เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.)...

99
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด สังกัด คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร หมวด 1 ขอมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร 1.1 ชื่อภาษาไทย วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 1.2 ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Electronics Technology 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 2.1 ชื่อเต็มภาษาไทย วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส) 2.2 ชื่อยอภาษาไทย วท.บ. (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส) 2.3 ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Science (Electronics Technology) 2.4 ชื่อยอภาษาอังกฤษ B.Sc. (Electronics Technology) 3. วิชาเอก เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 4. จํานวนหนวยกิต ไมนอยกวา 136 หนวยกิต

Upload: -

Post on 16-Jul-2015

155 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

1

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556

ช่ือสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด สังกัด คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

หมวด 1 ขอมูลทั่วไป

1. ชื่อหลักสูตร

1.1 ช่ือภาษาไทย วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 1.2 ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Electronics Technology

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 2.1 ช่ือเต็มภาษาไทย วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส) 2.2 ช่ือยอภาษาไทย วท.บ. (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส) 2.3 ช่ือเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Science (Electronics Technology)

2.4 ช่ือยอภาษาอังกฤษ B.Sc. (Electronics Technology) 3. วิชาเอก เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 4. จํานวนหนวยกิต ไมนอยกวา 136 หนวยกิต

2

5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 หลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป 5.2 ภาษาที่ใช ในการเรียนการสอน ภาษาไทย

5.3 รับนักศึกษา นักศึกษาไทยและนักศึกษาตางประเทศทีส่ามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางดี

5.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่น เปนหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.5 การใหปรญิญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตร 6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556 6.2 เปดดําเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตรต้ังแตภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556 6.3 ไดรับอนุมัติจากสภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เมื่อการประชุม ครั้งที ่5/2555 วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2555 6.4 ไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เมื่อการประชุม ครั้งที ่9(68)/2555 วันที่ 20 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555 7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพรอมเผยแพรคุณภาพและมาตรฐาน ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ปการศึกษา 2558 8. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลังจากสําเร็จการศึกษา ผูสําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสสามารถประกอบอาชีพไดกวางขวางที่เกี่ยวกับงานดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ไดแก 8.1 งานดานการออกแบบและติดต้ังระบบอิเล็กทรอนิกส 8.2 งานดานการควบคุมเครื่องกลไฟฟา 8.3 งานดานระบบวัดคุม 8.4 งานดานระบบอิเล็กทรอนิกส ทั้งในหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ 8.5 อาชีพอิสระ นอกจากน้ียังสามารถศึกษาตอในสาขาวิชาที่เกี่ยวของในสถาบันทั้งในและตางประเทศ เปนตน

3

9. ชื่อ ตําแหนง และคุณวุฒิของอาจารยประจําหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร 9.1 อาจารยประจําหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร

ลําดับ

ชื่อ – สกุล เลขบัตรประชาชน

ตําแหนง คุณวุฒิ / สาขาวิชา สถาบันการศึกษา วิชาท่ีสอน

1 *

สิทธเดช หมอกมีชัย 3 4702 00188 9 00

อาจารย คอ.ม. (โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส) คอ.บ. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน

- อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน - การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร - การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส - คอมพิวเตอรเบื้องตน

2 *

กันตภณ พรหมนิกร 3 4599 00217 9 78

อาจารย คอ.ม. (วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส) วท.บ. (อิเล็กทรอนิกส)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ีสถาบันราชภัฏอุบลราชธานี

- คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 - คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 - สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 - การประยุกตไอซีเชิงเสน

3 ธีรศาสตร คณาศร ี3 4505 01030 9 73

อาจารย คอ.ม. (โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา - สื่อสาร)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตธัญบุร ี

- อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม - การออกแบบระบบดิจิตอล - ระบบเครือขายคอมพิวเตอร - อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน

4* สันติ พันธรัมย 3 3101 01507 2 00

อาจารย คอ.ม. (ไฟฟา - โทรคมนาคม) วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ สถาบันราชภัฏบุรีรัมย

- การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส - อิเล็กทรอนิกส 1 - ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1

5 เอกบดินทร กลิ่นเกษร 1 4599 00020 1 32

อาจารย วศ.ม. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) คอ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง

- การสื่อสารใยแสง - วัสดุศาสตร - วิศวกรรมความปลอดภัย

หมายเหตุ * อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

4

10. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน 10.1 สถานท่ีจัดการเรียนการสอน ใชสถานที่และอุปกรณการสอนภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของในมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ดังน้ี

1) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 (อาคารเรียนรวม 9 ช้ัน) 2) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ (อาคารเรียนรวม 7 ช้ัน) 3) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 56 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา 4) อาคารบรรณราชนครินทร (ศูนยวิทยบริการ) 5) อาคารศูนยภาษาและคอมพิวเตอร ช้ัน 2 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 100 เครื่อง 6) อาคารศูนยภาษาและคอมพิวเตอร ช้ัน 3 และ 4 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 109 เครื่อง 7) ศูนยคอมพิวเตอรอาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ ช้ัน 2 จํานวนเครื่อง

คอมพิวเตอร 60 เครื่อง ช้ัน 7 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 25 เครื่อง 8) หองบรรยายขนาด 50 ที่น่ัง จํานวน 20 หอง 9) หองบรรยายขนาด 150 ที่น่ัง จํานวน 2 หอง

หองปฏิบัติการที่มีอยูปจจุบัน ลําดับท่ี รายการ จํานวน

1 หองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 1 หอง 2 หองปฏิบัติการดิจิตอล 1 หอง 3 หองปฏิบัติการเครื่องจักรกล - ไฟฟา 1 หอง 4 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1 1 หอง 5 หองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 1 หอง

10.2 อุปกรณการเรียนการสอน

อุปกรณการเรียนการสอนที่มีอยูปจจุบัน

ลําดับท่ี รายการ จํานวน 1 ชุดฝกอิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 10 ชุด 2 ชุดฝกวงจรอิเล็กทรอนิกส 10 ชุด 3 ชุดฝกดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส 10 ชุด 4 ชุดฝกไฟเบอรออฟติค 2 ชุด 5 คอมพิวเตอร 15 ชุด 6 Single Board Microcomputer (MSC-51) 5 ชุด 7 ออสซิลโลสโคป 1 ชอง 3 ชุด 8 ปมลม 1 ชุด 9 ชุดการเรียนเบสิกแสตมป 2SX 1 ชุด 10 Digital Multimeter 10 ชุด 11 Laboratory DC Power Supply 8 ชุด

5

อุปกรณการเรียนการสอนที่ตองการเพิ่มเติม

10.3 หองสมุด และแหลงคนควา

ศูนย วิทยบริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ซึ่ งมีหนังสือ ตําราเรียน วารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส ศูนยการเรียนรูดวยตนเองการใหบริการทางอินเตอรเน็ต (Internet) และการใหบริการทางดานวิชาการตาง ๆ โดยมีรายละเอียดดังน้ี

10.3.1 สิ่งตีพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส 1. หนังสือและตําราเรียนภาษาไทย 2. หนังสือและตําราเรียนภาษาอังกฤษ 3. วารสารตาง ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4. วารสารวิชาการเย็บเลม 5. จุลสาร 6. หนังสือพิมพภาษาไทย 7. หนังสือพิมพภาษาตางประเทศ

ลําดับท่ี รายการ จํานวน 12 ออสซิลโลสโคป 2 ชอง 10 ชุด 13 Dual Tracking DC Power Supply 5 ชุด 14 Regulate DC Power Supply 0-30 V 5A 5 ชุด

ลําดับท่ี รายการ จํานวน 1 คอมพิวเตอร 20 ชุด 2 ชุดทดลองเครื่องมือวัดทางไฟฟา 20 ชุด 3 ชุดทดลองอิเล็กทรอนิกสกําลัง 20 ชุด 4 Storage Oscilloscope 5 ชุด 5 Projector 5 ชุด 6 ชุดทดลองเซ็นเซอรทรานสดิวเซอร 10 ชุด 7 ชุดฝก PLC 10 ชุด 8 ชุดฝกวงจรไฟฟา 20 ชุด 9 ออสซิลโลสโคป 2 ชอง 20 ชุด 10 ชุดฝกอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 20 ชุด 11 ชุดฝกวงจรตรรกะอิเล็กทรอนิกส 10 ชุด 12 ชุดฝกโมดูลระบบอินเตอรเฟส 10 ชุด 13 Multi Interface Board (Z-80 Version) 20 ตัว 14 ชุดฝก MCS51 10 ชุด 15 ชุดฝก PIC16F877 10 ชุด 16 ชุดฝก CPLD 10 ชุด

6

8. กฤตภาค 9. แผนซีดี

10.3.2 ขอมูลออนไลน 1. ThaiLIS 2. Kluwer Online eBooks 3. NetLibrary eBooks 4. ACM Digital Library 5. H.W. Wilson 6. ABI/INFORM Complete 7. ProQuest Dissertation&Theses 8. SpringerLink Journal 9. Web of Science

10.4 สถานท่ีฝกประสบการณวิชาชีพ 1. บริษัทนํ้าตาลมิตรกาฬสินธุจํากัด จังหวัดกาฬสินธุ (หนวยซอมบํารุง) 2. บริษัทเมเจอรกรุป กรุงเทพมหานคร 3. สนามบินนานาชาติ จังหวัดอุบลราชธานี 4. สนามบินนานาชาติ จังหวัดขอนแกน 5. ทาอากาศยานจังหวัดรอยเอ็ด 6. บริษัท ที โอ ที จํากัดมหาชน อําเภอโพนทอง 7. บริษัท ที โอ ที จํากัดมหาชน จังหวัดรอยเอ็ด 8. บริษัท ที โอ ที จํากัดมหาชน จังหวัดยโสธร 9. สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย (94.00 MHz) จังหวัดรอยเอ็ด 10. สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด (92.25 MHz) 11. การไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอเสลภูม ิ12. การไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอสุวรรณภูม ิ 13. การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดรอยเอ็ด 14. การไฟฟาฝายผลิตจังหวัดรอยเอ็ด 15. โรงไฟฟาพลังงานนํ้า (เข่ือนอุบลรัตน) อําเภอนํ้าพอง จังหวัดขอนแกน 16. โรงไฟฟาพลังงานนํ้า (เข่ือนลําตะคอง) จังหวัดนครราชสีมา 17. โรงงานอุตสาหกรรมในเขตจงัหวัดรอยเอ็ด

11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

11.1.1 จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ประเทศไทยเปนประเทศที่กําลังพัฒนาสูการเปนศูนยกลางทางอุตสาหกรรมและธุรกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงมีความตองการกําลังคนที่มีความรูความเช่ียวชาญที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

11.1.2 สังคมโลกาภิวัตนไดเปดเสรีทางการคาและการประกอบอาชีพ ทําใหเกิดการแขงขัน ทั้งภายในและภายนอกประเทศ

7

11.1.3 สังคมปจจุบันมีความเจริญทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร เปนสังคมแหงการเรียนรู ที่แขงขันกันดวยความรูความสามารถ การผลิตบุคลากรระดับควบคุมงานที่มีความรูความสามารถจึงมีความจําเปนย่ิง

11.1.4 สถาบันการศึกษาเปนที่พึ่งพาของประเทศในการเปนแหลงความรูและสรรสรางนวัตกรรมที่นํามาใชประโยชนได จากกระบวนการเรียนการสอนที่สรางสรรคความคิดวิเคราะห

11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม 11.2.1 ตระหนักในการอนุรักษสิ่งแวดลอมของสังคมโลก จากปญหาการเปลี่ยนแปลงทาง

ธรรมชาติในอตัราเรง ความจําเปนในการใชพลังงานอยางประหยัดคุมคา 11.2.2 แนวโนมการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีมีความเจริญกาวหนา ทําใหลดข้ันตอนและลด

เวลาในการผลิต ทําใหภาคอุตสาหกรรมตองปรับกระบวนการผลิต 11.2.3 ภาคอุตสาหกรรมมีความเกี่ยวของกับแรงงานจํานวนมาก การปรับเปลี่ยน การบริหาร

จัดการหรือกระบวนการจึงมีผลกระทบตอรายไดของคนจํานวนมาก 11.2.4 มีการพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อเตรียมความพรอมของแรงงานใหตรงกับความตองการของ

ภาคอุตสาหกรรม 12. ผลกระทบจากขอ 11 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวของกับพันธกิจของสถาบัน 12.1 การพัฒนาหลักสูตร

12.1.1 พัฒนาหลักสูตรใหตอบสนองความตองการของประเทศทางดานกําลังคนและความรูความเช่ียวชาญที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีทางดานอิเล็กทรอนิกส

12.1.2 พัฒนาหลักสูตรใหตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงสังคม และเปนที่ยอมรับระดับสากล 12.1.3 ใหความสําคัญในเรื่องการนําเทคโนโลยีทางดานอิเล็กทรอนิกสมาพัฒนาทองถ่ิน 12.1.4 มีการปรับเปลี่ยนรายวิชาใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน การเปลี่ยนแปลง

ทางสังคม เศรษฐกิจและเทคโนโลยี 12.2 ความเก่ียวของกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย

12.2.1 ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีใหมีคุณภาพ สอดคลองกับความตองการกําลังคนของทองถ่ินและประเทศ

12.2.2 เสริมสรางความมั่นคงและความเขมแข็งของชุมชนในทองถ่ิน ขยายขอบเขตและรูปแบบการบริการวิชาชีพใหมีความหลากหลาย

12.2.3 สนับสนุนการสรางองคความรูจากงานวิจัยที่สามารถนําไปใชไดจริง 12.2.4 สงเสริมการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการทาง

วิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อสนองตอความเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดลอม 13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอ่ืนท่ีเปดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน 13.1 รายวิชาในหลักสูตรท่ีเปดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอ่ืน

13.1.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไดแก กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร กลุมวิชามนุษยศาสตร กลุมวิชาสังคมศาสตร กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 13.2 รายวิชาท่ีเปดสอนใหคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอ่ืน

ไมม ี

8

หมวด 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลกัสูตร

1.1 ปรัชญาและความสําคัญ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส มุงเนนใหโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสแกประชาชนในทองถ่ิน ผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถ เปนผูคิดคน พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม เพื่อตอบสนองความตองการของประเทศไทยใน โลกยุคปจจุบันโดยมุงพัฒนาใหบัณฑิตมีความรูในการพัฒนาและใชเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทางดานอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนใหมีจิตสํานึกในวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส สามารถนําความรูไปประยุกตใชกับทองถ่ินและประเทศชาติไดอยางมีคุณภาพ

1.2 วัตถุประสงคของหลักสูตร 1.2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ตรงตอเวลา ซื่อสัตยสุจริต

ขยันหมั่นเพียร สํานึกในจรรยาบรรณวิชาชีพ รับผิดชอบตอหนาที่และสังคม 1.2.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส การ

ควบคุมระบบการทํางานเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส และการบริหารงานทางดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสไดอยางมีประสิทธิภาพ และตอบสนองความตองการของตลาดแรงงานทั้งภาครัฐและเอกชน

1.2.3 เพื่อผลิตบัณฑิตใหสามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับการติดต้ังตรวจสอบระบบอิเล็กทรอนิกส แกไขซอมบํารุง สามารถเลือกเทคโนโลยีใหมีความเหมาะสมกับลักษณะการใชงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

1.2.4 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีทักษะในการสื่อสารระหวางผูบังคับบัญชา วิศวกร กับผูปฏิบัติงานอิเล็กทรอนิกส และสามารถถายทอดความรูในสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสไดอยางมีคุณภาพ

1.2.5 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณลักษณะในการทํางาน วางแผนเตรียมการ รวมทั้งปรับปรุงและพัฒนาตนเองใหกาวหนาอยูเสมอ สามารถแกปญหาดวยหลักการและเหตุผล ปฏิบัติงานดวยหลักวิชาการที่มีการวางแผนอยางเปนระบบ ซึ่งจะกอใหเกิดผลสัมฤทธ์ิตามเปาหมายอยางประหยัด รวดเร็วและมีคุณภาพ

2. แผนพัฒนาปรับปรุง ดําเนินการแลวเสร็จครบถวนภายใน 5 ป ตารางแผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพัฒนา / เปลี่ยนแปลง

กลยุทธ หลักฐาน / ดัชนีชี้วัด

1. สงเสริมการใชความรูเพื่อการแกไขปญหาในสถานการณจริง

1.1 ปรับปรุงการจัดโปรแกรมการออกฝกประสบการณวิชาชีพ เพิ่มเติมกิจกรรมแกปญหาดานเทคนิคเบื้องตนของสถานประกอบการที่ฝกงาน

1.1 เริ่มโปรแกรมการออกฝกประสบการณวิชาชีพปที่ 4 ของการใชหลักสูตร 1.2 ผูประกอบการมีความพึงพอใจตอผลงานของนักศึกษาในระดับ 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

9

แผนการพัฒนา / เปลี่ยนแปลง

กลยุทธ หลักฐาน / ดัชนีชี้วัด

2. ปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการ ของตลาดแรงงานและการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยี

2.1 ติดตามความเปลี่ยนแปลงในความตองการของผูใชบัณฑิต

2.1 รายงานผลการประเมิน ความพึงพอใจในการใช บัณฑิตของสถานประกอบการ 2.2 ความพึงพอใจในทักษะ ความรู ความสามารถใน การทํางานของบัณฑิต 2.3 ดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการ ของตลาดแรงงานและการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีทุก 5 ป

3. ปรับปรุงการบริหารหลักสูตรโดยมุงผลการเรียนรูของนักศึกษา

3.1 ประชุมช้ีแจงอาจารยและมอบหมายความรับผิดชอบตอผลการเรียนรูใหอาจารยประจําวิชา 3.2 ติดตามผลการเรียนรูของนักศึกษา โดยอาจารยที่รับผิดชอบหลักสูตร

3.1 มีการจัดทํารายละเอียดรายวิชา และรายงานรายวิชา ทุกรายวิชา 3.2 มีการทบทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาและจัดทํารายงานหลักสูตรทุกปการศึกษา 3.3 ผลสมัฤทธ์ิของนักศึกษาเปนไปตามมาตรฐาน

10

หมวด 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบการจัดการศึกษา ขอกําหนดตาง ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ดวาดวยการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเน่ือง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม โดยมหาวิทยาลัยใชระบบการศึกษาเปนแบบทวิภาค จัดการเรียนการสอนแบบปละ 2 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาการศึกษาในแตละภาคการศึกษา ไมนอยกวา 15 สัปดาห

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ขอกําหนดตางๆ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวยการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเน่ือง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม โดยมหาวิทยาลัยอาจจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูรอนไดโดยใชเวลาการศึกษาไมนอยกวา 10 สัปดาห และมีจํานวนช่ัวโมงเรียนเทากับภาคการศึกษาปกติ ในกรณีที่จําเปนจะตองจัดการศึกษาแตกตางจากวรรคแรก ใหเสนอตอสภามหาวิทยาลัยเพื่อใหความเห็นชอบ 1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค การเทียบโอนหนวยกิตและรายวิชา ตองไดรับการเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหลักสูตร และตองเปนไปตามขอบังคับวาดวยการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเน่ือง) พ.ศ. 2550 ประกาศหลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียนรูของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และประกาศหรือขอกําหนดที่เกี่ยวของ 2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1 ชวงเวลาการดําเนินการเรียนการสอน (อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามประกาศมหาวิทยาลัย)

2.1.1 ภาคการศึกษาที่ 1 มิถุนายน - กันยายน 2.1.2 ภาคการศึกษาที่ 2 พฤศจิกายน - กุมภาพันธ

ในกรณีจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ใหจัดในชวงเดือนมีนาคม–พฤษภาคม 2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 2.2.1 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (หรือเทียบเทา) และใหเปนไปตามระเบียบหรือขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด 2.2.2 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทาในสาขาวิชาชางอิเล็กทรอนิกส ชางไฟฟา ชางโทรคมนาคม คอมพิวเตอรหรือเทียบเทา

2.2.3 สําหรับผูสมัครเขาศึกษาแบบเทียบโอน เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา (อ.วท.) 3 ป หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ทางดานอิเล็กทรอนิกส ไฟฟา โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร ซึ่งตองผานการเทียบโอนรายวิชาเดิมที่เคยศึกษาตามหลักเกณฑของมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด 2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา ปญหาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษา มาเปนการเรียนรูที่มีรูปแบบแตกตางไปจากเดิมที่คุนเคย มีสังคมกวางข้ึน ตองดูแลตนเองมากข้ึน มีกิจกรรมทั้งการเรียนในหองและกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่นักศึกษาตองสามารถจัดแบงเวลาใหเหมาะสม

11

2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3 2.4.1 จัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหมแนะนําการวางเปาหมายชีวิต เทคนิคการเรียนใน

มหาวิทยาลัย และการแบงเวลา 2.4.2 มอบหมายหนาที่อาจารยที่ปรึกษาใหแกอาจารยทุกคน ทําหนาที่สอดสองดูแลให

คําปรึกษาแนะนํา 2.4.3 มีคณะกรรมการอาจารยที่ปรึกษาใหความชวยเหลือแกอาจารยที่ปรึกษา จัดกิจกรรม

ที่เกี่ยวของกับการดูแลนักศึกษา เชน วันแรกพบระหวางนักศึกษากับอาจารย วันพบผูปกครอง การติดตามการเรียนของนักศึกษาช้ันปที่ 1 จากอาจารยผูสอนและจัดกิจกรรมสอนเสริมถาจําเปน เปนตน

2.4.4 มีนักวิชาการดานการศึกษาทําหนาที่แนะแนวการเรียน เชน การจับประเด็นจากการอานหนังสือ การจดโนต การจัดระบบความคิด การดํารงชีวิตในมหาวิทยาลัยใหแกนักศึกษาที่มีปญหาและขอความชวยเหลือ

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป 2.5.1 จํานวนนักศึกษาที่จะรับสําหรับผูมีคุณสมบัติตามคุณสมบัติหมวดที่ 3 ขอ 2 (2.2)

