introduction to anatomy an231

13
1 Introduction to Anatomy รศ.ดร.วนิดา ไตรพาณิชยกุล กายวิภาคศาสตร (Anatomy) เปนการศึกษาเกี่ยวกับโครงสรางของรางกาย แบงออกเปน 4 แขนง มหกายวิภาคศาสตร (Gross Anatomy) ศึกษาโครงสรางตาง ของรางกายที่สามารถเห็นไดดวยตาเปลา คัพภวิทยา (Embryology) ศึกษาเกี่ยวกับการเติบโตและพัฒนาการของตัวออนของมนุษย จุลกายวิภาคศาสตร -(Microscopic-Anatomy)--ศึกษาโครงสรางของเนื้อเยื่อและอวัยวะตาง--ของราง กายดวยกลอง จุลทรรศน ประสาทกายวิภาคศาสตร (Neuroanatomy) ศึกษากายวิภาคศาสตรของสมองและไขสันหลัง Anatomical Position (รูปที1) เปนทาของรางกายซึ่งยืนตัวตรง แขนทั้งสองขางชิดลําตัว ฝามือ (palm) หงายมาทางดานหนา ตามองตรงขนานกับพื้น และเทาชิดกัน ระนาบทางกายวิภาคศาสตร (Anatomical Plane) (รูปที1 และ 2) เปนระนาบสมมุติที่ผานรางกายในทา-anatomical-position ประกอบดวย :ซซ - Median Plane เปนระนาบในแนวตั้ง แบงรางกายออกเปนซีกขวาและซีกซายเทา กัน Sagittal Plane ขนานกับ median plane Coronal Plane ตั้งฉากกับ median plane แบงรางกายออกเปนซีกหนาและซีกหลัง Transverse-Plane-(Horizontal-Plane) เปนระนาบในแนวนอน แบงรางกายออกเปนสวนบนและสวนลาง คําศัพทเกี่ยวกับตําแหนง (Position) ของสวนตางๆ ของรางกาย-(รูปที1)- คําศัพทที่ใชในการกลาวถึงความสัมพันธของตําแหนงของสวนตาง ของรางกาย เมื่อรางกายอยูใน anatomical position ไดแก Superior (Cranial): ตําแหนงของสวนของรางกายซึ่งอยูเหนือ-หรืออยูใกลศีรษะ Inferior (Caudal):- ตําแหนงของสวนของรางกายซึ่งอยูต่ํา-หรืออยูใกลกับปลายเทา--- Anterior:--ตําแหนงของสวนของรางกายซึ่งอยูใกลมาทางดานหนาของรางกาย-- Posterior: ตําแหนงของสวนของรางกาย ซึ่งอยูใกลมาทางดานหลังของรางกาย- Median: ตําแหนงของโครงสรางของรางกายที่อยูใน median plane Medial: อยูใกลกับ median plane Lateral: อยูหางจาก median plane Superficial: อยูตื้นหรืออยูใกลกับผิวหนัง Deep: อยูลึกหรืออยูไกลจากผิวหนัง Internal: อยูทางดานในหรืออยูใกลแกนกลาง (central axis) ของรางกาย External: อยูทางดานนอกหรืออยูไกลแกนกลางของรางกาย Proximal: อยูใกลกับลําตัวหรือจุดอางอิง--

Upload: -

Post on 04-Apr-2015

139 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

Page 1: Introduction to Anatomy An231

1

Introduction to Anatomy รศ.ดร.วนิดา ไตรพาณิชยกุล

กายวิภาคศาสตร (Anatomy) เปนการศึกษาเกี่ยวกับโครงสรางของรางกาย แบงออกเปน 4 แขนง

• มหกายวิภาคศาสตร (Gross Anatomy) ศึกษาโครงสรางตาง ๆ ของรางกายที่สามารถเห็นไดดวยตาเปลา

• คัพภวิทยา (Embryology) ศึกษาเกี่ยวกับการเติบโตและพัฒนาการของตัวออนของมนุษย

• จุลกายวิภาคศาสตร-(Microscopic-Anatomy)--ศึกษาโครงสรางของเนื้อเยื่อและอวัยวะตาง-ๆ-ของราง กายดวยกลอง

