ปาสกาล บลองโดติดตอมาวาเราจะทํางานรวมกัน ก็คิดวาจะถายทอดเร่ืองราวอะไรดี

ไมไดทํางานใชตัวอักษรมานานแลว ก็เลยสรางงานแบบน้ีขึ้นมา และอายุเราก็ 45 ปแลว (ป พ.ศ.

2552) ผานรอนผานหนาวมาเยอะมาก ไปมาหลายประเทศ และก็เคยมีชื่อเสียงเคยโดงดังพลุแตก

เขายูทูป (youtube) ฟงแนวคิดปรัชญา ศาสนาอะไรเยอะแยะไปหมด ก็สรุปลงท่ีประโยคดังกลาว

แมวาเราจะรูอะไรมากขึ้น แตก็ยังไมรูอะไรอีกเยอะ ย่ิงแกย่ิงอยากเรียนรู โลกเปล่ียนเร็วมาก เราไม

อยากเปนพวกอนุรักษนิยม 9

ภาพที่ 38 ไมเคิล เชาวนาศัย,At last [จิตรกรรม],ขนาด 90 x 170 เซนติเมตร,2552.

ที่มา: ไมเคิล เชาวานาศัย, เทศกาลวัฒนธรรมฝรั่งเศส 2009 (กรุงเทพฯ: สมาคมฝร่ังเศสแหง

ประเทศไทย, 2552), 27.

ศิลปนไดพูดถึงโรคเอดส โดยผานอักษรยอภาษาฝร่ังเศส (VIH-Virus de la

immunodeficiencia humana) ซึ่งสําหรับคนไทยสวนใหญจะพูดวาติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งเร่ืองโรค

เอดสนั้นเปนปญหาที่สังคม สวนใหญต้ังเปาไวกอนวาคนที่รักเพศเดียวกันนั้นมีโอกาสเส่ียงเปนโรค

เอดสหรือติดเช้ือเอชไอวีสูงมาก โดยศิลปนใหความเห็นวา

                                                            

9 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 2 พฤษภาคม 2555. 

Page 95: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

83

ที่เมืองนอกนั้นก็ตอสูเรื่องนี้วีไอเอช (ฝรั่งเศสออกเสียงวา เว-อี-อาช) หรือเอชไอวี คือโรค

เอดสมาตลอด ทําไมคนที่รักเพศเดียวกันถึงโดนกลาวหาวาสําสอน และมีโอกาสเปนโรคเอดสสูง

ทั้ง ๆ ที่หลายคนไมเที่ยว รักเดียวใจเดียว ซึ่งมันไมยุติธรรรมเพราะเราโดนตราหนาไวกอนแลว

ยกตัวอยางเรื่องเพื่อนไปบริจาคเลือดที่สภากาชาดไทยแลวถูกปฏิเสธ อางอยางเดียววามีความ

เสี่ยง ทําไมสังคมยังมีทัศนคติในแงลบขนาดนี้ สําหรับเรื่องชิ้นงาน จุดประสงคที่กลับ HIV เปน

VIH เพราะชอบฝรั่งเศส เรียกวาฝรั่งเศสเปนบานที่คิดถึง และพอมารวมงานกับศิลปนฝรั่งเศสก็

เอาสักชิ้นหนึ่งที่เปนคําฝรั่งเศส แตคิดวาหลายคนจะไมทราบภาษาฝรั่งเศสก็สามารถคิดอะไร

ตาง ๆ นานาได ถือวาดูเปนองคประกอบศิลปก็ได910

ภาพที่ 39 ไมเคิล เชาวนาศัย, VIH [จิตรกรรม], ขนาด 90 x 170 เซนติเมตร, 2552.

ที่มา: ไมเคิล เชาวานาศัย, เทศกาลวัฒนธรรมฝรั่งเศส 2009 (กรุงเทพฯ: สมาคมฝร่ังเศสแหง

ประเทศไทย, 2552), 28.

ผูศึกษาชมงานในตอนแรกมองเห็นเปนคําวา VIE ซึ่งเปนภาษาฝร่ังเศสแปลวาชีวิต ก็

คิดวาศิลปนนาจะถายทอดหรือคิดเกี่ยวกับชีวิตอยู เพราะมันเช่ือมโยงกับงาน At last แตศิลปนได

ใหแงมุมเกี่ยวกับโรคเอดสก็นาสนใจเชนกัน และถึงอยางนั้นก็เกี่ยวพันกับเร่ืองชีวิตอยูดี เพราะคน

รักเพศเดียวกันมักจะไดรับการเลือกปฏิบัติในการดํารงชีวิต

                                                            

10 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 2 พฤษภาคม 2555.  

Page 96: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

84

ภาพที่ 40 ไมเคิล เชาวนาศัย, french men smell good [จิตรกรรม], ขนาด 90 x 90 เซนติเมตร,

2552.

ที่มา: ไมเคิล เชาวานาศัย, เทศกาลวัฒนธรรมฝรั่งเศส 2009 (กรุงเทพฯ: สมาคมฝร่ังเศสแหง

ประเทศไทย, 2552), 29.

ผลงานสุดทายในนิทรรศการนี้ คือ french men smell good ไมเคิลใชสีแดงกับดํา

ชวยขับเนนคํา ศิลปนนั้นชอบฝร่ังเศสเปนการสวนตัว ทั้งวัฒนธรรม สถาปตยกรรม ภาษา อาหาร

รวมทั้งผูชายฝร่ังเศส ซึ่งศิลปนเนนย้ําวาไมไดทําเพราะเปนนิทรรศการในเทศกาลวัฒนธรรม

ฝร่ังเศส และการที่บอกวาผูชายฝร่ังเศสนั้นกล่ินหอมมันตีความไดหลายอยาง เชน รสนิยมทางเพศ

ของศิลปนและเร่ืองเพศบางคร้ังเราก็มองมาเปนเหมือนอาหารที่เราเสพเขาไป กล่ินรสชาติเปน

อยางไร เร่ืองกล่ินเปนผัสสะอยางหนึ่ง

นอกจากผลงานที่กลาวถึงขางตนนั้นยังมีผลงานที่ใชคําในการส่ือสารความคิดอีก เชน

เกย เก, He กับ Yet และ Qua ว y อีกดวย ทวาผูศึกษาเห็นวามีเนื้อหาเกี่ยวของกับเพศสถานะ

โดยตรงซ่ึงผูสนใจสามารถอานรายละเอียดผลงานดังกลาวไดในบทที่ 5 เพศสถานะในงานของไม

เคิล เชาวนาศัย

ผูศึกษาคิดวาบทที่ 4 ประวัติและผลงานของไมเคิล เชาวนาศัยทําใหผูอานไดทราบ

รายละเอียดชีวิต ประวัติการทํางานและผลงานที่นอกเหนือไปจากเพศสถานะ ทําใหเราสามารถ

รับรูและเรียนรูความหลากหลายของความคิดที่ศิลปนนําเสนอในชวงเวลานั้น ๆ ได ถึงแมวางานจะ

ไมเกี่ยวกับเพศสถานะโดยตรงแตเราก็สามารถมองเห็นตัวตนของศิลปนไดระดับหนึ่งในบทนี้ บท

ตอไปจะกลาวถึงสาระสําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเพศสถานะโดยตรง

Page 97: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

85

บทที่ 5

เพศสถานะในงานของไมเคิล เชาวนาศัย

จากการศึกษาบทที่ 4 ชีวิตและผลงานของไมเคิล เชาวนาศัย ทําใหไดทราบเกี่ยวกับ

ประวัติชีวิตและผลงานสมัยที่ไมเคิลศึกษาที่ประเทศสหรัฐอเมริกา รวมทั้งผลงานตาง ๆ ที่ศิลปนได

รังสรรคข้ึนหลังจากกลับมาประเทศไทยในป พ.ศ. 2539 ซึ่งศิลปนไดสรางสรรคผลงานออกมามี

ประเด็นสําคัญคือศาสนาและอีกประเด็นหนึ่งคือการใชภาษาหรือถอยคําในงาน ทําใหเห็นวา

ศิลปนนั้นตองการแสดงความคิดตาง ๆ ผานงานศิลปะไมเพียงแตเร่ืองเพศสถานะอยางเดียว

ในบทนี้จะเปนการศึกษาเร่ืองเพศสถานะในงานของไมเคิล เชาวนาศัย ต้ังแตป พ.ศ.

2540 - 2554 เพื่อใหเห็นพัฒนาการและความตอเนื่องของผลงาน เนื่องจากผลงานเปนที่นาสนใจ

อีกทั้งศิลปนเองไดยอมรับวาตัวเองนั้นชอบเพศเดียวกันอยางเปดเผย และส่ิงเหลานี้สะทอนอยูใน

งานโดยจะวิเคราะหผลงานดังตอไปนี้

เพศสถานะกับอัตลักษณเกย

เพศสถานะกับศาสนา

เพศสถานะกับบทบาทผูหญิง

เพศสถานะกับประวัติศาสตร

เพศสถานะในไอออน พุสซ่ี

ทั้งนี้การแบงกลุมดังกลาวขางตนเพื่อวิเคราะหผลงานไดชัดเจนข้ึน ซึ่งความจริงผลงาน

ในแตละกลุมนั้นสามารถเช่ือมโยงกับกลุมอ่ืนได เชน การแตงกายเปนผูหญิงของศิลปนสามารถพดู

ถึงบทบาทผูหญิงในสังคมที่ศิลปนตองการแสดงใหเห็น ถึงกระนั้นเราสามารถตีความอัตลักษณ

เกยหรือ กะเทย ไดอีกดวย เพศสถานะกับอัตลักษณเกย สังคมสวนใหญมักคาดหวังวาเพศสถานะชายควรจะตองเขมแข็ง ไมรองไหงาย

สามารถแสดงออกถึงความตองการทางเพศไดมากกวาผูหญิง ฯลฯ ในทางตรงขามกลุมรักเพศ

เดียวกันนั้นจะมีอัตลักษณที่ไมตรงกับสังคมคาดหวัง กลาวคือชายรักชายมักจะแตงหนาทาปาก

Page 98: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

86

ทาแปงรองพื้น แตงกายดวยชุดกระโปรงแบบผูหญิง เปนตน สําหรับไมเคิล เชาวนาศัยเองนั้นเปน

ชายที่รักชายเชนกัน ศิลปนไดใหสัมภาษณวา

เม่ือป พ.ศ.2539 นั้นตัวเองเปนศิลปนเกยคนเดียวในเมืองไทย แมปจจุบันนี้มีคนมากมายท่ี

เปนเกยและเปดเผย ตอนนี้เปนเร่ืองธรรมดาไปแลว แตตอนน้ันเรากลับมาจากอเมริกาใหม ๆ ถือวา

ฮือฮาพอสมควร ยอมรับวางานชวงแรก ๆ จะเนนเกย แตถึงกระนั้นเราก็ไมไดเนนเกยอยางเดียวนะ

เราแตงตัวเปนผูหญิง เรามีพัฒนาการในการส่ือสารเร่ืองเพศในสังคมที่เราอยู 0

1

งานชวงแรกของศิลปนจึงเปนการเปดเผยตัวตนและนําเสนอเร่ืองราวรวมทั้งความคิด

ของตนเปนหลัก ซึ่งจะเปนผลงานสมัยที่เรียนที่สหรัฐอเมริกา เชน WELCOME TO MY LAND

ภาพที่ 41 ไมเคิล เชาวนาศัย, WELCOME TO MY LAND 1 [วิดีโออารต], 2539

ที่มา: Michael Shaowanasai, WELCOME TO MY LAND [CD-ROM ] (Chicago:The Art

Institute of Chicago, 1996).

                                                            

1 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 24 มิถุนายน 2555. 

Page 99: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

87

ภาพที่ 42 ไมเคิล เชาวนาศัย, WELCOME TO MY LAND 2 [วิดีโออารต], 2539.

ที่มา: Michael Shaowanasai, WELCOME TO MY LAND [CD-ROM ] (Chicago:The Art

Institute of Chicago, 1996).

ศิลปนทําทายกมือไหวแตโดยมัดราวกับเปนการมัดตราสังขซึ่งเปนการผูกสําหรับคน

ตายและในภาพท่ีสองศิลปนโดนมัด ตาเหลือก เหมือนโดนทารุณกรรมหรืออาจชอบความรุนแรงใน

การรวมเพศและมีคราบน้ําอสุจิอยูเต็มใบหนา เปนการเสียดสีเร่ืองการทองเที่ยวกับความเปนไทย

ศิลปนอธิบายวา

เม่ือป ค.ศ. 1993 (พ.ศ.2536) นั้นจําไดวาดิกชันนารีลองแมน (Longman’s Dictionary)

ตีพิมพพจนานุกรมโดยนิยามกรุงเทพมหานคร เมืองเทวดาท่ีเราอยูกันน้ีเปนนครโสเภณี เราเองก็

ศึกษาอยูที่นั่น และเปนคนไทยจึงมีเพื่อนถามความเห็นเร่ืองดังกลาวจํานวนมาก เราจึงคิดที่เร่ืองนี้

คิดมา ซึ่งเราก็เห็นวาเปนความจริง ปฏิเสธไมได แตในอีกแงหนึ่งก็คิดวาทุกประเทศในโลกก็มี

คนขายบริการทางเพศท้ังน้ัน ทําไมเราโดยกลาวหาอยูประเทศเดียว จึงสนใจเร่ืองนี้ ความเปน

เอเชียของเรา ความเปนไทยท่ีตองยกมือไหว การขายบริการทางเพศ หรือวาประเทศไทยเราเปน

ประเทศโลกที่สาม ประเทศโลกที่หนึ่งวาอะไรมา เราก็เถียงเขาลําบาก และฝร่ังมักจะมีขอมูล สถิติ

อะไรเสมอกอนท่ีจะไปตัดสิน หรือนิยามส่ิงใด และตลกมากเลยอีกไมก่ีปตอมา (ปพ.ศ.2541-

2542) มีการประชาสัมพันธของการทองเที่ยวแหงประเทศไทยมีแคมเปญวา Amazing Thailand

คิดวาบริษัททัวรตาง ๆ นาจะนําเร่ืองดังกลาวพวงกับเร่ืองการซ้ือขายบริการทางเพศเขาไปดวย

สุดทาย เราก็อยากใหฝร่ังมาเที่ยวเมืองไทยอีกอยูดีเพียงแตรูปแบบไหน 1

2

                                                            

2 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 21 มกราคม 2556. 

Page 100: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

88

ภาพตอมา So Sorry for the inconveniences นั้นแมวาจะหางกันราวหกปกับสอง

ภาพแรกที่กลาวขางตน แตเห็นไดชัดวาศิลปนยังนําเสนอเร่ืองการไหวอยูเชนกัน ในภาพขาวดําของ

ศิลปนพนมมือ ทวาปากของศิลปนเทานั้นนั้นสีแดง แสดงเพศสถานะของศิลปนวาไมไดเปนผูชาย

อยางที่สังคมคาดหวัง เพราะการแตงหนาทาปากของผูชายนั้น หากไมไดอยูในบริบทของการแสดง

ละครแลวสังคมจะมองวาเปนเกยหรือรักเพศเดียวกัน นั่นหมายถึงสังคมจัดอยูในกลุมชายขอบ แต

ศิลปนกลาที่จะเปดเผยสูสาธารณะ สามารถตีความไดวาศิลปนไมอายและมีความภูมิใจที่ตัวเองมี

เพศสถานะดังกลาว

ภาพที่ 43 ไมเคิล เชาวนาศัย, So Sorry for the inconveniences [ภาพถาย], ขนาด 39.4 x

53.3 0.75 นิ้วเซนติเมตร, 2545.

ที่มา: Michael Radudai, Underconstruction New Dimensions of Asian Art Tokyo Opera

City Art Gallery (Tokyo: n.d.), 54.

นอกจากเร่ืองเพศสถานะแลวการพนมมือ และยิ้มเปนส่ิงที่เราสามารถพบเห็นไดทั่วไป

เปนวาทกรรมแบบหนึ่งที่สังคมไทยมักตอกย้ําเสมอวา การไหวเปนสวนหนึ่งของเอกลักษณไทย

อันยากที่จะมีชาติไหนเหมือน และแมศิลปนเปนผูยกมือไหวเปนผูกระทําเอง แตความจริงเราเปน

สวนหนึ่งของการถูกกระทํา เพราะสังคมหลอหลอมมาต้ังแตเด็กเร่ืองกิริยามารยาท การไปลามา

ไหว แตมาถึงยุคปจจุบัน บางคนเร่ิมสงสัยและต้ังคําถาม วาการไหวใชของคนไทยจริงหรือไม

นอกจากนี้ การไหวแบบขอไปทีของพนักงานหางรานที่เราใชบริการ ก็ทําใหเกิดการต้ังคําถามวา

จําเปนตองทําหรือไม และมันยังทรงคุณคาความงดงามเพียงใด

Page 101: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

89

ส่ิงที่นาสนใจอีกประการหนึ่งคือโปสเตอรดังกลาวนั้นไมไดติดใสกรอบเพื่อใหคนชม แต

ยังใหผูชมเขามามีสวนรวมอีกดวย ซึ่งพองกับแนวคิดหลังสมัยใหมที่ตองการทาทายกับคุณคาที่

เคยยึดถือกันมา การที่ศิลปนแจกจายภาพโปสเตอรนี้ใหผูชมในงานสามารถเติมแตงขีดเขียนอะไร

ก็ไดนั้นเปนการปฏิสัมพันธกับงาน และผลงานที่ตนวาดเติมแตงก็เปนของผูชมซึ่งนํากลับไปบานได

ราวกับผูชมเปนเจาของผลงานนั้นเอง ทําใหเกิดความพราเลือนระหวางผูสรางงานกับผูเสพงาน

ภาพที่ 44 ไมเคิล เชาวนาศัย,So Sorry for the inconveniences II [ภาพถาย], 2545.

ที่มา: Michael Radudai, Underconstruction New Dimensions of Asian Art Tokyo Opera

City Art Gallery (Tokyo: n.d.), 56.