ระดับ / ชั้นป ปการศึกษา

2556 2557 2558 2559 2560 ช้ันปที่ 1 30 30 30 30 30 ช้ันปที่ 2 - 30 30 30 30 ช้ันปที่ 3 - - 30 30 30 ช้ันปที่ 4 - - - 30 30

รวม 30 60 90 120 120 จํานวนนักศึกษาท่ีจะสําเร็จ

การศึกษา - - - 30 30

2.6 งบประมาณตามแผน ใชงบประมาณของคณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังน้ี

2.6.1 งบประมาณรายรับ (หนวย:บาท)

รายละเอียด ปงบประมาณ

2556 2557 2558 2559 2560

คาธรรมเนียมการศึกษา 360,000 720,000 1,080,000 1,440,000 1,440,000 เงินอุดหนุนจากรัฐบาล 90,000 180,000 270,000 360,000 360,000 รวมรายรับ 450,000 900,000 1,350,000 1,800,000 1,800,000

12

2.6.2 งบประมาณรายจาย (หนวย:บาท)

รายละเอียด ปงบประมาณ

2556 2557 2558 2559 2560

ก. งบดําเนินงาน คาใชจายบุคลากร 795,000 858,600 927,288 1,001,471 1,081,589 คาใชจายดําเนินงาน 80,000 96,000 115,200 138,240 165,888 ทุนการศึกษา 25,000 30,000 35,000 40,000 40,000 รายจายระดับมหาวิทยาลัย 95,000 100,000 150,000 200,000 250,000

รวม (ก) 995,000 1,084,600 1,227,488 1,379,711 1,537,477 ข. งบลงทุน คาครุภัณฑ 5,520,600 6,624,720 6,348,690 6,072,660 5,796,630

รวม (ข) 5,520,600 6,624,720 6,348,690 6,072,660 5,796,630 รวม (ก)+(ข) 6,515,600 7,709,320 7,576,178 7,452,371 7,334,107

จํานวนนักศึกษา 30 60 90 120 120 คาใชจายตอหัวนักศึกษา 10,000 10,000 15,000 20,000 20,000

2.7 ระบบการศึกษา

ใชระบบการศึกษาแบบช้ันเรียนและเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวยการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเน่ือง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม 2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย (ถามี)

การเทียบโอนหนวยกิตและรายวิชาเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวยการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเน่ือง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม 2.9 การคิดหนวยกิต

2.9.1 รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหา 1 ช่ัวโมงตอสัปดาหตลอดหน่ึงภาคการศึกษาปกติ หรือจํานวนช่ัวโมงไมนอยกวา 15 ช่ัวโมงใหนับเปนหน่ึงหนวยกิต

2.9.2 รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใชเวลาฝกหรือทดลอง 2 - 3 ชั่วโมงตอสัปดาหตลอดหนึ่งภาคการศึกษาปกติ หรือจํานวนช่ัวโมงรวมระหวาง 30 - 45 ช่ัวโมงใหนับเปนหน่ึงหนวยกิต

2.9.3 การฝกประสบการณวิชาชีพหรือการฝกภาคสนามใชเวลาฝกไมนอยกวา 90 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติใหนับเปนหน่ึงหนวยกิต

2.9.4 การทําโครงงานหรือการเตรียมฝกภาคสนามใชเวลาฝกไมนอยกวา 90 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติใหนับเปนหน่ึงหนวยกิต

2.9.5 การศึกษาบางรายวิชาที่มีลักษณะเฉพาะ มหาวิทยาลัยอาจกําหนดหนวยกิตโดยใชหลักเกณฑอื่นไดตามความเหมาะสม

2.10 การลงทะเบียนเรียน ในแตละภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนไดไมตํ่ากวา 9 หนวยกิต (ยกเวนภาค

การศึกษาทีล่งทะเบียนวิชาฝกประสบการณวิชาชีพ) แตไมเกิน 22 หนวยกิต สําหรับภาคการศึกษาภาคฤดูรอน นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนไดไมเกิน 9 หนวยกิต ในการลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติที่มีจํานวน

13

หนวยกิตมากกวา 22 หนวยกิต แตไมเกิน 25 หนวยกิต หรือนอยกวา 9 หนวยกิต ตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาและหัวหนาสาขา และไดรับอนุมติัจากคณบดีหรือรองอธิการบดีเปนราย ๆ ไป

ระยะเวลาการศึกษาหลักสูตรไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ แตไมเกิน 8 ปการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเต็มเวลา ทั้งน้ีเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม 3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน

3.1 หลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส มีระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร 4 ป

3.1.1 จํานวนหนวยกิต มีจํานวนหนวยกิต ตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 136 หนวยกิต 3.1.2 โครงสรางหลักสูตร มีสดัสวนหนวยกิตแตละหมวดวิชา ดังน้ี

1 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต 1.1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต 1.2) กลุมวิชามนุษยศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 1.3) กลุมวิชาสังคมศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 1.4) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 100 หนวยกิต 2.1) กลุมวิชาเฉพาะดานพื้นฐาน 22 หนวยกิต 2.2) กลุมวิชาเฉพาะดานบังคับ 60 หนวยกิต 2.3) กลุมวิชาเฉพาะดานเลือก ไมนอยกวา 12 หนวยกิต 2.4) กลุมประสบการณภาคสนาม 6 หนวยกิต ใหเลือกแผนใดแผนหน่ึง

2.4.1) ฝกประสบการณวิชาชีพ 2.4.1.1) เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 1 หนวยกิต 2.4.1.2) ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 5 หนวยกิต 2.4.2) สหกิจศึกษา 2.4.2.1) เตรียมสหกิจศึกษา 1 หนวยกิต

2.4.2.2) สหกิจศึกษา 5 หนวยกิต 3 หมวดวิชาเลือกเสร ี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

14

3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร 1 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต

1.1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปน้ี)

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

GEL1101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) Thai for Communication

GEL1102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(2-2-5) English for Study Skills

GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(2-2-5) Information and Individual Study GEL1104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) English for Communication

GEL1105 ภาษาญี่ปุนพื้นฐาน 3(2-2-5) Japanese for Beginners

GEL1106 ภาษาจีนพื้นฐาน 3(2-2-5) Chinese for Beginners

GEL1107 ภาษาเวียดนามพื้นฐาน 3(2-2-5) Vietnamese for Beginners

GEL1108 ภาษาลาวพื้นฐาน 3(2-2-5) Laos for Beginners

1.2) กลุมวิชามนุษยศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปน้ี)

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)

ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation

GEH2102 จริยธรรมกับชีวิต 3(3-0-6) Morality and Life

GEH2103 จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย 3(3-0-6) Psychology for Human Development GEH2104 การคิดเชิงวิพากษและการแกปญหา 3(3-0-6) Critical Thinking and Problem Solving

15

1.3) กลุมวิชาสังคมศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปน้ี)

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)

ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GES3101 วิถีไทย 3(3 -0-6)

Thai Living GES3102 วิถีโลก 3(3-0-6) Global Society and Living GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) Life and Environment GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) Law for Daily Life GES3105 การเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6) Thai Politics and Government

1.4) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปน้ี)

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

GET4101 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5) Science for Quality of Life GET4102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2-5) Thinking and Decision Making GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน 3(2-2-5) Information Technology for Work

GET4104 การออกกําลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5) Exercise and Recreation for Health

16

2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 100 หนวยกิต 2.1) กลุมวิชาเฉพาะดานพ้ืนฐาน 22 หนวยกิต

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)

ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT1101 การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Basic Electronics Training ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-2-5) Engineering Drawing

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6) Electronics Engineering Mathematics 1 PHY1103 ฟสิกสเบื้องตน 3(3-0-6) Fundamental Physics PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1(0-3-1) Laboratory of Fundamental Physics ELT2104 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6) Electronics Engineering Mathematics 2 ELT2105 วัสดุศาสตร 3(3-0-6) Material Science ELT3106 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6) Safety Engineering

2.2) กลุมวิชาเฉพาะดานบังคับ 60 หนวยกิต

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

ELT1201 คอมพิวเตอรเบื้องตน 3(2-2-5) Introduction to Computer

ELT1202 อิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6) Electronics 1 ELT1203 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 1(0-3-2) Electronics Laboratory 1 ELT1204 ทฤษฎีวงจรไฟฟา 3(2-2-5) Electric Circuits ELT1205 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา 3(2-2-5) Electrical Instruments and Measurement

17

ELT2206 อิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6) Electronics 2 ELT2207 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2 1(0-3-2) Electronics Laboratory 2 ELT2208 การวิเคราะหวงจรไฟฟา 3(2-2-5) Electric Circuits Analysis ELT2209 ภาษาอังกฤษสําหรับงานอิเล็กทรอนิกส 3(3-0-6) English for Electronic Work ELT2210 อิเล็กทรอนิกสกําลัง 3(2-2-5) Power Electronics ELT2211 วงจรดิจิตอลและลอจิก 3(3-0-6) Digital and Logic Circuits ELT2212 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก 1(0-3-2) Digital and Logic Circuits Laboratory ELT2213 งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Electrical and Electronics Appliance Repairs ELT2214 การสื่อสารใยแสง 3(2-2-5) Optical Fiber Communications ELT3215 ไมโครคอนโทรลเลอรและไมโครโปรเซสเซอร 3(2-2-5) Microcontroller and Microprocessor ELT3216 การออกแบบระบบดิจิตอล 3(2-2-5) Digital System Design ELT3217 การประยุกตไอซีเชิงเสน 3(2-2-5) Linear Integrated Circuits Application ELT3218 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 3(2-2-5) Industrial Electronics ELT3219 การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Electronics Circuits Design ELT3220 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 3(2-2-5) Invention and Innovation 1 ELT4221 การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Industrial Quality Management ELT4222 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 2 3(2-2-5) Invention and Innovation 2

18

2.3) กลุมวิชาเฉพาะดานเลือก ไมนอยกวา 12 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปน้ี)

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

ELT2301 เครื่องรับโทรทัศน 3(2-2-5) Television ELT2302 ระบบเคเบิลทีวี 3(2-2-5)

Cable TV Systems รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)

ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT2303 เทคโนโลยีแผนวงจรพิมพ 3(2-2-5) Printed Circuits Technology ELT2304 การจําลองระบบโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Computer Program Simulation ELT2305 การสื่อสารขอมูลและโครงขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Data Communication and Computer Networks ELT3306 การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร 3(2-2-5) Microcontroller Application ELT3307 คอมพิวเตอรกราฟก 3(2-2-5) Computer Graphics ELT3308 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Computer Network Systems ELT3309 อิเล็กทรอนิกสทางแสง 3(2-2-5) Opto Electronics ELT4310 ตัวควบคุมแบบโปรแกรม 3(2-2-5) Programmable Logic Controller ELT4311 ระบบโทรศัพท 3(2-2-5) Telephone Systems ELT4312 อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน 3(2-2-5) Electronics for Community ELT4313 ภาษาอังกฤษในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) English for Industrial Work ELT4314 เซนเซอรและทรานสดิวเซอร 3(2-2-5) Sensors and Transducer ELT4315 หัวขอคัดสรรทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Selected Topics in Electronic

19

2.4) กลุมประสบการณภาคสนาม 6 หนวยกิต (ใหเลือกจากแผนใดแผนหน่ึงตอไปน้ี) แผนฝกประสบการณวิชาชีพ

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

ELT4401 เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 1(90) Preparation for Professional Experience in Electronics ELT4402 ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 5(450) Professional Experience in Electronics แผนสหกิจศึกษา

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

ELT4403 เตรียมสหกิจศึกษา 1(90) Pre-Cooperative Education ELT4404 สหกิจศึกษา 5(450) Cooperative Education

3 หมวดวิชาเลือกเสร ี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

ใหเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด โดยไมซ้ํากับรายวิชาที่เคยเรียนมาแลว และตองไมเปนรายวิชาที่กําหนดใหเรียนโดยไมนับหนวยกิต รวมในเกณฑการสําเร็จหลักสูตรของสาขาวิชา

4 คําอธิบายรหัสวิชาประกอบดวยสัญลักษณ 7 ตัว ตัวอักษรภาษาอังกฤษ 3 ตัวแรก หมายถึง สาขาวิชาหรือคณะที่สังกัด ตัวเลข ตัวที่ 4 หมายถึง ระดับช้ันป ตัวเลข ตัวที่ 5 , 6 และ 7 หมายถึง ลําดับความยากงายของรายวิชา

20

3.1.4 แผนการศึกษา

ชั้นปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1

หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) ศึกษาทั่วไป GEL1101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) ศึกษาทั่วไป GEL1102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT1101 การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน PHY1103 ฟสิกสเบื้องตน 3(3-0-6) เฉพาะดานพื้นฐาน PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1(0-3-1) เฉพาะดานบังคับ ELT1201 คอมพิวเตอรเบื้องตน 3(2-2-5)

รวม 19 หนวยกิต

ชั้นปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2

หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)

ศึกษาทัว่ไป GEL1104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) ศึกษาทั่วไป GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT1202 อิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT1203 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 1(0-3-2) เฉพาะดานบังคับ ELT1204 ทฤษฎีวงจรไฟฟา 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT1205 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา 3(2-2-5)

รวม 19 หนวยกิต

21

ชั้นปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1

หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)

ศึกษาทั่วไป GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(2-2-5) ศึกษาทั่วไป GET4104 การออกกําลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT2104 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT2206 อิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT2207 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2 1(0-3-2) เฉพาะดานบังคับ ELT2208 การวิเคราะหวงจรไฟฟา 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT2209 ภาษาอังกฤษสําหรับงานอิเล็กทรอนิกส 3(3-0-6) เฉพาะดานเลือก ELT2301 เครื่องรับโทรทัศน 3(2-2-5)

รวม 22 หนวยกิต

ชั้นปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)

ศึกษาทั่วไป GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6) ศึกษาทั่วไป GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT2105 วัสดุศาสตร 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT2210 อิเล็กทรอนิกสกําลัง 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT2211 วงจรดิจิตอลและลอจิก 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT2212 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก 1(0-3-2) เฉพาะดานบังคับ ELT2213 งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT2214 การสื่อสารใยแสง 3(2-2-5)

รวม 22 หนวยกิต

22

ชั้นปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1

หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)

ศึกษาทั่วไป GEH2103 จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย 3(3-0-6) ศึกษาทั่วไป GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT3106 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT3215 ไมโครคอนโทรลเลอรและไมโครโปรเซสเซอร 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT3216 การออกแบบระบบดิจิตอล 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT3217 การประยุกตไอซีเชิงเสน 3(2-2-5) เลือกเสร ี xxxxxxx เลือกเสรี 1 3(x-x-x)

รวม 21 หนวยกิต

ชั้นปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2

หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) เฉพาะดานบังคับ ELT3218 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT3219 การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT3220 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 3(2-2-5) เฉพาะดานเลือก ELT3306 การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร 3(2-2-5) เฉพาะดานเลือก ELT3308 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) เลือกเสร ี xxxxxxx เลือกเสรี 2 3(x-x-x)

รวม 18 หนวยกิต

23

ชั้นปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1

หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) เฉพาะดานบังคับ ELT4221 การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT4222 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 2 3(2-2-5) เฉพาะดานเลือก ELT4312 อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน 3(2-2-5) ประสบการณภาคสนาม

ELT4401 หรือ

ELT4403

เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส เตรียมสหกิจศึกษา

1(90)

รวม 10 หนวยกิต

ชั้นปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2

หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต ประสบการณภาคสนาม

ELT4402 หรือ

ELT4404

ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส สหกิจศึกษา

5(450)

รวม 5 หนวยกิต

24

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา 1 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GEL1101 ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร 3(2-2-5)

Thai for Communication ความสําคัญของภาษาไทยในฐานะที่เปนเครื่องมือสื่อสาร สภาพปญหาและ

แนวทางแกไขปญหา การใชภาษาในชีวิตประจําวัน กระบวนการพัฒนาทักษะทางภาษา การนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ

GEL1102 ภาษาอังกฤษเพ่ือทักษะการเรียน 3(2-2-5)

English for Study Skills หลักการ วิธีการ และเทคนิคเบื้องตนในการศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ กลยุทธ

การอานที่มีประสิทธิภาพ ทักษะการเขียนเพื่อสรุปใจความจากตําราและการบรรยาย การสื่อสารในช้ันเรียน การพูดและเขียนตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน การนําเสนอขอมูล การแสดงความคิดเห็นในประเด็นทางการเรียน การสืบคนขอมูลจากแหลงตางๆ

GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(2-2-5)

Information and Individual Study ความสําคัญของการรูสารสนเทศ กระบวนการพัฒนาความรูและ

ทักษะสารสนเทศ ประกอบดวย การวิเคราะหความตองการสารสนเทศ การเลือกแหลงและทรัพยากรสารสนเทศ การสืบคนสารสนเทศโดยใชเทคโนโลยี สารสนเทศเปนเครื่องมือ การวิเคราะห สังเคราะหและประเมินสารสนเทศ การเรียบเรียงและนําเสนอสารสนเทศในรูปแบบตางๆ อยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

GEL1104 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 3(2-2-5)

English for Communication ทักษะเพื่อการสื่อสาร การพูดการฟงในบริบทที่หลากหลาย การออกเสียง

และใชสํานวนภาษาอังกฤษอยางถูกตองเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การฟงและ แปลความหมายบทสนทนาและจากสื่อตางๆ การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อสงเสริมความสามารถในการสื่อสารกับสังคมโลก

25

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GEL1105 ภาษาญ่ีปุนพ้ืนฐาน 3(2-2-5) Japanese for Beginners

ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาญี่ปุนอยางบูรณาการ ศึกษา รูปประโยคและไวยากรณพื้นฐาน ฝกสนทนาที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การทักทาย การแนะนําตน การบอกเวลา การซื้อของ ฝกการอานขอความสั้นๆ สรุปและตอบคําถามได การเขียนประโยคงาย ๆ

GEL1106 ภาษาจีนพ้ืนฐาน 3(2-2-5) Chinese for Beginners

ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาจีนอยางบูรณาการ สําหรับทักษะการฟงและการพูด ผูเรียนไดฝกทักษะข้ันพื้นฐานที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การทักทาย การแนะนํา การขอบคุณ การขอโทษ ทักษะการเขียน ฝกเขียนตามคําบอก และเขียนประโยคงายๆ ทักษะการอาน ฝกอานเน้ือหาขอความสั้นๆ สามารถสรุปและตอบคําถามได

GEL1107 ภาษาเวียดนามพ้ืนฐาน 3(2-2-5)

Vietnamese for Beginners ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาเวียดนามอยางบูรณาการ ศึกษา

รูปประโยคและไวยากรณ การแนะนําตน การบอกเวลา การซื้อของ เปนตน การอาน การฝกอานขอความสั้นๆ สามารถสรุปและตอบคําถามได การเขียนประโยคงายๆ ได

GEL1108 ภาษาลาวพ้ืนฐาน 3(2-2-5) Laos for Beginners

ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาลาวอยางบูรณาการ ศึกษา รูปประโยคและไวยากรณพื้นฐาน เนนฝกบทสนทนาที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การทักทาย การแนะนําตน การบอกเวลา การซื้อของ เปนตน การอาน การฝกอานขอความสั้นๆ สามารถสรุปและตอบคําถามได การเขียนประโยคงาย ๆ ได

26

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation

จําแนกขอแตกตางในศาสตรทางความงาม ความหมายของสุนทรียศาสตร เชิงการคิดกับสุนทรียศาสตรเชิงพฤติกรรมโดยสังเขป ความสําคัญของการรับรูกับ ความเปนมาของศาสตรทางความเห็น ศาสตรทางการได ยิน และศาสตร ทางการเคลื่อนไหวสูทัศนศิลป ศิลปะดนตรี และศิลปะการแสดง ผานข้ันตอนการเรียนรูเชิงคุณคาจากระดับการรําลึก ผานข้ันตอนความคุนเคย และนําเขาสูข้ันความซาบซึ้ง เพื่อใหไดมาซึ่งประสบการณของความซาบซึ้งทางสุนทรียภาพ

GEH2102 จริยธรรมกับชีวิต 3(3-0-6) Morality and Life

ชีวิต ความหมาย คุณคาและเปาหมายของชีวิต ปรัชญาและแนวคิดในการดําเนินชีวิต หลักยึดเหน่ียวของชีวิต พัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในตนเอง การดําเนินชีวิตอยูรวมกันในสังคม เรียนรูแนวทางในการแกปญหาชีวิตโดยอาศัยหลัก ศาสนธรรม

GEH2103 จิตวิทยาเพ่ือพัฒนามนุษย 3(3-0-6)

Psychology for Human Development ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจิตวิทยา ทฤษฎีเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย พฤติกรรมมนุษย

พัฒนาการ การเรียน กระบวนการรูจักและเขาใจตนเองและผูอื่น การพัฒนาทักษะและสมัพันธภาพในชีวิตประจําวัน การปรับพฤติกรรม การดําเนินชีวิตในสังคมอยางมีความสุข ทั้งในชีวิตสวนตัว ดานสังคม และการประกอบอาชีพ

GEH2104 การคิดเชิงวิพากษและการแกปญหา 3(3-0-6)

Critical Thinking and Problem Solving หลักการและกระบวนการคิดเชิงวิพากษ การแสวงหาขอมูลและความรู

การใหเหตุผล การคิดและการตัดสินใจ แนวทางการพัฒนาการคิดเชิงวิพากษ และการตอบสนองเมื่อถูกวิพากษ หลักการและกระบวนการแกปญหาทางวิทยาศาสตรและสังคม แนวทางการพัฒนาการแกปญหาทางวิทยาศาสตร และสังคม

27

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

GES3101 วิถีไทย 3(3-0-6)

Thai Living ลักษณะทั่วไป วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ทั้งในเมือง

และชนบท วัฒนธรรม และประเพณีไทย สภาพปญหาและแนวทางการขจัดปญหาสังคมไทย โดยศึกษาการพัฒนาโครงสรางอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ภูมิปญญาชาวบานและทองถ่ิน ตลอดถึงวิสัยทัศนดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครองที่คนไทยอยากเห็น

GES3102 วิถีโลก 3(3-0-6)

Global Society and Living วิวัฒนาการสังคม ระบบเศรษฐกิจ การเมือง และการปกครองของประเทศไทย