จุลทรรศน

• ประสาทกายวิภาคศาสตร (Neuroanatomy) ศึกษากายวิภาคศาสตรของสมองและไขสันหลัง

Anatomical Position (รูปที่1) เปนทาของรางกายซึ่งยืนตัวตรง แขนทั้งสองขางชิดลําตัว ฝามือ (palm) หงายมาทางดานหนา ตามองตรงขนานกับพื้น

และเทาชิดกัน

ระนาบทางกายวิภาคศาสตร (Anatomical Plane) (รูปที่ 1 และ 2) เปนระนาบสมมุติที่ผานรางกายในทา-anatomical-position ประกอบดวย :ซซ -

• Median Plane เปนระนาบในแนวตั้ง แบงรางกายออกเปนซีกขวาและซีกซายเทา ๆ กัน

• Sagittal Plane ขนานกับ median plane

• Coronal Plane ตั้งฉากกับ median plane แบงรางกายออกเปนซีกหนาและซีกหลัง

• Transverse-Plane-(Horizontal-Plane) เปนระนาบในแนวนอน แบงรางกายออกเปนสวนบนและสวนลาง

คําศัพทเกี่ยวกับตําแหนง (Position) ของสวนตางๆ ของรางกาย-(รูปที่1)- คําศัพทที่ใชในการกลาวถึงความสัมพันธของตําแหนงของสวนตาง ๆ ของรางกาย เมื่อรางกายอยูใน anatomical position

ไดแก

• Superior (Cranial): ตําแหนงของสวนของรางกายซึ่งอยูเหนือ-หรืออยูใกลศีรษะ

• Inferior (Caudal):- ตําแหนงของสวนของรางกายซึ่งอยูต่ํา-หรืออยูใกลกับปลายเทา---

• Anterior:--ตําแหนงของสวนของรางกายซึ่งอยูใกลมาทางดานหนาของรางกาย--

• Posterior: ตําแหนงของสวนของรางกาย ซึ่งอยูใกลมาทางดานหลังของรางกาย-

• Median: ตําแหนงของโครงสรางของรางกายที่อยูใน median plane

• Medial: อยูใกลกับ median plane

• Lateral: อยูหางจาก median plane

• Superficial: อยูตื้นหรืออยูใกลกับผิวหนัง

• Deep: อยูลึกหรืออยูไกลจากผิวหนัง

• Internal: อยูทางดานในหรืออยูใกลแกนกลาง (central axis) ของรางกาย

• External: อยูทางดานนอกหรืออยูไกลแกนกลางของรางกาย

• Proximal: อยูใกลกับลําตัวหรือจุดอางอิง--

Page 2: Introduction to Anatomy An231

2

• Distal: อยูไกลจากลําตัวหรือจุดอางอิง

• Middle: ตําแหนงที่อยูกึ่งกลางระหวาง superior กับ inferior หรือระหวาง anterior กับ posterior

• Intermediate: ตําแหนงที่อยูระหวาง 2 โครงสราง โดยโครงสรางหนึ่งอยูทางดาน medial และอีกโครงสรางหนึ่งอยู

ทางดาน lateral

• Ipsilateral: อยูดานเดียวกัน เชนแขนซายและขาซายเปน-ipsilateral ตอกัน

• contralateral:---อยูดานตรงขามกัน---เชนกลามเนื้อ-left-biceps-femoris-และกลามเนื้อ-right-coracobrachialis-

เปน-contralateral-ตอกัน

• supine: ลําตัวในทานอนหงาย

• prone: ลําตัวในทานอนคว่ํา

• คํ าศัพทที่ นํ ามารวมกัน -(Combined-Term)--เช น -inferomedial-(=inferior+medial)--ตั วอย า ง เช น -สะดื ออยู -

inferomedial-ตอหนาอก (breast)

รูปที่ 1 ภาพวาดแสดงรางกายใน anatomical position (Rogers 1992)

รูปที่ 2 ภาพวาดแสดงระนาบทางกายวิภาคศาสตร (Moore and Agur, 2007)

