road transport

28
1 ระบบขนสงทางถนน โครงสรางพื้นฐานดานการขนสงทางถนน ศักยภาพโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงสินคา ในการพัฒนาระบบการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบจําเปนตองมีความเขาใจถึงโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงสินคา ในปจจุบันที่เปนสิ่งจําเปนตอดําเนินการขนสงได โดยโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงสินคา มีบทบาทสําคัญที่ใชรองรับอุปสงค การขนสงทั้งที่เปนอยูในปจจุบันและที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งถาหากขาดการจัดเตรียมที่เพียงพอตอความตองการและการ บริหารจัดการไมดี การขนสงจะเกิดปญหาทั้งในดานคาใชจายและคุณภาพของการขนสง และจะสงผลกระทบตอทั้งผูใหบริการ และผูใชบริการ ทําใหการขนสงในภาพรวมของทั้งประเทศขาดประสิทธิภาพและไมสามารถแขงขันกับประเทศเพื่อนบานได โดยปจจุบันการขนสงสินคาภายในประเทศใชการขนสงทางถนนมากที่สุด ดังแสดงในตารางที1 .. การขนสงสินคา 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 ทางถนน 392,244 397,976 400,241 434,918 440,018 435,147 430,275* ทางรถไฟ 9,264 9,171 8,776 8,893 10,521 12,883 8,2001/1 ทางน้ําภายในประเทศ 17,910 25,235 17,833 25,043 25,839 26,825 29,630* ชายฝงทะเล 21,970 23,347 19,657 24,795 22,941 25,862 25,625* ทางอากาศ 56 57 66 56 54 53 39/2 หมายเหตุ: * : ประมาณการเบื้องตน 1/ : .. - . . .. 2548 2/ : .. - . . .. 2548 ที่มา: www.moc.go.th (กระทรวงคมนาคม) ผลการศึกษาในสวนนี้จะไดนําเสนอโครงขายการขนสงของรูปแบบการขนสงตาง พาหนะที่ใชในการขนสง จุด เชื่อมโยงการขนสง การเชื่อมโยงโครงขายการขนสงกับประเทศเพื่อนบาน สภาพการใหบริการของโครงขายการขนสง ตลอดจนสภาพปญหาและอุปสรรคของระบบการขนสงในปจจุบัน เพื่อที่จะนําไปใชประโยชนเปนขอมูลพื้นฐาน ประกอบการ จัดทําขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถของโครงขาย การเชื่อมโยงตางรูปแบบตอไป การขนสงสินคาทางถนน การขนสงสินคาทางถนนเปนรูปแบบการขนสงที่ไดรับความนิยมใชขนสงสินคาภายในประเทศมากที่สุด โดยขอมูล .. 2547 ของกระทรวงคมนาคม พบวา ปริมาณการขนสงสินคาที่ใชการขนสงทางถนนมีประมาณ 435 ลานตัน หรือคิดเปน สัดสวนประมาณรอยละ 88 ของการขนสงสินคาในประเทศทั้งหมด และเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 2.26 ตอป นับตั้งแตป .. 2543 เปนตนมา ทั้งนี้สาเหตุที่การขนสงสินคาทางถนนไดรับความนิยมมากเนื่องจากมีขอไดเปรียบเมื่อเปรียบเทียบกับการ

Upload: phanom-boonthanom

Post on 08-Apr-2016

25 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

การขนส่งทางถนน

TRANSCRIPT

Page 1: Road Transport

1

ระบบขนสงทางถนน โครงสรางพื้นฐานดานการขนสงทางถนน ศักยภาพโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงสินคา

ในการพัฒนาระบบการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบจําเปนตองมีความเขาใจถึงโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงสินคาในปจจุบันที่เปนสิ่งจําเปนตอดําเนินการขนสงได โดยโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงสินคา มีบทบาทสําคัญที่ใชรองรับอุปสงคการขนสงทั้งที่เปนอยูในปจจุบันและที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งถาหากขาดการจัดเตรียมที่เพียงพอตอความตองการและการบริหารจัดการไมดี การขนสงจะเกิดปญหาทั้งในดานคาใชจายและคุณภาพของการขนสง และจะสงผลกระทบตอทั้งผูใหบริการและผูใชบริการ ทําใหการขนสงในภาพรวมของทั้งประเทศขาดประสิทธิภาพและไมสามารถแขงขันกับประเทศเพื่อนบานได โดยปจจุบันการขนสงสินคาภายในประเทศใชการขนสงทางถนนมากที่สุด ดังแสดงในตารางที ่1

พ.ศ. การขนสงสินคา

2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548

ทางถนน 392,244 397,976 400,241 434,918 440,018 435,147 430,275*

ทางรถไฟ 9,264 9,171 8,776 8,893 10,521 12,883 8,2001/1

ทางน้ําภายในประเทศ 17,910 25,235 17,833 25,043 25,839 26,825 29,630*

ชายฝงทะเล 21,970 23,347 19,657 24,795 22,941 25,862 25,625*

ทางอากาศ 56 57 66 56 54 53 39/2

หมายเหตุ: * : ประมาณการเบื้องตน 1/ : ม.ค. - ส.ค. พ.ศ. 2548 2/ : ม.ค. - ก.ย. พ.ศ. 2548 ที่มา: www.moc.go.th (กระทรวงคมนาคม)

ผลการศึกษาในสวนนี้จะไดนําเสนอโครงขายการขนสงของรูปแบบการขนสงตาง ๆ พาหนะที่ใชในการขนสง จุดเช่ือมโยงการขนสง การเชื่อมโยงโครงขายการขนสงกับประเทศเพื่อนบาน สภาพการใหบริการของโครงขายการขนสง ตลอดจนสภาพปญหาและอุปสรรคของระบบการขนสงในปจจุบัน เพื่อที่จะนําไปใชประโยชนเปนขอมูลพื้นฐาน ประกอบการจัดทําขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถของโครงขาย การเชื่อมโยงตางรูปแบบตอไป

การขนสงสินคาทางถนน การขนสงสินคาทางถนนเปนรูปแบบการขนสงที่ไดรับความนิยมใชขนสงสินคาภายในประเทศมากที่สุด โดยขอมูล ป

พ.ศ. 2547 ของกระทรวงคมนาคม พบวา ปริมาณการขนสงสินคาที่ใชการขนสงทางถนนมีประมาณ 435 ลานตัน หรือคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 88 ของการขนสงสินคาในประเทศทั้งหมด และเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 2.26 ตอป นับต้ังแตป พ.ศ. 2543 เปนตนมา ทั้งนี้สาเหตุที่การขนสงสินคาทางถนนไดรับความนิยมมากเนื่องจากมีขอไดเปรียบเมื่อเปรียบเทียบกับการ