และสังคมโลก การจัดระเบียบโลกในดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครอง ตลอดถึงการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครองของประเทศไทย เพื่อปรับตัวเขาสูประชาคมอาเซียน ตลอดจนปรับตัวเขากับการจัดระเบียบของสังคมโลก

GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6)

Life and Environment ความหมาย คุณสมบัติ และมิติของสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ

ความสําคัญ การใชและการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ ความสัมพันธเชิงระบบระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพ และสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพในทองถ่ิน เครือขายสิ่งแวดลอม การใชวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่มีผลตอสิ่งแวดลอม ปญหามลพิษ การประเมินสถานการณ มาตรฐานสิ่งแวดลอม คุณภาพสิ่ งแวดลอม กฎหมายและพระราชบัญญัติสิ่งแวดลอม การสงเสริม การรักษาและคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติตามหลักการพัฒนาที่ย่ังยืน สิ่งแวดลอมศึกษา

GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6)

Law for Daily Life กฎหมายที่มีความจําเปนในการดําเนินชีวิต กฎหมายรัฐธรรมนูญ และ

กฎหมายอื่นๆ ที่ประชาชนพึงทราบ

28

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GES3105 การเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6)

Thai Politics and Government สถาบันและกระบวนการเมืองไทย ประวัติศาสตร การปกครองไทย

วิเคราะห การเมืองและพฤติกรรมทางการเมืองไทย วิเคราะหบทบาทของสถาบันทางการเมืองของไทย คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล พรรคการเมือง การเลือกต้ัง การบริหารราชการ และการปกครองทองถ่ิน

GET4101 วิทยาศาสตรเพ่ือคุณภาพชีวิต 3(2-2-5)

Science for Quality of Life กระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การนําความรูทาง

วิทยาศาสตรมาประยุกตในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดํารงอยูอยางเปนสุขและ มีประสิทธิภาพ ผลกระทบของความกาวหนาทางวิทยาศาสตรที่มีตอมนุษย และสังคม

GET4102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2-5)

Thinking and Decision Making หลักการ และกระบวนการคิดของมนุษย ความคิดสรางสรรค การวิเคราะห

ขอมูลและขาวสาร ตรรกศาสตรและการใช เหตุผล กระบวนการตัดสินใจ กําหนดการเชิงเสน และการประยุกตใชในการแกปญหาในชีวิตประจําวัน

GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการปฏิบัติงาน 3(2-2-5)

Information Technology for Work ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีผลกระทบตอชีวิตและความเปนอยูของ

มนุษย องคประกอบทางดานฮารดแวร การใชโปรแกรมระบบ การใชโปรแกรมประยุกต เพื่อการจัดทําเอกสาร การทําตารางคํานวณ การนําเสนอ และการจัดการฐานขอมูล ศึกษาการใชงานเครือขายคอมพิวเตอร การแลกเปลี่ยนขอมูลบนระบบเครือขายคอมพิวเตอร การเคารพในทรัพยสินทางปญญา

GET4104 การออกกําลังกายและนันทนาการเพ่ือสุขภาพ 3(2-2-5) Exercise and Recreation for Health

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการออกกําลังกายและนันทนาการ ความหมาย และคุณคาของกิจกรรมการออกกําลังกายและนันทนาการ ประเภทของการ ออกกําลังกาย และนันทนาการ การฝกปฏิบัติการออกกําลังกายชนิดตางๆ หลักการเปนผูนํากิจกรรมนันทนาการ และการจัดกิจกรรมนันทนาการ

29

2 หมวดวิชาเฉพาะ

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT1101 การฝกพ้ืนฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Basic Electronics Training

ปฏิบัติการเกี่ยวกับงานติดต้ังไฟฟา พื้นฐานการวัดทางไฟฟา การปฏิบัติงาน พื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส เชน การตอไฟฟาชนิดตาง ๆ การบัดกรี การออกแบบและสรางลายวงจรพิมพเบื้องตน และการใชเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกสไดอยางปลอดภัย

ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-2-5) Engineering Drawing

มาตรฐานการเขียนแบบวิศวกรรม การเขียนรูปภาพ การเขียนภาพฉาย การกําหนดขนาดของงานในลักษณะตาง ๆ การเขียนแบบไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส การใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการเขียนแบบ

ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6) Electronics Engineering Mathematics 1

เวกเตอร เมตริกซ ระบบสมการเชิงเสน ตัวกําหนดลิมิต ความตอเน่ือง อนุพันธ ปริพันธ เทคนิคการหาปริพันธ และการประยุกต

PHY1103 ฟสิกสเบ้ืองตน 3(3-0-6)

Fundamental Physics การวัด และความแมนยําของการวัด กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎการ

อนุรักษพลังงานและโมเมนตัม การเคลื่อนที่แบบสั่น และการเคลื่อนที่แบบหมุน ความรอน

PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบ้ืองตน 1(0-3-1)

Laboratory of Fundamental Physics เทคนิคการใชอุปกรณ และกระบวนการทดลองใหสอดคลองกับเน้ือหา การวัด และความแมนยําในการวัด กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเครื่องกลอยางงาย ปรากฏการณของความรอน กฎของโอหม การใชเครื่องวัดทางไฟฟา การสะทอน และการหักเหของแสง

30

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT2104 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6) Electronics Engineering Mathematics 2

วิชาบังคับกอน : ตองสอบไดรายวิชา ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1

สมการอนุพันธอันดับหน่ึง ผลเฉลยและการประยุกตสมการเชิงเสนอันดับสูง สมการชวยและตัวดําเนินการ ผลเฉลยในรูปของอนุกรมอนันต ฟงกชันเชิงฉาก การแปลงลาปลาซและผลประสาน วิธีเชิงตัวเลขในการแกสมการอนุพันธตางๆ อนุกรมฟูเรียร การแปลงฟูเรียร การวิเคราะหเมตริกซ การหาคําตอบของสมการคลื่น การประยุกตทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส

ELT2105 วัสดุศาสตร 3(3-0-6) Material Science วิชาบังคับกอน : ตองสอบไดรายวิชา PHY1103 ฟสิกสเบ้ืองตน

พื้นฐานวัสดุศาสตร วัสดุวิศวกรรม การนําไฟฟาและความรอนในของแข็ง สารกึ่งตัวนํา อุปกรณสารกึ่งตัวนํา วัสดุไดอิเล็กตริกและฉนวนสมบัติทางแมเหล็ก และตัวนําย่ิงยวด โครงสรางระดับมหภาคและจุลภาคของวัสดุ กระบวนการผลิตสําหรับผลิตภัณฑดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

ELT3106 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6) Safety Engineering

หลักการเพื่อการปองกันอุบัติเหตุในโรงงาน การวางแผน และมาตรการ เพื่อความปลอดภัยในโรงงาน การวางผังโรงงานเพื่อลดอุบัติเหตุใหเกิดนอยที่สุด การออกแบบอุปกรณตางๆ เพื่อปองกันอุบัติเหตุที ่อาจเกิดขึ้นในงานเ ชื่อม งานไฟฟา งานที่เกี่ยวของกับเช้ือเพลิงและสารที่เปนพิษ การจัดหนวยงาน เพื่อบริหารงานดานการวางแผนเพื่อความปลอดภัย

31

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT1201 คอมพิวเตอรเบ้ืองตน 3(2-2-5) Introduction to Computer

คุณลักษณะของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร การเลือก หนวยความจําหลัก และหนวยความจําสํารอง อุปกรณรอบขางคอมพิวเตอร ไดแก จอภาพ เครื่องพิมพแบบตาง ๆ เครื่องอานและเขียนบาร โคด สแกนเนอร เครื่องอ านและเขียน CD-ROM เปนตน การประกอบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ติดต้ังอุปกรณประกอบกับคอมพิวเตอร การเตรียมอุปกรณสําหรับติดต้ังระบบ การเตรียมระบบ และการทดสอบการทํางาน การติดต้ังโปรแกรมระบบปฏิบัติการและโปรแกรมใชงาน อุปกรณประกอบ การวิเคราะหขอขัดของและการแกปญหาคอมพิวเตอรและอุปกรณ การจัดการเกี่ยวกับระบบไดเร็คทอรี ไฟล ไฟลรูปภาพ ไฟลเสียง การใชงาน โปรแกรมประยุกตในดานตางๆ โปรแกรมสําหรับสรางสื่อนําเสนอ โปรแกรมเอกสาร โปรแกรมตาราง การใชงานบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไปรษณียอิเล็กทรอนิกสและการสืบคนขอมูล

ELT1202 อิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6) Electronics 1

โครงสราง คุณสมบัติ การใชงานของตัวอุปกรณไฟฟาและตัวอุปกรณอิเล็กทรอนิกส วงจรเรียงกระแส วงจรสวิตช วงจรขยายสัญญาณเบื้องตน

ELT1203 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 1(0-3-2)

Electronics Laboratory ปฏิบัติในหองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส ในเน้ือหาวิชาอิเล็กทรอนิกส 1

หรือเน้ือหาที่เกี่ยวของกับรายวิชา ELT1204 ทฤษฎีวงจรไฟฟา 3(2-2-5) Electric Circuits

หนวยวัดทางไฟฟา การตอวงจรไฟฟาแบบอนุกรม ขนาน และผสม ตัวตานทาน ตัวเหน่ียวนํา ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟากระแสตรง และกระแสสลับ วงจรไฟฟากระแสสลับ วงจรแมเหล็กไฟฟา และหมอแปลง

32

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT1205 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา 3(2-2-5) Electrical Instruments and Measurement

หนวยและเครื่องมือวัดมาตรฐาน การชีลด ความปลอดภัย ความเที่ยงตรง การวัดแรงดันไฟฟา กระแสไฟฟาและกําลังไฟฟา การวัดอิมพีแดนซที่ความถ่ีตํ่าและความถ่ีสูง การวัดสนามแมเหล็ก การสรางครื่องมือวัดอยางงาย เครื่องมือวัดความช้ืน เครื่องมือวัดความเขมของแสง เครื่องมือทดสอบสัญญาณแบบตางๆ

ELT2206 อิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6) Electronics 2 วิชาบังคับกอน : ตองสอบไดรายวิชา ELT1202 อิเล็กทรอนิกส 1

หลักการทํางาน การวิเคราะหเบื้องตนเกี่ยวกับวงจรขยายสัญญาณขนาดเล็ก วงจรขยายกําลัง วงจรขยายแบบดารลิงตัน วงจรขยายผลตาง วงจรชมิตทริกเกอร วงจรออสซิลเลเตอร วงจรกลับเฟสและเลื่อนความถ่ี ออปแอมป ไอซีเชิงเสน

ELT2207 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2 1(0-3-2) Electronics Laboratory 2

ปฏิบัติในหองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส ในเนื้อหาวิชาอิเล็กทรอนิกส 2 หรือเน้ือหาที่เกี่ยวของกับรายวิชา

ELT2208 การวิเคราะหวงจรไฟฟา 3(2-2-5) Electric Circuits Analysis

กฎของโอหม วงจรไฟฟาแบบตางๆ วงจรแบงแรงดันไฟฟา วงจรแบงกระแสไฟฟา เซลลไฟฟา กฎของเคอรซอฟฟ เมชเคอรเรน โนดโวลเตจ ทฤษฎีของเธวินิน นอรตัน การเปลี่ยนคาความตานทานที่ตอแบบเดลตาและแบบสตาร วงจรบริดจ ปฏิบัติการเกี่ยวกับกฎของโอหม กําลังไฟฟา พลังงานไฟฟา วงจรความตานทานแบบตางๆ วงจรแบงแรงดันไฟฟา วงจรแบงกระแสไฟฟา เซลลไฟฟา กฎของเคอรซอฟฟ เมชเคอรเรน โนดโวลเตจ ทฤษฎีของเธวินิน นอรตัน การเปลี่ยนคาความตานทานที่ตอแบบเดลตาและแบบสตาร วงจรบริดจ

ELT2209 ภาษาอังกฤษสําหรับงานอิเล็กทรอนิกส 3(3-0-6) English for Electronic Work

การใชภาษาอังกฤษเบื้องตนเพื่องานดานอิเล็กทรอนิกสโดยเนนศัพทเฉพาะ ทางดานอิเล็กทรอนิกสในการใชอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักรตามระบบมาตรฐาน

33

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT2210 อิเล็กทรอนิกสกําลัง 3(2-2-5) Power Electronics

การทํางาน ขอจํากัด และวิธีการปองกันของอุปกรณอิเล็กทรอนิกสกําลัง การควบคุมมอเตอร การควบคุมระดับแรงดันไฟฟา คอนเวอรเตอรแบบเปลี่ยนกระแสสลับเปนกระแสตรง และกระแสตรงเปนกระแสสลับ

ELT2211 วงจรดิจิตอลและลอจิก 3(3-0-6)

Digital and Logic Circuits พื้นฐานดิจิตอล ลอจิกเกต อุปกรณเชิงจัดหมู ตระกูลไอซีดิจิตอล อุปกรณ

ลอจิกเชิงลําดับ ไอซีวงจรนับ ชิฟรีจิสเตอร อุปกรณ 3 สถานะ บัฟเฟอร แลตซ และทรานซีฟเวอร อุปกรณเช่ือมตออนาล็อกกับดิจิตอล

ELT2212 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก 1(0-3-2) Digital and Logic Circuits Laboratory ปฏิบัติในหองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกสในเน้ือหาวิชาวงจรดิจิตอลและ ลอจิก หรือเน้ือหาที่เกี่ยวของกับรายวิชา ELT2213 งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Electrical and Electronics Appliance Repairs

การตรวจซอมอุปกรณไฟฟาทั่วไป การซอมอุปกรณไฟฟาภายในบาน งานตรวจซอมระบบไฟฟาในเครื่องจักรที่เกี่ยวกับอุปกรณอิเล็กทรอนิกส การบํารุงรักษาระบบไฟฟาในเครื่องจักรตาง ๆ ฝกหัดซอมอุปกรณไฟฟาภายในบานและระบบควบคุมเครื่องจักรตางๆ

ELT2214 การสื่อสารใยแสง 3(2-2-5) Optical Fiber Communications พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการสื่อสารใยแสง การแพรกระจายแสง ตนกําเนิด แสงที่ใชในระบบสื่อสารใยแสง คุณสมบั ติของใยแสง การมัลติเพล็กซิ่งและ ดีมัลติเพล็กซิ่ง การใชงาน หนวยที่ใชวัดแสง ไฟเบอรออฟติก แหลงกําเนิดแสงและ อุปกรณรับแสงแบบสารกึ่งตัวนํา ผลึกเหลว วงจรตางๆ ของอุปกรณรับและ สงสัญญาณแสง

34

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT3215 ไมโครคอนโทรลเลอรและไมโครโปรเซสเซอร 3(2-2-5) Microcontroller and Microprocessor

ความหมายของไมโครคอนโทรลเลอร ความแตกตางของไมโครคอนโทรลเลอร กับไมโครโปรเซสเซอร โครงสรางสถาปตยกรรมของไมโครคอนโทรลเลอร การจัดการหนวยความจํา การเขาถึงขอมูล การเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี ชุดคําสั่งของไมโครคอนโทรลเลอร การอินเตอรรัปต การเช่ือมตอกับอุปกรณภายนอก

ELT3216 การออกแบบระบบดิจิตอล 3(2-2-5) Digital System Design

อุปกรณลอจิกและดิจิตอลที่สามารถโปรแกรมได การลดรูปวงจรลอจิก ภาษาวีเฮชดีแอลกับการโปรแกรมอุปกรณลอจิก การออกแบบวงจรลอจิกเชิงจัดหมู การออกแบบวงจรลอจิกเชิงลําดับ การประยุกตใชงาน

ELT3217 การประยุกตไอซีเชิงเสน 3(2-2-5) Linear Integrated Circuits Application

ออปแอมปและการประยุกตใชงาน วงจรกําเนิดสัญญาณ วงจรขยาย ดิฟเฟอเรนเชียล วงจรคูณสัญญาณ วงจรกรองแบบแอกทีฟ ไอซีไทมเมอร ไอซีคงคาแรงดัน วงจรไมเชิงเสน

ELT3218 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 3(2-2-5) Industrial Electronics

อุปกรณโซลิดสเตตที่ใชในงานอุตสาหกรรม อุปกรณตรวจจับอุณหภูมิ ความดัน การไหล ระดับ ตรวจจับแสง วงจรหนวงเวลาและการใชงาน วงจรเรียงกระแสหลายเฟส วงจรควบคุมแรงดัน การประยุกตใชงานอุตสาหกรรมของ ไทริสเตอร วงจรรวม วงจรดิจิตอล อุปกรณควบคุมแบบลําดับ

ELT3219 การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Electronics Circuits Design

หลักการออกแบบและประเมินคุณสมบัติของวงจรที่ใชไอซีออปแอมป วงจรขยายสัญญาณ วงจรออสซิลเลเตอร วงจรกรองความถ่ี วงจรแหลงจายแรงดันไฟฟา และกระแสไฟฟา และการออกแบบวงจรดิจิตอล

35

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT3220 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 3(2-2-5) Invention and Innovation 1

พัฒนานวัตกรรม แนวคิด ผลิตภัณฑ การเขียนภาพความคิดออกมาเปนแผนภาพบล็อก การจัดทําตนแบบตัวอยางสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมในดานอิเล็กทรอนิกส รูปแบบการจัดทําเอกสารการวิจัย

ELT4221 การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Industrial Quality Management

ประวัติความเปนมาของการควบคุมคุณภาพ บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม หลักการและเทคนิคในการบริหารคุณภาพ ระบบประกันคุณภาพ 8 เสาหลักของการประกันคุณภาพและการรับรองคุณภาพในงานอุตสาหกรรม ระบบคุณภาพไอเอสโอ กรณีศึกษา การบริหารคุณภาพ การบริหารระบบไคเซ็น

ELT4222 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 2 3(2-2-5) Invention and Innovation 2

วิชาบังคับกอน : ตองสอบไดรายวิชา ELT3220 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 พัฒนาสิ่งประดิษฐหรือนวัตกรรมตนแบบที่ไดจัดทําในรายวิชาสิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม 1 แลวจัดทําเอกสารการวิจัยประกอบ เมื่อสิ้นภาคการศึกษา

ELT2301 เครื่องรับโทรทัศน 3(2-2-5) Television

หลักการรับสง-สัญญาณโทรทัศน กลองถายโทรทัศน มาตรฐานการสง-รับสัญญาณโทรทัศน การทํางานของวงจรเครื่องรับโทรทัศน ภาคตางๆ วงจรหลอดภาพ, วงจร Video Amp, วงจร Video Detector, วงจร Video IF, วงจร Tune, วงจรสายอากาศ, วงจร Audio IF, วงจร Audio Detector, วงจร Audio Amplifier, วงจร Sync, วงจร Vertical Deflection, วงจร Horizontal Deflection, วงจร Power Supply, วงจร Matrix, วงจร Yoke, วงจร White Balance, วงจร Chroma Amp, วงจร Burst, วงจร High Volt , วงจร Focusing, วงจร Degaussing ฯลฯ การใชเครื่องมือวัดทดสอบมาตรฐานสัญญาณโทรทัศน ฝกปฏิบัติปรับแตงและตรวจซอมเครื่องรับโทรทัศน

36

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT2302 ระบบเคเบิลทีวี 3(2-2-5) Cable TV Systems

หลักการและปฏิบัติระบบสายอากาศเครื่องรับโทรทัศน สายนําสัญญาณ ระบบการรับสัญญาณจากดาวเทียม ระบบเชื่อมตอและอุปกรณขยายสัญญาณ แยกสัญญาณ ลดสัญญาณ ผสมสัญญาณ มาตรฐานระบบโทรทัศน การวัดทดสอบและติดต้ังระบบโทรทัศน CCTV, CATV และ MATV

ELT2303 เทคโนโลยีแผนวงจรพิมพ 3(2-2-5) Printed Circuits Technology

การใชเครื่องมือและอุปกรณในการทําแผนวงจรพิมพ หลักการออกแบบแผนวงจรพิมพดวยโปรแกรมชวยออกแบบแผนวงจรพิมพ และวิธีการทําแผนวงจรพิมพ

ELT2304 การจําลองระบบโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Computer Program Simulation

การใชโปรแกรมเพื่อจําลองระบบการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกส การเขียนสมการทางคณิตศาสตรของวงจร การนําโปรแกรมไปใชวิเคราะหวงจร การนําโปรแกรมไปใชในการตรวจซอมจุดเสีย

ELT2305 การสื่อสารขอมูลและโครงขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Data Communication and Computer Networks

คุณลักษณะของสัญญาณการสื่อสารคอมพิวเตอร อุปกรณสื่อสารแบบดิจิตอล ไอเอสไอ และแบบจําลองไอเอสไอ โปรโตคอล คุณลักษณะของโครงขายคอมพิวเตอรแบบทองถ่ิน โครงรางของโครงขาย รูปแบบการรับสงขอมูล การประเมินประสิทธิภาพของโครงขาย อุปกรณซอฟตแวรและฮารดแวร

ELT3306 การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร 3(2-2-5) Microcontroller Application

พื้นฐานการวัดคุม กระบวนการ คํานวณเชิงดิจิตอล การ เขารหัส คุณลักษณะของไมโครคอนโทรลเลอร การพัฒนากลยุทธในการควบคุมที่เหมาะสมสําหรับไมโครคอนโทรลเลอร การใชการควบคุมเชิงดิจิตอลกับเครื่องมือวัดคุม ระบบเครื่องมือวัดคุมเชิงดิจิตอลข้ันสูง

37

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT3307 คอมพิวเตอรกราฟก 3(2-2-5) Computer Graphics

ทบทวนเรื่องเวคเตอรและเมตริกซ อุปกรณและเครื่องมือที่ใชประมวลผลภาพคอมพิวเตอร การแปลงภาพหลากหลายมิติ การมองภาพในหลายมิติ เสนโคง และพื้นผิวการแสดงภาพเคลื่อนไหว

ELT3308 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Computer Network Systems