Page 3: Introduction to Anatomy An231

3

Section ของรางกาย (รูปที่ 3) การศึกษาโครงสรางภายในรางกายหลายชนิด สวนของ

รางกายจะถูกตัดในระนาบตาง ๆ กัน ระนาบของการ

ตัดมีหลายแบบคือ

• Longitudinal Section เปนการตัดตามแกนยาว-

(long-axis)-ของรางกาย หรือตามแกนยาวของรางกาย

สวนนั้น ๆ โดยอาจตัดใน median, sagittal หรือ

coronal plane

• Transverse Section เปนการตัดในแนวตั้งฉาก

กับแกนยาวของรางกาย หรือตั้งฉากกับแกนยาวของ

รางกายสวนนั้น ๆ

• Oblique Section เปนการตัดที่ไมอยูในระนาบ

ทางกายวิภาคศาสตรใด ๆ เลย คอืตัดในแนวเฉียง ๆ

คําศัพทเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (Term of Movement) (รูปที่ 4, 5) • Flexion การงอหรือพับของสวนของรางกาย-ทําใหมุมแคบลง-เปนการเคลื่อนไหวใน-sagittal-plane

• Extension การเหยียดหรือกางออกของสวนของรางกาย ทําใหมุมกวางขึ้น เปนการเคลื่อนไหวใน sagittal plane

• Abduction การเคลื่อนไหวออกจาก median plane เปนการเคลื่อนไหวใน coronal plane

• Adduction การเคลื่อนไหวเขาหา median plane เปนการเคลื่อนไหวใน coronal plane

• Rotation การหมุนสวนใดสวนหนึ่งของรางกายรอบแกนยาวของรางกายสวนนั้น แบงออกเปน-medial-rotation และ-

lateral-rotation medial-rotation-เปนการเคลื่อนไหวที่ทําให-anterior-surface-ของสวนที่เคลื่อนไหวหันเขามาทางดานใน-

(medial) lateral-rotation-เปนการเคลื่อนไหวที่ทําให-anterior-surface-ของสวนที่เคลื่อนไหวหันมาทางดานนอก-(lateral)

• Circumduction การเคลื่อนไหวเปนวงกลมของระยางค หรือบางสวนของระยางค---ประกอบดวยการเคลื่อนไหวที่

เกิดขึ้นเปนลําดับคือ-flexion,-extension,-abduction-และ-adduction----ทําใหปลายของสวนที่เคลื่อนไหวเคลื่อนตัวเปนวงกลม

• Supination เปน lateral rotation ของปลายแขนและขอมือ (wrist joint) ใหมืออยูในทาหงาย

• Pronation เปน medial rotation ของปลายแขนและขอมือใหมืออยูในทาคว่ํา

• Protraction การเคลื่อนไหวไปทางขางหนา ใชในการกลาวถึงการเคลื่อนไหวไปทางดานหนาของ-temporoman-

dibular joint

• Retraction การเคลื่อนไหวไปทางขางหลัง ใชในการกลาวถึงการเคลื่อนไหวไปทางดานหลังของ-temporoman-dibular

joint

• Elevation การยกหรือการเคลื่อนไหวสวนของรางกายไปทางดานบน

• Depression การยกหรือการเคลื่อนไหวสวนของรางกายไปทางดานลาง

รูปที่ 3 ภาพวาดแสดง oblique section และ

transverse section ของขาและแขน (Moore,1992)

Page 4: Introduction to Anatomy An231

4

โครงสรางตาง ๆ ของรางกาย

พังผืดสวนต้ืน (Superficial Fascia, Subcutaneous Tissue) (รูปที่-6) เปนชั้นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน-(connective-tissue)-ที่มีเนื้อเยื่อไขมัน-(adipose-tissue)-อยูดวย อยูใตผิวหนัง--พบหลอดเลือด-หลอด

น้ําเหลืองและเสนประสาทที่เล้ียงผิวหนัง-(cutaneous-nerve)-อยูในพังผืดสวนตื้น

พังผืดสวนลกึ (Deep Fascia) เปนชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ไมมีชั้นไขมันอยู อยูใตชั้นพังผืดสวนตื้น เห็นเปนแผนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันขาว-ๆ---เปนปลอกหุม

รอบกลามเนื้อและโครงสรางตาง-ๆ-ที่อยูในสวนลึก

รูปที่ 4 ภาพวาดแสดงการเคลื่อนไหวแบบตาง ๆ (Moore and Agur, 2007)

