โยคะสารัตถะ กุมภาพันธ์ 2556

23
ÊÒÃÑμ¶Ð ¨´ËÁÒ¢‹ÒÇ www.thaiyogainstitute.com ¡ØÁÀҾѹ¸ 2556 photo : http://www.pinterest.com

Post on 08-Mar-2016

232 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

มาหาส่วนเสี้ยวที่หายไป จากตัวเรา จากอินเดีย จากอาสนะ จากหนัง กันจ๊ะ

TRANSCRIPT

ÊÒÃѵ¶Ð¨´ËÁÒ¢‹ÒÇ

www.thaiyogainstitute.com

¡ØÁÀҾѹ¸� 2556

phot

o : h

ttp:/

/ww

w.p

inte

rest

.com

ÊÒÃѵ¶Ð

·Õ ่»ÃÖ¡ÉÒ กวี คงภักดีพงษ

แกว วิฑ ูรยเธ ียร

ธีรเดช อุท ัยว ิทยารัตน

นพ.ยงยุทธ วงศภ ิรมยศานติ ์

นพ.สมศักดิ ์ ช ุณหรัศมิ ์

¡ÃÃÁ¡ÒÃ กฤษณ ฟกนอย

ชนาพร เหลืองระฆัง

ชุต ิมา อรุณมาศ

วรพจน คงผาสุข

วรรณวิภา มาลัยนวล

วิล ินทร วิภาสพันธ

สมดุลย หมั ่นเพียรการ

Êӹѡ§Ò¹ พรทิพย อึงคเดชา

วัลลภา ณะนวล

สุจ ิตฏา วิเช ียร

¡Í§ºÃóҸԡÒà จิรวรรณ ตั ้งจ ิตเมธี

ณัตฐิยา ปยมหันต

ณัฏฐวรดี ศิร ิก ุลภัทรศรี

ธนวัชร เกตนว ิม ุต

ธีร ินทร อุชชิน

พรจันทร จันทนไพรวัน

วิสาขา ไผงาม

วีระพงษ ไกรวิทย

ศันสนีย นิรามิษ

ÈÔÅ»¡ÃÃÁ กาญจนา กาญจนากร

ÊÒúÑÞ

¤Ø¡ѹ¡‹Í¹ 2

»¯Ô·Ô¹¡Ô¨¡ÃÃÁ 3

¡Ô¨¡ÃÃÁà¤Ã×Í¢‹Ò 5¨Ò¡à¾× ่͹¤ÃÙ ปาฏิหาริย ท ี ่สร างไดด วยตัวเอง 6

World Householders’ Yoga Convention 8¾Õ ่ àÅЪǹ¤ØÂวิวาทะ 12º·¡Å͹

เธอจะคนพบความสุขในชีว ิตไดอยางไร 14ªÇ¹¤Ô´¹Í¡¨ÍThe OThers 15Ãкº»ÃÐÊÒ··Õ ่¤ÃÙâ¤ФÇÃÃÙ Œ กลามเนื ้อ 16µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้§à´ÔÁ

มรรค๘โยคะของปตัญชลี

และขอสังเกตเรื ่องยมะ-นิยมะ 18

1

phot

o : h

ttp:/

/ww

w.p

inte

rest

.com

ÊÒÃѵ¶Ð¤Ø¡ѹ¡‹Í¹

ลมหนาวที่พัดพามาใหรู สึกอยางผาน ๆ เปนเดือนแหงความรักทั้งทางสากล

และชาวพุทธศาสนิกชน รวมถึงปใหมของชาวจีนที่ยังคงสืบสานประเพณีที่ดีงามในการ

แสดงความกตัญู และเสริมความเปนศิริมงคลใหกับชีวิต

ติดตามอานเรื่องราวของเพื่อนครู จากการรวมกิจกรรม และ ประสบการณใน

ดินแดนภารตะไดในฉบับนี้ เผื ่อสรางแรงบันดาลใจใหใครบางคน และพี่เละยังคงมาวิวาทะ

ตอในเรื่องของทาศลภาสนะ โปรดติดตามอานไดในฉบับนี้

â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà˵ؾط¸·ÒÊ ¿ÃÕ àÂ็¹Çѹ¾Ø¸ àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. 6 ก.พ. ครูเป (วิไลวรรณ สุพรม)

13 ก.พ. ครูเอ (ปวริศา จันทรา) โยคะในสวนธรรม

20 ก.พ. ครูออด (วรรณวิภา มาลัยนวล) โยคะในสวนธรรม

â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà˵ؾط¸·ÒÊ ¿ÃÕ àÂ็¹Çѹ¾Ø¸ àÇÅÒ 14.00 – 16.00 ¹. 23 ก.พ. ครูหนึ่ง (จิรภา เหลืองเรณู)

â¤ÐÍÒÊ¹Ð¢Ñ ้¹¾× ้¹°Ò¹à¾× ่ͤÇÒÁÊØ¢ ÊÓËÃѺ¼Ù Œ àÃ Ô ่ÁµŒ¹

วันอาทิตยที ่ 24

เวลา 9.00 – 15.00 น. ที่ชั ้น 6 หอง 262

คณะมนุษยศาสตร มศว ประสานมิตร

คาลงทะเบียน 650 บาท

â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà˵ؾط¸·ÒÊ ¿ÃÕ àÂ็¹Çѹ¾Ø¸ àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. 27 ก.พ. ครูไนท (วิไล กรศักยา) โยคะในสวนธรรม

»¯Ô·Ô¹¡Ô¨¡ÃÃÁ

6

13

20

23

24

27

2

ÊÒÃѵ¶Ð »¯Ô·Ô¹¡Ô¨¡ÃÃÁ

3

¤‹Ò»ÃÒ³ÒÂÒÁÐเนื้อหาในการอบรมภาคปฏิบัติ กลไกหายใจพื้นฐาน หายใจดวยหนาทอง (กระบังลม) หายใจดวยทรวงอก(กลามเนื้อซี ่โครง) เตรียมความพรอมกอนฝกปราณายามะ นาฑีสุทธิ (การหายใจสลับรูจมูกหรือ อนุโลม-วิโลม) ฝกเทคนิคเพื่อชวยเกื้อหนุนการฝกปราณ: มุทรา พันธะ กิริยา ฝกปราณ อุชชายีและฝกภัสตริกา (หากมีเวลาพอ)ภาคทฤษฎี เขาใจสรีระวิทยาของการหายใจ ปราณยามะตามตำราปตัญชลีโยคะสูตร และ ตำราหฐประทีปกา วัน / เวลา / สถานที่ในการอบรมวันพฤหัสบดีที่ 21 – วันศุกรที ่ 22 กุมภาพันธ 2556 (คาย 2 วัน 1 คืน) ณ บานกานนิสา บางบัวทองวิทยากร ครูกวี คงภักดีพงษ และ ทีมวิทยากรจาก สถาบันโยคะวิชาการ คาลงทะเบียน 2,750 บาท/คน/หลักสูตร รับนักเรียน 15 คน

ËÅÑ¡ÊٵäÃÙâ¤Ðà¾× ่Í¡ÒþѲ¹Ò¨ÔµÍºÃÁ 90 ªÑ ่ÇâÁ§ รุนที่ 19 Ts56aวัตถุประสงค 1. เรียนรูโยคะในเชิงวิชาการ อางอิงตำราดั้งเดิม โดยเฉพาะ ๒ เลมหลัก ไดแก ปตัญชลีโยคะสูตร และ หฐประทีปกา 2. เขาใจโยคะดวยการฝกปฏิบัติเทคนิคตางๆ ของโยคะ เขาถึงแกนของโยคะอันไดแก สมาธิ 3. ตระหนักถึงคุณคาของโยคะผานประสบการณ ตรงของตน 4. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองมาอยูบนวิถีโยคะ มากขึ้น 5. สามารถเผยแพรศาสตรโยคะตอไปยังผูอื ่นเนื้อหาภาคปฏิบัติ ทาอาสนะพื้นฐาน 14 ทา ตามตำราดั้งเดิม (และเพิ่มทาตามความเหมาะสม) เทคนิคปราณายามะพื้นฐาน อนุโลม อุชชายี ภัสตริกา เทคนิคมุทราพื้นฐาน วิปริตกรณี สิงหะ เทคนิคพันธะพื้นฐาน อุฑฑียาน มูล ชาลันธร เทคนิคกิริยาพื้นฐาน กปาลภาติ ชลเนติ ตราฏกะ กิจกรรมเพื่อเรียนรูแบบโยคี

photo : http://www.gettyimages.com

ÊÒÃѵ¶Ð

4

ภาคทฤษฎี สรีรวิทยา กายวิภาค สำหรับผูที ่จะเปน ครูโยคะเพื่อการพัฒนาจิต ประวัติศาสตร พัฒนาการของโยคะ ปรัชญาอินเดีย ตำราโยคะดั้งเดิม ปตัญชลีโยคะสูตร, หฐประทีปกา จิตสิกขา ทีมวิทยากรครูกวี คงภักดีพงษ และ ทีมวิทยากรจากสถาบัน โยคะวิชาการลักษณะกิจกรรม แบงการอบรมออกเปน 3 คายรวม90ชม.คายที่ 1 วันเสารที ่ 23 – วันอังคารที่ 26 มีนาคม 56 ( 4 วัน 3 คืน )คายเปด วิถีโยคะ เนนอาสนะ ยมะ นิยมะคายที่ 2 วันเสารที ่ 27 – วันจันทรที ่ 29 เมษายน 56 ( 3 วัน 2 คืน )

