book thesis1

91

Upload: badguy-badbad

Post on 01-Dec-2014

73 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Book Thesis1

Page 2: Book Thesis1

บทที่ 1 ขั้นตอนการจัดทําวิทยานิพนธ

1.1 การเสนอโครงการวิทยานิพนธ

ในการเสนอโครงการวิทยานิพนธ ใหนักศึกษาดําเนินการตามขอกําหนดและขั้นตอนตอไปนี้

1.1.1 การจัดทําโครงการวิทยานิพนธ ประกอบดวย - หัวขอวิทยานิพนธ

- ความเปนมาและความสําคญัของปญหา (ใหนิยามปญหาและความสําคญัของปญหา ความจําเปนท่ีคิดใชการวิจัยมาแกปญหา)

- วัตถุประสงค (ระบุวัตถุประสงคท่ีเดนชัด ถามีการศึกษาตัวแปรใหระบุสมมติฐานในการวิจัย

ไวดวย)

- ขอบเขตของการวิจัย (ใหระบุขอบเขตพื้นท่ี, เน้ือหา หลักสูตรทุกป ภายใตมาตรฐาน และ/หรือ

เวลาในการศึกษา)

- วิธีการวิจยั (ใหระบุการออกแบบวิจัย ขั้นตอนการวิจัย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย วิธีการเกบ็

รวบรวมขอมูล และการแปรผล)

- ประโยชนของการวิจัย (ใหระบุอยางเดนชัดวาผลที่ไดจากการวิจัยคืออะไร จะนําเสนอ

ผลการวจิัยหรือประโยชนในการแกปญหาไดอยางไร)

- รายชื่อเอกสารอางอิง (ระบุชื่อเอกสารตางๆ ท่ีใชเปนหลักในการวิจัยตามรูปแบบที่ระบุไวใน

คูมือการจัดทําวิทยานิพนธ)

- รายละเอียดอื่นๆ นอกเหนือจากน้ีใหเปนไปตามความตองการของแตละหลักสูตรระดับ

บัณฑิตศึกษา 1.1.2 ใหนักศึกษาจัดทําโครงการวิทยานิพนธเปนภาษาไทยและ/หรือภาษาอังกฤษ ไดตามความตองการ

ของแตละหลักสตูรระดับบัณฑิตศึกษา ในกรณีท่ีนักศึกษามีความจําเปนตองเขียนวิทยานิพนธเปนภาษาอังกฤษ

ใหนักศึกษาเสนอขออนุมัติมาพรอมกันในโครงการวิทยานิพนธ ผานประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

และหัวหนาภาควิชา

1.1.3 นักศึกษาจะเสนอโครงการวิทยานิพนธได ตองลงทะเบียนวิทยานิพนธไมนอยกวา 3 หนวยกิต

ในภาคการศึกษานั้น นักศึกษาปริญญาโท แผน ก (2) ตองศึกษารายวชิาตามแผนการเรียนมาแลวไมนอยกวา

12 หนวยกิต และไดคะแนนเฉลี่ยสะสมไมตํ่ากวา 3.00 สําหรับนักศึกษาปริญญาเอกจะตองสอบผานการสอบ

วัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) และตองสอบผานภาษาตางประเทศตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

Page 3: Book Thesis1

2

จึงจะดําเนินการจัดทําโครงการวทิยานิพนธได ในการสอบวดัคุณสมบัติ ใหหัวหนาภาควิชาเปนผูรับผิดชอบ

ในการเสนอรายนามคณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติตอบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อแตงตั้ง รวมทั้งรับผิดชอบในการ

ดําเนินการสอบวัดคุณสมบัติตลอดจนการสงผลการสอบใหบัณฑิตวิทยาลัย

1.1.4 นักศึกษายื่นคํารองขอเสนอโครงการวิทยานิพนธ (บว.01) พรอมโครงการวิทยานิพนธ (บว.51)

และคํารองขออนุมัติแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ (บว.02) ท่ีคณะกรรมการที่ปรึกษาวทิยานิพนธ และ

หัวหนาภาควิชาลงนามใหความเห็นชอบแลวมายังบัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวทิยาลัยจะพิจารณาอนุมัติภายใน

5 วันทําการ

1.2 การสอบหัวขอวทิยานิพนธ

บัณฑิตวิทยาลัยมีขอกําหนดและขั้นตอนการดําเนินการในการสอบหัวขอวิทยานิพนธ ดังน้ี

1.2.1 นักศึกษายื่นคํารองขอสอบหัวขอวิทยานิพนธ (บว.03) พรอมโครงการยอ (บว.53) ภายใน 30 วัน

นับแตวันท่ียื่นขออนุมัติโครงการวิทยานิพนธ เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดวันสอบอยางนอย 5 วนั

ทําการ

1.2.2 เมื่อนักศึกษาไดสอบหัวขอวิทยานิพนธผานเรียบรอยแลว ใหประธานกรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

สงผลการสอบมายังบัณฑิตวิทยาลัยภายใน 3 วันหลังการสอบ เพื่อใหบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติ

1.2.3 ในกรณีท่ีผลการสอบของนักศึกษาเปน "ผานโดยมีเงื่อนไข" นักศึกษาจะตองดําเนินการแกไข

ปรับปรุงโครงการวิทยานิพนธตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการสอบ และยื่นคํารองเสนอโครงการวิทยานิพนธ

ฉบับแกไข (บว.10) พรอมโครงการวิทยานิพนธท่ีไดปรับแกแลวน้ัน โดยใหคณะกรรมการสอบลงนามใหความ

เห็นชอบภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีสอบหัวขอวทิยานิพนธ และเสนอบัณฑิตวิทยาลัยเพื่ออนุมัติ

1.2.4 นักศึกษาที่สอบ "ไมผาน" จะตองดําเนินการจัดทําโครงการวิทยานิพนธ และสอบหัวขอ

วิทยานิพนธใหม

1.2.5 การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับโครงการวิทยานพินธท่ีไดรับอนุมัติแลว หากเปนการเปลี่ยนแปลง

หัวขอวิทยานิพนธหรือสาระสําคัญของวิทยานพินธ ใหการประเมินผลวิทยานิพนธท่ีลงทะเบียนผานมาทั้งหมด

เปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและยื่นขออนุมัติโครงการวิทยานิพนธใหม โดยใหนับเวลา

จากวันท่ีไดรับอนุมัติหัวขอและโครงการวิทยานพินธครั้งลาสุด

1.3 การสอบความกาวหนาวิทยานพินธ

บัณฑิตวิทยาลัยมีขอกําหนดและขั้นตอนการดําเนินการในการสอบความกาวหนาวิทยานิพนธดังน้ี

1.3.1 นักศึกษาตองไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธแลวไมนอยกวาครึง่หนึ่งของเวลาสอบปองกัน

วิทยานิพนธ ดังน้ี

1.3.1.1 นักศึกษาปริญญาโท แบบ ก (1) (ทําเฉพาะวิทยานิพนธ) ไดรบัอนุมัติหัวขอวทิยานิพนธ

แลวไมนอยกวา 120 วัน

Page 4: Book Thesis1

3

1.3.1.2 นักศึกษาปริญญาโท แบบ ก (2) (เรียนรายวชิาและทําวิทยานิพนธ) ไดรับอนุมัติหัวขอ

วิทยานิพนธแลวไมนอยกวา 60 วัน

1.3.1.3 นักศึกษาปริญญาเอก แบบ 1 (ทําเฉพาะวิทยานิพนธ) ไดรับอนุมัติหัวขอวทิยานิพนธ

แลวไมนอยกวา 365 วัน

1.3.1.4 นักศึกษาปริญญาเอก แบบ 2 (เรียนรายวิชาและทําวิทยานพินธ) ไดรับอนุมัติหัวขอ

วทิยานิพนธแลวไมนอยกวา 183 วัน

1.3.2 นักศึกษายื่นคํารองขอสอบความกาวหนาวิทยานิพนธ (บว.04) พรอมโครงการยอ (บว.53)

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดวันสอบอยางนอย 5 วันทําการ

1.3.3 เม่ือนักศึกษาไดสอบความกาวหนาวิทยานิพนธผานเรียบรอยแลว ใหประธานกรรมการที่ปรึกษา

วิทยานิพนธสงผลการสอบมายังบัณฑิตวิทยาลยัภายใน 3 วันหลังการสอบ

1.3.4 ขอปฏิบัติอื่น ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับ ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวของ

1.4 การสอบปองกนัวิทยานิพนธ

นักศึกษามีสิทธิ์ขอสอบปองกันวิทยานิพนธไดเม่ือผานการสอบความกาวหนาวทิยานิพนธไมนอยกวา

30 วัน และเปนไปตามขอกําหนด ดังน้ี

1.4.1 นักศึกษาไดใชเวลาในการทําวิทยานิพนธนับจากวันท่ีบัณฑิตวิทยาลัยมีประกาศอนุมัติหัวขอและ

โครงการวิทยานพินธแลวตามระยะเวลา ดังน้ี

1.4.1.1 นักศึกษาปริญญาโท แบบ ก (1) (ทําเฉพาะวิทยานิพนธ) ไดใชเวลาในการทําวทิยานิพนธ

ไมนอยกวา 240 วัน

1.4.1.2 นักศึกษาปริญญาโท แบบ ก (2) (เรียนรายวชิาและทําวิทยานิพนธ) ไดใชเวลาในการทํา

วิทยานิพนธไมนอยกวา 120 วัน

1.4.1.3 นักศึกษาปริญญาเอก แบบ 1 (ทําเฉพาะวิทยานิพนธ) ไดใชเวลาในการทําวิทยานิพนธ

ไมนอยกวา 730 วัน

1.4.1.4 นักศึกษาปริญญาเอก แบบ 2 (เรียนรายวิชาและทําวิทยานพินธ) ไดใชเวลาในการทํา

วิทยานิพนธไมนอยกวา 365 วัน

1.4.2 ไดสอบผานรายวิชาตาง ๆ ครบตามเกณฑท่ีหลักสูตรบัณฑิตศึกษากําหนด และไดคะแนนเฉลี่ย

สะสมตลอดหลกัสูตรไมตํ่ากวา 3.00

1.4.3 ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธใหทําการขอสอบวิทยานิพนธได

1.4.4 นักศึกษาตองยืน่คํารองขอสอบปองกันวิทยานพินธตามแบบฟอรมของบัณฑิตวิทยาลัย (บว.05)

พรอมวิทยานิพนธฉบับสอบบรรจุในซองสีนํ้าตาลใหเรียบรอย เพื่อบัณฑิตวิทยาลัยจัดสงใหกรรมการผูแทน

สอบปองกันวิทยานิพนธ (ท่ีมิใชคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ) และสาํหรับบัณฑิตวิทยาลัยตรวจสอบ

รูปแบบอีก 1 เลม

Page 5: Book Thesis1

4  

1.4.5 นกัศกึษายืน่เอกสารตามขอ้ 1.4.4 ใหเ้ป็นไปตามขอ้บงัคบัสถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกลา้

พระนครเหนือ วา่ดว้ยการศกึษาระดบับณัฑติศกึษาฯ

1.4.6 เมือ่การสอบป้องกนัวทิยานิพนธไ์ดเ้สรจ็สิน้แลว้ ใหป้ระธานกรรมการทีป่รกึษาวทิยานิพนธ์

สง่ผลการสอบมายงับณัฑติวทิยาลยัภายใน 3 วนัหลงัการสอบ

1.4.7 ขอ้ปฎบิตัอิื่น ๆ ใหเ้ป็นไปตามขอ้บงัคบั ระเบยีบและประกาศทีเ่กีย่วขอ้ง

1.5 การพิมพแ์ละการทาํสาํเนาเล่มวิทยานิพนธ/์สานิพนธ ์

1.5.1 การพมิพแ์ละการทําสาํเนาเน้ือเรื่อง สว่นนํา (ตัง้แต่สารบญั) สว่นเน้ือหา และสว่นอา้งองิ

หรอืสว่นทา้ยใหพ้มิพห์รอืถ่ายสาํเนาโดยใชก้ระดาษหน้าเดยีวหรอืสองหน้าได ้

1.5.2 กรณีที่วทิยานิพนธ์หรอืสารนิพนธ์ไม่เกนิ 80 หน้า ให้พมิพ์หรอืถ่ายสําเนาหน้าเดยีวได ้

แต่ถา้เกนิจากนัน้ควรพมิพห์รอืถ่ายสาํเนาโดยใชก้ระดาษสองหน้า

1.6 การส่งวิทยานิพนธแ์ละแผน่บนัทึกข้อมลูบทคดัย่อวิทยานิพนธ ์

นกัศกึษาตอ้งสง่เลม่วทิยานิพนธฉ์บบัสมบรูณ์ ทีม่ลีายมอืชื่อคณะกรรมการสอบวทิยานิพนธ์

ครบถ้วนทุกคนจํานวน 6 เล่ม พร้อมด้วยแผ่นบนัทึกข้อมูลวิทยานิพนธ์และบทคดัย่อตามแบบที่

บณัฑติวทิยาลยักาํหนด 1 ชุด โดยบรรจุวทิยานิพนธฉ์บบัสมบรูณ์ใสซ่องมาตรฐานขยายขา้งสน้ํีาตาล

และใชส้าํเนาปกในปะไวห้น้าซองทุกซอง ใหช้ําระค่าทําปกและเยบ็เล่มตามราคาที่บณัฑติวทิยาลยั

กําหนด ซึ่งบณัฑติวทิยาลยัจะจดัทาํปกนอกและเยบ็เล่มใหภ้ายหลงัเมื่อวทิยานิพนธไ์ดร้บัอนุมตัแิลว้

และทัง้น้ีเพื่อใหว้ทิยานิพนธข์องสถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกลา้พระนครเหนือมมีาตรฐานเดยีวกนั

บณัฑติวทิยาลยัจะไมร่บัวทิยานิพนธท์ีไ่มท่าํตามมาตรฐาน ทีก่าํหนด

Page 6: Book Thesis1

5

แผนภูมิขั้นตอนการจัดทําวิทยานิพนธ

1. การเสนอโครงการวิทยานิพนธและสอบหัวขอวทิยานิพนธ

- นักศึกษาตองลงทะเบียนวิทยานพินธ และเรียนรายวิชามาแลวไมนอยกวา 12 หนวยกิต ไดคะแนน

เฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00

- นักศึกษาย่ืนคํารองขอเสนอโครงการวทิยานิพนธ (บว.01) พรอมโครงการวิทยานิพนธ (บว.51)

และคํารองขออนุมัติแตงตั้งอาจารยทีป่รึกษาวิทยานิพนธ (บว.02)

บัณฑิตวิทยาลัยตรวจสอบและอนุมัติโครงการวิทยานพินธ

นักศึกษาย่ืนคํารองขอสอบหัวขอวิทยานิพนธ (บว.03)

พรอมโครงการยอ (บว.53) ภายใน 30 วัน

บัณฑิตวิทยาลัย

- สงใบประเมินผลการสอบหัวขอวิทยานพินธใหประธานคณะกรรมการสอบ

- ประชาสัมพันธกําหนดวัน เวลา และสถานที่สอบใหผูสนใจเขาฟง

นักศึกษาดําเนินการสอบ

ประธานคณะกรรมการสอบแจงผลการสอบมายังบัณฑติวทิยาลัย

ไมผาน ผานโดยมีเงื่อนไข

ผาน เสนอโครงการวิทยานิพนธใหม

และสอบหัวขอวิทยานิพนธใหม

นักศึกษายื่นคํารองขอสงโครงการ

วิทยานิพนธฉบับแกไข (บว.10)

ใหบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 30 วัน

นับแตวันท่ีสอบหัวขอวิทยานิพนธ

บัณฑิตวิทยาลัยประกาศอนุมัติหัวขอวทิยานิพนธ

นักศึกษาดําเนินการจัดทําวิทยานพินธ

การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เก่ียวกับโครงการ

วิทยานิพนธที่ไดรับอนุมัติแลว หากเปน

การเปลี่ยนแปลงหัวขอหรือสาระสําคัญ

ของวิทยานิพนธ ใหการประเมินผลที ่

ลงทะเบียนผานมาทัง้หมดเปนระดับ

คะแนน U นักศึกษาจะตองลงทะเบียน

และยื่นขออนุมัติโครงการวิทยานิพนธ

ใหม โดยใหนับเวลาจากวันที่ไดรับอนุมตัิ

หัวขอและโครงการวิทยานิพนธครั้งลาสุด

Page 7: Book Thesis1

6

2. การสอบความกาวหนาวิทยานิพนธ

- นักศึกษาย่ืนคํารองขอสอบความกาวหนาวิทยานพินธ (บว.04) พรอมโครงการยอ (บว.53) และ

ตองไดรับอนุมัตหิัวขอวิทยานิพนธแลวไมนอยกวา

- 120 วัน สาํหรับปรญิญาโท แบบ ก (1)

- 60 วัน สาํหรับปรญิญาโท แบบ ก (2)

- 365 วัน สาํหรับปรญิญาเอก แบบ 1

- 183 วัน สาํหรับปรญิญาเอก แบบ 2

บัณฑิตวิทยาลัย

- สงใบประเมินผลการสอบความกาวหนาวิทยานิพนธใหประธานคณะกรรมการสอบ

- ประชาสัมพันธกําหนดวัน เวลา และสถานที่สอบใหผูสนใจเขาฟง

นักศึกษาดําเนินการสอบ

ประธานคณะกรรมการสอบแจงผลการสอบมายังบัณฑติวทิยาลัย

ผานโดยมีเงื่อนไข

ผาน ดําเนินการแกไขตามความเห็น

ของคณะกรรมการ

นักศึกษาดําเนินการจัดทําวิทยานพินธ

Page 8: Book Thesis1

7

3. การสอบปองกันวิทยานิพนธ

- นักศึกษาย่ืนคํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธ (บว.05) พรอมโครงการยอ (บว.53)

แผนการเรียน (บว.54) พรอมวิทยานพินธฉบบัราง

- นักศึกษาตองเรียนรายวิชาครบ เกรดเฉลี่ยไมต่าํกวา 3.00

- ไดรับอนุมัติหวัขอวิทยานิพนธแลวไมนอยกวา

- 240 วัน สําหรับปริญญาโท แบบ ก (1)

- 120 วัน สําหรับปริญญาโท แบบ ก (2)