Page 2: Road Transport

2

ขนสงรูปแบบอ่ืน ๆ คือ ความสามารถในการเขาถึงแหลงผลิตและแหลงบริโภคไดโดยตรง (door-to-door) เนื่องจากมีโครงขายถนน ที่เชื่อมตอภูมิภาคตาง ๆ ครอบคลุมทั่วประเทศ มีหนวยบรรทุก (unit load) ขนาดเล็ก และสามารถจัดหาพาหนะ ไดสะดวก ทําใหสามารถขนสงสินคาไปที่จุดหมายปลายทางที่แตกตางกันไดสะดวก ประกอบกับการขนสงรูปแบบอ่ืน ๆ มีขอจํากัดดานโครงสรางพื้นฐานที่ไมสามารถรองรับความตองการขนสงสินคาไดอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ และไมสามารถใหบริการขนสงจากแหลงผลิตถึงแหลงบริโภคไดโดยตรง และจําเปนตองใชการขนสงทางถนนเปน Feeder ดังนั้นโดยรวมแลวการขนสงสินคาทางถนนจึงไดเปรียบการขนสงรูปแบบอื่นๆ ในแงของการเปนการขนสงรูปแบบเด่ียว (Single Mode) ที่สามารถเขาถึงแหลงผลิตและแหลงบริโภค ไดโดยตรง ทําใหสามารถใหบริการรวบรวมและกระจายสินคาไดดีเมื่อเปรียบเทียบกับการขนสงรูปแบบอ่ืน ๆ

โครงขายถนนโครงขายถนนในปจจุบัน โครงขายทางหลวงของประเทศไทยตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 สามารถแบงทางหลวงในประเทศได 6

ประเภท ดังแสดงในตารางที ่1-1 ซึ่งในป พ.ศ. 2548 กรมทางหลวงมีความยาวทางหลวงที่อยูในความรับผิดชอบประมาณ 51,777 กิโลเมตร ดังแสดงในตารางที ่1-2 และมลัีกษณะโครงขายทางหลวงเชื่อมโยงไปยังภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ ดังแสดงในรูปที่ 1 ตารางที ่1-1: ประเภททางหลวงตามพระราชบัญญัติทางหลวง ประเภททางหลวงตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535

ประเภททางหลวง คําอธิบาย

ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงที่ไดออกแบบเพื่อใหการจราจรผานไดตลอดรวดเร็วเปนพิเศษ ซึ่งรัฐมนตรีไดประกาศกําหนดใหเปนทางหลวงพิเศษ และกรมทางหลวงเปนผูดําเนินการกอสราง ขยาย บูรณะ และบํารุงรักษา และไดลงทะเบียนไวเปนทางหลวงพิเศษ

ทางหลวงแผนดิน ทางหลวงสายหลักที่เปนโครงขายเช่ือมระหวางภาค จังหวัด อําเภอ ตลอดจนสถานที่สําคัญ กรมทางหลวงเปนผูดําเนินการกอสราง ขยาย บูรณะ และบํารุงรักษา และไดลงทะเบียนไวเปนทางหลวงแผนดิน

ทางหลวงชนบท ทางหลวงนอกเขตเทศบาลและเขตสุขาภิบาลที่องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล กรมทางหลวงชนบท และหนวยงานอ่ืน ๆ เปนผูดําเนินการกอสรางขยาย บูรณะและบํารุงรักษา และไดลงทะเบียนไวเปนทางหลวงชนบท

ทางหลวงเทศบาล ทางหลวงในเขตเทศบาลที่เทศบาลเปนผูดําเนินการกอสราง ขยาย บูรณะ และบํารุงรักษา และไดลงทะเบียนไวเปนทางหลวงเทศบาล

ทางหลวงสุขาภิบาล ทางหลวงในเขตสุขาภิบาลที่สุขาภิบาลเปนผูดําเนินการกอสราง ขยาย บูรณะและบํารุงรักษา และไดลงทะเบียนไวเปนทางหลวงสุขาภิบาล

ทางหลวงสัมปทาน ทางหลวงที่รัฐบาลไดใหสัมปทานตามกฎหมายวาดวยทางหลวงที่ไดรับสัมปทาน และไดลงทะเบียนไวเปนทางหลวงสัมปทาน

Page 3: Road Transport

3

ตารางที ่1-2: ระยะทางในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ระยะทางในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ป พ.ศ. 2548

บํารุงทาง (กม.)

ระยะทางตอ 2 ชองจราจร ภาค

คอนกรีต ลาดยาง ลูกรัง รวม

ระยะทางจริง ทางกอสรางและ

ทางรักษาสภาพ (กม.) รวมระยะทาง ทั้งสิ้น (กม.)

เหนือ 671 15,358 291 16,319 14,503 405 14,908

ตะวันออกเฉียงเหนือ 1,033 16,708 17 17,758 15,677 345 16,022

กลาง 3,596 11,780 24 15,399 10,714 216 10,930

ใต 460 11,633 17 12,109 9,427 491 9,918

รวม 5,760 55,478 348 61,586 50,321 1,456 51,777

ที่มา : กรมทางหลวง

Page 4: Road Transport

4

รูปที่ 1 โครงขายทางหลวง

Page 5: Road Transport

5

สําหรับโครงขายถนนในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบทมีความยาวประมาณ 44,000 กิโลเมตร นอกจากนี้ ยังมีโครงขายทางดวนคลอบคลุมพื้นที่ใจกลางกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีความยาวประมาณ 207.4 กิโลเมตร ดังแสดงในรูปที ่2 (แสดงดวยเสนสีเขียว)

รูปที ่2: โครงขายทางดวน

ที่มา : รายงานฉบับสมบูรณ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร

Page 6: Road Transport

6

พาหนะที่ใชขนสงสินคาทางถนน ยานพาหนะที่ใชในการขนสงสินคาทางถนนสวนใหญนิยมใชรถบรรทุกขนาดตั้งแต 6 ลอ 10 ลอ และมากกวา 10 ลอ

ขึ้นไป เนื่องจากสามารถบรรทุกสินคาไดจํานวนมากพอที่จะทําการรวบรวมและกระจายสินคา นอกจากนี้ ยังสามารถเขาถึงพื้นที่ตาง ๆ ไดตามความตองการ โดยไมตองคํานึงถึงสภาพภูมิอากาศมากนัก ใชบุคลากรในการดําเนินงานจํานวนไมมากเมื่อเทียบกับการขนสงรูปแบบอื่น สามารถปรับเปลี่ยนภาชนะที่ใชบรรทุกไดตามลักษณะของสินคาไดหลากหลาย ซึ่งประเภทของรถบรรทุกตามกฎกระทรวงฉบับที่ 4 ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ. 2522 มีสาระสําคัญดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที ่1 : ประเภทของรถที่ใชในการขนสงสัตวและสิ่งของ (รถบรรทุก)

Page 7: Road Transport

7

หมายเหตุ: * รถที่ใชในการขนสงสัตวหรือสิ่งของลักษณะ 5 ลักษณะ 6 ลักษณะ 7 และลักษณะ 8 ซึ่งเปนรถบรรทุกเฉพาะกิจ จะมีความกวาง ความสูง ความยาว สวนย่ืนหนาและสวนยื่นทายเกินกวาที่กําหนดไวก็ได หากมีความจําเปนตามลักษณะของการใชงานเฉพาะกิจ แตตองไดรับความเห็นชอบจากกรมการขนสงทางบก

ในป พ.ศ. 2547 สถิติจํานวนรถบรรทุกจดทะเบียนกับกรมการขนสงทางบกมีจํานวนรถบรรทุกประเภทตาง ๆ รวมทั้งส้ินประมาณ 675,000 คัน โดยในชวงระหวางป พ.ศ. 2542 ถึง 2547 จํานวนรถบรรทุกมีแนวโนมเพิ่มข้ึนในอัตราเฉลี่ยรอยละ 2 ตอป แตหากพิจารณาเฉพาะต้ังแต ป พ.ศ. 2546 เปนตนมา พบวาจํานวนรถบรรทุกจดทะเบียนมีแนวโนมลดลงโดยเฉลี่ยรอยละ 1 ตอป