การปฏิบัติ การเลือกใชและติดต้ังอุปกรณ Hardware และ Software ทดสอบคุณลักษณะทั่วไปและตรวจสอบความถูกตองของอุปกรณ Hardware และ So f twa re การออกแบบระบบ เครื อข าย การ ติดต อสื่ อส ารระหว า งไ ม โ ค ร คอมพิวเตอรในรูปแบบตาง ๆ การสงสัญญาณแบบอนาล็อกและดิจิตอล OSI Model, Protocol TCP/IP, LAN, Network Topology, WAN, VLAN, VPN (Virtual Private Network), ATM (Asynchronous Transfer Mode), ISDN, ADSL, VDSL, XDSL, FDDI, มาตรฐานการสื่อสารขอมูลแบบตาง ๆ เชน IEEE802.X, IEEE Series, V Series, X Series ฯลฯ อุปกรณเน็ตเวิรก เชน Hub, Switching Hub, Bridge, Router, Fiber Optics, Modem การติดต้ังเครือขายคอมพิวเตอรทั้งดานฮารดแวรและซอฟตแวร การจัดระบบเครือขาย การติดต้ังเครือขายคอมพิวเตอร แบบตาง ๆ การเปรียบเทียบ ขอดี-ขอเสียของระบบ การวิเคราะหหาสาเหตุและการแกไขเมื่อระบบเครือขายขัดของ

ELT3309 อิเล็กทรอนิกสทางแสง 3(2-2-5) Opto Electronics

คุณลักษณะ สมบัติ หลักการทํางานของอุปกรณอิเล็กทรอนิกสทางแสง ใยแกวนําแสง และการประยุกตใชในระบบอิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม

ELT4310 ตัวควบคุมแบบโปรแกรม 3(2-2-5) Programmable Logic Controller

หลักการทํางานของตัวควบคุมแบบโปรแกรม การเช่ือมตอกับอุปกรณ ตอพวงชนิดตางๆ การเขียนโปรแกรมควบคุมการทํางานและการประยุกตใชงาน ของตัวควบคุมแบบโปรแกรมในการควบคุมเครื่องจักรกลในงานอุตสาหกรรม

38

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT4311 ระบบโทรศัพท 3(2-2-5)

Telephone Systems ศึกษาและปฏิบัติการวัดและทดสอบเกี่ยวกับวงจรและการทํางานของ เครื่องรับโทรศัพทแบบตางๆ เชน Pulse, DTMF ระบบชุมสายโทรศัพท เชน Manual Operator, Automatic Operator (PABX, Cross Bar, SPC) ระบบโทรศัพทเซลลูลาร ระบบ ISDN

ELT4312 อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน 3(2-2-5) Electronics for Community

สํารวจปญหาและความตองการของชุมชน ที่เกี่ยวของกับการใช การซอมบํารุงเครื่องใชอิเล็กทรอนิกส แลวหารูปแบบการจัดบริการซอมบํารุง และทดลองปฏิบัติจริง

ELT4313 ภาษาอังกฤษในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) English for Industrial Work การใชภาษาอังกฤษเพือ่การสื่อสารในงานดานอุตสาหกรรม โดยมุงพัฒนา และฝกฝนทักษะดานการอาน การเขียน การฟงและการพูดในกิจกรรมที่เกี่ยวของ กับงาน เชน การอานบทความดานเทคนิค บันทึกขอความ คูมือการใชเครื่องมือ อุปกรณ เครื่องจักร ผลิตภัณฑ ตามระบบมาตรฐานอุตสาหกรรม การเขียนรายงาน สั้นๆ การบรรยายและการนําเสนอ ELT4314 เซนเซอรและทรานสดิวเซอร 3(2-2-5) Sensor and Transducer

หลักการเกี่ยวกับการตรวจจับปริมาณทางฟสิกส และการปรับสถานะของสัญญาณไฟฟา การประยุกตใชเซนเซอรและการปรับสถานะสัญญาณไฟฟาในการวัด และควบคุมกระบวนการทางอุตสาหกรรม

ELT4315 หัวขอคัดสรรทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Selected Topics in Electronics

วิจัยในหัวขอที่นาสนใจทางดานอิเล็กทรอนิกส ซึ่งคัดสรรโดยอาจารยผูสอน

39

รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT4401 เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 1(90) Preparation for Professional Experience in Electronics

จัดใหมีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพรอมของผูเรียนกอนออกฝกประสบการณวิชาชีพในดานการรับรู ลักษณะ และโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนา ตัวผูเรียน มีความรู ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยการกระทําในสถานการณ หรือรูปแบบตางๆ ซึ่งเกี่ยวของกับงานในวิชาชีพ

ELT4402 ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 5(450) Professional Experience in Electronics วิชาบังคับกอน : ตองสอบไดรายวิชา ELT4401 เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ

อิเล็กทรอนิกส จัดใหนักศึกษาฝกงานในสถานประกอบการของหนวยงานภาครัฐ เอกชน

หรืองานที่เกี่ยวของในสาขาวิชาชีพไมนอยกวา 450 ช่ัวโมง ELT4403 เตรียมสหกิจศึกษา 1(90) Pre-Cooperative Education

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา กระบวนการและข้ันตอนของ สหกิจศึกษา ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับสหกิจศึกษา ความรูพื้นฐานและเทคนิคในการสมัครงานอาชีพ เชน การเลือกสถานประกอบการ วิธีการเขียนจดหมายสมัครงานและการสัมภาษณงานอาชีพ ความรูพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ระบบบริหารคุณภาพในสถานประกอบการ เชน 5ส ISO9000 การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อสังคมการทํางาน การเตรียมความพรอม สูความสําเร็จ เทคนิคการนําเสนอโครงงานหรือผลงานและการเขียนรายงานวิชาการ

ELT4404 สหกิจศึกษา 5(450) Cooperative Education วิชาบังคับกอน : ตองสอบไดรายวิชา ELT4403 เตรียมสหกิจศึกษา

การฝกงานวิชาชีพของนักศึกษาโครงการสหกิจศึกษา เปนระบบการศึกษา ที่เนนการปฏิบัติงานดานวิชาชีพในสถานประกอบการอยางเปนระบบ โดยสถานศึกษาและสถานประกอบการตางๆ รวมกันในการคัดเลือกนักศึกษาใหออกไปปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการน้ันๆ ทําใหนักศึกษาสามารถไดมีโอกาสในการเรียนรูประสบการณจากการปฏิบัติงานจริง และทําใหสถาบันการศึกษาไดมีระบบการพัฒนานักศึกษามีคุณภาพอยางตอเน่ือง เพื่อใหบัณฑิตเปนผูมีคุณสมบัติตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน และเปนกลไกที่มีระบบเช่ือถือไดโดยจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุด แกทุกๆ ฝายที่เกี่ยวของ

40

3.2 ชื่อ สกุล เลขบัตรประจําตัวประชาชน ตําแหนง และคุณวุฒิอาจารยผูสอน 3.2.1 อาจารยผูสอน

ลําดับ

ชื่อ – สกุล เลขบัตรประชาชน

ตําแหนง คุณวุฒิ / สาขาวิชา สถาบันการศึกษา วิชาท่ีสอน

1 สิทธเดช หมอกมีชัย 3 4702 00188 9 00

อาจารย คอ.ม. (โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส) คอ.บ. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน

- อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน - การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร - การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส - คอมพิวเตอรเบื้องตน

2 กันตภณ พรหมนิกร 3 4599 00217 9 78

อาจารย คอ.ม. (วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส) วท.บ. (อิเล็กทรอนิกส)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ีสถาบันราชภัฏอุบลราชธานี

- คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 - คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 - สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 - การประยุกตไอซีเชิงเสน

3 ธีรศาสตร คณาศร ี3 4505 01030 9 73

อาจารย คอ.ม. (โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา - สื่อสาร)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตธัญบุร ี

- อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม - การออกแบบระบบดิจิตอล - ระบบเครือขายคอมพิวเตอร - อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน

4 สันติ พันธรัมย 3 3101 01507 2 00

อาจารย คอ.ม. (ไฟฟา - โทรคมนาคม) วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ สถาบันราชภัฏบุรีรัมย

- การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส - อิเล็กทรอนิกส 1 - ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 - อิเล็กทรอนิกส 2

5 เอกบดินทร กลิ่นเกษร 1 4599 00020 1 32

อาจารย วศ.ม. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) คอ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง

- การสื่อสารใยแสง - วัสดุศาสตร - วิศวกรรมความปลอดภัย

41

ลําดับ

ชื่อ – สกุล เลขบัตรประชาชน

ตําแหนง คุณวุฒิ / สาขาวิชา สถาบันการศึกษา วิชาท่ีสอน

6 วีรยุทธ ชุติมารังสรรค 3 1002 02126 1 49

อาจารย ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟากําลัง)

มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

- ทฤษฎีวงจรไฟฟา - เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา - เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส

7 นนทนันท พลพันธ 3 4304 00312 1 67

อาจารย คอ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) วศ.บ. (ไฟฟา)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

- เขียนแบบวิศวกรรม - การวิเคราะหวงจรไฟฟา

8 จิตกรณ เพชรภักดี 3 4504 00319 5 79

อาจารย คอ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) คอ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตขอนแกน

- อิเล็กทรอนิกสกําลัง - ไมโครคอนโทรลเลอรและไมโครโปรเซสเซอร

9 ยงยุทธ สังฆะมณี 3 4599 00002 4 65

อาจารย คอ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคตะวันออกฉียงเหนือ

- วงจรดิจิตอลและลอจิก - ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก

10 วัลลักษณ เที่ยงดาห 3 4507 00256 1 06

อาจารย วท.ม. (การจัดการอุตสาหกรรม) วท.บ. (ฟสิกส)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ี

- ฟสิกสเบื้องตน - ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน - การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม

11 นัจธิชา จันทรศร ี3 4406 00042 5 38

อาจารย ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยขอนแกน

- ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน - ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

12 สิริกัญญา วรชิน 3 4605 00605 1 58

อาจารย ศศ.ม. (ภาษาศาสตร) ค.บ. (ภาษาอังกฤษ)

มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

- ภาษาอังกฤษสําหรับงานอิเล็กทรอนิกส

13 เกรียงศักด์ิ ศรีสมบัติ 3 3417 00169 1 16

อาจารย ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) ค.ม. (จิตวิทยาการศึกษา) ศษ.บ. (บริหารการศึกษา) ค.บ. (อุตสาหกรรมศิลป)

มหาวิทยาลัยขอนแกน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สถาบันราชภัฏบุรีรัมย

- จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย

42

ลําดับ

ชื่อ – สกุล เลขบัตรประชาชน

ตําแหนง คุณวุฒิ / สาขาวิชา สถาบันการศึกษา วิชาท่ีสอน

14 พนิดา ชูเวช 3 2206 00041 0 53

อาจารย วท.ม. (วิทยาศาสตรการออกกําลังกายและกีฬา) วท.บ. (พลศึกษา)

มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยบูรพา

- การออกกําลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ

15 อณิสณี แทนอาสา 3 4511 00873 0 59

อาจารย วท.ม. (ชีววิทยา) วท.บ. (สัตวศาสตร)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลบางพระ

- ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

16 หน่ึงฤทัย มวงเย็น 3 6501 00919 4 98

อาจารย ศศ.ม. (ภาษาศาสตร) ศศ.บ. (ภาษาไทย)

มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร

- ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

17 ชยธร ไชยวิเศษ 3 4510 00278 1 83

อาจารย น.ม. (นิติศาสตร) น.บ. (นิติศาสตร)

มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยรามคําแหง

- กฎหมายในชีวิตประจําวัน

18 สุรเชษฐ อินธิแสง 5 4803 00263 4 82

อาจารย ศป.ม. (ภาพพิมพ) ศป.บ. (ทัศนศิลป)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

- สุนทรียภาพของชีวิต

43

4. องคประกอบเก่ียวกับประสบการณภาคสนาม ใหนักศึกษาไดออกฝกงานในสถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับแขนงวิชา

เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 1 ภาคการศึกษา หรือไมนอยกวา 450 ช่ัวโมง โดยไดรับความเห็นชอบจากกรรมการของสาขาวิชา

4.1 มาตรฐานการเรียนรูประสบการณภาคสนาม 4.1.1 ทักษะในการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการตลอดจนมีความเขาใจในหลักการ ความจําเปนในการเรียนรูภาคทฤษฎีมากย่ิงข้ึน 4.1.2 บูรณาการความรูที่เรียนมาเพื่อนํามาแกไขปญหาองคกร โดยใชกระบวนการไดอยางเหมาะสม 4.1.3 มีมนุษยสัมพันธและสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดดี 4.1.4 มีระเบียบวินัย ตรงตอเวลา เขาใจวัฒนธรรม และสามารถปรับตัวเขากับสถานประกอบการได 4.1.5 มีความกลาในการแสดงออก และนําความคิดสรางสรรคไปใชประโยชนในงานได 4.1.6 สามารถใชความรูเพื่อเสนอแนะวิธีการแกไขปญหาในสถานการณจริงได 4.1.7 มีทักษะการสื่อสารดานการพูด การเขียน การคิดวิเคราะห และประมวลผล

4.2 ชวงเวลา ภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษาที่ 4

4.3 การจัดเวลาและตารางสอน จัดเต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา

5. ขอกําหนดเก่ียวกับการทําวิจัย / นวัตกรรม ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําวิจัย ตองเปนหัวขอที่เกี่ยวกับดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส หรือสาขา ที่เกี่ยวของ สรางสรรคงานที่สามารถตอบสนองตอความตองการ และสามารถนําไปใชประโยชนไดจริง เพื ่อมุงเนนการพัฒนาทองถ่ิน สอดคลองกับความตองการของประชาชนในทองถ่ิน และใหสามารถนําไป ตอยอดได หรือเปนนวัตกรรมที่มุงเนนเพื่อพัฒนางานดานเทคโนโลยี โดยมีผูรวมทําวิจัย 1 - 3 คน และมีรูปเลมรายงานการทําวิจัยที่ตองนําสงตามรูปแบบและระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนดอยางเครงครัด

5.1 คําอธิบายโดยยอ โครงการที่นักศึกษาสนใจ สามารถอธิบายทฤษฎีที่นํามาใชในการทําโครงงาน ประโยชนที่ไดรับจาก

การทําโครงงาน มีขอบเขตโครงงานที่สามารถทําสําเร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู นักศึกษาสามารถทํางานเปนทีม มีความเช่ียวชาญในการวางแผนการทําโครงงาน โครงงานสามารถ

เปนตนแบบในการพัฒนาตอยอดได 5.3 การเตรียมการ กําหนดช่ัวโมงการใหคําปรึกษา จัดทําบันทึกการใหคําปรึกษา ใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการทําวิจัย

ทําโครงการ ทําโครงงานและปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ อีกทั้งมีตัวอยางใหศึกษา 5.4 กระบวนการประเมินผล ประเมินผลจากความกาวหนาในการทําโครงการที่บันทึกในสมุดใหคําปรึกษา โดยอาจารยที่ปรึกษา

โครงการ และประเมินผลจากรูปเลมรายงานการทําโครงการที่ไดกําหนดรูปแบบการนําเสนอตามระยะเวลา การนําเสนอโครงการ และจัดสอบการนําเสนอที่กรรมการสอบไมตํ่ากวา 3 ทาน

44

หมวด 4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา ดานบุคลิกภาพ - มีการสอดแทรกเรื่อง การแตงกาย การเขาสังคม เทคนิคการเจรจา

สื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธที่ดี และในกิจกรรมปจฉิมนิเทศ กอนที่นักศึกษาจะสําเร็จการศึกษา

ดานภาวะผูนํา และความรับผิดชอบตลอดจนมีวินัยในตนเอง

- กําหนดใหมีรายวิชาซึ่งนักศึกษาตองทํางานเปนกลุม และมีการกําหนดหัวหนากลุมในการทํารายงานตลอดจนกําหนดใหทุกคนมีสวนรวมในการนําเสนอรายงาน เพื่อเปนการฝกใหนักศึกษาไดสรางภาวะผูนําและการเปนสมาชิกกลุมที่ดี - มีกิจกรรมนักศึกษาที่มอบหมายใหนักศึกษาหมุนเวียนกันเปนหัวหนาในการดําเนินกิจกรรม เพื่อฝกใหนักศึกษามีความรับผิดชอบ - มีกติกาที่จะสรางวินัยในตัวเอง เชน การเขาเรียนตรงเวลาเขาเรียนอยางสม่ําเสมอการมีสวนรวมในช้ันเรียน เสริมความกลาในการแสดงความคิดเห็น

จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ - มีการใหความรูถึงผลกระทบตอสังคม ขอกฎหมายและจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ

มีจิตสํานึกสาธารณะ - จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เชน โครงการคายอาสาโครงการบําเพ็ญประโยชน เปนตน

มีทักษะการเรียนรูดวยตัวเอง - การจัดการเรียนการสอนที่มีการเรียนรูดวยตัวเอง เชน การคนควาขอมูลสารสนเทศ การทําโครงงาน เปนตน

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน

2.1 มาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชาศึกษาท่ัวไปและรายวิชาศึกษาเฉพาะ 2.1.1 คุณธรรม จริยธรรม

1) มีคุณธรรม จริยธรรม ความเสียสละ ซื่อสัตยสุจริตและตระหนักในคุณคาของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ

2) มีวินัย ใฝรู ตรงตอเวลา มีความรับผิดชอบตอตนเอง สังคม และประพฤติตนใหเปนประโยชนตอสวนรวม

3) มีความออนนอม ถอมตน เคารพผูอาวุโส 4) มีความสามัคคีในหมูคณะ 5) เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้งเคารพในคุณคาและศักดิ์ศรี

ของความเปนมนุษย 6) เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตาง ๆ ขององคกรและสังคม 7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 8) ดําเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

45

2.1.2 ความรู

1) มีความรูและเขาใจในหลักการ และทฤษฎีที่สําคัญในเน้ือหา 2) มีความเขาใจ และใชความรูกับวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงในโลกปจจุบัน 3) สามารถวิเคราะหปญหา และประยุกต ทักษะและความรูที่เหมาะสมกับการแกไขปญหา 4) สามารถนําความรูไปประยุกตใชในการดํารงชีวิตประจําวัน 5) มีการถายทอดความรู และสามารถบูรณาการความรูใหเขากับศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของได 6) มีการพัฒนาการเรียนรูทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอยางตอเน่ือง

2.1.3 ทักษะทางปญญา 1) สามารถคิดอยางมเีหตุผล มีวิจารณญาณอยางเปนระบบ 2) สามารถสืบคน ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใชในการแกไขปญหา

อยางสรางสรรค 3) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห และสรุปประเด็นปญหาและความตองการ 4) สามารถประยุกตความรูและทักษะกับการแกไขปญหาในการเรียนและการดํารงชีวิตได

อยางเหมาะสม 2.1.4 ความสัมพันธระหวางบุคคลเเละความรับผิดชอบ

1) สามารถสื่อสารกับกลุมคนหลากหลายอยางมีประสิทธิภาพ 2) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีม และจัดการปญหาความ

ขัดแยงตางๆ ในกลุมไดอยางเหมาะสม 3) สามารถใชความรูในศาสตรมาช้ีนําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4) มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุม 5) สามารถเปนผูริเริ่มแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณ พรอมทั้งแสดงจุดยืน

อยางพอเหมาะทั้งของตนเองและสวนรวม 2.1.5 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1) มีทักษะในการใชเครื่องมือที่จําเปนที่มีอยูในปจจุบัน ในการแกปญหาที่เกี่ยวของอยางสรางสรรค

2) สามารถแนะนําประเด็นการแกไขปญหาโดยใชทักษะทางคณิตศาสตรและสถิติประยุกตตอปญหาที่เกี่ยวของอยางสรางสรรค

3) สามารถใชสารสนเทศและเทคโนโลยีอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 4) สามารถใชภาษาในการสื่อสารอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

เรียนรู นําความรูไปใช เขาใจ ตอยอด

46

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป (Curriculum Mapping) ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู

3.ทักษะทางปญญา

4.ทักษะความสัมพันธ

ระหวางบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1. กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร GEL1101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

GEL1102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน

GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา

GEL1104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

GEL1105 ภาษาญี่ปุนพื้นฐาน

GEL1106 ภาษาจีนพื้นฐาน

GEL1107 ภาษาเวียดนามพื้นฐาน

GEL1108 ภาษาลาวพื้นฐาน

2. กลุมวิชามนุษยศาสตร GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต

GEH2102 จริยธรรมกับชีวิต

GEH2103 จิตวิทยาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

GEH2104 การคิดเชิงวิพากษและการ แกปญหา

47

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชาศึกษาท่ัวไป (Curriculum Mapping) ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู 3.ทักษะทาง

ปญญา

4.ทักษะความสัมพันธ

ระหวางบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 3. กลุมวิชาสังคมศาสตร GES3101 วิถีไทย

GES3102 วิถีโลก

GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน

GES3105 การเมืองการปกครองไทย

4. กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

GET4101 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต

GET4102 การคิดและการตัดสินใจ

GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ ปฏิบัติงาน

GET4104 การออกกําลังกายและ นันทนาการเพื่อสุขภาพ

48

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูหมวดวิชาเฉพาะ (Curriculum Mapping) ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู 3.ทักษะทาง

ปญญา

4.ทักษะความสัมพันธระหวางบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 กลุมวิชาเฉพาะดานพ้ืนฐาน

ELT1101 การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส

ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรมไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส

ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส 1

PHY1103 ฟสิกสเบื้องตน

PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน

ELT2104 คณิตศาสตรวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส 2

ELT2105 วัสดุศาสตร

ELT3106 วิศวกรรมความปลอดภัย

49

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูหมวดวิชาเฉพาะ (Curriculum Mapping) ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู 3.ทักษะทาง

ปญญา

4.ทักษะความสัมพันธระหวางบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 กลุมวิชาเฉพาะดานบังคับ

ELT1201 คอมพิวเตอรเบื้องตน

ELT1202 อิเล็กทรอนิกส 1

ELT1203 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1

ELT1204 ทฤษฎีวงจรไฟฟา

ELT1205 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา

ELT2206 อิเล็กทรอนิกส 2

ELT2207 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2

ELT2208 การวิเคราะหวงจรไฟฟา

ELT2209 ภาษาอังกฤษสําหรับงาน อิเล็กทรอนิกส

ELT2210 อิเล็กทรอนิกสกําลัง

ELT2211 วงจรดิจิตอลและลอจิก

50

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูหมวดวิชาเฉพาะ (Curriculum Mapping) ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู 3.ทักษะทาง