- 730 วัน สาํหรับปริญญาเอก แบบ 1

- 365 วัน สําหรับปริญญาเอก แบบ 2

- ไดผานการสอบความกาวหนาวิทยานพินธแลวไมนอยกวา 30 วัน

- นักศึกษาใหคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธและหัวหนาภาคลงนามใหความเห็นชอบ

พรอมเสนอชื่อผูแทนบัณฑิตวิทยาลัยกอนเสนอบัณฑิตวทิยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัยตรวจสอบ และแตงตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ

บัณฑิตวิทยาลัย

- สงใบประเมินผลการสอบปองกันวิทยานิพนธใหประธานคณะกรรมการสอบ

- ประชาสัมพันธกําหนดวัน เวลา และสถานทีส่อบใหผูสนใจเขาฟง

นักศึกษาดําเนินการสอบ

ประธานคณะกรรมการสอบแจงผลการสอบมายังบัณฑติวทิยาลัย

ผานโดยมีเงื่อนไข

ผาน - ดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 60 วันนับจาก

วันสอบ

- กรณีไมสามารถปฏิบัติตามภายในระยะเวลาที่กําหนด

ผลการสอบจะถูกปรับเปนระดับคะแนน U นักศึกษา

ตองปฏิบัติเสมือนการเริ่มตนทําวิทยานิพนธใหมทัง้หมด

- นักศึกษาเสนอเลมวิทยานพินธฉบบัสมบูรณที่มลีายมือช่ือคณะกรรมการสอบครบถวนทุกคนจํานวน 6 เลม พรอมแผนบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ

และบทคัดยอตามรูปแบบที่บัณฑิตวทิยาลัยกําหนดภายใน 90 วันนับจากวนัสอบผานเพื่อเสนอคณบดีลงนาม

- กรณีไมสามารถปฏิบัติตามภายในระยะเวลาที่กําหนด บณัฑิตวิทยาลัยจะยกเลิกผลการสอบและการประเมินผลวทิยานิพนธที่ลงทะเบียนผานมา

ทั้งหมดเปนระดับคะแนน U หากนักศึกษายังตองการรับปริญญานั้นอีก นักศึกษาตองลงทะเบียนและเริ่มข้ันตอนการทําวิทยานพินธใหมทั้งหมด

- กรณีที่นักศึกษาสอบครั้งแรกไมผาน ใหนักศึกษาย่ืนคํารอง

ขอสอบใหมไดอีก 1 ครั้ง ภายในระยะเวลาทีค่ณะกรรมการ

สอบวิทยานพินธกําหนด

- กรณีไมสามารถปฏิบัติตามภายในระยะเวลาที่กําหนด ผลการ

สอบจะถูกปรับเปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองปฏิบตัิ

เสมือนการเริ่มตนการทําวิทยานพินธใหมทั้งหมด

(หมายเหต ุ ตองเปนไปตามเงื่อนไขระยะเวลาสถานภาพของ

นักศึกษาดวย)

ไมผาน

Page 9: Book Thesis1

บทที่ 2 สวนประกอบของวิทยานิพนธ

สวนประกอบของวิทยานิพนธประกอบดวย 3 สวน คือ สวนนํา สวนเนื้อหา สวนอางอิงหรือสวนทาย

2.1 สวนนาํ

สวนนําประกอบดวย

2.1.1 ปกนอก ปกนอกของเลมวิทยานิพนธเปนปกแข็งสีดํา ตัวอกัษรบนปกนอกพิมพดวยอักษรสีทอง

ขอความในหนาปกนอกใหมีขอความเหมือนปกในทุกประการ (ดังตัวอยางหนา 29-32)

2.1.2 สันปก ใหพิมพชื่อผูแตง และปการศึกษาที่สําเร็จการศกึษา

2.1.3 กระดาษเปลา ถัดจากปกแขง็ดานหนาและกอนปกแข็งดานหลังใหมีกระดาษสีขาวดานละแผน

2.1.4 ใบรับรองวิทยานิพนธ ใหใชแบบฟอรมของบัณฑิตวิทยาลัยโดยพิมพขอความตามตัวอยางหนา

33-42 การลงนามในใบรับรองใหลงลายมือชื่อจริงของคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธดวยหมึกซึมสีดํา เทาน้ัน

2.1.5 ปกใน หมายถึง หนาหัวเรื่อง ขอความบนปกในใหเขียนเปนภาษาไทย หรือภาษาตางประเทศ

ท่ีใชเขียนวิทยานิพนธเพียงภาษาเดียวบนกระดาษขาวที่ใชพิมพวิทยานิพนธมีสาระดังน้ี (ดังตัวอยางหนา 29-32)

2.1.5.1 ชื่อเรื่อง เปนชื่อหัวขอวิทยานิพนธท่ีไดรับอนุมัติในการศึกษาคนควาวิจัย

2.1.5.2 ชื่อผูแตงหรือผูจัดทํา มีคํานําหนาชื่อ นาย นาง หรือนางสาว ในกรณีท่ีผูแตงมียศ เชน

รอยตํารวจเอก พันตรี หมอมราชวงศ เปนตน ใหใชยศน้ัน ๆ นําหนาชื่อ

2.1.5.3 ระบุวาวิทยานิพนธน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาในหลักสูตรใด สาขาวิชา และภาควิชาใด

ช่ือสถาบัน (บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ) และปการศึกษาที่สําเร็จ

การศึกษา

2.1.5.4 ระบุหมายเลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ ISBN (International Standard Book

Number) (ดูรายละเอียดในหนา 92-93)

2.1.5.5 ระบุคําวาลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ วิทยานิพนธ

ภาษาอังกฤษใชคําวา Copyright of King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

2.1.6 บทคัดยอ ถาวิทยานิพนธเขียนเปนภาษาไทยใหเขียนบทคัดยอเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ถาวิทยานิพนธเขียนเปนภาษาอังกฤษหรือภาษาตางประเทศอื่นใด ก็ใหเขียนบทคัดยอเปนภาษาที่ใชเขียน

วิทยานิพนธน้ันพรอมท้ังภาษาไทย โดยมีสาระในบทคัดยอดังน้ี (ดังตัวอยางหนา 43-46)

Page 10: Book Thesis1

9

2.1.6.1 ชื่อสกลุผูวิจัย พรอมคํานําหนานามเชนเดียวกับที่ปรากฏบนปกใน ชื่อวิทยานิพนธ

สาขาวชิา ชื่อสถาบัน รายนามอาจารยหรือคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และปการศึกษาที่สําเร็จ

การศึกษา 2.1.6.2 วัตถุประสงค ขอบเขต วิธีการศึกษาวิจัย ผลและสรุป 2.1.6.3 ระบุจํานวนหนารวมของเลมวิทยานิพนธ

2.1.6.4 อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธลงนามอนุมัติ (ลงนามดวยหมึกซึมสีดํา)

2.1.7 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) เปนขอความกลาวขอบคุณผูท่ีใหความชวยเหลือ

และความรวมมือจนวิทยานิพนธน้ันสําเร็จลุลวงดวยดี 2.1.8 สารบัญ (Table of Contents) เปนรายการที่แสดงสวนประกอบสําคัญทั้งหมดของวิทยานพินธ

ใหเขียนเปนภาษาที่ใชเขียนวิทยานิพนธ การจัดพิมพสารบัญใหเปนไปตามตัวอยาง หากสารบัญไมจบในหนึ่ง

หนาใหพิมพคําวา "สารบัญ (ตอ)" หรือ "Table of Contents (Continued)" กลางหนากระดาษหนาถัดไป

2.1.9 สารบัญตาราง (List of Tables) เปนสวนที่แจงหมายเลขหนาของตารางทั้งหมดที่มีอยูใน

วิทยานิพนธ (ถามี) การจัดพมิพสารบัญใหเปนไปตามตัวอยาง หากสารบัญตารางไมจบในหนึ่งหนาใหพิมพ

คําวา "สารบัญตาราง (ตอ)" หรือ "List of Tables (Continued)" กลางหนากระดาษหนาถัดไป 2.1.10 สารบัญภาพ (List of Figures) เปนสวนที่แจงหมายเลขหนาของภาพ (รูปภาพ แผนที่

แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ทั้งหมดที่มีอยูในวิทยานิพนธ การจัดพิมพสารบัญภาพใหเปนไปตามตัวอยาง หากสารบัญ

ภาพไมจบในหนึ่งหนาใหพิมพคําวา "สารบัญภาพ (ตอ)" หรือ "List of Figures (Continued)" กลาง

หนากระดาษหนาถัดไป 2.1.11 คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (List of Abbreviations and Symbols) เปนสวนที่อธิบาย

ถึงสัญลกัษณและคํายอตาง ๆ ท่ีใชในวิทยานิพนธ (ถามี) ท้ังน้ีใหสัญลักษณและคํายอมีความหมายเดียวกัน

ตลอดทั้งเลม และใหพิมพเรียงตามลําดับตัวอักษร

2.2 สวนเนื้อหา

สวนเนื้อหา เปนสวนที่แสดงสาระสําคัญของวิทยานิพนธประกอบดวย 1) บทนํา 2) ขั้นตอนการ

ดําเนินงานวิจัย วิจารณผล และ 3) สรุปผลและขอเสนอแนะ

2.2.1 บทนํา (Introduction) เปนบทแรกของวิทยานิพนธ ครอบคลุมถึงมูลเหตุจูงใจของการทําการ

วิจัยเรื่องน้ี ความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคและขอบเขตของการวจิัย การสํารวจงานวิจัยอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของ

รวมทั้งทฤษฎีและแนวความคิดท่ีจะนํามาใชในการวิจัย วิธีท่ีจะดําเนินการวิจัยโดยยอ ตลอดจนประโยชนท่ีจะ

ไดรับจากการวิจยั

2.2.2 ขั้นตอนการดําเนินงานวิจัย วิจารณผล ในสวนน้ีจะแบงออกเปนกี่บทก็ไดตามความจําเปน แตละ

บทจะแตกตางกนัไปตามลักษณะเนื้อหา และแบบแผนของวิธีการวิจัยของแตละสาขาวิชา โดยทั่วไปจะเปนการ

บรรยายสาระสําคัญของวิทยานพินธ ในสวนน้ีควรมีบทหนึ่งเกี่ยวกับการปริทัศน วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

Page 11: Book Thesis1

10

(Literature Review) ซึ่งบรรยายครอบคลุมทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับเรื่องที่จะศึกษา

อีกบทหนึ่งควรบรรยายวิธีการและเครื่องมือท่ีใชในการวิจัยโดยละเอียด (Methodology) ครอบคลุมถึงรูปแบบ

การวิจัย ประชากร วิธีการสุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง เครื่องมือในการวิจยั แตละขั้นตอนการใชเอกสารขอมูล

หรือเครื่องมือประเภทใด ชนิดใด เอกสารขอมูล หรือเครื่องมือน้ัน ๆ ไดมาอยางไร โดยวิธีใด (Material and

Method) ตลอดจนการวิเคราะห รายงานผล (Result) และอภิปราย หรือวิจารณผลการวิจยั (Discussion)

ขั้นตอนโดยละเอียดของสวนน้ี ควรดําเนินตามแบบแผนของวิธีการวจิัยท่ีเปนท่ียอมรับในแตละ

สาขาวชิาท่ีเกี่ยวของ ผลการศึกษาควรนําเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม เชน ตาราง รูปภาพ พรอมท้ังคําอธิบาย

เพื่อใหเกิดความเขาใจ การอภิปรายผล หรือการวิจารณผลควรอยูตอจากผลการศึกษา และควรมีเน้ือหา

ครอบคลุมวาผลการศึกษาหรือผลการวจิัยท่ีไดมาน้ันเหมือนหรือแตกตางจากการศึกษาของผูอืน่ท่ีไดศึกษา

พรอมเหตุผลประกอบความเหมือน หรือความแตกตางน้ัน มีการคนพบใหมเกิดขึ้นหรือไม พรอมเหตุผล

ประกอบเชนเดียวกัน ตอนสุดทายของการอภิปรายหรือวิจารณผลควรมีขอเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวของ

เปนตนวาหากจะมีการศึกษาวิจยัเพิ่มเติมควรจะมีแนวทางอยางใดจึงนาจะมีผลดีท่ีสุด หรือถาจะมีการศึกษา

วิจัยในหวัขอเดียวกันน้ีใหมจะปรับเปลี่ยนวิธีการวิจัยอยางใดบาง เพื่อใหไดผลการวจิยัท่ีดีขึ้นกวาการวิจัยท่ีได

กระทํามาในการศึกษานี้ การศึกษาวิจัยครั้งน้ีมีประโยชนประการใดบางในการประยุกตใช พรอมใหเหตุผล

ประกอบความเห็นในขอเสนอแนะเชนเดียวกัน

2.2.3 สรุปผลและขอเสนอแนะ ขอสรุป (Conclusion) เปนตอนที่สรุปเฉพาะประเด็นสําคัญ ๆ

ในวิทยานิพนธท้ังหมด ตองระบุผลงานสาํคัญที่คนพบจากการศึกษาวิจยั ขอจํากัดของการวจิัยครั้งน้ี

สวนขอเสนอแนะ (Recommendation) เปนการใหขอเสนอแนะโดยยอเกีย่วกบัการวิจัยตอไป ตลอดจน

ประโยชนท่ีอาจจะไดจากการประยุกตผลการวิจยัท่ีไดกระทําน้ี

2.3 สวนอางอิงหรือสวนทาย

สวนอางอิงซึ่งมีท้ังการอางองิภายในและการอางอิงทายเรื่องประกอบดวย บรรณานุกรมหรอืเอกสารอางองิ

ภาคผนวก (ถามี) ประวัติผูวจิัย ในสวนอางอิงน้ีอาจมีสวนประกอบอื่น ๆ นอกเหนือจากน้ีไดตามความ

เหมาะสมของวทิยานิพนธฉบับน้ัน ๆ ท้ังน้ีใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธและ

ภาควิชามีรายละเอียดดังน้ี

2.3.1 บรรณานุกรม (Bibliography) หรือเอกสารอางอิง (Reference) เปนสวนที่แสดงรายชือ่หนังสือ

หรือสิ่งพิมพอื่นๆ ท่ีใชสําหรับการคนควาอางอิงประกอบการเขยีนวิทยานิพนธเรื่องน้ัน ๆ โดยอยูตอจากสวน

เน้ือหาและกอนภาคผนวก

2.3.2 ภาคผนวก (Appendix) เปนสวนที่เพิ่มเติมขึ้นเพื่อชวยเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระของ วิทยานิพนธเรื่องน้ันอาจมีหรือไมมีก็ไดตามความเหมาะสมและความจาํเปน ซึ่งไดแก อภิธานศัพท รายการ คํายอ ภาพประกอบ การคํานวณตาง ๆ แบบสอบถาม และอื่น ๆ เปนตน

Page 12: Book Thesis1

11

2.3.3 ประวัติผูวิจัย (Biography) การเขียนประวัติผูวิจัย ถาวิทยานิพนธเขียนเปนภาษาไทยใหเขียน

ประวัติผูวิจัยเปนภาษาไทย ถาวิทยานิพนธเขียนเปนภาษาอังกฤษหรือภาษาตางประเทศอื่นใด ก็ใหเขียน

ประวัติผูวิจัยเปนภาษาที่ใชเขียนวิทยานิพนธน้ัน ใหเขียนโดยจําแนกเปนหัวขอโดยมีขอความดังน้ี

2.3.3.1 ประวัติการศึกษา ต้ังแตระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทาเปนตนไป โดยระบชุื่อสถานศึกษา

และปการศึกษาที่สําเร็จการศึกษาในแตละระดบัดวย

2.3.3.2 ประวัติการทํางาน ใหระบุประสบการณ ผลงานทางวิชาการ รางวัลหรือทุนการศึกษา

ท่ีสําคัญ ตําแหนงและสถานที่ทํางานของผูวิจัยพรอมกับป พ.ศ.