Page 5: Introduction to Anatomy An231

5

รูปที่ 5 ภาพวาดแสดงการเคลื่อนไหวแบบตาง ๆ (Moore and Agur, 2007)

รูปที่ 6 ภาพวาด transverse section ของปลายแขนขางขวา แสดงการจัดตัวของ

ช้ันพังผืดสวนตื้นและสวนลีก สังเกต fibrous septa ที่ยื่นจากชั้นพังผืดสวนลึกมา

แทรกอยูระหวางกลุมของกลาม เนื้อ และแบงภายในของปลายแขนออกเปนสวน ๆ

(compartment) (Snell, 1995)

รูปที่ 7 ภาพวาดแสดง extensor retinaculum ที่ดาน

posterior ของขอมือ ซ่ึงชวยยึดเอ็นขางใตใหอยูกับที ่

(Snell, 1995)

Page 6: Introduction to Anatomy An231

6

กระดูก (Bone) เปนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่แข็งเพราะมีแคลเซี่ยมมาจับ แบงออกเปน-2

ช นิ ด คื อ -compact-bone-แ ล ะ -spongy-(trabecular,-cancellous)

bone กระดูกทุกชิ้นในรางกายมี-compact-bone-อยูขอบนอกซึ่งจะ

โอบรอบ spongy-bone-อยูตรงกลาง---และโอบรอบโพรงไขกระดูก-

(marrow cavity)-ในบริเวณที่-spongy-bone-ถูกแทนที่โดยโพรงไข

กระดูก-(รูปที่ 8)

ชนิดของกระดูก แบงกระดูกออกเปนชนิดตาง ๆ ตามรูปรางของกระดูก ดังนี้

• Long-Bone เปนกระดูกที่มีความยาวมากกวาความกวาง---พบ

ที่ระยางค--(รูปที่-9)

• Short-Bone----เปนกระดูกรูปส่ีเหลี่ยมลูกบาศก-----พบที่มือ และ

เทา (รูปที่-9)

• Flat-Bone----เปนกระดูกแบน-ๆ----พบที่กะโหลกศีรษะ (รูปที่ 9)

• Irregular-Bone----เปนกระดูกที่มีรูปรางนอกเหนือไปจาก long,-

short-และ-flat-bone ไดแกกระดูกสันหลัง-(vertebrae)-และกระดูก

ตะโพก (hip bone) (รูปที่ 9)

• Sesamoid-Bone----เปนกระดูกชิ้นเล็ก -ๆ ----พบในเอ็น - ไดแก

กระดูกสะบา-(patella) ซึ่งอยูในเอ็นของกลามเนื้อ-quardriceps-

femoris-(รูปที่-9)

รอยบนกระดูก (Surface Marking of Bone) พื้นผิวของกระดูกมีรองรอยจํานวนมาก พบรองรอยเหลานี้บริเวณที่มีเอ็น,-ligament-และพังผืดมาเกาะ บริเวณที่หลอด

เลือดวางตัวใกลกับกระดูกหรือแทงผานเขาสูกระดูก---และบริเวณที่เอ็นพาดผาน รอยบนกระดูกมีดังนี้

• รอยนูนที่เปนเสน (Linear Elevation) ไดแก

- Line เชน-superior-nuchal-line-ของกระดูก-occipital

- Ridge เชน-medial-supracondylar-ridge-ของกระดูกตนแขน

- Crest เชน iliac crest ของกระดูก ilium

• รอยนูนกลม ๆ (Rounded Elevation) ไดแก - Tubercle เชน pubic tubercle ของกระดูก pubis

- Protuberance เชน external occipital protuberance

- Tuberosity เชน greater tuberosity ของกระดูกตนแขน

- Malleolus เชน medial malleolus ของกระดูกหนาแขง (tibia)

- Trochanter เชน greater trochanter ของกระดูกโคนขา

• รอยนูนที่แหลม (Sharp Elevation) ไดแก

- Spine หรือ Spinous Process เชน ischial spine ของกระดูก ischium

รูปที่ 8 ภาพวาด transverse section ของกระดูกโคนขา

(femur) ที่ระดับตาง ๆ แสดง compact bone, spongy

bone และโพรงไขกระดูก (marrow cavity หรือ medullary

cavity) (Moore and Agur, 2007)