เดินทางเขาสูภายใน เนนปราณายามะ มุทรา พันธะ กิริยาคายที่ 3 เสารที ่ 1 – จันทรที ่ 3 มิถุนายน 56 ( 3 วัน 2 คืน )คายปด การรูและเขาใจตนเอง ผูเรียนนำเสนอโยคะตามความเขาใจของตนรับจำนวนจำกัด : 24 ทานคาลงทะเบียน 19,900 บาท/คน ตลอดหลักสูตรเปนบรรยากาศสบายๆ สำหรับผูรักโยคะ อยูในชุมชนกัลยาณมิตรเปนพื้นที่ของคนใสใจซึ่งกันและกัน ตระหนักถึงความลึกซึ้งของโยคะ เห็นภาพรวมที่เนนการพัฒนาจิตไปสูการบรรลุธรรม เห็นประโยชน เขาใจวาโยคะตองพึ่งตนเอง และ เกิดฉันทะที่จะปฏิบัติ ทดลองกับตนเองขวนขวาย ศึกษาเรียนรูเพิ ่มเติม อานตำรา

หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม / รายละเอียดในคายที่ 2 และ 3 จะแจงใหทราบอีกครั้ง

ÃÒÂÅÐàÍÕ´¡Ó˹´¡Òä‹ÒÂ·Õ ่ 1

ÊÒÃѵ¶Ð ¡Ô¨¡ÃÃÁà¤Ã×Í¢‹ÒÂ

5

¡ÃÕ¹äÅ¿Š ¿�µà¹Ê ขอเชิญชวนเดิน-วิ ่งเทิดพระเกียรติ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 1 วันที่ 24 กุมภาพันธ 2556 พรอมแนะนำการสมัครที่สามารถ โหลดใบสมัครไดจากเวบลิงคนี ้ http://www. greenlifefitness.net/news/28/170-charity-run-.htmlหรือ สอบถามรายละเอียดไดที ่ กรีนไลฟฟตเนส โทร. 02 899 7310 และ 02 899 7317

¡Ô¨¡ÃÃÁÈÙ¹Â�àà Õ¹ÃÙ ŒÊ Ø¢ÀÒÇÐ ประจำเดือนกุมภาพันธ 2556 (สสส)กิจกรรมโยคะสรางสุขเพราะโยคะไมใชเปนเพียง แคการออกกำลังกายอยางที่หลายคนเขาใจ แตเปนการพัฒนากาย จิต อารมณ บุคลิกภาพ ฯลฯ ใหเกิดความสมดุล มารวมคนหาองครวมของศาสตรโยคะ ผานการ เรียนรูและฝกฝนกับครูโยคะที่มากดวยประสบการณ จากสถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน พบกันทุกวันพฤหัสบดี เวลา 17.00-18.30 น. และวันเสาร เวลา 10.30-12.00 น. ณ หองอาศรมสุขภาวะ (เริ ่มตั้งแตวันเสารที ่ 9 ก.พ. 56)รับจำนวนจำกัด ไมเกิน 20 ทาน กรุณาสำรองที่นั ่งลวงหนา เรียนฟรีตลอดเดือน ก.พ. 56 !!!

สอบถามรายละเอียดและสำรองที่นั ่งเขารวม กิจกรรมไดที ่ [email protected]หรือ 0-2343-1500 ตอ 2

photo : http://www.gettyimages.com

ÊÒÃѵ¶Ð¨Ò¡à¾× ่͹¤ÃÙ

6

»Ò¯ÔËÒÃÔÂ�·Õ ่ÊÌҧ䴌´ŒÇµÑÇàͧ

กวาที่ฉันจะรูตัววามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นก็ตอเมื่อนาทีที่กลับมาถึงหอง- -โลกสี่เหลี่ยมที่ คุนเคย แลวเอื ้อมมือเปดเพลงแผนเดิมๆเมื่อเพลงแรกที่ชื ่อวา ‘ปาฏิหาริย’ แววดังขึ้นมา.. “ฉันยังรอคอยปาฏิหาริย เชื ่อวาวันหนึ่งจะมาถึง ครึ่งหนึ่งของฉันที่มันขาดหายไป ใครที่รักกันจริงคนนั้น คนที่เคยฝนเขาจะมาอยูขางกันจริงๆ” ซึ่งทุกๆครั้งที่ฟงเพลงนี้ฉันก็มักจะมีภาพเงา ของใครสักคนหนึ่งเปนสีเทาจางๆและมีเครื่องหมาย คำถามวางอยูบนหนาเขาเสมอวาเขาคือใคร - - ที่เปนอีกครึ่งหนึ่งของเราเพียงแตมันไมใชครั้งนี้ ที่ฉันฟงเพลงเดิมดวยหัวใจที่เปลี่ยนไป เพราะจูๆ ฉันก็กลับรูสึกวาครึ่งหนึ่งของชีวิตที่ขาดหายไปของฉันมันสามารถเติมเต็มไดดวยการรูจักคุณคาใน ตัวเอง ดวยการทำสิ่งที่ดีที ่มีประโยชนตอผูอื ่น - - ดวยโยคะ มันอาจดูเปนเรื ่องธรรมดาสำหรับใครอื่น หากจะบอกเลาถึงการเปลี่ยนแปลงของชีวิตแตสำหรับฉัน - - วงกลมอันเวาแหวงที่กลิ้งไปยัง ทิศทางตางๆ เพื่อคนหาสามเหลี่ยมที่ขาดหาย มาชั่วชีวิตการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ถือเปนรื่องที่นา ประหลาดใจนัก

ฉันจึงนึกยอนไปถึงชวงเวลา 3 วัน 2 คืน ที่ผานมา นึกถึงตนทางอันเปนที่มาของการเกิด แรง กระเพื่อมในหัวใจ ที่มาจากการที่ฉันไดมี โอกาสไปเขารวมกิจกรรมคาย Yoga Teacher Makeover : " The Choice เสื่อจริง ตัวจริง " นำโดยวิทยากร 3 ทาน คือ ครูออด, ครูหนึ่ง และหมอดุล อันเปนการอบรมที่มิไดสรางกรอบเพื่อบอก วาผูเรียนจะตองเปนครูโยคะอยางวิทยากรทั้ง 3 ทานเทานั้นจึงจะมีศักยภาพในการสอนแตเปนการ ชวนใหผู เรียนยอนกลับมามองดูตัวเองเพื่อคนหา และดึงศักยภาพที่หลับไหลอยูในตัวเองออกมา เปนการเติบโตที่งอกงามในแบบของเราเองซึ่ง แนนอนวาเราอาจตองกาวผานความกลัวที่ซุกซอน อยูภายใตภูเขาน้ำแข็งไปใหได การอบรมดำเนินไปโดยครูทั ้ง 3 ทานนำ หลากกิจกรรมมาใหผู เรียนไดรวมกันทำ ไดคนหา ตัวตนของตัวเอง ไดตั ้งคำถามกับตัวเอง ถึงเปา หมายและทิศทางในการสอนโยคะและอะไรที่เปน หมอกจางๆ ที่ขวางกั้นไว ไดนั ่งฟงวิทยากรทั้ง 3 ทานเลาเรื ่องราว ของประสบการณการสอน ครั้งที่ยากลำบาก กวา จะผานมันมาได ซึ่งชวยใหเมล็ดพันธุบางเมล็ด

photo : http://www.tumblr.com

ÊÒÃѵ¶Ð

7

ในตัวเราไดมีกำลังใจชุมชื่นขึ้นมาเมื่อเรียนรูวาดอกไมที ่เรามองเห็นวามันสวยงามนั้นกวาที่จะเบงบาน กวาที่จะมีวันนี้ ความงามเหลานั้น ก็ผานอะไรตอ มิอะไรมามากมายเชนกัน การไดรวมทำกิจกรรมทั้งกิจกรรมกลุม กิจกรรมเดี่ยว ที่วิทยากรจัดเรียงไว ไดทำใหเรา เรียนรูที ่จะมองตัวเองและมองผูอื ่นในมุมที่ตางออกไป ไดเรียนรูถึงความเหมือนและความตางของ คนเราที่คงไมสรางปญหาใดๆ หากเราเปดหัวใจ ใหกวางที่จะยอมรับและเหนือสิ่งอื ่นใดการไดกาว ผานความกลัวคือการเรียนรูครั ้งสำคัญสำหรับฉัน ในวันสุดทายของคาย ครูออดนำพรีเซนเทชั่นมาเปดใหพวกเราดู เปนรูป ดักแดหลายๆ ตัว และตอมาดักแดเหลานั้นก็คอยๆ กลายเปนผีเสื ้อแสนสวย แตมีอยูตัวหนึ่งที่ไม สามารถเติบโตไดและตายอยูในดักแดนั้น ครูออดชวนใหพวกเราคิดวา