ในเรื่องน้ําหนักบรรทุกอนุญาตไดมีการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับวิวัฒนาการขนสง และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ในอดีตกฎหมายกําหนดพิกัดน้ําหนักบรรทุกไวที ่16 ตัน แลวจึงเพิ่มเปน 18 ตัน และในป พ.ศ. 2518 จึงเพิ่มเปน 21 ตัน ตอจากนั้นปจจุบันรัฐบาลไดออกบทเฉพาะกาลผอนผันใหรถบรรทุก 10 ลอ สามารถบรรทุกสินคาไดเพิ่มขึ้นเปนน้ําหนักรวมรถ 26 ตัน จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 โดยลาสุดเมื่อป พ.ศ. 2549 ไดประกาศน้ําหนักรถบรรทุกใหม รายละเอียดดังแสดงในรูปที ่1

Page 8: Road Transport

8

รูปที ่1 น้ําหนักบรรทุกใหม

นอกจากในเรื่องของน้ําหนักบรรทุกแลว การขนสงทางถนนยังมีการบังคับใชมาตรการหามเดินรถบรรทุก เพื่อเปนการลดปญหาการจราจรติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครที่เปนศูนยกลางดานธุรกิจและพาณิชยกรรม ซึ่งเปนทั้งแหลงผลิตและแหลงบริโภคที่สําคัญของประเทศ รายละเอียดดังแสดงในตารางที ่2 และรูปที่ 2

Page 9: Road Transport

9

ตารางที ่2 : มาตรการหามเดินรถบรรทุก

เสนทาง/พื้นที ่

มาตรการ

เขตกรุงเทพมหานครช้ันใน (รัศมี 113 ตารางกิโลเมตร)

หามเดินรถบรรทุกขนาดใหญ (10 ลอขึ้นไป) ชวงเวลา 06.21-21.00 น. ยกเวนรถบรรทุก 10 ลอขึ้นไป ที่บรรทุกคอนกรีตผสมเสร็จ รถ

เครน และรถที่ไดรับการผอนผัน ซึ่งมีขอบังคับไวเฉพาะคือ เดินรถไดภายในเวลา 10.00-15.00 น.

ทางดวนทุกขั้น หามเดินรถ 6 ลอ เวลา 06.00-09.00 น. และ 16.00-20.00 น. และหามเดินรถ ตั้งแต 10 ลอขึ้นไป เวลา 05.00-09.00 น. และ 15.00-

21.00 น.

วงแหวนตะวันตก หามเดินรถ 6 ลอขึ้นไป เวลา 06.00-09.00 น. และ 16.00-20.00 น.

ถนนสุขสวัสดิ์-พระราม 2 หามเดินรถ 6 ลอขึ้นไป เวลา 06.00-09.00 น. และ 16.00-20.00 น.

สมุทรปราการ หามเดินรถ 10 ลอขึ้นไป เวลา 05.00-08.00 น. และ 15.00-19.00 น.

Page 10: Road Transport

10

รูปที ่2 : บริเวณที่มีการใชมาตรการหามเดินรถบรรทุก

Page 11: Road Transport

11

การใชมาตรการจํากัดเวลาเดินรถบรรทุกทําใหเกิดการจราจรของรถบรรทุกหนาแนนบนเสนทางในชวงเวลาที่อนุญาตใหวิ่ง นอกจากนี ้ยังเกิดปฏิกิริยาตอตานจากประชาชนที่อาศัยบนถนนในเสนทางที่รถบรรทุกขนาดใหญเปลี่ยนมาใชเสนทาง และสงผลกระทบตอผูประกอบการขนสงสินคาโดยตรงทําใหคาใชจายในการดําเนินงานขนสงสินคาสูงข้ึนเนื่องจากตองเพิ่มจํานวนเที่ยวในการขนสงสินคา และเสียคาจางแรงงานลวงเวลา คนขับเกิดความเหนื่อยลาเกิดความเจ็บปวย ลดความแนนอนของการใหบริการและความปลอดภัย และเพื่อเปนการเพื่อลดตนทุนการขนสงจึงมีการเพิ่มน้ําหนกับรรทุกในแตละเที่ยวเกินกวากฎหมายกําหนด ทําใหสภาพของทางหลวงแผนดินเกิดความชํารุดอยางหนักกอนถึงเวลาอันควร กอใหเกิดปญหาทั้งทางดานการจราจรและอุบัติเหตุ

กรมทางหลวงในฐานะหนวยงานรับผิดชอบตองเสียคาใชจายในการซอมแซมบํารุงทางหลวงจํานวนมากเพื่อเปนการควบคมุมาตรฐานน้ําหนักรถบรรทุกใหเกิดประสิทธิภาพ และลดคาใชจายในการซอมบํารุงผิวทาง กรมทางหลวงจึงไดจัดใหมีดานชั่งน้ําหนักเพื่อควบคุมรถบรรทุกตามทางหลวงหลักของประเทศ ประกอบดวย ดานช่ังน้ําหนักถาวร และดานช่ังน้ําหนักขณะรถวิ่ง (Weight in motion; WIM) มีรายละเอียดดงันี้

• ดานชั่งน้ําหนักถาวร หมายถึง ดานที่ตั้งประจําบนทางหลวง โดยจะติดตั้งเครื่องช่ังน้ําหนักแบบอิเล็กทรอนิกสซึ่งสามารถช่ังรถบรรทุกไดทั้งคัน โดยจะติดตั้งในทางสายหลักและในเสนทางที่มีปริมาณการจราจรสูงโดยรอบกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จํานวน 14 แหง ดังแสดงในรูป 3 และมีแผนการติดต้ังเพิ่มอีก 81 แหง ภายใน 3 ป

ที่มา: กรมทางหลวง

รูปที ่3 : ดานชั่งน้ําหนักถาวร 14 ดาน

Page 12: Road Transport

12

• ดานชั่งน้ําหนักขณะรถว่ิง (Weight in motion; WIM) หมายถึง ดานชั่งน้ําหนักที่ติดต้ังอุปกรณช่ังน้ําหนักไวบนพื้นถนนแบบ High Speed WIM ที่สามารถชั่งน้ําหนกัขณะที่รถเคลื่อนที่ได (เมื่อวิ่งดวยความเร็ว 16-36 กม./ชม.) ซึ่งดานชั่งน้ําหนักนี้จะติดตั้งกอนถึงดานชั่งน้ําหนักถาวรประมาณ 1 กิโลเมตร สามารถเก็บรวบรวมขอมูลตาง ๆ เพื่อใชในการออกแบบปรับปรุงทาง และเพื่อใชคัดแยกรถบรรทุกที่มีน้ําหนักเกินเขาดานช่ังน้ําหนกัถาวร (Pre-screening) ในปงบประมาณ พ.ศ. 2548 จะทําการกอสรางจํานวน 10 แหง โดยตําแหนงที่ติดตั้งมีดังแสดงในตารางที ่3

ตารางที่ 3 : ตําแหนงที่ตั้งดานชั่งน้ําหนักขณะรถวิ่ง (Weight in motion; WIM)

ลําดับ ทางหลวงหมายเลข

ตําแหนงที่ตั้ง กม.+ม.