Page 7: Introduction to Anatomy An231

7

- Styloid Process เชน styloid process ของกระดูก temporal

• สวนปลายที่ขยายออกสําหรับจัดตัวเปนขอ (Expanded End for Articulation) ไดแก - Head เชน head ของกระดูกตนแขน

- Condyle เชน medial condyle ของกระดูกโคนขา

- Epicondyle เชน lateral epicondyle ของกระดูกโคนขา

• บริเวณเรียบแบนสําหรับจัดตัวเปนขอ (Small Flat Area for Articulation) ไดแก - Facet เชน facet บน head ของกระดูกซี่โครง (rib) ซึ่งจะฟอรมขอตอกับ body ของกระดูกสันหลัง

• รอยกด (Depression) ไดแก - Notch เชน greater sciatic notch ของกระดูกตะโพก

- Groove หรือ Sulcus เชน bicipital groove ของกระดูกตนแขน

- Fossa เชน olecranon fossa ของกระดูกตนแขน

• รูเปด (Foramen) ไดแก

- Fissure เชน superior orbital fissure

- Foramen เชน infraorbital foramen ของกระดูก maxilla

- Meatus เชน external acoustic meatus ของกระดูก temporal

รูปที่ 9 ภาพวาด section ของ long bone (A), irregular

bone (B), flat bone (C) และกระดูกสะบา (patella) ที่หัว

เขาซ่ึงเปน sesamoid bone (Snell, 1995)

Page 8: Introduction to Anatomy An231

8

กระดูกออน (Cartilage) เปนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันขนิดหนึ่ง แบงออกเปน 3 ชนิดคือ hyaline cartilage, fibrocartilage และ elastic cartilage

ขอ (Joint) เปนตําแหนงที่กระดูกตั้งแต 2 ชิ้นขึ้นไปมาจรดกัน มีความหลากหลายในแงรูปรางและหนาที่ ขออาจมีหรือไมมีการเคลื่อน

ไหวก็ได

ชนิดของขอ (รูปที่10)

แบงขอออกเปน-3-ชนิดตามชนิดของเนื้อเยื่อที่ยึดกระดูกไวดวยกัน ไดแก-fibrous-joint,-cartilaginous-joint-และ-synovial

joint

รูปที่ 10 ภาพวาดแสดงตัวอยางของ fibrous joint (A), cartilaginous joint (B) และ synovial joint (C) (Snell, 1995)

Page 9: Introduction to Anatomy An231

9

• Fibrous-Joint----มี-fibrous-tissue-ยึดกระดูกไวดวยกัน---การเคลื่อนไหวของขอขึ้นอยูกับความยาวของ-collagen-fiber-

ใน-fibrous-tissue ไดแก-suture-ของกระโหลกศีรษะ

• Cartilaginous-Joint---มี-hyaline-cartilage-หรือ-fibrocartilage-ยึดกระดูกไวดวยกัน- แบงออกเปน-2-ชนิดคือ-

- Primary-Cartilaginous-Joint มี-hyaline-cartilage-ยึดกระดูกไว ขอชนิดนี้เอื้อใหกระดูกเจริญเติบโตในทางยาวขึ้น

เรื่อย-ๆ-จนกวา-epiphyseal-plate-จะกลายเปนกระดูก และ-epiphysis เชื่อมตอกับ-diaphysis-ของกระดูก

- Secondary-Cartilaginous-Joint มี-fibrocartilage-ยึดกระดูกไว มีความแข็งแรง และเคลื่อนไหวไดเล็กนอย---ไดแก-

symphysis-pubis-บริเวณหัวหนาว-และขอระหวาง body ของกระดูกสันหลัง

• Synovial-Joint---เปนขอชนิดที่พบมากที่สุด--สวนปลายของกระดูกที่มาจรดกันถูกปกคลุมดวยชั้นบาง-ๆ-ของกระดูกออน

ชนิด-hyaline-cartilage มีชองวางเรียก-joint-cavity-อยูระหวางกระดูกออนนี้ ใน-joint-cavity-มีของเหลวใสหนืดเรียกวา