โปสเตอรดังกลาวศิลปนไดนํามาใชแสดงนิทรรศการสามคร้ัง โดยคร้ังแรกเปนสวนหนึ่ง

ของนิทรรศการ ขออภัยในความไมสะดวกโดยกลุม Project 304 ในป พ.ศ.2544 คร้ังตอมาจัด

แสดง Under-construction ที่ Tokyo Opera City Art Gallery ป พ.ศ.2545 รวมทั้งเทศกาล

เวนิสเบียนนาเล คร้ังที่ 50 ในป พ.ศ. 2546

จากนั้นศิลปนก็นําเสนอเก่ียวกับความคิดเร่ืองชีวิตทั่วไปราวกับเปนชีวประวัติของ

ตนเอง คืองานที่มีการเขียนคําตาง ๆ อยูบนใบหนา และศีรษะอันโลนของเขา ศิลปนมีความ

คิดเห็นเกี่ยวกับการที่ใชคําตาง ๆ บนใบหนานี้วา

ตอนน้ันอายุราว ๆ ส่ีสิบ (ในปพ.ศ.2546 ปที่จัดแสดงงานศิลปนอายุ 39 ป) มีความอหังการ

สูงพอสมควร วาเราก็เปนคนท่ีมีความสามารถ จบเมืองนอกมา ตอนน้ันอยากจะพูดอะไรก็พูด

คราวน้ีมันก็มีความคิดหลายอยาง ผสมผสานปนเปกันไปหมด เพราะผานโลกมาเลยครึ่งชีวิตแลว

ยังไมตองการแตงหญิง เพราะรูสึกวาการเปนคนตัวใหญและมีจริตเปนผูหญิงมันดูขัดกันดีมัน

นาสนใจ (ศิลปนตองการใหเห็นความเปนหญิงท่ีอยูในรางกายของศิลปน เชน น้ําเสียง คําพูด

Page 102: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

90

ในขณะท่ีใสเส้ือผา กางเกงแบบผูชายทั่วไป ซึ่งศิลปนมองวามันนาสนใจกวาผูชายที่ใสกระโปรง

เส้ือผาผูหญิงแลวมีกิริยาทาทางเปนผูหญิง-ผูศึกษา) 3

ภาพที่ 45 ไมเคิล เชาวนาศัย, Henna1 [ภาพถาย], ขนาด 101.6 x 101.6 เซนติเมตร, 2545.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, Boderline, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2545), 6.

คําภาษาอังกฤษที่ปรากฏอยูบนใบหนาของไมเคิลดังภาพที่ 45 นั้นอยูทั่วใบหนาทั้ง

ซายและขวานั้นเปนขอความที่ตรงขามกัน มีบริเวณที่ตรงกลางไดแกคําวา RISK (เส่ียง) ศิลปน

มักจะต้ังคําถามเก่ียวกับศิลปะในความคิดของตนวามันเส่ียงเกินไปหรือเปลา หากลงทุนมาก แต

ไมมีใครซื้อผลงานเราเลย ถาทดลองแนวใหม ผูชมจะสนใจไหม SAFE (รักษา) ME (ฉัน) อยูเหนือ

ใกลระหวางค้ิวราวกับ จะบอกวาใหคอยคุมครองดูแล คําตอมาคือ FAME (ชื่อเสียง) ใตจมูกเหนือ

ริมฝปากบน ศิลปนตองการมีชื่อเสียงราวกับเปนลมหายใจ ไมวาจะรูตัวหรือไมก็ตาม ทั้งนี้

ชื่อเสียงที่ศิลปนตองการนั้นอยูใกลมาก แตศิลปนเองมองไมเห็น ตองสองกระจก หรือคนอ่ืนมอง

และคําสุดทาย ใตริมฝปากลาง มีคําวา WHORE (โสเภณี) ซึ่งศิลปนไดขยายความวา

ปากก็เปนทวารอยางหนึ่งสามารถใชในการรวมเพศได และโสเภณีอาจไมไดหมายถึงคนขาย

บริการทางเพศเพียงอยางเดียว เชนศิลปนนั้น ก็เปนโสเภณีในแง ขายความคิดสรางสรรค เพื่อเงิน

เปนผลตอบแทน3

4

                                                            

3 สัมภาษณ,ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 24 มิถุนายน 2555. 

4 สัมภาษณ,ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 24 มิถุนายน 2555. 

Page 103: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

91

ภาพที่ 46 ไมเคิล เชาวนาศัย, Henna2 [ภาพถาย], ขนาด101.6 x 101.6 เซนติเมตร, 2545.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, Boderline, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2545), 7.

ภาพที่ 47 ไมเคิล เชาวนาศัย, Henna3 [ภาพถาย], ขนาด 101.6 x 101.6 เซนติเมตร, 2545.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, Boderline, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2545), 8.

ผูศึกษาขอแสดงคําที่ปรากฏทั้งซาย และขวาของใบหนาโดยจําแนกออกเปนคูเพื่อให

เห็นภาพชัดข้ึนดังนี้

ซีกซาย ซีกขวา

TOMORROW (พรุงนี้) HISTORY (ประวัติศาสตร)

CURATORS (ภัณฑารักษ) DEALERS (ตัวแทนจําหนาย)

SEX (เพศ) MONEY (เงิน)

HIGH (สูง) LOW (ตํ่า)

GO (ไป) STOP (หยุด)

PRIDE (ความภูมิใจ) SHAME (ความอับอาย)

DEADLINES (เสนตาย) PROPOSALS (ขอเสนอ)

Page 104: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

92

BIENNIAL (ทุกสองปคร้ัง) TRIENNIAL (ทุกสามปคร้ัง)

KISS (จูบ) ASS (กน-คําแสลง)

YES (ใช) NO (ไม)

คําทั้งหมดที่กลาวขางตนนั้น สัมพันธกับสมองซีกซายและขวา สมองซีกซายนั้น

เกี่ยวกับการคิดเปนเหตุเปนผล การวิเคราะห คิดเปนข้ันเปนตอน เชน การคํานึงถึงวันพรุงนี้

อนาคต เราอาจจะตองวางแผน คิดเปนระบบ เปนข้ันเปนตอนวาเราจะทําอะไร สวนสมองซีกขวา

นั้นเปนเร่ืองจินตนาการ ความคิดริเร่ิมสรางสรรค การควบคุมอารมณ สําหรับประวัติศาสตร

เร่ืองราวอดีต เราอาจคิดสลับไปสลับมา ปที่แลว มาเปนเมื่อวานนี้ มันเปนส่ิงที่แตกกระจาย ซึ่ง

หากเราจะคิดเปนลําดับข้ันตามเสนเวลาก็ทําได มันก็จะเปนการประสานสมองทั้งซายและขวาใน

การทํางานอยางเปนระบบ ประมวลผลขอมูลออกมา ที่นาสนใจเปนพิเศษคือคําวา จูบกับกน นั้น

อยูใกลบริเวณปาก มีนัยเกี่ยวกับเร่ืองการมีเพศสัมพันธ และศิลปนใชคําวากน ก็บอกถึงรสนิยม

ทางเพศของศิลปน ซึ่งแสดงใหเห็นเดนชัดถึงอัตลักษณเกยที่ปรากฏในงาน

ภาพที่ 48 ไมเคิล เชาวนาศัย, Henna1 [ภาพถาย], ขนาด 101.6 x 101.6 เซนติเมตร, 2545.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, Boderline (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2545), 9

.

สวนดานหลังของศีรษะ ปรากฏคําเหลานี้ WHATEVER (อะไรก็ตาม) SPACE (ที่วาง)

ซึ่งเปนบริเวณของสมองสวนกลางมีหนาที่ควบคุมเกี่ยวกับการเคล่ือนไหวของนัยนตา ซึ่งหากเรา

เปนตามอง เราสามารถเห็นอะไรตาง ๆ มากมาย ทั้งใกลและไกล และบริเวณทายทอย LOVE (รัก)

HOME (บาน) DOG (สุนัข) MOM (แม) DAD (พอ) CAR (รถ) LOVER (คนรัก) FOOD (อาหาร)

Page 105: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

93

HEALTH (สุขภาพ) เพราะทั้งพอ แม สุนัข คนรัก เปนสวนหนึ่งของชีวิตและความจริงสามารถ

ตีความไดอีกอยางหนึ่งคือ คนเรานั้นบางครั้งมองอยูแตขางหนาอยางเดียว เราไมไดมองคนใหรอบ

ดาน ไมไดหันหลังมามองอีกดานหนึ่ง และในชีวิตประจําวันเรานั้น ก็ไมมีใครมาเขียนบนใบหนาวา

เราเปนใครคิดอะไรอยู ผูที่มาติดตอเรา มีความสัมพันธกับเราตางหากที่ไปแปะปายใหคนอ่ืน วา

คนนี้เปนอยางนั้นคนนั้นเปนอยางนี้ แตก็มีบางคร้ังสําหรับคนสนิทที่มองตาก็รูใจไดวาคิดอะไร

ผลงาน Henna (ภาพที่ 45 - 48) จัดแสดงในนิทรรศการ Borderline ที่หอศิลปวิทย

นิทรรศน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ต้ังแตวันที่ 1-28 ธันวาคม พ.ศ.2544 และอีกคร้ังใน

นิทรรศการ ฝนควาง กลาง ขัดแยง ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป ถนนเจาฟา 18-19

พฤษภาคม พ.ศ.2546

ภาพที่ 49 ไมเคิล เชาวนาศัย, Glad Day 1 [ภาพถาย], ขนาด 101.6 x 152.4 เซนติเมตร, 2545.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, ms@oas, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2545), 6.

ภาพที่ 50 ไมเคิล เชาวนาศัย, Glad Day 2 [ภาพถาย], ขนาด 101.6 x 152.4 เซนติเมตร, 2545.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, ms@oas, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2545), 7.

Page 106: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

94

ในป พ.ศ. 2545 ศิลปนยังคงนําเสนอเกี่ยวกับอัตลักษณที่มีความกํากวม เล่ือนไหล

กลาวคือภาพถายของศิลปนเองนั้นเปลือย แตทวานมและอวัยวะเพศน้ันถูกลบเลือนหาย ปกติเรา

มักจะตัดสินคนวาเปนเพศไหนตามหลักชีววิทยา ทําใหเราเกิดความไมแนใจวาศิลปนเปนเพศใด

กันแน ซึ่งตามหลักจิตวิทยาของฟรอยดนั้น คนเราเปนไบเซ็กชวล และทาทางของศิลปนเองที่ยิ้ม

แยม ทาทางเชิญเขามาสํารวจดูรางกายภายนอก ศิลปนไดแรงบันดาลใจจาก Glad Day ของ

William Blake ในการสรางสรรคผลงานดังกลาว

ตอนน้ันไปอังกฤษและดูภาพน้ี ประทับใจมาก วิลเลียม เบลค เขียนภาพผูชายเปลือยเปน

ตัวแทนของเทพองคหนึ่งชื่ออัลเบียน (Albion) เปนลูกของโพไซดอน (Poseidon) และนัยของภาพ

เปลือยนั้นมันแสดงถึงการเปดเผยทุกส่ิงทุกอยาง นอกจากนี้ยังมีการตีความกันวา ลักษณะการผาย

มืออยางนี้มันเปนการแสดงเสรีภาพอยางแทจริง และมีความสุข เราก็เลยนําภาพนี้มาปรับ เปน

ภาพเปลือยของเราเหมือนกัน แตเราไมมีนมและอวัยวะเพศใหดู ใหผูชมงานคิดเอง 4

5

ภาพที่ 51 วิลเลียม เบลค, Glad Day [ภาพพิมพ], แมพิมพโลหะแตงสี ขนาด 2.65 x 1.88

เซนติเมตร, 2339.

ที่มา: British Musuem, William Blake, accessed March 22, 2012, available from http://

www.britishmuseum.org

                                                            

5 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 20 มีนาคม 2555. 

Page 107: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

95

นอกจากการใชคําภาษาอังกฤษแลว ศิลปนยังใชอักษรจีนอีกดวย แตกลับไมไดปรากฏ

อยูบนในหนาหากแตเปนบ้ันทายของศิลปนแทน และต้ังช่ืองานเปนภาษาฝร่ังเศสความหมายตรง

กับอักษรจีนในภาพคือ 門 ออกเสียงวาเหมิน แปลวา ประตู และ 星 ออกเสียงวา ซิน แปลวา

ดวงดาว ดังภาพที่ 52 และ 53 ตามลําดับ โดยศิลปนเลือกใชสีแดงอันเปนสีมงคลตามความเช่ือ

ของจีน

ภาพที่ 52 ไมเคิล เชาวนาศัย, La Porte [ภาพถาย], ขนาด 101.6 x 152.4 เซนติเมตร, 2545.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, ms@oas (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2545), 8.

ภาพที่ 53 ไมเคิล เชาวนาศัย, L’ Etoile [ภาพถาย], ขนาด 101.6 x 152.4 เซนติเมตร, 2545.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, ms@oas (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2545), 9.

ประตูนั้นสามารถตีความไดหลายนัย เพราะหมายถึง ชองทาง หรือหนทางที่นําไปสู

ความสําเร็จก็ได และดวงดาวนั้นก็หมายถึงความสําเร็จ ความหวัง ความฝนก็ได ที่สําคัญ เรามอง

Page 108: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

96

ไมเห็นบ้ันทายของตัวเราเอง ตองสองกระจก หรือคนอ่ืนมองถึงเห็นและบอกไดวามีอะไรอยูขาง

หลังของเรา เชนเดียวกับที่เราดูงานประติมากรรมหากเปนรูปเหมือนของใครสักคนหรือเปน

อนุสาวรีย สวนใหญเราจะไมดูโดยรอบเรามักจะดูดานหนาวาหนาตาเปนอยางไร เปรียบไดวาเรา

ไมมองใหถวนถี่เพราะอาจทําใหเราคนพบความงามหรือมุมที่คนสวนใหญไมเห็นได หลายคร้ังเรา

ไมรูวามีชองทาง วิถีทางหรือความสําเร็จอยูกับตัวเรา แตเรามองไมเห็น ตองใหผูอ่ืนมาบอกแทน

นอกจากนี้ทวาร หรือประสาทสัมผัสตาง ๆ นั้นไมวารับรส กล่ิน เสียง สัมผัส และการเห็น ตางก็ทํา

ใหเรามีอารมณทั้งดีและไมดีไดทั้งสิ้น

ภาพ Glad Day 1, Glad Day 2, Port และ Etoile ที่กลาวมาทั้งหมดนั้นเปนสวนหนึ่ง

ของนิทรรศการเด่ียวช่ือ ms@oas จัดแสดงท่ีสีลมแกลอรี ระหวาง 14 กุมภาพันธ-14 มีนาคม พ.ศ.

2545

ภาพที่ 54 ไมเคิล เชาวนาศัย, เกย เก [จิตรกรรม], สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 50 x 60 เซนติเมตร,

2548.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, อภิมหาอมตะ ร.ศ.223, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก

0http://www.car.chula.ac.th/art/th/?page_id=309

ศิลปนใชคําวา gay หมายถึงชายที่ชอบเพศเดียวกันนั้น มาเติม y อีกตัวแลวผันเสียง

วรรณยุกตในแบบภาษาไทย อานวา เกย เกย เกย เกย เกย ศิลปนไดเลาความคิดเร่ิมแรกที่

สรางสรรคงานนี้วา

อยากทําเส้ือยืดขาย จึงคิดวาจะสกรีนคําวาอะไร ก็เลยนึกถึงคํานี้ แลวก็ผันเสียง เกย เกย

เกย เกย เกย จากนั้นเราก็อยากจะเอาเส้ือนี่ไปถามคนตามทองถนนวา เปนเกยหรือเปลา ถา

ยอมรับก็จะแจกเส้ือ เกยไป ถาเปนกะเทย ก็ไดเส้ือ เกย ถาเปนผูชายก็ใสเส้ือ เกย อยากใหคนเปน

เกยใส สวนคนท่ีตอบไมได กําลังคนหาตัวเองอยู หรือไมอยากเปดเผยวาชอบทั้งสองเพศอะไร

Page 109: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

97

หรือไม เราก็จะใหเขาเลือกวาจะเอาคําวา เกย หรือ เกย ในความหมายของเราคือ เขากําลังเก ๆ กัง

ๆ กําลังคิดอยูวาจะเอาอยางไรกับชีวิต ซึ่งไดทําสองตัวและนํามาใชในภาพยนตรการผจญภัยของ

Iron Pussy ภาคที่สอง Banzai Chaiyo (ป พ.ศ. 2542) และท่ีเปนอังกฤษปนไทย เพราะเราชอบ

เลนกับภาษา สนุกดีอยากเปนนายภาษา 6

ภาพที่ 55 ไมเคิล เชาวนาศัย, He กับ Yet [จิตรกรรม], สีน้ํามันบนผาใบ ขนาดภาพละ 50 x 60

เซนติเมตร, 2548.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, อภิมหาอมตะ ร.ศ.223, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก

1http://www.car.chula.ac.th/art/th/?page_id=309

ภาพที่ 56 ไมเคิล เชาวนาศัย, Qua ว y [จิตรกรรม], สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 50 x 60 เซนติเมตร,

2548.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, อภิมหาอมตะ ร.ศ.223, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก

2http://www.car.chula.ac.th/art/th/?page_id=309

                                                            

6 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 2 พฤษภาคม 2555. 

