ผลการสอนโดยใช้เกมตามแนวการ...

251
ผลการสอนโดยใช้เกมตามแนวการเรียนรู ้โดยใช้สมองเป็นฐานที่มีต ่อผลสัมฤทธิ ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที่ 2 อัจฉราพรรณ โพธิ ์ตุ ่น วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการหลักสูตรและการเรียนรู มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2559

Upload: others

Post on 21-Mar-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ผลการสอนโดยใช้เกมตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานทีม่ีต่อผลสัมฤทธ์ิ

    ทางการเรียนและเจตคตต่ิอการเรียนวชิาภาษาองักฤษ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2

    อจัฉราพรรณ โพธ์ิตุ่น

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิาการจดัการหลกัสูตรและการเรียนรู้ มหาวทิยาลยัราชภฏันครสวรรค์

    พ.ศ. 2559

  • ผลการสอนโดยใช้เกมตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานทีม่ต่ีอผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ

    ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที ่2

    อจัฉราพรรณ โพธ์ิตุ่น

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการจัดการหลกัสูตรและการเรียนรู้ มหาวทิยาลยัราชภัฏนครสวรรค์

    พ.ศ. 2559 ลขิสิทธ์ิของมหาวทิยาลยัราชภัฏนครสวรรค์

  • THE EFFECT OF TEACHING USING GAMES COMPREHENSION BASING ON BRAIN - BASED LEARNING UPON LEARNING ACHIEVEMENT AND ATTITUDES

    TOWARDS ENGLISH SUBJECTS LEARNING OF PRATHOMSUKSA 2 STUDENTS

    ATCHARAPHAN PHOTUN

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of

    Education Degree in Curriculum and Learning Management Nakhon Sawan Rajabhat University

    2016 Copyright of Nakhon Sawan Rajabhat University

  • บทคดัย่อ ช่ือเร่ือง ผลการสอนโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวชิา ภาษาองักฤษของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ผู้วจัิย นางสาวอจัฉราพรรณ โพธ์ิตุ่น อาจารย์ทีป่รึกษา ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.สุธาทิพย ์ งามนิล สาขาวชิา การจดัการหลกัสูตรและการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2558 การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคเ์พ่ือ 1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาองักฤษ ก่อนเรียนและหลงัเรียนของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีไดรั้บการสอนโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน 2) เพ่ือเปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาองักฤษก่อนเรียนและหลงัเรียนของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีไดรั้บการสอนโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน กลุ่มตวัอยา่งเป็นนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีก าลงัศึกษาอยูใ่นภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 ของโรงเรียนบา้นท านบ อ าเภอท่าตะโก จงัหวดันครสวรรค ์ จ านวน 1 หอ้งเรียน รวม 36 คน ซ่ึงไดม้าจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยัคร้ังน้ี ไดแ้ก่ 1) แผนการจดัการเรียนรู้วิชาภาษาองักฤษโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐานจ านวน 6 แผน มีคุณภาพในระดบัเหมาะสมมากท่ีสุด 2) แบบทดสอบวดัผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาองักฤษ ซ่ึงเป็นขอ้สอบเลือกตอบชนิด 3 ตวัเลือก จ านวน 20 ขอ้ มีค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.37 ถึง 0.74 ค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.25 ถึง 0.65 และค่าความเท่ียงเท่ากบั 0.92 3) แบบวดัเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาองักฤษมีลกัษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดบั จ านวน 30 ขอ้ มีความเท่ียงเท่ากบั 0.80

    ผลการวิจยัพบวา่ 1. นกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีไดรั้บการสอนโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิาภาษาองักฤษหลงัเรียนสูงกวา่ก่อนเรียน อยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติท่ีระดบั .05 2. นกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีไดรั้บการสอนโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน มีเจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษหลงัเรียนสูงกวา่ก่อนเรียน อยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

    (1)

  • Abstract Title The Effect of Teaching Using Games Comprehension Basing

    on Brain – Based Learning upon Learning Achievement and Attitudes Towards English Subject Learning of Prathomsuksa 2 Students

    Author Miss Atcharaphan Photun Advisor Asst. Prof. Dr. Suthathip Ngamnin Program Curriculum and Learning Management Academic Year 2015 The Purposes of this research were 1) to compare Prathomsuksa 2 learning achievement before and after being taught by using Games Comprehension Based on Brain – Based Learning, and to compare attitudes towards English subject learning of Prathomsuksa 2 students before and after being taught using Games Comprehension Based on Brain – Based Learning. The samples were 36 Prathomsuksa 2 students in second semester of 2015 academic year of Ban Thamnop School, Thatako District Nakhon Sawan Province. The samples were selected by cluster random sampling. The instruments used in the research were 1) 6 lesson plans of Teaching Using Games Comprehension Based on Brain – Based Learning with the most suitable quality level, 2) an achievement test of English subject with 20 items, 3 multiple choices, the difficulty degree of 0.37 to 0.74, degree of discrimination between 0.25 to 0.65 and the realiability coefficient of 0.92, and 3) a test of attitude towards English subject with a scale of 5 levels, 30 items and reliability coefficient of 0.80. The research finding were as follows:

    1. Students in Prathomsukas 2 who were taught by using Games Comprehension Based on Brain – Based Learning had English learning achievement in the posttest higher than that in the pretest significantly at the .05 level.

    2. Students of Prathomsuksa 2 who were taught by using Games Comprehension Based on Brain – Based Learning had higher attitude toward English subject than that before learning significantly at the.05 level.

    (2)

  • กติติกรรมประกาศ

    วทิยานิพนธ์ฉบบัน้ีส าเร็จสมบูรณ์ไปไดด้ว้ยดี ทั้งน้ีเป็นเพราะผูว้จิยัไดรั้บความกรุณา และ

    เอาใจใส่อยา่งดียิง่ จากผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.สุธาทิพย ์ งามนิล อาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์ ท่ีให้

    ค าปรึกษาแนะน าในการท าวิทยานิพนธ์ และเสียสละเวลาในการตรวจแกไ้ขขอ้บกพร่องต่างๆ ดูแล

    เอาใจใส่ตลอดมาอยา่งดียิง่ ผูว้จิยัขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่งสูงไว ้ณ โอกาสน้ี

    ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสอบวทิยานิพนธ์ กรรมการผูท้รงคุณวุฒิ และผูเ้ช่ียวชาญ

    ทุกท่าน ท่ีไดใ้หข้อ้คิดและขอ้เสนอแนะ น ามาปรับปรุงแกไ้ขวทิยานิพนธ์คร้ังน้ีใหส้ าเร็จลงอยา่ง

    ถูกตอ้งสมบูรณ์ยิง่ข้ึน

    ขอขอบพระคุณ ผูบ้ริหาร ตลอดจนคณะครู โรงเรียนบา้นท านบ ท่ีใหก้ารสนบัสนุน ให้

    ความสะดวกในการคน้ควา้ขอ้มูลเป็นอยา่งดี และขอขอบใจนกัเรียนโรงเรียนบา้นท านบ ท่ีใหค้วาม