น้ําหลอเล้ียงขอ-(synovial-fluid)-อยูในปริมาณเล็กนอย ทําหนาที่หลอล่ืนผิวของกระดูกออนที่ปกคลุมสวนปลายกระดูก

joint-cavity-ถูกบุดวย-synovial-membrane-ซึ่งทําหนาที่สรางน้ําหลอเล้ียงขอมี-capsule-ซึ่งเปน-fibrous-membraneที่แข็งแรง

หุมรอบ-joint-cavity-ไว-(รูปที่10) ใน-synovial-joint-บางแหงเชนขอตะโพก-(hip-joint)-และขอเขา-(knee-joint)-จะพบแผน

ไขมัน (fatty-pad)-อยูระหวาง-synovial-membrane-และ-casule-ของขอตอหรือกระดูก

การเคลื่อนไหวของ-synovial-joint-ถูกจํากัดโดยรูปรางของกระดูกที่มาฟอรมเปนขอ---และ-ligament-ตาง-ๆ-ที่ยึดกระดูก

ไวดวยกัน----ligament-เหลานี้อยูนอก-capsule-ของขอ--------

Ligament เปนแผนหรือแทงของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ยึดระหวางกระดูกกับกระดูก แบงออกเปน 2 ชนิด ชนิดที่พบไดเปนสวนใหญ

ประกอบดวยมัดของ collagen fiber ไมยืดตัวในภาวะปกติ ligament ชนิดที่สองมีองคประกอบสวนใหญเปน elastic

tissue จึงสามารถยืดออกได และคืนตัวไดดังเดิมหลังยืดออก ตัวอยางของ ligament ชนิดนี้ไดแก ligamentum flavum ของ

ลํากระดูกสันหลัง (vertebral column)

Bursa (รูปที่12)

ทําหนาที่หลอล่ืน มีลักษณะเปนถุงปด (closed fibrous

sac) บุดวยเยื่อที่บอบบาง ผนังถุงแยกออกจากกันโดย

ชั้นของของเหลวใสเหนียว พบในบริเวณที่เอ็นอยูติด

กับกระดูก, ligament หรือเอ็นอื่น ๆ และมักพบอยู

ใกลขอที่ ซึ่ ง ผิวหนัง เสียดสีกับกระดูกขางใต เชน

prepatella bursa

Synovial Sheath (รูปที่13) เปน-bursa-ที่พันรอบเอ็น---พบในบริเวณที่เอ็นผานลึกตอ-ligament-

และ-retinaculum-และพบในเอ็นที่ลอดผาน-osseofibrous tunnel

ทําหนาที่ลดการเสียดสีระหวางเอ็นและโครงสรางที่อยูรอบ ๆ เอ็น

รูปที่ 12 ภาพวาดแสดง bursa ทางดานหนาของขอเขา (Snell,

1995)

Page 10: Introduction to Anatomy An231

10

กลามเนื้อลาย (Skeletal Muscle) กลามเนื้อลายมีหนาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวในรางกาย

นอกจากนี้ยังทําหนาที่ในการค้ําจุน และเปนแหลงที่ให

ความรอนแกรางกายดวย กลามเนื้อลายแตละมัดมีที่

เกาะ 2 ที่หรือมากกวา เรียกที่เกาะซึ่งไมมีการเคลื่อนที่

เมื่อกลามเนื้อหดตัววาที่เกาะตน (origin) และเรียกที่

เกาะซึ่งมีการเคลื่อนที่เมื่อกลามเนื้อหดตัววาที่เกาะปลาย

(insertion)

กลามเนื้อลายแตละมัดประกอบดวยสวนที่เปน

กลามเนื้อ ซึ่งทําหนาที่หดตัว และสวนที่เปนเนื้อเยื่อ

เกี่ยวพันไดแก เอ็นซึ่งมีลักษณะเปนแทงกลม และ

aponeurosis ซ่ึงมีลักษณะเปนแผนแบน

เอ็น (Tendon) (รูปที่14)