2.3.3.3 สถานที่ติดตอ

Page 13: Book Thesis1

บทที่ 3 การพิมพวิทยานิพนธ

3.1 กระดาษที่ใช

กระดาษทีใ่ชพิมพวิทยานิพนธหรือทําสําเนาวิทยานิพนธตองเปนกระดาษปอนดขาวพิเศษ ไมมีเสนบรรทัด

ขนาดมาตรฐาน A4 นํ้าหนัก 80 กรัมตอตารางเมตร

3.2 การวางรูปหนากระดาษพิมพ

การเวนขอบระยะหางจากริมกระดาษใหเวนระยะหางดังน้ี

3.2.1 หัวกระดาษใหเวน 3.81 เซนติเมตร (1.5 น้ิว) ยกเวนหนาท่ีขึ้นบทใหมของแตละบทใหเวน 5.08

เซนติเมตร (2 น้ิว)

3.2.2 ขอบลางและขอบขวามือ ใหเวน 2.54 เซนติเมตร (1 น้ิว)

3.2.3 ขอบซายมือ ใหเวน 3.81 เซนติเมตร (1.5 น้ิว)

3.3 การพิมพ

3.3.1 ขนาดและแบบตัวพิมพ

วิทยานิพนธภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษอาจใชตัวพิมพ (Font) ชื่อ AngsanaUPC หรือ

BrowalliaUPC หรือ DilleniaUPC หรือ EucrosiaUPC ขนาดตัวอักษร 16 พอยต สําหรับตัวอักษรธรรมดา

ท่ีเปนตัวพื้นของการพิมพตลอดทั้งเลม และใหใชขนาดตัวอักษร 16 พอยต ตัวหนา (Bold) เม่ือใชพิมพหัวขอ

สําคัญ โดยใชหมึกพมิพสีดําตลอดทั้งเลม

สวนวิทยานิพนธภาษาอังกฤษที่ใชตัวพิมพชื่อ Times New Roman ขนาดตัวอักษร 12 พอยต

สําหรับตัวอักษรธรรมดาที่เปนตัวพื้นของการพิมพตลอดทั้งเลม และใหใชขนาดตัวอักษร 12 พอยต ตัวหนา

(Bold) เม่ือใชพิมพหัวขอสําคัญ

3.3.2 การเวนระยะระหวางบรรทัดใหเปนแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม บรรทัดระหวางหัวขอสําคัญใหเวน

1 บรรทัด

3.3.3 การยอหนา ใหเวนระยะจากกรอบพิมพดานซายมือ 1 เซนติเมตร (0.39 น้ิว)

3.3.4 การขึ้นบรรทัดใหม เม่ือพิมพคําสุดทายไมจบในบรรทัดน้ันๆ ใหยกคําน้ันไปพิมพในบรรทัดตอไป

ท้ังคํา ไมควรตัดสวนทายของคําไปพิมพในบรรทัดใหม ดังตัวอยาง

Page 14: Book Thesis1

13

3.3.4.1 การตัดคําท่ีไมถูกตอง

ในปจจุบันไฟฟาและอิเล็กทรอนกิสมีสวนสําคัญในการพัฒนาดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิง่การพัฒนา

อุตสาหกรรมดานการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมตองอาศัยวงจรอิเล็กทรอนิกส เปนตัวควบคุมการทํางานของ

เครื่องจักรกล หรือควบคุมระบบจายกระแสไฟฟาใหกับมอเตอร ซึ่งการควบคุมมอเตอรดวยวงจรอิเลก็ทรอ

นิกสน้ีเปนระบบใหมท่ีตองใชอปุกรณสารกึ่งตวันําเปนตัวควบคุม

3.3.4.2 การตัดคําท่ีถูกตอง

ในปจจุบันไฟฟาและอิเล็กทรอนกิสมีสวนสําคัญในการพัฒนาดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิง่การพัฒนา

อุตสาหกรรมดานการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมตองอาศัยวงจรอิเล็กทรอนิกส เปนตัวควบคุมการทํางานของ

เครื่องจักรกล หรือควบคุมระบบจายกระแสไฟฟาใหกับมอเตอร ซึ่งการควบคุมมอเตอรดวยวงจร

อิเล็กทรอนกิสน้ีเปนระบบใหมท่ีตองใชอุปกรณสารกึ่งตวันําเปนตัวควบคุม

3.3.5 การขึ้นหนาใหม

3.3.5.1 ถาพิมพมาถึงบรรทดัสุดทายของหนากระดาษ ใหเวนขอบลางประมาณ 2.54 เซนติเมตร

(1 น้ิว)

3.3.5.2 หากมีขอความเหลืออีกเพียงบรรทัดเดียวก็จะจบยอหนาเดิม ใหพิมพตอไปในหนาเดิม

จนจบแลวจงึขึ้นยอหนาใหมในหนาถัดไป

3.3.5.3 หากมีเน้ือท่ีเหลือใหพิมพไดอีกเพียงบรรทัดเดียวในหนาน้ันแลวจะขึ้นยอหนาใหมใหยก

ยอหนาน้ันไปตั้งตนพิมพในหนาถัดไป

3.3.6 วิทยานิพนธท่ีเปนภาษาไทย คําท่ีเปนภาษาตางประเทศใหพิมพเปนภาษาไทย และวงเล็บ

ภาษาตางประเทศ สวนคําศัพทภาษาตางประเทศที่ไดมีการบัญญัติศัพทไวแลวโดยราชบัณฑิตยสถาน ให

พิจารณาใชตามความเหมาะสม ดังตัวอยาง จากขอความดังกลาว แมพมิพซึ่งเปนสวนหนึ่งของอุตสาหกรรมวิศวการนัน้มีสวนที่จะชวยเศรษฐกิจ

ของประเทศไดเปนอยางดี แมพิมพเหลาน้ีไดแก โปรเกรสซีฟว ดายส (Progressive Dies) และคอมบิเนชั่น

ดายส (Combination Dies)

3.4 การลาํดับหนาและการพิมพเลขหนา 3.4.1 การลําดับหนาในสวนนําเรื่อง ใหใชตัวอกัษรเรียงตามลําดับพยัญชนะในภาษาไทย ก, ข, ค, . . .

สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และใชเลขโรมันตัวเล็กคือ i, ii, iii, iv, . . . สาํหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ

หรือภาษาตางประเทศอื่น โดยพิมพลําดับหนาไวกลางหนากระดาษดานลางหางจากขอบกระดาษขึ้นมา 1.27

เซนติเมตร (0.5 น้ิว) โดยเริ่มนับจากหนาปกใน แตจะไมพิมพลาํดับหนาในหนาปกใน ใหเริ่มพิมพลําดับหนาจาก

หนาบทคัดยอเปนตนไป

3.4.2 การลําดับหนาในสวนเนื้อหาและสวนอางองิ ใหใชตัวเลขอารบคิ 1, 2, 3, . . . กํากับหนาเรียง

ตามลําดับตลอดทั้งเลม โดยพิมพไวริมขอบขวาของกรอบกระดาษหางจากขอบบนและขอบขวามือของกระดาษ

Page 15: Book Thesis1

14

ดานละ 2.54 เซนติเมตร (1 น้ิว) ยกเวนหนาแรกของบทที่ขึ้นบทใหม หนาแรกของบรรณานกุรมและหนาแรก

ของภาคผนวกแตละภาคไมตองใสเลขหนากํากบัแตใหนับจํานวนหนารวมไปดวย

3.5 การพิมพบทที่ หัวขอสําคัญ และหัวขอยอย 3.5.1 บท (Chapters) เม่ือขึ้นบทใหมใหขึ้นหนาใหมเสมอและมีเลขประจําบท โดยใหใชเลขอารบิคเทานั้น

ท้ังในวิทยานิพนธภาษาไทยและวิทยานิพนธภาษาอังกฤษหรือภาษาตางประเทศอื่น ใหพิมพคําวา "บทที่" หรือ

"CHAPTER" ไวตรงกลางตอนบนสุดของหนากระดาษ สวนชื่อบทใหพิมพไวตรงกลางหนากระดาษเชนกัน

โดยใหพิมพบรรทัดตอไปไมตองเวนบรรทัด ชื่อบทที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ใหแบงเปน 2-3 บรรทัดตามความ

เหมาะสม การพิมพบทที่และชื่อบทใหใชขนาดตัวอักษร 20 พอยต ตัวหนา (Bold) สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย

และใหใชขนาดตัวอักษร 14 พอยตตัวหนา (Bold) สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ

3.5.2 หัวขอสําคัญ หัวขอสําคัญในแตละบทใหพิมพชิดกรอบกระดาษดานซายมือ วิทยานิพนธภาษาไทย

ใหใชขนาดตัวอกัษร 16 พอยตตัวหนา (Bold) วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใหใชขนาดตัวอกัษร 12 พอยต

ตัวหนา (Bold) และไมตองขีดเสนใต ใหใสตัวเลขกํากับตามบท โดยพิมพเวนหางจากบรรทัดชื่อบท 1 บรรทัด

การพิมพบรรทัดตอๆ ไปไมตองเวนบรรทัด

วิทยานิพนธภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของคาํแรกและของทกุๆ คําในหัวขอสําคัญๆ เหลาน้ีตองพิมพ

ดวยอักษรตวัใหญเสมอ แตบุพบท (Preposition) สันธาน (Conjunction) และคํานําหนานาม (Article)

ไมตองพิมพดวยอักษรตัวใหญ เวนแตบุพบท สันธาน และคํานําหนานามดังกลาวจะเปนคําแรกของหวัขอน้ัน

3.5.3 หัวขอยอย ใหพิมพยอหนาโดยเวนระยะใหตรงกับตัวอักษรตัวแรกของชื่อขอความของหัวขอสําคัญ

นั้น หากหัวขอยอยมีการแบงมากกวา 3 ระดับ ใหใสตัวเลขหรือตัวอักษรภาษาไทยคือคือ ก, ข, ค, . . .

สําหรับ วิทยานิพนธภาษาไทย และใชอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็กคือ a, b, c, . . . สําหรับวิทยานิพนธ

ภาษาตางประเทศ ซึ่งอาจทําได 2 แบบ และหากใชแบบใดแบบหนึ่งแลวตองใชแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม

แบบที่ 1 ใชระบบตัวเลขทั้งหมด

1.1**หัวขอสําคัญ (เครื่องหมาย ** หมายถึงเวน 2 ตัวอักษร)

1.1.1**หัวขอยอย…….…..…….………………….……………………………………………………………………….….

……………………………………………………………………………………………………………………………….………………

1.1.2**หัวขอยอย……...……….………………….…………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………….……….…..…

1.1.2.1**หัวขอยอย.……………………………………………………………………………………..….………. …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

1.1.2.1.1**หัวขอยอย.………………………………………………………………..…………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

Page 16: Book Thesis1

15

แบบที่ 2 ใชตัวเลขและตัวอกัษรผสมกัน

1.1**หัวขอสําคัญ

1.1.1**หัวขอยอย……...……….………………….………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………….……….…….

1.1.2**หัวขอยอย…….…..……….………………….……………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………….…..…….……

1.1.2.1**หัวขอยอย.………………………………………………………..………………….……..……..……

……………………………………………………………………………………………………………………………….…..…….…

1.1.2.2**หัวขอยอย.……………………………..………………….………..…..………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………….…..…….…

ก)**หัวขอยอย…………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ข)**หัวขอยอย………………………………………………………………………………………..…..

……………………………………………………………………………………………………………………………………….………

3.6 การพิมพตาราง 3.6.1 ตารางประกอบดวยเลขที่ของตาราง ชื่อของตาราง สวนขอความและที่มาของตาราง โดยปกติ

ใหพิมพอยูหนาเดียวกันท้ังหมด ซึ่งตารางอาจมีท้ังแบบแนวตั้งและแบบแนวนอนก็ได 3.6.2 ใหพิมพคําวาตารางที่ชิดริมกรอบกระดาษซายมือ ตามดวยเลขที่ของตารางตามการแบงบท และ

ชื่อตาราง กํากบัไวดานบนของตารางนั้น โดยเรียงลําดับหมายเลขตารางตามบทจาก 1 ไปจนจบบท ตาราง

ในภาคผนวกก็ใหพิมพในลักษณะเดียวกัน ใหพิมพตัวอักษรตวัหนา (Bold) คําวาตารางที่และเลขที่ตาราง เชน

ตารางที่ 1-1 (อยูในบทที่ 1) ตารางที่ 2-1 (อยูในบทที่ 2) ตารางที่ ก-1 (อยูในภาคผนวก ก) หรือ TABLE

1-1 (CHAPTER 1) TABLE 2-1 (CHAPTER 2) TABLE A-1 (APPENDIX A) เปนตน

3.6.3 ใหพิมพชื่อตารางตอจากเลขท่ีของตารางโดยเวนระยะหาง 2 ชวงตวัอักษร กรณีชื่อตารางยาว

เกินกวา 1 บรรทัด ใหพิมพตัวอักษรตัวแรกของบรรทัดถัดไปตรงกับตัวอักษรตัวแรกของชื่อตาราง เชน

ตารางที่ 1-1** ชื่อตารางชื่อตารางชื่อตารางชือ่ตารางชื่อตารางชือ่ตารางชื่อตารางชื่อตารางชื่อตารางชื่อตารางชือ่

ตารางชื่อตารางชื่อตารางชื่อตารางชื่อตารางชือ่ตารางชื่อตารางชือ่ตารางชื่อตารางชื่อตาราง

3.6.4 ตารางที่อางอิงจากแหลงอื่น ใหแจงที่มาไวทายตารางโดยเขียนบรรณานุกรมแหลงที่มาไวดวยใน

ตอนทายตาราง

3.6.5 ขนาดของตารางตองไมเกินกรอบของหนาพิมพวิทยานิพนธ สําหรับตารางขนาดใหญควรยอ

ขนาดลง โดยใชเครื่องถายยอสวนหรือวิธีอื่น ๆ ตามความเหมาะสม แตจะตองชัดเจนและอานไดงาย สําหรับ

ตารางที่มีขนาดใหญและไมสามารถยอขนาดได ใหอยูในดุลยพนิิจของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

Page 17: Book Thesis1

16

3.6.6 กรณีท่ีตารางมีความยาว หรือกวางมากจนไมสามารถบรรจุในหนากระดาษเดียวกันไดใหยอสวน

หรือแยกมากกวา 1 ตาราง ใหพิมพสวนที่เหลือในหนาถัดไป โดยจะตองพิมพเลขท่ีตารางและตามดวยคําวา

ตอในวงเล็บ เชน ตารางที่ 1-1 (ตอ) หรือ TABLE 1-1 (CONTINUED) เปนตน

3.7 การพิมพภาพประกอบ 3.7.1 ภาพประกอบดวย รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ

3.7.2 ภาพประกอบที่เปนภาพสี จะตองทําเปนภาพอัดสําเนาสีลงบนกระดาษปอนดขาวอยางชัดเจน

3.7.3 ภาพประกอบแตละภาพตองมีเลขท่ีของภาพ และชื่อหรือคําอธิบายภาพกํากับไวใตภาพประกอบ

กลางหนากระดาษ โดยเรียงลําดับหมายเลขของภาพตามบทจาก 1 ไปจนจบบท ภาพท่ีปรากฏในภาคผนวก

ก็ใหพิมพในลกัษณะเดียวกัน ใหพิมพตัวอักษรตัวหนา (Bold) คําวาภาพที่และเลขที่ของภาพ เชน ภาพที่ 1-1

(อยูในบทที่ 1) ภาพที่ 2-1 (อยูในบทที่ 2) ภาพที่ ก-1 (อยูในภาคผนวก ก) หรือ FIGURE 1-1

(CHAPTER 1) FIGURE 2-1 (CHAPTER 2) FIGURE A-1 (APPENDIX A) เปนตน

3.7.4 ภาพใด ๆ ก็ตาม จะตองทําเปนภาพอัดสําเนาบนกระดาษใหชัดเจน หามใชวิธีการติดภาพ

3.7.5 การพิมพภาพประกอบ ใหใชแนวปฏิบัติเชนเดียวกับการพิมพตารางที่กลาวมาแลว

3.8 การพิมพสมการ สมการแตละสมการตองมีเลขท่ีของสมการ โดยพิมพเรียงลําดับหมายเลขของสมการตามบทจาก 1

ไปจนจบบท สมการที่ปรากฏในภาคผนวกใหพิมพในลักษณะเดียวกัน ใหพิมพตัวอักษรธรรมดา (Normal)

เชน สมการที่ 1 อยูในบทที่ 1 ใหพิมพ (1-1) สมการที่ 2 อยูในบทที่ 2 ใหพิมพ (2-2) สมการที่ 3 อยูใน

ภาคผนวก ก ใหพิมพ (ก-3) หรือ Eq.1-1 (CHAPTER 1), Eq.2-2 (CHAPTER 2), Eq.A-1

(APPENDIX A) ดังตัวอยางหนา 84-85

3.9 การเขียนอางอิงแบบนาม - ป

3.9.1 ใชระบบการอางอิงแบบนาม - ป ซึ่งประกอบดวยชื่อผูแตง หรือชื่อกลุมผูแตง และปท่ีพิมพของ

เอกสาร เม่ือชื่อผูแตงปรากฏในประโยคใหระบุเฉพาะปในวงเลบ็

เอกสารอางอิงภาษาไทย ใหขึ้นตนชื่อผูแตงดวยชื่อตนเทาน้ัน โดยไมตองใสชือ่สกุล

เอกสารอางอิงภาษาตางประเทศ ใหขึ้นตนชื่อผูแตงดวยชื่อสกุลเทาน้ันเปนภาษาอังกฤษ โดยไมตอง

กํากับชื่อภาษาไทยในวงเล็บ

3.9.2 การอางอิงเอกสารทุกประเภทไวในเนื้อหา ใหใสไวในวงเล็บแทรกอยูกับเน้ือหา กรณีท่ีมีเลขหนา

เลขท่ีตารางหรือเลขท่ีภาพของเอกสารที่นํามาอางอิงใหใสเลขท่ีน้ัน ๆ ตามหลังปท่ีพิมพโดยค่ันดวยเครื่องหมาย

มหัพภาคคู (Colon) ดังตัวอยาง

คนเปนปจจัยสําคัญที่สุดในการบริหารเพราะคนเปนผูผลิตและผูใชปจจยัอื่น ๆ ไมวาจะเปนเงิน วัสดุ

และวิธีการจัดการ (สมาน, 2523: 1 - 2)

Page 18: Book Thesis1

17

จากการสํารวจในป พ.ศ. 2528 ปรากฏวามีโรงงานอุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑพลาสติกในประเทศ

ท้ังรายใหญและรายยอยอยูไมนอยกวา 2,000 ราย โรงงานสวนใหญ หรือประมาณรอยละ 46.3 ผลิตผลิตภัณฑ

ประเภทของใชในครัวเรือน อีกรอยละ 35 ผลิตภาชนะของบรรจุผลิตภัณฑ รวมกําลังผลิตทั้งสิ้นประมาณปละ

250,000-300,000 ตัน ซึ่งคาดหมายไดวาในอนาคตอุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑพลาสติกจะเจริญมากขึ้นเปน

เทาตัว และจะขยายไปไดตามความตองการของผูบริโภค (กมลลักษณ, 2528: 18)

หลักสูตรประกอบดวย 3 สวน คือ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม กิจกรรมการเรียนการสอน และการ

ประเมินผล (Tyler, 1970: 22)

3.9.3 ถาตองการอางเอกสารที่ผูแตงไดอางถึงในงานของตน การอางเชนน้ีถือวามิไดเปนการอางถึง

เอกสารน้ันโดยตรง ใหระบุนามผูแตงของเอกสารทั้งสองรายการ โดยระบุนามผูแตงและปท่ีพิมพของเอกสาร

อันดับแรก ตามดวยคํา อางถึงใน หรือ cited in แลวระบุนามผูแตงของเอกสารอันดับรองและปท่ีพิมพ

ดังตัวอยาง

. . . แทจริงประโยชนท่ีหอพระสมุดสําหรับพระนครจะทําใหแกบานเมืองได ไมใชแตรวมหนังสือเก็บ

ไวเปนสมบัติของบานเมืองอยางเดียว ถาหากสามารถตรวจสอบหนังสืออันเปนเหตุใหเกิดวิชาความรู

พิมพใหแพรหลายได ยังเปนประโยชนยิ่งขึน้เหมือนกับแจกจายสมบัติน้ันไปใหถึงมหาชนอีกชั้นหน่ึง

กรรมการจึงเห็นเปนขอสําคัญมาแตแรกตั้งหอพระสมุดสําหรับพระนคร ซึ่งหอพระสมุดควรเอาเปนธุระ

ในเรื่องพิมพหนังสือดวย (สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ, 2459: 110 อางถึงใน แมนมาส, 2509)

3.9.4 การคัดลอกขอความ (Quotations) การพิมพขอความที่คัดลอกมาอางองิโดยตรง ถาเปน

ขอความสั้นๆ ท่ีมีความยาวไมเกิน 3 บรรทัด ใหพมิพตอไปในเนื้อหาโดยไมตองขึ้นบรรทัดใหมใหเขียนไวใน