ดักแดนั ้นก็เหมือนความกลัวที่หอหุมตัวเราเอาไว หากเราไมเขมแข็งพอที่กาวผานความกลัวได เราก็จะตองตายอยูภายใตความกลัวของเราเอง แลวสุดทายการไดโบยบินเพื่อหวานโปรยเมล็ดพันธุแหงโยคะหรือการทำสิ่งดีๆ ก็จะเปนเพียงฝน ฉันยิ้มกับตัวเองเบาๆ ระหวางรดน้ำตนไมตรงระเบียงในตอนเชารู สึกถึงใจที่เคยแหวงวิ ่นกำลังคอยๆ ถูกเติมเต็มขึ้น.. จากตัวฉันเอง และขณะเดียวกันก็รู สึกเหมือน ดักแดที ่เคยหอหุมตัวฉันไวอยางแนนหนาตลอดมาก็คอยๆ เบาบางลงๆ เปดเพลงปาฏิหาริยคลอเบาๆ ขณะแตงตัวจะไปทำงานและนึกในใจวา..บางทีปาฏิหาริยก็อาจไมใชเรื ่องเหนือจริงจนเกินไปในวันที่เราเริ ่มเรียนรูที ่จะสรางมัน.. ดวยมือของตัวเอง เชนนั้นแลว.. การไดโบยบินสำหรับฉัน คงไมไดเปนเพียงแคฝนกระมัง

ÊÒÃѵ¶Ð¨Ò¡à¾× ่͹¤ÃÙ

8

World Householders’ Yoga Conven-tion 25-26 Yoga Exhbition, Panel Discussion, Personal experienceYoga Institute Santacruz เตยไดมีโอกาสไปรวมงานนิทรรศการของ The Yoga Institute ซานตาครูสมาเมื่อวันที่ 26 ธันวาคมที่ผานมาคะ เลยมีเรื ่องเลาเล็กๆ นอยๆ มาฝาก งานนิทรรศการนี้ชื ่อวา World House-holders’ Yoga Convention ที่จริงเขาจัดสอง วันคือ วันที่ 25-26 ธันวามคม เปดใหเขาชมตั้ง แตแปดโมงเชาถึงสองทุม ไมเสียคาใชจายแตกอน จะเลาเรื ่องงานนิทรรศการ อยากจะเลาบรรยากาศ ที่มุมไบใหทราบซักเล็กนอยกอนคะ พวกเราเดินทางไปถึงมุมไบชวงค่ำวันที่ 25 ธันวาคมวันคริสตมาสพอดีคะหลังจากแลกเงิน กันที่ Thomas Cook ภายในบริเวณสนามบิน เรียบรอยแลวก็เดินออกมาเจอครูฮิโรชิและคุณราทด ไกดของเราไปรับที่สนามบินแลวพาไปที่โรงแรม โฮเต็ล แอ็คคอรด ซึ่งอยูใกลกับ The Yoga Insti-tute เดินเพียงไมเกินสิบนาทีก็ถึงคะ ครูฮิโรชิเลย ใหพวกเราอยูที ่นี ่ ออ หลายคนอาจจะอยากทราบ วาอากาศหนาวไหมฮาๆ เทาบานเราเลยคะสามสิบ องศา มีรูปบรรยากาศภายในตลาดมาใหดูคะ

บรรยากาศยามค่ำคืนของที่นี ่คอนขางจอแจทีเดียว คนเดินกันไปมาขวักไขว เทาที่เห็นมีแตผู ชายนะคะ ไมคอยผูหญิงเดินไปมา ครูฮิโรชิบอกวา ผูหญิงก็จะ อยูบาน ถาจะออกมาขางนอก ตองมีสามีหรื ญาติ พี่นองออกมาดวยเทานั้นจะไมออกมาเดินคนเดียว แถมชวงนี้เพิ ่งมีขาวสะเทือนขวัญวามีหญิงสาวชาว อินเดียถูกขมขืนโดยชายหาคนเนื่องจากไปขึ้นรถบัส คันหนึ่ง สุดทายหญิงสาวเคราะหราย ไปเสียชีวิต ที่สิงคโปร ครูเลยย้ำหนักย้ำหนาเรื่องความปลอดภัย วาใหระวังตัวมากๆ ที่อินเดียไมเหมือนเมืองไทย อยาคิดวาจะทำแบบที่อยูเมืองไทยได อาจเกิดแหตุ การณไมคาดฝนได กลับมาเรื่องตลาด กันตอคะที่นี ่ผักผลไมสด เปลงปลั่ง อวบอิ่มนากินไปเสียหมดแตถาให อรอย ก็เปนสมคะ กลวยก็โอเคแตชวงนี้องุ นยังไมคอย หวาน ครูก็ซื ้อผลไมใหเรามากินกัน เรื ่องราคาเตย จำไมคอยไดคะ รูแตวาไมคอยแพง แตรสชาติใชได เลย สมบานเขาจะเปนเปลือกหนาๆ ปอกเปลือก ออกมาก็ยังมีเยื ่อขาวๆ ติดอยูที ่ผลสมคอนขางมาก แตรสชาติดีเหลือเชื ่อคะ ทานไดหมดเลย พอตก กลางคืนอากาศเริ่มเย็น เหมือนเราไดทานสมเย็นๆ ที่เอาไปเขาตูเย็นเลยคะ แหม พูดแลวน้ำลายสอ ขึ้นมาเลย รสดีจริงๆ คะ

ÊÒÃѵ¶Ð

9

พอเสร็จจากชมตลาดแลวครูฮิโรชิก็พาไปทานอาการที่รานอาหารในโรงแรมเปนลานขางนอกรับลมเย็นคะ ครูฮิโรชิสั ่งเปนอาหารมังสวิรัติใหเตยสั่งการลิค นาน แตกับอยางอื่นครูสั ่งใหหมดเลยคะ อาหาร อรอยมาก อรอยจนถายรูปไมทันเลยคะเพราะหมด เสียกอน พอหนังทองตึงก็ไดเวลา ไปนอนเอาแรง เพื่อเตรียมไปงานนิทรรศการที่ซานตาครูสพรุงนี้ เชาคะ บรรยากาศขณะทานอาหารเย็น สวนนี่ เปนหองนอนที่โฮเต็ล แอ็คคอรดคะ อยูกันสองคน กับพี่กลวย สบายๆ ตอนเชาเราโทรไปสั่งอาหารคะ เขาจะเอามาสงใหเหมือนเราสองคนเหมือนมหารานียังไงยังงั ้น เปนแซนดวิชผัก มีชีส มะเขือเทศ กรุบกรอบ และแตงกวาที่กินแลวสดชื่นมากๆ คะ มีน้ำสัมใหคนละแกว ไจ (ชานมใสเครื่องเทศแบบ อินเดีย) คนละหนึ่งเหยือก (เทไดหนึ่งแกวคะ) ขนมปงฟูๆ คนละสองแผนพรอมเนย และฟรุตเคก คนละชิ้น เราทานกันอยางเอร็ดอรอยสุดทายก็ตอง รีบ ทานเพราะมัวแตถายรูปจนครูฮิโรชิตองขึ้น มาตามคะ เดินออกจากโรงแรมไดยังไมทันเหนื่อย ครูฮิโรชิพาลัดเลาะไปมาสักพักก็ถึง The Yoga Institute ซานตาครูสแลวคะ ที่นี ่มีมากมายหลาย กิจกรรมเลย ถาเราเดินมาก็จะเห็นรานคา รานขายหนังสือคะ มาถึงซุมแรกเลยก็เจอเจาหนา ที่คอยอธิบายใหเราทราบ เขาบอกเลยวาหลายๆ โรคที่เกิดขึ้นนั้นเกิดมาจากความบกพรองทาง อารมณ หลักๆของซุมนี้จะบอกใหเรานำวิถีชีวิต แบบโยคะมาใชในชีวิตประจำวันเพื่อชีวิตที่ดีขึ ้น ซึ่งหมายรวมถึงทัศนคติที่มีตอการใชชีวิตของตัวเอง การอยูในสังคมกับผูอื ่น การรับประทานท เหมาะสม (มิตะหาระ) เราควรดำเนินกิจกรรม ตางๆ ในชีวิตอยางไรบาง เชน ควรเดินอยางนอย วันละสามสิบนาทีขณะที่ทองวาง หรือหาเวลา ผอนคลายในทา Savasana, Nispandabhava, Dradhasana เปนตน