แทงหรือแผนของเสนประสาน ซึ่งยึดจากกลามเนื้อไป

ยังกระดูก เชนเอ็นของกลามเนื้อ gastrocnemius และ

soleus

รูปที่ 14 ภาพวาดแสดงเอ็นของกลามเนื้อ gastrocnemius และ soleus (1) และ

aponeurosis ของกลามเนื้อ external oblique (2) (Snell, 1995)

รูปที่ 13 ภาพวาดแสดง synovial sheath และ retinaculum ที่บริเวณขอ

เทา (ภาพซาย) และลักษณะโครงสรางของ synovial sheath (ภาพขวา)

(Woodburne and Burkel, 1994)

Page 11: Introduction to Anatomy An231

11

หลอดเลือด (Blood Vessel) (รูปที่15) แบงหลอดเลือดออกเปน 3 ชนิด คือหลอดเลือดแดง (artery) หลอดเลือดดํา (vein) และหลอดเลือดฝอย (capillary)

• หลอดเลือดแดง (Artery) เปนหลอดเลือดที่นําเลือดซึ่งมีสารอาหารและออกซิเจนอยูมากออกจากหัวใจไปสูสวนตาง ๆ

ของรางกาย ขณะออกหางจากหัวใจ หลอดเลือดแดงมีการแตกแขนงออกไปเรื่อย ๆ จึงมีขนาดทอเล็กลงเปนลําดับ เรียก

สวนปลายสุดของหลอดเลือดแดงวา-arteriole- ซึ่งมีขนาดเสนผาศูนยกลางเล็กกวา-0.1-มิลลิเมตร arteriole จะเทเลือดลงสู

หลอดเลือดฝอย ซึ่งจะเทเลือดลงสูหลอดเลือดดําขนาดเล็กที่สุดที่เรียกวา venule ในบางสวนของรางกายแขนงหลอดเลือด

แดงมีการเชื่อมตอกัน เรียกการเชื่อมตอกันนี้วา anastomosis เรียกหลอดเลือดแดงที่แขนงปลายไมเชื่อมตอกับแขนงของ

หลอดเลือดแดงที่เล้ียงเนื้อเยื่อบริเวณใกลเคียงวา anatomical end artery และเรียกหลอดเลือดแดง ที่แขนงปลายเชื่อมตอ

กับแขนงของหลอดเลือดแดงที่เล้ียงเนื้อเยื่อบริเวณใกลเคียง แตขนาดเสนผาศูนยกลางของเสนเลือดที่เชื่อมตอนี้ไมใหญ

พอที่จะเลี้ยงเนื้อเยื่อใหอยูรอดไดเมื่อหลอดเลือดแดงอันหนึ่งอุดตัน วา functional end artery

• หลอดเลือดดํา-(Vein)--เกิดจากการรวมกันของหลอดเลือดฝอยกลายเปนหลอดเลือดขนาดใหญขึ้นเปนลําดับ-- นํา

เลือดที่มีของเสียจากขบวนการเมตาโบลิซึม (metabolism)-ของเนื้อเยื่อ เชนกาซคารบอน-ไดออกไซดกลับเขาสูหัวใจ พบ

ล้ินในหลอดเลือดดําจํานวนมาก medium-sized deep artery มักถูกขนาบขางดวยหลอดเลือดดํา 2 เสนที่เรียกวา venae

comitantes

• หลอดเลือดฝอย (Capillary) เปนทอขนาดเล็กมาก เห็นไดดวยกลองจุลทรรศน มีผนังบาง เชื่อมตอกันเปนรางแห เปน

สวนที่เกิดการแลกเปลี่ยนสารระหวางเนื้อเยื่อและเลือด

รูปที่ 15 ภาพวาดแสดงการ anastomosis ของ

แขนงของหลอดเลือดแดง superior mesenteric (A);

แสดงการติดตอระหวาง arteriole, รางแหของหลอด

เลือดฝอยและ venule (B); แสดง anatomical end

artery และ functional end artery (C) (Snell, 1995)

Page 12: Introduction to Anatomy An231

12

น้ําเหลือง หลอดน้ําเหลืองและตอมน้ําเหลือง (Lymph, Lymph Vessel and Lymph Node) ระบบไหลเวียนน้ําเหลือง (lymphatic system) นําของเหลวที่อยูใน-tissue-space กลับเขาสูกระแสเลือด ของเหลวนี้เมื่อเขา