    ร่วมมือในการเก็บรวบรวมขอ้มูล และอ านวยความสะดวกในการท าวจิยัคร้ังน้ีดว้ยความเตม็ใจ

    ขอขอบคุณนกัศึกษาปริญญาโท สาขาวชิาการจดัการหลกัสูตรและการเรียนรู้ รุ่นท่ี 13

    หอ้ง 1 และรุ่น 13 หอ้ง 2 ของมหาวทิยาลยัราชภฏันครสวรรค ์ท่ีใหก้ารส่งเสริม สนบัสนุน

    ช่วยเหลือ แนะน าในการท าวิทยานิพนธ์ฉบบัน้ีจนส าเร็จลุล่วงดว้ยดี

    ขอกราบขอบพระคุณคุณบิดา มารดาของผูว้จิยัท่ีเป็นผูใ้หชี้วติท่ีดี อบรมเล้ียงดูอยา่งดีท่ีสุด

    รวมทั้งใหว้ชิา ความรู้ ความคิด สติปัญญา และขอบคุณกลัยาณมิตรทุกคน ท่ีใหก้ารช่วยเหลือในทุก

    ๆ ดา้น ทั้งก าลงักาย ก าลงัใจ ก าลงัความคิดแก่ผูว้จิยัจนส าเร็จการศึกษา

    คุณค่าและประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนจากวทิยานิพนธ์ฉบบัน้ี ผูว้ิจยัขอมอบเป็นเคร่ืองบูชา

    พระคุณบิดา มารดา ครู อาจารย ์และผูมี้พระคุณทุกท่าน ตลอดจนผูมี้พระคุณทุกท่าน ซ่ึงสนบัสนุน

    ช่วยเหลือ และเป็นก าลงัใจใหผู้ว้จิยัประสบความส าเร็จทางการศึกษา

    (3)

  • สารบัญ

    บทที่ หน้า

    บทคดัยอ่ภาษาไทย .................................................................................................... (1) บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ ............................................................................................... (2) กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................... (3) สารบญั....... ............................................................................................................... (4) สารบญัตาราง ............................................................................................................ (7) สารบญัภาพ ............................................................................................................... (8) 1 บทน า .............................................................................................................. 1 ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา ................................................. 1 วตัถุประสงคก์ารวจิยั .............................................................................. 5 ขอบเขตการวจิยั ..................................................................................... 5 นิยามศพัทเ์ฉพาะ .................................................................................... 6 ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ .................................................................... 7 2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง....................................................................... 8 การใชเ้กมประกอบการสอนค าศพัทภ์าษาองักฤษ................................. 9 แนวทางการจดักิจกรรมการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน ....................... 24 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ......................................................................... 49 เจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ ....................................................... 59 งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง ................................................................................. 70 กรอบแนวคิดการวจิยั ............................................................................. 74 สมมติฐานการวิจยั .................................................................................. 77 3 วธีิด าเนินการวจิยั ............................................................................................ 79 ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง ..................................................................... 79 เคร่ืองมือในการวจิยั ............................................................................... 80 การเก็บรวบรวมขอ้มูล ............................................................................ 94 การวเิคราะห์ขอ้มูล ................................................................................. 96 สถิติท่ีใชใ้นการวจิยั ................................................................................ 97

    (4)

  • สารบัญ(ต่อ)

    บทที่ หน้า

    4 ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล .................................................................................... 100 ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล ............................................................................ 100 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ ................................................................ 103 ระเบียบวธีิวจิยั ........................................................................................ 103 สรุปผลการวจิยั....................................................................................... 105 อภิปรายผล ............................................................................................. 105 ขอ้เสนอแนะ .......................................................................................... 108 บรรณานุกรม .............................................................................................................. 109 ภาคผนวก ............................................................................................................... 120 ภาคผนวก ก รายช่ือผูเ้ช่ียวชาญประเมินเคร่ืองมือ ................................ 121 ภาคผนวก ข หนงัสือของความอนุเคราะห์ ........................................... 123 หนงัสือของความอนุเคราะห์ เป็นผูเ้ช่ียวชาญ .................. 124 หนงัสือขอความอนุเคราะห์ทดลองใชเ้คร่ืองมือวจิยั ....... 127 หนงัสือขอความอนุเคราะห์เก็บขอ้มูลเพื่อการวจิยั .......... 128 ภาคผนวก ค แสดงจ านวนขอ้สอบตามเน้ือหาและจุดประสงค ์ การเรียนรู้ ........................................................................ 129 ภาคผนวก ง ผลการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ .................................. 132 แบบประเมินคุณภาพแผนการจดัการเรียนรู้................... . 133 ผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการ................... จดัการเรียนรู้................................................................... 135 ผลการหาค่าดชันีความสอดคลอ้งระหวา่งจุดประสงค ์ กบัขอ้สอบ..................................................................... 141 ผลการหาค่าความยากง่าย และค่าอ านาจจ าแนกของ ขอ้สอบ ........................................................................... 143 ผลการหาค่าความเท่ียงของแบบทดสอบ........................ . 145

    (5)

  • สารบัญ(ต่อ)

    บทที่ หน้า

    (ต่อ) แบบประเมินความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญท่ีมีต่อขอ้ความ ในแบบวดัเจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ................. 147 ผลการประเมินแบบวดัเจตคติต่อการเรียน วชิาภาษาองักฤษ............................................................... 150 ผลการหาค่าความเท่ียงของแบบวดัเจตคติ ........................ 152 ภาคผนวก จ ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล ...................................................... 155 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิา ภาษาองักฤษ ก่อนเรียนและหลงัเรียนของนกัเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีไดรั้บการสอนโดยใชเ้กม ตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน...................... 156 ผลการเปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ ก่อนเรียน และหลงัเรียนของนกัเรียนชั้นประถมศึกษา

    ปีท่ี 2 ท่ีไดรั้บการสอนโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้

    โดยใชส้มองเป็นฐาน..................................................... 162 ภาคผนวก ฉ แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิาภาษาองักฤษ แบบวดัเจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ .................... 164 ภาคผนวก ช แผนการจดัการเรียนรู้โดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดย ใชส้มองเป็นฐาน............................................................ 171 ภาคผนวก ซ ผลงานนกัเรียน ................................................................ 220 ประวติัยอ่ผูว้จิยั ......................................................................................................... 236

    (6)

  • สารบัญตาราง

    ตารางที่ ............................................................................................................... หน้า 3.1 แสดงจ านวนหอ้งเรียน .................................................................................... 80 3.2 แสดงเน้ือหา จ านวนชัว่โมงท่ีใชส้อน ............................................................. 81 3.3 แสดงเน้ือหาเร่ือง ช่ือเกม และค าศพัทท่ี์ใชใ้นแผนการจดัการเรียนรู้ ............ 83 3.4 แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจดัการเรียนรู้ .................... 85 3.5 แสดงการก าหนดลกัษณะแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกบั จุดประสงคก์ารเรียนรู้................................................................................... .. 87 3.6 แสดงแผนแบบการวจิยั .................................................................................. 94 3.7 แสดงจ านวนคร้ัง วนั เวลา ในการสอนตามแผนการจดัการเรียนรู้ ................. 95 4.1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ภาษาองักฤษ ก่อนเรียนและ หลงัเรียนของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีไดรั้บการสอนโดยใชเ้กม ตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน ........................................................ 101 4.2 แสดงผลการเปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาองักฤษก่อนเรียน และหลงัเรียนของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีไดรั้บการสอนโดย ใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน ............................................. 102