ปญญา

4.ทักษะความสัมพันธระหวางบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 กลุมวิชาเฉพาะดานบังคับ

ELT2212 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก

ELT2213 งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส

ELT2214 การสื่อสารใยแสง

ELT3215 ไมโครคอนโทรลเลอรและ ไมโครโปรเซสเซอร

ELT3216 การออกแบบระบบดิจิตอล

ELT3217 การประยุกตไอซีเชิงเสน

ELT3218 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม

ELT3219 การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส

ELT3220 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1

ELT4221 การบริหารคุณภาพในงาน อุตสาหกรรม

51

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูหมวดวิชาเฉพาะ (Curriculum Mapping) ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู 3.ทักษะทาง

ปญญา

4.ทักษะความสัมพันธระหวางบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 กลุมวิชาเฉพาะดานบังคับ

ELT4222 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 2

กลุมวิชาเฉพาะดานเลือก

ELT2301 เครื่องรับโทรทัศน

ELT3306 การประยุกตใชงาน ไมโครคอนโทรลเลอร

ELT3308 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร

ELT4312 อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน

กลุมประสบการณภาคสนาม

ELT4401 เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ อิเล็กทรอนิกส

ELT4402 ฝกประสบการณวิชาชีพ อิเล็กทรอนิกส

52

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูหมวดวิชาเฉพาะ (Curriculum Mapping)

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู 3.ทักษะทาง

ปญญา

4.ทักษะความสัมพันธระหวางบุคลและความรับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 กลุมประสบการณภาคสนาม

ELT4403 เตรียมสหกิจศึกษา

ELT4404 สหกิจศึกษา

53

หมวด 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน

1.1 การวัดผลการศึกษา การวัดผลการศึกษา ใหปฏิบัติตามขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฎรอยเอ็ดวาดวยการศึกษาระดับ

อนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเน่ือง) พ.ศ. 2550 การประเมินผลการศึกษา ตองกระทําเมื่อสิ้นภาคการศึกษาในแตละภาคการศึกษา โดยใหผลของการประเมินแตละวิชาเปนระดับคะแนน (Grade) ดังน้ี

ระดับคะแนน (Grade) คาระดับคะแนนตอหนวยกิต ผลการศึกษา

A B+ B C+ C D+ D E W I P

PD

Ad

4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0 - - - - -

ดีเย่ียม (Excellent) ดีมาก (Very Good) ดี (Good) ดีพอใช (Fairly Good) พอใช (Fairly) ออน (Poor) ออนมาก (Very Poor) ตก (Failed) ถอนรายวิชา (Withdrawn) ไมสมบูรณ (Incomplete) ผลการประเมินผาน (Pass) ผลการประเมินผานดีเย่ียม

(Pass with Distination) ไมนับหนวยกิต (Audit)

การแบงระดับคะแนนเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย (ภาคผนวก ช หมวด 5) 1.2 ระยะเวลาการศึกษา นักศึกษาตามคุณสมบัติ หมวด 3 ขอ 2.2.1 ระยะเวลาศึกษาตลอดหลักสูตร 4 ปการศึกษา

สําเร็จไดไมกอน 6 ภาคการศึกษาปกติ ใชเวลาศึกษาไมเกิน 8 ปการศึกษาสําหรับการลงทะเบียนเต็มเวลา

54

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษาท่ีกําลังศึกษาอยูในหลักสูตร

(1) มหาวิทยาลัยพัฒนาตัวบงช้ีคุณภาพการศึกษา เกี่ยวกับกระบวนการทวนสอบเปนตัวบงช้ีคุณภาพการศึกษาในองคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน และทําความเขาใจใหตรงกันทั้งสถาบันเพื่อใหสามารถปฏิบัติได (2) รองคณบดีฝายวิชาการตรวจสอบประมวลการสอนรายวิชา หรือแผนการสอนรายวิชาในแตละภาคเรียน เพื่อใหมั่นใจวาผูสอนหรือผูรับผิดชอบรายวิชาไดระบุประเด็นมาตรฐานผลการเรียนรูของรายวิชาน้ัน รวมทั้งวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักศึกษา อยางครบถวนสมบูรณและสามารถปฏิบัติได (3) คณบดี หรือ อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จัดใหมีคณะกรรมการทําหนาที่ตรวจสอบและใหความเห็นตอขอสอบ เพื่อใหมั่นใจวาวิธีการวัดและประเมินผลมีความตรงประเด็นกับมาตรฐานผลการเรียนรู ที่กําหนดไวในประมวลการสอนกอนที่จะมีการสอบ และการวัดประเมินผลการเรียนของนักศึกษา เพื่อใหมั่นใจถึงสัมฤทธ์ิผลดานมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษา กอนที่จะมีการประกาศผลการสอบ (4) การประเมินคุณลักษณะมาตรฐานผลการเรียนรูจากผูใหการฝกหัดงาน ผูควบคุมการฝกหัดงาน อาจารยนิเทศงาน

2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา การกําหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษา ควรเนนการทําวิจัยสัมฤทธ์ิผล

ของการประกอบอาชีพของบัณฑิตที่ทําอยางตอเน่ืองและนําผลวิจัยที่ไดยอนกลับมาปรับปรุงกระบวนการ การเรียนการสอน และหลักสูตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตร และหนวยงานโดยองคกรระดับสากล โดยการวิจัยอาจจะทําดําเนินการดังตัวอยางตอไปน้ี

(1) ภาวการณไดงานทําของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตแตละรุนที่จบการศึกษา ในดานของระยะเวลาในการหางานทํา ความเห็นตอความรู ความสามารถ ความมั่นใจของบัณฑิตในการประกอบการงานอาชีพ

(2) การตรวจสอบจากผู ประกอบการ โดยการขอเขาสัมภาษณ หรือการสงแบบสอบถาม เพื่อประเมินความพึงพอใจในบัณฑิตที่จบการศึกษาและเขาทํางานในสถานประกอบการน้ันๆ ในคาบระยะเวลาตางๆ เชน ปที่ 1 ปที่ 4 เปนตน

(3) การประเมินตําแหนง และหรือความกาวหนาในสายงานของบัณฑิต (4) การประเมินจากสถานศึกษาอื่น โดยการสงแบบสอบถาม หรือสอบถามเมื่อมีโอกาสในระดับ

ความพึงพอใจในดานความรู ความพรอม และสมบัติดานอื่นๆ ของบัณฑิตจะจบการศึกษาและ เขาศึกษาเพื่อปริญญาที่สูงข้ึนในสถานศึกษาน้ันๆ

(5) การประเมินจากบัณฑิตที่ไปประกอบอาชีพ ในแงของความพรอมและความรูจากสาขาวิชาที่เรียนรวมทั้งสาขาอื่นๆ ที่กําหนดในหลักสูตร ที่เกี่ยวเน่ืองกับการประกอบอาชีพของบัณฑิต รวมทั้ง เปดโอกาสใหเสนอขอคิดเห็นในการปรับหลักสูตรใหดีย่ิงข้ึนดวย

(6) ความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่มาประเมินหลักสูตร หรือ เปนอาจารยพิเศษ ตอความพรอมของนักศึกษาในการเรียน และสมบัติอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาองคความรูของนักศึกษา

(7) ผลงานของนักศึกษาที่วัดเปนรูปธรรมได อาทิ (ก) จํานวนรางวัลทางสังคมและวิชาชีพ (ข) จํานวนกิจกรรมการกุศลเพื่อสังคมและประเทศชาติ (ค) จํานวนกิจกรรมอาสาสมัครในองคกรที่ทําประโยชนตอสังคม

55

3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร นักศึกษาไดข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฎรอยเอ็ด โดยตองศึกษารายวิชาตางๆ ครบถวนตามหลักสูตรและสอบผานทุกรายวิชาตามเกณฑที่กําหนด โดยไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 2.00 และเปนผูที่มีความประพฤติที่ไมขัดตอระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฎรอยเอ็ด และตองผานการเขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

56

หมวด 6 การพัฒนาคณาจารย

1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม

(1) มีการปฐมนิเทศแนะแนวการเปนครูแกอาจารยใหม ใหมีความรูและเขาใจนโยบายของมหาวิทยาลยั สถาบัน คณะ ตลอดจนในหลักสูตรที่สอน (2) สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพื่อสงเสริมการสอน และการวิจัยอยางตอเนื่องโดยผานการทําวิจัยสายตรงในสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสเปนอันดับแรก การสนับสนุนดานการศึกษาตอ ฝกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองคกรตางๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศและ/หรือตางประเทศ หรือการลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ 2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย

2.1. การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล (1) สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพื่อสงเสริมการสอน และการวิจัยอยางตอเน่ืองโดยผานการทําวิจัยสายตรงในสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสเปนอันดับแรก การสนับสนุนดานการศึกษาตอระดับปริญญาเอก ฝกอบรม ศึกษาดูงานทางวิชาการและวิชาชีพ ในองคกรตางๆ การประชุมทางวิชาการและการนําเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศและ/หรือการสอนและการประเมินผลใหทันสมัย

2.2. การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอ่ืนๆ (1) การมีสวนรวมในกิจกรรมบริการวิชาการแกชุมชนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาความรูและคุณธรรม (2) มีการกระตุนอาจารยทําผลงานทางวิชาการสายตรงในสาขาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (3) พัฒนาการเรียนการสอนและมีความเช่ียวชาญในสาขาวิชาชีพเปนหลัก และสงเสริมการทําวิจัยสรางองคความรูใหมเปนรอง (4) จัดสรรงบประมาณสําหรับการทําวิจัย (5) จัดใหอาจารยทุกคนเขารวมกลุมวิจัยตางๆ ของคณะ (6) จัดใหอาจารยเขารวมกิจกรรมบริการวิชาการตางๆ ของคณะ

57

หมวด 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การบริหารหลักสูตร ในการบริหารหลักสูตร จะมีคณะกรรมการประจําหลักสูตร อันประกอบดวยรองคณบดีฝายวิชาการประธานหลักสูตร หรือหัวหนาภาค และอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรรับผิดชอบ โดยมีคณบดีเปนผูกํากับดูแลและคอยใหคําแนะนํา ตลอดจนกําหนดนโยบายปฏิบัติใหแกอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จะวางแผนการจัดการเรียนการสอนรวมกับผูบริหารของคณะและอาจารยผูสอน ติดตามและรวบรวมขอมูลสําหรับใชในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโดยกระทําทุกปอยางตอเน่ือง

เปาหมาย การดําเนินงาน การประเมินผล

1) พัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยโดยอาจารยและนักศึกษาสามารถกาวทันหรือเปนผูนําในการสรางองคความรูใหม ๆ ทางดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 2) กระตุนใหนักศึกษาเกิดความใฝรู มีแนวทางการเรียนทีส่รางทั้งความรูความสามารถในวิชาการวิชาชีพ ที่ทันสมัย 3) ตรวจสอบ และปรับปรุงหลักสูตรใหมีคุณภาพมาตรฐาน 4) มีการประเมินมาตรฐานของหลักสูตรอยางสม่ําเสมอ

1) จัดใหหลักสูตรสอดคลองกับมาตรฐานวิชาชีพดานดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ในระดับสากลหรือระดับชาติ(หากมีการกําหนด) 2) ปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัยโดยมีการพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรทุกๆ 5 ป 3) จัดแนวทางการเรียนในวิชาเรียนใหมีทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ และมีแนวทางการเรียนหรือกิจกรรมประจําวิชาใหนักศึกษาไดศึกษาความรูที่ทันสมัยดวยตนเอง 4) จัดใหมีผูสนับสนุนการเรียนรู และ/หรือผูชวยสอน เพื่อกระตุนใหนักศึกษาเกิดความใฝรู 5) กําหนดใหอาจารยที่สอนมีคุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาโทหรือเปนผูมีประสบการณหลายปมีจํานวนคณาจารยประจําไมนอยกวาเกณฑมาตรฐาน 6) สนับสนุนใหอาจารยผูสอนเปนผูนําในทางวิชาการ และ/หรือ เปนผูเช่ียวชาญทางวิชาชีพทางอิเล็กทรอนิกส หรือในดานที่เกี่ยวของ 7) สงเสริมอาจารยประจําหลักสูตรใหไปดูงานในหลักสูตรหรือวิชาการที่เกี่ยวของ ทั้งในและตางประเทศ

1) หลักสูตรที่สามารถอางอิงกับมาตรฐานที่กําหนดโดยหนวยงานวิชาชีพดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส มีความทันสมัยและมีการปรับปรุงสม่ําเสมอ 2) จํานวนวิชาเรียนที่มีภาคปฏิบัติและวิชาเรียนที่มีแนวทางใหนักศึกษาไดศึกษาคนควาความรูใหมไดดวยตนเอง 3) จํานวนและรายช่ือคณาจารยประจําประวัติอาจารยดานคุณวุฒิ ประสบการณ และการพัฒนาอบรมของอาจารย 4) จํานวนบุคลากรผูสนับสนุนการเรียนรู และบันทึกกิจกรรมใหการสนับสนุนการเรียนรู 5) ผลการประเมินการเรียนการสอนอาจารยผูสอนและการสนับสนุนการเรียนรูของผูสนับสนุนการเรียนรูโดยนักศึกษา

58

เปาหมาย การดําเนินงาน การประเมินผล

8) มีการประเมินหลักสูตรโดยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายในทุกป และภายนอกอยางนอยทุก 4 ป 9) จัดทําฐานขอมูลทางดานนักศึกษา อาจารย อุปกรณ เครื่องมือวิจัย งบประมาณ ความรวมมือกับตางประเทศ ผลงานทางวิชาการทุกภาคการศึกษาเพื่อเปนขอมูลในการประเมินของคณะกรรมการ 10) ประเมินความพึงพอใจของหลักสูตรและการเรียนการสอน โดยบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา

6) ประเมินผลโดยคณะกรรมการ ประกอบดวยอาจารยภายในคณะฯ ทุก 2 ป 7) ประเมินผลโดยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอก ทุก ๆ 4 ป 8) ประเมินผลโดยบัณฑิตผูสําเร็จการศึกษาทุก 2 ป

2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน

2.1 การบริหารงบประมาณ คณะจัดสรรงบประมาณประจําป ทั้งงบประมาณแผนดินและเงินรายไดเพื่อจัดซื้อตํารา สื่อการเรียน

การสอน โสตทัศนูปกรณ และวัสดุครุภัณฑคอมพิวเตอรอยางเพียงพอเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในช้ันเรียนและสรางสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษา

2.2 การบริหาร ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน คณะมีความพรอมดานหนังสือ ตํารา และการสืบคนผานฐานขอมูลโดยมีสํานักหอสมุดกลางที่มี

หนังสือดานการบริหารจัดการและดานอื่นๆ รวมถึงฐานขอมูลที่จะใหสืบคน สวนระดับคณะก็มีหนังสือ ตําราเฉพาะทางนอกจากน้ีคณะมีอุปกรณที่ใชสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนอยางพอเพียง

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม ประสานงานกับศูนยวิทยบริการ ในการจัดซื้อหนังสือ และตําราที่เกี่ยวของเพื่อบริการใหอาจารยและ

นักศึกษาไดคนควา และใชประกอบการเรียนการสอน ในการประสานการจัดซื้อหนังสือน้ัน อาจารยผูสอนแตละรายวิชาจะมีสวนรวมในการเสนอแนะรายช่ือหนังสือ ตลอดจนสื่ออื่นๆ ที่จําเปน นอกจากน้ีอาจารยพิเศษที่เชิญมาสอนบางรายวิชาและบางหัวขอก็มีสวนในการเสนอแนะรายช่ือหนังสือ สําหรับใหสํานักวิทยบริการ จัดซื้อหนังสือดวยในสวนของคณะจะมีหองสมุดยอย เพื่อบริการหนังสือ ตํารา หรือวารสารเฉพาะทาง และคณะจะตองจัดสื่อการสอนอื่นเพื่อใชประกอบการสอนของอาจารย เชน เครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร คอมพิวเตอร เครื่องถายทอดภาพ 3 มิติ เครื่องฉายสไลด เปนตน

2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร มีเจาหนาที่ประจําสํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฎรอยเอ็ด ซึ่งจะประสานงาน การจัดซื้อจัดหา

หนังสือเพื่อเขาสํานักวิทยบริการ และทําหนาที่ประเมินความพอเพียงของหนังสือ ตํารา นอกจากน้ีมีเจาหนาที่ ดานโสตทัศนอุปกรณ ซึ่งจะอํานวยความสะดวกในการใชสอยของอาจารย แลวยังตองประเมินความพอเพียงและความตองการใชสื่อของอาจารยดวย โดยรายละเอียดดังตารางตอไปน้ี

59

เปาหมาย การดําเนินงาน การประเมินผล จัดใหมีหองเรียนหองปฏิบัติการระบบเครือขาย แมขาย อุปกรณ การทดลอง ทรัพยากร สื่อและชองทางการเรียนรู ที่เพียบพรอมเพื่อสนับสนุนทั้งการศึกษาในหองเรียน นอกหองเรียน และเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง อยางเพียงพอ มีประสิทธิภาพ

1) จัดใหมีหองเรียนมัลติมีเดีย ที่มีความ พรอมใชงานอยางมีประสิทธิภาพทั้งในการสอน การบันทึกเพื่อเตรียมจัดสรางสื่อสําหรับการทบทวนการเรียน 2) จัดเตรียมหองปฏิบัติการทดลองที่ม ีเครื่องมือทันสมัยและเปนเครื่องมือวิชาชีพในระดับสากล เพื่อใหนักศึกษาสามารถฝกปฏิบัติ สรางความพรอมในการปฏิบัติงานในวิชาชีพ 3) จัดใหมีเครือขายและหองปฏิบัติการทดลองเปด ที่มีทั้งเครื่องคอมพิวเตอรและพื้นที่ที่นักศึกษาสามารถศึกษาทดลอง หาความรูเพิ่มเติมไดดวยตนเองดวยจํานวนและประสิทธิภาพที่เหมาะสมเพียงพอ 4) จัดใหมีหองสมุดใหบริการทั้งหนังสือตํารา และสื่อดิจิตอลเพื่อการเรียนรู ทั้งหองสมุดทางกายภาพและทางระบบเสมือน 5) จัดใหมีเครื่องมือทดลอง เชน ระบบแมขายขนาดใหญ อุปกรณเครือขาย เพื่อใหนักศึกษาสามารถฝกปฏิบัติการในการบริหาร ระบบ

1) รวบรวมจัดทําสถิติจํานวน เครื่องมืออุปกรณ ตอหัวนักศึกษา ช่ัวโมงการใชงานหองปฏิบัติการ และเครื่องมือสนับสนุน 2) จํานวนนักศึกษาลงเรียนในวิชาเรียนที่ มกีารฝกปฏิบัติดวยอุปกรณตาง ๆ 3) สถิติของจํานวนหนังสือตํารา และ สื่อดิจิตอล ที่มีใหบริการ และสถิติการใชงานหนังสือตํารา สื่อดิจิตอล 4) ผลสํารวจความพึงพอใจของนัก ศึกษาตอการใหบริการทรัพยากรเพื่อการเรียนรูและการปฏิบัติการ

3. การบริหารคณาจารย

3.1 การรับอาจารยใหม มีการคัดเลือกอาจารยใหมตามระเบียบและหลักเกณฑของมหาวิทยาลัยโดยอาจารยใหมจะตอง มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโทข้ึนไปในสาขาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีไฟฟาอิเล็กทรอนิกส หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวของ

3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร คณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและผูสอน จะตองประชุมรวมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอนประเมินผลและใหความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมขอมูลเพื่อเตรียมไวสําหรับการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนปรึกษาหารือแนวทางที่จะทําใหบรรลุเปาหมายตามหลักสูตร และไดบัณฑิตเปนไปตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค

60

3.3 การแตงต้ังอาจารยควบคุมโครงงานหรือหัวขอพิเศษทางเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส อาจารยที่ปรึกษาตองไดรับการแตงต้ังจากมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ซึ่งมีคุณสมบัติดังน้ี

1) เปนอาจารยประจํา 2) มีคุณวุฒิปริญญาโทข้ึนไป 3) มีประสบการณ และเช่ียวชาญในสาขาวิชา หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวของ 4) มีประสบการณในการทําวิจัยในสาขาวิชาและมิใชสวนหน่ึงของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน

4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงบุคลากรสายสนับสนุนควรมีวุฒิปริญญาตรีที่เกี่ยวของ

กับภาระงานที่รับผิดชอบ และมีความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.2 การเพ่ิมทักษะความรูเพ่ือการปฏิบัติงาน

บุคลากรตองเขาใจโครงสรางและธรรมชาติของหลักสูตร และจะตองสามารถบริหารใหอาจารยสามารถใชสื่อการสอนไดอยางสะดวก ซึ่ งจําเปนตองใหัมีการฝกอบรมเฉพาะทาง เชน การเตรียมหองปฏิบัติการในวิชาที่มีการฝกปฏิบัติ 5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา

5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการและอ่ืนๆ แกนักศึกษา คณะมีการแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการใหแกนักศึกษาทุกคน โดยนักศึกษาที่มีปญหาในการเรียนสามารถปรึกษากับอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการได โดยอาจารยของคณะทุกคนจะตองทําหนาที่อาจารย ที่ปรึกษาทางวิชาการใหแกนักศึกษา และทุกคนตองกําหนดช่ัวโมงใหคําปรึกษา (Office Hours) เพื่อใหนักศึกษาเขาปรึกษาได นอกจากนี้ตองมีที่ปรึกษากิจกรรมเพื่อใหคําปรึกษาแนะนําในการจัดทํากิจกรรมแกนักศึกษา

