coombs' crossmatch and computer crossmatch

1

Click here to load reader

Upload: kallaya-kerdkaewngam

Post on 28-Jan-2018

152 views

Category:

Science


12 download

TRANSCRIPT

Page 1: Coombs' Crossmatch and Computer Crossmatch

วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตรบริการโลหิต ป ที่ 22 ฉบับ ที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555

1

บทนำา ในประเทศเยอรมันนีและออสเตรีย Coombs’ crossmatch

จะทำาในคนไขทุกคนที่ไดรับเลือด งานวิจัยนี้ศึกษาแอนติบอดีที่มี

ความสำาคัญทางคลินิกตรวจพบโดยCoombs’ crossmatch ดวย

วิธี Conventional tube test และ microcolumnในคนไขที่

ตรวจกรองแอนติบอดีไดผลลบดวยวิธี microcolumn เพื่อศึกษาวา

เมื่อขั้นตอนการตรวจกรองแอนติบอดีที่มีประสิทธิภาพแลวสามารถ

ใชวิธี electronic crossmatch แทนการ crossmatch จริงได

วัสดุและวิธีการ ทำาการศึกษาขอมูลยอนหลัง การตรวจกรองแอนติบอดี

การตรวจแยกชนิดแอนติบอดี และการทำา crossmatch ดวยวิธี

Conventional tube test หรือวิธี microcolumn ระหวางป ค.ศ.

2000 ถึง ค.ศ. 2007 จากบันทึกของหองปฏิบัติการ Department

of Transfusion Medicine มหาวิทยาลัย Ernst-Moritz-Arndt

Greifswald ประเทศเยอรมันนี

ผลการศึกษา

ชวงที่1 ศึกษาคนไขที่ตรวจกรองแอนติบอดีไดผลลบดวยวิธี

microcolumn ทำา Coombs’ crossmatch วิธี Conventional tube

test ใช 2-cell screening cells จำานวน 105,647 Crossmatch

พบวามี 49 crossmatch ใหผลบวก (0.05%) นำาไปตรวจแยก

ชนิดแอนติบอดีได anti-A1 anti-Wra และ anti-P

1

ชวงที่2ศึกษาคนไขที่ตรวจกรองแอนติบอดีไดผลลบดวยวิธี

microcolumn ทำา Coombs’ crossmatch ดวยวิธีเดียวกัน ใช

2-cell screening cells จำานวน 80,295 Crossmatch พบวามี 182

crossmatch ใหผลบวก (0.2%) นำาไปตรวจแยกชนิดแอนติบอดี

ได anti-A1 anti-Jka และ anti-K

ชวงที่3ศึกษาคนไขที่ตรวจกรองแอนติบอดีไดผลลบดวยวิธี

microcolumn ทำา Coombs’ crossmatch ดวยวิธีเดียวกัน ใช

3-cell screening cells จำานวน 126,333 Crossmatch พบวามี

335 crossmatch ใหผลบวก (0.3%) นำาไปตรวจแยกชนิดแอนติบอดี

ได anti-A1 anti-P

1 และ anti-M

สรุป แอนติบอดีที่ตรวจไดผลบวกใน Coombs’ crossmatch

ดวยวิธี Conventional tube test และวิธี microcolumn ใน

คนไขที่ตรวจกรองแอนติบอดีไดผลลบดวยวิธี microcolumn

สวนใหญเปน anti-A1 และเปนแอนติบอดีที่มีความสำาคัญทาง

คลินิกนอย สวนแอนติบอดีที่มีความสำาคัญทางคลินิก คือ anti-

Jka และ anti-K ที่พบในชวงที่ 2 นั้นเพราะใช 2-cell screening

cells ที่เปน heterozygous ทำาใหตรวจไมพบในขั้นตอนการตรวจ

กรองแอนติบอดี จากการศึกษานี้พบวา สามารถใชวิธี electronic

crossmatch แทนการ crossmatch จริงได ถาวิธีการตรวจกรอง

แอนติบอดีมีประสิทธิภาพสูงพอ คือใชวิธี microcolumn และ

3-cell screening cells

กัลยา เกิดแกวงาม

ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย

ยอวารสาร

การศึกษาขอมูลยอนหลังของCoombs’Crossmatchหลังจากการตรวจกรอง

แอนติบอดีใหผลลบเปรียบเทียบระหวางวิธีConventionalTubeTest

กับวิธีMicrocolumnTechnologyJ Lange, K Selleng, NM Heddle, A Traore, A Greinacher. Institute of Immunology and Transfusion Medicine, Ernst-Moritz-Arndt University,

Greifswald, Germany and Department of Medicine, McMaster University, Hamilton, ON, Cannada. Vox Sang 2010;98:e269-75.