1 1 กม.80+000(ตอเขตแขวงฯ อยุธยา) - สระบุรี 97+855

2 32 ทางแยกตางระดับบางปะอิน-กม.68+000 55+659

3 2 กม.166+000(ตอเขตแขวงฯสระบุรี)-ทางแยกไปชัยภูม ิ (ขาเขาและขาออก)

201+993

4 35 ธนบุร-ีปากทอ (ขาเขาและขาออก) 53+432

5 4 กม.41+067 - จุดเริ่มทางเลี่ยงเมืองนครปฐม 41+538

6 3 แยกทางหลวงหมายเลข 34 - ชลบุรี 84+620

7 340 บางบัวทอง - สุพรรณบุร ี 52+200

8 9 บางบัวทอง-ตอเขตแขวงฯธนบุร-ีลาดหลุมแกว 38+896

9 4 จุดสุดทางเลี่ยงเมืองอีจาง-จุดเริ่มทางเล่ียงเมืองอีจาง 89+275

10 304 มีนบรุ-ีฉะเชิงเทรา 50+400

ที่มา: กรมทางหลวง ที่มา : รายงานฉบับสมบูรณ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงเละจราจร

จุดเชื่อมโยงการขนสงทางถนน การขนสงสินคาทางถนนสามารถเชื่อมโยงกับการขนสงสินคาภายในรูปแบบเดียวกัน และเชื่อมโยงกับการขนสงสินคา

รูปแบบอื่น (Multi-Modal) ไดโดยอาศัยจุดเช่ือมโยง โครงสรางพื้นฐานทางถนนที่ดีจะชวยเพิ่มขีดความสามารถในเรื่องของเวลา (Transit time) และความสะดวกในการเขาถึงแหลงวัตถุดิบและสินคา (Accessibility) องคประกอบที่สําคัญของถนนที่จะชวยใหขนสงสินคาไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ คือ สภาพถนน ขนาดชองจราจร และความสามารถในการรับน้ําหนักบรรทุกของถนน จากสภาพของถนนที่มีอยูในประเทศไทยในปจจุบันมีการบรรทุกเกินน้ําหนักอยูเปนประจําทําใหสภาพถนนเสื่อมลงอยางรวดเร็ว ผลที่ตามมาคือ ผูสงสินคาตองใชเวลาในการขนสงนานเกินความจําเปน ในอนาคตคาดวาการขนสงทางถนนจะไดรับความสะดวกมากข้ึน เนื่องจากรัฐบาลมีแผนที่จะกอสรางทางหลวงพิเศษระหวางเมือง (มอเตอรเวย) ทั่วประเทศความยาว

Page 13: Road Transport

13

รวม 4,150 กิโลเมตร โดยเฉพาะอยางยิ่งในเสนทางสายหลัก (Corridor) ที่เช่ือมในแกนตะวันออก-ตะวันตก และแกนเหนือ-ใต ซึ่งจะทําใหสามารถเชือ่มโยงการขนสงไดทั่วทั้งประเทศ และเช่ือมโยงจากแหลงผลิตตาง ๆ ไปสูประตูการคาของประเทศตามจุดพรมแดนที่กําหนดไว

การขนสงสินคาทางถนนสามารถเชื่อมตอกับการขนสงรูปแบบอื่น ๆ ไดหลากหลายรูปแบบ ข้ึนกับลักษณะของสินคาที่ทําการการขนสงและโครงสรางพื้นฐานที่จะมาเช่ือมตอกับการขนสงสินคาทางถนนเพื่อนําไปสูการขนสงรูปแบบตาง ๆ ซึ่งสวนหนึ่งใชรองรับและสนับสนุนการขนสงสินคาระหวางประเทศทางทะเล และทางอากาศ ทั้งนี้ ประเทศไทยมีจุดเช่ือมโยงระบบขนสงสินคาหลัก ดังนี้

1. สถานีขนสงสินคา (Truck Terminal) มีหนาที่รวบรวมสินคาจากแหลงผลิตตาง ๆ เพื่อสงตอไปยังประตูการคา หรือทําหนาที่กระจายสินคาที่มากจากประตูการคาไปยังแหลงบริโภคตามภูมิภาคตาง ๆ ปจจุบันสถานีขนสงสินคาของประเทศไทยภายใตการดูแลของสวนกิจการขนสง กรมการขนสงทางบก ไดเปดใหบริการเพื่ออํานวยความสะดวกตอการขนสงสนิคาทางถนนรวมทั้งส้ิน 3 แหง ซึ่งกระจายตัวตามชานเมืองของกรุงเทพมหานคร ไดแก สถานีขนสงสินคารมเกลา สถานีขนสงสินคาคลองหลวง และสถานีขนสงสินคาพุทธมณฑล

2. สถานีตรวจและบรรจุสินคาเขาตูคอนเทนเนอรเพื่อการสงออก หรือ สตส. (Off-Dock Container Freight Station, CFS) จัดตั้งขึ้นเพื่อยายกิจกรรมในเรื่องของการบรรจุเขาตูในสวนของการสงออกที่บริเวณทาเรือกรุงเทพ (คลองเตย) ออกมาใหบริการดานนอกและจากนั้นจึงนําสินคาที่บรรจุเขาตูแลวบรรทุกข้ึนรถหัวลากไปยังทาเรือ ซึ่งจะทําใหการดําเนินงานในบริเวณทาเรือสามารถทําไดรวดเร็วมากข้ึน และยังเปนการเพิ่มพื้นที่สําหรับพักตูสินคาภายนอกเขตทาเรือดวย

3. โรงพักสินคาเพื่อตรวจปลอยของขาเขาและบรรจุของขาออกที่ขนสงโดยระบบคอนเทนเนอรนอกเขตทําเนียบทาเรือ หรือ รพท. (Inland Container Depot, ICD) ใหบริการใกลเคียงกับทาเรือ แตไมมีกิจกรรมทางเรือมาเกี่ยวของ ไดแก การใหบริการบรรจุสินคาเขาตูประเภท LCL การใหบริการช่ัวคราวสําหรับจัดเก็บสินคาและตูสินคาประเภท FCL การเก็บรักษาและทําความสะอาดตูเปลา ตลอดจนการทําพิธีการศุลกากร

4. ยานกองเก็บตูสินคา (Container Yard, CY) เปนสถานที่ใชพักตูคอนเทนเนอร ในปจจุบัน มีทั้งหมด 18 แหง ซึ่งสวนใหญมีที่ต้ังบริเวณถนนบางนา-บางประกง อําเภอเมืองและอําเภอบางพลีในจังหวัดสมุทรปราการ และบริเวณทาเรือกรุงเทพ ผูใหบริการยานกองเก็บตูสินคาบางรายมีพัฒนาการใหบริการแบบครบวงจร และมีบริการจัดทําพิธีการศุลกากรโดยผานทางระบบ EDI

5. สถานที่เก็บพักสินคา เปนสถานที่ใชเก็บรักษาสินคาประกอบดวยคลังสินคา (Warehouse) ไซโล (Silo) และหองเย็น (Chill room) โดยในสวนคลังสินคาสาธารณะ (Public warehouse) ที่ใหบริการมีทั้งหมด 89 แหง แบงเปนคลังสินคาขององคกรคลังสินคา กระทรวงพาณิชย 7 แหง และคลังสินคาที่เอกชนเปนเจาของจํานวน 82 แหง คลังสินคาสาธารณะสวนมากมีที่ต้ังอยูในบริเวณกรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ชลบุรี และพระนครศรีอยุธยา

Page 14: Road Transport

14

รูปที ่1 : ที่ตั้งสถานีขนสงสินคา สตส. และ รพท.