    (7)

  • สารบัญภาพ

    ภาพที ่ ............................................................................................................... หน้า 2.3 แสดงกรอบแนวคิดการวจิยั ............................................................................ 76

    (8)

  • บทที ่ 1

    บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

    ภาษาเป็นเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการส่ือสารเพื่อความเขา้ใจซ่ึงกนัและกนั สามารถรู้ความตอ้งการ ความรู้สึก ความคิดอารมณ์ ตลอดจนประสบการณ์ต่างๆ ของมนุษย ์ ภาษาองักฤษเป็นเคร่ืองมือในการรับข่าวสาร แลกเปล่ียนขอ้มูล ในดา้นความคิด ทศันคติ วฒันธรรมของชนชาติอ่ืนตลอดจนความกา้วหนา้ทางวทิยาการใหม่ ๆ ท าใหค้นไทยตระหนกัถึงความส าคญัและความจ าเป็นในเร่ืองความสามารถในการใชภ้าษาองักฤษ ซ่ึงเป็นภาษาสากลระบบการศึกษาไทยจึงตอ้งพฒันาความสามารถทางภาษาองักฤษของคนไทยใหอ้ยูใ่นระดบัท่ีสามารถจะรับและเขา้ใจสารสนเทศภาษาองักฤษ ภาษาองักฤษจึงมีความจ าเป็นส าหรับการศึกษาขั้นสูงทั้งในและนอกประเทศ เพราะต าราทางวชิาการขั้นสูงส่วนใหญ่จะจดัพิมพเ์ป็นภาษาองักฤษ ผูท่ี้รู้ภาษาองักฤษจึงจะสามารถเขา้ใจสาระความรู้ไดเ้ป็นอยา่งดี (สุมิตรา องัวฒันากุล, 2540, น. 1) การเรียนรู้ภาษาองักฤษยงัเป็นปัจจยัส าคญัในการพฒันาธุรกิจประเภทต่าง ๆ ในระดบัประเทศซ่ึงสามารถส่งผลต่อการอยูดี่มีสุขของพลเมืองในประเทศอีกดว้ย จึงอาจกล่าวไดว้า่เกือบทุกประเทศทัว่โลกมีการบรรจุการเรียนการสอนวิชาภาษาองักฤษใหอ้ยูใ่นระบบของการศึกษา (เกรียงศกัด์ิ เจริญวงศ์ศกัด์ิ, 2543, น.127) นอกจากน้ีภาษาองักฤษยงัมีบทบาทส าคญัต่อการด ารงชีวิตของคนไทยในระดบัจงัหวดัในการธุรกิจประเภทการท่องเท่ียว การส่งออก จึงมีการส่งเสริม สนบัสนุนการเรียนการสอนวชิาภาษาองักฤษในโรงเรียนและสถาบนัการศึกษาในระดบัสูงเป็นอยา่งมาก ทั้งน้ีเพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานท่ีดีทางดา้นความรู้และทกัษะการใชภ้าษาองักฤษใหแ้ก่เด็กไทยเพื่อพฒันาประชากรและประเทศใหเ้จริญกา้วหนา้เทียบเท่ากบัชาติอ่ืนๆ (แรมสมร อยูส่ถาพร, 2539, น. 1-2) จึงนบัไดว้า่ภาษาองักฤษมีความส าคญัส าหรับการท างานและการด ารงชีวติของมนุษยใ์นปัจจุบนัเป็นอนัมาก

    การเรียนการสอนภาษาองักฤษในประเทศไทยเร่ิมตน้มาเป็นเวลานานหลายสิบปี แต่ก็ยงัไม่ไดผ้ลดีเท่าท่ีควรเน่ืองจากผูเ้รียนไม่เห็นความจ าเป็นหรือประโยชน์ของภาษาองักฤษโดยเฉพาะอยา่งยิง่เด็กในชนบท ซ่ึงมีส่ิงแวดลอ้มอยา่งไทย ๆ มีความจ าเป็นท่ีจะตอ้งใชภ้าษาองักฤษนอ้ยมาก (สุมิตรา องัวฒันากุล, 2540 , น. 14) ผูเ้รียนมีโอกาสฝึกฝนการใชภ้าษานอ้ย ครูขาดเทคนิควธีิการสอนท่ีน่าสนใจ ผูเ้รียนมีเจตคติท่ีไม่ดีต่อวชิาภาษาองักฤษ เป็นตน้ นอกจากน้ีในการเรียนการสอนภาษาองักฤษของเด็กไทยนั้น ผูเ้รียนมีส่วนร่วมในการจดักิจกรรมการเรียนการสอนนอ้ยและ ไม่

  • สามารถน าความรู้ท่ีไดไ้ปใชใ้หเ้ป็นประโยชน์ ในชีวิตประจ าวนั (สุรพนัธ์ กุศลส่ง, 2543, น. 2) จากสาเหตุดงักล่าวจึงท าใหน้กัเรียนส่วนใหญ่ขาดความสนใจในการเรียนวชิาภาษาองักฤษ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิาภาษาองักฤษของนกัเรียนค่อนขา้งต ่า

    นอกจากน้ีพบวา่นกัเรียนขาดความรู้ความเขา้ใจเก่ียวกบัค าศพัทภ์าษาองักฤษ นกัเรียน ไม่สามารถเขา้ใจความหมายของค าศพัท ์ และไม่สามารถประยกุตใ์ชค้ าศพัทใ์นการติดต่อส่ือสารได้ในสังคม ซ่ึงมีสาเหตุมาจากการขาดความสนใจในการเรียนรู้ ครูโดยส่วนใหญ่มกัจะเนน้ให้นกัเรียนท่องจ าค าศพัท ์ จึงท าใหน้กัเรียนเกิดความเบ่ือหน่าย ไม่สนใจเรียน การสอนจะเนน้ครูเป็นส าคญัปฏิบติัตามค าสั่งของครู จึงท าใหน้กัเรียนมีทศันคติท่ีไม่ดีต่อการเรียนรู้ค าศพัทภ์าษาองักฤษ การเรียนรู้ค าศพัทจึ์งไม่สามารถน าไปใชใ้นการส่ือสารท่ีถูกตอ้งและเหมาะสมขาดการฝึกทกัษะการน าค าศพัทไ์ปใชใ้นชีวติประจ าวนัจนเกิดเป็นนิสัย (กรมวชิาการ, 2545, น. 2) จะเห็นไดว้า่ควรมีการปรับปรุงการเรียนการสอนเสียใหม่เพื่อใหน้กัเรียนมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ ซ่ึงจะเกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีน่าพอใจ