เครื่องหมายอัญประกาศ (" ") หากขอความที่คัดลอกมาน้ันมีความยาวติดตอกันเกิน 3 บรรทัด ใหพิมพ

แยกจากเนื้อหาโดยขึ้นบรรทัดใหมไมตองใสเครื่องหมายอัญประกาศ (" ") กํากับ แตใหพิมพติดตอกันไป

โดยดานซายของขอความอยูในระดับเสมอยอหนา

กรณีขอความทีคั่ดลอกมาไมไดเริ่มจากตัวแรกของยอหนา และทายขอความที่คัดลอกมาไมจบยอหนา

ของขอความเดิมใหใสเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) สามครั้งไวหนาและหลังขอความที่คัดลอกมา กรณีตองการ

ละขอความสวนกลางใหใสเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) สามครั้งแทนขอความที่ละไวน้ัน การพิมพเครื่องหมาย

มหัพภาค ( . ) สามครั้ง ใหพิมพโดยเวนระยะหางชวงตัวอักษร ( . . . ) ดังตัวอยาง

3.9.4.1 ขอความที่คัดลอกมาไมเกิน 3 บรรทัด

ประเทศไทยในปจจุบัน วัว และควาย นอกจากจะยังคงเปนแรงงานในฟารมสวนใหญอยูแลว ยังเปน

แหลงโปรตีนท่ีสาํคัญอีกดวย พิจารณาในแงอาหารสตัว " . . . สัตวประเภทนี้สามารถที่จะใชประโยชนจาก

ผลิตผลในไรนา . . . ซึ่งไมมีคาทางเศรษฐกิจใหเปลี่ยนมาเปนพลังงานและเนื้อไดอยางมีประสิทธิภาพ . . . "

(ณรงค, 2522: 10)

Page 19: Book Thesis1

18

3.9.4.2 ขอความที่คัดลอกมาเกิน 3 บรรทัด

ในการศึกษาเพื่อคนควาหาความรูใหมๆ น้ัน ไดมีการวิเคราะหวิจัยเพื่อหาวิธีการในการศกึษาและ

การถายทอดความรูสึกดวยวิธีการตางๆ ท่ีแตกตางกันมาแลวมากมายหลายวธีิ และวิธีการทางวิทยาศาสตร

ก็นับเปนวิธีการหนึ่งที่สามารถชวยในการศึกษาคนควาหาความรูใหมๆ เปนไปอยางหนาเชื่อถือไดมากกวา

วิธีการอื่นๆ อีกหลายวิธี ดังคํากลาวของ Cohen and Hagel (1897: 195) ซึ่งกลาวไววา

. . . วิธีการอื่นๆ น้ันแตกตางไปจากวิธีการทางวิทยาศาสตรท่ีวา วิธีการเหลาน้ันไมสามารถเอื้อตอการ

ปรับเปลี่ยนขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นไดจากการคนพบ จึงเปนการแตกตางจากวิธีการทางวิทยาศาสตร

เพราะวิธีการทางวิทยาศาสตรเปนกระบวนการที่เนนการพัฒนา และชวยสงเสริม และกระตุนใหเกิด

การเรียนรูอยางตอเน่ืองของผลลัพธท่ีไดจากกระบวนการศึกษา ไมวาจะเปนไปตามสมมติฐานหรือไม

ก็ตาม จะนําไปสูการคนควาใหมอยางตอเน่ืองและกาวหนาตอไปไดอีกเรื่อยๆ โดยไมหยุดยั้ง โดยอาศัย

ขอคนพบกอนๆ มาเปนขอมูลสนับสนุนอีกขั้นหน่ึง เพื่อใหไดขอคนพบใหมๆ ตอไป เรื่อยๆ . . .

ดังน้ันวิธีการทางวิทยาศาสตร จึงเปนกระบวนการศึกษาหาความรูท่ีนาเชื่อถือไดเปนอยางยิ่ง เปรียบเสมือน

แสงสวางนําทางใหกับนักวิจยัหรือนักศึกษา เพื่อไปสูการคนพบความรูใหมๆ ตอไปอยางไมหยุดยั้ง

3.9.5 ในกรณีท่ีระบุชือ่ผูแตงไวแลวในเนื้อหาหรือขอความนั้น การอางอิงไมตองระบุถึงชื่อผูแตงซ้าํอีก

ในวงเล็บ ใหระบุเฉพาะปท่ีพิมพและเลขหนาท่ีอางอิง (ถามี) ดังตัวอยาง

การคํานวณหาคาการใชประโยชนอาคารสถานที่ของการศึกษา มักจะพิจารณาจากความจุและเวลา

ซึ่ง Vickery (1979) ไดใหความเห็นเกี่ยวกับการใชอาคารสถานที่เรียนไววา . . .

Bernett (1953: 55) ไดใหความหมายของ “นวกรรม” ไววา . . .

นภาภรณ (2531: 1) ไดแบงประเภทของสื่อท่ีใชในการประชาสมัพันธไว 4 ประเภทคือ . . .

ในการใชสื่อเปนเครื่องมือในการประชาสัมพันธน้ัน จําเปนท่ีจะตองทราบถึงลกัษณะและความแตกตาง

ของสือ่แตละชนิด ซึ่งวิจิตร (2522: 116 - 118) ไดจําแนกไวดังน้ี . . .

3.9.6 ถาผูวิจัยอางอิงเอกสารของผูแตงคนเดียวกัน ซึ่งไดเขียนเอกสารไวหลายเลมในปเดียวกัน กใ็ห

ใสตัวอกัษร ก, ข, ค, . . . กํากับไวท่ีปท่ีพิมพดวยสาํหรับเอกสารอางองิภาษาไทย และอักษร a, b, c, . . .

สําหรับเอกสารอางอิงภาษาตางประเทศ เชน (ศักด์ิ, 2512 ก) และ (ศักด์ิ, 2512 ข: 12) เปนตน

3.10 การพิมพบรรณานกุรม (Bibliography)

หลักเกณฑการพิมพบรรณานุกรมมีขอกําหนดดังน้ี

3.10.1 การพิมพบรรณานุกรมใหอยูตอจากสวนเน้ือหา และกอนภาคผนวกใหพิมพคําวา “บรรณานุกรม"

หรือ "BIBLIOGRAPHY" กลางหนากระดาษ โดยเวนขอบกระดาษพิมพเชนเดียวกับการเริ่มบทใหม และให

เวนระยะหางจากชื่อบรรณานุกรม 1 บรรทัด จึงเริ่มพิมพบรรทัดแรกของแตละรายการของเอกสารที่ใชอางอิง

3.10.2 ใหเรียงเอกสารที่ใชอางองิทั้งหมดไวดวยกัน โดยเรียงลาํดับตามตัวอกัษรตัวแรกของรายการ

ท่ีอางอิง โดยยึดวิธีการเรียงลําดับตามแบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

Page 20: Book Thesis1

19

วิทยานิพนธท่ีเขียนดวยภาษาไทย ใหเรียงลําดับรายการบรรณานุกรมภาษาไทยไวกอน แลวจงึตามดวย

รายการบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ

วิทยานิพนธท่ีเขียนดวยภาษาอังกฤษใหเรียงลําดับรายการบรรณานุกรมภาษาอังกฤษไวกอน แลวจึง

ตามดวยรายการบรรณานุกรมภาษาไทย

3.10.3 การพิมพแตละรายการที่อางอิง ใหพิมพชิดกรอบกระดาษดานซายมือ หากมีขอความที่จะตอง

พิมพตอจากบรรทัดแรกใหพิมพบรรทัดตอไปโดยยอหนาเวนระยะ 1.5 เซนติเมตร (0.59 น้ิว)

3.10.4 กรณีการอางองิหนังสือหลายเลมท่ีมีผูแตงเปนชื่อเดียวกัน ใหเขียนชื่อผูแตงเฉพาะเลมแรก

เลมตอๆ ไป ใหขีดเสนยาว 1.5 เซนติเมตร (0.59 น้ิว) แลวตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) และให

เรียงลําดับงานของผูแตงคนเดียวกันตามลําดับเวลาของผลงาน หรือลําดับตัวอักษรของชื่อผลงาน

3.10.5 ถาผูแตงเปนชาวตางประเทศ ใหพิมพชื่อสกุลตามดวยชื่อตนและชื่อกลาง (ถามี) เชน Reynolds,

F. E. Mullen, N. D. Red, K. P. Muttiko, M. Turabian, Kate L. เปนตน

3.10.6 ถาผูแตงเปนคนไทย ใหพิมพชื่อตนกอน แลวตามดวยนามสกุล ถาเขียนเอกสารเปนภาษา

ตางประเทศใหใชนามสกุลกอนแลวตามดวยชื่อตน ในกรณท่ีีผูแตงชาวไทยมีฐานันดรศักด์ิ บรรดาศักด์ิ

สมณศักด์ิ ใหพิมพชื่อตามดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) และฐานันดรศักด์ิหรือบรรดาศักด์ิ ตามดวย

เครื่องหมายมหัพภาค ( . ) เชน ธรรมศักด์ิมนตรี, เจาพระยา. วิจิตรวาทการ, หลวง. เปนตน

3.10.7 ชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร ชื่อวิทยานิพนธ ฯลฯ ใหเนนขอความโดยเลือกพิมพดวยตัวหนา (Bold)

หรือขีดเสนใต (Under Line) หรือตัวเอน (Italic) ตามความเหมาะสม แตใหเปนแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม

3.10.8 การเวนระยะในการพิมพหลังเครื่องหมายวรรคตอน มีดังน้ี

หลังเครื่องหมายมหัพภาค ( . Period) เวน 2 ระยะ

หลังเครื่องหมายจุลภาค ( , Comma) เวน 1 ระยะ

หนาและหลังเครื่องหมายอัฒภาค ( ; Semi-colon) เวน 1 ระยะ

หนาและหลังเครื่องหมายมหัพภาคคู ( : Colon) เวน 1 ระยะ

3.11 การเขียนอางอิงแบบตัวเลข

การอางอิงแบบตัวเลขเปนการระบุแหลงที่ใชอางอิงในการเรียบเรียงวิทยานิพนธเปนหมายเลขเรียงลําดับ

กันไป โดยใชวธีิการดังน้ี

3.11.1 ใสตัวเลขกํากับไวทายขอความ หรือชื่อบุคคลที่อางอิงดวยตัวเลขอารบิค ในเครื่องหมายวงเล็บ

สี่เหลี่ยม [ ] เชน [1], [2] เปนตน

3.11.2 ตัวเลขเรียงลําดับตั้งแตเลข 1 เปนตนไปจนจบบทหรือจบเลม

3.11.3 ในกรณท่ีีมีการอางอิงซ้ําใหใชตัวเลขเดิมท่ีเคยใชอางอิงมากอนแลว

3.11.4 แหลงทีใ่ชอางอิงทั้งหมดนั้น จะไปปรากฏอยูในเอกสารอางอิง (References)

Page 21: Book Thesis1

20

ตัวอยางการอางอิงแบบตัวเลขแทรกในเนื้อหา การเลือกสื่อใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคของบทเรียน เปนปจจัยท่ีมีความสําคัญมากสําหรับการจัด

กิจกรรมการเรียน พิสิฐและธีระพล [1] ไดใหหลักเกณฑและวธีิการในการเลือกสื่อใหเหมาะสมกับวัตถุประสงค

ไวเปน 2 ตอน ในการพิจารณาบุคคลเพื่อใหทําหนาท่ีผูนําแผนกหรือพัฒนา ผูทําหนาท่ีหัวหนาแผนกอยูแลวใหเปน

ผูนําท่ีดีน้ัน นอกจากจะทราบบทบาทหนาท่ีและทักษะของผูนําแลว ยังตองพิจารณาจากคุณสมบัติของ

ตัวบุคคลที่จะไดรับการพิจารณาดวย คุณสมบัติของผูนําท่ีดีน้ัน Stogdill [2] ไดสรุปวาบุคคลที่ดํารงตําแหนง

ผูนําจะมีลักษณะตอไปนี้มากกวาสวนเฉลี่ยของกลุม

3.12 การพิมพเอกสารอางอิง (References)

หลักเกณฑการพิมพเอกสารอางอิง (References) มีขอกําหนดดังน้ี

3.12.1 การพิมพเอกสารอางอิงใหอยูตอจากสวนเนื้อหา และกอนภาคผนวกใหพิมพคําวา “เอกสาร

อางอิง” หรือ “REFERENCES” กลางหนากระดาษ โดยเวนขอบกระดาษพิมพเชนเดียวกับการเริ่มบทใหม

และใหเวนระยะหางจากชื่อเอกสารอางอิง 1 บรรทัด จึงเริ่มพิมพบรรทัดแรกของแตละรายการของเอกสาร

ท่ีใชอางองิ

3.12.2 ใหเรียงลําดับเอกสารอางองิตามลําดับหมายเลขที่ไดกํากับไวภายในเครื่องหมายวงเล็บสี่เหลี่ยม

[ ] ท่ีไดอางถึงในเนื้อหาของวทิยานิพนธ โดยไมตองเรียงตัวอกัษร

3.12.3 ไมตองแยกภาษาและประเภทของเอกสาร

3.12.4 พิมพหมายเลขของทุกเอกสารใหชิดกับขอบกระดาษดานซาย

3.12.5 ถาขอความในเอกสารอางองิขอใดขอหน่ึงมีความยาวมากกวาหน่ึงบรรทัด ใหพิมพบรรทัดถัดไป

โดยยอหนาเวนระยะ 1.5 เซนติเมตร (0.59 น้ิว)

เมื่อใชวิธีการเขยีนรายการอางอิงวิธีใดแลว

ใหใชวิธีการนั้นตลอดทั้งเลม

Page 22: Book Thesis1

21

3.13 การลงรายการบรรณานุกรมหรอืเอกสารอางอิงทายเลม

การเขียนรายการอางอิงในสวนทายน้ีไมวาในเน้ือหาขอความผูวจิัยไดอางจากเอกสารตาง ๆ แบบตัวเลข

หรือแบบนาม-ปใหใชวิธีเดียวกนั โดยมีหลักเกณฑในการลงรายการจําแนกตามประเภทของเอกสารคือ

หนังสือ บทความที่พิมพเผยแพร บทวิจารณ วิทยานิพนธ จุลสาร เอกสารอัดสําเนา และเอกสารทีไ่มได

ตีพิมพ อื่น ๆ ตลอดจนการสมัภาษณ ซึ่งมีตัวอยางการลงรายการดังน้ี

หนังสือ

ผูแตง 1 คน

วัชรพงศ**ยะไวทย.**E-Commerce และกลยุทธการทําเงินบนอินเทอรเน็ต.**กรุงเทพฯ*:*ซีเอ็ด

ยูเคชั่น,*2542.

กัญจนา**บุณยเกียรติ.**การคํานวณขั้นตนในวิชาวิศวกรรมเคมี.**พิมพครั้งที่ 4.**กรุงเทพฯ*:*จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย,*2540.

Leonard,*J.**Advanced Practical Organic Chemistry.**2nd ed.**London*:*Blackie

Academic & Professional,*c1995.

ผูแตง 2 คน

ประชา**พฤกษประเสริฐ*และอุษณีย**เหลืองออน.**คูมือการเรียนรูและเทคนิคการใชงาน Adobe

Photoshop 5.0 ฉบับสมบูรณ*:*step by step เรียนรูงาย เขาใจเร็ว พรอมปฏิบัติไดจริง.**

พิมพครั้งที่ 2.**กรุงเทพฯ*:*ส.เอเซียเพรส.**(1989),*[2541?].

Hughes,*D.*E.*P. and M.*J.*Maloney.**Advanced Theoretical Chemistry.**London*:*Chatto

& Windus,*c1999.

ผูแตง 3 คน

วัฒนา**วิริยะดนตรี,*สุปกิต**ประติมากรณ*และศิริชัย**มงคลสิทธิ.์**คูมือการเรียนรูโปรแกรม

Photoshop 5 technic.**กรุงเทพฯ*:*Imagination,*2542.

Skoog,*D.*A.,*West, Donald M. and*Holler, F. James.**Analytical Chemistry*:*An

Introduction.**5th*ed.**Philadelphia*:*Saunders College,*c1990.

ผูแตงมากกวา 3 คน

ชาตรี**ศรีไพพรรณ*และคนอืน่ ๆ.**การรับสงสัญญาณเสียงและสัญญาณคอมพิวเตอรโดยวิธีการ

มัลติเพลกซเขากับสัญญาณแสง.**กรุงเทพฯ*:*จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,*[25--?]

Coffee,*Peter,*et al.**How to Program JavaBeans.**Emeryville,*Calif.*:*Ziff-Davis

Press,*c1997.

Page 23: Book Thesis1

22

ผูแตงที่เปนนิติบุคคล

กรมพัฒนาและสงเสริมพลงังาน,*กระทรวงวิทยาศาสตร.**กฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญัติ

การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535.**กรุงเทพฯ*:*กรม,*[2542?].

Institute of Electrical Engineers.**Energy Storage for Power Systems.**London*:*Peter

Peregrinus,*c1994.

ไมปรากฏชื่อผูแตง มีแตผูทําหนาท่ีบรรณาธิการ

Kellner,*R.,*ed.**Analytical Chemistry*:*The Approved Text to the FECS Curriculum

Analytical Chemistry.**Weinheim*:*Wiley,*c1998.

ไมปรากฏชื่อผูแตง

65 เรื่องนารูเทคนิคเครื่องกล.**กรุงเทพฯ*:*ซีเอ็ดยูเคชั่น,*2533.

งานของผูแตงปรากฏในหนังสอืท่ีรวบรวมโดยอกีบุคคลหนึ่ง

ไพโรจน**จวงพานิช.**"โรคออยท่ีเกิดจากเชื้อรา."**รวบรวมโดยเกษม**สุขสถาน*และ*อุดม**พูลเกษ.**

หลักการทําไรออย.**กรุงเทพมหานคร*:*มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,*2520.

Coleridge,*Samuel Taylor.**"The Complete Works of Samuel Tayler Coleridge."**Edited by

W.*G.*T.**Shedd.**Vol.1.**Aid to Reflection.**New York*:*Harper & Bros,*1884.

หนังสือในชุดหนังสือ (Book in a Series)

ผูแตง.**ชื่อหนังสือ.**ชื่อชุดหนังสือ.**ลําดับที่.**เมืองที่พิมพ*:*สํานักพิมพ,*ปท่ีพิมพ.