Page 110: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

98

ผูศึกษาคิดวา คําในภาพที่ 55 และ 56 นั้นคอนขางแรงมาก และเปนคําหยาบ ไม

สุภาพในสังคมไทย แตถึงกระนั้น หลายคนอาจจะไมเขาใจก็ได เพราะมีสระ หรือพยัญชนะไทยปน

กับภาษาอังกฤษ

ศิลปนนําคําวา He แปลวาเขาผูชาย มาใสวรรณยุกตจัตวา ทําใหออกเสียงเปนคําเรียก

อวัยวะเพศหญิงวา “หี” และ Yet แปลวา ยัง ตราบจนบัดนี้ ซึ่งมีหลายความหมาย นํามาใสไมไตคู

ซึ่งออกเสียงในภาษาไทยวา “เย็ด” จะมีความหมายถึงการมีเพศสัมพันธกัน และสะกดคําวา “ควย”

ซึ่งเปนอวัยวะเพศชายดวยการถอดเสียงเหมือนภาษาคาราโอเกะ แตมีพยัญชนะไทยแทรกดวย

ซึ่งจะเห็นไดวาคําทั้งสามนั้นมีความกํากวมเกี่ยวกับผูชายอยูพอสมควร อวัยวะเพศ

ชาย การรวมเพศ อาจตีความไดวาศิลปนนั้นรักและชอบเพศชาย ในขณะเดียวกันตัวเองก็มีอวัยวะ

เพศดังกลาวเหมือนกับผูชาย และการที่ He ผันเสียงวรรณยุกตไปเปนเสียงที่พองกับอวัยวะเพศ

หญิงอาจตีความไดวาศิลปนกําลังส่ือเร่ืองการลื่นไหลของเพศสถานะ ดังศิลปนใหสัมภาษณวา

ตอนนั้นหมกมุนเร่ืองเพศ และตองการนําเร่ืองน้ีเปนพลังสรางสรรค ชอบแตงหญิงมีความ

เปนผูหญิงอยูสูง ชอบผูชายเพราะฉะนั้นนาจะมีอะไรที่พูดถึงผูชายบาง เพศอื่นบาง ก็เลยผานการ

ใชคําแทน และคํามันก็สัปดน ทะล่ึงและหยาบโลนมาก เราก็แปลงมันเปนลูกผสมซะ ใชทั้งไทยและ

อังกฤษเชนเคย อยางคําวา He ออกเสียง ฮี ก็ผันเสียงวรรณยุกตเปนอวัยวะเพศหญิงมันสนุกดี

คิดถึงกะเทยอันดับแรก เพราะกะเทยสมัยนี้สวยมาก ตกลงเปนผูหญิงหรือผูชาย ผาตัดหรือยัง อะไร

หลายอยาง รูสึกวามันล่ืนไหล มองวาทั้งภาษาและเพศมันผันแปร เปล่ียนแปลงได และยุคสมัย

เปล่ียนความคิดมันก็เปล่ียน และการใชเสียงในภาษาไทยเปนหลักเพราะมันชัดดี พยางคเดียว

เขาใจเลยวาหมายถึงอวัยวะเพศอะไร สนุก และสังคมไทยเองก็มือถือสากปากถือศีล เร่ืองในมุงทํา

ไดแตหามพูด มันดูเหมือนจะเปดกวางแตก็ไมใช มีอะไรไมดีเราก็โทษฝร่ังหมด ก็ใหมันดูม่ัว ๆ

เหมือนอักษรในงานดังกลาว6

7

ผลงานที่กลาวมาขางตน จัดแสดงในนิทรรศการอภิมหาอมตะ ร.ศ. 223 ระหวางวันที่

25 มกราคม – 28 กุมภาพันธ พ.ศ.2548 ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ในหัวขอนี้ศิลปนนําเสนอเร่ืองเพศสถานะกับอัตลักษณของศิลปนเองโดยเปดเผยวา

ตัวเองรักเพศเดียวกัน เปนเกยอยางเห็นไดชัดผานภาพถาย ประเด็นเร่ืองอัตลักษณนั้น มีความ

เชื่อมโยงกับเร่ืองเพศสถานะ เพื่อต้ังคําถาม หยอกลอกับวาทกรรมของสังคมสวนใหญคนกลุมนอย

อันเปนกลุมชายขอบของสังคมตองการจะโตกลับ เชน งานที่ลบหัวนมและอวัยวะเพศออก เปนการ

                                                            

7 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 2 พฤษภาคม 2555. 

Page 111: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

99

ต้ังคําถามกับเร่ืองเพศสถานะเองดวยซํ้า วาเราตองการดูจากอะไรวาคนเราเปนเพศไหน อีกทั้งการ

ที่ศิลปนศีรษะโลนมานั้นก็ดูขัดกับความรูสึกของหลายคนที่วาเกยหลายคนจะไวผมยาว โกรกสีผม

ที่ดูจัด แตงกายดวยเส้ือผาหรือแฟช่ันที่โดดเดน สะดุดตา แตภาพในงานชุดนี้เปนภาพของศิลปนที่

ไมมีเส้ือผาใด ๆ นั้นศิลปนตองการสื่อเกี่ยวกับการเมือง เพศสถานะ ผานรางกายโดยตรง

เพศสถานะกับศาสนา เพศสถานะเปนส่ิงที่เชื่อมโยงกับชีวิตของคนแตละคนวามีบทบาททางเพศอยางไร ซึ่ง

เปนส่ิงที่สังคมและวัฒนธรรมคอยหลอหลอม ศาสนาก็เปนสวนหนึ่งของสังคมที่มีอิทธิพลตอคน

จํานวนมาก ผูศึกษาคิดวาศิลปนมีความนาสนใจในการส่ือความคิดผานเร่ืองเพศสถานะและ

ศาสนาไปพรอม ๆ กัน

ผลงานที่นาสนใจและเปนที่กลาวขวัญกันมากในป พ.ศ.2543 ทําใหหลายคนรูจัก

ไมเคิล เชาวนาศัยทั้งแงบวกและลบในประเทศไทยคือผลงานที่ไมเคิลสวมบทบาทเปนพระ

ภาพที่ 57 ไมเคิล เชาวนาศัย, Portraits of a Man in Habits#1 [ภาพถาย], ขนาด 40 x 152

เซนติเมตร, 2543.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, Alien {gener}ation, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก http://

www.car.chula.ac.th/art/th/?page_id=2804

Page 112: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

100

ภาพที่ 58 ไมเคิล เชาวนาศัย, Portraits of a Man in Habits#2 [ภาพถาย], ขนาด 40 x 152

เซนติเมตร, 2543.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, Alien {gener}ation, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก http://

www.car.chula.ac.th/art/th/?page_id=2804 ศิลปนเขียนค้ิวเขม แตงหนาทาปาก บงบอกถึงเพศที่ตรงขามกับสมณเพศ (การถือ

ครองจีวรของสงฆ) อยางมาก อีกทั้งยังมีผาเช็ดหนาลายการตูนสีชมพูอยูในมืออีกดวย และไม

สามารถตีความวาไมเคิลกําลังสวมบทบาทเปนภิกษุณี เนื่องจากในบริบทของผูที่บวชนั้น ไม

สมควรที่จะแตงหนาใด ๆ ทั้งส้ิน จากงานดังกลาวสามารถตีความเร่ืองเพศสถานะหญิงที่อยูในราง

ชาย ในกรณีนี้คือความเปนกะเทยซ่ึงไมเคิลแตงหนาทาปากขัดกับวินัยสงฆ

นอกจากนี้ผาเช็ดหนาสีชมพูนั้นแสดงถึงความเปนเพศหญิง ศิลปนตองการต้ังคําถาม

กับกฎระเบียบ ประเพณีที่ปฏิบัติกันมาชานาน ซึ่งในที่นี้หมายถึงพุทธศาสนา ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ

ระบบผูชายเปนใหญ เรามักจะไมต้ังคําถามกฎเกณฑทั้งหลาย วามีจุดประสงคอันใดที่สรางกฎ

เหลานี้ข้ึนมา

ภาพผลงานขางตนนี้จัดแสดงในนิทรรศการ alien{gener}nation ที่หอศิลปวิทย

นิทรรศน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยต้ังแตวันที่ 3-30 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งภาพนี้ไดปรากฏ

เปนขาวในหนังสือพิมพพิมพไทย ฉบับวันที่ 9 พฤษภาคม ปเดียวกัน ทําใหเกิดกระแสการตอตาน

มากมายจากพุทธศาสนิกชน จนทางผูจัดนิทรรศการนั้นตองมวนภาพดังกลาวข้ึน ในวันที่ 10

พฤษภาคม ไมสามารถชมไดอีก ทางศิลปนไดทราบเร่ืองดังกลาวและไดนําภาพ Portraits of a

Man in Habits#2 (ภาพที่ 58) มาติดต้ังแทน ศิลปนในภาพตามองลงตํ่า ราวกับสํานึกผิด เปน

ภาพที่แสดงถึงผูชายเพิ่งสึก เปนสมี อันหมายความวา คนที่ถูกไลสึกจากพระ อันตองอาบัติ

Page 113: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

101

ปาราชิก และไมสามารถบวชไดอีกไปตลอดชีวิต7

8 แมจะแตงตัวเปนผูชาย สวมนาฬิกาแบบผูชาย มี

ผาเช็ดหนาสีน้ําเงินเปนสัญลักษณเนนความเปนผูชาย ถึงกระนั้นก็ไมไดลางเคร่ืองสําอางออก

หากใครไดไปชมงานนิทรรศการจริงทั้งสองภาพ กอนและหลังที่ขาวปรากฏใน

หนังสือพิมพ จะทราบวาภาพทั้งสองขนาดนั้นแตกตางกัน ภาพที่ศิลปนหมจีวรนั้นมีขนาดคอนขาง

ใหญ มีผลตอผูชมอยูพอสมควร และขนาดภาพที่เล็กลงหลังจากเกิดการประทวงแสดงความไม

พอใจนั้น ก็ตีความไดวาศิลปนต้ังใจที่จะใหภาพแสดงดูไปทางเศรา สํานึกผิด และเปนผูถูกกระทํา

จากสังคมที่มองผลงานในทางลบ มีผาเช็ดหนาสีน้ําเงิน และนาฬิกาแทนความเปนผูชายแทรกอยู

ในภาพ ราวกับศิลปน หรือคนที่เปนเกยนั้นควรจะทําตามกฎระเบียบเพื่อความเรียบรอยของ

สวนรวมนั่นเอง

อาจกลาวไดวาไมเคิล เชาวนาศัยเปนศิลปนเกยคนแรก ๆ ที่เปดเผยตอสาธารณะชนใน

วงการศิลปะ และศิลปนไดกลาวถึงแนวคิดเกี่ยวกับการแสดงงานช้ินนี้เกี่ยวกับการต้ังคําถามเร่ือง

ขอหามในการบวช กลาวคือ หนึ่งในขอหามบุคคลมิใหบวชคือ บัณเฑาะกวา

เหตุใดถึงหามบวช หากบุคคลนั้น ๆ ตองการทําความดี และบวชแทนคุณบิดามารดา อีกทั้ง

แสดงใหเห็นถึงทวิมาตรฐาน เนื่องจากหลายคนเปนเกยแตสามารถแสดงเพศสถานะใหสํารวมดู

เปนชาย ก็สามารถบวชไดแตพอพิธีอุปสมบทเสร็จส้ินแลว ก็สามารถแสดงความเปนผูหญิงของตน

ไดเปดเผยได และไมตองถูกจับใหสึก 8

9

และขาวกรณีพระ สามเณร หมจีวรไมถูกตามแบบ หรือเสพเมถุนกับเพศเดียวกันหรือ

ตางเพศปรากฏเปนขาวอยูเสมอ นอกจากศิลปนจะแสดงอัตลักษณเกยของตนแลวตองการสะทอน

สังคมไทยในเร่ืองเพศกับศาสนาอีกรูปแบบหนึ่ง

แมวาศิลปนนับถือศาสนาพุทธ แตศิลปนก็มีงานสรางสรรคที่ใชเคร่ืองหมายที่เปน

สัญลักษณของศาสนาตาง ๆ มาส่ือความคิดเร่ืองเพศสถานะกับศาสนาอีกดวยดังผลงาน ผูหญิงใน

เส้ือลายดอกกุหลาบ

                                                            

8 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (กรุงเทพฯ :

นานมีบุคสพับลิเคช่ันส, 2546), 1131. 

9 สัมภาษณ, ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 15 มกราคม 2555. 

Page 114: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

102

(1) ศาสนาอิสลาม (2) ศาสนายิว

(3) ศาสนาพุทธ (4) ศาสนาคริสต

ภาพที่ 59 ไมเคิล เชาวนาศัย, ชุด ผูหญิงในเสื้อลายดอกกุหลาบ Girl in A Rose Blouse

[ภาพถาย], ขนาดภาพละ 101.6 x 101.6 เซนติเมตร, 2548.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย,อภิมหาอมตะ ร.ศ.223, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก

5http://www.car.chula.ac.th/art/th/?page_id=309

ภาพชุดนี้ศิลปนไดนําเสนอเร่ืองผูหญิงและศาสนาทับซอนกัน อยางนาสนใจ กลาวคือ

ดอกกุหลาบสีแดงที่เปนลายเส้ือนั้นมีนัยถึงความหยิ่งผยอง 9

10 และมีสรอยแทนสัญลักษณของ

ศาสนาตาง ๆ กันคือ หอยพระ (เปนสัญลักษณแทนศาสนาพุทธ) ไมกางเขน (สัญลักษณแทน

ศาสนาคริสต) ดาวเดวิด (สัญลักษณแทนศาสนายิว) และผาคลุมศีรษะหรือเรียกวา ฮิยาบ

(สัญลักษณศาสนาอิสลาม) สีหนาการหลับตาและทําปากนั้นมีนัยแสดงอารมณทางเพศ

                                                            

10 จอรจ เฟอรกูสัน, เครื่องหมายและสัญลักษณในคริสตศิลป, แปลจากSign and

symbols in Christian Art, แปลโดย กุลวดี มกราภิรมย (กรุงเทพมหานคร: อมรินทร, 2553), 42-

43. 

Page 115: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

103

ผูศึกษาสามารถตีความศาสนาในแงเพศสถานะชายเนื่องจากอํานาจผูชายเปนใหญ

นั้นครอบคลุมไปทั้งโครงสรางสังคม และศาสนาเองก็เปนเคร่ืองมืออยางหนึ่งในการครอบงําผูหญิง

รวมถึงอารมณความรูสึก ผูหญิงที่ดีตามแนวคิดของปตาธิปไตยนั้น ไมควรจะพูดถึงความปรารถนา

เร่ืองเพศ และเปนเพียงวัตถุทางเพศของผูชาย แตศิลปนไมไดแสดงหนานิ่งเฉย สงบ ดูสุขุมเยือก

เย็นอยางที่เราเห็นภาพของนักบวชในแตละศาสนามักจะปรากฏลักษณะดังกลาว ไมเคิลกลับ

แสดงหนาตามีนัยวามีความสุขทางเพศอยางเปดเผย ประหนึ่งวาไมยอมอยูภายใตกฎของศีลธรรม

ตาง ๆ เปนตนวา อารมณเปนส่ิงที่ไมดี เราควรใชเหตุผลในการตัดสินใจมากกวา รวมทั้งเร่ืองความ

ใคร ความตองการทางเพศ เราควรระงับหรือควบคุมจิตใจใหมาก และความจริงเราไมควรตัดสิน

คนเพียงแตภายนอก แมวาผูหญิงในภาพอาจเปนคนไมดี มีความตองการทางเพศ หรือมีกิเลส

ตัณหาอ่ืน ๆ นั้นก็สามารถยึดเหน่ียวศาสนาและความเชื่อของตนได ไมไดหมายความวาคนที่มี

ความประพฤติไมดีจะตองเปนคนเลวเสมอไป แตถึงกระนั้นผูหญิงอยูในสถานะที่ตางจากผูชาย

เพราะสังคมสวนใหญตองการใหผูหญิงเก็บอารมณความปรารถนาทางเพศไว ในขณะเดียวกัน

ผูชายสามารถปลดปลอยและใชบริการทางเพศไดมากกวา

ศิลปนไดแรงบันดาลใจในการสรางสรรคงานชุด ผูหญิงในเส้ือลายดอกกุหลาบ มาจาก

งานThe ecstasy of St. Teresa ของแบรนีนี (Bernini) ซึ่งมีนักวิชาการจํานวนมากใหความเห็น

วาทาทางของเซนตเทเรซานั้นกําลังถึงจุดสุดยอดทางเพศ10

11

ภาพที่ 60 แบรนินี, The ecstasy of St.Teresa, [ประติมากรรม], หินออน 3 มิติ 150 เซนติเมตร,

2095 (ค.ศ.1652).

ที่มา: Smarthistory, Bernini, accessed September 2, 2011, available from http://smarthistory.

khanacademy.org/bernini-ecstasy-of-st.-theresa.html                                                             

11 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 7 กุมภาพันธ 2555. 

Page 116: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

104

นอกจากนี้ศิลปนยังสะทอนแนวคิดเร่ืองผาคลุมหนา สามารถเช่ือมโยงกับอัตลักษณ

ทางการเมืองเร่ืองเพศเปนอยางยิ่ง ดังเชนเหตุการณในยุโรปที่เห็นไดชัดคือกฎหมายมหาชนของ

ฝร่ังเศสฉบับลงวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2547 ระบุวาการแสดงออกทางศาสนาใด ๆ ในอาณาเขตรฐั

เปนเร่ืองผิดกฎหมายสาเหตุหนึ่งคือเร่ืองความปลอดภัย เพราะการคลุมหนานั้นทําใหเราไมทราบ

วาเปนผูหญิงหรือชาย อีกทั้งสามารถซุกซอนอาวุธไดอีกดวย 1 1

12 และผาคลุมศีรษะน้ันสามารถ

ตีความไดวา กดข่ีทางเพศ, แสดงความศรัทธาในศาสนา หรือแสดงอัตลักษณทางเพศหญิงก็ได ถึง

กระน้ันก็มีการแสดงความเหลื่อมลํ้าถึงสภานภาพของผูหญิงอยูในบางสังคมดวยเชนกัน กลาวคือ

สังคมของมุสลิมบางแหงนั้นผูหญิงช้ันกลางในเมืองเทานั้นที่ตองคลุมศีรษะตามธรรมเนียม ขณะที่

ชนชั้นลางที่ทํางานกลางแจงนั้นกลับไมตองพรางใบหนา นั่นหมายความวา ในความเปนเพศ

สถานะเดียวกันก็มีการแบงชนช้ันของสังคมอยูดวย

นอกจากนี้ฮิยาบยังแสดงความยอนแยงดังที่เกิดข้ึนในประเทศฝร่ังเศสออกกฎหมาย

หามใสผาคลุมหนา ซึ่งชาวมุสลิมในประเทศฝร่ังเศสนั้นตองการจะใสผาคลุมหนาแตกฎหมายหาม

และลงโทษปรับ แตในขณะที่ชาวมุสลิมในประเทศอิหรานไมตองการใสผาคลุมหนาตอสูเรียกรอง

ใหยกเลิกกฎหมายบังคับใหใสผาคลุมหนาในที่สาธารณะ12

13

ซึ่งเห็นไดวา สัญลักษณที่เกี่ยวกับเพศหญิงในที่นี้คือผาคลุมหนาสามารถเปลี่ยนแปลง

ได ไมแนนอน ข้ึนอยูกับบริบทของสังคมและกาลเวลาท่ีจะใหคุณคาหรือความหมายของมัน

ในปพ.ศ. 2551 ศิลปนไดสรางผลงานชุด Four Positions of Divina อาจมองไมเห็น

เดนชัดวาเกี่ยวของกับแนวคิดทางศาสนาแฝงอยูจากภาพแตคาดเดาไดจากช่ือผลงาน ในงานชุดนี ้

ไมเคิลไดแตงกายเปนหญิงผานอากัปกิริยาส่ีแบบ คือ นอน กาว นั่ง และยืน

                                                            

12 ปาลีรัฐ ศรีวรรณพฤกษ, ศาสนา-ความเช่ือ : การแสดงออก และการยอมรับใน

มุมมองกฎหมายฝรั่งเศส, เขาถึงเมื่อ 21 มกราคม 2556, เขาถึงไดจาก http://www.pub-law.

net/publaw/view.aspx?id=765 

13 มุกหอม วงษเทศ, เลนแรแปรธาตุ (กรุงเทพฯ: มติชน ,2549), 351-353. 