ที่มา : รายงานฉบับสมบูรณ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงเละจราจร

การเชื่อมโยงการขนสงทางถนนกับประเทศเพื่อนบาน ในดานการขนสงสินคาทางถนน ประเทศไทยมีขอไดเปรียบในเรื่องตําแหนง เนื่องจากมีอาณาเขตติดตอกับพรมแดน

ประเทศเพื่อนบานหลายประเทศ คือ ทางทิศเหนือ ไดแก ประเทศเมียนมาร และลาว ทิศตะวันตก ไดแก ประเทศเมียนมาร ทิศตะวันออก ไดแก ประเทศลาว และกัมพูชา และทิศใต ไดแก ประเทศมาเลเซีย โดยรวมแลวประเทศไทยมีพรมแดนติดตอประเทศเมียนมารเปนระยะทางยาวที่สุด 2,400 กิโลเมตร รองลงมา คือ ประเทศลาว ระยะทาง 1,810 กิโลเมตร กัมพูชา ระยะทาง 725 กิโลเมตร และประเทศมาเลเซีย ระยะทาง 647 กิโลเมตร ดังแสดงในรูปที่ 1 นอกจากนี ้การขนสงสินคายังสามารถเช่ือมตอไปยังจีนตอนใตทางดานเหนือ และเวียดนามทางดานตะวันออกไดอีกดวย

Page 15: Road Transport

15

ที่มา: กรมการคาตางประเทศ

รูปที ่1 : โครงขายการขนสงสินคาทางบกที่เชื่อมตอกับพรมแดนประเทศเพื่อนบาน ประเทศไทยไดพัฒนากรอบความรวมมือทวิภาคกับประเทศเพื่อนบานเพื่อสรางเครือขายการขนสงเชื่อมโยงทางบก

ผานจุดผานแดนของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน ซึ่งการขนสงสินคาผานแดนนั้นจะทําการขนสงผานจุดผานแดนระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน แบงเปน จุดผานแดนถาวร จุดผานแดนชั่วคราวและจุดผอนปรน มีรายละเอียดดังนี้

• จุดผานแดนถาวร (Permanent Crossing Point/International Check Point) เปนจุดผานแดนที่รัฐบาลไทยและรัฐบาลของประเทศที่มีพรมแดนติดตอกัน ประกาศใหมีการสัญจรไป-มา ทั้งบุคคล ส่ิงของ และยานพาหนะ โดยทั่วไปแลว จุดผานแดนถาวรจะมีการดําเนินงานเรื่องพิธีการตรวจคนเขาเมือง และพิธีการศุลกากรตามกฎหมายของทั้งสองประเทศ เพื่อการคา การทองเที่ยว และอ่ืน ๆ ปจจุบันนี้ ไทยมีจุดผานแดนถาวรกับประเทศเพื่อนบานรวม 29 จุด ดังแสดงในตารางที ่1

Page 16: Road Transport

16

ตารางที ่1 : จุดผานแดนของไทยกับประเทศเพื่อนบาน

ประเทศไทย-ประเทศเมียนมาร มีจุดผานแดนถาวร 3 จุด

ฝงไทย ฝงเมียนมาร

(1) อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย เมืองทาขี้เหล็ก รัฐฉาน

(2) อําเภอแมสอด จังหวัดตาก เมืองเมียวด ีรัฐกะเหรี่ยง

(3) อําเภอเมือง จังหวัดระนอง เมืองเกาะสอง ภาคตะนาวศรี

ประเทศไทย-ประเทศลาว มีจุดผานแดนถาวร 13 จุด (รวมดานสากล 5 ดาน)

ฝงไทย ฝงลาว

(1) ดาน อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมืองตนผ้ึง แขวงบอแกว

(2) ดาน อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เมืองหวยทราย แขวงบอแกว (ดานสากล)

(3) ดานหวยโกน อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนาน

บ.น้ําเงิน เมืองเงิน แขวงไชยะบุลี

(4) ดานปากหวย อําเภอทาลี่ จังหวัดเลย เมืองแกนทาว แขวงไชยะบุลี

(5) ดานอําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เมืองสานะคาม แขวงเวียงจันทน

(6) ดานคกไผ อําเภอปากชม จังหวัดเลย บ.วัง เมืองสานะคาม แขวงเวียงจันทน

(7) ดานสะพานมิตรภาพไทย-ลาว จังหวัดหนองคาย

บ.ดงพูลี เมืองหาดทรายฟอง กําแพงนครเวียงจันทน

(8) ดานทาเสด็จ อําเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

ทาเดื่อ กําแพงนครเวียงจันทน

(9) ดานบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย เมืองปากชัน แขวงบอลิคําไซ (ดานสากล)

(10) ดานอําเภอเมือง จังหวัดนครพนม เมืองทาแขก แขวงคํามวน (ดานสากล)

(11) ดานอําเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร เมืองคันทะบุลี แขวงสะหวันนะเขต (ดานสากล)

(12) ดาน บ.ปากแซง กิ่งอําเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธาน ี

บ.ปากตะพาน เมืองละคอนเพ็ง แขวงสาละวัน

(13) ดานชองเม็ก อําเภอสิรินธร บ.วังเตา แขวงจําปาสัก (ดานสากล)

ประเทศไทย-ประเทศกัมพูชา มีจุดผานแดนถาวร 6 จุด

ฝงไทย ฝงกัมพูชา

(1) ดานชองสะงํา อําเภอภูสิงห จังหวัดศรี ชองสะงํา อําเภออัลลองเวง

Page 17: Road Transport

17

สะเกษ

(2) ดานชองจอม อําเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร

โอรเสม็ด

(3) ดาน บ.คลองลึก อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว

ปอยเปต จังหวัดบันเตียเมียนเจย

(4) ดาน บ.แหลม อําเภอโปงน้ํารอน จังหวัดจันทบุร ี

บ.ตวง จังหวัดพระตะบอง

(5) ดาน บ.ผักกาด อําเภอโปงน้ํารอน จังหวัดจันทบุร ี

เมืองพรม กรุงไพลิน จังหวัดพระตะบอง

(6) ดาน บ.หาดเล็ก อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด

จามเยียม จังหวัดเกาะกง

ประเทศไทย-ประเทศมาเลเชีย มีจุดผานแดนถาวร 7 จุด

ฝงไทย ฝงมาเลเซีย

(1) ดาน ตม.ตากใบ อําเภอตากใบ(ทาเรือ) จังหวัดนราธิวาส

ดานเปงกาลันกูโบ รัฐกลันตัน

(2) ดาน ตม.สุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส

ดานรฐัตูปนยัง รัฐกลันตัน

(3) ดาน ตม.เบตง อําเภอเบตง จังหวัดยะลา

ดานบูกิตบือราปด

(4) ดาน ตม.สะเดา อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

ดานบูกิตกายูฮิตัม รัฐเคดาห

(5) ดาน ตม.ปาดังเบซาร จังหวัดสงขลา ดานปาดังเบซาร รัฐเปอรลิส

(6) ดาน ตม.วังประจัน อําเภอควนโดน จังหวัดสตูล

ดานวังเกลียน รัฐเปอรลิส

(7) ดาน ตม.สตูล(ทาเรือ) อําเภอเมือง จังหวัดสตูล

ทาเรือกัวลาเปอรลิส รัฐเปอรลิส

หมายเหตุ: โดยปกติ บุคคลจากประเทศที่สาม (เชน นักทองเที่ยวตางชาติ) สามารถเดินทางเขา-ออกทางจุดผานแดนถาวรไดโดยใชหนังสือเดินทาง แตในกรณีจุดผานแดนถาวรไทย-ลาว ทางฝายลาวประกาศใหมีจุดผานแดนถาวรเพียง 5 แหงเทานั้น ที่อนุญาตใหบุคคลจากประเทศที่สามสามารถเดินทางเขา-ออกลาวไดจึงเรียกช่ือเพื่อใหแตกตางจากจุดผานแดนถาวร จุดอื่น ๆ วาเปน “ดานสากล” ที่มา: กระทรวงคมนาคม