ไพโรจน**มีกุศล.**การปฏิรูปการปกครองมณฑลอีสาน พ.ศ. 2436-2453.**เอกสารการนิเทศการศึกษา.**

ฉบับที่ 49.**กรงุเทพมหานคร*:*หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู,*2517.

Clapp,*Verner W.**The Future of the Research Library.**Phenias W.*Windsor Series in

Librarianship.**No.8.**Urbana*:*University of Illinois Press,*1964.

เอกสารที่อางถึงในเอกสารอืน่

การอางเอกสารซึ่งมีผูกลาวไวในเอกสารอื่นโดยที่มิไดเคยอานหนังสือเลมน้ัน มีแบบการเขียนคือ

ขึ้นตนดวยชื่อผูแตง และชือ่เรื่องเอกสารอันดับแรก ใชวา “อางถึงใน” หรือ “cited in” หนาชื่อผูแตง

ชื่อเรื่องเอกสารอันดับรอง ดังตัวอยาง

อนุมานราชธน,*พระยา.**แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ.**พระนคร*:*สํานักพิมพคลังวิทยา.**2479,*อางถึงใน

สายจิตต**เหมินทร.**การเสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานูและปะลิส ของไทยใหแกองักฤษใน

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว.**วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต

แผนกวิชาประวติัศาสตร คณะอักษรศาสตร จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย,*2507.

French,*L.*S.**"Is It Really Friendly?"*PITT.**(February 1985)*:*19,*อางถึงใน*ศรีอร**

เจนประภาพงศ.**ทัศนคติของบรรณารักษหองสมุดมหาวิทยาลัยท่ีมีตอเทคโนโลยีสารนิเทศ.**

วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาบรรณารักษศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย,*2529.**หนา 44.

Page 24: Book Thesis1

23

Wallis,*Osborne A.**Introduction to Microcomputers.**Berkley,*Calif.*:*Adam Osbarne &

Assoc.,*1977,*p.198.**Cited in Morris M.*Hyman.**Automated Library

Circulation System.**White Plains,*NY*:*Knowledge Industry Publications,*1981.

หนังสือแปล

ผูแตง.**ชื่อเรื่อง.**แปลโดย ผูแปล.**สถานที่พิมพ*:*สํานักพิมพ,*ปท่ีพิมพ.

จอรช**แนช,*แดน**วอลดอรฟ*และ*โรเบิรต อี ไพรซ.**มหาวิทยาลัยกับชุมชนเมือง.**แปลโดย อัปสร

ทรัยอัน และคนอื่น ๆ.**กรุงเทพมหานคร*:*สํานักพิมพแพรพทิยา,*2518.

Lissuer,*Ivar.**The Living Past.**Translated by J.*Maxwell Brownjohn.**New York*:*G.P.*

Putnam's Sons,*1957.

Foucault,*M.**The Archaeology of Knowledge.**Translated by A.*M.*S. Smith London*:*

Tavistock Publications,*1972.

บทความที่พิมพเผยแพร

บทความในหนงัสือรวบรวมบทความ

ผูแตง.**"ชื่อบทความ."**ชื่อหนังสือ.**เลขหนา.**ชื่อบรรณาธิการหรือผูรวบรวม.**สถานที่พิมพ*:*

สํานักพิมพ,*ปท่ีพิมพ.

บุนนาค**พยัคเดช.**"พุทธศาสนากับมรรยาทประจําวัน."**พุทธศาสนากาวหนา.**445-448.**รวบรวมและ

จัดพิมพโดย ทวน**วิริยาภรณ.**ธนบุรี*:*ป. พิศนาคะการพิมพ,*2506.

Johnson,*Bruce F.*and Kilby,*Peter.**"Interselations between Agricultural and Industrial

Growth."**Agricultural Policy in Developing Countries.**41-57.**Edited by Nural

Islam.**New York*:*Wiley,*1974.

บทความจากวารสาร (Journal)

ผูแตง.**"ชื่อบทความ."**ชื่อวารสาร.**ปท่ี*(เดือน ป)*:*เลขหนา.

ยรรยง**ศรีสม.**"การหาพื้นท่ีของรูปหลายเหลี่ยม."**21*(เม.ย.-พ.ค. 29)*:*71-74.

ลัดดาวัลย**บุญรัตนกรกิจ.**"สมุนไพรกระเทียม."**วารสารวิทยาศาสตร.**35*(พฤศจิกายน 2524)*:*803-

806.

ธเนศ**อาภรณสุวรรณ.**"ขอสงัเกตเกี่ยวกับการศึกษาประวัติศาสตรเศรษฐกิจของไทย."**วารสาร

มนุษยศาสตร.**ฉบับที่ 2 (2518)*:*35-40.

Yoder,*Robin N.*...* [et*al.].**"Aerobic Metabolism of Diclosulam on U.S. and South

American Soils."**Journal of Agricultural and Food Chemistry.**48*(9 Sept.

2000)*:*4335-4340.

H.*P.*Blom.**et*al.,*Journal of Applied Polymer Science.**58*(1995)*:*995-1006.

Michel**Droscher.**Polymer Recycling.**2*(1996)*:*43-47.

Page 25: Book Thesis1

24

Dissertation Abstracts

ผูแตง.**"ชื่อเรื่อง."**ชื่อหนังสอื.**ปท่ี*(เดือน ป)*:*เลขหนา.

Seibold,*David Robert.**"A Complex Model of Attitude and Overt Behavior Relationships*:*

The Mediating Effects of Certainty and Locus Control."**Dissertation Abstracts

International.**36*(1976)*:*6454-6455.

บทความในหนงัสือพิมพ

ผูเขียน.**"ชื่อบทความ."**ชื่อหนังสือพิมพ.**(วัน เดือน ป)*:*เลขหนา.

พัฒนพงษ.**"อุปสรรคในการรวมเวียดนาม."**สยามรัฐ.**(10 พฤษภาคม 2519)*:*11.

หากไมมีชื่อผูเขยีนใหขึ้นตนดวยชื่อบทความดังน้ี

"Amazing Amazon Region."**New York Times.**(January 12,*1969)*:*11.

บทความในสารานกุรม ผูแตง.**"ชื่อบทความ."**ชื่อสารานุกรม.**เลมท่ี.**(ปท่ีพิมพ)*:*เลขหนา.

วิกรม**เมาลานนท.**"ทอดตลาด."**สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน.**13*(2516-2517)*:*8453-

8460.

เจริญ**อินทรเกษตร.**"ฐานันดร."**สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน.**11*(2515-2516)*:*6912-

6930.

Kaplan,*L.**"Library Cooperation in the United States."**Encyclopedia of Library and

Information Science.**15*(1975)*:*241-244.

Lermert,*Edwin M.**"Social Problems."**International Encyclopedia of the Social Sciences.

14*(1968)*:*452-458.

บทวิจารณหนังสือ (Book Reviews)

ผูเขียนวิจารณ.**วิจารณเร่ือง**ชื่อหนังสือท่ีวิจารณ.**โดย*ชื่อผูแตง.**ชื่อวารสาร.**ปท่ี*(เดือน ป)*:*เลขหนา.

ชํานาญ**นาคประสม.**วิจารณเรื่อง ลายมือสยาม.**โดย*สุลักษณ**ศิวลักษณ.**สังคมศาสตรปริทัศน.

5*(มิถุนายน-สิงหาคม 2510)*:*139-141.

เกศินี**หงสนันท.**วิจารณเรื่อง**การวัดในการจัดงานบุคคล.**โดย*สวัสด์ิ**สุคนธรังส.ี**วารสารพัฒน

บริหารศาสตร.**14*(กรกฎาคม 2517)*:*379-381.

Demott,*Benjamin.**Review of Briefing for a Descent into Hell.**by Doris Lessing.**

Saturday Review.**13*(March 1971)*:*25-26.

Millar, T. B.**Review of Three and a Half Powers : The New Balance in Asia.**by H.*C.*

Hinton.**Pacific Affairs.**49*(Spring 1976)*:*114-115.

Page 26: Book Thesis1

25

วิทยานิพนธ/ปริญญานิพนธในสถาบันอุดมศึกษา

สุขเกษม**มานพพงศ.**สภาพการจัดการเรียนการสอนกลุมวิชาชีพเลือก สาขาวิชาพณิชยการของสถานศึกษา

สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร.**วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต

สาขาวชิาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ,*2541.

ธีระเดช**ดําขํา,*วิษณุ**บุตรแวว*และดิษพงษ**อัฉริยะศิลป.**การออกแบบและสรางเครื่องอดัเชื้อถุง

สําหรับเพาะเห็ด.**ปริญญานิพนธอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิาเทคโนโลยีเครื่องกล

(ออกแบบเครื่องกล) ภาควิชาเครื่องกล วิทยาลัยเทคโนโลยีอตุสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยี

พระจอมเกลาพระนครเหนือ,*2541.

Baclawski,*K.*P.**Homology and Cambinatories of Ordered Sets.**Ph.D.Thesis,*Faculty of

Science,*Harward University,*1976.

Tumnong**Dassri.**An Economic Analysis of Maize Supply Response Thailand,*1950-1970.

Masters Thesis,*Faculty of Economics,*Thammasat University,*1972.

สื่อไมตีพิมพ

การเขียนรายการอางอิงสื่อไมตีพิมพ เชน โสตทัศนวัสดุประเภทสไลด เทปบันทึกเสียง ฟลมสตริป

ภาพยนตร รายการวิทย ุ รายการโทรทัศน เทปบันทึกภาพ แฟมขอมูลและโปรแกรมคอมพิวเตอร มีแบบ

การเขียนดังน้ี

โสตทัศน

Maas,*J.*B.*(Producer),*and Gluck,*D.*H.*(Director).**Deeper into Hypnosis [Film].

Englewood Cliffs,**NJ*:*Prentice-Hall,*1979.

Clark,*K.*B.*(Speaker).**Problems of Freedom and Behavior Modification

[Cassette Recording No. 7612].**Washington, DC*:*American Psychological

Association,*1976.

พจน**สารสิน.**ความอยูรอดของเศรษฐกิจไทย.**[บทวิทยุออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแหง

ประเทศไทย].**13 เมษายน 2520.

สื่ออิเลก็ทรอนิกส แฟมขอมูลและโปรแกรมคอมพิวเตอร (Electronic Document)

สื่ออิเล็กทรอนิกสเปนแหลงขอมูลท่ีสําคัญอีกชนิดหน่ึง สามารถสืบคนได 2 ระบบ คือ ระบบออนไลน

(Online) และระบบซีดีรอม (CD-ROM)

Bowers,*K.*L.,*et*al.**FYI on where to start – bibliography of internet working

information.[Online]**1990.**Available from E-mail*:*[email protected].

Prizker,*T.*J.**An Early Fragment from Central Nepal. [Online]**(n.d.).**Available from:

http://www.ingress.com/-astanart/pritzker/pritzker.html[1995,June 8].

Chandrasekar,*R.*and*Bangalore, S.**1998.**Knowing a Word by the Company It Keeps*:*

Using Local Information in a Maximum Entropy Model.**Available online at

http://www.cis.upenn.edu/~mickeyc/cv/cv.html.

Page 27: Book Thesis1

26

พลวีรย สยามชัย. การพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดซื้อ. วทิยานิพนธวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวชิาวิศวกรรมอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542. (เปนบทคัดยอ

วิทยานิพนธออนไลน) สาระสังเขป สืบคนวันท่ี 20 มีนาคม 2546 จาก

http://thesis.tiac.or.th/result2t.asp

มาตรฐานการทดสอบ ASTM DESIGNATION*:*D1238-94a,*Standard test method for flow rate of thermoplastics by

extrusion plastomer.

สิทธิบัตร (Patent)

ชื่อผูจดสิทธิบัตร.**"ชื่อวิธีหรือสิ่งประดิษฐ."**ประเทศที่จดสิทธิบัตร หมายเลขของสิทธิบัตร.**วัน เดือน ปท่ี

ไดรับการจดสิทธิบัตร.

สาธิต**เกษมสันต,*ม.ล.**"กรรมวิธีในการทําแอบโซลูตอัลกอฮอล."**สิทธิบัตรไทย เลขท่ี 77.**4 ก.พ.

2526.

Meltsner,*B.*R.**"Stable Plastic Compositions,*Assigner to ethyl Corporation."**New York,*

U.S. Patent*:*3,637,586.**January*1972.

Buchanan,*R.*A.**"Extraction of Rubber or Rubberlike Substances from Fibrous Plant

materials."**U.S. Patent 4,136,131.**Jan. 23,*1979.

การสัมภาษณ

ผูใหสัมภาษณ.**ตําแหนง(ถามี).**สัมภาษณ,*วัน เดือน ป.

เสริม**วินิจฉัยกุล.**นายกราชบัณฑิตยสถาน.**สัมภาษณ,*20 มกราคม 2521.

แมนมาส**ชวลติ.**ผูอํานวยการกองหอสมุดแหงชาติ.**สัมภาษณ,*7 ธันวาคม 2519.

Hoontrakool,*Sommai.**Managing Director,*Siam Cement Co., Ltd.**Interview, 27 March

1977.

Ross,*R.**Associate Director,*Cornell University Libraries.**Interview,*5 May 1980.

แผนที่ภาพถายทางอากาศและภาพถายดาวเทยีม กรมแผนที่ทหาร.**"ดอยปาซาง."**4840 II.**พิมพครั้งที่ 1-RTSD.**แผนที่ประเทศไทย ชุด L 7017.**

2517.**มาตราสวน 1*:*50,000.

กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและการพลังงาน, สํานักงานคณะกรรมการวิจยัแหงชาต ิกองสํารวจ

ทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม.**"เมืองพิษณุโลกจากอวกาศภาพถายจากดาวเทียมแลนดแซท

ระบบชีแมกิดแบบเปอร (T. M.)."**ภาพสีผสม.**17 มกราคม 2513.**มาตราสวน*:*50,000.

Page 28: Book Thesis1

27

จุลสาร เอกสารอัดสําเนา

ใหใชรูปแบบการบันทึกรายการเชนเดียวกับการอางอิงหนังสอื ยกเวนชื่อเรื่องใหใสไวในเครื่องหมาย

อัญประกาศ (" ") และในวงเล็บทายรายการพิมพคําวา "อัดสําเนา" สําหรับเอกสารภาษาไทย และคําวา

"Mimeographed" สําหรบัเอกสารภาษาอังกฤษ สวนกรณีภาษาตางประเทศอื่นใหอยูในดุลยพินิจของ

คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และภาควิชา

สัจจา**สายโรจนพันธ.**"สภาวะแวดลอมกับความปลอดภัยในการทํางาน."**กรุงเทพมหานคร*:*

กองวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สํานักงานคณะกรรมการสิง่แวดลอมแหงชาติ,*2520.**

(อัดสําเนา)

วรรณี**เมืองเจริญ.**"การใหขอติชมทางการศึกษา สําหรับผูสอนในระดับอุดมศึกษา."**กรุงเทพมหานคร*:*

หนวยพัฒนาคณาจารย ฝายวชิาการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,*2520.**(อัดสําเนา)

Supadhiloke,*Boonlert.**"Communicator and Civil Engineer*:*How Close We are ?"**Paper

Presented at the AMIC Seminar on Some Aspects of the Multi-Media Approach to

Mass Communication,*Bangkok,*4-6 October 1977.**(Mimeographed)

Economic*and*Social Commission for Asia and the Pacific.**"ESCAP Trade Promotion

Centre*:*What it is, what it does 1976-1977."*Bangkok*:*ESCAP. (Mimeographed)

3.14 การพิมพภาคผนวก

การพิมพภาคผนวกใหพิมพในหนาถัดจากภาคเอกสารอางอิง ถาภาคผนวกมีภาคเดียวไมไดแบง

ออกเปนหลายภาคใหใชเปน "ภาคผนวก ก" หรือ "APPENDIX A" โดยพิมพอยูกลางหนากระดาษ

บรรทัด ตอมาพิมพชื่อของภาคผนวกโดยเวนจากบรรทัดบน 1 บรรทัด ถาภาคผนวกมีหลายภาคใหใชเปน

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ หรือ APPENDIX A, APPENDIX B ฯลฯ ตามลําดับ ใหขึ้นหนาใหม

เม่ือขึ้นภาคผนวกใหม

3.15 การทําสําเนา

การทําสําเนาใหใชวิธีอัดสําเนาโรเนียว ถายเอกสาร พิมพออฟเซทหรือวิธีอื่น ๆ ท่ีใหความชัดเจนและ

ถูกตองเชนเดียวกับตนฉบับ วิทยานิพนธทุกเลมท่ีเสนอบัณฑิตวิทยาลัย ตองมีลายมือชื่อจริงดวยปากกา

หมึกซึมสีดําของคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ (ในใบรับรองวิทยานิพนธ) และอาจารยท่ีปรกึษาวิทยานิพนธ

(ในบทคัดยอ)

Page 29: Book Thesis1

ภาคผนวก ก

ตัวอยางการพิมพวิทยานิพนธ

Page 30: Book Thesis1

29

การพิมพขอความบนปกนอกและปกใน (แบบฟอรมภาษาไทย)

(ชื่อเรื่อง)

คํานําหนาชื่อ+ชือ่**นามสกุล

วิทยานิพนธน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ชื่อเต็มปริญญาที่ไดรับ

สาขาวชิา **ภาควิชา

บัณฑิตวิทยาลัย**สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ปการศึกษา**(ท่ีสําเร็จการศึกษา)

ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Page 31: Book Thesis1

30

(ตัวอยางภาษาไทย)

สมรรถภาพในวชิาชีพของผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาเทคนิคคอมพิวเตอร ตามความตองการของสถานประกอบการสงออกดานคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ

นายชนะรัฐ สุมาลัย

วิทยานิพนธน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต

สาขาวชิาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ปการศึกษา 2542

ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Page 32: Book Thesis1

31

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

(THESIS TITLE)

TITLE+NAME**SURNAME

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS

FOR THE MASTER OF IN

DEPARTMENT OF

GRADUATE COLLEGE

KING MONGKUT'S INSTITUTE OF TECHNOLOGY NORTH BANGKOK

ACADEMIC YEAR

COPYRIGHT OF KING MONGKUT'S INSTITUTE OF TECHNOLOGY NORTH BANGKOK

Page 33: Book Thesis1

32

(ตัวอยางภาษาองักฤษ)