    การเรียนค าศพัทมี์ความส าคญัในฐานะเป็นกุญแจส าคญัในการพฒันาทกัษะต่างๆ ส าหรับการเรียนภาษาองักฤษ เน่ืองจากยิง่ผูเ้รียนสามารถเรียนรู้ค าศพัท ์ หนา้ท่ี และการใชค้ าศพัทไ์ดม้ากเพียงใด ยอ่มน ามาใชใ้นการฟัง การพดู การอ่าน หรือการเขียน จนเกิดทกัษะในการใชภ้าษาไดดี้ จึงมีความจ าเป็นท่ีนกัเรียนควรตอ้งเรียนรู้ค าศพัทใ์หไ้ดก่้อน จึงจะช่วยใหก้ารเรียนรู้ทกัษะอ่ืนๆ ประสบความส าเร็จในการส่ือสารไดต้ามเป้าหมายของหลกัสูตร (วสิาข ์ จติัวตัร์, 2541, น. 72 ; นเรศ สุรสิทธ์ิ, 2544, น. 221) เน่ืองจากค าศพัทมี์ความส าคญัเป็นพื้นฐานในการน าไปใชป้ระโยชน์ในการส่ือสารทุกๆดา้น ไม่วา่จะจดัการเรียนการสอนภาษาองักฤษดว้ยวธีิใดก็ตาม (พิตรวลัย ์ โกวทิวที, 2540, น. 17) นอกจากน้ีค าศพัทย์งัมีความส าคญัต่อการเรียนรู้ในระดบัชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 ในการจดัการเรียนการสอนตามหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกัราช 2551 ซ่ึงก าหนดสาระและมาตรฐานให้เรียนรู้ค าศพัทท่ี์อยูร่อบๆตวั ดว้ยการใชภ้าพ กิจกรรมเพื่อใหเ้ขา้ใจความหมายของค า หรือกลุ่มค า น าไปเป็นพื้นฐานการใชป้ระโยคง่าย ๆ กบัสถานการณ์ท่ีอยูใ่กลต้วัผูเ้รียน (กรมวชิาการ, 2545, น. 3 - 7) ส าหรับการจดักิจกรรมการเรียนการสอนค าศพัท์ภาษาองักฤษใหเ้หมาะสมกบัพฒันาการของนกัเรียน ควรจดัโดยเปิดโอกาสใหน้กัเรียนไดเ้รียนรู้จากการปฏิบติัท่ีเป็นไปตามธรรมชาติ จึงจะท าใหน้กัเรียนมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ซ่ึงเกมทกัษะทางภาษาจดัวา่เป็นส่ือท่ีเหมาะสมกบัการน าไปใชใ้นการจดักิจกรรมการเรียนการสอน โดยเฉพาะอยา่งยิง่การน าเกมไปใชป้ระกอบการสอนค าศพัทภ์าษาองักฤษ ยิง่จะท าใหน้กัเรียนเกิดการเรียนรู้ตามธรรมชาติจนสามารถจ าค าศพัทแ์ละน าค าศพัทไ์ปใชก้บัทกัษะอ่ืนๆ ได ้(พยงุ ช านาญคิด, 2540,

    2

  • น. 37) จึงควรน าเกมสอดแทรกในกิจกรรมการเรียนการสอนค าศพัทภ์าษาองักฤษ เพื่อใหน้กัเรียนไดเ้รียนรู้อยา่งเป็นธรรมชาติและเหมาะสมตามวยั

    เกมประกอบการสอนค าศพัทภ์าษาองักฤษจะช่วยใหน้กัเรียนไดค้วามรู้ เกิดความสนุกสนาน และยงัมีประโยชน์ในการชกัจูงใหเ้กิดความสนใจในบทเรียน เขา้ใจบทเรียนไดดี้ข้ึนและไดฝึ้กทกัษะทางภาษา นอกจากน้ี นกัเรียนจะรักและสนุกกบัการเรียนภาษาองักฤษ เน่ืองจากครูท่ีใชเ้กมประกอบการสอนจะเป็นการสร้างบรรยากาศในการเรียนท่ีสนุกสนาน มีชีวติชีวา มิใช่บรรยากาศของความเคร่งเครียด จนท าใหน้กัเรียนเบ่ือหน่ายต่อการเรียนค าศพัทภ์าษาองักฤษเพราะนกัเรียนจะรู้สึกวา่ไม่เป็นการบงัคบัใจในการจดจ าค าศพัทเ์กินไป แต่จะสามารถเรียนรู้และจดจ าได้อยา่งเป็นธรรมชาติ อีกทั้งเกมยงัช่วยใหน้กัเรียนจดจ าค าศพัทไ์ดดี้ข้ึน เพราะครูยงัสามารถใชเ้กมส าหรับเป็นการทบทวนค าศพัทไ์ดอี้กดว้ย (วลัภาภรณ์ คงถาวร, 2539, น. 83)

    ผูเ้ช่ียวชาญทางระบบประสาทของแคนาดาไดเ้สนอแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ภาษาท่ีเก่ียวขอ้งกบักลไกของสมองของผูเ้รียน ซ่ึงเด็กจะมีความสามารถในการเรียนภาษาต่างประเทศระหวา่งอาย ุ8-10 ปี ซ่ึงเป็นระยะเวลาท่ีสมองมีความยดืหยุน่มากท่ีสุด เด็กจะเร่ิมเรียนค าศพัทจ์ากการฟังและเขา้ใจความหมายของค า ดงันั้นค าศพัทถื์อเป็นองคป์ระกอบพื้นฐานในการเรียนรู้ภาษาของเด็กวยัระดบัเตรียมความพร้อม อนัจะส่งผลใหถึ้งความช านาญหรือความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาดงัท่ี Lauferand Shmueli (อนงคก์ร ศรีเจริญ, 2548, น. 53;อา้งอิงจาก Lauferand Shmueli,1997) เน่ืองจากสมองของมนุษยมี์ศกัยภาพในการเรียนรู้สูงสุด ถา้พฒันาศกัยภาพของเด็กใหไ้ดเ้รียนรู้อยา่งเตม็ประสิทธิภาพ เด็กจะเติบโตเป็นผูใ้หญ่ท่ีมีคุณภาพและมีความสมบูรณ์พร้อม เป็นเด็กดี คนเก่งท่ีมีความสุขและความใฝ่รู้ใฝ่เรียน การเรียนรู้ท่ีมีความสุขส่งผลใหผู้เ้รียนเกิดความอยากรู้อยากเห็น กระตือรือร้น สนใจไขวค่วา้ อยากท่ีจะเรียนรู้ เกิดพลงัท่ีจะท าส่ิงต่างๆ มากมาย มีพลงัท่ีจะเรียนรู้ส่ิงต่างๆเพิ่มมากข้ึน ในทางตรงกนัขา้ม ถา้ผูเ้รียนเกิดความเครียด ความกงัวล ความเหน่ือยลา้ ความเศร้า รู้สึกเบ่ือหน่าย ไม่มีความสุข อนัเน่ืองมาจากสาเหตุใดก็ตาม เช่น การจดัรูปแบบการเรียนรู้ท่ีเนน้การท่องจ า ไม่ไดคิ้ด ไม่ไดล้งมือกระท า เนน้วชิาการมากเกินไปท าให้สมองเสียสมดุล และมีผลไปสกดักั้นการเรียนรู้ในสมอง ท าใหผู้เ้รียนไม่มีการเก็บส่ิงท่ีเรียนรู้ไวเ้ป็นความจ าเป็นและไม่เกิดการเรียนรู้ ท าใหป้ระสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง ความจริงสมองพร้อมท่ีจะท างานตลอดเวลาเพราะเส้นใยประสาทและระบบประสาทมีพร้อมอยูแ่ลว้ ตอ้งการเพียงส่ิงกระตุน้จากสภาพแวดลอ้มเท่านั้นก็จะเกิดการเรียนรู้ภาษาข้ึน การเรียนรู้ภาษาจะเป็นไปอตัโนมติัแต่ท่ีส าคญัเด็กจะตอ้งอยูใ่นสภาพแวดลอ้มท่ีการพูดคุยมีขอ้มูลทางดา้นภาษาป้อนเขา้ไปอยูต่ลอดเวลาผูส้อนจึงควรน าความรู้เร่ืองการเรียนรู้ภาษาท่ีสองกบัการท างานของสมองมาใชใ้นการจดัการเรียนรู้