Page 117: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

105

(1) La Naissance (2) La Viellesse

(3) La Maladie (4) La Mort

ภาพที่ 61 ไมเคิล เชาวนาศัย, Le Cirque de l’ homme [ภาพยนตร], 2551. ที่มา: Mongkol Shaowanasai, Four Positions of Divina [CD-ROM] (Bangkok: Kick the Machine, 2008).

ผลงานชุด Four Positions of Divina นี้เปนสวนหนึ่งของภาพยนตรเร่ือง Le Cirque de l’ homme (ความยาว 18 นาที) ศิลปนสรางผลงานในปพ.ศ. 2551 ในขณะที่ถายทํานั้นก็บันทึกทั้งในรูปแบบภาพนิ่งในบางฉากและถายเปนภาพยนตรบันทึกลงดีวีดี ชื่อภาพยนตรนี้เปนภาษา

ฝร่ังเศสมีความหมายวา ละครสัตวแหงมนุษย ทั้งนี้คําวา “Cirque” ในบางกรณีสามารถหมายถึงความวุนวายสับสนไดอีกดวย ผูศึกษามีความคิดเห็นวา งานชุดนี้ศิลปนไดหยิบประเด็นเร่ืองความเปนมนุษยมากลาว โดยไมไดยึดติดกับเพศสถานะใด ๆ กลาวคือ ภาพทั้งส่ีนั้นเปนตัวแทนของ เกิด แก เจ็บและตาย ซึ่ง

ผูชมจะไดทราบจากชื่อตอนที่ค่ันอยูในภาพยนตร Act I La Naissance (ภาษาฝร่ังเศส แปลวา การเกิด) ไมเคิลนอนจินตนาการฝนถึงคนที่ตัวเองรัก นั้นหมายถึงการเกิดอารมณ รวมถึงเช่ือมโยงวา การมีอารมณทางเพศ รวมทั้งการมีเพศสัมพันธกับคนที่เราใฝฝนก็สามารถนําไปสูการมีบุตรได มีฉากที่ไมเคิลนั้นทําทาสูบกัญชาดวย

ซึ่งทําใหเกิดจินตนาการตาง ๆ ไปไดมากมาย

Page 118: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

106

Act II La Viellesse (ภาษาฝร่ังเศส แปลวาความแก) ไมเคิลใสชุดที่มีลายเปนผลงาน

ศิลปะของมงเดรียน (Mondrian) เดินไปตามทองถนน ผานผูคน รถ ตามทอองถนน รวมทั้งรานรวง

ตาง ๆ ตีความไดวา การเดินของศิลปนนั้นก็เหมือนทางเดินชีวิต ที่คนแกนั้น ผานโลกมากกวาคน

หนุมสาว

Act III La Maladie (ภาษาฝร่ังเศส แปลวา โรค) มีผาผูกตาศิลปน มัดมือมัดเทาดวย

ผาสีแดง อาจตีความไดวา การที่มีผามามัดตามสวนตาง ๆ นั้นจึงทําใหทําอะไรตอมิอะไรไมสะดวก

ผาสีแดงที่มัดดังกลาวจึงนาจะเปนสัญลักษณที่หมายถึงโรค หรือนัยเกี่ยวกับกิเลสตัณหาไดอีกดวย

Act IV La Mort (ภาษาฝร่ังเศส แปลวา ความตาย) ไมเคิลแตงตัวแบบผูชายคือใสเส้ือ

แขนยาว ใสกางเกง ถือปน มีผาคลุมศีรษะ ในเร่ืองนี้มีตอนนี้ตอนเดียวที่เปนภาพขาวดํา มีเสียงยิง

ปนดัง 5 นัด แลวภาพก็ตัดมาเปนไมเคิลเหมือนเดิม อาจตีความไดวา ศิลปนกําลังฆาอัตตาของ

ตัวเองก็เปนได

หากผูใดไมเคยชมภาพยนตร อาจตีความวา เปนภาพของศิลปนที่ นอน เดิน นั่ง และ

ยืน ส่ีอิริยาบถราวกับบอกวาคนเราก็ทําอะไรท่ีเหมือน ๆ กัน แตทาทางกิริยาตางกัน เชน บางคน

เดินชา บางคนชอบนอนตะแคง เปนตน ศิลปนไดแนวคิดจาก พระพุทธรูปที่มีปางตาง ๆ กัน จึงมา

คิดถึงอากัปกิริยาของคนธรรมดา ซึ่งเราตางก็ตองเกิด แก เจ็บ ตาย ทั้งนั้น

ผลงานในชุดตอมาศิลปนนําเสนอเร่ืองความไมเที่ยง อันเปนแนวคิดที่เชื่อมโยงกับ

ศาสนาพุทธอีกเชนกัน โดยเนนความเปนอนิจจัง ทุกข และความไมมีตัวตน

(1) ตูม (2) เตงตึง (3) ตองแตง

ภาพที่ 62 ไมเคิล เชาวนาศัย, Three Ages of Woman [จิตรกรรม], ขนาดภาพละ 80 x 90

เซนติเมตร, 2553.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, Woman (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2553), 10-12.

Page 119: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

107

ผลงานศิลปนชุด Three Ages of Woman เปล่ียนส่ือที่ใชเสนอจากที่นิยมใชรูปถาย

เปนภาพวาดสีน้ํามันบนผาใบสามภาพ แทนศิลปนสามวัย คือวัยแรกรุน วัยสาว และวัยชรา ซึ่ง

ผูชมจะสังเกตจากดอกบัวที่ทัดหูในภาพ ก็สอดคลองกันคือ วันแรกรุนนั้นดอกบัวกําลังตูม และเร่ิม

มีหนาอก ถัดมาเปนวัยสาว นมเตงตึง และดอกบัวกําลังบานสะพร่ัง สุดทายวัยชรา นมหยอนยาน

และดอกบัวก็กําลังแหงเหี่ยว ดอกบัวนั้นสามารถแสดงถึงชวงวัยได และเปนสัญลักษณทางปญญา

ในพุทธศาสนาไดอีกดวย ผูศึกษาคิดวาศิลปนตองการเสนอแนวคิดทางศาสนามากกวา แมวาจะ

ในรูปจะเปนเพศหญิง แตก็สามารถเชื่อมโยงความแหงเหี่ยว เปล่ียนแปลงไปตามวันเวลา กัน

ทั้งหมดไมวาเพศสถานะใดก็ตาม

ผลงาน Three Ages of Woman จัดแสดงท่ีนําทอง แกลอรี ชั้น 2 หอศิลปวัฒนธรรม

แหงกรุงเทพมหานคร ระหวางวันที่ 7-10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ศิลปนไดสรางสรรคงานที่เกี่ยวกับเพศสถานะกับศาสนาไดอยางดียิ่ง ซึ่งชวงแรกจะเปน

เร่ืองของเพศสถานะกํากวม หรือการขามเพศซึ่งเชื่อมโยงกับศาสนา อีกทั้งเปนการวิพากษสังคมไป

ในตัว ตอมาเปนตัวแทนของผูหญิงหรือกะเทย ที่อยูในสถานะที่ตํ่ากวาชาย และย่ิงชวยขับเนนวา

อยูในระดับที่ตํ่ากวาเมื่ออยูในบริบทของศาสนา และอีกหลายปตอมาศิลปนใชหลักธรรมทาง

ศาสนามาเปนแนวคิดหลัก แมวาจะนําเสนอภาพตัวเองเปนเพศหญิงอยูแตสามารถนําไปใชไดกับ

ทุกเพศสถานะ

เพศสถานะกับบทบาทผูหญิง เพศสถานะท่ีสังคมสรางกรอบใหผูหญิงนั้น ยอมวางบทบาทหนาที่ของผูหญิงที่ดีวา

เปนอยางไร ไมวาจะเปนบทบาทของการเปนแม ภรรยา การรักนวลสงวนตัว การแตงงาน โดย

ศิลปนตองการทาทายและกระตุนใหผูชมคิดถึงเร่ืองดังกลาว โดยตัวอยางแรกคือผลงาน กุหลาบ

จามุน 1 3

14 นั้นศิลปนไดแรงบันดาลใจจากการที่ไดรับเชิญไปพํานักในอินเดีย ซึ่งที่นั่นมีระบบวรรณะ

ทั้งส่ีไดแก พราหมณ กษัตริย แพศย ศูทร อยางชัดเจนและแนนอน บทบาทของเพศชายและ

วรรณะยอมมีความสําคัญสูงกวาเพศหญิง

                                                            

14

กุหลาบจามุนหรือกุหลาบยามุนเปนชื่อขนมหวานชนิดหนึ่งของอินดีย 

Page 120: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

108

ภาพที่ 63 ไมเคิล เชาวนาศัย, กุหลาบจามุน 1 [ภาพถาย], ขนาดภาพ 101.6 x 101.6 เซนติเมตร, 2541.

ที่มา: Mongkol Shaowanasai, Rose [CD-ROM] (Bangkok: Kick the Machine, 1998).

ภาพที่ 64 ไมเคิล เชาวนาศัย, กุหลาบจามุน 2 [ภาพถาย],ขนาดภาพ 101.6 x 101.6 เซนติเมตร,

2541. ที่มา: Mongkol Shaowanasai, Rose [CD-ROM] (Bangkok: Kick the Machine, 1998). ในผลงาน กุหลาบจามุน ไมเคิลแตงกายเปนหญิงแขกมีผาคลุมผม เคร่ืองประดับและลายผาของอินเดียซ่ึง ตองการสะทอนเร่ืองเพศหญิงที่อยูในสถานะที่ดอยกวาผูชาย และสังคมอินเดียก็มีระบบชั้นวรรณะที่เห็นความเหล่ือมลํ้าตํ่าสูงของคนในสังคมอยูแลว และกะเทยในสังคมอินเดีย หรือที่เรียกวา ฮิจระ (Hijra) โดยคนกลุมนี้จะแตงหนาทาปาก ใสเคร่ืองแตงกายแบบผูหญิง ฮิจระอยูในสภาพที่ลําบากไมไดรับการยอมรับจากสังคม ปกติจะเลี้ยงชีพโดยการเตนรํา รองเพลง ขอทาน มิฉะนั้นไปตามงานร่ืนเริงตาง ๆ แมไมไดรับเชิญแตก็ยังไปรวมงานเพื่อแสดงและขอเงินจากเจาภาพ14

15 ซึ่งไมเคิลเลาวา พวกฮิจระนี่เองที่เปนคนชวยแตงหนาใหศิลปน15

16                                                             

15 ใบเตย [นามแฝง], ฮิจรา, เขาถึงเมื่อ 1 มีนาคม 2555, เขาถึงไดจาก http://learning

pune.com/?p=11839  

16 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 5 มีนาคม 2555. 

Page 121: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

109

ศิลปนไดชื่อผลงานงานจากช่ือขนมชนิดหนึ่งของอินเดีย งานดังกลาวแสดงที่ศูนย

วัฒนธรรมรัสเซีย ณ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ป พ.ศ.2541

แมวาในผลงานกุหลาบจามุนนี้ ศิลปนแตงเปนผูหญิงที่มีผาคลุมสวยงาม มี

เคร่ืองประดับราวกับเปนชนช้ันกลางหรือสูง ซึ่งแสดงใหเห็นวาผูหญิงดวยกันเองนั้นก็มีชนชั้น มี

ลําดับข้ันสูงตํ่าไมตางจากระบบวรรณะของอินเดียเอง หรือหากมองศิลปนเปนกะเทย (เนื่องจาก

ผูชมสามารถพบศิลปนไดในงานและเมื่อเทียบกับรูปผลงานของศิลปนที่แสดงอยู) ผูชมอาจมอง

ศิลปนวาเปนฮิจระคนหน่ึงก็ได แตเปนฮิจระที่ตางจากคนสวนใหญ คือรํ่ารวยและแตงตัวสวยมี

เคร่ืองประดับอยูบนศีรษะ ทั้งเปนการนําเสนอเพศสถานะหญิงของอินเดียและรวมถึงกะเทย (หรือ

ฮจิระ) ไปในตัว วาเปนสถานะที่ตํ่ากวาผูชายดวยประการทั้งปวง 7 ป ตอมาไมเคิลไดนําเสนอเพศ

สถานะกับบทบาทของผูหญิงในสังคมไทยผานผลงานชุด ผูหญิงในอุดมคติ

(1) นักเรียน (2) นางงาม (3) บัณฑิต

(4) แตงงาน (5) ทายาท (6) บวช

ภาพที่ 65 ไมเคิล เชาวนาศัย,ชุด ผูหญิงในอุดมคติ Never Ending Story [ภาพถาย], ขนาด

ภาพละ 101.6 x 152.4 เซนติเมตร, 2548.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, อภิมหาอมตะ ร.ศ.223, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก

6http://www.car.chula.ac.th/art/th/?page_id=309

Page 122: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

110

ศิลปนสวมบทบาทเปนผูหญิงต้ังแตเด็กนักเรียน รับปริญญา แตงงานมีลูก (ชาย) และ

บวชชีโดยภาพที่แทรกอยูระหวางศิลปนแตงชุดนักเรียนกับชุดรับปริญญาคือ ภาพไมเคิลได

ตําแหนงนางงามจักรวาล หากมองแบบสตรีนิยมดังที่วิระดา สมสวัสด์ิ นักวิชาการแนวสตรีนิยมได

ไดกลาวถึงอุดมคติของผูหญิงวา ผูหญิงนั้นควรจะสวยและสมบูรณแบบในหลาย ๆ ดาน ซึ่งอุดม

คติที่วานี้เปนอุดมคติของผูชายที่สรางภาพผูหญิงที่ดีและครอบงําผูหญิงจนทําใหผูหญิงรูสึกวาเปน

ความตองการของผูหญิงเองที่ตองการเปนแม และภรรยาที่ดี ไมบกพรองทั้งความงาม, สติปญญา

และศีลธรรมอันเปนผูหญิงในอุดมคติซึ่งมีอํานาจในการตัดสินใจของปจเจกบุคคล16

17

ไมเคิลเลียนแบบภาพที่เห็นทั่วไปในชีวิตจริง ภาพชุดนักเรียนก็เปนภาพขาวดํา ผูกผม

เรียบรอย ภาพนางงามนั้นไมเคิลมีถวยรางวัลในมือ สายสะพาย ผาคลุม จากน้ันภาพชุดรับ

ปริญญา ดูภูมิฐานใสแวน ฉากหลังเปนชั้นหนังสือดูเปนผูทรงแกเรียน ภาพงานวิวาห ศิลปนสวม

ชุดเจาสาว โดยตัดภาพผูชายเห็นเพียงแตการคลองแขน ราวกับบอกวาการแตงงานกับใครสักคน

นั้น ขอเพียงไดแตงก็ยังดีกวาครองตัวเปนโสด ขอใหเปนผูชายก็พอ เร่ืองแตงงานนั้นมีนักวิชาการ

สายสตรีนิยมโจมตีเปนอยางมาก อยางนาถฤดี เดนดวง นักวิชาการแหงมหาวิทยาลัยมหิดลมอง

วา มาตรฐานของสังคมคาดหวังคือครองพรหมจรรยจนถึงวันแตงงาน17

18 และภาพถัดมาก็เปนภาพ

ไมเคิลอุมลูกชาย มีแสงเรืองรองบริเวณศีรษะของศิลปนและเด็ก ราวกับเปนพระแมมารีอุมพระเยซู

ศิลปนเองก็ไดแฝงอุดมคติของสังคมในเร่ืองการมีทายาทนั้น มักอยากไดผูชายเปนบุตรคนแรกหรือ

คนโต ซึ่งเห็นไดทั่วไปตามบานที่ติดรูปถายทั้งครอบครัว และภาพสุดทายเปนแมชี ถือหางนกยูง ซึ่ง

ทําใหคิดวาศิลปนเหมือนจะลอเลียนแมชีทานหน่ึงในส่ือโทรทัศน ซึ่งสะทอนความคิดของตนทั่วไป

วาบ้ันปลายชีวิตมักจะเขาวัด ฟงเทศน ฟงธรรม ซึ่งศิลปนมองวาผูหญิงรับใชผูชายตลอดชีวิต ไมรู

จบไมวา พอ สามี และพระสงฆ สําหรับหางนกยูงนั้น นอกจากเปนส่ิงที่สวยงามแลว ลายของหางที่

มีลักษณะคลายดวงตาเปนสัญลักษณของความรูแจง นอกจากนี้นกยูงนั้นยังเปนสัญลักษณของ

ความหยิ่ง 1 8

19 อาจตองการสื่อวา ไมไดบวชดวยใจบริสุทธิ์นักยังมีความหยิ่งทรนงอยู นอกจากนี้

ผลงานช้ินนี้ยังเปนการลอเลียนผลงานของตัวเองช่ือ Portraits of a Man in Habits # 1 ในปพ.ศ.