A ZERO CURRENT SWITCH PARALLEL-LOADED RESONANT TOPOLOGY

DC-DC POWER CONVERTER

MR.PATTANAPONG JAROENGERATIKUN

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS

FOR THE MASTER OF ENGINEERING IN ELECTRICAL ENGINEERING

DEPARTMENT OF ELECTRICAL ENGINEERING

GRADUATE COLLEGE

KING MONGKUT'S INSTITUTE OF TECHNOLOGY NORTH BANGKOK

ACADEMIC YEAR 1999

COPYRIGHT OF KING MONGKUT'S INSTITUTE OF TECHNOLOGY NORTH BANGKOK

Page 34: Book Thesis1

33

การพิมพใบรับรองวิทยานิพนธ

(แบบฟอรมภาษาไทย)

หมายเหตุ พิมพตําแหนงทางวิชาการเต็ม เชน ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย อาจารย เปนตน

(แบบฟอรมภาษาไทย) หมายเหตุ พิมพตําแหนงทางวิชาการเต็ม เชน ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย อาจารย เปนตน

ใบรับรองวิทยานิพนธ

บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

เรื่อง** โดย < เวน 1 บรรทัด > ไดรับอนุมัติใหนับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร สาขาวชิา คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

( )

< เวน 2 บรรทัด >

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ (กรณีมี 3 ทาน)

ประธานกรรมการ

( )

กรรมการ

( )

กรรมการ

( )

Page 35: Book Thesis1

34

(แบบฟอรมภาษาไทย)

หมายเหตุ พิมพตําแหนงทางวิชาการเต็ม เชน ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย อาจารย เปนตน

(ตัวอยางภาษาไทย) หมายเหตุ พิมพตําแหนงทางวิชาการเต็ม เชน ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย อาจารย เปนตน

ใบรับรองวิทยานิพนธ

บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

เรื่อง** โดย < เวน 1 บรรทัด > ไดรับอนุมัติใหนับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร สาขาวชิา คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

( )

< เวน 2 บรรทัด >

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ (กรณีมี 5 ทาน)

ประธานกรรมการ

( )

กรรมการ กรรมการ

( ) ( )

กรรมการ กรรมการ

( ) ( )

Page 36: Book Thesis1

35

(ตัวอยางภาษาไทย)

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

ใบรับรองวิทยานิพนธ

บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมผูหญิงไทยสายเทคโนโลยีในการเปนผูประกอบอาชีพอิสระ โดย นางสิริลักษณ หาญวัฒนานุกุล ไดรับอนุมัติใหนับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรอุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิบูลย ชื่นแขก)

20 มีนาคม 2544

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ

ประธานกรรมการ

(รองศาสตราจารย ดร.ชนะ กสิภาร)

กรรมการ

(รองศาสตราจารย ดร.วรพจน ศรีวงษคล)

กรรมการ

(ดร.สุธีรา ทอมสัน)

กรรมการ (นางสาวชุติภา โอภาสานนท)

Page 37: Book Thesis1

36

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

Notes : The position of academic must be printed in full words such as Professor, Associate Professor,

Assistant Professor, etc.

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

Note : The position of academic must be printed in full words such as Professor, Associate

Professor, Assistant Professor, etc.

Thesis Certificate

The Graduate College, King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

Title**

By

< allow an interval 1 line >

Accepted by the Graduate College, King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

in Partial Fulfillment of the Requirements for the

Dean, Graduate College

( )

< allow an interval 2 lines >

Thesis Examination Committee (4 persons)

Chairperson

( )

Member

( )

Member

( )

Member

( )

Page 38: Book Thesis1

37

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

Notes : The position of academic must be printed in full words such as Professor, Associate Professor, Assistant Professor, etc.

(ตัวอยางภาษาอังกฤษ)

Note : The position of academic must be printed in full words such as Professor, Associate

Professor, Assistant Professor, etc.

Thesis Certificate

The Graduate College, King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

Title**

By

< allow an interval 1 line >

Accepted by the Graduate College, King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

in Partial Fulfillment of the Requirements for the

Dean, Graduate College

( )

< allow an interval 2 lines >

Thesis Examination Committee (5 persons)

Chairperson

( )

Member Member

( ) ( )

Member Member

( ) ( )

Page 39: Book Thesis1

38

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

(ตัวอยางภาษาอังกฤษ)

Thesis Certificate

The Graduate College, King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

Title The Laboratory Model for Teaching Pneumatics in Vocational and Technical

Education Institutions

By Mr.Pairat Stirayakorn

Accepted by the Graduate College, King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Science in Technical

Education in Technical Education Technology

Dean, Graduate College

(Assistant Professor Dr.Viboon Chunkag)

24 May 1998

Thesis Examination Committee

Chairperson

(Assistant Professor Dr.Pallop Piriyasurawong)

Member

(Associate Professor Amphol Suetrong)

Member

(Professor Dr.Teravuti Boonyasopon)

Page 40: Book Thesis1

39

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

Thesis Certificate

The Graduate College, King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

Title Synthesis and Evaluation of a Reporter Molecule Based on Heterocyclic Conjugated

Moieties

By Miss Neeranat Thienthong

Accepted by the Graduate College, King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Science in Industrial

Chemistry

Dean, Graduate College

(Assistant Professor Dr.Viboon Chunkag)

21 July 2000

Thesis Examination Committee

Chairperson

(Associate Professor Dr.Surin Laosooksathit)

Member

(Assistant Professor Dr.Prapaipit Chamsuksai Ternai)

Member

(Professor Dr.Bela Ternai)

Member

(Assistant Professor Narumol Kreua-Ongarjnukool)

Page 41: Book Thesis1

40

ลําดับเลขหนา

การพิมพบทคัดยอภาษาไทย ชื่อ :**

ชื่อวิทยานิพนธ :

สาขาวชิา :

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ**: (ถามีคณะกรรมการมากกวา 1 คน ใหพิมพชื่อคนละบรรทัด)

ปการศึกษา :

< เวน 1 บรรทัด >

บทคัดยอ

(ใหเวนยอหนา 1 เซนติเมตร)

(วิทยานิพนธมีจํานวนทั้งสิ้น...หนา)

คําสําคัญ**:**

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก

Page 42: Book Thesis1

41

ชื่อ : นายพงศาล มีคุณสมบัติ

ชื่อวิทยานิพนธ : การสรางรูปรางของคุณสมบัติเปลวเพลิงเทอรบิวเลนทโดยวิธีโทโมกราฟฟจากขอมูล

การดูดกลืนท่ีจํากัด

สาขาวชิา : วิศวกรรมเครื่องกล

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ : อาจารย ดร.ปูมยศ วัลลกิุล

รองศาสตราจารย ดร.บัณฑิต ฟุงธรรมสาร

ปการศึกษา : 2542

บทคัดยอ

วิทยานิพนธฉบับน้ีกลาวถงึขั้นตอนการสรางฟงกชันความหนาแนนความนาจะเปน (PDF) ภายใน

เปลวเพลิงจากขอมูลโทโมกราฟฟของ PDF วิถีรวม ขั้นตอนวิธีการสรางภาพเสมือนจะขึ้นอยูกับความสัมพันธ

ระหวางฟงกชันโมเมนตวิถีรวมกับคาโลคัลโมเมนตของ PDF ท้ังสอง และขึ้นอยูกับสมมุติฐานที่กําหนดให

PDF ไมขึ้นตอกัน รูปรางเปลวเพลิงเทอรบิวเลนท 2 มิติท่ีใชเปนฟงกชันทดสอบ จําลองขึ้นดวยเครื่องคํานวณ

ซึ่งเปนขอมูลท่ีปราศจากสัญญาณรบกวน จึงมีความเหมาะสมสําหรับการนํามาใชเพื่อสรางขอมูลสําหรับวิธี

โทโมกราฟฟท้ังแบบตอเน่ืองและไมตอเน่ือง การคํานวณขั้นตอนวิธีแบบตอเน่ืองดวยกระบวนการที่เต็มรูปแบบ

ใหภาพเสมือนของโลคัล PDF ท่ีดีมาก สวนในกรณีของขั้นตอนวิธีแบบไมตอเน่ืองไดศึกษารายละเอียดของ

เมทริกซภาพฉาย ซึ่งจากผลการศึกษาแสดงใหเห็นถึงคุณลักษณะ 2 ประการ ของวิธีโทโมกราฟฟแบบไมตอเน่ือง

คือ ความสามารถในการเก็บรายละเอียดจากขอมูลท่ีไมสมบรูณ และความเปนไปไดในการผอนปรนเงื่อนไข

ความไมขึ้นตอกนั

(วิทยานพินธมีจํานวนทั้งสิ้น 82 หนา)

คําสําคัญ :

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก

Page 43: Book Thesis1

42

ลําดับเลขหนา

การพิมพบทคัดยอภาษาอังกฤษ

Name :**

Thesis Title :

Major Field :

King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok

Thesis Advisor(s)**:

Academic Year :

< เวน 1 บรรทัด >

Abstract

(Indent 1 cm. as in thesis)

(Total...pages)

Keywords**:

Advisor

Page 44: Book Thesis1

43

Name : Mr.Saharat Wongsisa

Thesis Title : Hardening Parameter Analysis of High Speed Steel for End Mill Wear

Resistance Property Improvements

Major Field : Production Engineering

King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok

Thesis Advisors : Associate Professor Narong Varongkriengkrai

Assistant Professor Somnuk Watanasriyakul

Dr.Surapol Raadnui

Academic Year : 1999

Abstract

The objective of this research was to study and analyze the variables of high speed

steels hardening used for producing end mill. The result can be used to improve wear

resistance occurring during machining process. Material used in production of high speed

steels end mill was Standard material DIN number 1.3247. They were hardened and ground

into end mill. At present, end mill hardness was approximately 66 HRC. It was not widely

acceptable as an imported end mill. From this particular research, imported end mill

hardness was approximately 68.33 HRC. It was mainly on improving used heat treatment of

various hardening conditions such as hardening temperature, holding time, tempering

temperature and tempering times. The findings revealed that when the hardening

temperature was at 1180oC–1210

oC, holding time was at 2.5–10 minutes and tempering

temperature was repeated 4 times at 535oC, it made the hardness rise to 65.27–68.37 HRC.

The process was done within an automatic vacuum furnace. The machining was done to

test Flank wear processed under hardening temperature of 1210oC, holding time of 2.5

minutes and tempering temperature of 535oC. The minimum flank wear was at 0.123 mm.

The tool’s life was increased about 25%.

(Total 127 pages)

Keywords :

Advisor

Page 45: Book Thesis1

44

ลําดับเลขหนา

การพิมพกิตติกรรมประกาศ (แบบภาษาไทย)

กิตติกรรมประกาศ

< เวน 1 บรรทัด >

(ใหเวนยอหนา 1 เซนติเมตร)

< เวน 2 บรรทัด >

ชื่อผูวิจยั**นามสกุล (ไมตองใสคํานําหนาชื่อ)

Page 46: Book Thesis1

45

(ตัวอยางภาษาไทย)

กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไปไดดวยความชวยเหลืออยางดียิ่งของ………………………………อาจารย ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธท่ีไดใหคําแนะนําและขอคิดเห็นตาง ๆ ของการวิจัยมาโดยตลอด และทุนการวิจัยบางสวน ไดรับจากทุนอุดหนุนการวิจัยของบัณฑิตวิทยาลยั จึงขอขอบพระคุณบัณฑิตวิทยาลัยท่ีไดใหทุนอุดหนุนการ

วิจัยครั้งน้ีมา ณ ท่ีน้ีดวย ทายน้ีผูวิจัยใครขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ซึ่งสนับสนุนในดานการเงินและใหกําลังใจแกผูวิจยัเสมอมาจนสําเร็จการศึกษา

………………………………………………………

Page 47: Book Thesis1

46

ลําดับเลขหนา

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

ACKNOWLEDGEMENTS

< เวน 1 บรรทัด >

(Indent 1 cm. as in thesis)

< เวน 2 บรรทัด >

Name**Surname

Page 48: Book Thesis1

47

iv

(ตัวอยางภาษาองักฤษ)

ACKNOWLEDGEMENTS

I would like to express my sincere gratitude to Associate Professor Dr.Surin

Laosooksathit and Associate Professor Dr.Apichart Suksamrarn for their helpful guidance,

suggestions and encouragement throughout this study. I am grateful to Assistant Professor

Narumol Kreuaongarjnukool for her useful comments. I am also indebted to Chulabhorn

Research Institute for recording the nuclear magnetic resonance spectra. I would like to

thank my teachers, family, friends and the staff of the Industrial Chemistry Department,

Faculty of Applied Science, King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok, for their

helpful suggestions and valuable assistance throughout the entire research. Finally, I would

like to thank the Graduate College of King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok

for providing financial support from the research fund.

Pranee Preecha

Page 49: Book Thesis1

48

ลําดับเลขหนา

การพิมพสารบญั (แบบฟอรมภาษาไทย)

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย ข บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค

กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญตาราง (ถามี) จ

สารบัญภาพ (ถามี) ฉ

คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (ถามี) ช

บทที่*1** บทนํา 1

1.1** หัวขอสําคัญ 1

1.2 หัวขอสําคัญ 5

บทที่ 2 ชื่อบท 10

2.1 หัวขอสําคัญ 15

2.2 หัวขอสําคัญ 15

บทที่ 3 ชื่อบท 20

3.1 หัวขอสําคัญ 20

3.2 หัวขอสําคัญ 25

บทที่ 4 ชื่อบท 30

4.1 หัวขอสําคัญ 30

4.2 หัวขอสําคัญ 35

บทที่ 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ 40

บรรณานุกรม 50

ภาคผนวก (ถามี) 55

ประวัติผูวิจัย 60

หมายเหตุ ถาไมจบใน 1 หนา หนาถัดไปใหพิมพคําวา " สารบัญ (ตอ) "

Page 50: Book Thesis1

49

(ตัวอยางภาษาไทย)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย ข

บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค

กิตติกรรมประกาศ ง

สารบัญตาราง จ

สารบัญภาพ ช

บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

1.2 วัตถุประสงคของการวิจยั 6

1.3 สมมติฐานการวิจัย 6

1.4 ขอบเขตของการวิจัย 6

1.5 ขอตกลงเบื้องตน 7

1.6 นิยามศัพทเฉพาะ 8

1.7 ประโยชนของผลการวิจยั 9

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 10

2.1 แนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกบัการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 10

2.2 เอกสารที่เกี่ยวกบับทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 15

2.3 เอกสารที่เกี่ยวกบัไฮเปอรเท็กซ 19

2.4 เอกสารงานวิจยัเกี่ยวกับบทเรียนไฮเปอรเท็กซในประเทศ 34

2.5 เอกสารงานวิจยัเกี่ยวกับบทเรียนไฮเปอรเท็กซในตางประเทศ 36

2.6 รูปแบบบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซท่ีใชในการวจิัย 39

2.7 เอกสารงานวิจยัท่ีเกี่ยวกับความชอบ 52

2.8 สรุปเอกสารและงานวิจัยเพื่อเขาสูปญหาการวิจยั 54

บทที่ 3 วิธีการดําเนินการวิจัย 55

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 55

3.2 แบบแผนงานวิจยั 55

3.3 เครื่องมือในการวิจัย 57

3.4 วิธีการดําเนินการทดลองและเกบ็รวบรวมขอมูล 62

3.5 สถิติท่ีใชการวิเคราะหขอมูล 64

Page 51: Book Thesis1

50

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที่ 4 ผลของการวจิัย 65

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูล 66

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 71

5.1 สรุปผลการวิจัย 72

5.2 อภิปรายผลการวิจัย 73

5.3 ขอเสนอแนะ 74

บรรณานุกรม 76

ภาคผนวก ก 86

หนังสือขอเชิญเปนผูเชี่ยวชาญประเมินสื่อการสอนเพื่อประกอบการทําวิทยานิพนธ 87

รายนามผูเชี่ยวชาญประเมินผลดานเน้ือหาและเทคนิคการผลิตสื่อ 89

หนังสือขออนุญาตทดลองหาประสิทธิภาพเครื่องมือท่ีใชในการวิจยั 90

หนังสือขอความอนุเคราะหเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อประกอบการทําวิทยานิพนธ 91

ภาคผนวก ข 92

วัตถุประสงคของบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซวิชางานชางพื้นฐาน (ง 013) 93

ตัวอยางบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซท่ีใชการเชือ่มโยงดวยขอความ 94

ตัวอยางบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซท่ีใชการเชือ่มโยงดวยสัญรปู 108

ตัวอยางบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซท่ีใชการเชือ่มโยงดวยภาพเหมือนจริง 122

ภาคผนวก ค 136

แบบประเมินสื่อการสอน 137

ผลการประเมินสื่อการสอน 141

ภาคผนวก ง 144

แสดงเนื้อหาพฤติกรรมทางการเรียนและจํานวนขอสอบวัดผลการเรียนรู 145

จํานวนขอสอบที่สรางขึ้นกับจํานวนขอสอบที่เลอืกไว 146

แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู เรื่องเครื่องมืองานชางพื้นฐาน 148

เฉลยแบบทดสอบวัดผลการเรยีนรู เรื่องเครื่องมืองานชางพื้นฐาน 156

แบบสอบถามความชอบในรูปแบบของบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 157

ภาคผนวก จ 158

ผลการคํานวณคาสถิติท่ีเกี่ยวของในงานวิจยัดวยโปรแกรมสําเร็จรูป (SPSS/PC +) 159

ระดับความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) และคาความเชื่อม่ัน (Reliability)

ของแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูทางการเรียน 164

Page 52: Book Thesis1

51

สารบัญ (ตอ)

หนา

เปรียบเทียบระดับคะแนนทดสอบผลการเรียนรูของกลุมทดลอง 3 กลุม 166

เปรียบเทียบระดับความชอบจากการเรียนดวยบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ 167

ประวัติผูวิจัย 169

Page 53: Book Thesis1

52

ลําดับเลขหนา

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

TABLE OF CONTENTS

Page

Abstract (in English) ii

Abstract (in Thai) iii

Acknowledgements iv

List of Tables v

List of Figures vi

List of Abbreviations and Symbols vii

Chapter*1** Introduction 1

1.1** 1

1.2 5

Chapter 2 ..................... 10

2.1 15

2.2 15

Chapter 3 ..................... 20

3.1 20

3.2 25

Chapter 4 ..................... 30

4.1 30

4.2 35

Chapter 5 Conclusion and Recommendation 40

Bibliography 50

Appendix A 55

Biography 60

หมายเหตุ ถาไมจบใน 1 หนา หนาถัดไปใหพิมพคําวา “TABLE OF CONTENTS (CONTINUED)”