    3

  • 4

    เพื่อใหผู้เ้รียนเกิดการเรียนรู้ท่ีแทจ้ริงและประสบความส าเร็จในการเรียนการสอนภาษา (ศนัสนีย ์ฉตัรคุปต,์ 2545, น. 45)

    การเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐานเป็นการน าขอ้มูลจากงานวิจยัทางดา้นประสาทวทิยามาปรับใชใ้นดา้นการศึกษา เป็นการเรียนรู้ท่ีสอดคลอ้งกบัวถีิการเรียนรู้และการท างานของสมองตามธรรมชาติเพราะการเรียนรู้เกิดข้ึนผา่นการเช่ือมโยงระหวา่งเซลลป์ระสาทและเครือข่ายขอ้มูลในสมองโดยใชส้มองทั้งสองส่วนไม่แยกซีกซา้ยและขวาออกจากกนั สมองจะท างานไดดี้เม่ืออยูใ่นภาวะอารมณ์ท่ีดีและสมองสามารถเปล่ียนโครงสร้างได ้หากไดรั้บการพฒันาซ่ึงเกิดจากปัจจยัท่ีดี การจดัการเรียนการสอนท่ีเนน้การเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐานตอ้งค านึงถึงวา่สมองของผูเ้รียนมีรูปแบบการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกนั เป็นเอกลกัษณ์ของแต่ละบุคคล อารมณ์ของผูเ้รียน คือ ส่ิงส าคญัท่ีท าใหเ้กิดการเรียนรู้ ผูเ้รียนตอ้งการเวลาพกัเพื่อผอ่นคลายและเรียบเรียงขอ้มูลในสมอง ผูส้อนควรจดัสรรเวลาใหพ้กัคร่ึงการเรียนในแต่ละคร้ัง การจดักิจกรรมในหอ้งเรียนควรมีการใชเ้สียงเพลง ดนตรี กิจกรรมเขา้จงัหวะ มีการเคล่ือนไหวและฝึกใหผู้เ้รียนรู้จกัอภิปรายถกเถียงเพื่อหากฎหรือหลกัการส าคญัของเร่ืองนั้นๆ จะท าใหส้มองไดพ้ฒันาสามารถจดจ าและสร้างรูปแบบความรู้จากประสบการณ์จริงท่ีไดส้ัมผสัโดยตรง การเรียนรู้ภาษา เป็นกระบวนการรับและประมวลขอ้มูลของสมอง ความเขา้ใจทางภาษาและการแสดงออก เป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนภายในสมองเป็นหลกัและเกิดข้ึนเอง ซ่ึงอาจใชเ้วลาแสดงออกในแต่ละคนไม่เท่ากนั การพยายามสอนใหเ้ด็กทุกคนอ่าน เขียน ฟัง ได้เท่าๆกนัทั้งชั้นพร้อมกนั เป็นส่ิงท่ีขดักบัความเป็นจริง เพราะแทท่ี้จริงไม่มีสมองใครเรียนรู้ไดใ้นอตัราความเร็วและคุณภาพท่ีเท่ากนั เด็กต่างกนัมาตั้งแต่เกิด บางคนสนใจเสียงบางคนสนใจส่ิงท่ีเคล่ือนไหวแต่ไม่ค่อยสนใจเสียง แมเ้ด็กจะอ่านออกเขียนไดช้า้กวา่ท่ีเราคิดไวเ้ม่ือเด็กพร้อม ก็อาจจะเร็วกวา่คนท่ีกา้วไปก่อนก็ได ้(พรพิไล เลิศวชิา, 2550, น. 165) จากความส าคญัและสภาพปัญหาดงักล่าว ผูศึ้กษาคน้ควา้เห็นวา่ควรหาแนวทางในการพฒันา การเรียนการสอนภาษาองักฤษ ใหมี้ประสิทธิภาพยิง่ข้ึนและใหส้อดคลอ้งกบัพระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ท่ีระบุวา่ การจดัการศึกษาตอ้งยดึหลกัวา่ผูเ้รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพฒันาตนเองได ้และถือวา่ผูเ้รียนมีความส าคญัท่ีสุดกระบวนการจดัการศึกษา ตอ้งส่งเสริมใหผู้เ้รียนสามารถพฒันาตามธรรมชาติและเตม็ศกัยภาพของสมอง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2545, น. 8) ดว้ยเหตุผลท่ีการสอนภาษาองักฤษไม่ท าใหน้กัเรียนสนใจในการเรียนภาษาองักฤษ ซ่ึงท าใหผ้ลสัมฤทธ์ิวชิาภาษาองักฤษอยูใ่นระดบัต ่าผูว้จิยัในฐานะท่ีเป็นครูผูส้อนภาษาองักฤษเห็นความส าคญัในการสอนค าศพัทภ์าษาองักฤษจึงสนใจท่ีจะทดลองสอนวธีิการสอนค าศพัท์ภาษาองักฤษโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐานกบันกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2

  • ดว้ยความเช่ือท่ีวา่จะช่วยใหน้กัเรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ค าศพัทแ์ละมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ

    วตัถุประสงค์การวจัิย

    ในการวจิยัคร้ังน้ี ผูว้ิจยัไดก้ าหนดวตัถุประสงคข์องการวจิยัไวด้งัน้ี 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิาภาษาองักฤษของนกัเรียนชั้นประถมศึกษา

    ปีท่ี 2 ก่อนเรียนและหลงัเรียน ท่ีไดรั้บการสอนโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน 2. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2

    ก่อนเรียนและหลงัเรียน ท่ีไดรั้บการสอนโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน

    ขอบเขตการวจัิย

    ในการวจิยัเร่ืองการศึกษาผลการสอนโดยใชเ้กมท่ีมีต่อความสามารถในการเรียนรู้ ค าศพัทภ์าษาองักฤษและเจตคติต่อวชิาภาษาองักฤษของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ผูว้จิยั ก าหนดขอบเขตการวจิยัไวด้งัน้ี