สวนรูปที่เห็นครูฮิโรชิยืนดูปายอยูนั ้นเปนเรื ่องของรูปแบบความคิด เราควรจะเปนเพียงผูดูความคิด และเรียนรูเรื ่องของ Swadyaya เพราะเราสูญเสีย ศรัทธามามาก สวนการจัดการกับ ความโกรธ เจาหนาที่อธิบายวาใหเราแทนที่ความโกรธดวย ความรึ้กตรงกันขาม แลวความโกรธนั้นจะหายไป และสุดทายในเรื่องของอาหารสำหรับจิตใจนั้น เขาพูดถึงสองเรื่องคืออนิจจัง ทุกสิ่งทุกอยาง นั้นเปลี่ยนแปลงไดเสมอ และ Pratipaksa Bha-vana เราเปนสวนเล็กๆ สวนหนึ่งของโลกใบนี้ ของจักรวาลนี้ เปนสวนหนึ่งของกระบวนการตางๆ ซุมถัดมาแสดงใหเราเห็นวาถาเรามีความผอนคลายจะชวยพัฒนาความจำได ซึ่งโยคะก็ชวยทำให เกิดสภาวะผอนคลายไดดี ในซุมนี้เราไดเลนเกม ทดสอบความจำดวยการที่เจาหนาที่ใหดูภาพวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมประมาณสิบรูป ประมาณสิบ วินาทีแลวใหเราวาดลงกระดาษเอสี่ ทดสอบความ จำของเรา เราก็ทำไดมากนอยตามแตความ สามารถ ในการจำของแตละคนคะ ถัดมาอีกซุม เราจะเห็นรูปสาธุกำลังนั่งสมาธิอยู ซึ ่งดูเหมือน จะมีสมาธิตั ้งมั่นดี นาเคารพเลื่อมใสแตพอ เจาหนาที่กดปุมดูใหเราฟงความคิดของสาธุก็เห็น วาสาธุกำลังกำลังที่มีเจาหนูตัวหนึ่งมากัดผาที่สาธุตากไว เห็นไหมวาสิ่งที่เราเห็น ก็ไมใชสิ ่งที่เปน เสมอไป ซุมถัดมาจะเห็นวาเขาพูดเรื ่องการมี สุขภาพที่ดีวาเปนผลจากการใชวิถีชีวิตแบบโยคะ โยคะเองบงชี้ถึงรากของปญหาสุขภาพตางๆ ซึ่งก็มาจากจิตใจ เครื่องมือที่สำคัญที่สุด ในการฝก โยคะคือกายและใจ และสุดทายการทำงานอยาง ประสาน สอดคลองทั้งกาย ใจ และจิตวิญญาณ จะสรรสรางชีวิตใหเรา สวนซุมนี้เกมากคะ เหมาะสำหรับเด็กๆ เราจะเห็นวาดานหลังเจาหนาที่มีรูปสัตวตางที่ กำลังทำอาสนะตางๆอยูเขาจะมีภาพใหพรอมคำ อธิบายประกอบเล็กนอยคะ เชน ทาปลา พราหมรี รวมถึงการมีคนมาสาธิตอาสนะที่เราสนใจใหดูดวย อยางเชนสิมหะอาสนะ เปนตน

ÊÒÃѵ¶Ð

10

นอกจากนี้ยังมีฮอลลใหผู รวมงานลองฝกอาสนะรวมกันดวย นี่เปนภาพจากดานหนาหองสวยงามมาก เลยคะ พอมาฝกปฏิบัติเลยไมไดถายรูปในหอง มาใหดูคะ แตเขาใหเราลองทำตราฏกะ จากนั้นให นั่งขัดสมาธิ หลับตาลงเบาๆ อยูกับลมหายใจ ประมาณหานาที และใหลองนั่งทาพักเพื่อผอน คลาย และทำพราหมรี ซึ่งพอทำทั้งหมดแลวก็รู สึก ผอนคลายอยางบอกไมถูก อาจเปนเพราะวาไดพัก จากการชมนิทรรศการมายาวนานดวย พอไดมา นั่งผอนคลายก็รู สึกเหมือนมีแรงขึ้นมา แตยังไม จบเทานี้คะ เราเขาไปชมพิพิธภัณฑที่เลาเรื ่องราว ความเปนมาของโยคะในยุคตางๆ ใหทราบ ใหเรา เห็นวาเครื่องที่ใชในพิธีปูชามีอะไรบาง จากนั้นเรา ก็ไปเซ็นสมุดเยี่ยมชมของสถาบัน เปนอันจบการ เยี่ยมชมงานวันนี้คะ สวนใหญรูปถายหมูอยูกับกลองครูฮิโรชิคะ เตยก็ถายบางเล็กๆ นอยๆตหวังวาทุกคนจะพอเห็น บรรยากาษของงานประชุมในครั้งนี้นะคะ ก็เรียก ไดวาเปนงานนิทรรศการครั้งแรกของสถาบันที่มีมายาวนานเกือบรอยป ทำไดนาประทับใจมากคะ เจาหนาที่ทุกคนตางใหความรวมมือยินดีและเต็มใจ ในการใหขอมูลเปนอยางมาก ถามอะไรซอกแซก แคไหนตอบไดหมด มีผู คนมากมายจากหลายที่ มาเขารวมงานในครั้งนี้คะ

ที่นาสนใจมากอีกอยางหนึ่งคือ นิทรรศการของเขา พูดไปไกลกวาเรื ่องของอาสนะมาก แตมองไปถึง องครวม ถึงทั้งหมดของชีวิต รากเหงาของปญหา ที่มาที่ไป สุขภาพกายสุขภาพใจ โยคะเขาไปเกี่ยว ของอยางไร และจะชวยไดอยางไร ซึ่งพอถามครู ฮิโรชิ ครูก็บอกวาคนอินเดียสวนใหญ เขาก็ฝกโยคะ กันแบบที่เราฝกนี่ละ ที่มีพื ้นฐานความเขาใจจาก ปตัญชลีโยคะสูตร ซึ่งสวนใหญก็มีพื ้นฐาน มาจาก ไกวัลยธรรมและจากที่ The Yoga Institute ที่นี ่ อีกอยางพอไดมาที่นี ่แลว เจอคนมากมายที่รู จักครู ฮิโรชิคะ เขาชื่นชมครูฮิโรชิอยางมากในเรื่องของ การสนใจโยคะและปรัชญาอินเดีย รวมถึงการพา ผูคน เดินทางมาที่นี ่อยางตอเนื่อง ซึ่งเตยเห็นแลว ก็รู สึกชื่นชมครูในจุดนี้อยูมากๆ เชนกันที่ครูมีความ อุตสาหะและอยากใหพวกเราไดเห็นและมีประสบ การณกับสถาบันโยคะที่เกาแกขนาดนี้วาเขาเปน อยางไรในวันนี้ ครูบอกวาที่นี ่แทบจะไมโฆษณาเลย การรูจักที่นี ่เปนเพียงจากปากตอปาเทานั้น ของดี แบบนี้จะอยูไดยาวนานคงทนและยั่งยืนกวา ก็ขอจบการเลาสูกันฟงเกี ่ยวกับการมาเยี่ยม ชมนิทรรศการในครั้งนี้ดวยรูปสวัสดีงามๆ จากเตย และพี่จูน รุน 12 คะ

ÊÒÃѵ¶Ð

11

ฉบับตอๆ ไปตั้งใจจะทยอยเลาถึงการ ประชุมใหญ ของไกวัลยธรรมเรื่องโยคะกับเยาวชน แลวก็เรื ่อง ของการเขาคอรสกริยาหลังการประชุม ตอดวย ทริปสุดมันสที ่นั ่งรถจากไกวัลยธรรมไปขึ้นรถไฟที่ มุมไบ ดวยรถไฟตูนอนสามชั้น นั่งแชไปสิบแปด ชั่วโมงถึงเดลีแลวนั่งรถตอไปอีกสี่ชั ่วโมงเพื่อไป หริทวารแลวขึ้นไปที่ฤษีเกศเพื่อพบกับอุณหภูมิ หนาวสุดขั้วที่ 2.7 องศาหนาวที่สุดในรอบ 45ป แลวพวกเราจะรับมือกับความหนาวอยางไรเมื่อตองนั่งกระเชาไปยอดเขาแลวตองถอดรองเทาเดินขึ้น วัดกับอุณหภูมิลบหนึ่งองศา และสุดทายเรื ่องราว ของการมารักษาแบบธรรมชาติบำบัดที่อาศรมนิศารโกปจารคนเดียวสองอาทิตย จะเกิดอะไรขึ้นบาง แลวคอยติดตามกันคะ