5.2 การอุทธรณของนักศึกษา กรณีที่นักศึกษามีความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใดสามารถที่จะย่ืนคํารองขอดูกระดาษคําตอบในการสอบ ตลอดจนดูคะแนนและวิธีการประเมินของอาจารยในแตละรายวิชาได 6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และหรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต สําหรับความตองการกําลังคนสาขาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสน้ัน คาดวามีความตองการกําลังคนสูงมาก เพราะงานดานอิเล็กทรอนิกสไดเปนที่ยอมรับกันวาเปนกิจกรรมที่จําเปนอยางยิ่งสําหรับองคกรทุกประเภท ทั้งภาครัฐและเอกชน มหาวิทยาลัยจะทําการสํารวจความตองการแรงงานและความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต เพื่อนําขอมูลมาใชประกอบการปรับปรุงหลักสูตร รวมถึงการศึกษาขอมูลวิจัย อันเกี่ยวเน่ืองกับการประมาณความตองการของตลาดแรงงาน เพื่อนํามาใชในการวางแผนการรับนักศึกษา

61

7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance indictor) ผลการดําเนินการบรรลุตามเปาหมายดังตัวบงช้ีทั้งหมดอยูในเกณฑดีตอเน่ือง 2 ปการศึกษา เพื่อติดตามการดําเนินการตาม TQF ตอไป ทั้งน้ีเกณฑการประเมินผาน คือ มีการดําเนินงานตามขอ 1-5 ครบถวน และอยางนอยรอยละ 80 ของตัวบงช้ีรวมผลการดําเนินงานที่ระบุไวในแตละป

ดัชนีบงชี้ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

2556 2557 2558 2559 2560

(1) อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร

X X X X X

(2) มีรายละเอียดของหลักสตูร ตามแบบ มคอ. 2 ที่สอดคลองกับมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา

X X X X X

(3) มีรายละเอียดของรายวิชา และประสบการณภาคสนาม (ถาม)ีตามแบบ มคอ.3 แ 4 อยางนอยกอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา

X X X X X

(4) จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และประสบการณภาคสนาม (ถาม)ี ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ. 6 ภายใน30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาทีเ่ปดสอนใหครบทุกรายวิชา

X X X X

(5) จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปการศึกษา

X X X X

(6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยีนรู ที่กําหนดใน มคอ.3 และ มคอ. 4 (ถาม)ี อยางนอยรอยละ 25 ของรายวิชาที่เปดสอนในแตละปการศึกษา

X X X X

(7) มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู จากผลการประเมินการดําเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปที่ผานมา

X X X X

(8) อาจารยใหม (ถาม)ี ทุกคน ไดรับการปฐมนิเทศหรือคําแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน

X X X X X

(9) อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อยางนอยปละหน่ึงครั้ง

X X X X X

(10) จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถาม)ี ไดรับการพัฒนาวิชาการ และหรอืวิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ 50 ตอป

X X X X X

(11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทายที่มีตอคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไมนอยกวา 3.51 จากคะแนน 5.0

X X

(12) ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตใหม เฉลี่ยไมนอยกวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.0

X

(13) นักศึกษามีงานทําภายใน 1 ป หลังจากสําเร็จการศึกษา ไมตํ่ากวารอยละ 80

X

(14) บัณฑิตที่ไดงานทําไดรับเงินเดือนเริ่มตนไมตํ่ากวาเกณฑ ก.พ. กําหนด

X

62

หมวด 8 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน

1.1 การประเมินกลยุทธการสอน ชวงกอนการสอนควรมีการประเมินกลยุทธการสอนโดยทีมผูสอนหรือระดับภาควิชา และ/หรือ การปรึกษาหารือกับผูเช่ียวชาญดานหลักสูตรหรือวิธีการสอน สวนชวงหลังการสอนควรมีการวิเคราะห ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และการวิเคราะหผลการเรียนของนักศึกษา ดานกระบวนการนําผลการประเมินไปปรับปรุง สามารถทําโดยรวบรวมปญหาขอเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงและกําหนดประธานหลักสูตรและทีมผูสอนนําไปปรับปรุงและรายงานผลตอไป อธิบายกระบวนการที่ใชประเมินกลยุทธการสอนที่ไดวางแผนสําหรับการพัฒนาการเรียนรู เชน การประเมินความเห็นหรือขอเสนอแนะภายหลัง การเขารับการอบรมการนํากลยุทธการสอนไปใช การปรึกษาหารือกับผูเช่ียวชาญดานหลักสูตรหรือ วิธีสอน การวิเคราะหผลการประเมินของนักศึกษา

1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน การประเมินทักษะดังกลาวสามารถทําโดยวิธีการดังน้ี

1.2.1 ประเมินโดยนักศึกษาในแตละวิชา 1.2.2 การสังเกตการณของผูรับผิดชอบหลักสูตร/ประธานหลักสูตร และ/หรือทีมผูสอน 1.2.3 ภาพรวมของหลักสูตรประเมินโดยบัณฑิตใหม 1.2.4 การทดสอบผลการเรียนรูของนักศึกษาเทียบเคียงกับสถาบันอื่นในหลักสูตรเดียวกัน

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม การประเมินหลักสูตรในภาพรวม โดยสํารวจขอมูลจาก

2.1 นักศึกษา ปสุดทาย/บัณฑิตใหม 2.2 ผูวาจาง 2.3 ผูทรงคุณวุฒิภายนอก รวมทั้งสํารวจผลสัมฤทธ์ิของบัณฑิต

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร ตองผานการประกันคุณภาพหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส และตัวบงช้ีเพิ่มเติมขางตน รวมทั้งการผานการประเมินการประกันคุณภาพ ใน (IQA) 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสูตรและแผนกลยุทธการสอน

4.1 รวบรวมขอเสนอแนะ/ขอมูล จากการประเมินจากนักศึกษา ผูใชบัณฑิต ผูทรงคุณวุฒิ 4.2 วิเคราะหทบทวนขอมูลขางตน โดยผูรับผิดชอบหลักสูตร 1 ประธานหลักสูตร 4.3 เสนอการปรับปรุงหลักสูตรและแผนกลยุทธ (ถาม)ี

63

ภาคผนวก

64

ภาคผนวก ก

เหตุผลและความจําเปนในการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

65

เหตุผลและความจําเปนในการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) การเปลี่ยนแปลง

ของบริบทการพัฒนาในกระแสโลกาภิวัตน วาดวยเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดด ความกาวหนาอยางรวดเร็วของเทคโนโลยี สรางความเปลี่ยนแปลงทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม จึงจําเปนตองเตรียมพรอมใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดังกลาวในอนาคต โดยจะตองมีการบริหารจัดการองคความรูอยางเปนระบบ ทั้งการพัฒนาหรือสรางองคความรู รวมถึงการประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาผสมผสานรวมกับจุดแข็งในสังคมไทย สรางความเช่ือมโยงเทคโนโลยีกับวัฒนธรรมและ ภูมิปญญาทองถ่ิน

การพัฒนาดานอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตรในปจจุบันมีความจําเปนอยางย่ิงที่จะตองพึ่งพาเทคโนโลยีทางดานอิเล็กทรอนิกส ทั้งการออกแบบระบบอิเล็กทรอนิกส การประยุกตใชเครื่องจักรไฟฟา การปองกันอันตรายจากไฟฟา การควบคุมเครื่องจักร และอื่นๆ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส มุงเนนใหโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสแกประชาชนในทองถ่ิน ผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถ เปนผูคิดคน พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรมเพื่อตอบสนองความตองการของประเทศไทยในโลกยุคปจจุบัน โดยมุงพัฒนาใหบัณฑิตมีความรอบรูในการพัฒนาและ ใชเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทางดานอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนใหมีจิตสํานึกในวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส สามารถ นําความรูไปประยุกตใชกับทองถ่ินและประเทศชาติไดอยางย่ังยืน และมีประสิทธิภาพ

มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ในฐานะที่เปนสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งนับวาเปนศูนยกลางทางวิชาการแหงหน่ึงในจังหวัดรอยเอ็ดและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีหนาที่ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพในสาขาวิชาตางๆ ใหกับสังคม ควรจะตองรับผิดชอบตอการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ ของสังคม เพื่อใหการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปนไปในทิศทางที่พึงประสงคและใหเปนไปตามนโยบายดานการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่จะใหมีการกระจายความเจริญมาสูภูมิภาคและชนบท คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด จึงไดพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสเพื่อใหหลักสูตรครอบคลุมมาตรฐานความรู และแสดงสาระความรูตามมาตรฐานดังกลาวอยางชัดเจน โดยมุงผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความเขาใจในศาสตรแหงเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสอยางแทจริง ตลอดจนทักษะการถายทอดความรู มีภาวะผูนํา คุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ สามารถนําความรูไปประยุกตใชไดอยางเหมาะสม มีคุณภาพสอดคลองตอความตองการของตลาดแรงงาน โดยเปนบัณฑิตที่มีความซื่อตรง อดทน มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อพัฒนาทองถ่ินและพัฒนาประเทศตอไป

66

ภาคผนวก ข

ความสอดคลองระหวางวัตถุประสงคของหลักสูตรกับรายวิชา

67

ความสอดคลองระหวางวัตถุประสงคของหลักสูตรกับรายวิชา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ไดจัดทําข้ึนเพื่อผลิตบัณฑิตทางดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสที่สามารถตอบสนองความตองการการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ และรองรับความตองการของตลาดแรงงาน ซึ่งผลที่คาดวาจะไดรับทําใหไดบัณฑิตที่มีคุณสมบัติตามวัตถุประสงคของหลักสูตร และพัฒนาดานการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น โดยไดแสดงรายละเอียดของรายวิชาตางๆ ที่ตอบสนองวัตถุประสงคของหลักสูตรดังน้ี

วัตถุประสงคของหลักสูตร รายวิชา

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 1) เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณธรรม

จริยธรรม มีระเบียบวินัย ตรงตอเวลา ซื่อสัตยสุจริต

ขยันหมั่นเพียร สํานึกในจรรยาวิชาชีพ รับผิดชอบตอหนาที ่

GEH2103 GES3104 ELT3106 GES3103 ELT4401

ELT4402 ELT4403 ELT4404

จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย กฎหมายในชีวิตประจําวัน วิศวกรรมความปลอดภัย ชีวิตกับสิ่งแวดลอม เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส เตรียมสหกิจศึกษา สหกิจศึกษา

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

1(90) 5(450) 1(90) 5(450)

2) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส การควบคุมระบบการทํางานเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส และงานบริหาร

งานทางดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสไดอยางมีประสิทธิภาพและตอบสนองความตองการของตลาดแรงงาน

ทั้งภาครัฐและเอกชน

ELT1101 ELT1102 ELT1202 ELT2208 ELT2206 ELT2211 ELT2105 ELT1103 ELT1201 ELT1204 ELT3306 ELT3308 ELT4221 ELT3217 ELT3106

การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส เขียนแบบวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส 1 การวิเคราะหวงจรไฟฟา อิเล็กทรอนิกส 2 วงจรดิจิตอลและลอจิก วัสดุศาสตร คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 คอมพวิเตอรเบื้องตน ทฤษฎีวงจรไฟฟา การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม การประยุกตไอซีเชิงเสน วิศวกรรมความปลอดภัย

3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6)

68

วัตถุประสงคของหลักสูตร รายวิชา

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต 3) เพื่อผลิตบัณฑิตใหใหสามารถ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการติดต้ัง ตรวจสอบระบบอิเล็กทรอนิกส แกไขซอมบํารุง สามารถเลือกเทคโนโลยีใหมีความเหมาะสม

กับลักษณะการใชงาน ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ELT1203 ELT1205 ELT2207 ELT2212 ELT2213

ELT2210 ELT3216 ELT3215

ELT3219

ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกสกําลัง การออกแบบระบบดิจิตอล ไมโครคอนโทรลเลอรและไมโครโปรเซสเซอร การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส

1(0-3-2) 3(2-2-5) 1(0-3-2) 1(0-3-2)

3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5)

3(2-2-5) 3(2-2-5)

4) เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีทักษะ ในการสื่อสารระหวาง

ผูบังคับบัญชา วิศวกร กับผูปฏิบัติงานอิเล็กทรอนิกส

และสามารถถายทอดความรู ในสาขาวิชาเทคโนโลยี

อิเล็กทรอนิกสไดอยางมีคุณภาพ

GEL1101 GEL1102 GEL1104 ELT2209 ELT3106 ELT4221

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษสําหรับงานอิเล็กทรอนิกส วิศวกรรมความปลอดภัย การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

5) เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณลักษณะในการทํางาน วางแผนเตรียมการรวมทั้งปรับปรุงและพัฒนาตนเองใหกาวหนาอยูเสมอ สามารถแกปญหาดวยหลักการและเหตุผล ปฏิบัติงานดวยหลักวิชาการที่มีการวางแผนอยางเปนระบบ ซึ่งจะกอใหเกิดผลสัมฤทธ์ิตามเปาหมายอยางประหยัด

GEL1103 GET4103 ELT4312 ELT3220 ELT4222

สารสนเทศและการศึกษาคนควา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 2

3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5)

69

ภาคผนวก ค

ตารางเปรียบเทียบโครงสรางหลักสูตรปรับปรุง กับเกณฑมาตรฐานหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

70

เปรียบเทียบโครงสรางหลักสูตรปรับปรุงกับเกณฑมาตรฐานหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

หมวดวิชา/กลุมวิชา เกณฑขั้นตํ่า ของ สกอ. (หนวยกิต)

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556 (หนวยกิต)

1. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 30 30 1.1 กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร 12 1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตร 6 1.3 กลุมวิชาสังคมศาสตร 6 1.4 กลุมวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และ เทคโนโลยี

6

2. หมวดวิชาเฉพาะ 84 100 2.1 กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 22 2.2 กลุมวิชาชีพบงัคับ 60 2.3 กลุมวิชาชีพเลือก 12 2.4 กลุมวิชาฝกประสบการณวิชาชีพ

6

3. หมวดวิชาเลือกเสร ี 6 6

รวม 120 136

71

ภาคผนวก ง

คําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เรื่อง แตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

72

คําสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด

ท่ี ๙๕๘/๒๕๕๔ เรื่อง แตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส และสาขาวิชาวิทยาศาสตรการกีฬา คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

เพื่อใหการดําเนินงานปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรทั่วไป สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส และสาขาวิชาวิทยาศาสตรการกีฬา คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เปนไปดวยความเรยีบรอย มหาวิทยาลัยฯ จึงแตงต้ัคณะกรรมการ พัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรทั่วไป สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส และสาขาวิชาวิทยาศาสตรการกีฬา คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร ดังน้ี

๑. คณะกรรมการอํานวยการ ๑.๑ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เฉลย ภูมิพันธุ ประธานกรรมการ ๑.๒ ผูชวยศาสตราจารยดุสิต อุบลเลิศ รองประธานกรรมการ ๑.๓ อาจารย ดร.เกรียงศักด์ิ ศรีสมบัติ กรรมการ ๑.๔ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมใจ ภูมิพันธุ กรรมการ ๑.๕ อาจารยอัจฉรียา พัฒนสระคู กรรมการ ๑.๖ อาจารย ดร.วิชิต กํามันตะคุณ กรรมการ ๑.๗ ผูชวยศาสตราจารยเสริมศร ี สุทธิสงค กรรมการและเลขานุการ

๒. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรทั่วไป

๒.๑ ผูชวยศาสตราจารยเสริมศรี สุทธิสงค ประธานกรรมการ ๒.๒ นายวิทวัส พลหาญ กรรมการ ๒.๓ อาจารยยุทธพันธ คําวัน กรรมการ ๒.๔ อาจารยพทุธพรรณี บุญมาก กรรมการ ๒.๕ อาจารยอณีสณี แทนอาษา กรรมการ ๒.๖ อาจารยปยนุช ภูทองขาว กรรมการ ๒.๗ อาจารยคมศิลป พลแดง กรรมการ

./๓. คณะ...

73

๓. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ๓.๑ ผูชวยศาสตราจารยเสริมศรี สุทธิสงค ประธานกรรมการ ๓.๒ อาจารยอธิปด์ิ ภาสวาง กรรมการ ๓.๓ อาจารยยุทธพันธ คําวัน กรรมการ ๓.๔ อาจารยสิทธเดช หมอกมีชัย กรรมการ ๓.๕ อาจารยจิตกรณ เพชรภักดี กรรมการ ๓.๖ อาจารยสันติ พันธรัมย กรรมการและเลขานุการ

๔. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการกีฬา

๔.๑ ผูชวยศาสตราจารยเสริมศรี สุทธิสงค ประธานกรรมการ ๔.๒ ผูชวยศาสตราจารยอเนก สูตรมลคล กรรมการ ๔.๓ อาจารยยุทธพันธ คําวัน กรรมการ ๔.๔ อาจารยธนพล แกววงษ กรรมการ ๔.๕ อาจารยสุรัมภา เจริญสุข กรรมการ ๔.๖ อาจารยพนิดา ชูเวช กรรมการและเลขานุการ

ใหผูไดรับการแตงต้ังปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ดวยความวิริยะอุตสาหะ บังเกิดผลดีแกทางราชการ ทั้งน้ี ต้ังแตวันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔

สั่ง ณ วันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.เฉลย ภูมิพันธุ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด

74

ภาคผนวก จ

รายนามคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิวิพากษหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. 4 ป)

75

รายนามคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิวิพากษหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

ลําดับ ชื่อ – สกุล ชื่อ มหาวิทยาลัยตนสังกัด คณะ ภาควิชา เบอรโทรศัพท

1 รศ.ดร.สุรชัย สุขสกุลชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา โทร.: 024708542 081-3008593 อีเมล: [email protected]

2

รศ.กิตติพงษ ตันมิตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน

คณะวิศวกรรมศาสตร

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา

โทร: 089-7110635 อีเมล: [email protected]

3

ดร.วรวัฒน เสงี่ยมวิบูล

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คณะวิศวกรรมศาสตร

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา

โทร: 043-754321-40 089-4195089 อีเมล: [email protected]

76

ภาคผนวก ฉ

หนังสือขอความอนุเคราะหวิพากษหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. 4 ป)

77

ท่ี ศธ ๐๕๗๑.๐๓/๐๕๙ มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ตําบลเกาะแกว อําเภอเสลภูม ิ จังหวัดรอยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ๒๖ กรกฏาคม ๒๕๕๔ เรื่อง ขออนุเคราะหวิพากษหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) เรียน รองศาสตราจารย ดร.สุรชัย สุขสกุลชัย สิ่งท่ีสงมาดวย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) จํานวน ๑ เลม ดวยคณะศิลปะศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด จะดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) เพื่อปรับปรุงใหหลักสูตรมีมาตรฐานสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และเปนการประกันคุณภาพใหสามารถผลิตบัญฑิตไดอยางมีคุณภาพ ดังน้ัน เพื่อใหการปรับปรุงหลักสูตร เปนไปดวยความเรียบรอยถูกตองตามหลักเกณฑ คณะ ศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด จึงใครขออนุเคราะหทานรวมเปนคณะกรรมการวิพากษหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) ดังรายละเอียดที่แนบมาพรอมน้ี หวังเปนอยางย่ิงวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี และขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.เฉลย ภูมิพันธุ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด

คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร โทร ๐ ๔๓๕๕ ๖๐๐๑-๘ ตอ ๑๒๑ , ๐ ๔๓๕๕ ๖๐๒๑ โทรสาร ๐ ๔๓๕๕ ๖๐๐๙

78

ท่ี ศธ ๐๕๗๑.๐๓/๐๖๐ มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ตําบลเกาะแกว อําเภอเสลภูม ิ จังหวัดรอยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ๒๖ กรกฏาคม ๒๕๕๔ เรื่อง ขออนุเคราะหวิพากษหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) เรียน รองศาสตราจารยกิตติพงษ ตันมิตร สิ่งท่ีสงมาดวย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) จํานวน ๑ เลม ดวยคณะศิลปะศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด จะดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) เพื่อปรับปรุงใหหลักสูตรมีมาตรฐานสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และเปนการประกันคุณภาพใหสามารถผลิตบัญฑิตไดอยางมีคุณภาพ ดังน้ัน เพื่อใหการปรับปรุงหลักสูตร เปนไปดวยความเรียบรอยถูกตองตามหลักเกณฑ คณะ ศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอด็ จึงใครขออนุเคราะหทานรวมเปนคณะกรรมการวิพากษหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) ดังรายละเอียดที่แนบมาพรอมน้ี หวังเปนอยางย่ิงวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี และขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี จึงเรียนมาเพื่อโปรดพจิารณา ขอแสดงความนับถือ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.เฉลย ภูมิพันธุ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด

คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร โทร ๐ ๔๓๕๕ ๖๐๐๑-๘ ตอ ๑๒๑ , ๐ ๔๓๕๕ ๖๐๒๑ โทรสาร ๐ ๔๓๕๕ ๖๐๐๙

79

ท่ี ศธ ๐๕๗๑.๐๓/๐๖๑ มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ตําบลเกาะแกว อําเภอเสลภูม ิ จังหวัดรอยเอ็ด ๔๕๑๒๐ ๒๖ กรกฏาคม ๒๕๕๔ เรื่อง ขออนุเคราะหวิพากษหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) เรียน ดร.วรวัฒน เสงี่ยมวิบูล สิ่งท่ีสงมาดวย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) จํานวน ๑ เลม ดวยคณะศิลปะศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด จะดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) เพื่อปรับปรุงใหหลักสูตรมีมาตรฐานสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และเปนการประกันคุณภาพใหสามารถผลิตบัญฑิตไดอยางมีคุณภาพ ดังน้ัน เพื่อใหการปรับปรุงหลักสูตร เปนไปดวยความเรียบรอยถูกตองตามหลักเกณฑ คณะ ศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด จึงใครขออนุเคราะหทานรวมเปนคณะกรรมการวิพากษหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส (วท.บ. ๔ ป) ดังรายละเอียดที่แนบมาพรอมน้ี หวังเปนอยางย่ิงวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี และขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.เฉลย ภูมิพันธุ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด

คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร โทร ๐ ๔๓๕๕ ๖๐๐๑-๘ ตอ ๑๒๑ , ๐ ๔๓๕๕ ๖๐๒๑ โทรสาร ๐ ๔๓๕๕ ๖๐๐๙

80

ภาคผนวก ช

ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวย การศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตร ี(ตอเน่ือง) พ.ศ. ๒๕๕๐