สูหลอดน้ําเหลืองฝอย (lymph capillary) จะกลายเปนน้ําเหลือง (lymph)- หลอดน้ําเหลืองฝอยรวมกันเปนหลอดน้ําเหลือง

(lymph vessel) ขนาดใหญขึ้นเปนลําดับ นําน้ําเหลืองเทลงสูหลอดเลือดดําขนาดใหญที่อยูใกลหัวใจ- โดยกอนกลับเขาสู

กระแสเลือดน้ําเหลืองจะไหลผานตอมน้ําเหลือง (lymph node) อยางนอย 1 ตอม

พบตอมน้ําเหลืองกระจายอยูทั่วรางกาย-โดยพบอยูตามทางเดินของหลอดน้ําเหลืองบริเวณรักแรและขาหนีบ

พบขนาบขางหลอดเลือดขนาดใหญบริเวณคอ---และพบเปนจํานวนมากในชองอกและชองทอง น้ําเหลืองจากหลอดน้ํา

เหลืองจะไหลผานตอมน้ําเหลือง ตอมน้ําเหลืองจะกรองน้ําเหลืองที่ เขามายังตอม ---โดยเซลล -macrophage-และ

lymphocyte-จํานวนมากในตอมจะเขาตอตานสิ่งแปลกปลอม-เชนเชื้อโรคหรือเซลลเนื้องอกในน้ําเหลือง ซึ่งมาจากบริเวณที่

เกิดการติดเชื้อ หรือจากอวัยวะที่เปนมะเร็ง-

เสนประสาทสวนปลาย (Peripheral Nerve) (รูปที่ 16)

ประกอบดวยกลุมของเสนใยประสาท (nerve fiber) ที่ถูกหุมดวยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทําหนาที่นําสัญญาณประสาท (nerve

impulse) ติดตอระหวางระบบประสาทสวนกลาง (central nervous system) และระบบประสาทสวนปลาย (peripheral

nervous system) แบงเสนใยประสาทออกเปน 2 ชนิดดังนี้

• Myelinated Nerve Fiber ประกอบดวย axon 1 อันอยูตรงกลาง axon เปนแขนงของเซลลประสาท (neuron) มี

myelin sheath หุมรอบ axon และมี endoneurium ซึ่งเปนแผนเนื้อเยื่อเกี่ยวพนับาง ๆ หุมรอบ myelin sheath อีกทอดหนึ่ง

• Unmyelinated Nerve Fiber axon ไม

ถูกหุมดวย myelin sheath แตอยูในซัยโตพลา

สมของ Schwann cell เสนใยประสาทสวน

ใหญใน cutaneous nerve เปนชนิด

unmyelinated

เสนใยประสาทในเสนประสาทถูกค้ําจุนน

และปกปองโดยชั้นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 3 ชั้นซึ่งหุม

รอบเสนประสาทเรียงจากชั้นนอกมายังชั้นใน

ตามลําดับคือ epineurium, perineurium และ

endoneurium

ปมประสาท (Ganglion)

เปนกลุมของเซลลประสาทที่อยูนอกสมองและ

ไ ข สั น ห ลั ง -แ บ ง อ อ ก เ ป น -2 -คื อ -motor-

(autonomic)-ganglion-และ-sensory ganglion

รูปที่ 16 ภาพวาดแสดงโครงสรางของเสนประสาท (Moore and Agur, 2007)

Page 13: Introduction to Anatomy An231

13

เอกสารอางอิง 1. Moore KL, Agur AMR. Essential clinical anatomy. 3rd ed. Baltimore: Lippincott William & Wilkins,

2007.

2. Rosse C, Gaddum-Rosse P. Hollinshead's textbook of anatomy. 5th ed. Philadelphia, PA:

Lippincott-Raven, c1997.

3. Snell RS. Clinical anatomy for medical students. 5th ed. Boston: Little, Brown, 1995.

4. Woodburne RT, Burkel WE. Essentials of human anatomy. 9th ed. New York: Oxford University

Press, 1994.

5. Rogers A W, Textbook of anatomy. Edinburgh: Churchill Livingstone, 1992.