    1. ขอบเขตด้านเนือ้หาและระยะเวลา เนือ้หา

    การวจิยัในคร้ังน้ีผูว้ิจยัไดศึ้กษาหลกัสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้นท านบ ตามหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และได้คดัเลือกค าศพัทท่ี์ใชใ้นการจดักิจกรรมการเรียนการสอนระดบัชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 คือ ค าศพัท์จ านวน 60 ค า ประกอบดว้ย ค าศพัทเ์ก่ียวกบัอาชีพ จ านวน 10 ค า, ค าศพัทเ์ก่ียวกบัส่วนต่างๆของร่างกาย จ านวน 10 ค า, ค าศพัทเ์ก่ียวกบัสีต่างๆ จ านวน 10 ค า, ค าศพัทเ์ก่ียวกบัส่ิงของจ านวน 10 ค า, ค าศพัทเ์ก่ียวกบัผลไม ้จ านวน 10 ค า, ค าศพัทเ์ก่ียวกบัสัตว ์จ านวน 10 ค า

    ระยะเวลา ระยะเวลาในการวจิยัคร้ังน้ี ใชเ้วลาในการด าเนินการเก็บรวบรวมขอ้มูลในภาคเรียนท่ี

    2 ปีการศึกษา 2558 เป็นเวลา 2 สัปดาห์ๆ ละ 6 ชัว่โมง รวมระยะเวลาท่ีใชใ้นการทดลอง 12 ชัว่โมง 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

    ประชากร ประชากรท่ีใชใ้นการวิจยัคร้ังน้ีไดแ้ก่ นกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ในกลุ่ม

    ชยัพฤกษ ์อ าเภอท่าตะโก สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 3

    5

  • จ านวน 6 โรงเรียน จ านวนทั้งส้ิน 135 คน กลุ่มตัวอย่าง

    กลุ่มตวัอยา่งท่ีใชใ้นการวิจยัในคร้ังน้ี ไดแ้ก่ นกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 จ านวน 36 คน จากโรงเรียนบา้นท านบ กลุ่มชยัพฤกษ ์ อ าเภอท่าตะโก สังกดัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค ์เขต 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 ซ่ึงไดม้าโดยวธีิการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) ไดน้กัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบา้นท านบ จากกลุ่มประชากรทั้งหมด 6 โรงเรียน ในกลุ่มชยัพฤกษ ์อ าเภอท่าตะโก จงัหวดันครสวรรค ์ 3. ขอบเขตด้านตัวแปร

    ตวัแปรท่ีศึกษาในการวจิยัคร้ังน้ี มีดงัน้ี 1. ตวัแปรอิสระไดแ้ก่ การสอนโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน

    2. ตวัแปรตาม มี 2 ตวัแปร คือ 2.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิาภาษาองักฤษ

    2.2 เจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ

    นิยามศัพท์เฉพาะ

    การสอนโดยใช้เกมตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน หมายถึง การจดักิจกรรมการเรียนการสอน โดยใชล้ าดบัขั้นตอนการสอนท่ีสอดคลอ้งกบักระบวนการท างานของสมองมี 5 ขั้นตอน ดงัน้ี ขั้นท่ี 1 ขั้นอุ่นเคร่ือง (Warm - up stage) เป็นกิจกรรมท่ีท าเพื่อใหส้มองต่ืนตวั เตรียมพร้อมท่ีจะเรียนและเป็นการกระตุน้สมองท าได ้3 วธีิ คือ 1) การเคล่ือนไหวร่างกาย (Brain exercise) 2) การเคล่ือนไหวประกอบจงัหวะ (Rhythm) และ 3) การยดืเส้นยดืสาย (Stretching) ขั้นท่ี 2 ขั้นเรียนรู้ (Learning stage) เพื่อเช่ือมโยงประสบการณ์เดิม โดยใชก้ารสนทนา การฟัง การอ่าน การแสดงความคิดเห็น การอธิบาย การวิเคราะห์ การใชข้องจริง ส่ือสามมิติ ส่ือสองมิติ ท่ีมีจุดเนน้ชดัเจน มีสีสันกระตุน้ความสนใจ เป็นการเปิดโอกาสใหน้กัเรียนฝึกท าดว้ยกิจกรรมต่าง ๆ นกัเรียนไดเ้คล่ือนไหวในกิจกรรมเรียนรู้ ประกอบดว้ย การเล่นเกมทางภาษา ตบมือ ตบการ์ดค าศพัท ์ถือบตัรอกัษร จบัยา้ยบตัรค าบตัรภาพ จบัคู่ค าศพัท ์นกัเรียนลงมือใชส่ื้อและเคร่ืองมือต่าง ๆ ดว้ยตนเองทุกคน ขั้นท่ี 3 ขั้นฝึก (Practice stage) เพื่อฝึกซ ้ า ๆ จนเกิดความเขา้ใจและความช านา มีการปรับปรุงและพฒันาผลงาน โดยใชใ้บงาน แบบฝึก ขั้นท่ี 4 ขั้นสรุป (Conclusion stage) เป็นการสรุปความคิดรวบยอดของบทเรียน

    6

  • ซ ้ าอีกคร้ังหน่ึงและประเมินผลการเรียนรู้ตามตวัช้ีวดั โดยใชก้ระบวนการตอบค าถาม การอ่าน การเขียน เพื่อสรุปขอ้คิดท่ีไดจ้ากเร่ืองท่ีอ่าน ตามจุดประสงคก์ารเรียนรู้ ขั้นท่ี 5 ขั้นน าไปใช ้(Application stage) เป็นการประยกุตใ์ชค้วามรู้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ เช่น ท าใบงานใหม่ ๆ สร้างสรรคผ์ลงานและช้ินงาน

    ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิาภาษาองักฤษ หมายถึง ความสามารถในการสะกดค าศพัทแ์ละ แปลความหมาย โดยวดัจากแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิในการเรียนรู้ค าศพัทท่ี์ผูว้ิจยัสร้างข้ึน ซ่ึงมีลกัษณะเป็นแบบทดสอบปรนยัชนิดเลือกตอบ 3 ตวัเลือก จ านวน 20 ขอ้

    เจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ หมายถึง ความรู้สึกของนกัเรียนทั้งในดา้นบวกและดา้นลบท่ีมีต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษในดา้นคุณค่าทางภาษา ดา้นความสนใจต่อการเรียนภาษาองักฤษและดา้นการร่วมกิจกรรมภาษาองักฤษ ซ่ึงวดัไดจ้ากแบบวดัเจตคติซ่ึงแบบมาตราส่วนประมาณค่าท่ีผูว้จิยัสร้างข้ึน ประโยชน์ทีค่าดว่าจะได้รับ

    ในการวจิยัคร้ังน้ี คาดวา่จะเกิดประโยชน์ดงัน้ี 1. ไดแ้ผนการจดัการเรียนรู้ค าศพัทว์ชิาภาษาองักฤษโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใช้

    สมองเป็นฐาน ในระดบัชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ซ่ึงจะท าใหน้กัเรียนมีผลสัมฤทธ์ิในการเรียนรู้ค าศพัทภ์าษาองักฤษสูงข้ึน และมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ

    2. นกัเรียนท่ีมีความสามารถในการเรียนรู้ค าศพัท ์จะท าใหน้กัเรียนเขียนและออกเสียงค าศพัทน์ั้นไดอ้ยา่งถูกตอ้ง