81

ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด

วาดวย การศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. ๒๕๕๐

.................................................................................................................... โดยท่ีเปนการสมควรตราขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวย การศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรีและปริญญาตรี (ตอเนื่อง) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด จึงตราขอบังคับไวดังตอไปนี ้

หมวด ๑

บทท่ัวไป

ขอ ๑. ขอบงัคับนี้เรียกวา “ ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวย การศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี(ตอเนื่อง) พ.ศ. ๒๕๕๐ ”

ขอ ๒. ขอบังคับนี้ใหใชบังคับกับนักศึกษาท่ีเขาศึกษาตั้งแตภาคการศึกษา ๒๕๕๐ เปนตนไป

ขอ ๓. บรรดาระเบียบ ขอบังคับ คําส่ังหรือประกาศอ่ืนใด ซ่ึงขัดหรือแยงกับขอบังคับนี้ใหใชขอบังคับนี้แทน

ขอ ๔. ในขอบังคับนี ้ “มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด “สภามหาวิทยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด “อธิการบด”ี หมายความวา อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด

“คณบด”ี หมายความวา คณบดีหรือตําแหนงอ่ืนท่ีเทียบเทา ในมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด “หลักสูตร” หมายความวา หลักสูตรระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) “อาจารยท่ีปรึกษา” หมายความวา คณาจารยประจําสาขาวิชาตาง ๆและ/หรือประจําโปรแกรมวิชาตางๆหรือบุคคลอ่ืนท่ีมหาวิทยาลัยแตงตั้งใหทําหนาท่ีแนะนํา ใหคําปรึกษาและแนะแนวการศึกษาใหสอดคลองกับแผนการศึกษา ตลอดจนตักเตือนดูแลความประพฤติของนักศึกษา “นักศึกษา” หมายความวา นักศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรีและปริญญาตรี (ตอเนื่อง) ขอ ๕. ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ และมีอํานาจออกระเบียบ ประกาศหรือคําส่ังเพ่ือประโยชนในการปฏิบัติตามขอบังคับนี ้

82

ในกรณีท่ีมีปญหาในการปฏิบัติตามขอบังคับนี้ หรือในกรณีไมอาจปฏิบัติตามขอกําหนดในขอบังคับนี้ ใหอธิการบดีเปนผูวินิจฉัยช้ีขาด

หมวด ๒

การรับเขาศึกษาและระบบการศึกษา

ขอ ๖. การรับนักศึกษา กําหนดการและวิธีการรับเขาเปนนักศึกษาใหเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย ขอ ๗. คุณสมบัติของผูมีสิทธิเขาเปนนักศึกษา ๗.๑ สําเร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทาจากหนวยงานท่ีกระทรวงศึกษาธิการรับรอง สําหรับผูเขาศึกษาระดับปริญญาตรีหรือระดับอนุปริญญา ๗.๒ สําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเทา หรือระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาช้ันสูงท้ังในหรือตางประเทศซ่ึงสภามหาวิทยาลัยรับรอง สําหรับผูเขาศึกษาในระดับปริญญาตรีตอเนื่อง ๗.๓ ไมเปนคนวิกลจริตและไมเปนโรคติดตอรายแรงท่ีไมสามารถศึกษาได ๗.๔ มีคุณสมบัติอ่ืนครบถวนตามท่ีสภามหาวิทยาลัยกําหนด

ขอ ๘. ระบบการศึกษา มหาวิทยาลัยใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยปการศึกษาหนึ่งแบงออกเปนภาคการศึกษาปกติ ๒ ภาคการศึกษา คือภาคการศึกษาท่ี ๑ และภาคการศึกษาท่ี ๒ มีระยะเวลาเรียนแตละภาคการศึกษาไมนอยกวา ๑๕ สัปดาหหรือมีเวลาเรียนไมนอยกวา ๑๕ ช่ัวโมงตอหนวยกิต มหาวิทยาลัยอาจจัดการศึกษาในระบบทางไกลหรือภาคฤดูรอนตอจากภาคการศึกษาท่ี ๒ โดยกําหนดระยะเวลาและจํานวนหนวยกิตใหมีสัดสวนใกลเคียงกับภาคการศึกษาปกต ิ

ในกรณีท่ีจําเปนท่ีจะตองจัดการศึกษาแตกตางจากวรรคแรก ใหเสนอตอสภามหาวิทยาลัยเพ่ือใหความเห็นชอบ

ขอ ๙. การกําหนดหนวยกิตแตละวิชาใหกําหนดโดยใชเกณฑดังนี้ ๙.๑ รายวิชาภาคทฤษฎีท่ีใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายไมนอยกวา ๑๕ ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ ๑ หนวยกิต

๙.๒ รายวิชาภาคปฏิบัติท่ีใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา ๓๐ ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาใหมี คาเทากับ ๑ หนวยกิต

๙.๓ การฝกงานหรือฝกภาคสนามหรือฝกประสบการวิชาชีพ ใชเวลาไมนอยกวา ๔๕ ช่ัวโมง ตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ ๑ หนวยกิต

๙.๔ การทําโครงการหรือกิจกรรมการเรียนอ่ืนใดตามท่ีไดรับมอบหมายท่ีใชเวลาทําโครงการหรือกิจกรรมใชเวลาไมนอยกวา ๔๕ ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ ๑ หนวยกิต

๙.๕ การสอน บรรยาย อภิปรายหรือปฏิบัติการใหใชเวลาสอนหรืออภิปราย ๕๐ นาที ตอ ๑ คาบ

83

๙.๖ ในระบบการศึกษาทางไกลใหจัดการศึกษาเปนชุดวิชาแตละชุดวิชาไมต่ํากวา ๕ หนวยกิต

หมวด ๓

หลักสูตรการศึกษาและระยะเวลาการศึกษา

ขอ ๑๐. หลักสูตรการศึกษาและระยะเวลาการศึกษาจัดไว ๒ ระดับดังนี ้ ๑๐.๑ หลักสูตรอนุปริญญา มีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๙๐ หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไมนอยกวา ๕ ภาคการศึกษาและไมเกิน ๖ ปการศึกษา ๑๐.๒ หลักสูตรปริญญาตรีซ่ึงจัดไว ๓ ประเภท ดังนี ้ ๑๐.๒.๑ หลักสูตรปริญญาตรี ๔ ป ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๑๒๐ หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไมนอยกวา ๖ ภาคการศึกษาปกติและไมเกิน ๘ ปการศึกษา ๑๐.๒.๒ หลักสูตรปริญญาตรี ๕ ป ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๑๕๐ หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไมนอยกวา ๘ ภาคการศึกษาปกติและไมเกิน ๑๐ ปการศึกษา ๑๐.๒.๓ หลักสูตรปริญญาตรี(ตอเนื่อง)ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๗๒ หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไมนอยกวา ๔ ภาคการศึกษาปกติและไมเกิน ๔ ปการศึกษา

หมวด ๔

การขึ้นทะเบียนและการลงทะเบียนเรียน

ขอ ๑๑. การขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา ๑๑.๑ ผูท่ีไดรับการคัดเลือกใหเขาเปนนักศึกษา ตองมารายงานตัวเพ่ือขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาโดยสงหลักฐานตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนดตอฝายทะเบียนและประมวลผลและชําระเงินตามระเบียบของมหาวิทยาลัยวาดวยคาธรรมเนียมการศกึษา ตามวันเวลาและสถานท่ีท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

๑๑.๒ ผูท่ีไดรับการคัดเลือกใหเปนนักศึกษาจะมีสภาพเปนนักศึกษาก็ตอเม่ือไดขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาแลว

ขอ ๑๒. การลงทะเบียนเรียน

๑๒.๑ กําหนดการลงทะเบียนเรียน วิธีการลงทะเบียนเรียน ใหเปนไปตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนดในแตละภาคการศึกษา ๑๒.๒ การลงทะเบียนเรียนใหเปนไปตามขอกําหนดของหลักสูตร ๑๒.๓ การลงทะเบียนเรียน นักศึกษาจะตองลงทะเบียนเรียนไมนอยกวา ๙ หนวยกิตและไมเกิน ๒๒ หนวยกิต ในแตละภาคการศึกษาปกติสําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลาและใหลงทะเบียนเรียนไดไมเกิน ๙ หนวยกิต ในแตละภาคการศึกษาปกติสําหรับการลงทะเบียนเรียนไมเต็มเวลา ยกเวน ในกรณีท่ีแผนการศึกษาของหลักสูตรนั้นไดกําหนดไวเปนอยางอ่ืน ใหปฏิบัติตามแผนท่ีกําหนดไวหรือเปนนักศึกษาภาคการศึกษาสุดทายท่ีจะสําเร็จการศึกษา

84

ขอ ๑๓. การขอเพ่ิม ขอถอนหรือขอยกเลิกรายวิชา ๑๓.๑ การขอเพ่ิม ขอถอน และขอยกเลิกรายวิชา จะตองไดรับอนุมัติจากนายทะเบียนโดยความเห็นชอบของอาจารยท่ีปรึกษาและอาจารยผูสอนกอน

๑๓.๒ การขอเพ่ิม ขอถอน ตองกระทําภายใน ๒๐ วันแรกของภาคการศึกษา ๑๓.๓ การขอยกเลิกรายวิชาตองดําเนินการใหแลวเสร็จกอนสอบปลายภาคการศึกษานั้นๆ ไมนอยกวา ๑ สัปดาห ขอ ๑๔. การรักษาสภาพนักศึกษา ๑๔.๑ นักศึกษาท่ีลาพักการเรียนหรือถูกส่ังใหพักการเรียนตองชําระเงินคาธรรมเนียมรักษาสภาพนักศึกษาตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด มิฉะนั้นจะตองพนสภาพนักศึกษา ๑๔.๒ การรักษาสภาพนักศึกษาใหดําเนินการใหแลวเสร็จกอนวันสอบปลายภาค ๑ สัปดาห ขอ ๑๕. คาธรรมเนียมการศึกษาและการชําระคาธรรมเนียมการศึกษาใหเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

ขอ ๑๖. การลงทะเบียนเรียนจะสมบูรณตอเม่ือนักศึกษาไดชําระคาธรรมเนียมตางๆและสงหลักฐานการลงทะเบียนตอมหาวิทยาลัยแลว

หมวด ๕

ระเบียบการศึกษา ขอ ๑๗. ระเบียบการเรียน

๑๗.๑ นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนติดตอกันทุกภาคการศึกษาปกติ การลาพักการเรียนตองปฏิบัติตามหลักเกณฑการลาพักการเรียน

๑๗.๒ นักศึกษาตองมีเวลาเรียนในรายวิชาหนึ่งๆไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้ังหมดของรายวิชานั้นจึงจะมีสิทธิสอบปลายภาค แตท้ังนี้นักศึกษาท่ีมีเวลาเรียนในรายวิชานั้นๆตั้งแตรอยละ ๖๐ ขึ้นไป แตไมถึงรอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้ังหมดของวิชานั้นจะมีสิทธิสอบปลายภาคไดตอเม่ือไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการคณะเสียกอน หากมีเวลาเรียนในรายวิชาใดนอยกวารอยละ ๖๐ จะไมมีสิทธิสอบรายวิชานั้น

กรณีไมสามารถปฏิบัติตามขอกําหนดในวรรคแรกไดใหอยูในดุลยพินิจของอธิการบด ี ท้ังนี้ยกเวนระบบการศึกษาทางไกลใหเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย

๑๗.๓ ประเภทการลงทะเบียนเรียน

๑๗.๓.๑ การลงทะเบียนประเภทนับหนวยกิต (Credit) เปนการลงทะเบียนรายวิชาตามหลักสูตร มีการนําผลการเรียนมาคิดคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสม

๑๗.๓.๒ การลงทะเบียนประเภทไมนับหนวยกิต (Audit) เปนการลงทะเบียนเรียนเพ่ือเพ่ิมความรูจะรายงานผลการเรียนเปน S และ U โดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตรและไมตองเรียนซํ้าเม่ือไดผลการเรียนเปน U

85

๑๗.๓.๓ การลงทะเบียนรายวิชาท่ีหลักสูตรบังคับใหเรียนเพ่ิมตามขอกําหนดเฉพาะ(Pre

Requisite)จะรายงานผลการเรียนเปน PD P และ F หากไดผลการเรียนเปน F จะตองลงทะเบียนซํ้าจนกวาผลการเรียนจะเปน P

ขอ ๑๘. การประเมินผล

๑๘.๑ ใหอาจารยผูสอนประเมินผลทุกรายวิชาท่ีมีการสอนในแตภาคการศึกษาซ่ึงการประเมินผลตองทําตลอดภาคการศึกษาโดยวิธีตางๆ เชน การทดสอบยอย รายงาน ทํางานกลุม สอบกลางภาค และใหมีการสอบปลายภาค เวนแตเปนกรณีท่ีตองปฏิบัติตามมาตรฐานองคกรวิชาชีพมหาวิทยาลัยจะกําหนดเกณฑการประเมินผลเปนอยางอ่ืนก็ได ๑๘.๒ นักศึกษาท่ีขาดสอบปลายภาค โดยมีเหตุผลและความจําเปนจะตองยื่นคํารองขอสอบภายใน ๒๐ วัน นับจากวันเปดภาคการศึกษาถัดไป โดยใหอยูในดุลยพินิจของอาจารยผูสอน

๑๘.๓ นักศึกษาท่ีทุจริตในการสอบใหถือวาสอบตกรายวิชานั้นและใหดําเนินการตามระเบียบวาดวยวินัยนักศึกษา ขอ ๑๙. ผลการเรียน

๑๙.๑ ผลการเรียนเปนส่ิงท่ีแสดงความสามารถในการเรียนรูของผูเรียน ซ่ึงสามารถวัดไดจากการสอบขอเขียน และ/หรือ การปฏิบัติงาน และ/หรือ ผลงานอ่ืนๆท่ีไดรับมอบหมายจากอาจารยประจําวิชาแลวประเมินเปนระดับคะแนน การรายงานผลการเรียนใหรายงานท้ังระดับคะแนนและคาระดับคะแนนเฉล่ีย

๑๙.๒ ใหมีการประเมินผลการเรียนในรายวิชาตางๆ ตามหลักสูตรเปน ๒ ระบบ ดังนี้ ๑๙.๒.๑ ระบบมีคาระดับคะแนนแบงเปน ๘ ระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน ความหมาย คาระดับคะแนน

A ดีเยี่ยม(Excellent) ๔.๐ B+ ดีมาก(Very Good) ๓.๕

B ดี (Good) ๓.๐ C+ ดีพอใช(Fairly Good) ๒.๕ C พอใช(Fairly) ๒.๐ D+ ออน(Poor) ๑.๕

D ออนมาก(Very Poor) ๑.๐

E ตก(Failed) ๐

ระบบนี้ใชสําหรับการประเมินผลรายวิชาท่ีเรียนตามหลักสูตร (๑) ระดับคะแนนท่ีถือวาสอบไดตองไมต่ํากวา D (๒) วิชาเลือกถาไดคาคะแนนต่ํากวา D สามารถเปล่ียนไปเลือกรายวิชาอ่ืนได (๓) การประเมินผลรายวิชาเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ และรายวิชาฝกประสบการณ

ถาไดคาคะแนนต่ํากวา C ถือวาสอบตก นักศึกษาจะตองลงทะเบียนและเรียนใหม ถาไดรับการประเมินต่ํากวา C

เปนคร้ังท่ีสองถือวาพนสภาพนักศึกษา

86

๑๙.๒.๒ ระบบไมมีคาระดับคะแนน กําหนดสัญลักษณการประเมินดังนี ้ อักษร ความหมาย

F ผลการประเมินไมผาน (Fail) P ผลการประเมินผาน (Pass) PD ผลการประเมินผานดีเยี่ยม (Pass with Distinction) ระบบนี้ใชสําหรับการประเมินรายวิชาท่ีหลักสูตรบังคับใหเรียนเพ่ิมตามขอกําหนดเฉพาะ หากนักศึกษาไดผลประเมิน F นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนใหมจนกวาจะสอบได P

๑๙.๒.๓ สัญลักษณอ่ืนมีดังนี้ Ad (Audit) ใชสําหรับการลงทะเบียนเพ่ือรวมฟงโดยไมนับหนวยกิต

W (Withdraw) ใชสําหรับการบันทึกหลังจากไดรับการอนุมัติใหถอนรายวิชานั้นกอนกําหนดปลายภาคไมนอยกวา ๒ สัปดาห ซ่ึงจะไดรับอนุมัติใหถอนรายวิชาเรียนในกรณีท่ีนักศึกษาลาพักการศึกษาหรือถูกส่ังใหพักการศึกษาหลังจากลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้นแลวและรายวิชาเลือกท่ีไดรับอนุมัติใหเรียนวิชาอ่ืนแทน

I (Incomplete) ใชสําหรับบันทึกการประเมินท่ีไมสมบูรณในรายวิชาท่ีนักศึกษายังทํางานไมเสร็จเม่ือส้ินภาคเรียนหรือขาดสอบ นักศึกษาท่ีได I ตองดําเนินการขอรับการประเมินเพ่ือเปล่ียนระดับคะแนนใหเสร็จส้ินในภาคเรียนถัดไป ดังนี้ (๑) กรณีท่ีนักศึกษาทํางานไมเสร็จ ผูสอนพิจารณาผลงานท่ีคางอยูเปนศูนยและประเมินผลการเรียนจากคะแนนท่ีมีอยูแลว (๒) กรณีนักศึกษาขาดสอบ ถาไมสอบภายในภาคเรียนถัดไป นายทะเบียนจะเปล่ียนผลการเรียนเปน E

๑๙.๓ การคิดคาเฉล่ียระดับคะแนนเฉล่ียสะสม

๑๙.๓.๑ ใหนับหนวยกิตสะสมเฉพาะรายวิชาท่ีมีคาระดับคะแนนแตไมใชรายวิชาท่ีตองเรียนเพ่ิม

๑๙.๓.๒ การคิดคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมของนักศึกษา ใหคิดจากทุกรายวิชาท่ีลงทะเบียนเรียน ท้ังรายวิชาท่ีสอบไดและรายวิชาท่ีสอบตก

๑๙.๓.๓ การคํานวณคาระดับคะแนนเฉล่ียประจําภาคการศึกษาและระดับคะแนนเฉล่ียสะสม ใหนําเอาผลคูณจํานวนหนวยกิตกับคาระดับคะแนนของทุกรายวิชาท่ีลงทะเบียนมารวมกันแลวหารดวยผลบวกของหนวยกิตของรายวิชาท้ังหมด ผลของการหารนี้ใหใชทศนิยม ๒ ตําแหนงโดยไมมีการปดเศษ

๑๙.๓.๔ การคํานวณหาคาระดับคะแนนเฉล่ียและคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมโดยใหมีการคํานวณทุกภาคการศึกษาและไมนํารายวิชาท่ีไดรับอักษร I มาคิดคาระดับคะแนนเฉล่ียและคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสม ๑๙.๓.๕ มหาวิทยาลัยมีอํานาจระงับการออกใบแสดงผลการศึกษาและใบรับรองใดๆ ใหแกนักศึกษาท่ีคางชําระหนี้สินของมหาวิทยาลัยหรือไมผานกิจกรรมท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด ถึงแมวาจะไดมีการประกาศผลการเรียนไปแลวก็ตาม

ขอ ๒๐. การเรียนในภาคฤดูรอนใหเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย วาดวย การศึกษา ภาคฤดูรอน

87

ขอ ๒๑. การยายคณะ และ/หรือ การเปล่ียนโปรแกรมวิชา ๒๑.๑ นักศึกษาท่ีจะขอยายคณะ ตองไดเรียนตามหลักสูตรในคณะเดิมมาแลวไมนอยกวา ๑ ปการศึกษาและมีหนวยกิตสะสมมาแลวไมนอยกวา ๓๐ หนวยกิตและมีคุณสมบัติอ่ืนตามท่ีคณะท่ีนักศึกษาจะยายเขากําหนด

๒๑.๒ นักศึกษาท่ีประสงคจะยายคณะ จะตองยื่นเอกสารตาง ๆ ตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนดตอฝายทะเบียนและประมวลผลภายใน ๒๐ วัน นับจากวันเปดภาคการศึกษา ๒๑.๓ การยายคณะจะกระทําไดเม่ือไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาคณบดีท่ีนักศึกษาขอยายออกจากการศึกษา และไดรับความเห็นชอบจากคณบดีท่ีนักศึกษาขอยายเขาศึกษา แลวแจงใหฝายทะเบียนและประมวลผล

๒๑.๔ นักศึกษาท่ียายคณะจะตองมีเวลาศึกษาอยูในคณะท่ีตนยายเขา อยางนอย ๒ ปการศึกษากอนสําเร็จการศึกษา ๒๑.๕ ระยะเวลาการศึกษา ใหนับตั้งแตเขาศึกษาในคณะเดิม

๒๑.๖ นักศึกษาท่ีไดรับอนุมัติใหยายคณะ จะตองชําระคาธรรมเนียมตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

๒๑.๗ การโอนรายวิชาและจํานวนรายวิชาท่ีจะโอน ตองไดรับอนุมัติจากคณบดีท่ีนักศึกษายายเขา ๒๑.๘ นักศึกษาท่ียายคณะใหคํานวณระดับคะแนนเฉล่ียสะสมจากรายวิชาท้ังหมดท่ีไดรับอนุมัติใหโอนมาจากคณะเดิม รวมกับรายวิชาท่ีเรียนในคณะท่ีรับเขาศึกษาดวย

๒๑.๙ นักศึกษาท่ีจะเปล่ียนโปรแกรมวิชา จะตองมีเวลาศึกษาอยูในสาขาวิชาเดิมมาแลวไมนอยกวา ๑ ปการศึกษา ๒๑.๑๐ การเปล่ียนโปรแกรมวิชา จะกระทําไดก็ตอเม่ือไดรับความเห็นชอบจากคณบดีและ ใหคณบดีอนุมัติแลวแจงฝายทะเบียนและประมวลผล

๒๑.๑๑ นักศึกษาท่ีไดรับอนุมัติใหเปล่ียนโปรแกรมวิชา จะตองชําระคาธรรมเนียมตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

ขอ ๒๒. การรับโอนนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน

๒๒.๑ มหาวิทยาลัยอาจพิจารณารับโอนนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนท่ีมีวิทยฐานะเทียบเทามหาวิทยาลัยและกําลังศึกษาในหลักสูตรทีมีระดับและมาตรฐานเทียบเคียงกับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมาเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยโดยไดรับความเห็นชอบจากคณบดี และไดรับอนุมัติจากอธิการบด ี