2543 ที่ไมเคิลแตงกายเปนภิกษุ

                                                            

17 วิระดา สมสวัสด์ิ, ทีทรรศนสตรีนิยม (เชียงใหม: ศูนยสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2549), 58. 

18 นาถฤดี เดนดวง, อํานาจและความขัดแยงบนรางกายผูหญิง (กรุงเทพฯ: รันนิ่ง

พรีเพรส ซิสเต็ม, 2552), 73. 

19 จอรจ เฟอรกูสัน, เครื่องหมายและสัญลักษณในคริสตศิลป, 19. 

Page 123: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

111

ตอมาไมเคิลไดเนนบทบาทของผูหญิงที่อยูในสถานะที่สูงในสังคม ผานงานชุด แมพระ

แหงแดนพื้นลุม จัดแสดงในนิทรรศการเด่ียวชื่อเดียวกับชื่อภาพคือ แมพระแหงแดนพื้นลุม Our

Lady of the Low Countries ณ คัดมันดู เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ - 30 มีนาคม พ.ศ. 2548

(1) ประทับ (2) ทรงยนื

ภาพที่ 66 ไมเคิล เชาวนศัย ,ชุด แมพระแหงแดนพื้นลุม Our Lady of Low Countries ขนาด

ภาพละ 101.6x101.6 เซนติเมตร, 2548.

ที่มา: ไมเคิล เชาวนาศัย, Our Lady (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2548), 7-8.

ผลงานนี้มีนัยเร่ืองเจาหรือบุคคลสําคัญของไทย ไมเคิลสวมบทบาทเปนผูหญิง

ตําแหนงอยูกลางภาพ โดยเธอนั่ง (ภาพซายมือ) และยืน (ภาพขวามือ) อยูบนพื้นยกสูงข้ึนมาราว

กับเปนอนุสาวรียคนสําคัญ สอดคลองกับชื่อภาพ เพราะเธอเปนแมพระขางเกาอ้ีใกลตัวเธอนั้นมี

แอปเปลและผลทับทิมอยูบนโตะ ซึ่งแอปเปลเปนสัญลักษณของความรูที่สามารถแยกแยะการรูจัก

ผิดชอบชั่วดี 19

20 และผลทับทิมเองนั้นมีเมล็ดมากมาย ชีวิตเมล็ดพันธุที่พรอมเกิดใหม แสดงถงึความ

อุดมสมบูรณ 20

21

การเปรียบผูหญิงวาเปนเทพแหงความอุดมสมบูรณนั้นมีต้ังแตโบราณกาล อยาง

วัฒนธรรมของไทยก็นับถือธรรมชาติและเคารพบูชาเพศหญิง เชน ขาวนั้นมีพระแมโพสพคอยดูแล

แผนดินนั้นมีพระแมธรณีคุมครองอยู เปนตน นอกจากนี้ ตนปาลมที่อยูเบ้ืองหลังนั้นมีนัยถึงพระแม

มารีอีกดวย

                                                            

20 เร่ืองเดียวกัน, 27. 

21 เร่ืองเดียวกัน, 41. 

Page 124: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

112

ไมเคิลไดแรงบันดาลใจจากการไปพํานักช่ัวคราวท่ีประเทศเนเธอรแลนด ซึ่งช่ือของ

ประเทศมีความหมายวา แผนดินตํ่า ทําใหนึกถึงประเทศไทยซึ่งภาคกลางเปนที่ราบลุม ประกอบ

กับความสําคัญของสถาบันพระมหากษัตริยและราชวงศในสังคมไทยมีความสําคัญมาก เปรียบ

เปนพอและแมของแผนดิน ศิลปนจึงนําเสนอผานภาพดังกลาว21

22

ผูศึกษามีความเห็นวาไมเคิลไดเชื่อมโยงเพศสถานะกับบทบาทของผูหญิงหลายแบบ

ไมวาจะเปนหญิงอินเดียซ่ึงวิพากษสังคม ชนช้ัน วรรณะของอินเดียไปในตัว สําหรับงานแสดงใน

ประเทศไทย ศิลปนนําเสนอบทบาทของผูหญิงในสังคมไทยที่คาดหวังวาผูหญิงที่ดีเปนอยางไร

และถูกตอกย้ําเสมอจากโฆษณา การศึกษา ส่ือมวลชน แมจะเห็นไดชัดวาบทบาทของผูหญิงนั้น

ดอยและเพศสถานะตํ่ากวาผูชาย แตทวาศิลปนยังแสดงผลงานที่กลาวถึงความไมเทาเทียมกัน

แมวาเปนผูหญิงเหมือนกัน เชน ผูหญิงที่มีฐานะตําแหนงสูงจะสําคัญกวาผูหญิงที่ใชแรงงาน คือมี

ความไมเทาเทียมกันอยูในเพศสถานะเดียวกันอีกดวย

เพศสถานะกับประวัติศาสตร เพศสถานะนั้นสามารถเปล่ียนแปลงไดเสมอ ไมตายตัว หรือหยุดนิ่ง ซึ่งหากเราดูจาก

ประวัติศาสตรแลวจะพบการเปล่ียนแปลงเสมอ โดยประวัติศาสตรที่ผูศึกษากลาวถึงในหัวขอนี้ จะ

เปนการกลาวถึงเหตุการณที่สําคัญของประวัติศาสตรชาตินั้น ๆ ผานผลงานของศิลปนที่มีการ

อางอิงถึง ดังผลงาน Hoana และ Joanna

ภาพที่ 67 ไมเคิล เชาวนาศัย, Hoana [ภาพถาย], ขนาด 101 x 101 เซนติเมตร, 2548.

ที่มา: Mongkol Shaowanasai, TE AWA [CD-ROM] (Bangkok: Kick the Machine, 2005).

                                                            

22 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 20 มีนาคม 2555. 

Page 125: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

113

ภาพที่ 68 ไมเคิล เชาวนาศัย, Joanna [ภาพถาย], ขนาด 101 x 101 เซนติเมตร, 2548.

ที่มา: Mongkol Shaowanasai, TE AWA [CD-ROM] (Bangkok: Kick the Machine, 2005).

ปพ.ศ.2548 ศิลปนไดรับเชิญไปพํานักที่ประเทศนิวซีแลนด ชวงนั้นขาวตามหนา

หนังสือพิมพตางกลาวถึงเร่ืองโรงแรม บริษัท หางรานตาง ๆ ไมรับหญิงที่มีรอยสักบนใบหนาเขา

ทํางาน ซึ่งรอยสักเหลานี้เปนสัญลักษณของชนเผาเมารี

ชาติพันธุ เปนอีกประเด็นที่ศิลปนหยิบยกมาส่ือสารกับผูชม โดยทาบทับกับความเปน

ผูหญิงซ่ึงมีมโนทัศนวา ความเปนชาติพันธุของแตละชาติพันธุนั้นสามารถคนหาแกนแท ความ

บริสุทธิ์ทามกลางการเปล่ียนแปลงทางสังคมได 2 2 23 ซึ่งความเปนจริงแลวการเปล่ียนแปลงทาง

วัฒนธรรมสามารถเปล่ียนไปตามเงื่อนไขทางประวัติศาสตร

ภาพ Hoana (ภาพที่ 67) ศิลปนแตงกายตามแบบเดิมของกลุมชนเผา TE AWA ที่

ผูหญิงช้ันสูงจะมีลายสักบนหนา ผมยาว บริเวณดานหนาของศีรษะมีขนนกอยู อันเปนสัญลักษณ

เหมือนนกตามความเช่ือของเผา และใชผาคลุมรางกายตามการแตงกายของชนเผาตน นอกจากนี้

ผูหญิงที่มีขนนกประดับอยู และมีรอยสักบนใบหนาหรือที่เรียกวา โมโค (Moko) นั้นเปนผูหญิงที่มี

สิทธิทางการเมือง สามารถพูด และลงคะแนนเสียงหรือออกความเห็นได และอีกภาพหน่ึงเปน

ภาพการแตงกายที่เปล่ียนไปโดยเช่ือมโยงกับประวัติศาสตรของประเทศหลังจากที่อังกฤษมายึด

ครองนิวซีแลนดเปนเมืองข้ึนปพ.ศ.2383 เห็นไดจากสรอยรูปไมกางเขน และการแตงตัวแบบ

ตะวันตก แขนหมูแฮม ที่อันสอดคลองกับการลาอาณานิคมที่มาพรอมกับการเผยแผศาสนาคริสต

รวมทั้งเปลี่ยนช่ือตัวเองจาก Hoana เปน Joanna ดวย

                                                            

23 อภิญญา เฟองฟูสกุล, อัตลักษณ (กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ,

2546), 69. 

Page 126: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

114

ภาพดังกลาวจัดแสดงในนิทรรศการ ArtconneXion วัฒนธรรมความเคลื่อนไหว ณ

Elam School of Fine Arts the University of Auckland ประเทศนิวซีแลนด ราวเดือนมีนาคม

พ.ศ. 2548

งานที่กลาวขางตนไมเคิลไดส่ือสารเร่ืองชาติพันธุและประวัติศาสตรไปพรอม ๆ กัน

ตอมาในป พ.ศ. 2551 ศิลปนไดหยิบยกประวัติศาสตรประเทศกัมพูชาซึ่งเปนเพื่อนบานของเราใน

กลุมอาเซียนมานําเสนอ

ภาพที่ 69 ไมเคิล เชาวนาศัย, Khmer-Donna-Annunciation [ภาพถาย], ขนาด 76 x 76

เซนติเมตร, 2551.

ที่มา: กระทรวงวัฒนธรรม,รอยย้ิมสยาม : ศิลปะ+ศรัทธา+การเมือง+ความรัก = Traces of

Siamese smile : art+faith+politics+love (กรุงเทพฯ: สํานักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย

กระทรวงวัฒนธรรม, หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร, 2551), 28.

Page 127: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

115

ภาพที่ 70 ไมเคิล เชาวนาศัย, Khmer-Donna-e Bambino [ภาพถาย], ขนาด 76x76 เซนติเมตร,

2551.

ที่มา: กระทรวงวัฒนธรรม, รอยย้ิมสยาม : ศิลปะ+ศรัทธา+การเมือง+ความรัก = Traces of

Siamese smile : art+faith+politics+love (กรุงเทพฯ: สํานักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย

กระทรวงวัฒนธรรม, หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร, 2551), 28.

ความเชื่อมโยงระหวางเพศสถานะกับประวัติศาสตรจาก Khmer-Donna-

Annunciation และ Khmer-Donna-e Bambino สังเกตจากช่ือภาพที่ระบุวา Khmer (เขมรหรือ

ประเทศกัมพูชา) มีการกวาดลางชนชาติเดียวกันเปนจํานวนมากภายใตการนําของนายพล พต

ในชวง พ.ศ. 2518 -2522 ในภาพศิลปนสวมชุดมอฮอมซึ่งเปนแบบเดียวกับนักโทษทางการเมือง

สมัยนั้น มีหมายเลขระบุวาเปนหมายเลขผูตองหา (และในขณะเดียวกันก็บอกปที่สรางงานไปดวย

ในตัว เปนบอกจํานวนพิมพของช้ินงาน (edition) วาเปนลําดับที่ 5 และปที่สราง 2008) มือไพล

หลัง ที่ติดผมเปนเคร่ืองหมายงูพันคบเพลิง (Cadius’s Ward) เปนสัญลักษณวาเธอมีความรูดาน

การแพทย สวนคําวา Annunciation ในชื่อภาพนั้นแปลวาการประกาศ อาจหมายถึง การประกาศ

จับตัวนักโทษดังกลาว

อีกภาพนั้นเปนศิลปนนั่งอุมเด็ก ซึ่งไมเคิลนั้นกลาววาไดแรงบันดาลใจมาจากภาพของ

ตะวันตกที่มี ภาพพระแมมารีอุมพระบุตร (พระเยซู) นั้นมีอยูเปนจํานวนมาก 2 3

24 และ Donna ที่

หมายถึงแมพระนั้น ก็นาจะหมายถึงแมพระผูเปนส่ือกลางในการระหวางพระเจาและมนุษย

สําหรับกรณีการลางเผาพันธุในกัมพูชานี้ก็เปนการเช่ือมโยงระหวางประวัติศาสตรอันเปนอดีตที่

เลวราย สงสารมาถึงคนรุนปจจุบันวาไมควรจะใหเกิดเหตุการณอยางนี้อีก

                                                            

24 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน,14 กุมภาพันธ 2555. 

Page 128: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

116

ผลงานชุดนี้จัดแสดงในนิทรรศการศิลปะรวมสมัยรอยยิ้มสยาม: ศิลปะ+ศรัทธา+

การเมือง+ความรัก ต้ังแตวันที่ 24 กันยายน -26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ถึงแมวาจะมีผลงานเพียงสองชุดในเร่ืองเพศสถานะกับประวัติศาสตรโดยกลาวถึง

ประเทศนิวซีแลนดและกัมพูชา แตก็ทําใหเห็นไดภาพรวมของเหตุการณที่สามารถเกิดข้ึนไดกับทุก

เพศ และทุกชาติหากมีความขัดแยงเกิดข้ึนไมวาขัดแยงเพราะตางชาติ หรือแตกแยกทาง

อุดมการณทางการเมืองก็ตาม งานทั้งสองชุดนี้ เปนสวนหนึ่ งของเพศสถานะหญิงกับ

ประวัติศาสตรสากล เดิมทีศิลปนตองการทําภาพถายเกี่ยวกับบุคคลที่สูญหายในระหวางการ

ปกครองของปโนเชต (Pinochet) ผูนําประเทศชิลีในชวงป ค.ศ. 1970-1979 2 4

25 ซึ่งเปนความฝน

ของศิลปนเร่ืองหนึ่งที่จะทํางานดังกลาวเผยแพรสูสาธารณะ เพศสถานะในไอออน พุสซ่ี จากบทที่ 4 ทําใหเราทราบวา การผจญภัยของไอออน พุสซ่ีนั้นมีดวยกัน 5 ภาค โดยมี

รายละเอียดดังนี้

ป พ.ศ.2540 The Adventure of Iron Pussy (การผจญภัยของไอออน พุสซ่ี) ภาคแรก

บันทึกเปนวิดีโอระบบ VHS มีความยาว 8 นาที ความหมายของช่ือภาพยนตรนาสนใจตรงที่วา

Pussy นอกจากแปลวาแมวแลวยังเปนคําแสลงหมายถึงอวัยวะเพศหญิงอีกดวย เร่ืองการเร่ิมตน

การผจญภัยโดยมีตนกําเนิดของ นายมงคลผูกลายรางเปน Iron Pussy (ไมเคิลแสดงเปนนาย

มงคลและแตงกายเปนผูหญิงเมื่อแสดงเปน Iron Pussy) เปนผูเขาชวยเหลืออะโกโกบอย ซึ่งปกติ

แลวผูที่มีอาชีพนี้สวนใหญหนาตาและหุนดี นุงนอยหมนอย เตนโชวบนเวที ทั้งที่อาจมีขายบริการ

ทางเพศกับลูกคาที่มาชมอีกดวย และศิลปนไดใชยานพัฒนพงษเนื่องจากเปนสถานเริงรมยเปนที่

รู จ ักระดับนานาชาติ สําหรับภาพยนตรในภาคแรกศิลปนไดเขาไปชวยอะโกโกบอย 2 คน

เนื่องจากการมีพอเลาเปนชาวยุโรป ลอลวงใหมาคาประเวณี นาเสียดายเปนอยางยิ่งที่ภาค

ดังกลาวนี้สูญหาย

ตอมาในป พ.ศ.2542 The Adventure of Iron Pussy ภาคที่สอง คร้ังนี้มีชื่อตอนวา

Bunzai Chaiyo บันทึกเปนวิดีโอระบบ VHS ความยาว 22 นาที เนื้อเร่ืองคลายภาคแรก แตภาคนี้

นายมงคล ผูกลายรางเปน Iron Pussy เปนผูเขาชวยเหลืออะโกโกบอย โดยแกงมามาซัง (แมเลา)

ชาวญ่ีปุนสามคนมาขมเหงรังแกและในป พ .ศ.2543 ไมเคิลไดสรางภาพยนตรเ ร่ืองThe

Adventure of Iron Pussy ภาคที่สาม ตอน To be, or not to be บันทึกเปนวิดีโอระบบ VHS

                                                            

25 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 20 มีนาคม 2555. 