นมัสเตเตย ณ หองพักอันแสนสบายที่อาศรมนิศาร โกปจาร เมืองปูเน

ÊÒÃѵ¶Ð¾Õ ่ àÅЪǹ¤ØÂ

12

photo : http://www.clubmetropolitan.net

ÇÔÇÒ·Ð (ÍÕ¡) ผมขออนุญาต "วิวาทะ"ในประเด็นที่มีผู ถาม ไปในโยคะสารัตถะฉบับลาสุด คือการทำศลภาสนะ (หรือตั๊กแตน) ซึ่งถามวา "ทาตั๊กแตนยกขาไมขึ ้น ทำยังไงดีคะ? (ยกขางเดียวได ยกสองขางไมได)" ตอคำถามหรือประเด็นนี้ ผมมองวา เรา สามารถคิด(เพื่อหาคำตอบ)ไดจากหลายแงมุมเลย ทีเดียว ที่นาสนใจ(อยางนอยก็สำหรับผม)คือบาง ประเด็นที่คลายจะเปนคำตอบ หากเราไมหยุด เพียงแคนั้น มันอาจกอเกิดคำถามอื่นๆตามมาให เราขบคิด จนไดเห็น(และอาจเขาใจ) โลกของ อาสนะที่ "ไรขอบเขต" ตามที่จารึกในปตัญชละ โยคสูตระ (บทที่ ๒ โศลก ๔๗) ไดชัดขึ้น ผมขอเริ่มดวยการอางวิธีปฏิบัติ "ศลภาสนะ"จากคัมภีร"เฆรัณฑะ สัมหิตา"ซึ่งระบุ ไววา "นอนคว่ำหนาลงกับพื้น วางมือ(นาจะ) บนพื้นใกลหนาอก จากนั้นยกขาขึ้น (กลางอากาศ) สูง(จากพื้น)ประมาณหนึ่งศอก" (ตำราฉบับแปลบาง เลมบอกวาหนึ่งคืบซึ่งเทียบเทาประมาณ๙นิ้ว) จากขอความในคัมภีรคงไมตองสงสัยวา การทำศลภาสนะหรือทาตั๊กแตน อยางไรเสียเราคง ตองยกขาทั้งสองขึ้นจากพื้น

คำถาม (อยางที่บอกวาบางคำตอบอาจกอเกิด คำถาม อื่นๆตามมาถาเราฉุกคิด) มีอยูวา "ทำไม ตองยกขาใหสูงขึ ้นจากพื้นหนึ่งศอก(หรือหนึ่งคืบ - ก็ตามแต) ถามอีกแบบก็คือ "จะยกขาสูงกวานั้น หรือนอยกวานั้นไดไหม" (ผมขออนุญาตยังไมแลก ในประเด็นนี้ เพราะอยากใหมีการวิวาทะกันดูครับ) ไหนๆ ก็อางอิงการฝกอาสนะจากคัมภีร ดั้งเดิมเปนตัวอยางแลว ผมขอยกตัวอยางอีกหนึ่ง ทาจากคัมภีรเลมเดียวกัน คือ "ภุชังคาสนะ" หรือ ทางู ซึ ่งในคัมภีรกลาวไววา"ใหรางกายตั้งแตสะดือ ลงไปถึงนิ้วเทาแตะ (หรืออาจหมายถึงวางบน)พื้น วางฝามือบนพื้น ยกศีรษะ รางกายสวนบน ขึ้นประหนึ่งงู ทานี้เรียกวา "ทางู" ทานี้จะเพิ่ม ความรอนใหรางกายเปนนิตยขจัดปดเปาสรรพโรค การฝกทานี้จะทำใหภุชคีเทวี(เทวีแหงงู หรือ กุณฑลินี) ตื่นขึ้น" หลายปกอน ผมเคยตั้งขอสังเกตกับเพื่อน พองนองพี่ในแวดวงอาสนะบางคนวา คัมภีรไมได ระบุไววาเราจะตองวางมือตรงตำแหนงไหนคลายๆ กับวากุญแจสำคัญของทางูอยูที ่ "รางกายสวนลาง ตั้งแตสะดือถึงนิ้วเทาแนบกับพื้น"

ÊÒÃѵ¶Ð

13

เอาละ เราอาจตั้งขอสังเกตวา การสอน อาสนะ(โดยเฉพาะในอดีต)เปนการสอนแบบใกลชิด ระหวางศิษยกับครู เพราะฉะนั้นรายละเอียดในการ ทำทวงทาจะอาศัยตำราคงไมเหมาะ (อยาวาแต ในยุคแรกๆ คงไมมีตำราคัมภีรวาดวยการฝก อาสนะดวย) ถึงกระนั้นก็ตาม พอมาในยุคหลังๆ แมจะมีการเรียบเรียงคัมภีรวาดวยการฝกอาสนะ ซึ่งในความเปนจริงคงไมสามารถระบุทุกสิ่งที่เกี ่ยว กับการฝกอาสนะลงไปได โดยเฉพาะในแงของ วิธีฝกโดยละเอียด ประเด็นก็คือเวลาโยคีทานจะจารึกวิธีฝก อาสนะ(แบบรวบรัด ยนยอ หรือสังเขป) เพื่อเปน คูมือติดตัวในยามที่ไมไดอยูหรือฝกกับครู สิ่งที่ ผุดขึ้นมาในหัว(และใจ)กอนจะจดจารลงไป ใชหรือไมวา นาจะเปนเรื ่องที่ทานรูสึกวา"สำคัญ" เชนนี้เอง ผมจึงรูสึกวา คียเวิรดของทางู อยูที ่ "การใหรางกายสวนที่อยูต่ำกวาสะดือลงไป แนบหรือกดกับพื้น" สวนเราจะวางฝามือคว่ำ หรือ หงาย จะวางลงไปบนพื้นขางหัวไหล หนาอก หรือ เหนือสะดือเล็กนอย อาจไมใชสาระหรือหัวใจสำคัญ ของทวงทานี้ เผลอๆ เกิดใครบางคนอยากยกตัวใหสูง ขึ้นดวยการวางมือใหต่ำกวาอกลงไป พอยกแขน จนสุด(พูดงายๆ วาใชแขนออกแรงดันรางกายให สูงขึ้น - โปรดสังเกตวาในคัมภีรบอกวา "ใหยก ศีรษะขึ้นจากพื้น" โดยไมไดบอกวาใชสวนไหนยก) ก็มีความเปนไปไดวาตัวเราจะสูงจากพื้นมากกวาวางมือไวขางหนาอก แตพูดก็พูดเถอะ ถารางกายดานหนา ไมยืดหยุนพอ แมตัวเราจะสูงขึ้นจากพื้น แตดวย ความที่ความแอนโคงนอยรางกายสวนที่ จะ สามารถ แนบกับพื้นได จะเปนประมาณตนขาหรือ อยางเกงก็ขาหนีบลงไปครับ

นั่นยอมหมายถึงวา โอกาสที่ความรอน ที่วาจะเพิ่มขึ้น และกุณฑลินีจะถูกปลุกใหตื ่นก็นอย ลงไปดวย พูดเลนๆ วา กุณฑลินีอาจตื่นขึ้นแบบ งัวเงีย (ฮา) - หากมองจากแงมุมที่วาตำแหนง ของรางกายที่สัมพันธกับความรอนคือทองบริเวณ กระเพาะหรือแถวๆ สะดือ ซึ่งนาจะเปนเหตุผลวา เพราะเหตุใดในการทำทางูเพื ่อกระตุนไฟหรือความรอนในรางกายจึงตองใหสะดือแนบหรือกดกับพื้น ขอพักสายตา(ทั้งผมและคนที่(จะ)อาน "วิวาทะ" นี้กอนนะครับ ยังมีประเด็นที่ผมอยาก จะแลกเกี่ยวกับทาตั๊กแตนที่นองเขาปุจฉาไป ขอบคุณครับ (พี ่)เละ

ÊÒÃѵ¶Ðº·¡Å͹

14

à¸Í¨Ð¤Œ¹¾º¤ÇÒÁÊآ㹪ÕÇԵ䴌Í‹ҧäÃã¹àÁ×่Í·Ø¡¢�à¾Õ§¹Ô´à´ÕÂÇà¸Í¡็¹ÑºÇ‹ÒÁѹ໚¹·Ø¡¢�¢³Ð·Õ่ÊØ¢¹Ô´à´ÕÂǹÑ้¹à ¸ Í ä Á‹ à ¤  Á Í § à Ë็ ¹

ÊÒÃѵ¶Ð ªÇ¹¤Ô´¹Í¡¨Í

15

มีภาพยนตรเรื ่องหนึ่งชื ่อ The Others นิโคล คิดแมน แสดงเปนเจาของคฤหาสนโบราณ ในอังกฤษ ลูกทั้งสองของเธอเปนโรคแพแสง คฤหาสนทั้งหลังจึงตองปดมานทั้งวันทั้งคืนเรื ่องเกิดขึ้นเมื่อลูกสาวทั้งสองของเธอเห็นผี มีทั ้ง เด็ก คนแก ผูหญิง ผูชาย บางคืนก็เห็นเด็กผูชาย มาเปดมานในหองนอนของเธอ ตัวเธอคิดวาลูก โกหก แตบางครั้ง ก็เจอเขากับตัวเอง แตสิ ่งที่นา ตกใจกวานั้นเธอพบวาคนรับใชทั ้งสามคนใน คฤหาสน ความจริงไดตายไปเกือบรอยปแลว หมายความวาเธออยูกับผีมาโดยตลอด เรื่องมา ถึงจุดไคลแมกซเมื ่อเธอไดยินเสียงกรีดรองของลูก ทั้งสอง สัญชาตญาณแมบอกเธอวา ลูกกำลัง อยูในอันตราย แตอันตรายจากอะไรในเมื่อเธอเอง กำลังเผชิญอยูกับผีคนรับใชทั ้งสาม แสดงวาลูกของเธอ กำลังเผชิญกับผีอีกกลุมหนึ่งเธอรวบรวมความกลา....เดินขึ้นบันไดไปชวยลูกจากผีกลุมนี้ในหองชั้นบน.......สิ ่งที่เธอไดเห็นเมื่อเปดประตูหองก็คือ คนกำลังนั่งลอมวง สวนลูกทั้งสอง ของเธอ...ยืนอยูขางๆ สาวแกตาบอด ซึ่งเปนคนที่ สามารถไดยินเสียงของเธอ และ ลูกสาว