๒๒.๒ นักศึกษาท่ีไดรับการพิจารณารับโอนตองมีคุณสมบัตติามขอ ๗

ขอ ๒๓. การเทียบโอนผลการเรียน ประสบการณ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ือขอยกเวนการเรียนใหเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

ขอ ๒๔. การลงทะเบียนเรียนขามสถานศึกษา นักศึกษาอาจลงทะเบียนขามสถานศึกษาไดโดยไดรับอนุมัติจากมหาวิทยาลัย

ขอ ๒๕. การเรียนเพ่ือเปล่ียนคาระดับคะแนนสะสมเพ่ือใหเปนไปตามเกณฑสําเร็จการศึกษา รายวิชาท่ีจะขอเปล่ียนคาระดับคะแนนถาเปนการเรียนซํ้าจะตองเปนรายวิชาท่ีต่ํากวา C

การคิดคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมจะตองคิดท้ังคะแนนเดิมและคะแนนใหมสําหรับรายวิชา ท่ีเรียนซํ้า

88

ขอ ๒๖. รายวิชาใดท่ีนักศึกษาไดระดับคะแนน F หรือ E แลวแตกรณี นักศึกษาจะตองลงทะเบียนซํ้ารายวิชานั้น แตกรณีนักศึกษาไดระดับคะแนน E ในรายวิชาเลือกนักศึกษาอาจเลือกรายวิชาอ่ืนแทนไดและนําผลการเรียนมาคิดคาคะแนนเฉล่ียและรายวิชาท่ีไดระดับคะแนน F ใหบันทึกผลการเรียนแตไมนํามาคิดคาระดับคะแนนเฉล่ีย

ขอ ๒๗. การลาพักการเรียน นักศึกษาอาจยื่นขอลาพักการเรียนไดในกรณีตอไปนี ้ ๒๗.๑ ถูกเกณฑหรือระดมพลเขารับราชการทหารกองประจําการ ๒๗.๒ ไดรับทุนแลกเปล่ียนนักศึกษาระหวางประเทศหรือทุนอ่ืนใดตามท่ีมหาวทิยาลัยเห็นสมควรสนับสนุน

๒๗.๓ เจ็บปวยจนตองพักรักษาตัวเปนระยะเวลานานเกินรอยละ ๒๐ ของเวลาเรียนท้ังหมด ในภาคการศึกษานั้นตามคําส่ังแพทย โดยมีใบรับรองแพทยจากสถานพยาบาล

๒๗.๔ เม่ือนักศึกษามีความจําเปนสวนตัว อาจยื่นคํารองขอลาพักการเรียนได ถาไดเรียนในมหาวิทยาลัยแลวอยางนอย ๑ ภาคการศึกษา ขอ ๒๘. การลาพักการเรียนนักศึกษาตองยื่นคํารองตอฝายทะเบียนและประมวลผลกอนวันสอบปลายภาคไมนอยกวา ๓๐ วัน โดยผานอาจารยท่ีปรึกษา คณบดี และไดรับอนุมัติจากอธิการบดีหรือผูท่ีอธิการบดีมอบหมาย

ในกรณีท่ีนกัศึกษาไดรับอนุมัติใหลาพักการเรียนใหนับระยะเวลาท่ีลาพักการเรียนอยูในระยะเวลาการศึกษาดวย ยกเวนการลาพักการเรียนตามขอ ๒๗.๑ และ ๒๗.๒ นักศึกษาไดรับอนุมัติใหลาพักการเรียน เม่ือจะกลับเขาเรียนจะตองยื่นคํารองขอกลับ เขาเรียนกอนวันเปดภาคเรียนไมนอยกวา ๒ สัปดาห ขอ ๒๙. การลาออก นักศึกษาท่ีประสงคจะลาออกใหยื่นคํารองขอลาออกและไดรับอนุมัติจากมหาวิทยาลัย

หมวด ๖

สถานภาพนักศึกษา ขอ ๓๐. สถานภาพนักศึกษา ๓๐.๑ สถานภาพนักศึกษาส้ินสุดลงดวย

๓๐.๑.๑ ตาย

๓๐.๑.๒ ลาออก

๓๐.๑.๓ ขาดคุณสมบตัิของการเปนนักศึกษา ๓๐.๑.๔ ไมลงทะเบียนเรียน ในภาคการศึกษาใดศึกษาหนึ่ง และไมลาพัก การเรียน

๓๐.๑.๕ ไดคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ํากวา ๑.๖๐ เม่ือลงทะเบียนเรียนและมีผลการเรียนแลว ๒ ภาคการศึกษาปกติ หรือไดคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ํากวา ๑.๘๐ เม่ือลงทะเบียนเรียนครบหลักสูตรหรือมีผลการเรียนแลว ๔ ภาคการศึกษาปกตินับแตวันเขาเรียน และทุกๆ สองภาคการศึกษาปกติถัดไป

๓๐.๑.๖ เม่ือลงทะเบียนเรียนครบกําหนดระยะเวลาการศึกษา ตามขอ ๑๐ และยังไมสําเร็จการศึกษา

89

๓๐.๑.๗ นักศึกษาไมผานรายวิชาการเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ หรือรายวิชาการเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพเปนคร้ังท่ี ๒ ๓๐.๑.๘ ใหพนสภาพนักศึกษาตามระเบียบวาดวยวินัยนักศึกษา ๓๐.๑.๙ เรียนครบตามหลักสูตรและไดรับอนุมัติใหสําเร็จการศึกษา ๓๐.๒ ผู ท่ีมีสถานภาพการเปนนักศึกษาจะมีบัตรประจําตัวนักศึกษาเปนหลักฐาน เพ่ือประกอบการใชสิทธิตางๆ ท่ีนักศึกษาพึงมีในมหาวิทยาลัย

๓๐.๓ การคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา นักศึกษาท่ีส้ินสุดสถานภาพการเปนนักศึกษาตามขอ ๓๐.๑.๔ มีสิทธิในการขอคืนสภาพนักศึกษาได

หมวด ๗

การเสนอใหอนุปริญญา และปริญญา ขอ ๓๑. การขอรับและอนุมัติอนุปริญญาและปริญญา ๓๑.๑ นักศึกษาท่ีมีสิทธิจะขอรับปริญญา ตองศึกษารายวิชาตางๆ ครบถวนตามหลักสูตรและตามขอกําหนดของมหาวิทยาลัย โดยมีคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมตั้งแต ๒.๐๐ ขึ้นไป มีเวลาเรียนเปนไปตามขอ ๑๐ ยกเวนผูไดรับโอนรายวิชา ๓๑.๒ นักศึกษาท่ีเรียนครบหลักสูตร และปฏิบัติครบตามขอกําหนดและระเบียบแต ไดคาระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ํากวา ๒.๐๐ อาจขอรับอนุปริญญาไดถาไดศึกษาครบตามเกณฑหลักสูตรอนุปริญญา ๓๑.๓ ใหนักศึกษาขอขึ้นทะเบียนบัณฑิต เม่ือคาดวาจะสอบไดครบถวนตามหลักสูตรตอฝายทะเบียนและประมวลผล ภายในเวลาท่ีกําหนด

๓๑.๔ ใหคณะกรรมการท่ีมหาวิทยาลัยแตงตั้งเปนผูอนุมัติผลการศึกษา ๓๑.๕ นักศึกษาตองชําระหนี้สินท้ังหมดตอมหาวิทยาลัยใหเรียบรอยเสร็จส้ินกอนจึงจะไดรับการสเนอช่ือเพ่ือขอรับปริญญา หรืออนุปริญญา ๓๑.๖ นักศึกษาท่ีสมควรไดรับการเสนอช่ือใหไดรับปริญญา หรืออนุปริญญา จะตองเปนผูมีความประพฤติท่ีดี มีคุณธรรมไมขัดตอระเบียบของมหาวิทยาลัยและวินัยของนักศึกษา ๓๑.๗ ใหสภาวิชาการเสนอการใหปริญญาหรืออนุปริญญาและสภามหาวิทยาลัย พิจารณาอนุมัติปริญญา หรืออนุปริญญา ขอ ๓๒. การใหปริญญาเกียรตินิยม

๓๒.๑ สอบไดในรายวิชาใดๆไมต่ํากวา C ตามระบบคาระดับคะแนนหรือไมได F ตามระบบไมมีคาระดับคะแนน

๓๒.๒ สอบไดคาระดับคะแนนเฉล่ียจากระดับอนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือประกาศนียบัตรอ่ืนใดท่ีเทียบเทาไมนอยกวา ๓.๖๐ และเรียนครบตามหลักสูตรไดคาระดับคะแนนเฉล่ียจากการศึกษาในมหาวิทยาลัยไมนอยกวา ๓.๖๐ ขึ้นไปสําหรับปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับ ๑ และไดคาระดับคะแนนเฉล่ียจากสถาบันเดิมและคาระดับคะแนนเฉล่ียจากการศึกษาในมหาวิทยาลัยไดระดับคะแนนเฉล่ียสะสมตั้งแต ๓.๒๕ แตไมถึง ๓.๖๐ สําหรับปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับ ๒

90

๓๒.๓ สําเร็จการศึกษาภายในกําหนดเวลาไมเกินจํานวนปการศึกษาท่ีระบุไวในหลักสูตร ๓๒.๔ นักศึกษาท่ีขอเทียบโอนรายวิชา ไมมีสิทธิไดรับปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยม

หมวดท่ี ๘

บทเบ็ดเตล็ด

ขอ ๓๓. มหาวิทยาลัยมีสิทธิเพิกถอนปริญญาหรืออนุปริญญาเม่ือตรวจพบวาผูสําเร็จการศึกษาหรือบัณฑิตขาดคุณสมบัต ิ

ขอ ๓๔. ในระหวางท่ียังไมไดออกระเบียบ ประกาศ หรือหลักเกณฑใดเพ่ือปฏิบัติตามขอบังคับนี้ใหนํา ระเบียบ ประกาศ หรือหลักเกณฑท่ีเก่ียวกับการศึกษาขั้นปริญญาตรีท่ีมีผลใชบังคับอยูกอนหรือในวันท่ีขอบังคับนี้ใชบังคับ มาใชโดยอนุโลม เทาท่ีไมขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ จนกวาจะไดออกระเบียบ ประกาศ ขอกําหนดหรือหลักเกณฑตามขอบังคับนี ้ ประกาศ ณ วันท่ี ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐

(ศาสตราจารย ดร.ปรีดี เกษมทรัพย) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด

91

ภาคผนวก ซ

ประวัติอาจารยประจําหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร

92

ประวัติอาจารยประจําหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร นายสิทธเดช หมอกมีชัย

1. ช่ือ นายสิทธเดช หมอกมีชัย Mr.Sittadach Morkmeechai

2. เลขประจําตัวประชาชน 3 4702 00188 9 00

3. ตําแหนง อาจารย 4. หนวยงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด โทรศัพท : 0896235401 Email Address : [email protected]

5. ประวัติการศึกษา ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ไฟฟา-อิเล็กทรอนิกส สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2549 ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2546 6. สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ - Microcontroller

7. ประสบการณดานการสอน - ทําการสอนระดับอาชีวศึกษา(ปวช. ปวส.) สังกัดสถาบัน การอาชีวศึกษา(วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ) พ.ศ. 2547 - พ.ศ. 2552

- ทําการสอนระดับอุดมศึกษา(ปริญญาตร)ี สังกัดมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด พ.ศ. 2553 - ปจจุบัน

8. ประสบการณเกี่ยวของกับงานวิจัย สิทธเดช หมอกมีชัย. (2549). เครื่องตรวจปสสาวะ. ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต(ไฟฟา-

อิเล็กทรอนิกส) บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. สิทธเดช หมอกมีชัย. (2554). เครื่องอัดปลารากอน. โครงการวิจัย คลีนิคเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรและ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด. รอยเอ็ด: มหาวิทยาลัย,.

93

นายกันตภณ พรหมนิกร 1. ช่ือ กันตภณ พรหมนิกร

Mr.Kantapon Promnikorn

2. เลขประจําตัวประชาชน 3 4599 00217 9 78

3. ตําแหนง อาจารย 4. หนวยงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด โทรศัพท : 0833554462 Email Address : [email protected]

5. ประวัติการศึกษา ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ี สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต อิเล็กทรอนิกส สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2542 6. สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ - ไมโครโปรเซสเซอร

7. ประสบการณดานการสอน - ทําการสอนระดับอาชีวศึกษา (ปวช. ปวส.) สังกัดสถาบัน การอาชีวศึกษา (วิทยาลัยธีรภาดาเทคโนโลยี) พ.ศ. 2544 -

พ.ศ. 2554 - ทําการสอนระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตร)ี สังกัดมหาวิทยาลัย

ราชภัฏรอยเอ็ด พ.ศ. 2555 – ปจจุบัน

8. ประสบการณเกี่ยวของกับงานวิจัย กันตภณ พรหมนิกร. (2549). การศึกษาการทํางานของมอเตอรระบบ 3 เฟส. ปริญญาครุศาสตร

อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต(วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส) บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุร.ี

94

นายธีรศาสตร คณาศรี 1. ช่ือ นายธีรศาสตร คณาศร ี

Mr.Teerasad Kanasee

2. เลขประจําตัวประชาชน 3 4505 01030 9 73

3. ตําแหนง อาจารย 4. หนวยงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด โทรศัพท : 0899483503 Email Address : [email protected]

5. ประวัติการศึกษา ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ไฟฟา – อิเล็กทรอนิกส

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2549 วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟา – สื่อสาร

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตธัญบุร ี สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2542 6. สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ - Programmable Logic Controller

7. ประสบการณดานการสอน - ทําการสอนระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตร)ี สังกัดมหาวิทยาลัย ราชภัฏรอยเอ็ด พ.ศ. 2544 - ปจจบุัน

8. ประสบการณเกี่ยวของกับงานวิจัย ธีรศาสตร คณาศร.ี (2549). สื่อการสอนวงจรอิเล็กทรอนิกส. ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต

(ไฟฟา-อิเล็กทรอนิกส) บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

95

นายสันติ พันธรัมย 1. ช่ือ นายสันติ พันธรัมย

Mr.Santi Phanram

2. เลขประจําตัวประชาชน 3 3101 01507 2 00

3. ตําแหนง อาจารย 4. หนวยงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด โทรศัพท : 0885643741 Email Address : [email protected]

5. ประวัติการศึกษา ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ไฟฟา – โทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2547 วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส สถาบันราชภัฏบุรีรัมย สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2543 6. สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ - Electrical Instruments and Measurement

7. ประสบการณดานการสอน - ทําการสอนระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตร)ี สังกัดสถาบัน ราชภัฏบุรีรัมย พ.ศ. 2544 - 2547

- ทําการสอนระดับอุดมศึกษา(ปริญญาตร)ี สังกัดมหาวิทยาลัย ราชภัฏรอยเอ็ด พ.ศ. 2547 - ปจจุบัน

8. ประสบการณเกี่ยวของกับงานวิจัย สันติ พันธรัมย. (2547). การสรางมัลติมิเตอรจําลองเพื่อการสาธิต. ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรม

มหาบัณฑิต(ไฟฟา-โทรคมนาคม) บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. สันติ พันธรัมย และคณะ. (2553). รายงานวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผูรับบริการที่มีตอการใหบริการ

ของเทศบาลตําบลอุมเมา อําเภอธวัชบุร ีจังหวัดรอยเอ็ด. รอยเอ็ด: มหาวิทยาลัย,. สันติ พันธรัมย และคณะ. (2554). รายงานวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผูรับบริการที่มีตอการใหบริการ

ของเทศบาลตําบลเกาะแกว อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด. รอยเอ็ด: มหาวิทยาลัย,. สันติ พันธรัมย และคณะ. (2555). รายงานวิจัย การรวบรวมไขมันสวนเกินจากการทําไสกรอกและนํ้ามันพืช ใชแลวในชุมชนเพื่อผลิตไบโอดีเซลชุมชน : กรณีศึกษาตําบลสระนกแกว อําเภอโพนทอง จังหวัด

รอยเอ็ด. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ(ส.ส.ส.).

96

วาท่ี ร.ต.เอกบดินทร กลิ่นเกษร 1. ช่ือ วาที่ ร.ต.เอกบดินทร กลิ่นเกษร

Acting Sub. Lt Ekbodin Glingasorn

2. เลขประจําตัวประชาชน 1 4599 00020 1 32

3. ตําแหนง อาจารย 4. หนวยงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส

ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด โทรศัพท : 0889198771 Email Address : [email protected]

5. ประวัติการศึกษา วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2555 ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต วิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2549 6. สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ - Telecomunication and Electronic

7. ประสบการณดานการสอน - ทําการสอนระดับอาชีวศึกษา (ปวช. และ ปวส.) วิทยาลยัเทคนิครอยเอ็ด พ.ศ. 2551 - ทําการสอนระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตร)ี สังกัดมหาวิทยาลัย

ราชภัฏรอยเอ็ด พ.ศ. 2555 - ปจจุบัน

8. ประสบการณเกี่ยวของกับงานวิจัย เอกบดินทร กลิ่นเกษร. (2554). สายอากาศไมโครสตริปที่มีคาการแยกโดดเด่ียวระหวางพอรตสูงสําหรับ

ไดเวอรซิตีเชิงโพลาไรซในยานความถ่ีอารเอฟไอดี 900 เมกกะเฮิรต. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.

97

ภาคผนวก ฌ

ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร พ.ศ. 2552 กับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556

98

ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร พ.ศ. 2552 กับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556

รายการ หลักสูตร พ.ศ. 2552 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556 จํานวนหนวยกิต 137 หนวยกิต 136 หนวยกิต รหัสวิชา ใชตัวเลข 7 หลัก ใชอักษร ELT นําหนา และตามดวย

ตัวเลข 4 หลัก รายวิชาท่ีตัดออก วิชา เครื่องเสียง (5582206)

วิชา เซนเซอรและทรานสดิวเซอร (5583409) วิชา ภาษาองักฤษในงานอุตสาหกรรม (5503102)

รายวิชาท่ีเพ่ิม และนําเขาแทน

วิชา การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส (ELT1101) วิชา งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส (ELT2213) วิชา การสื่อสารใยแสง (ELT2214) วิชา เตรียมสหกิจศึกษา (ELT4403) วิชา สหกิจศึกษา (ELT4404)

จํานวนชั่วโมงและ หนวยกิตรายวิชา วงจรดิจิตอลและลอจิก อิเล็กทรอนิกส 1 อิเล็กทรอนิกส 2 เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส

3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 2(90)

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 1(90)

เปลี่ยนชื่อรายวิชา

เขียนแบบอิเล็กทรอนิกส (5581101) คณิตศาสตรอิเล็กทรอนิกส (4091602) คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส (5583102)

เขียนแบบวิศวกรรม (ELT1102) คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 (ELT1103) คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 (ELT2104)

99

ELT1101 การฝกพ้ืนฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Basic Electronics Training

ปฏิบัติการเกี่ยวกับงานติดต้ังไฟฟา พื้นฐานการวัดทางไฟฟา การปฏิบัติงาน พื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส เชน การตอไฟฟาชนิดตางๆ การบัดกรี การออกแบบและสรางลายวงจรพิมพเบื้องตน และการใชเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกสไดอยางปลอดภัย

ELT2213 งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Electrical and Electronics Appliance Repairs

การตรวจซอมอุปกรณไฟฟาทั่วไป การซอมอุปกรณไฟฟาภายในบาน งานตรวจซอมระบบไฟฟาในเครื่องจักรที่เกี่ยวกับอุปกรณอิเล็กทรอนิกส การบํารุงรักษาระบบไฟฟาในเครื่องจักรตางๆ ฝกหัดซอมอุปกรณไฟฟาภายในบาน และระบบควบคุมเครื่องจักรตางๆ

ELT2214 การสื่อสารใยแสง 3(2-2-5) Optical Fiber Communications พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการสื่อสารใยแสง การแพรกระจายแสง ตนกําเนิดแสงที่ใช ในระบบสื่อสารใยแสง คุณสมบัติของใยแสง การมัลติเพล็กซิ่งและดีมัลติเพล็กซิ่ง การใช งาน หนวยที่ใชวัดแสง ไฟเบอรออฟติก แหลงกําเนิดแสงและอุปกรณรับแสงแบบสารกึ่ง ตัวนํา ผลึกเหลว วงจรตางๆ ของอุปกรณรับและสงสัญญาณแสง ELT4403 เตรียมสหกิจศึกษา 1(90) Pre-Cooperative Education

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา กระบวนการและข้ันตอนของ สหกิจศึกษา ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับสหกิจศึกษา ความรูพื้นฐานและเทคนิคในการสมัครงานอาชีพ เชน การเลือกสถานประกอบการ วิธีการเขียนจดหมายสมัครงานและการสัมภาษณงานอาชีพ ความรูพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ระบบบริหารคุณภาพในสถานประกอบการ เชน 5ส ISO9000 การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อสังคมการทํางาน การเตรียมความพรอม สูความสําเร็จ เทคนิคการนําเสนอโครงงานหรือผลงานและการเขียนรายงานวิชาการ

ELT4404 สหกิจศึกษา 5(450) Cooperative Education

การฝกงานวิชาชีพของนักศึกษาโครงการสหกิจศึกษา เปนระบบการศึกษา ที่เนนการปฏิบัติงานดานวิชาชีพในสถานประกอบการอยางเปนระบบ โดยสถานศึกษาและสถานประกอบการตางๆ รวมกันในการคัดเลือกนักศึกษาใหออกไปปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการน้ันๆ ทําใหนักศึกษาสามารถไดมีโอกาสในการเรียนรูประสบการณจากการปฏิบัติงานจริง และทําใหสถาบันการศึกษาไดมีระบบการพัฒนานักศึกษามีคุณภาพอยางตอเน่ือง เพื่อใหบัณฑิตเปนผูมีคุณสมบัติตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน และเปนกลไกที่มีระบบเช่ือถือไดโดยจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุด แกทุกๆ ฝายที่เกี่ยวของ