Page 54: Book Thesis1

53

v

(ตัวอยางภาษาองักฤษ)

TABLE OF CONTENTS

Page

Abstract (in English) ii

Abstract (in Thai) iii

Acknowledgements iv

List of Tables v

List of Figures vi

List of Abbreviations and Symbols vii

Chapter 1 Introduction 1

Chapter 2 Experimental Techniques 8

2.1 General techniques 8

2.2 Plant material 9

2.3 Extraction and isolation of lot 1 9

2.4 Extraction and isolation of lot 2 16

Chapter 3 Results and discussion 21

References 29

Appendix A 33

Biography 50

Page 55: Book Thesis1

54

ลําดับเลขหนา

การพิมพสารบญัตาราง

(แบบฟอรมภาษาไทย)

สารบัญตาราง

< เวน 1 บรรทัด >

ตารางที่ หนา

*** 1-1** 7

1-2 9

2-1 23

2-2 24

3-1 29

3-2 30

4-1 34

4-2 38

ก-1 40

ก-2 46

ข-1 49

หมายเหตุ ถาไมจบใน 1 หนา หนาถัดไปใหพิมพคําวา " สารบัญตาราง (ตอ) "

Page 56: Book Thesis1

55

(ตัวอยางภาษาไทย)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

3-1 แบบแผนงานวิจยั 56

3-2 การแปลความหมายชวงคาเฉลีย่การประเมินผลดานเน้ือหาและสื่อบทเรียน 60

3-3 ผลคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการประเมินดานเนื้อหาและเทคนิคการผลิตสื่อ 60

4-1 ผลคะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทดสอบผลการเรียนรูจากการเรียน

ดวยบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ 66

4-2 ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของคะแนนผลการเรียนรูจากการเรียนดวยบทเรียน

แบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ 67

4-3 ผลคะแนนเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทดสอบความชอบของนักเรียนที่เรียน

ดวยบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ 68

4-4 ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของผลความชอบของนักเรียนจากการเรียนดวยบทเรียน

แบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ 69

4-5 ผลการวิเคราะหคาความแตกตางเปนรายคูของผลความชอบของนักเรียนจากการเรียน

ดวยบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ 69

ค-1 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพของ

สื่อบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ ดานเทคนิคการผลิตสื่อ 141

ค-2 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพของ

สื่อบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ ดานเน้ือหา 142

ง-1 แสดงเนื้อหาพฤติกรรมทางการเรียนและจํานวนขอสอบ 145

ง-2 แสดงจํานวนขอสอบที่สรางขึ้นกบัจํานวนขอสอบที่เลือกไวตามจุดประสงคเชิงพฤติกรรม

ทางการเรียน วิชางานชางพื้นฐาน (ง 013) เรื่อง เครื่องมืองานชางพื้นฐาน 146

ง-3 เฉลยแบบทดสอบวิชางานชางพืน้ฐาน (ง 013) เรื่อง เครื่องมืองานชางพื้นฐาน 156

จ-1 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทดสอบผลการเรียนรูจากการเรียน

ดวยบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป (SPSS/PC+) 159

จ-2 แสดงการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One – Way ANOVA) ของคะแนน

ดวยบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป (SPSS/PC+) 160

จ-3 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทดสอบผลความชอบจากการเรียน

ดวยบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป (SPSS/PC+) 161

Page 57: Book Thesis1

56

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

จ-4 แสดงผลการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One – Way ANOVA) ของคะแนน

ความชอบทางการเรียนบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป

(SPSS/PC+) 162

จ-5 แสดงผลการวิเคราะหความแตกตางเปนรายคูโดยวิธีผลตางอยางมีนัยสําคัญนอยท่ีสุด (LSD)

ของความชอบทางการเรียนดวยโปรแกรมสําเร็จรูป (SPSS/PC+) 163

จ-6 แสดงคาความยาก ( p ) และคาอํานาจจําแนก ( r ) ของแบบทดสอบวิชางานชางพื้นฐาน

(ง 013) เรื่องเครื่องมืองานชางพื้นฐาน 164

จ-7 เปรียบเทียบระดับคะแนนทดสอบผลการเรียนรูของกลุมทดลอง 3 กลุม 166

จ-8 เปรียบเทียบระดับความชอบจากการเรียนดวยบทเรียนแบบไฮเปอรเท็กซ 3 รูปแบบ 167

Page 58: Book Thesis1

57

ลําดับเลขหนา

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

LIST OF TABLES

< เวน 1 บรรทัด >

Table Page

*** 1-1** 7

1-2 9

2-1 23

2-2 24

3-1 29

3-2 30

4-1 34

4-2 38

A-1 40

A-2 46

B-1 49

หมายเหตุ ถาไมจบใน 1 หนา หนาถัดไปใหพิมพคําวา “LIST OF TABLES (CONTINUED)”

Page 59: Book Thesis1

58

vi

(ตัวอยางภาษาองักฤษ)

LIST OF TABLES

Table Page

2-1 The selected fraction of the Ethyl Acetate Extract of Vitex. Canescens (lot 1) 11

2-2 The selected fraction of the Ethyl Acetate Extract of Vitex. Canescens (lot 2) 18

3-1 1H NMR data of compound 25 and reported makisterone A; compound 27

and reported 24-epi-makisterone A 25

3-2 13C NMR data of compound 25 and reported makisterone A; compound 27

and reported 24-epi-makisterone A 26

3-3 1H NMR data of shidaterone, compound P1 (29), canescensterone and

makisterone A 27

3-4 13C NMR data of shidasterone, compound P1 (29), canescenterone and

makisterone A 28

Page 60: Book Thesis1

59

ลําดับเลขหนา

การพิมพสารบญัภาพ

(แบบฟอรมภาษาไทย)

สารบัญภาพ

< เวน 1 บรรทัด >

ภาพท่ี หนา

***1-1** 5

1-2 8

2-1 15

2-2 18

3-1 20

3-2 25

4-1 27

4-2 32

ก-1 35

ก-2 37

ข-1 41

หมายเหตุ ถาไมจบใน 1 หนา หนาถัดไปใหพิมพคําวา " สารบัญภาพ (ตอ) "

Page 61: Book Thesis1

60

(ตัวอยางภาษาไทย)

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

2-1 องคประกอบของหมอแปลงทดสอบ 4

2-2 หมอแปลงทดสอบแบบฉนวนแหง 5

2-3 ระดับการฉนวนในหมอแปลงทดสอบ 6

2-4 โครงสรางหมอแปลงทดสอบแกนเหล็กตอลงดินแบบจุมนํ้ามัน 7

2-5 โครงสรางและวงจรการตอภายในของหมอแปลงทดสอบแบบสมมาตร 8

2-6 หมอแปลงสําหรบัตอขั้นบันได 9

2-7 ขดลวดหมอแปลงและวงจรสมมูลเม่ือไดรับแรงดันเสิรจ 10

2-8 แรงดันกระจายในขดลวดเมื่อไดรับแรงดันเสิรจ 11

2-9 แรงดันกระจายในหมอแปลงทดสอบ 11

2-10 ผลของชลีดท่ีมีตอขดลวดชั้นทรงกระบอกที่มีการจัดวางขดลวดแบบขนาดคละ 14

2-11 สนามไฟฟาแบบทรงกลมซอนศูนยกลางรวม 18

2-12 สนามไฟฟาแบบสม่ําเสมอชนิดอิเลคโตรด 19

2-13 เปรียบเทียบความเครียดสนามไฟฟากระดาษฉนวนและน้ํามัน 21

2-14 วงจรสมมูลของหมอแปลงทดสอบแบบไมคิดกระแสสรางสนามแมเหล็ก 25

2-15 เฟสเซอรไดอะแกรมของหมอแปลงทดสอบ 26

2-16 การหาคารีแอกแตนซของหมอแปลงทรงกระบอกรวมแกน 28

3-1 พื้นท่ีหนาตัดของแกนเหล็กแบบ three steps core 40

3-2 การหาคารีแอกแตนซของหมอแปลงทรงกระบอกรวมแกน 55

3-3 มิติของแกนเหลก็ ขดลวด และฉนวน 64

3-4 โครงสรางของตวัถัง และสวนประกอบของหมอแปลงทดสอบ 65

4-1 ชุดประกอบแคลมปและแกนเหล็กของหมอแปลงทดสอบ 66

4-2 ชุดแกนเหล็กของหมอแปลงทดสอบ 67

4-3 ภาพตัดขวางของแกนเหลก็และขดลวด 68

4-4 การพันขดลวดแรงต่ําและแรงสูงบนเครื่องพันลดลวด 68

4-5 การพันขดลวดแรงต่ํา 69

4-6 การทํารองนํ้ามันในขดลวดแรงต่ํา 69

4-7 ขดลวดแรงต่ําท่ีพันเสร็จแลว 70

4-8 การพันขดลวดแรงสงู 71

Page 62: Book Thesis1

61

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพท่ี หนา

4-9 การใสแผนชีลดทองแดงที่ขดลวดแรงสูง 73

4-10 การตอปลายสายขดลวดแรงสงูกับชีลดทองแดงที่ขดลวดแรงดนัสูง 73

4-11 การนําปลายสายขดลวดแรงสงูออกจากขดลวดแรงดันสูง 74

Page 63: Book Thesis1

62

ลําดับเลขหนา

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

LIST OF FIGURES

< เวน 1 บรรทัด >

Figure Page

***1-1** 5

1-2 8

2-1 15

2-2 18

3-1 20

3-2 25

4-1 27

4-2 32

A-1 35

A-2 37

B-1 41

หมายเหตุ ถาไมจบใน 1 หนา หนาถัดไปใหพิมพคําวา “LIST OF FIGURES (CONTINUED)”

Page 64: Book Thesis1

63

vii

(ตัวอยางภาษาองักฤษ)

LIST OF FIGURES

Figure Page

2-1 Extraction of Vitex, canescen Bark (lot 1) 10

2-2 Fractions of group VC.B1 and VC.B2 (Fractions 28-36, 37-43) of the Ethy1

Acetate Extract 14

2-3 Fractions of group VC.B3 and VC.B4 (Fractions 44-46, 47-54) of the Ethy1

Acetate Extract 15

2-4 Fractions of group VC.B5 (Fracitions 55-70) of the Ethy1 Acetate Extract 16

2-5 Extraction of V. canescen Bark (lot 2) 17

3-1 Fractions of group VC.E4 (Fracitions 25-36) of the Ethy1 Acetate Extract 19

3-2 Fractions of group VC.E5 (Fracitions 37-50) of the Ethy1 Acetate Extract 20

Page 65: Book Thesis1

64

การพิมพประวติัผูวิจัย

(แบบฟอรมภาษาไทย)

ประวัติผูวิจัย

< เวน 1 บรรทัด >

ชื่อ :**

ชื่อวิทยานิพนธ**:

สาขาวชิา :

< เวน 1 บรรทัด >

ประวัติ

Page 66: Book Thesis1

65

(ตัวอยางภาษาไทย)

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ : นายพงษศักด์ิ ผกามาศ

ชื่อวิทยานิพนธ : การออกแบบวิธีการควบคุมสไลดดิงโหมดชนิดติดตามแบบจําลองสําหรับเซอรโวมอเตอร

กระแสตรงแบบไรแปรงถาน

สาขาวชิา : วิศวกรรมไฟฟา

ประวัติ

Page 67: Book Thesis1

66

(แบบฟอรมภาษาอังกฤษ)

BIOGRAPHY

< เวน 1 บรรทัด >

Name :**

Thesis Title**:

Major Field :

< เวน 1 บรรทัด >

Biography

Page 68: Book Thesis1

67

(ตัวอยางภาษาองักฤษ)

BIOGRAPHY

Name : Mrs.Yupadee Samorn

Thesis Title : Development of New Chromo- and Fluorogenic Probes

Major Field : Industrial Chemistry

Biography

Page 69: Book Thesis1

68

การเวนขอบกระดาษพิมพ

การแบงบทและหัวขอในบท

(AngsanaUPC 20)

3.81 ซม. (1.5”)

3.81 ซม.

(1.5")

2.54 ซม.

(1")

2.54 ซม.(1")

Page 70: Book Thesis1

69

การแบงบทและหัวขอในบท

(AngsanaUPC20) บทที่ 1 บทนํา

< เวน 1 บรรทัด > 1.1 ประเทศไทย (AngsanaUPC16) 1.1.1 ภาคเหนือ………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….. 1.1.2 ภาคใต…………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….. 1.1.2.1 ชุมพร………………………………………………………………….……. ……………………………………………………………………………………………….…. 1.1.2.2 ตรัง…………………………………………………………………….……. …………………………………………………………………………………………………. . ก) กันตัง……………………………………………………….….………. ………………………………………………………………………………………………… ข) ปะเหลียน…….……………………………………….……….. ………………………………………………………………………………………………….. 1.1.3 ภาคตะวันออก…………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….. 1.2 ประเทศลาว 1.3 ประเทศกัมพูชา

Page 71: Book Thesis1

70

(BrowalliaUPC 20) บทที่ 1 บทนํา

< เวน 1 บรรทัด > 1.1 ประเทศไทย (BrowalliaUPC16) 1.1.1 ภาคเหนือ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… 1.1.2 ภาคใต…………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… 1.1.2.1 ชุมพร…………………………………………………………………….….. …………………………………………………………………………………………………... 1.1.2.2 ตรัง…………………………………………………………………….……. …………………………………………………………………………………………………... ก) กันตัง..……………………………………………………….………… …………………………………………………………………………………………………... ข) ปะเหลียน…..………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………….. 1.1.3 ภาคตะวันออก…………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………… 1.2 ประเทศลาว 1.3 ประเทศกัมพูชา

Page 72: Book Thesis1

71

(DilleniaUPC 20)

บทที่ 1

บทนํา < เวน 1 บรรทัด >

1.1 ประเทศไทย (DilleniaUPC16)

1.1.1 ภาคเหนือ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1.1.2 ภาคใต………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1.1.2.1 ชุมพร…………………………………………………………………….……………………………….

………………………………………………………………………………………………….…………………………………….

1.1.2.2 ตรัง…………………………………………………………………….………………………………….

………………………………………………………………………………………………….…………………………………….

ก) กันตัง..……………………………………………………….…………………………………..

………………………………………………………………………………………………….…………………………………….

ข) ปะเหลียน…………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.1.3 ภาคตะวันออก………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 ประเทศลาว

1.3 ประเทศกัมพูชา

Page 73: Book Thesis1

72

(Times New Roman 14) CHAPTER 1

INTRODUCTION

<เวน 1 บรรทัด>

1.1 Thailand (Times New Roman 12)

1.1.1 North…………………………………………………………….………..

…………………………………………………………………………………………..

1.1.2 South…………………………………………………………………..…..

………………………………………………………………………………………..….

1.1.2.1 Chumporn…………………………………………...……….…..

………………………………………………………………………………………..….

1.1.2.2 Trang……………………………………………………...……..

………………………………………………………………………………..…………

a) Kantang……………………………………..………………

…………………………………………………………………………………….....….

b) Palian……….………….……………………….…………..

…………………………………………………………………………………………..

1.1.3 East…………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………….. 1.2 Lao 1.3 Cambodia

Page 74: Book Thesis1

73

การพิมพตาราง

ตารางที ่3-1 แสดงขอมูล IR Spectrum, Mass Spectrum ของสารประกอบ (41a-e)

สารประกอบ IR (cm-1) Mass m.p.(

oC)

(KBr) 1715, 1597 272(M+,1.09), 121(100), 50-52

41a 1515, 1227 91(5.54), 78(4.62)

(Neat) 1722, 1609, 272(M+,20.56), 241(24.16), -

1577, 1255 240(100), 213(2.54), 41b

91(31.72)

(KBr) 1722, 1581, 302(M+,34.13), 270(16.55), 56-58

1503, 1022 242(10.37), 121(100), 41c

91(4.81)

(KBr) 1727, 1613, 302(M+,35.81), 270(80.77), 66-68

1499, 1279 271(44.03), 243(38.07), 41d

91(100)

(KBr) 1728, 1614, 332(M+,38.82), 300(45.72), 76-78

41e 1514, 1268 121(100)

ตารางที ่3-2 แสดงขอมูล

1H NMR (CDCL

3; 200MHz) ของสารประกอบ (41a-e)

สารประกอบ δH (ppm)

3.75 (s, 3H, -OCH3), 3.90 (s, 3H, -OCH

3),

5.10 (s, 2H, -OCH2), 6.80-7.50 (m, 7H, ArH), 41a

7.80 (dd, J = 2.0, 8.0 Hz, 1H, H-6)

3.80 (s, 3H, -OCH3), 3.90 (s, 3H, -OCH

3),

5.15 (s, 2H, -OCH2), 6.40-6.60 (m, 2H, H-3,5), 41b

7.20-7.60 (m, 5H, ArH), 7.90 (d, J = 10.0 Hz, 1H, H-6)

Page 75: Book Thesis1

74

TABLE 4

-1 The c

om

poundin

g c

onditio

ns

for th

e w

hole

work

Fille

rs

Para

ffin

Coupling

Fille

rs S

izes

Pre

mix

ing

Barrel Tem

p (

oC)

Extrusi

on R

ate

Section

(wt%

) O

il (w

t%)

Agent (w

t%)

(mic

rons)

Tim

e (m

in.)

(die

/ z

one2/ zo

ne1)

(RPM

) Vary

ing P

ara

mete

rs

1

5

- -

Not si

evin

g

40

vary

vary

Tem

pera

ture

(oC) : (d

ie / z

one2 / z

one1)

30

- -

Not si

evin

g

40

vary

vary

210 / 1

90 /150, 230 / 2

10 / 1

80,

260 / 2

30 / 2

00

Extrusi

on rate

(RPM

):

80, 110, 150 a

nd 2

10

2

5

0.2

-

90 for m

ica

vary

230/2

10/1

80

110

Pre

mix

ing T

ime (m

in.):

30

0.2

-

36 for ta

lc

vary

230/2

10/1

80

110

10, 20, 30, 40, 50 a

nd 6

0

Feedin

g R

ate

(g/m

in.): 20 g

/min

.-40 g

/min

.