ถึงตอนนี้.....เธอก็รู แลววา สาวแกนั้นเปน คนทรงที่กำลังสื่อสารกับผี...และ..ผีนั ้น ก็ไมใชใคร ที่ไหน หากไดแกเธอ ซึ่งเปนเจาของคฤหาสน และ ลูกสาวของเธอทั้งสองนั่นเองเธอไดพบวา..."ผี" ที่เธอและลูกทั้งสองกลัวมาตลอดนั้น จริงแลว ก็คือ " คน" ที่เพิ ่งยายมาอยุใหม..... เธอและลูกไมรู วา ตัวเองตายไปแลว เลยไปคิดวาคนที่มาอยุใหมเปนผี เรื่องนี้สอนวา......อะไร ๆ ที่เรากลัวนั้น อีกดานหนึ่งเขาก็กลัวเราเหมือนกัน เชน เวลา เราสะดุงเพราะเจองู งูก็สะดุงเพราะเราดวยเชนกันสิ่งที่เรากลัว เอาเขาจริง ๆ ก็อาจไมไดนากลัว อยางที่เราคิด ในทำนองเดียวกัน ผูคนกลัวงานการ ลมเหลว นักเรียนกลัวเรื ่องสอบ ก็เพราะไป วาดภาพเอาเองวา ถาเกิดลมเหลวหรือสอบตก ชีวิตจะจบเห แตที ่จริง ชีวิตก็ยังดำเนินตอไปได ถึงแมความลมเหลวเกิดขึ้นแลวก็ตามมองใหลึก ลงไป เราไมไดกลัวสิ่งที่อยุ นอกตัว จริงๆ แลว เรากลัวความคิดของเราเอง

ÊÒÃѵ¶ÐÃкº»ÃÐÊÒ··Õ ่¤ÃÙâ¤ФÇÃÃÙ Œ

16

ÇÔÇÒ·Ð (ÍÕ¡) ผมขออนุญาต "วิวาทะ"ในประเด็นที่มีผู ถาม ไปในโยคะสารัตถะฉบับลาสุด คือการทำศลภาสนะ (หรือตั๊กแตน) ซึ่งถามวา "ทาตั๊กแตนยกขาไมขึ ้น ทำยังไงดีคะ? (ยกขางเดียวได ยกสองขางไมได)" ตอคำถามหรือประเด็นนี้ ผมมองวา เรา สามารถคิด(เพื่อหาคำตอบ)ไดจากหลายแงมุมเลย ทีเดียว ที่นาสนใจ(อยางนอยก็สำหรับผม)คือบาง ประเด็นที่คลายจะเปนคำตอบ หากเราไมหยุด เพียงแคนั้น มันอาจกอเกิดคำถามอื่นๆตามมาให เราขบคิด จนไดเห็น(และอาจเขาใจ) โลกของ อาสนะที่ "ไรขอบเขต" ตามที่จารึกในปตัญชละ โยคสูตระ (บทที่ ๒ โศลก ๔๗) ไดชัดขึ้น ผมขอเริ่มดวยการอางวิธีปฏิบัติ "ศลภาสนะ"จากคัมภีร"เฆรัณฑะ สัมหิตา"ซึ่งระบุ ไววา "นอนคว่ำหนาลงกับพื้น วางมือ(นาจะ) บนพื้นใกลหนาอก จากนั้นยกขาขึ้น (กลางอากาศ) สูง(จากพื้น)ประมาณหนึ่งศอก" (ตำราฉบับแปลบาง เลมบอกวาหนึ่งคืบซึ่งเทียบเทาประมาณ๙นิ้ว) จากขอความในคัมภีรคงไมตองสงสัยวา การทำศลภาสนะหรือทาตั๊กแตน อยางไรเสียเราคง ตองยกขาทั้งสองขึ้นจากพื้น

¡ÅŒÒÁà¹×้Í จากที่กลาวในตอน " ผลจากศรทั้งสอง" ระบบประสาทสั่งการหรือระบบประสาทมอเตอร มีหนาที่สั ่งการและควบคุมการปฏิบัติงานใหอวัยวะตางๆ มีการตอบสนองตอขอมูลที่ไดรับ อยาง เหมาะสมเพื่อรักษาสมดุลของรางกายประกอบดวย 2 ระบบที่สำคัญคือ ระบบประสาทรางกาย (somatic nervous system) ควบคุมและสั่งการ ไปที่กลามเนื้อลาย และระะบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic nervous system) ควบคุมและสั่ง การไปที่กลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อหัวใจและตอม ตางๆ ซึ่งจะเห็นไดวาสวนประกอบที่สำคัญ ของ อวัยวะสำแดงผลของระบบประสาทสั่งการก็คือ กลามเนื้อ นั่นเอง กลามเนื้อเปนเซลลที ่ถูกพัฒนาไป เพื่อทำ หนาที่เดนดานพลังงานกล โดยมีการหดตัวและ คลายตัว เพื่อทำใหเกิดการเคลื่อนไหวของรางกาย และอวัยวะตางๆ เซลลกลามเนื้อมีลักษณะคลาย เซลลประสาทที่สามารถกระตุนไดและเกิดศักยทำ งานที่กระจายไปทั่วเยื ่อหุมเซลลกลามเนื้อ แตตาง จากเซลลประสาทที่วาศักยทำงานในกลามเนื้อจะไปกระตุนการหดตัวในกลามเนื้อ ซึ่งเกิดจากโปรตีน ยืดหดตัวซึ่งมีอยูในกลามเนื้อ อาจแบงชนิดของกลามเนื้อไดหลายประเภท ตามตำแหนงการทำงานและโครงสรางดังนี้

1.แบงตามการควบคุมการทำงาน 1.1 กลามเนื้อทำงานใตอำนาจจิตใจ (voluntary muscle) เราสามารถควบคุมไดโดยสมองสวนสั่งการสงคำสั่ง ลงมาควบคุม สวนมากเปนการทำงานของกลาม เนื้อลาย 1.2 กลามเนื้อทำงานนอกอำนาจจิตใจ (involuntary muscle) เราไมสามารถควบคุมได ไดแก การทำงานของกลามเนื้อเรียบและกลามเนื้อ หัวใจ ซึ่งควบคุมการทำงานโดยระบบประสาท อัตโนมัติ การทำงานของกลามเนื้อลายบางครั้งก็ อยูนอกอำนาจจิตใจ เชนการตอบสนองแบบ รีเฟล็กซ (reflex) 2.แบงตามโครงสรางเปนการแบงตามลักษณะที่เห็นไดในกลอง จุลทรรศน แบงได 2 พวก คือ 2.1 Striated muscle หรือ Striped muscle เห็นเปนลายตามขวางในกลองจุลทรรศน ไดแก กลามเนื้อลายและกลามเนื้อหัวใจ 2.2 Unstriated muscle ไมเห็นลายตาม ขวาง ไดแก กลามเนื้อเรียบ 3.แบงตามการทำงานและที่อยู 3.1 กลามเนื้อลาย (skeleton muscle

ÊÒÃѵ¶Ð

17

หรือ striated muscle) ประกอบเปนกลามเนื้อ สวนใหญของรางกาย พบอยูตามแขนขาและลำตัว มีหนาที่เกี ่ยวกับการเคลื่อนไหวและควบคุมการทำ งานของรางกาย 3.2 กลามเนื้อเรียบ (smooth muscle) อยูตามอวัยวะภายในที่กลวง เมื่อหดตัวจะทำใหเกิด การเคลื่อนไหวของสิ่งที่อยู ภายใน 3.3 กลามเนื้อหัวใจ (cardiac หรือ heart muscle) ทำงานนอกอำนาจจิตใจ แตมีลายเหมือน กลามเนื้อลาย คุณสมบัติทั ่วๆไปของกลามเนื้อ 1. สามารถตอบสนองตอสิ่งกระตุนหรือสิ่ง แวดลอม เรียกวามี excitability 2. มีความสามารถหดตัวได หลังจากถูกกระตุน เรียกวามี contractibility 3. สามารถยืดออกไดมากโดยไมฉีกขาด เรียกวามี extensibility 4. หดกลับสูที ่เดิมได เรียกวามี elasticityในฐานะผูฝกโยคะอาสนะ กลามเนื้อที่เกี ่ยวของ อยางที่เห็นเปนรูป ธรรมมาก คือ กลามเนื้อลาย (skeleton muscle) ซึ่งจะอยูรวมกันเปนมัดๆ ในรางกายมีทั้งหมด 792 มัด มีน้ำหนักประมาณ 40% ของน้ำหนักตัว ทำงานภายใตอำนาจจิตใจเปนสวนใหญ และทำงาน ในรูปของรีเฟล็กซดวย การทำงานจะรวมกับกระดูก เพื่อทำใหเกิดการเคลื่อนไหว เชน ยกแขนขา เปลี่ยนอริยาบถ และรักษาทาทางของรางกาย การ หดตัวของกลามเนื้อเกิดขึ้นจากการมีกระแส ประสาทเกิดขึ้นในเสนประสาทมอเตอรสงมาที่ ปลายประสาท เกิดการหลั่งสารสื่อประสาท ทำให เกิดการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการซึมผาน ของเยื่อหุมเซลลตอไอออนตางๆ เกิดศักยไฟฟาที่ เปลี่ยนแปลงเปนพลังงานกล คือ การหดตัวของ กลามเนื้อ หลังจากนั้นก็ตองมีกระบวนการที่ทำให เกิดการคลายตัวของกลามเนื้อ เพื่อใหกลามเนื้อ กลับสูสภาพกอนการทำงาน(1)