Page 129: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

117

ความยาว 30 นาที เนื้อเร่ืองคลายทั้งสองภาคแตภาคนี้นายมงคล ผูกลายรางเปน Iron Pussy

เปนผูเขาชวยเหลืออะโกโกบอย โดยแกงแมเลาชาวจีนมาขมเหงรังแก

จากนั้นป พ.ศ.2546 ภาพยนตรเร่ือง The Adventure of Iron Pussy ภาคที่ 4 หัวใจ

ทระนง (The Brave Heart) บันทึกโดยกลองดิจิตัลวิดีโอ Hi8 เพื่อใหไดภาพแตกเปนเกรนเม่ือฉาย

บนจอภาพยนตร เหมือนถายทําดวยกลองฟลม 16 มม. คร้ังนี้ไมเคิล แสดงและเขียนบทเชนเคย

แตกํากับรวมกับอภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับปญหาระดับชาติคือชวยรัฐบาล

ปราบปรามยาเสพติดภายใตการนําโครงสรางเร่ืองและสีสันแบบภาพยนตรไทยในอดีตเต็มรูปแบบ

เชน สีสันฉูดฉาด การพากยที่ไมคอยตรงกับปากของตัวละครที่กําลังพูดเทาใดนัก เปนตน

ป พ.ศ.2551 ไมเคิล เชาวนาศัยไดรวมงานกับศิลปน นาวิน ลาวัลยชัยกุลในหนังสือ

SALA มีตอนหนึ่งของหนังสือที่เปนเร่ือง The Adventure of Iron Pussy เปนภาพถายและมีบท

สนทนาโดยเลาเร่ืองในลักษณะการตูนถือวาเปนภาคที่ 5 ซึ่งเปนภาคเดียวที่เปนภาพถาย และมีบท

พูดเหมือนการตูน มิไดถายทําเปนภาพยนตรเหมือนภาคอื่น ๆ โดยในคร้ังนี้บทและการกํากับเปน

ของนาวิน ลาวัลยชยักุล

ในป พ.ศ. 2554 ภาพยนตร Camellia เร่ืองรักแรก....Iron Pussy – (Past) นําแสดง

ไมเคิล เชาวนาศัย และคิม มิน จุน จาก (Kim Minjun) ประเทศเกาหลี โดยมีวิศิษฎ ศาสนเที่ยงเปน

ผูกํากับภาพยนตรภาคดังกลาว

เร่ืองนี้ศิลปนรับบทเปน Iron Pussy อีกคร้ังนับวาเปนภาคที่ 6 ของเร่ือง The

Adventure of Iron Pussy แตในเร่ืองนี้ Iron Pussy เปนสายลับในยุค 1970s ที่ถูกสงไปปฏิบัติ

ภารกิจที่ปูซาน ทุกคร้ังที่เขาไดรับภารกิจใหม เขาจะหายเขาไปในรานเสริมสวยกอนจะกลับออกมา

ในรูปสาวสวยทรงเสนห ขณะที่เธอไปที่ไนตคลับแหงหนึ่ง เธอก็พบวาตัวเองไดตกหลุมรักกับชาย

หนุมเกาหลีแสนดีคนหนึ่งเขา (คิม มิน จุน) ความรักของเธอนั้นกําลังเร่ิมตนขณะเดียวกันก็พบวา

คนที่ตนรักนั้นเปนผูรายที่ Iron Pussy ตองฆา

ศิลปนไดเลาถึงที่มาของความคิดในการสรางไอออน พุสซ่ี ข้ึนมาวา

สวนใหญแลวภาพยนตรนั้นจะมีผูชายคอยชวยเหลือผูหญิงหรือคนในสังคมใหพนภยันตราย

ทั้งหลาย รวมทั้งเปนนักสืบ สายลับตาง ๆ ผูชายจะฉลาด และผูหญิงจะไมคอยรูเร่ืองอะไร แตตน

คิดวาความจริงผูหญิงมีเสนหนารักกวา และฉลาดกวา เน่ืองจากผูหญิงไมแข็งแกรงเทาผูชาย และ

ไดใชมารยาหญิงผานหนาตาที่สวยงาม วาจาท่ีชวนหลงใหล และหนาอกหรืออวัยวะเพศที่ย่ัวยวน

และดึงดูด ใหผูชายหลงกลรวมถึงลวงความลับไดเปนอยางดี อยางบุคคลท่ีมีอยูจริงใน

ประวัติศาสตรคือมาตา ฮารี (Mata Hari) เปนผูหญิงท่ีสวย นักเตน และเปนสายลับในสมัย

Page 130: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

118

สงครามโลกคร้ังท่ีสองอีกดวย ตนไดแรงบันดาลใจจากประวัติศาสตรและชื่นชมผูหญิงเกงอยูเปน

ทุนเดิม มาผนวกกับคุณแม (คุณจินตนา) เปนพยาบาล มีความรู และอีกคนหนึ่งคือไดอานา ริกส

(Diana Riggs) ซึ่งแสดงเร่ือง The Avengers ไดดีมาก เปนไอดอล และเปนผูหญิงเกงอีกคนหน่ึง25

26

จากบทสัมภาษณจะเห็นไดวาไมเคิลไดแรงบันดาลจากผูหญิงสามคนดวยกันคือ มาตา

ฮารี,มารดาของตนเองและไดอานา ริกส นํามาหลอมรวมเปนผูหญิงสวย เกง เปนสายลับนามวา

ไอออน พุสซ่ี

ตอไปผูศึกษาจะวิเคราะหรายละเอียดในแตละภาคดังนี้ ภาพยนตร The Adventure of Iron Pussy ภาคที่สอง Bunzai Chaiyo และภาคที่สาม ตอน To be, or not to be เนื่องจากภาพยนตภาคแรกไดสูญหาย สวนภาพยนตรภาคที่สอง Bunzai Chaiyo และ

ภาคที่สาม ตอน To be, or not to be นั้นมีความสอดคลองกันในเร่ืองประเด็นชวยเหลือคนขาย

บริการทางเพศยานพัฒนพงศเชนกัน เพียงแตเปล่ียนจากการตอสูกับชาวญ่ีปุนเปนชาวจีนเทานั้น

ผูศึกษาจึงขอกลาวทั้งสองภาคในหัวขอนี้รวมกัน

ในบทความของชุติมา ประกาศวุฒิสาร ไดใหที่มาของพัฒนพงศวา ยานพัฒนพงศเปน

สถานที่พักผอนซึ่งรัฐบาลไทยจัดไวสําหรับทหารอเมริกันในยุคสงครามเวียดนาม ประมาณป พ.ศ.

2515 ซึ่งอีกยานหนึ่งที่สําคัญคือซอยคาวบอย ดังนั้นชาวตะวันตกจะรูจักช่ือเสียงเกี่ยวกับยานทั้ง

สองเปนอยางดี 26

27

ผูศึกษาคิดวาศิลปนนั้นต้ังใจที่จะกลาวถึงสถานที่ดังกลาวเพื่อเสียดสีสังคม และการ

ปญหาการขายบริการทางเพศนั้นรัฐบาลก็ไมไดสนใจอยางจริงจัง

ในภาคที่สองนั้น Bunzai Chaiyo ชื่อตอนแปลวาเสียงไชโย แสดงความยินดีใน

ภาษาญ่ีปุนและภาษาไทย เนื้อเร่ืองนั้น เปดฉากดวยรายขาววามีเด็กชายสองคนหายตัวไป ไมเคิล

รับบทเปนมงคลพนักงานบริษัทพาเพื่อนไปเท่ียวพัฒนพงศ เนื่องจากมงคลมีชื่อเสียงมากที่ได

ชวยอะโกโกบอย (เมื่อภาคที่แลว) เด็กผูหญิงสองคนที่ตอนรับแขกอยูนั้นก็ไดรองใหมงคลชวยเหลือ

                                                            

26 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 28 กันยายน 2554.  

27 ชุติมา ประกาศวุฒิสาร, “การเสนอภาพพจนของผูหญิงขายบริการโดยนักวิชาการ

ตะวันตก : กรณีศึกษาจากพัฒนพงศ,” ใน ผูหญิงกับความรู 1 (ภาค 2), สินิทธ สิทธิรักษ,

บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ : โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2546), 158-

159. 

Page 131: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

119

และนายมงคลก็จําได จึงบอกเพื่อนใหคอยและตนไปหารานทําผมออกมาตอสูกับแมเลาชาวญ่ีปุน

สามคน โดยการตอสูเปนแบบตลกคือ มาจับมือเตนรํากัน แลวมีฝายหนึ่งกระเด็นออกไป อาวุธของ

เธอจะมี โยโย สมุดสติกเกอร และพวงมาลัย ทั้งสามพายแพไอออน พุสซ่ี ทวาฉากสําคัญคือเมื่อทั้ง

สามสาวพายแพแลวนั้นมารวมตัวเพื่อสูกับไออน พุสซี่อีกรอบ ไออน พุสซี่จึงใชปนฉีดน้ําอสุจิ ราง

ของแมเลาทั้งสามก็หายไปเหลือแตเส้ือผา และเม่ือเปนเชนนี้ ผูหญิงสองคนที่รับแขกรองขอความ

ชวยเหลือไอออน พุสซ่ีใหชวยก็กลายเปนผูชายเหมือนเดิม

ภาพที่ 71 ไมเคิล เชาวนาศัย, The Adventure of Iron Pussy ภาคที่สอง Bunzai Chaiyo

[ภาพยนตร], กรุงเทพฯ: คิกเดอะแมชชีน, 2542.

ที่มา: Mongkol Shaowanasai, IRON PUSSY II [CD-ROM](Bangkok: Kick the Machine,

1999).

ตอมาในป พ.ศ.2543 ไมเคิลไดสรางภาพยนตรเร่ืองเดียวกันนี้เปนภาคที่สาม ตอน To

be, or not to be เปนหรือไมเปน ชื่อตอนนี้มาจากคําพูดอันโดงดังจากเร่ืองแฮมเล็ต (Hamlet)

ของเชคสเปยร (Shakespear) โดยช่ือเร่ืองชวนใหเราสงสัยวาตกลงเปนไอออน พุสซ่ีหรือไม

เนื่องจากฉากแรกนั้น ปรากฏรางชายหัวโลนคว่ําหนาอยูมีคราบน้ําอสุจิอยูเต็มกน นอน

หลับใหลหรืออาจจะตายก็เปนได และมีฝร่ังเดินออกจากหองไป จากนั้นภาพยนตรก็ตัดมาเลาวา

ไอออน พุสซ่ีแตงชุดไทย ออกกําลังกาย เขาฟตเนสในชุดดังกลาวและออกมารายรําและตอสูกับแม

เลาชาวจีน ระหวางการตอสูก็สลบไป พอต่ืนข้ึนมากอยูในหองขัง แลวโดนมัดมือใหไปดูเด็กชาย

Page 132: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

120

เตนอะโกโก ซึ่งเด็กผูชายขอจูบไอออน พุสซี่ไมยอมจึงโดนหั่นคอ และเมื่อวางอยูในถาด เด็กชาย

คนนั้นก็ไดจูบ แลวภาพก็ตัดกลับไปเปนไอออน พุสซี่ฟนจากสลบ ตอสูชนะเสร็จ ก็ถอดวิกผม

เปล่ียนชุดออกไปเที่ยวหาฝร่ังมานอนดวย และกลับมาในหองที่เปนฉากแรก ภาพจบเปนไอออน

พุสซ่ีกลับเปนนายมงคล กําลังต้ังทารอมีเพศสัมพันธอยูบนที่นอน

ศิลปนไดใหมุมมองกับเร่ืองทั้งสองภาควา

ในการทําทั้งสองภาคนั้น ไดนําส่ิงที่นิยมจากสังคมท่ีเราอยูมาใช เชน ชวงนั้น (ปพ.ศ. 2542)

การถายรูปสติกเกอรดังมาก เราก็เอามาใชในงาน โยโย ที่เปนอาวุธลับจากละครท่ีไดดูเม่ือตอนเด็ก

ชุดทหารเรือตาง ๆ มันนาสนใจและอิงถึงสังคมท่ีเราอยูดวย สวนเร่ืองจีนน้ันเรามีความผูกพันมา

นาน มีคนไทยเชื้อสายจีน ก็มีชุดก่ีเผาสําหรับแมเลา และเราก็ใสชุดไทยแบบรัฐบาลตองการ นุงสไบ

มันสามารถบอกไดวาไมวาชายหรือหญิงตางก็ถูกกํากับใหดําเนินชีวิตตามกรอบที่สังคมมองไวให

ขนาดเร่ืองแตงกายน้ัน ยังมีชุดสําหรับชายหญิง เหมือนกับตามโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยที่กําหนด

วาผูชายแตงตัวเรียบรอยเปนแบบนี้ ผูหญิงแตงกายถูกระเบียบเปนอยางนี้ 27

28

เพศสถานะในสองภาคนี้ จะเห็นไดวามีการกลับไปกลับมาไดอยางล่ืนไหลคือพอ

ตองการชวยเหลือใครก็ไปเปลี่ยนเปนผูหญิงในรานทําผม พอชวยเหลือเสร็จก็กลับมาเปนผูชาย

เหมือนมีเวทมนตรทําใหเปนชายหรือหญิงในพริบตา โดยไมตองผาตัดแปลงเพศใด ๆ ทั้งส้ิน ผู

ศึกษาคิดวาศิลปนตองการนําเสนอความไมหยุดนิ่งตายตัว การเปนผูหญิงก็สามารถเกงกาจมี

ความสามารถ ไมจําเปนตองสวยแตไรสมองเสมอไป นอกจากนี้ก็พูดถึงคนขายบริการทางเพศวา

เปนอาชีพหนึ่งที่นาสนใจ เพราะเปนอาชีพที่ทางรัฐบาลตองการจะปราบปราม แตก็ยังมีผูใชบริการ

อยูมาก ภาพยนตรเรื่อง The Adventure of Iron Pussy ภาคที่ 4 หัวใจทระนง (The Brave Heart) ภาพยนตรเร่ืองนี้มีความยาว 93 นาที เนื้อหาแตกตางไปจากภาคตาง ๆ ที่ผานมา เนื้อ

เร่ืองคือ ไอออน พุสซ่ี ไดตัดสินใจทําตามคําขอรองของรัฐบาลไทย ใหไปสืบเบ้ืองหลังธุรกิจของมา

ดามปอมปาดอย โดยมีคุณแทงลูกชายเปนผูตองสงสัยและไอออนพุสซ่ีตองปลอมตัวเปนสาวใช ถึง

กระนั้นก็ไดเจอรักแรกและไดทราบอดีตของตัวเธอเอง

                                                            

28 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 28 กันายน 2554.  

Page 133: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

121

ภาพที่ 72 ไมเคิล เชาวนาศัย, The Adventure of Iron Pussy ภาคที่ส่ี หัวใจทรนง (The

Brave Heart) [ภาพยนตร], กรุงเทพฯ: คิกเดอะแมชชีน, 2546.

ที่มา: Mongkol Shaowanasai, IRON PUSSY IV [CD-ROM] (Bangkok: Kick the Machine,

2003).

ภาคนี้ศิลปนไดกลาววาเปนการบูชาครูและรําลึกถึงภาพยนตรไทยเกา ๆ โดยเลาวา

ภาพยนตรเร่ืองนี้จะใชเสียงพากย และไมไดต้ังใจใหตรงกับปากตรงกับตัวละคร เพราะมันมี

ความไมสมบูรณอยู อาจจะเปนเร่ืองเทคนิคสมัยกอนยังไมกาวหนานัก อยางฉากที่ไอออน พุสซี่ถูก

มัดไวใตตนไมนั้นก็หลวมมาก แตทําเปนวาโดนรัดแนนมากเปนตน รวมทั้งความไมสมจริงของบท

อีกดวย28

29

                                                            

29 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 28 กันยายน 2554. 

Page 134: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

122

กลาวคือตอนแรก นายมงคลเปนพนักงานในราน 7 -11 เปนผูชาย แลวพอมาเปน

สายลับก็จะกลายเปนผูหญิง พอมาตอนทายของเร่ืองผูชมจะไดคําตอบวามาดามปอมปาดอยนั้น

ทิ้งลูกสาว (ไอออน พุสซี่) ต้ังแตแบเบาะ พอมาเจอสายสรอยที่ขอมือของไออน พุสซ่ีก็จําไดวาเปน

ลูกตน นั่นหมายความวา ไอออน พุสซี่นั้นควรจะเปนเพศหญิงต้ังแตเกิด ทวาตอนแรกของเร่ืองที่

เปนนายมงคล เปนผูชายนั้นใสเขามาเพื่อใหเรารูสึกสงสัยและความไมสมจริงของบทเกิดข้ึน

ตอนที่รัฐบาลขอความชวยเหลือจากไอออน พุสซ่ีใหไปสืบคดีนั้นก็มีนักการเมืองบาง

คนไมเห็นดวยเนื่องจากมองวาไอออน พุสซ่ีเกี่ยวของกับผูขายบริการทางเพศ ซึ่งจัดเปนคนชาย

ขอบของสังคม ซึ่งศิลปนมองวา

รัฐบาลไมเคยจัดการจริงจังในเร่ืองการขายบริการทางเพศ วาจะกําจัดใหหมดไป เพราะเปน

สถานท่ีอโคจร หรือจะทําใหไดมาตรฐานนานาชาติวา มีการตรวจโรคเปนประจํา มีการเสียภาษี

อยางถูกตอง กําหนดอายุอยางชัดเจน ฯลฯ เม่ือไปผนวกรวมกับความเปนผูหญิงย่ิงเห็นไดชัดวา

ผูหญิงนั้นเปนเหย่ืออารมณทางเพศของผูชาย29

30

ไอออน พุสซ่ีภาคนี้ไดสอดแทรกเร่ืองสังคมไวมากมายในชวงที่นายกรัฐมนตรีทักษิณ

ชินวัตรบริหารประเทศ เชน โครงการสามสิบบาทรักษาทุกโรค การปราบปรามยาเสพติดซ่ึงมักจะ

ฆาตัดตอน เปนตน นอกจากนี้เร่ืองประเด็นเพศสถานะเห็นไดชัดวา ผูหญิงดวยกันเองก็มีชนชั้น

กลาวคือ ผูหญิงที่รวย ก็จะไดรับการยกยอง นับหนาถือตา ผูหญิงที่ไมคอยมีการศึกษาก็จะเปนคน

รับใช และมีหัวหนาคนรับใชอีก ในขณะเดียวกัน ความสวยก็ยังคงเปนเสนหของเพศหญิง The Adventure of Iron Pussy ใน SALA ของศิลปน นาวิน ลาวัลยชัยกุล ภาคนี้ศิลปนทํางานรวมกับนาวิน ลาวัลยชัยกุล ซึ่งไมเคิล เชาวนาศัยดีใจเปนอยางยิ่งที่

นาวินไดเลือกตัวละครไอออน พุสซ่ีไปอยูในงานศิลปะภาพถายและเลาเร่ืองแบบการตูน เนื่องจาก

เร่ืองนี้ไมเคิล เชาวนาศัยไมไดเขียนบทใด ๆ ทั้งส้ินเปนความคิดของนาวินทั้งหมด

เปนเร่ืองเกี่ยวกับ จี๊ด แสงทอง เกตุอูทองเลนเปนนางเอก โดนจับลักพาตัวไป ไมเคิลใน

บทไอออน พุสซ่ี จึงเปนนักสืบ โดยปลอมตัวเปนพนักงานเสิรฟ ในการตูนนี้ ไมเคิลไมตองไปเปล่ียน

เคร่ืองแตงกายในรานทําผม เปนผูหญิงตลอดเร่ือง

                                                            

30 สัมภาษณ ไมเคิล เชาวนาศัย, ศิลปน, 28 กันยายน 2554. 