Page 18: Road Transport

18

• จุดผานแดนชั่วคราว / จุดผอนปรน รวม 42 แหง โดยแยกเปน ไทย-พมา 11 แหง ไทย-ลาว 21 แหง และไทย-กัมพูชา 10 แหง โดยจุดผานแดนชั่วคราว (Temporary Crossing Point) เปนจุดผานแดนที่เปดเปนการเฉพาะกิจเพื่อเหตุฉุกเฉินจําเปนเฉพาะคราวเทานั้น ไมเก่ียวของกับเศรษฐกิจการคา และในบริเวณนั้นหรือบริเวณใกลเคียงไมมีจุดผานแดนประเภทอื่น หรือมีแตไมสามารถใชหรือไมเหมาะกับการใชดวยเหตุผลตาง ๆ และเมื่อครบกําหนดเวลาหรือบรรลุวัตถุประสงคแลวจะปดจุดผานแดนชั่วคราวทันท ีเชน การสงผูอพยพกลับประเทศ การสงสินคาชวยเหลือประชาชนของประเทศเพื่อนบานขององคกรระหวางประเทศ เปนตน สวนจุดผอนปรนหรือจุดผอนปรนการคา (Check Point for Border Trade) เปนจุดที่จังหวัดชายแดนผอนปรนใหมีการคาขายบริเวณชายแดนในพื้นที่ และประเภทสินคาที่กําหนดไวเปนกรณีพิเศษสําหรับสินคาเล็ก ๆ นอย ๆ ที่จําเปนตอการอุปโภคบริโภคของประชาชนทั้งสองประเทศ

เสนทางคมนาคมของไทยที่เช่ือมโยงไปยังจุดผานแดนกับประเทศเพื่อนบาน ทั้งจุดผานแดนถาวร จุดผานแดนชั่วคราวและจุดผอนปรน โดยทั่วไปแลวอยูในสภาพที่ด ีอาจจะมีบางสวนที่จะตองทําการปรับปรุงเพิ่มเติมบางเพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคตที่เกิดขึ้น เนื่องจากปจจุบันไทยไดใหความชวยเหลือประเทศเพื่อนบานในการพัฒนาเสนทางหลักหลายโครงการ ซึ่งเมื่อเสนทางในประเทศเพื่อนบานและของไทยไดมีการพัฒนาปรับปรุงใหดีข้ึนแลว จะเปนประโยชนตอการไปมาหาสูและสงเสริมการคาขายระหวางกันและกันตอไป

ศักยภาพการขนสงสินคาทางถนนในปจจุบัน ในปจจุบันการขนสงสินคาภายในประเทศประมาณรอยละ 88 โดยน้ําหนัก ใชการขนสงทางถนนสินคาที่ขนสงทาง

ถนนสวนใหญเปนสินคาที่ใชเปนวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมของประเทศ โดยเฉพาะเช้ือเพลิงและอุตสาหกรรมกอสราง นอกจากนี ้สินคาเกษตรที่ใชการขนสงทางถนนในปริมาณมาก ไดแก ออย และขาว สัดสวนประเภทสินคาที่ขนสงทางถนนภายในประเทศ ดังแสดงในรูปที่ 1 สําหรับเสนทางที่ใชขนสงสวนมากใชทางหลวงสายหลัก และเสนทางเขาสูประตูการคาทางทะเลที่สําคัญ เชน ทาเรือแหลมฉบัง เปนตน และสําหรับการติดขัดของการจราจรที่พิจารณาจากปริมาณจราจรตอความจุ พบวาทางหลวงสายหลักที่เช่ือมโยงการขนสงระหวางภูมิภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต กับกรุงเทพมหานคร และเสนทางที่ใช เขา-ออกทาเรือกรุงเทพ และทาเรือในจังหวัดชลบุรีและระยอง ไดแก ทาเรือแหลมฉบัง ทาเรือศรีราชาฮารเบอร ทาเรือมาบตาพุด เปนเสนทางที่มีการจราจรหนาแนน ดังแสดงในรูปที ่2

รูปที ่1 : สัดสวนประเภทสินคาที่ขนสงทางถนน ป พ.ศ. 2547

ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม

Page 19: Road Transport

19

รูปที ่2 : ปริมาณรถบรรทุกบนโครงขายทางหลวง ป พ.ศ. 2548

ที่มา : รายงานฉบับสมบูรณ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงเละจราจร

ผูประกอบการขนสงสินคาทางถนน

สถิติจํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสงรถบรรทุกระหวางปงบประมาณ พ.ศ. 2543-2547 พบวา จํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสงรถบรรทุกทุกประเภทมีแนวโนมเพิ่มขึน้โดยตลอด โดยเฉพาะใบอนุญาตประเภทรถบรรทุกระหวางประเทศ รายละเอียดมีแสดงในตารางที ่1 ดังนี้

ตารางที ่1 : จํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสงรถบรรทุก ปงบประมาณ พ.ศ. 2543-2547

ปงบประมาณ ประเภทใบอนุญาต

2543 2544 2545 2546 2547

รถบรรทุกไมประจําทาง 2,343 2,483 2,736 3,171 4,392

รถบรรทุกระหวางประเทศ 3 2 2 2 123

รถบรรทุกสวนบุคคล 266,071 260,416 264,398 278,869 297,485

ที่มา: ฝายสถิติ กลุมวิชาการและวางแผน สํานักจัดระบบขนสงทางบก กรมการขนสงทางบก

Page 20: Road Transport

20

สําหรับจํานวนรถบรรทุกในป พ.ศ. 2547 จําแนกตามประเภทรถบรรทุกของกรมขนสงทางบก ตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก มีแสดงในตารางที่ 2 และเมื่อพิจารณาสถิติจํานวนรถบรรทุกทั่วประเทศ พบวา ต้ังแตป พ.ศ. 2543 เปนตนมา มีอัตราการขยายตัวลดลง รายละเอียดมีดังในตารางที ่3

ตารางที ่2 : จํานวนรถบรรทุกจําแนกตามประเภทรถบรรทุก ในป พ.ศ. 2547

ประเภทรถบรรทุก ทั่วประเทศ สวนกลาง สวนภูมิภาค

รถ 10 ลอ (10 Wheel) 132,671 7,124 125,547

รถ 6 ลอ (6 Wheel) 115,704 15,058 100,646

รถ 4 ลอ (4 Wheel) 266,975 35,847 231,128

รถลากจูง (Truck Tractor) 33,565 11,379 22,186

รถพวง : (Trailer) 33,174 3,715 29,459

รถก่ึงพวง : (Semi-Trailer)