โดยขบวนการที่ทำใหเกิดการหดตัวและ คลายตัวของกลามเนื้อที่กลาวขางตนนั้น ตองใช พลังงาน คือ พลังงานที่เกิดจากปฏิกริยาเคมี ที่มี สารตั้งตนเชน น้ำตาล ทำปฏิกริยากับออกซิเจน ไดเปน สารประกอบ ATP คารบอนไดออกไซดความรอน และกรด ซึ่งสารประกอบATP เมื่อผาน ปฏิกริยา hydrolysis จะไดพลังงานออกมา ดัง สมการขางลาง(2)Glucose+O2 = ATP+CO2+Heat+Pyruvic acidATP (hydrolysis) = Energy+ADP+Phosphateจะเห็นไดวาแมการฝกโยคะอาสนะ ไมใชการ ออกกำลังกาย แตการหดเกร็งและเหยียดยืด กลามเนื้อ ก็ลวนตองใชพลังงานทั้งสิ ้น และ Glu-cose ที่เปนสารตั้งตนของขบวนการสรางพลังงาน ก็เกิดจากการสลายไกลโคเจนหรือไขมันในรางกาย จึงอธิบายอยางตรงไปตรงมาไดวาทำไมผูที ่ฝกโยคะอาสนะเปนประจำ จึงมีรูปรางที่กระชับไดสัดสวน หรือมีการสลายไขมันในรางกายนั่นเอง ยังมีกลามเนื้ออีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสำคัญ ตอการฝกโยคะคอนขางมาก นั่นก็คือ กลามเนื้อ กระบังลม ซึ่งจะไดกลาวถึงในตอนตอไป.

ขอควรรูประจำฉบับนี้ : การหดตัวของกลามเนื้อ 1.การหดตัวแบบ Isotonic คือการหดตัวที่ความยาวของกลามเนื้อหดสั้นเขา และยกน้ำหนัก มีงานเกิดขึ้น โดยที่ความตึงในกลามเนื้อเทาเดิมตลอดการทำงานงานที่กลามเนื้อทำ = น้ำหนักที่ใชถวงคูณดวยระยะทาง(เชนระยะทางที่ยกขึ้น) 2.การหดตัวแบบ Isometric คือการหดตัวที่ความยาวของกลามเนื้อไมมีการเปลี่ยนแปลง แตใหความตึงตัวเพิ่มขึ้น และไมมีงานเกิดขึ้น เชน ถวงน้ำหนักมากเกินไปจนกลามเนื้อไมสามรถยกน้ำหนักได หรือ ความตึงจากการหดตัวที่ใชตานแรงอื่น เชน แรงโนมถวงของโลก เพื่อใหรางกายทรงตัวในทายืน(1)หนังสืออางอิง

(1) ประสาทสรีรวิทยา: ราตรี สุดทรวง,วีระชัย สิงหนิยม

(2) Anatomy and Physiology of Yogic practices: M.M GORE

เหยี่ยว ตะวันตก-ตะวันออก

ÊÒÃѵ¶Ð

18

http://www.casadoyoga.com.br

ÁÃä ø â¤Тͧ»µÑÞªÅÕáÅÐ ¢ŒÍÊѧࡵàÃ×่ͧÂÁÐ-¹ÔÂÁÐ ความตอนที่แลวพูดถึงโยคสูตรประโยค ๒:๒๙ คือ“ยมะ-นิยมาสนะ-ปราณายามะ -ปรัตยาหาระ-ธารณา-ธยานะ-สมาธโย’ษฏาวังคานิ” คางไวยังไมจบโดยมีใจความสำคัญสรุปไดวา ปตัญชลีไดเสนอการฝกฝนโยคะอยางเปนระบบดวยมรรค ๘ ประการของโยคะ ไดแก ยมะ นิยมะ อาสนะ ปราณายามะ ปรัตยาหาระ ธารณา ธยานะ และสมาธิ มีแนวคิดวามรรคทั้ง ๘ นี้มีการ เรียงลำดับขั้นที่แนนอนตายตัว ดังนั้นหากจะฝกมรรคใดมรรคหนึ่ง ก็ควรมี การฝกมรรคกอนหนานั้นมาจนชำนาญเสียกอน ดวยแนวคิดเชนนี้จึงมีเสียงคัดคานโดยเฉพาะใน เรื่องการฝกโยคะอาสนะและปราณายามะโดยมิได พยายามที่จะฝกยมะ-นิยมะ แตการคัดคานนี้ดูจะไม มีเหตุผลหรือน้ำหนักเพราะวา การฝกยมะ-นิยมะ ไมไดเปนขอบังคับพื้นฐานสำหรับการฝกอาสนะและปราณายามะในหฐโยคะ โดยสังเกตจากยมะ-นิยมะไมไดปรากฏเปน มรรคที่จำเปนในตำราหฐโยคะทั้งหลายและยังมี การพูดถึงยมะ-นิยมะคอนขางนอยในตำราหฐโยคะ เหลานั้นอีกดวย

µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้§à´ÔÁ

ÊÒÃѵ¶Ð

18

สวนสาเหตุที่หฐโยคะใหความ สำคัญกับ ยมะ-นิยมะไมมากนักจนถึงขนาดยกขึ้นมา เปนขอบังคับหรือเปนมรรคอาจเปนไปไดวาขอ ปฏิบัติตางๆของยมะ-นิยมะเปนประโยชนตอทุกๆ คน อยางชัดเจนอยูแลว สำหรับผูปฏิบัติโยคะ ยมะ นิยมะไดกลายเปนขอบังคับที่จะตองเต็มใจประพฤติปฏิบัติอยูแลว นอกจากนี้การฝกอาสนะ ปราณา ยามะ ฯลฯ ของหฐโยคะจะสงผลใหเกิดการ ปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ ้นซึ่งเปนการฝก ยมะ-นิยมะในตัวของมันเองตามธรรมชาติอยูแลว สวนเนื้อหาที่เหลือของประโยคนี้กลาวตอไปวาแม วาในมรรค ๘ ของปตัญชลีที่มีการแจกแจงขั้นตอน จากมรรคหนึ่งไปสูอีกมรรคหนึ่งเรียงตามลำดับ อยางที่กลาวไวในประโยคนี้จะไมไดเปนขอบังคับที่ จำเปนและตองทำตามแบบนี้เสมอ แตเมื ่อใดก็ตาม ที่ปตัญชลีเห็นวามรรคที่จำเปนตองฝกตอเนื่องเรียงลำดับกัน (เพื่อใหเกิดประสิทธิผลในการฝกแลว) ทานจะระบุชี ้ใหเห็นอยางชัดเจนดังเชน การฝก ปราณายามะมีความจำเปนตองมีการฝกอาสนะเปนพื้นฐาน ตามที่ไดกลาวถึงคำวา “ตัสมินสติ” ใน โยคสูตรประโยค ๒:๔๙ ที่อธิบายถึงนิยามความ หมายของปราณายามะ และไดกลาวไวอีกวามี ลำดับ ขั้นตอนที่แนนอนในการฝกธารณา-> ธยานะ -> สมาธิ โดยดูจากคำ3วา “ตตระ” ใน โยคสูตรประโยค ๓:๒ ของธยานะ และคำวา “ตเทวะ” ในประโยค ๓:๓ ของสมาธิ อยางไรก็ตาม ไมมีการบังคับใหมีการฝกเรียงตามลำดับทั้ง ๘ ประการเชนนั้น เพราะอาจจะเปนเรื ่องไรสาระและไมสะดวกในทาง ปฏิบัติ ยกตัวอยาง หากยังไมไดฝกยมะก็ไมควรที่ จะฝกนิยมะ นั่นคือจะตองประสบความสำเร็จใน การฝกมรรคขอแรก(ยมะ)จนเชี่ยวชาญกอนจึงจะฝกมรรคขอถัดไป(นิยมะ)ได ถาแนวคิดนี้ไดรับการ ยอมรับ การปฏิบัติเศาจะ ซึ่งเปนการทำความ สะอาด รางกาย(ของนิยมะ)ก็ไมสามารถทำไดหาก ผูปฏิบัติยังไมไดประพฤติตามขอหามของยมะได