Page 135: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

123

ภาพที่ 73 หนาปกหนังสือ SALA ของนาวิน ลาวัลยชัยกุล มีตอนหนึ่งของหนังสือที่เปนเร่ือง The

Adventure of Iron Pussy, 2551

ที่มา: นาวิน ลาวัลยชัยกุล, Navin's Sala, เขาถึงเมื่อ 3 มกราคม 2555, เขาถึงไดจาก http://

www.aaa.org.hk/Collection/Details/23569

ในภาคนี้มีเร่ืองเก่ียวกับเพศสถานะคือ เพศหญิงที่มีชนช้ันสูงคือสวยรวยเกง มาเปน

สายลับโดยตองปลอมตัวมาทํางานในรานอาหาร หลายภาคที่ผานมาของไอออน พุสซ่ี จะเปนนาย

มงคลมากอน แลวคอยมาเปนไอออน พุสซ่ี จะปลอมตัวเปนแบบใดเพื่อไปสืบวากันอีกเร่ืองหนึง่ แต

Page 136: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

124

ในเร่ืองนี้เปนพนักงานในภัตตาคารเลย เหมือนเปนผูหญิงที่คนมองวาทําอาชีพบริการไมสูงมาก แต

กลับเปนนักสืบตามชวยเหลือนางเอกได ภาพยนตร Camellia เรื่องรักแรก....Iron Pussy – (Past) ภาพยนตรเร่ืองนี้เมื่อนับถึงป พ.ศ. 2554 นับเปนไอออน พุสซี่ภาคที่หก อันเปนภาค

ลาสุด ศิลปนยังไมมีความคิดที่จะทําภาคใหม

คร้ังนี้ไอออน พุสซี่ตองยอนไปอยูในยุค 1970s ณ เมืองปูซาน ประเทศเกาหลี ขณะที่

ทํางานรานอาหารขายปลาหมึกอยูนั้นก็รับภารกิจใหฆาผูกอการราย ไออน พุสซี่ก็ไดเขาไปในราน

ทําผมเพื่อออกมาปฏิบัติภารกิจเชนเคย แนนอน คนที่ไดรับมอบหมายใหฆานั้นเปนคนที่เธอรัก แต

ภาพยนตรเร่ืองนี้กลายไปการเช่ือมโยง ซอนทับของเวลา เมื่อไอออน พุสซี่ ทราบความจริงวา

จะตองฆาคนท่ีเธอรัก ขณะที่เดินรองไหอยูนั้น หนังสือพิมพปรากฏป 2011 (พ.ศ. 2554) และเมื่อ

เธอไดฆานั้นก็ไดทราบความจริงวา เปนการฆามนุษยโคลนนิ่งคนท่ีเธอรัก เนื่องจากรัฐบาลจับตัว

พระเอกมากักขังไว ทําใหหนาตาเสียโฉม และไดโคลนนิ่งไวเพื่อปฏิบัติภารกิจตาง ๆ โดยไมตอง

กลัวเร่ืองความเส่ียง เนื่องจากหากตายไป ก็สามารถโคลนนิ่งข้ึนมาใหม หากไมตายโดยการฆา

มนุษยโคลนนิ่งนั้นจะมีอายุสองป

ภาพที่ 74 วิศิษฎ ศาสนเที่ยง, Camellia [ภาพยนตร], กรุงเทพฯ : บริษัท ไฟวสตารโปรดักช่ัน

จํากัด, 2554.

ที่มา: วิศิษฎ ศาสนเที่ยง, Camellia [CD-ROM], กรุงเทพฯ : บริษัท ไฟวสตารโปรดักช่ัน จํากัด, 2554.

Page 137: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

125

ภาคนี้ไดนําเสนอเก่ียวกับเร่ืองเพศสถานะที่ยอนยุคไปในชวง ป 1970s กระแสสตรี

นิยมเร่ิมเฟองฟู เร่ิมมีบทบาทผูหญิงเกงมาข้ึนในภาพยนตร ละครตาง ๆ ในภาคนี้ก็เชนกัน เปนการ

นําเสนอชวงเวลาดังกลาว เปนการตัดสินใจอันเด็ดเด่ียวของผูหญิงที่จะตองปฏิบัติตามหนาที่ของ

ตนใหดีที่สุด โดยปกติแลวคนเราไมวาเพศใด หากไดทําหนาที่ส่ิงใดสิ่งหนึ่งยิ่งเกี่ยวของกับคน

ใกลชิดหรือคนที่เรารัก เรามักจะมีความลําเอียงเกิดข้ึน อีกทั้งผูหญิงมักจะถูกมองวาเปนคนไมเด็ด

เด่ียว ไมกลาตัดสินใจ โลเล แตในภาคนี้ ไอออน พุสซี่ เสนอมุมมองของผูหญิงที่กลาตัดสินใจฆา

คนที่ตนรัก แมวาจะตองเจ็บปวดก็ตาม

จากที่กลาวมาทั้งหมดในหัวขอนี้จะไดเห็นคุณลักษณะที่นาสนใจของไอออน พุสซ่ีที่

ไมเคิล เชาวนาศัยไดสรางสรรคข้ึนมาจนมีหลายภาคและมีผูคนสนใจเปนจํานวนมาก นอกจาก

กลาวถึงเพศสถานะ ไมวาจะเปนเกย หรือผูหญิงที่ขายบริการทางเพศ คนรักเพศเดียวกัน

นอกจากนี้แตละภาคยังสะทอนสังคมในชวงเวลานั้น ๆ วาเปนอยางไร ไมวาจะเปนสมุดสะสมสติก

เกอรเปนส่ิงที่นิยมกันมากในเวลานั้น หรือรัฐบาลสมัยทักษิณ ชินวัตร เปนตน

ในบทนี้จะเห็นไดวางานศิลปะของไมเคิลนั้นเชื่อมโยงเพศสถานะกับเร่ืองตาง ๆ ดังนี้

เร่ืองเพศสถานะกับอัตลักษณเกย,เพศสถานะกับศาสนา,เพศสถานะกับบทบาทของผูหญิง,เพศ

สถานะกับประวัติศาสตรและเพศสถานะกับไอออน พุสซี่ ซึ่งทําใหเห็นความนาสนใจของเพศ

สถานะเปนอยางยิ่ง อีกทั้งศิลปนเองเปนชายรักชายที่มักแตงหญิงในผลงานของตน ทําใหเราเห็น

ความไมแนนอน ความไมตายตัวของนิยามทางเพศสถานะ อันเปนส่ิงสอดคลองกับแนวคิดหลัง

สมัยใหมเกี่ยวกับเพศสถานะนั้นสามารถมีไดหลากหลาย และตองการทําลายความเช่ือแบบคูตรง

ขามหญิงชาย ซึ่งเปนวิธีคิดแบบผูชายเปนใหญ เพศสถานะในตัวมันเองเปนการเมือง นอกจากนี้

ผลงานศิลปะของไมเคิลมีนัยยะทางการเมือง เรียกรองสิทธิของคนรักเพศเดียวกัน ใหมีความเทา

เทียมกันตามสิทธิมนุษยชน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 138: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

126

บทที่ 6

สรุปและขอเสนอแนะ

จากการศึกษา เพศสถานะในงานศิลปะของไมเคิล เชาวนาศัย ผูศึกษาไดทราบวา เพศ

สถานะนั้นเปนเร่ืองที่นาสนใจยิ่ง และไมเคิลไดหยิบมุมมองเนื้อหาดังกลาวโดยใชภาพถาย

วิโดอารตและภาพยนตรเปนส่ือ

จากบทนํา ทําใหเราทราบวาเพศสถานะเปนส่ิงที่นาสนใจและแนวคิดหลังสมัยใหมเช่ือ

วาเร่ืองเพศเปนส่ิงไมตายตัวหยุดนิ่ง ในงานศิลปะนั้นมีการแสดงออกเกี่ยวกับเร่ืองเพศทั้งเพศ

สถานะ เพศสรีระและกามารมณ มาต้ังแตสมัยกรีกซ่ึงปรากฏตามเครื่องปนดินเผาหรือในประเทศ

ไทยก็มีจิตรกรรรมฝาผนังเชิงสังวาสของเพศเดียวกันปรากฏอยู

ใบบทแนวคิดเกี่ยวกับเร่ืองเพศสถานะ: วรรณกรรมที่เกี่ยวของ เราไดทราบความหมาย

ของเพศ/เพศสรีระ เพศสถานะและเพศวิถี กลาวคือ เพศ/เพศสรีระ (Sex) หมายถึงลักษณะทาง

ชีวภาพที่ติดตัวมาต้ังแตเกิด และจะตัดสินชัดเจนจากอวัยวะเพศ ประการตอมาคือ เพศสถานะ

(Gender) ความเปนหญิง ความเปนชาย ที่สังคมกําหนดข้ึน เชน ผูหญิงตองมีความออนโยน

นุมนวล ใชอารมณเปนใหญ ผูชายตองแข็งแรง เขมแข็ง ใชเหตุผล เปนตน เมื่อเพศสถานะเปนส่ิง

ที่สังคมใหความสําคัญและควบคุมอยางเขมงวด หากใครไมปฏิบัติตามที่กําหนดไวก็จะเปนคน

ชายขอบของสังคมและประการสุดทายคือเพศวิถี (Sexuality) มีความหมาย 3 มิติ คือพฤติกรรม

ทางเพศ (Sexual Practice) ความพึงพอใจทางเพศ (Sexual Pleasure) และแรงปรารถนาทางเพศ

(Sexual Desire) เพศวิถีจึงเปนเร่ืองที่เกี่ยวของกับสํานึกในเร่ืองความเปนหญิงเปนชายในอุดมคติ

การมีคู การสรางครอบครัวจนถึงการสรางกติกาและกําหนดจริยธรรมทางเพศในสังคม เพศวิถีเปน

เร่ืองที่มากกวาพฤติกรรมตามธรรมชาติและสัญชาตญาณของมนุษย ซึ่งกฎหมาย วัฒนธรรม

สังคมสามารถใชเร่ืองเพศวิถีเปนเคร่ืองมือในการควบคุมมนุษย นอกจากนี้เรายังไดทราบถึงเร่ือง

เพศที่มีความเกี่ยวของกับวิชาการภาษาตางๆ ไมวาจะเปนเพศในมุมมองเชิงจิตวิทยา มุมมองทาง

การแพทย มุมมองศาสนา มุมมองทางประวัติศาสตรรวมทั้งส่ือสารมวลชนอีกดวย

จากบทเร่ืองศิลปนชายรักชายในงานศิลปะรวมสมัยไทย ต้ังแตป พ.ศ. 2535 – 2554

นั้นทําใหเรารูจักผลงานสําคัญของศิลปน 4 คนดวยกันคือ จักรพันธุ โปษยกฤต อภิชาติพงศ

วีระเศรษฐกุล โอหม พันธุไพโรจน และปน ปน นาคประเสริฐ ซึ่งผลงานของศิลปนเหลานี้ตาง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 139: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

127 

นาสนใจยิ่งเพราะนอกจากเปดเผยวาเปนชายรักชายและ งานเกี่ยวกับเร่ืองเพศที่ส่ือสารออกมาก็

นาสนใจ

จากบทไมเคิล เชาวนาศัย : ประวัติและผลงาน ทําใหเราทราบชีวิตการศึกษาของ

ศิลปนวาจบศิลปบัณฑิตจากสถาบันศิลปะซานฟรานซิสโก (San Francisco Art Institute) สาขา

ภาพถาย ป พ.ศ.2537 ตอจากนั้นไดศึกษาตอระดับศิลปมหาบัณฑิต สาขาศิลปะแสดงสด

(Performance) จากสถาบันศิลปะแหงชิคาโก (The Art Institute of Chicago) ป พ.ศ.2539

บทนี้ทําใหเราทราบผลงานตางของไมเคิล ซึ่งไมไดมีแตเร่ืองเพศสถานะเพียงอยาง

เดียว ยังมีเร่ืองเกี่ยวกับศาสนาและการใชคําในการแสดงความคิดอีกดวย

จากบทเพศสถานะในงานของไมเคิล เชาวนาศัยทําใหเราราบถึงผลงานเกี่ยวกับเพศ

สถานะของศิลปนซึ่งเชื่อมโยงกับอัตลักษณเกย, ศาสนา, บทบาทผูหญิงและประวัติศาสตร รวมทั้ง

ผลงานเกี่ยวกับเพศสถานะในไอออน พุสซ่ีอีกดวย ซึ่งประเด็นตางๆ มีดังนี้

ในเร่ืองเพศสถานะกับอัตลักษณของศิลปนเองโดยเปดเผยวาตัวเองรักเพศเดียวกัน

เปนเกยอยางเห็นไดชัดผานภาพถาย ประเด็นเร่ืองอัตลักษณนั้น มีความเช่ือมโยงกับเร่ืองเพศ

สถานะ เพื่อต้ังคําถาม หยอกลอกับวาทกรรมของสังคมสวนใหญคนกลุมนอยอันเปนกลุมชายขอบ

ของสังคมตองการจะโตกลับ และมีนัยทางการเมืองเรียกรองสิทธิความเทาเทียมกันอีกดวย

ในหัวขอเพศสถานะกับศาสนาศิลปนไดนําเสนออยางดียิ่ง ซึ่งชวงแรกจะเปนเร่ืองของ

เพศสถานะกํากวม หรือการเปล่ียนเพศกับศาสนา และเปนการวิพากษสังคมไปในตัว ตอมาเปน

ตัวแทนของผูหญิงหรือกะเทย ที่อยูในสถานะที่ตํ่ากวาชาย และย่ิงชวยขับเนนวาอยูในระดับที่ตํ่า

กวาเมื่ออยูในบริบทของศาสนา และอีกหลายปตอมาศิลปนใชหลักธรรมทางศาสนามาเปนแนวคิด

หลัก แมวาจะนําเสนอภาพตัวเองเปนเพศหญิงอยูแตสามารถนําไปใชไดกับทุกเพศสถานะ

ในหัวขอเพศสถานะกับบทบาทของผูหญิงหลายแบบ ไมวาจะเปนหญิงอินเดียซึ่ง

วิพากษสังคม ชนชั้น วรรณะของอินเดียไปในตัว สําหรับงานแสดงในประเทศไทย ศิลปนนําเสนอ

บทบาทของผูหญิงในสังคมไทยที่คาดหวังวาผูหญิงที่ดีเปนอยางไร และถูกตอกย้ําเสมอจาก

โฆษณา การศึกษา ส่ือมวลชน แมจะเห็นไดชัดวาบทบาทของผูหญิงนั้นดอยและเพศสถานะตํ่า

กวาผูชาย แตทวาศิลปนยังแสดงผลงานที่กลาวถึงความไมเทาเทียมกันแมวาเปนผูหญิงเหมือนกัน

เชน ผูหญิงที่มีฐานะตําแหนงสูงจะสําคัญกวาผูหญิงที่ใชแรงงาน คือมีความไมเทาเทียมกันอยูใน

เพศสถานะเดียวกันอีกดวย

ในเร่ืองเพศสถานะกับประวัติศาสตรโดยกลาวถึงประเทศนิวซีแลนดและกัมพูชา แตก็

ทําใหเห็นไดภาพรวมของเหตุการณที่สามารถเกิดข้ึนไดกับทุกเพศ และทุกชาติหากมีความขัดแยง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 140: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

128 

เกิดข้ึนไมวาขัดแยงเพราะตางชาติ หรือแตกแยกทางอุดมการณทางการเมืองก็ตาม งานทั้งสองชุด

นี้เปนสวนหนึ่งของเพศสถานะหญิงกับประวัติศาสตรสากล

สุดทายในเร่ืองเพศสถานะกับไอออน พุสซี่นั้น เปนเร่ืองราวของวีรสตรี ผูหญิงที่ฉลาด

เกง เนื่องจากเปนสายลับ ตองมีปฏิภาณไหวพริบอยางดี รวมทั้งมีความสวยอยูดวย ซึ่งศิลปน

ตองการเปลี่ยนมุมมองจากภาพยนตรสวนใหญที่เนนความสําคัญของผูชายและผูชายเทานั้นที่

เกงกลาสามารถ แตไมเคิลกลับแสดงตรงขามคือ อยางกรณีซุปเปอรแมนน้ัน เปนการนําเสนอ

ผูชายธรรมดากลายเปนผูชายพิเศษ และในเร่ืองไอออน พุสซี่กลับเปนวา ผูชายธรรมดากลายเปน

ผูหญิงที่พิเศษมีความสามารถหลายอยางและปฏิบัติภารกิจจนสําเร็จ

งานศิลปะของไมเคิล เชาวนาศัยนั้นมีการเสียดสี เยาะเยย ถากถางและประชดประชัน

โลกทัศนตางๆที่เกี่ยวกับเพศ กระตุนใหผูชมงานไดตระหนักถึงความสัมพันธระหวางเพศสถานะกบั

สังคม นอกจากนี้ตัวผลงานของศิลปนมีนัยการเมืองเร่ืองเพศอยูเดียว เปนการต้ังคําถามและ

เรียกรองสิทธิเทาเทียมกันทางเพศแฝงในตัวงาน ซึ่งศิลปนทําการเรียกรองผานงานตนโดยไม

จําเปนตองออกไปเดินรวมขบวนเรียกรองสิทธิอยางคนทั่วไป

ขอเสนอแนะ วิทยานิพนธชิ้นนี้เปนการศึกษาเพศสถานะที่เนนเฉพาะในงานศิลปะของไมเคิล

เชาวนาศัย ซึ่งเปนศิลปนนั้นเปนเกย แตเร่ืองเพศสถานะยังมีประเด็นตางๆ ที่นาสนใจอยูเปนอัน

มาก รวมทั้งศิลปนทานอ่ืนที่นาสนใจ เชน เพศสถานะหญิงในงานอารยา ราษฎรจําเริญสุข หรือ

ประเด็นเกี่ยวกับเร่ือง Homoeroticism ในงานของอภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล เปนตน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 141: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

 

129

รายการอางอิง ภาษาไทย กระทรวงวัฒนธรรม. รอยยิ้มสยาม : ศลิปะ+ศรทัธา+การเมือง+ความรัก = Traces of

Siamese smile : art+faith+politics+love. กรุงเทพฯ: สํานักงานศิลปวัฒนธรรม

รวมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร, 2551.