    3. เป็นแนวทางส าหรับครูผูส้อนในการน าเกมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน ไปใชใ้นกิจกรรมการเรียนการสอนวชิาภาษาองักฤษและน าไปใชเ้ป็นประโยชน์ในการศึกษาวชิาอ่ืนๆต่อไป

    7

  • บทที ่ 2

    เอกสารและงานวจิัยทีเ่กีย่วข้อง ในการวจิยัเร่ือง ผลการสอนวชิาภาษาองักฤษโดยใชเ้กมตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐานท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติต่อวชิาภาษาองักฤษ ของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ผูว้จิยัไดศึ้กษาเอกสารแนวคิดและงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้งตามหวัขอ้ต่อไปน้ี

    1. การใชเ้กมประกอบการสอนค าศพัทภ์าษาองักฤษ 1.1 ความหมายของเกม 1.2 ความส าคญัและประโยชน์ของเกม 1.3 องคป์ระกอบของเกม 1.4 ประเภทของเกม 1.5 จุดประสงคใ์นการใชเ้กมสอนภาษา 1.6 ลกัษณะของเกมท่ีดี 1.7 การคดัเลือกเกมใชป้ระกอบการสอน 1.8 ขั้นตอนในการใชเ้กมประกอบการสอนค าศพัทภ์าษาองักฤษ 2. แนวทางการจดักิจกรรมการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน 2.1 ความหมายของการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน 2.2 หลกัการส าคญัของการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน 2.3 การสอนตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน 2.4 การเรียนรู้ภาษาตามแนวการเรียนรู้โดยใชส้มองเป็นฐาน 3. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3.1 ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3.2 การวดัและประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3.3 แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3.4 ขั้นตอนการสร้างแบบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

  • 4. เจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ 4.1 ความหมายของเจตคติ 4.2 ความส าคญัของเจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ 4.3 องคป์ระกอบของเจตคติ 4.4 ลกัษณะของเจตคติ 4.5 ปัจจยัท่ีมีผลต่อการเกิดและการเปล่ียนแปลงเจตคติ 4.6 การสร้างและพฒันาเจตคติต่อการเรียน

    4.7 เจตคติต่อการเรียนวชิาภาษาองักฤษ 4.8 การวดัเจตคติ

    5. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง 5.1 งานวจิยัในประเทศ 5.2 งานวจิยัต่างประเทศ

    6. กรอบแนวคิดการวจิยั 7. สมมติฐานการวิจยั

    การใช้เกมประกอบการสอนค าศัพท์ภาษาองักฤษ

    1. ความหมายของเกม การใชเ้กมทางภาษามาเสริมการสอนเป็นทางเลือกท่ีส าคญั ปัจจุบนัถือวา่มีความส าคญัต่อ

    หลกัสูตรและการเรียนการสอนซ่ึงมีผูใ้หค้วามหมาย ดงัน้ี Dobson (1970, p. 21) กล่าววา่ เกม หมายถึง กิจกรรมท่ีสนุกสนาน มีกฎเกณฑ ์กติกา กิจกรรมท่ีเล่นมีทั้งเกมเงียบ (Quiet games) และเกมการเคล่ือนไหวท่ีตอ้งใชค้วามวอ่งไว (Active games) เกมต่างๆ เหล่าน้ีข้ึนอยูก่บัทกัษะความวอ่งไว และความแขง็แรง การเล่นเกมมีทั้งท่ีเล่นคนเดียว สองคน หรือเล่นเป็นกลุ่ม บางเกมก็ผอ่นคลายความตึงเครียด และใหค้วามสนุกสนาน บางเกมก็กระตุน้การท างานของร่างกายและสมอง บางเกมก็ฝึกทกัษะบางส่วนของร่างกายและจิตใจเป็นพิเศษ Drumheller (1976, p. 13) ไดก้ล่าวถึงความหมายของเกมไวว้า่ เกม หมายถึง การแข่งขนัระหวา่งคู่แข่งขนัซ่ึงเล่นเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มก็ได ้เล่นตามกติกาท่ีก าหนด ใหถึ้งจุดหมายของเกมท่ีตั้งไว ้ Rixon ( 1981, pp. 1-5) ใหค้วามหมายของเกมวา่ เกมเป็นกิจกรรมท่ีด าเนินไปโดยมีความร่วมมือกนัหรือการแข่งขนักนั เพื่อน าไปสู่เป้าหมายซ่ึงตอ้งมีกฎเกณฑใ์นการเล่น

    9

  • เรืองศกัด์ิ อมัไพพนัธ์ (2536, น. 2) ไดใ้หค้วามหมายวา่ เกมทางภาษา (Language games) หมายถึง กิจกรรมทางภาษาท่ีจดัข้ึนเพื่อท่ีจะทดสอบ (Test) และเสริมสมรรถภาพ ( Enlarge ) ในการเรียนภาษาของผูเ้รียนโดยเนน้หนกัไปในทางผอ่นคลาย ( Relax ) เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน( Fun )และการเรียนรู้ทั้งในรายบุคคล และสมาชิกในกลุ่มภายใตเ้ง่ือนไข ( Conditions ) ท่ีก าหนดและได้อธิบายเพิ่มเติมวา่องคป์ระกอบของเกมทางภาษามีดงัต่อไปน้ี

    (1) กิจกรรม มุ่งใหผู้เ้รียนมีส่วนร่วมในการคิดและการแสดงออกทางภาษา ทั้งทาง ทกัษะฟัง พดู อ่าน และเขียน ในรูปของการแสดงบทบาทเอง (Active) หรือการเขา้ร่วมสังเกตการณ์ (Passive)

    (2) ทดสอบ กิจกรรมท่ีจดัข้ึนจะเป็นการทดสอบความรู้ความสามารถเดิมของ ผูเ้รียนในการคิดแกปั้ญหาและการแสดงออก โดยการแข่งขนัในฐานะตนเองเป็นผูท้ ากิจกรรมและการใหค้วามร่วมมือกบัสมาชิกในกลุ่มดว้ยวา่มีมากนอ้ยเพียงใด

    (3) เสริมสมรรถภาพ เม่ือมีการแข่งขนัระหวา่งตน และระหวา่งกลุ่ม ก็จะได ้ความรู้ใหม่เพิ่มเติมข้ึน เช่น เม่ือก่อนรู้ค าศพัทเ์พียง 10 ค า หลงัจากเล่นเกมแลว้มีความจ าในค าศพัท์และโครงสร้างเพิ่มข้ึนอีก 5 ค า เป็นตน้

    (4) ผอ่นคลาย การเรียนภาษาไม่วา่จะเป็นกิจกรรมท่ีจดัข้ึนในการฟัง พดู อ่าน และเขียน จะมีการฝึกท าซ ้ าๆท าใหผู้เ้รียนเกิดความเครียดและเหน่ือยลา้ ถา้มีการหยดุสักครู่ และเล่นเกมทางภาษาบา้งก็จะท าใหล้ดอาการดงักล่าวได ้