อยางดีเสียกอน นั่นหมายความวาหากผูปฏิบัติ ยังไมไดประพฤติอหิงสา สัตยะ พรหมจรรยะ ฯลฯ เขาก็ไมมีสิทธิ์ที ่จะอาบน้ำชำระรางกายซึ่งเปนสวนหนึ่งของเศาจะในขอแรกของนิยมะ ดังนั้นมรรคเหลานี้จึงไมจำเปน และไมควร ไดรับการพิจารณาวาเปนขั้นตอนที่ตองฝกตอเนื่องกันตามลำดับ ยกเวนในที่ที ่ปตัญชลีไดกลาวถึง อยางเฉพาะเจาะจง นั่นหมายความวาผูปฏิบัติอาจ เริ่มฝกมรรคทั้ง ๘ ไปพรอมๆ กัน ในขอบเขตซึ่ง อาจเปนไปไดในทางปฏิบัติและสอดคลองตามสภาพความพรอมของตัวเขาเอง หลักการเชนนี้ก็สามารถนำมาใชกับมรรค ซึ่งปตัญชลีไดบอกวาจำเปนตองฝกเปนขั้นตอนเรียงตามลำดับดวย ดังนั้นผูปฏิบัติคนหนึ่งอาจจะ หรือ สามารถฝกปราณายามะไดแมวาเขาจะไมสามารถ ทรงตัวอยูในทาอาสนะไดเปนเวลานาน หรือแมวา เขาจะไมสามารถทำโยคะอาสนะไดเลยแตไมตองสงสัยเลยวาในกรณีเชนนี้ปราณายมะของเขายอมไมมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลนักหากเทียบกับเมื่อ เขาไดผานการฝกอาสนะมาจนชำนาญแลว และเชน เดียวกันหากผูปฏิบัติพยายามกาวไปสูขั ้นของการ ฝกธารณา ธยานะ ฯลฯ ตั้งแตชวงเริ ่มตนของ การ ฝกโยคะ ถึงกระนั้นก็จะเห็นไดชัดวาเขาจะไมประสบ ความสำเร็จมากนักในความกาวหนาของการปฏิบัติบนเสนทาง(แหงโยคะ)นี้

ตัสมินสติ ในที่นี้หมายถึง

ขณะที่ฝกอาสนะจนไดรับผลดีตามที่ปตัญชลีกลาวไวแลว

ตอไปจึงเปนการฝกปราณายามะ (Karambelkar, p.298)

ตตระ ในที่นี้หมายถึง ขณะอยูในกระบวนการของธารณา

จะพัฒนาไปสูขั้นของธยานะ (Karambelkar, p.340)

ตเทวะ ในที่นี้หมายถึง ขณะอยูในกระบวนการของธยานะ

จะพัฒนาไปสูขั้นของสมาธิ (Karambelkar, p.341)

ÊÒÃѵ¶Ð

19

1.แบงตามการควบคุมการทำงาน 1.1 กลามเนื้อทำงานใตอำนาจจิตใจ (voluntary muscle) เราสามารถควบคุมไดโดยสมองสวนสั่งการสงคำสั่ง ลงมาควบคุม สวนมากเปนการทำงานของกลาม เนื้อลาย 1.2 กลามเนื้อทำงานนอกอำนาจจิตใจ (involuntary muscle) เราไมสามารถควบคุมได ไดแก การทำงานของกลามเนื้อเรียบและกลามเนื้อ หัวใจ ซึ่งควบคุมการทำงานโดยระบบประสาท อัตโนมัติ การทำงานของกลามเนื้อลายบางครั้งก็ อยูนอกอำนาจจิตใจ เชนการตอบสนองแบบ รีเฟล็กซ (reflex) 2.แบงตามโครงสรางเปนการแบงตามลักษณะที่เห็นไดในกลอง จุลทรรศน แบงได 2 พวก คือ 2.1 Striated muscle หรือ Striped muscle เห็นเปนลายตามขวางในกลองจุลทรรศน ไดแก กลามเนื้อลายและกลามเนื้อหัวใจ 2.2 Unstriated muscle ไมเห็นลายตาม ขวาง ไดแก กลามเนื้อเรียบ 3.แบงตามการทำงานและที่อยู 3.1 กลามเนื้อลาย (skeleton muscle

แมวาการเชื่อมโยงตอเนื่องกัน ในมรรคเหลา นั้น จะเปนไปอยางหลวมๆและไมชัดเจน และไม จำเปนตองคงการปฏิบัติตามมรรคที่ตอเนื่องกันไปตามลำดับ แตถาผูปฏิบัติไดฝกมรรคในลำดับกอน หนามากอน การฝกมรรคถัดมาก็ยอมจะทำไดดีกวาอยางไมตองสงสัย ใน ทำนองเดียวกันยิ่งเขามีความชำนาญในการฝก มรรคกอนหนาไดดี เขาจะยิ่งเชี ่ยวชาญในการฝก มรรคถัดไปมากขึ้นดวย อยางไรก็ตามมีขอแนะนำในทางปฏิบัติวา ผูปฏิบัติไมควรจะทอใจหรือออนไหวเกินไปตอความสัมพันธดังกลาวของมรรคเหลานี้และระดับของ ความเชี่ยวชาญที่เขาอาจบรรลุถึงในมรรคทั้งหลาย เขาควรพยายามอยางจริงใจและดีที ่สุดตามศักย ภาพของเขาในการฝกปฏิบัติมรรคทั้งหมดไปพรอมๆ กันตั้งแตตนอยางเต็มที่ เพราะหากเขาตองคอยให บรรลุความสำเร็จในการปฏิบัติยมะทั้ง ๕ ขอยอย แลว เขาจะไมสามารถเริ่มตนได และไมเกิดความ กาวหนาบนเสนทางแหงโยคะ ตัวอยางเชน เกณฑ ของความสำเร็จในการฝกยมะที่กลาวไวในประโยค ๒:๓๕-๓๙ นั้นเปนไปไดวาจะไมมีใครเคยบรรลุ ถึงมากอน ดังนั้นการรอคอยใหบรรลุถึง ความ สมบูรณของมรรคเหลานี้จึงเปนสิ่งที่ไรประโยชน

มีขอสังเกตถึงความเหมือนกันอยางเดนชัด ของมรรคทั้ง ๘ ของปตัญชลีโยคะและแนวทาง ปฏิบัติของพระพุทธเจา มีการเทียบเคียงความ คลายคลึงกันกวางๆ บางประการในธรรมชาติของ มรรคเหลานี้ของทั้งสองสำนัก ผูรู จำนวนมากใน เรื่องนี้ไดมองวา ปตัญชลีไดลอกเลียนการจัดแบง มรรคทั้ง ๘ และไดยืมบางอยางจากพุทธศาสนา (รวมถึงจากศาสนาเชนดวย)มาใชในระบบของทาน แตอาจเปนไปไดมากวา ทั้งสองฝายตาง ก็ไมไดยืมสิ่งใดมาจากอีกฝายหนึ่งโดยตรง เพราะ มีความคิดบางอยางที่นิยมทำกันอยางมากในสมัย นั้น คานิยมของการจัดแบงระบบออกเปน ๘ อยาง ดูเหมือนจะเปนสิ่งหนึ่งที่นิยมทำกันนั่นจึงเปนเหต ผล วาทำไมทั้งปตัญชลีและพระพุทธเจาดูเหมือน จะเสนอมรรค ๘ ประการเปนแนวทางการปฏิบัติ ทั้ง ๘ เหมือนกัน

เอกสารอางอิง :

Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS

Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commen-

tary. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 236-239.

ÊÒÃѵ¶Ð

20

à´×͹ Á¡ÃÒ¤Á 2556 ÁÕ¼Ù ŒºÃԨҤʹѺʹع¡Ò÷ӧҹ¢Í§Ê¶ÒºÑ¹Ï ´Ñ§¹Õ ้

ครูทิพาภรณ ใจรักษ (ครูเด ียร T12) สอนที ่สวนโมกข (19/12/55) 200

เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 19/12/55 110

ครูจ ิรภา เหลืองเรณู (ครูหนึ ่ง T12) สอนที ่สวนโมกข (26/12/55) 200

เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 26/12/55 540

บานสวนสุขภาพ ครูเขม ครูแอว คุณโปง 3,000

คุณยุทธโรจน สุวรรณสุเมธ 5,000

คุณประทีป สุทธิปริญญานนท 1,000

เงินบริจาคคาระฆัง 900

ครูวรพจน คงผาสุข (ครูเบนซ T12) สอนที ่สวนโมกข (23/1/56) 200

ครูอาทิตยา อภิชาติน ันท (ครูโอ ) สอนที ่สวนโมกข (26/1/56) 200

เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 26/1/56 1,610

จากตู บร ิจาค ในสำนักงาน 1,150

เงินสมทบกิจกรรมจิตสิกขา เดือน ม.ค. 100

ÃÇÁ 14,210

ʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡Òà ÁÙŹԸ ÔËÁͪÒǺŒÒ¹201 «ÍÂÃÒÁ¤Óá˧ 36/1 ºÒ§¡Ð»� ¡·Á.10240â·ÃÈѾ·� 02 732 2016-7, 081 401 7744â·ÃÊÒà 02 732 2811ÍÕàÁÅ� [email protected]àÇ็ºä«·� www.thaiyogainstitute.com