กาญจนา แกวเทพ, พริศรา แซกวย และวรรณา ทองสิมา, บรรณาธิการ. ทั้งรัก ทัง้ใคร ทั้งใช

ความรุนแรงตอผูหญิง. เชยีงใหม : ศูนยสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2548.

กิติศักด์ิ ปรกติ. “ตํานานรักรวมเพศของไทย.” นิติศาสตร, 13 (2526): 84-95.

กุลวีร ประภาพรพิพฒัน. “แนวคิดและจริยศาสตรที่เกีย่วกับเพศในพทุธศาสนาเถรวาท.”

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาพทุธศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,

2545.

เกสร สิทธหินิว้. “ผาตัดแปลงเพศ ผาตัดชีวิตหญิงในรางชาย.” สารคดี 23, 236 (กุมภาพนัธ

2551): 57-69.

เคอรติน, ไบรอัน. “การเมืองเร่ืองสวนตัว อภิชาติพงศ วรีะเศรษฐกุล สนทนากับ ไบรอัน เคอรติน”

แปลโดย เถกิง พัฒโนภาษ. Bioscope 7, 103 ( มิถุนายน 2553): 62-68.

แจ็คสัน, ปเตอร. Queer Theory. เสวนาวันที่ 5 มกราคม 2550. เขาถึงเมื่อ 14 เมษายน 2554.

เขาถึงไดจาก www.prachathai.com/column-archives/node/2080

ใจ อ๊ึงภากรณ. ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในไทย. กรุงเทพฯ : ประชาธิปไตยแรงงาน,

2545.

ชัยพัฒน อัครเศรณี. ทฤษฎีหนังอะไรวะ. กรุงเทพฯ : เปเปอรกูด้ีส, 2551.

ทวีเกียรติ สมถวิล. จิตรกรรมหญิงรักหญิง. เขาถึงเมือ่ 26 กรกฎาคม 2554. เขาถงึไดจาก

http://www.sapaan.org/article/34.html

เทอดศักด์ิ รมจําปา. “วาทกรรมเก่ียวกับเกยในสังคมไทย พ.ศ.2508 - 2542.” วทิยานพินธ

ปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2545.

ธเนศ วงศยานนาวา. เพศ: จากธรรมชาติ สูจริยธรรมจนถึงสนุทรียะ. กรุงเทพฯ : มติชน,

2551.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 142: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

 

130

นงลักษณ เอมประดิษฐ และคณะ. ความรูทั่วไปเกี่ยวกับเพศศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2546.

นพพร ประชากุล. “คํานาํ,” ใน รางกายใตบงการ. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพคบไฟ,

2547.

นพมาศ ธีระเวคิน. ทฤษฎบีุคลิกภาพและการปรับตัว. กรุงเทพฯ : สํานักพมิพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2551.

นฤพนธ ดวงวิเศษ. “สถานภาพความรูการศึกษาการเคล่ือนไหวทางสังคมของชาวเกย.”

รัฐศาสตรธรรมศาสตร, 2552/2 : 385-393.

. นักวิชาการประจําศูนยมานุษยวทิยาสิรินธร.สัมภาษณ, 3 พฤษภาคม 2555.

นัทธนยั ประสานนาม, บรรณาธิการ. แดศักด์ิศรีเสมอกันทุกชั้นชน: วรรณกรรมกับสิทธ ิ

มนุษยชนศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาวรรณคดี มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร, 2553.

นาถฤดี เดนดวง. อํานาจและความขัดแยงบนรางกายผูหญิง. กรุงเทพฯ: รันนิง่ พรีเพรส

ซิสเต็ม, 2552.

นาวิน ลาวัลยชัยกุล. Navin's Sala. เขาถึงเมื่อ 3 มกราคม 2555. ,เขาถึงไดจาก http://www.

aaa.org.hk/Collection/Details/23569

น้ําตาล [นามแฝง]. สัตวประหลาด. เขาถึงเมื่อ 25 ธนัวาคม 2555. เขาถงึไดจาก http://www.

numtan.com/story_4/view.php?id=37

ปริตตา เฉลิมเผา กออนนัตกูล และคณะ. เผยราง พรางกาย. กรุงเทพฯ : คบไฟ, 2541.

ปน ปน นาคประเสริฐ. ศิลปน. สัมภาษณ, 4 เมษายน 2555.

. MORE OR LESS QUEER. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท, 2554.

. GAGASMICISM. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2554.

ปาลีรัฐ ศรีวรรณพฤกษ. ศาสนา - ความเช่ือ : การแสดงออก และการยอมรับในมุมมอง

กฎหมายฝรัง่เศส. เขาถงึเมื่อ 21 มกราคม 2556. เขาถงึไดจาก 1http://www.pub-

law.net/publaw/view.aspx?id=765

โปรเจกต304. สถานที,่ เขาถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2555. เขาไดจาก 2http://rama9art.org/gallery/

project304/index.html

พจนา ธูปแกว. อาจารยประจําคณะวารสารศาสตรและส่ือสารมวลชน มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร.

สัมภาษณ, 5 มิถุนายน 2555.

พรพิไล ถมงัสัตว. ปรัชญาผูหญิง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจฬุาลงกรณวิทยาลัย, 2539.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 143: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

 

131

พริศรา แซกวย. เพศวิถี วนัวาน วันนี้และวันพรุงนีท้ี่จะไมเหมือนเดิม. เชียงใหม :

ศูนยสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร มหาวทิยาลัยเชียงใหม, 2547.

พุทธยอดฟาจุฬาโลก, พระบาทสมเด็จพระ. ดาหลงั. พระนคร : กรมศิลปากร, 2499.

ไพรัตน พฤกษชาติคุณากร และคณะ. จติเวชศาสตร. เชยีงใหม : โครงการตํารา

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2533.

เฟอรกูสัน, จอรจ. เครื่องหมายและสัญลักษณในครสิตศลิป. แปลโดย กุลวดี มกราภิรมย.

กรุงเทพฯ : อมรินทร, 2549.

มหาวิทยาลัยศิลปากร. นิทรรศการศิลปกรรมเชิดชเูกียรติจกัรพนัธุ โปษยกฤต. กรุงเทพฯ :

อมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง, 2546.

มุกหอม วงษเทศ. เลนแรแปรธาตุ. กรุงเทพฯ : มติชน, 2549.

มูลนิธิจกัรพนัธุ โปษยกฤต. ผลงาน. เขาถึงเมื่อ 2 มกราคม 2555. เขาถึงไดจาก http://www.

chakrabhand.org/website/images.php?lang=th&imgs=02/02057-NO-12.jpg

ไมเคิล เชาวนาศัย. ไรชื่อ. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2550.

. อภิมหาอมตะ ร.ศ.223. เขาถงึเมื่อ 3 มิถุนายน 2554. เขาถึงไดจาก http://www.

car.chula.ac.th/art/th/?page_id=309

. เทศกาลวฒันธรรมฝรัง่เศส 2009. กรุงเทพฯ: สมาคมฝร่ังเศสแหงประเทศไทย,

2552.

. ศิลปน. สัมภาษณ, 28 กนัยายน 2554 ,

. ศิลปน. สัมภาษณ, 15 มกราคม 2555.,

. ศิลปน. สัมภาษณ, 7 กุมภาพันธ 2555.,

. ศิลปน. สัมภาษณ, 14 กมุภาพนัธ 2555.

. ศิลปน. สัมภาษณ, 5 มีนาคม 2555.,

. ศิลปน. สัมภาษณ, 20 มนีาคม 2555.

. ศิลปน. สัมภาษณ, 2 พฤษภาคม 2555.,

. ศิลปน. สัมภาษณ, 24 มถิุนายน 2555.

. Alien {gener}ation, เขาถึงเมื่อ 3 มิถุนายน 2554. เขาถึงไดจาก http://www.

car.chula.ac.th/art/th/?page_id=2804

__________. Boderline. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2545.

. ms@oas. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2545.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 144: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

 

132

ไมเคิล เชาวนาศัย. Woman. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2553.

. Our Lady. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2548.

ยศ สันตสมบติั. ฟรอยดและพัฒนาการของจิตวิเคราะห: จากความฝนสูทฤษฎสีังคม.

กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวทิยาลัยธรรมศาสตร, 2550.

ยุทธนา เลิศประดิษฐ. “สิทธิและเสรีภาพของรักรวมเพศชายตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ: วิเคราะห

ปญหาจากสังคมไทย.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑติ คณะนิติศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.

รองพล เจริญพันธ. “ปญหากฎหมายครอบครัวและกฎหมายอาญาที่เกีย่วกับการผาตัดแปลงเพศ

ในประเทศที่ใชคอมมอนลอว,” นิติศาสตร 10 (2521): 409-434.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุคส,

2546.

วราภรณ วิชญรัตน. “เชิงสังวาสของเพศเดียวกนั ในจิตรกรรมฝาผนังแบบประเพณีไทย

สมัยรัตนโกสินทร (รัชกาลที ่1-5).” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชา

ประวัติศาสตรศิลปะ มหาวทิยาลัย ศิลปากร, 2549.

วารุณี ภูริสินสิทธิ.์ สตรีนยิม ขบวนการและแนวคิดทางสงัคมแหงศตวรรษที่ 20.

กรุงเทพฯ : คบไฟ, 2545.

วิกิพเีดีย. ความจําสั้นแตรกัฉันยาว. เขาถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2555. เขาถงึ ไดจาก

http:// th.wikipedia.org/wiki/ความจาํส้ัน_แตรักฉันยาว

. ความสุขของกะทิ. เขาถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2555. เขาถึงไดจาก

http://th.wikipedia.org/wiki/ความสุขของกะท ิ

__________. หมากเตะรเีทิรนส. เขาถงึเมื่อ 20 สิงหาคม 2555. เขาถึงไดจาก

http://th.wikipedia.org/wiki/หมากเตะรีเทิรนส

__________. แกงชะนกีับอีแอบ. เขาถงึเมื่อ 20 สิงหาคม 2555. เขาถึงไดจาก

http://th.wikipedia.org/wiki/แกงชะนีกับอีแอบ

__________. Mysterious Object at Noon. เขาถึงเมือ่ 5 มกราคม 2556. เขาถึงไดจาก

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9

%8C:Mysterious_Object_at_Noon.jpg.

วิจิตร วองวารีทิพย. “เซ็กซชวลลิต้ีบททดลองอานผานคอลัมนตอบปญหาหัวใจ.” รัฐศาสตรสาร

21, 2 (2542): 241-246.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 145: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

 

133

วิระดา สมสวสัด์ิ. ททีรรศนสตรีนิยม. เชียงใหม : ศูนยสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2549.

วิศิษฎ ศาสนเที่ยง. Camellia [CD-ROM]. กรุงเทพฯ : บริษัท ไฟวสตารโปรดักชั่น จาํกัด, 2554.

ศรัณย มหาสุภาพ. “การสรางอัตลักษณเกยในงานเขียนแนวอัตชวีประวัติเกยรวมสมัย.”

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทยีบ คณะอักษรศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551.

สมพร ครูกส. กวีธรรมนานาชาติ. เขาถึงเมื่อ 15 กันยายน 2555. เขาถึงไดจาก http://kroosom

-dharma.blogspot.com/

สมาคมพระคริสตธรรมไทย. พระคริสตธรรมคัมภีร. กรุงเทพฯ : สมาคมพระคริสตธรรมไทย,

2011.

สํานักศิลปวัฒนธรรมรวมสมยั, บันทกึประวัติศาสตรศลิปะ : นิทรรศการศลิปะนานาชาติ

เวนิส เบียนนาเลครั้งที ่50 ประเทศอิตาล.ี กรุงเทพฯ : สํานักงานศิลปะวัฒนธรรม

รวมสมัย, 2546.

__________. บันทึกประวติัศาสตรศลิปะ : นทิรรศการศิลปะนานาชาติเวนสิเบียนนาเล

ครั้งที่ 53 ประเทศอิตาล ี กรุงเทพฯ : สํานักงานศิลปะวัฒนธรรมรวมสมัย, 2552.

สินิทธ สิทธิรักษ, บรรณาธิการ. ผูหญิงกับความรู 1 (ภาค 2). กรุงเทพฯ : โครงการสตรีและ

เยาวชนศึกษา มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร, 2546.

สุธรรม ธรรมรงควิทย. “อํานาจและการขัดขืน: ชายรักชายในสังคมทีค่วามสัมพันธตางเพศเปน

ใหญ.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548.

สุมาลี โตกทอง. “การใหความหมายและการตอรองในชีวิตคูของหญิงรักหญิง.” วทิยานพินธ

ปริญญามหาบัณฑิต สาขาสตรีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2549.

สุวรรณา เปรมโสตร. “จกัรพันธุ โปรษยกฤต :ชีวิตเพื่อศิลปะ ศิลปะคือชีวิต.” สารคดี 25, 293

(กรกฎาคม 2552):81- 90.

อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล. สัตววกิาล. กรุงเทพฯ: โอเพนบุคส, 2550.

อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล. Primitive. เขาถึงเมื่อ 25 ธันวาคม 2555. เขาถงึไดจาก

http://www.animateprojects.org/films/by_project/primitive/primitive

อภิญญา เฟองฟูสกุล. อัตลักษณ. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการวิจยัแหงชาติ, 2546.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 146: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

 

134

เอ็มไทย [นามแฝง]. Camellia. เขาถงึเมือ่ 20 สิงหาคม 2555. เขาถงึไดจาก http://movie.

mthai.com/movie-profile/new-movie/106214.html

โอหม พนัธุไพโรจน. ศิลปน. สัมภาษณ, 9 พฤศจกิายน 2555.

. New Identity. เขาถงึเมื่อ 5 ตุลาคม 2555 เขาถึงไดจาก 7http://dooddot.com/

blog/view/120 2555

. Underage. เขาถงึเมื่อ 20 ธันวาคม 2555. เขาถึงไดจาก http://ohmphotography.

com/index.php?/currentproject/underage/ ภาษาตางประเทศ Barwell, Ismay. Review of Gender and Aesthetics. Accessed April 15, 2011. Available

from 8http://www.aesthetics-online.org/reviews/index.php?reviews_id=50

British, Musuem. William Blake. Accessed March 22, 2012. Available from

http://www.britishmuseum.org

Curtin, Brian. “Queer Waack Nang Gaga.” Bangkok Post (May 10, 2011): 13.

Gonzalez-Torres,Felix. Untitled. Accessed August 3, 2011. Available from

http://www.artic.edu/aic/collections/artwork/152961

Kinsey, Alfred. Sexual Beavior the Human Female. W.A: Sanderas, 1953.

Kruger, Barbara. We don’t need another hero. Accessed July 26, 2011. Available from

http://www.arthistoryarchive.com/arthistory/feminist/Barbara/Kruger.html

Noirmont, Jerome. Pierre et Gilles. Accessed July 26, 2011. Available from

http://www.denoirmont.com/portfolio-artiste-pierre-et-gilles-galerie-jerome-de-

noirmont.html.

Pooke, Grant., and Diana Newall. Art history : the basics. New York : Routledge,2008.

Radudai, Michael. Underconstruction New Dimensions of Asian Art Tokyo Opera City

Art Gallery. Tokyo: n.d.

Saville, Jenny. Passage. Accessed July 26, 2011. Available from http://www.saatchi-

gallery.co.uk/artists/jenny_saville.htm

Shaowanasai, Mongkol. Four Positions of Divina. [CD-ROM]. Bangkok: Kick the

Machine, 2008.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 147: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

 

135

. IRON PUSSY II [CD-ROM]. Bangkok : Kick the Machine, 1999.

. IRON PUSSY IV [CD-ROM]. Bangkok : Kick the Machine, 2003.

. Rose. [CD-ROM].Bangkok : Kick the Machine, 1998.

. TE AWA. [CD-ROM].Bangkok : Kick the Machine, 2005.

. Untitled. [CD-ROM ].Chicago : The Art Institute of Chicago, 1996.

. WELCOME TO MY LAND [CD-ROM ]. Chicago : The Art Institute of

Chicago, 1996.

Smarthistory. Bernini. Accessed September 2, 2011. Available from

http://smarthistory.khanacademy.org/bernini-ecstasy-of-st.-theresa.html

Smith,Ryan. Robert Mapplethrope. Accessed July 26, 2011. Availble from

http://arthistorianh.tumblr.com/post/1341276338/robert-mapplethorpe-ajitto-

gelatin-silver-print

Thaweesit, Suchada. “From Village to factory “Girl” Shifting Narratives on Gender and

Sexuality in Thailand.” An unpublished dissertation.” University of

Washington, 2002.

Warner, Michael. The trouble with Normal:Sex, Politics and the Ethics of Queer Life.

Massachusetts : Harvard University Press, 2003.

Wood,Julia T. Gendered lives : communication, gender, and culture. CA:

Thomson/Wadsworth, 2009.

Woodward, Kathryn. Identity and difference. London: Thousand Oaks, 2007.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 148: 2555 - thapra.lib.su.ac.th · ง 51005207 : สาขาวิชาทฤษฎีศิลป คํําสัญาค : เพศสถานะ / ไมเคิลเชาวนาศ

 

136

ประวัติผูวิจยั

ชื่อ-สกุล นายบารมี สมาธิปญญา

ที่อยู 3/548 ซอยรามคําแหง 184 แขวง/เขตมนีบุรี กรุงเทพฯ 10510 ประวัติการศกึษา พ.ศ. 2544 สําเร็จการศึกษาวารสารศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

พ.ศ. 2551 ศึกษาตอระดับปริญญาโท สาขาทฤษฎีศิลป มหาวทิยาลัยศิลปากร ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2545- ปจจุบัน อาจารยสอนพิเศษ

พ.ศ. 2554 อาจารยสอน “ภาษากับวรรณกรรม” ณ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

อาจารยรับเชิญ “การเขียนกับวรรณกรรมเด็ก”

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติร

พ.ศ. 2555 อาจารยพิเศษสอนวิชาความรูเบ้ืองตนเกีย่วกับศิลปะ ระดับช้ัน ปวช.

ณ วิทยาลัยกาญจนาภิเษก ชางทองหลวง จังหวัดนครปฐม

สำนกัหอ

สมุดกลาง