3

vary

0.2

-

90 for m

ica

40

230/2

10/1

80

110

Fille

r Conte

nt (w

t%):

vary

0.2

-

36 for ta

lc

40

230/2

10/1

80

110

5, 10, 15, 20, 25, 30 w

t%

4

25 talc

, 0.2

-

vary

40

230/2

10/1

80

110

Partic

le S

ize o

f Fille

rs (m

icro

ns)

:

15 m

ica

71, 90, 63, 36 a

nd less

than 3

6

25 talc

, 0.2

0.8

PE-

90 for m

ica,

40

230/2

10/1

80

110

15 m

ica

w

ax,

36 for ta

lc

5

Fusa

bond

Page 76: Book Thesis1

75

TABLE 4-18 Effect of mica and talc concentration on impact property

Impact properties Decrease Samples

(kJ/mm2) (%) σ2

HDPE 35.61 6.76 x 10-4

HD / mica 5 31.04 12.83 7.34 x 10-4

HD / mica 10 28.75 19.26 7.8 x 10-1

HD / mica 15 26.14 26.59 6.6 x 10-4

HD / mica 20 22.87 35.94 2.1 x 10-3

HD / mica 25 19.60 44.96 3.6 x 10-1

HD / mica 30 18.62 47.71 2.36 x 10-4

HD / talc 5 33.98 4.58 4.06 x 10-3

HD / talc 10 30.70 13.79 1.57 x 10-3

HD / talc 15 28.37 20.33 3.77 x 10-3

HD / talc 20 26.46 25.70 1.489 x 10-3

HD / talc 25 24.50 31.20 3.74 x 10-3

HD / talc 30 23.20 34.85 7.58 x 10-3

Page 77: Book Thesis1

76

การพิมพภาพประกอบ

ภาพที่ 4-1 ภาพเสมือนโลคัลโมเมนตลําดับที่ 1 ของเปลวจาํลองแบบไมสมมาตร

Page 78: Book Thesis1

77

ไมผาน

ภาพที่ 2-1 ขั้นตอนการสรางเครื่องมือวัดและประเมินผลงานปฏิบัติ

เริ่ม

กําหนดรายการและรายละเอียดงานในแตละรายวิชา

วิเคราะหหลักสตูรโดยครูผูสอนและผูเชี่ยวชาญ

จบ

ออกแบบและสรางเครื่องมือวัดและประเมินผล

สัมมนาเครื่องมือวัดผลระหวางโรงเรียน

และสถานประกอบการ

ทดลองใชกับกลุมทดลองเครื่องมือเพื่อดูผล

ผล ปรับปรุงแกไข

จัดพิมพไวใชในการวัดและประเมินผล

ผล ปรับปรุงแกไข

ไมผาน

ผาน

ผาน

ไมผาน

Page 79: Book Thesis1

78

3.30

3.033.073.203.24

3.283.383.453.64

1

2

3

4

5

1 2 3 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 รวม

1. ดานความรูพ้ืนฐานที่เก่ียวของกับการจัดอาชีวศึกษา

2. ดานความพรอมในการสนับสนุนการพัฒนาอาชีวศึกษา

3. ดานความพรอมในการดําเนินการจัดการอาชีวศึกษา

3.1 ความพรอมในดานพ้ืนที่

3.2 ความพรอมในดานบุคลากร

3.3 ความพรอมในดานงบประมาณ

3.4 ความพรอมในดานวัสดุและครุภัณฑ

3.5 ความพรอมในดานอาคาร

ภาพที่ 4-1 แสดงคาเฉลี่ย ความคิดเห็นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตอการจัดอาชีวศึกษา

โดยรวมและรายดาน

นอยท่ีสุด

นอย

ปานกลาง

มาก

มากท่ีสุดระดับคาเฉลี่ย

ดาน

Page 80: Book Thesis1

79

ภาพที่ 4-2 แสดงจํานวน และรอยละของผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิน่ จําแนกตามวุฒิการศึกษา

ม.6 หรือเทียบเทา 56 คน ปริญญาโท 13 คน (7.2 %)

อนุปริญญา 27 คน (15.0 ปริญญาตรี 84 คน (46.7

Page 81: Book Thesis1

80

Eq. 1 1

Eq. 1 2

Eq. 1 3

Eq. 1 4

การพิมพสมการ

Page 82: Book Thesis1

81

สมการประมาณคาพารามิเตอรของมอเตอรกระแสตรง จากสมการเชิงอนุพันธมอเตอรกระแสตรงในสมการที่ (2-1) และ (2-2) สามารถจัดใหอยูในรูปสมการ

ตัวแปรสภาวะไดวา

(2-3)

(2-4)

เม่ือ x1(t) = i

a(t) คือ กระแสอารเมเจอร

x2(t) = ω(t) คือ ความเร็วรอบมอเตอร

u1(t) = u

a(t) คือ แรงดันอารเมเจอร

u2(t) = m

1(t) คือ ภาระเชิงกล

อยางไรก็ตามในทางปฏิบัติการวัดคาภาระ m1(t) กระทําไดยากและไมจําเปน จึงทําการปรับสมการใหม

โดยถือวา m1(t) คือ พารามิเตอรตัวหนึ่ง และกําหนดให u

2(t) = 1 ดังน้ันจากสมการที ่(2-4) จะไดวา

(2-5)

ทําการอินทิเกรตสมการที่ (2-3) และ (2-5) เทียบกับเวลาจะได

(2-6)

)(tu

aL

1(t)x

aL

eK

(t)x

aL

aR

(t)x1211

−−=

)(tu

J

1(t)x

J

B(t)x

J

K(t)x

221

t

2−−=

)(tu

J

m(t)x

J

B(t)x

J

K(t)x

2

1

21

t

2−−=

∫ ∫∫ +−−=t

0

t

0

11

a

2

t

0 a

e

1

a

a

1(0)x(t)dtu

L

1(t)dtx

L

K(t)dtx

L

R(t)x

Page 83: Book Thesis1

82

การพิมพบรรณานกุรม

ตัวอยางแบบที่ 1 การพิมพชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร ชื่อวิทยานพินธ ฯลฯ ดวยการขีดเสนใต (Under Line)

บรรณานุกรม

<เวน 1 บรรทัด>

ภาษาไทย

เกียรติประวัติ เกษมสันต, มจ. หลักกฎหมายลักษณะสัญญา. 2 เลม. พระนคร : โรงพิมพสยาม

ออบเซอรเวอร, 2464-2465.

บุนนาค พยัคเดช. "พุทธศาสนากับมรรยาทประจําวัน." พุทธศาสนากาวหนา. หนา 445-448. รวบรวมและ

จัดพิมพโดย ทวน วิริยาภรณ. ธนบุรี : ป.พินาคะการพิมพ, 2506.

ลัดดาวัลย บุญรัตนกรกิจ. "สมุนไพรกระเทียม." วารสารวิทยาศาสตร. 35 (พฤศจิกายน 2524) : 803-806.

สุขเกษม มานพพงศ. สภาพการจัดการเรียนการสอนกลุมวิชาชีพเลือก สาขาวชิาพณิชยการของสถานศึกษา

สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร. วทิยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต

สาขาวชิาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2541.

เสาวณีย สิกขาบัณฑิต. เทคโนโลยีทางการศกึษา. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา

พระนครเหนือ, 2528.

. การสื่อความหมายเพื่อการเรียนรู. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวัฒนาพานิช, 2530.

<เวน 1 บรรทัด>

ภาษาอังกฤษ

Aron, Raymind. "The Education of the Citizen in Industrial Society." Dardalus. 91 (1962) :

249-263.

Baclawski, K. P. Homology and Cambinatories of Ordered Sets. Ph.D.Thesis,

Faculty of Science, Harward University, 1976.

Marc, James G., and Simon, Herbert A. Organizations. New York : John Wiley, 1958.

The Lottery. London : J. Watts, 1732.

Page 84: Book Thesis1

83

ตัวอยางแบบที่ 2 การพิมพชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร ชื่อวิทยานพินธ ฯลฯ ดวยตัวหนา (Bold)

บรรณานุกรม

<เวน 1 บรรทัด>

ภาษาไทย

เกียรติประวัติ เกษมสันต, มจ. หลักกฎหมายลักษณะสัญญา. 2 เลม. พระนคร : โรงพิมพสยาม

ออบเซอรเวอร, 2464-2465.

บุนนาค พยัคเดช. "พุทธศาสนากับมรรยาทประจําวัน." พุทธศาสนากาวหนา. หนา 445-448. รวบรวม

และจัดพิมพโดยทวน วิริยาภรณ. ธนบุรี : ป.พินาคะการพิมพ, 2506.

ลัดดาวัลย บุญรัตนกรกิจ. "สมุนไพรกระเทียม." วารสารวิทยาศาสตร. 35 (พฤศจิกายน 2524) : 803-806.

สุขเกษม มานพพงศ. สภาพการจัดการเรียนการสอนกลุมวิชาชีพเลือก สาขาวิชาพณชิยการของ

สถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร. วทิยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรม

มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2541.

เสาวณีย สิกขาบัณฑิต. เทคโนโลยีทางการศกึษา. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา

พระนครเหนือ, 2528.

. การสื่อความหมายเพื่อการเรยีนรู. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวัฒนาพานิช, 2530.

<เวน 1 บรรทัด>

ภาษาอังกฤษ

Aron, Raymind. "The Education of the Citizen in Industrial Society." Dardalus. 91 (1962) :

249-263.

Baclawski, K. P. Homology and Cambinatories of Ordered Sets. Ph.D.Thesis, Faculty of

Science, Harward University, 1976.

March, James G., and Simon, Herbert A. Organizations. New York : John Wiley, 1958.

The Lottery. London : J. Watts, 1732.

Page 85: Book Thesis1

84

ตัวอยางแบบที่ 3 การพิมพชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร ชื่อวิทยานพินธ ฯลฯ ดวยตัวเอน (Italic)

บรรณานุกรม

<เวน 1 บรรทัด>

ภาษาไทย

เกียรติประวัติ เกษมสันต, มจ. หลักกฎหมายลักษณะสัญญา. 2 เลม. พระนคร : โรงพิมพสยาม

ออบเซอรเวอร, 2464-2465.

บุนนาค พยัคเดช. "พุทธศาสนากับมรรยาทประจําวัน." พุทธศาสนากาวหนา. หนา 445-448. รวบรวม

และจัดพิมพโดย ทวน วิริยาภรณ. ธนบุรี : ป.พินาคะการพิมพ, 2506.

ลัดดาวัลย บุญรัตนกรกิจ. "สมุนไพรกระเทียม." วารสารวิทยาศาสตร. 35 (พฤศจิกายน 2524) : 803-806.

สุขเกษม มานพพงศ. สภาพการจัดการเรียนการสอนกลุมวิชาชีพเลือก สาขาวชิาพณิชยการของสถานศึกษา

สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต

สาขาวชิาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2541.

เสาวณีย สิกขาบัณฑิต. เทคโนโลยีทางการศกึษา. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา

พระนครเหนือ, 2528.

. การสื่อความหมายเพื่อการเรียนรู. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวัฒนาพานิช, 2530.

<เวน 1 บรรทัด>

ภาษาอังกฤษ

Aron, Raymind. "The Education of the Citizen in Industrial Society." Dardalus. 91 (1962) :

249-263.

Baclawski, K. P. Homology and Cambinatories of Ordered Sets. Ph.D.Thesis, Faculty of

Science, Harward University, 1976.

March, James G., and Simon, Herbert A. Organizations. New York : John Wiley, 1958.

The Lottery. London : J. Watts, 1732.

Page 86: Book Thesis1

85

การพิมพเอกสารอางอิง

เอกสารอางอิง

1.**พิสิฐ**เมธาภัทร*และธีระพล**เมธีกุล.**ยุทธวิธีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค.** กรุงเทพมหานคร*:*

โรงพิมพสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ,*2529.

2.**Stogdill,*Ralph N.**Handbook of Leadership : A Survey of Theory and Research.

New York*:*The Free Press,*1969.

3.**ขจร**สุขพานิช.**ฐานันดรไพร.**กรุงเทพมหานคร*:*ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร,*2519.

4.**ไพฑูรย**มีกุศล.**การปฏิรูปการปกครองมณฑลอีสาน พ.ศ. 2436-2453.**เอกสารการนเิทศ

การศึกษา,*ฉบับที่ 149.**กรุงเทพมหานคร*:*หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู,* 2517.

5.**ชาญวิทย**เกษตรศิริ*และสุชาติ**สวัสดิศรี,*บรรณาธิการ.**ประวัติศาสตรและนักประวัติศาสตรไทย.**

กรุงเทพมหานคร*:*สํานักพิมพประพันธสาสน,*2519.

6.**Fukutake, T.,*and Morioka, K.,*eds.**Sociology and Social Development in Asia :

Proceedings of the symposium.**Tokyo*:*University of Tokyo Press,*1974.

7.**วิจิตรวาทการ,*หลวง.**ศาสนาสากล เปรียบเทียบศาสนา ลัทธิ และปรัชญาตาง ๆ ท่ัวโลก.**

พิมพครั้งที่ 2.**พระนคร*:*โรงพิมพ ส. ธรรมภักดี,*2498-2501.

8.**Fletcher, R.**The Making of Sociology : A Study of Sociology Theory.**Vol.I : Beginnings

and Foundations.**New york*:*Charles Scribner's Sons,**1971.

9.**เติม**วิภาคยพจนกิจ.**ประวัติศาสตรอีสาน.**พิมพครั้งที่ 2.**พระนคร*:*สํานักพิมพสมาคม

สังคมศาสตรแหงประเทศไทย,*2515.

10.*จักรกฤษณ**นรนิติผดุงการ และทว*ี*สวนมาลี.**"ความสามารถในดานการเงินของเทศบาล : กรณีของ

เทศบาลนครกรุงเทพกอนเปลี่ยนแปลงเปนกรุงเทพมหานคร."**วารสารพัฒนบริหารศาสตร.**16

(เมษายน 2519)*:*231-254.

11.*"พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2518."**ราชกิจจานุเบกษา.**92*(6 กุมภาพันธ

2518)*:*1-78.

12.*ชมเพลิน**จันทรเรืองเพ็ญ,*สมคิด**แกวสนธิ*และทองอินทร**วงศโสธร.**"การสอนแบบตางๆ ใน

ระดับอุดมศึกษา."**วารสารครศุาสตร.**6 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2519)*:*34-49.

13.*ธเนศ**อาภรณสุวรรณ.**"ขอสังเกตเกี่ยวกับการศึกษาประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย."**วารสาร

มนุษยศาสตร.**ฉบับที่ 2*(2518)*:*35-40.

14.*Adler, I.**"A Model of Contact Pressure in Phyllotaxis."**J. Theor. Biol.**45*(1987)*:*

1-79.

Page 87: Book Thesis1

86

15.* Koman,*Thanat.**"The Consequences for Southeast Asia of Events in Indo-China."

Journal of Social Sciences.**13*(January 1976)*:*16-25.

16.*Stevenson, H. W.,*et*al.**"Longitudinal Study of Individual Differences in Cognitive

development and Scholastic Achievement."**Journal of Educational

Psychology.**68*(August 1976)*:*377-400.

17.*Jaccard, J.,*Knox, R.,*and*Brinberg, D.**"Prediction of Behavior from Beliefs : An

Extension and Test of A Subjective Probability Model."**Journal of Personality and

Social Psychology.**37*(July 1979)*:*1239-1248.

Page 88: Book Thesis1

ภาคผนวก ข

การสงแผนซีดีบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ

Page 89: Book Thesis1

88

การแบงเนื้อหาและการตั้งชื่อไฟลบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ

ใหแบงเน้ือหาสําหรับการบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ และตั้งชื่อไฟลดังน้ี

การตั้งชื่อไฟล ลําดับการแบงเนื้อหา

.pdf file

ปก 01_cov.pdf

บทคัดยอ (ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ) 02_abs.pdf

กิตติกรรมประกาศ 03_ack.pdf

สารบัญ [สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (ถามี)] 04_tbc.pdf

บทที่ 1 05_ch1.pdf

บทที่ 2 05_ch2.pdf

บทที่ 3 กาํหนดชื่อไฟลตามจํานวนบทที่มี เรียงตามลําดับ 05_ch3.pdf

บทที่ 4 05_ch4.pdf

บทที่ 5 05_ch5.pdf

บรรณานุกรม หรือเอกสารอางองิ 06_ref.pdf

(กรณีท่ีมีภาคผนวกมากกวา 1 ภาค ใหแบงเปน ภาคผนวก ก, ภาคผนวก ข ภาคผนวก

และตั้งชือ่ไฟล 07_app1.pdf, 07_app2.pdf ตามลําดับ) 07_app.pdf

ประวัติ 08_bio.pdf

การสงแผนซีดีบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ

ใหนักศึกษาบันทึกขอมูลดวยโปรแกรมที่เปน .pdf file เทาน้ัน โดยจัดสงแผนซีดีแบบ

CD-R 700MB/80MIN ขนาด 12 เซนติเมตร และแผนซีดีที่นําสงบัณฑิตวิทยาลัยตองดําเนินการใหเรียบรอยดังน้ี

1. ผานการตรวจสอบและกําจดัไวรัสเรียบรอยแลว

2. บรรจุในกลองซีดี พรอมท้ังปกซีดีท่ีมีขอมูล ดังน้ี

ชื่อนักศึกษา........................................................................................รหัสประจําตัว....................................

ชื่อวิทยานิพนธ…………….............................................................................................................................

ชื่อปริญญา............................................................................................สาขาวชิา........................................

ปการศึกษาที่สําเร็จการศึกษา.......................................................................................................................

หมายเหตุ นักศึกษามาดูตัวอยางกลองใสแผนซีดีไดท่ีใหบัณฑิตวิทยาลัย

Page 90: Book Thesis1

ภาคผนวก ค

การพิมพเอกสารหนา-หลัง

Page 91: Book Thesis1

90

การพิมพเอกสารหนา-หลัง

ไปที่เมนู “แฟม” เลือก “ต้ังคาหนากระดาษ” แลวใสเครื่องหมาย ท่ีชองขอบเงากระจก ดังภาพที่ ค-1

ภาพที่ ง-1 การตั้งคาหนากระดาษ

จากภาพที่ ค-1 ใหเปลี่ยนตั้งคาภายในเปน 1 น้ิว (2.54 เซนติเมตร) และเปลี่ยนตั้งคาภายนอกเปน

1.5 น้ิว (3.81 เซนติเมตร) การใสเลขหนา ไปที่เมนูแทรก เลือก “เลขหนา” ใหเลือกภายนอก ท่ีการจัดตําแหนง

ภาพที่ ค-2 การใสเลขหนา

หมายเหตุ การขึ้นบทใหมเลขหนาตองเปนเลขคี่เสมอ