41,018 15,852 25,166

รถประเภทอ่ืน ๆ : (Others)

61,673 20,185 41,488

รวม 684,780 109,160 575,620

ที่มา: ฝายสถิติ กลุมวิชาการและวางแผน สํานักจัดระบบขนสงทางบก กรมการขนสงทางบก ตารางที ่3 : สถิติจํานวนรถบรรทุกทั่วประเทศและอัตราการขยายตัว ป พ.ศ. 2543-2547

ป พ.ศ. จํานวนรถบรรทุกทั่วประเทศ (คัน) อัตราการขยายตัว (รอยละ)

2547 684,780 1.05

2546 677,657 -1.72

2545 689,512 2.36

2544 673,599 3.23

2543 652,526 -

ที่มา: ประมวลผลโดยใชขอมูลจากฝายสถิติ กลุมวิชาการและวางแผน สํานักจัดระบบขนสงทางบก กรมการขนสงทางบก

สภาพปญหาและอุปสรรค ปญหาการขนสงสินคาทางถนนในประเทศไทย ไดแก ปญหาการจราจรติดขัด นอกจากนี้ รถบรรทุกสินคายังเคลื่อนที่ได

ชา เพราะถนนในเขตเมืองมักมีลักษณะทางกายภาพที่ไมเหมาะสมกับการขนสงสินคาโดยรถบรรทุก เชน ความกวางของชองจราจรที่แคบเกินไป ลักษณะทางเรขาคณิตบริเวณทางแยกไมเหมาะสม ปายสัญญาณตาง ๆ มีตําแหนงไมเหมาะสม เปนตน

Page 21: Road Transport

21

นอกจากนั้น ปญหาที่จอดรถและการขนถายสินคาจะทําใหรบกวนการจราจรของรถยนตประเภทอ่ืนและคนเดินเทา สงผลใหเกิดความลาชาข้ึนกับโครงขายถนน สวนปญหาที่มักจะถูกมองขามและละเลยก็คือ ปญหามลภาวะทางเสียง ความส่ันสะเทือน มลภาวะทางอากาศ และที่สําคัญคือ ปญหาวิกฤตการณน้ํามันที่เปนตนทุนสําคัญของผูประกอบการเดินรถบรรทุก นอกจากนี ้ในการขนสงสินคาทางถนนยังมีปญหาและอุปสรรคที่สําคัญ ดังนี ้

1. การขนสงสินคาทางถนนระหวางประเทศ โดยปกติแลวการขนสงขามประเทศทางถนนระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน เชน เสนทาง ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร หรือ เสนทาง ไทย-ลาว-จีน โดยรถบรรทุกคันเดียวจะไมสามารถกระทําได เมื่อถึงดานพรหมแดนระหวางประเทศจะตองขนถายสินคาไปข้ึนรถบรรทุกของประเทศนั้นตอไป ซึ่งหมายถึงตองเสียเวลาและคาใชจายในการขนถายหลายรอบ อาจจะสงผลใหสินคาบอบช้ําและเสียหายมากข้ึน อยางไรก็ตามการขนสงสินคาประเภทเนาเสียงายจากประเทศไทยผานประเทศมาเลเซียไปยังประเทศสิงคโปร มีรถบรรทุกที่ไดรับอนุญาตใหวิ่งผานแดนไดเพียง 2-3 บริษัทเทานั้น โดยมีขอจํากัดทั้ง ประเภท ปริมาณสินคาและจํานวนรถที่ขนสงดวย

2. ปญหารถบรรทุกสิบลอน้ําหนักเกินพิกัดตามกฎหมาย ในสภาพความเปนจริง ถนนแตละสายมีปริมาณการจราจรไมเทากัน มีสัดสวนของรถบรรทุกประเภทตาง ๆ ไมเหมือนกัน และในแตละประเภทก็มีสัดสวนจํานวนรถบรรทุกเกินพิกัดกฎหมายแตกตางกัน ถนนที่มีปริมาณการจราจรสูงและมีสัดสวนจํานวนรถบรรทุกน้ําหนักเกินพิกัดมากจะมีอายุการใชงานสั้น สวนถนนที่มีปริมาณการจราจรเบาบางแมจะมีรถบรรทุกน้ําหนกัเกินวิ่งอยูบางก็ไมทําใหถนนเสื่อมสภาพเร็วเพราะมีจํานวนเที่ยววิ่งนอยจึงทําใหมีความเสียหายสะสมนอย ถนนสวนใหญของประเทศไทยจัดอยูในประเภทหลังมีเพียงสวนนอยที่มีปญหาการเส่ือมสภาพเร็วกวากําหนดเนื่องจากรถบรรทุกน้ําหนักเกิน แตถึงแมจะเปนเชนนี้งบประมาณในการบํารุงรักษาและซอมแซมถนนทั่วทั้งประเทศก็สูงกวา 20,000 ลานบาทตอป

3. รถบรรทุก 10 ลอ ที่ใชจากทางดวนทุกขั้นในทิศทางขาออกจากกรุงเทพมหานครในเวลา 15.00 น. จะไมสามารถเขาใชถนนวงแหวนตะวันตกและถนนสุขสวัสดิ์ – พระราม 2 ไดเนื่องจากติดเวลาที่อนุญาตใหเดินรถไดที่เวลา 16.00 น.

4. การบังคับใชกฎหมายใหผูประกอบการขนสงตองปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ อยางเครงครัด ยังไมมีผลเทาที่ควร เชน การบรรทุกน้ําหนักเกิน การใชรถเกาที่ไมผานการตรวจสภาพ การใชยางรถระบบขับเคล่ือนและการหามลอตางไปจากขอกําหนดรถ การขับรถมากชั่วโมงเกินกวาสมรรถนะของรางกาย ฯลฯ เปนอุปสรรคสําคัญของการพัฒนาและขยายธุรกิจการขนสง สรางผลเสียใหกับเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม ทั้งอายุการใชงานที่ส้ันลงของถนนและสะพาน ความเสียหายตอสินคาขณะขนสงเพราะสภาพถนนไมด ีการสิ้นเปลืองพลังงาน มลพิษในอากาศทั้งควัน ฝุน เสียง และอุบัติเหตุ เปนตน

แผนงานดานการขนสงสินคาทางถนนในอนาคต กรมทางหลวงเปนหนวยงานหลักในการพัฒนาและปรับปรุงโครงขายถนนของประเทศ เพื่อรองรับการเดินทางทั้งคน

และสินคาระหวางเมืองหรือภูมิภาคตาง ๆ เพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการคมนาคมขนสง ตลอดจนรองรับความเจริญเติบโตตามแผนพัฒนาตาง ๆ ซึ่งหนาที่หลัก ไดแก การดําเนินการกอสรางถนนสายใหม สะพานและทางแยกตางระดับ การกอสรางบูรณะและการบํารุงรักษาทางหลวงทั่วประเทศ แผนพัฒนาที่เก่ียวของ ไดแก

โครงการกอสรางทางหลวงพิเศษระหวางเมือง ( Inter – City Motorway ) ระบบทางหลวงพิเศษระหวางเมือง (Inter-City Motorway) เปนทางหลวงที่มีมาตรฐานสูงและมีการควบคุมการเขา

ออกอยางสมบูรณ มีการเชื่อมโยงโครงขายอยางมีระบบ ชวยกระจายการพัฒนาไปสูภูมิภาค สามารถแกปญหาการจราจรไดใน