    (5) สนุกสนาน เกมท่ีจดัข้ึนนั้นมุ่งใหผู้เ้รียนรู้สึกสนุกสนาน เม่ือมีการแข่งขนัเป็น ส่ิงเร้าผูด้ าเนินเกมหรือครูผูส้อนตอ้งพยายามควบคุมเกมใหด้ าเนินไปดว้ยดี มากกวา่จะมุ่งหวงัแพ้ชนะเป็นส าคญั (6) เกิดการเรียนรู้ เกิดการเรียนรู้ระหวา่งสมาชิกในกลุ่มดว้ยกนัทั้งสองภาษาและ ทางพฤติกรรม เช่น การใหค้วามร่วมมือ การเสียสละ ความสามคัคี ความรักพวกพอ้ง ตลอดจนการกลา้แสดงออก อนัจะเป็นการน าไปสู่ความกา้วหนา้ในการเรียนภาษา (7) เง่ือนไข ในการเล่นเกมจ าเป็นตอ้งมีเง่ือนไข เช่น การก าหนดเวลา ก าหนด กิจกรรมและบทบาทของผูเ้ล่น ผูส้ังเกตการณ์ กรรมการ การใหค้ะแนน ตลอดจนขอ้บงัคบัหรือกติกาอ่ืนๆท่ีบอกไวใ้นเกมนั้นๆเพื่อควบคุมการเล่นใหเ้ป็นไปตามขั้นตอนและบรรลุเป้าหมาย Byrne (1995, pp. 101-103) ไดใ้หค้ าจ ากดัความของเกมวา่ เกมเป็นรูปแบบของการเล่นท่ีมีกฎ กติกา เกมท าใหผู้เ้รียนเกิดความสนุกสนาน เกมไม่เพียงแต่จะท าใหเ้พลิดเพลินหรือเล่นเพื่อหยดุพกัจากกิจกรรมประจ าวนัแต่ยงัเป็นวธีิท่ีผูเ้รียนไดใ้ชภ้าษาในขณะเล่นเกมดว้ย

    10

  • ทิศนา แขมมณี (2543, น. 29) ใหค้วามหมายของเกมไวว้า่ เกมคือการเล่นของเด็กซ่ึงมีกติกาขอ้ตกลงร่วมกนัระหวา่งผูเ้ล่น เกมของเด็กมกัมีกติกาง่าย ๆ ไม่ซบัซอ้นเกมมีทั้งแบบท่ีมีการแข่งขนัและไม่มีการแข่งขนั บางเกมไม่ตอ้งใชอุ้ปกรณ์อะไรทั้งส้ิน แต่บางเกมตอ้งใชอุ้ปกรณ์ประกอบ เกมบางอยา่งตอ้งอาศยัการออกก าลงักาย การเล่นเกมนบัวา่มีส่วนช่วยพฒันาสติปัญญาของเด็ก ในการเล่นเกมเด็กจะตอ้งจดจ ากติกา ตอ้งคิดตดัสินใจและใชไ้หวพริบในการเอาชนะคู่ต่อสู้ นอกจากนั้นยงัช่วยพฒันาเด็กทางดา้นร่างกาย อารมณ์ และสังคมอีกดว้ย

    วฒันาพร ระงบัทุกข ์(2542, น. 36) ไดก้ล่าวถึง เกมเป็นวิธีการหน่ึงซ่ึงสามารถน ามาใชใ้นการสอนไดดี้โดยผูส้อนสร้างสถานการณ์สมมุติข้ึนใหผู้เ้รียนลงเล่นดว้ยตนเองภายใตข้อ้ตกลง หรือกติกาบางอยา่งท่ีก าหนดไว ้ซ่ึงผูเ้รียนจะตอ้งตดัสินใจท าอยา่งใดอยา่งหน่ึงอนัจะมีผลออกมาในรูปของการแพช้นะ วธีิการน้ีจะช่วยใหผู้เ้รียนไดว้เิคราะห์ความรู้สึกนึกคิด และพฤติกรรมต่างๆ ท่ีมีอิทธิพลต่อการตดัสิน นอกจากนั้นยงัช่วยใหผู้เ้รียนเกิดความสนุกสนานในการเรียนการสอนดว้ย

    ยวุรี ศิริธญัลกัษณ์ (2542, น. 45) กล่าววา่เกมคือ กิจกรรมการแข่งขนัท่ีมี กฎเกณฑ ์มีกติกา นอกจากจะไดรั้บความสนุกสนานแลว้เด็กยงัไดฝึ้กการคิดหาเหตุผลและการแกปั้ญหา มงคล หมู่มาก (2548, น. 16) ไดส้รุปความหมายของเกมทกัษะทางภาษา หมายถึง กิจกรรมท่ีท าใหผู้เ้รียนเกิดการเรียนรู้ทางภาษา ดว้ยความสนใจ มีความสนุกสนานในการท ากิจกรรมร่วมกนัตามกติกา เง่ือนไข หรือขอ้ตกลงท่ีก าหนดไว ้ฝึกกระบวนการคิด และการตดัสินใจในการแกปั้ญหาท่ีเกิดข้ึนไดอ้ยา่งเตม็ท่ี สร้างความมีระเบียบวนิยั ความสามคัคี ความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผต่่อกนั และฝึกความซ่ือสัตยสุ์จริต ซ่ึงหากครูผูส้อนรู้จกัสอดแทรกคุณธรรมกบัการเรียนรู้ดว้ยเกม แลว้ยอ่มท่ีจะช่วยส่งเสริมคุณลกัษณะท่ีพึงประสงคบ์รรลุตามจุดมุ่งหมายท่ีก าหนดได ้ สรุปไดว้า่ เกมทางภาษา หมายถึง กิจกรรมท่ีสร้างข้ึนเพื่อเสริมทกัษะในการเรียนรู้ มีทั้งการเล่นคนเดียว หรือเล่นเป็นกลุ่ม โดยจะเนน้ความสนุกสนานเพื่อผอ่นคลายความเครียด และเล่นเกมอยูภ่ายใตเ้ง่ือนไขท่ีก าหนดซ่ึงก่อใหเ้กิดทกัษะต่างๆแก่ผูเ้รียน เช่น การตดัสินใจ การจ าค าศพัท ์การสะกดค าศพัท ์การบอกความหมายค าศพัท

    2. ความส าคัญและประโยชน์ของเกม ตามท่ี Richard Amato (1996, pp. 192 -199) กล่าววา่ เกมนอกจากท าให้

    การเรียนสนุกแลว้ ส่ิงท่ีเราไม่ควรละเลยถึงคุณค่าอีกดา้นของเกม คือ เกมเป็นส่ิงท่ีกระตุน้นกัเรียน ใหเ้รียนรู้โดยไม่ตอ้งบงัคบั และเป็นโอกาสท่ีจะไดใ้ชภ้าษาท่ีแทจ้ริงในการส่ือสาร ซ่ึงสอดคลอ้งกบั Avedon (1971, pp. 315-321) ท่ีกล่าววา่ เหตุผลท่ีเกมท าใหก้ารเรียนรู้มีประสิทธิภาพ คือ เกมเป็นส่ิงท่ีกระตุน้ใหน้กัเรียนเกิดความใฝ่เรียนรู้ และยอมรับกฎเกณฑใ์นการแข่งขนั ยิง่ไปกวา่นั้น นกัเรียนจะพยายามอยา่งมากในการเล่นเกมมากกวา่การเรียนดว้ยวธีิอ่ืนๆ เพราะโดยธรรมชาติแลว้