Page 22: Road Transport

22

ระยะยาว ตลอดจนชวยลดเวลาและคาใชจายในการเดินทางไดมาก ในปจจุบันกรมทางหลวงไดเปดใหบริการทางหลวงพิเศษระหวางเมือง 2 สายทาง ไดแก ทางหลวงหมายเลข 7 กรุงเทพ-ชลบุรี ระยะทาง 82 กม. และทางหลวงหมายเลข 9 สายวงแหวนรอบนอกกรุงเทพฯ ดานตะวันออกระยะทาง 64 กม. นอกจากนี ้กรมทางหลวงมีแผนงานพัฒนาทางหลวงพิเศษระหวางเมือง ชวงป พ.ศ. 2549-2554 รายละเอียดดังแสดงในตารางที ่1 และรูปที่ 1 แสดงแนวโครงการทางหลวงพิเศษระหวางเมืองในอนาคต

ตารางที ่1 : แผนงานพัฒนาทางหลวงพิเศษ ชวงป พ.ศ. 2549-2554

หมายเหตุ : EIRR : Economic Rate of Return (ผลตอบแทนความคุมคาในการลงทุนทางเศรษฐกิจของโครงการ)

NA.: อยูระหวางการศึกษาวิเคราะห ที่มา: กรมทางหลวง

Page 23: Road Transport

23

รูปที ่1 : โครงการทางหลวงพิเศษระหวางเมือง

Page 24: Road Transport

24

โครงการกอสรางทางพิเศษในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในปจจุบันการทางพิเศษแหงประเทศไทยมีโครงการพัฒนาทางพิเศษเพื่อเพิ่มโครงขายทางพิเศษ รองรับปรมิาณจราจร

ที่เพิ่มข้ึน และแบงเบาปริมาณจราจรจากถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งรองรับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะโครงการพัฒนาสนามบินสุวรรณภูม ิซึ่งมีโครงการทั้งหมด 11 โครงการ ประกอบดวย โครงการที่อยูระหวางดําเนินการกอสราง 3 โครงการ โครงการรับโอนทางจากกรมทางหลวง 3 โครงการ และโครงการที่ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีฯ 5 โครงการ ดังแสดงในรูปที่ 2

โครงการกอสรางถนนวงแหวนอุตสาหกรรม (Industrial Ring Road Project) ในปจจุบันกรมทางหลวงชนบทดําเนินการกอสรางถนนวงแหวนอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือ การเชื่อมตอ

พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมพระประแดง นิคมอุตสาหกรรมปูเจาสมิงพราย และทาเรือกรุงเทพ อันเปนผลให • สามารถขนสงสินคาทางถนนระหวางนิคมอุตสาหกรรมทั้ง 2 แหง กับทาเรือได โดยไมตองผานเขาเมือง • เชื่อมตอนิคมอุตสาหกรรมบริเวณตอนใตของกรุงเทพและทาเรือกรุงเทพ กับเสนทางขนสงหลักภายในประเทศ • เชื่อมตอเสนทางคมนาคมระหวางถนนปูเจาสมิงพราย ถนนสุขสวัสดิ์และถนนพระราม 3 โดยไมตองใชเรือเฟอรรี่

ในการขนสงรถขามแมน้ําเจาพระยา

โครงการกอสรางทางสายหลักเปน 4 ชองจราจร ( Four – Lane Highway Widening Project ) โครงการนี้มีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุงทางหลวงสายหลักที่เช่ือมตอระหวางกรุงเทพมหานครและเมืองสําคัญในภูมิภาค

เพื่อใหการขนสงทางถนนมีความสะดวกมากขึ้น โดย Phase I ครอบคลุมทางหลวงที่จะตองปรับปรุงเปน 4 ชองจราจร เปนระยะทางทั้งสิ้น 1,891 กิโลเมตร คิดเปนคากอสรางรวม 45,900 ลานบาท โดยไดดําเนินการกอสรางเรียบรอยแลว และ Phase II ดําเนินการกอสรางแลวเสร็จประมาณรอยละ 50 สวนที่เหลือในขณะนี้อยูระหวางดําเนินงานและคาดวาจะแลวเสร็จในป พ.ศ. 2554 รายละเอียด ดังแสดงในตารางที ่2 และรูปที ่3

Page 25: Road Transport

25

รูปที่ 2 : โครงการพัฒนาโครงขายทางพิเศษและทางหลวงชนบทที่สําคัญ ในกรุงเทพมหานคร

ที่มา : การทางพิเศษแหงประเทศไทย , กรมทางหลวงชนบท ตารางที่ 2 : แผนพัฒนาทางหลวง พ.ศ. 2549-2554 โครงการกอสรางทางสายหลักใหเปน 4 ชองจราจร (ระยะที ่2)

ที่มา: กรมทางหลวง

Page 26: Road Transport

26

รูปที ่3 : โครงการกอสรางทางสายหลกัใหเปน 4 ชองจราจร (ระยะที ่2)

Page 27: Road Transport

27

โครงการกอสรางทางเชื่อมตอกับประเทศเพื่อนบาน จากนโยบายของรัฐบาลที่ตองการสรางเครือขายคมนาคมขนสงเช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อเปนศูนยกลางการ

คมนาคมทางบกในภูมิภาค เปนผลใหกระทรวงคมนาคม โดยกรมทางหลวงจัดทําแผนการพฒันาเสนทางหลักของประเทศเช่ือมตอทางหลวงของประเทศเพื่อนบาน และจัดทําความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในการพัฒนาเสนทางคมนาคมเช่ือมโยงระหวางกัน อันไดแก

• การพัฒนาเสนทางหลวงเชื่อมโยงระหวางประเทศภายใตกรอบความรวมมืออนุภาค ลุมแมน้ําโขง (GMS Cooperation)

• การพัฒนาถนนเช่ือมโยงตามกรอบความรวมมือสามเหลี่ยมเศรษฐกิจระหวางอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT)

การพัฒนาทางหลวงอาเซียน (ASEAN highway network) โครงการกอสรางและพัฒนาเสนทางถนนเช่ือมตอประเทศเพื่อนบานภายใตความรวมมือดังกลาวมีทั้งหมด 11 โครงการ

แบงเปน โครงการภายใตความรวมมือระหวางไทยกับลาว 5 โครงการ โครงการภายใตความรวมมือระหวางไทยกับกัมพูชา 2 โครงการ โครงการภายใตความรวมมือระหวางไทยกับพมา 3 โครงการและโครงการภายใตความรวมมือระหวางไทยกับมาเลเซีย 1 โครงการ ดังแสดงในรูปที ่4

นอกจากนี้ ยังมีการทางพิเศษแหงประเทศไทยซึ่งเปนหนวยงานที่มีหนาที่หลัก อันไดแก ดําเนินการกอสราง ใหบริการและบํารุงรักษาทางพิเศษ จัดดําเนินการหรือควบคุมธุรกิจเกี่ยวกับระบบการขนสงมวลชน ตลอดจนดําเนินงานตาง ๆ ที่เก่ียวกับทางพิเศษเพื่ออํานวยความสะดวกและความรวดเร็วในการจราจรและการขนสงเปนพิเศษ ชวยขจัดปญหาและอุปสรรคในสวนที่เกี่ยวกับเสนทางคมนาคม โดยเฉพาะอยางย่ิงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

Page 28: Road Transport

28

ที่มา : รายงานฉบับสมบูรณสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร