ผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน...

151
ผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 5 ชนินาถ ธงชัย วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2561

Upload: others

Post on 23-Jul-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ที่มตี่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

    และเจตคตติ่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียน

    ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5

    ชนินาถ ธงชัย

    วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยัราชภัฏนครสวรรค ์

    พ.ศ. 2561

  • ผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

    และเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียน

    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

    ชนินาถ ธงชัย

    วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

    พ.ศ. 2561 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

  • THE EFFECTS OF INQUIRY METHOD ON PHYSICS LEARNING

    ACHIEVEMENT AND ATTITUDE TOWARD PHYSICS OF

    MATHAYOMSUKSA FIVE STUDENTS

    CHANINAT THONGCHAI

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Education Degree in Curriculum and Instruction

    Nakhon Sawan Rajabhat University 2018

    Copyright of Nakhon Sawan Rajabhat University

  • (1)

    บทคัดย่อ

    ชื่อเรื่อง ผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5

    ผู้วิจัย นางสาวชนินาถ ธงชัย อาจารย์ท่ีปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิเวศน์ ค ารัตน์ ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)

    ปีการศึกษา 2560

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของ

    นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้กับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม 2)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3)เปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้กับเกณฑ์ระดับดี (3.51)

    กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ก าลังศึกษาอยู่ใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ านวน 29 คน โรงเรียนวังประจบวิทยาคม สังกัดส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 38 ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม

    เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1)แผนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ซึ่งผ่านการตรวจสอบ คุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ มีคุณภาพความเหมาะสมในระดับมากที่สุด 2)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ซึ่งเป็นแบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ มีค่าความยากตั้งแต่ 0.35 – 0.75 ค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.30 – 0.50 และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.81 และ 3)แบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ เป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จ านวน 15 ข้อ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.69

    ผลการวิจัย พบว่า 1. นักเรียนได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์

    ร้อยละ70 ของคะแนนเต็ม อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่า

    ก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้มีเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์สูงกว่า

    เกณฑ์ระดับดี (3.51) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

    02

  • (2)

    Abstract

    Title The Effects of Inquiry Method on Physics Learning Achievement and Attitude Toward Physics Learning of Mathayomsuksa 5 Students

    Author Miss Chaninat Thongchai Adviser Assistant Professor Dr.Nives Khamrat Degree Master of Education (Curriculum and Administration) Academic Year 2017

    The purposes of this research were 1) to compare the learning achievement

    of physics taught by using the inquiry method of 70% of total scores 2) to compare learning achievement in physics by using the inquiry method before and after learning and 3) to compare students' attitudes towards physics teaching by using the with good criteria (3.51).

    The samples were 29 Mathayomsuksa 5 students during the second Semester of the academic year of 2017 of Wangprachob School, under the office of Secondary Educational Service Area 38 by using cluster random sampling.

    The instruments used in the research were 1) the scientific learning lesson plans for the inquiry method with the most suitable quality, 2) the scientific achievement test on the wave physics with 4 multiple choices, 30 items, the degree of difficulty from 0. 35 to 0. 75, the discrimination power from 0. 30 to 0. 50 and the reliability coefficient of 0. 81 and 3) the attitude toward the study of physics using a rating scale of 5 levels, 15 items, with the reliability coefficient of 0.69.

    The research findings found that 1. The students’ academic achievement after being taught inquiry teaching

    method was higher 70 percent at the 0.05 level of statistical significance. 2. The students’ academic achievement after being taught inquiry teaching

    method was higher than that before learning at the 0.05 level of statistical significance. 3. The students’ attitude towards the study of physics after being taught

    inquiry teaching method was higher than the good criteria (3.51) at the 0.05 level of statistical significance.

  • (3)

    กิตติกรรมประกาศ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างดียิ่งจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิเวศน์ ค ารัตน์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ที่ได้กรุณาเสียสละเวลา ในการให้ค าปรึกษา ค าแนะน า ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่องอย่างละเอียด ตลอดจนดูแลเอาใจใส่ ก ากับและติดตามอย่างดียิ่งตลอดมา ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้

    ขอกราบขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธาทิพย์ งามนิล ประธานกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์และคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทุกท่าน ที่ได้กรุณาให้ค าแนะน า ข้อเสนอแนะวิทยานิพนธ์และขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ให้ความรู้จนผู้วิจัยสามารถน าความรู้มาใช้ในการท าวิจัยในครั้งนี้

    ขอบขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบคุณภาพและ ให้ค าแนะน าของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้จนท าให้เครื่องมือมีความถูกต้องสมบูรณ์และขอขอบคุณเจ้าของงานวิจัยทุกท่านที่ผู้วิจัยน ามาอ้างอิงในงานวิจัยนี้

    ขอขอบพระคุณผู้อ านวยการโรงเรียนวังประจบวิทยาคมและคณะครูทุกท่านที่ให้ความ ช่วยเหลือในการท าวิจัยเป็นอย่างดี ขอขอบใจนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการท าวิจัยอย่างดี จนท าให้การวิจัยในครั้งนี้ส าเร็จลุล่วง

    ขอขอบคุณครอบครัวและเพ่ือนนักศึกษาปริญญาโทสาขาหลักสูตรและการสอน รุ่นที่ 17 ทุกคน ที่ให้ความช่วยเหลือ ให้ก าลังใจและความปรารถนาดีเสมอมา

    คุณค่าและประโยชน์อันพึงมีจากวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องบูชาพระคุณ บิดามารดา ครูอาจารย์ ตลอดจนผู้มีพระคุณทุกท่าน

    สารบัญ

    บทที่ หน้า

  • (4)

    บทคัดย่อภาษาไทย....................................................................................... ....................... (1) บทคัดย่อภาษาอังกฤษ......................................................................................................... (3) กิตติกรรมประกาศ.............................................................................................................. . (5) สารบัญ....................................................................................................................... .......... (6) สารบัญตาราง...................................................................................................... ................. (8) สารบัญภาพ.................................................................................................................... ...... (9)

    1 บทน า........................................................................................... ...................................... 1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา......................................................................... 1 วัตถุประสงค์การวิจัย............................................................................................................. 4

    ขอบเขตการวิจัย............................................................................ ...................................... นิยามศัพท์เฉพาะ........................................................................................................... 5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ............................................................................................. 6

    2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง......................................................................................... 7 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551.......................................... 8 แนวคิดเก่ียวกับรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้................................................ 14 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้........................................................................................... 15 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์....................................................................................... 25 เจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์.................................................................... ..................... 32 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.................................................................... ..................................... 40 กรอบแนวคิดการวิจัย..................................................................................................... 43 สมมติฐานการวิจัย.................................................................... ...................................... 44

    3 วิธีด าเนินการวิจัย........................................................................................................... .... 45 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.............................................................................................. 45 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย......................................................... ......................................... 46

    สารบัญ (ต่อ)

    บทที่ หน้า การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................ 57 การวิเคราะห์ข้อมูล.................................................................................... 58 สถิติที่ใช้ในการวิจัย......................................................................... ................................ 59

    4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล................................................................................................ ........ 64

    4

  • (5)

    5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ............................................................................ ....... 68 สรุปผลการวิจัย...................................................................................................................... 68 อภิปรายผล............................................................................................. 69 ข้อเสนอแนะ............................................................................................ 70

    รายการอ้างอิง...................................................................... ................................................. 72 ภาคผนวก...................................................................................................................................... 78

    ภาคผนวก ก รายนามผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ........................... 79 ภาคผนวก ข เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย............................................................................... 84 ภาคผนวก ค ผลการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย........................... 107 ภาคผนวก ง ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.............................................................. 133

    ภาคผนวก จ ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้................................................................ 146 ประวัติย่อผู้วิจัย...................................................................... .............................................. 152

    สารบัญตาราง

    ตารางท่ี หน้า 3.1 แสดงจ านวนประชากรนักเรียนโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตลุ่มน้ าปิง สังกัดส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 38................................................ 45 3.2 แสดงการวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด ค าอธิบายรายวิชา........................ 48 3.3 แสดงแผนการจัดการเรียนรู้ เนื้อหาและเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้........................ 50 3.4 แสดงผลการประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยผู้เชี่ยวชาญ..................... 51 3.5 แสดงการวิเคราะห์เนื้อหากับพฤติกรรมการเรียนรู้เพ่ือสร้าง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น..................................... 53 3.6 แสดงข้อความทางนิมานและทางนิเสธ โดยใช้มาตรส่วนประมาณค่า.......................... 56

  • (6)

    4.1 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือ กับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม.......................................................................... 65 4.2 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือ ก่อนเรียนและหลังเรียน............................................................................................... 66 4.3 แสดงผลการเปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียน ที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือ กับเกณฑ์ระดับดี (3.51).............................................................................................. 67

    สารบัญภาพ

    ภาพที่ หน้า 2.1 กรอบแนวคิดการวิจัย..................................................................................................... 44

  • (7)

  • 1

    บทที่ 1

    บทน า

    ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา วิทยาศาสตร์มีบทบาทส าคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์

    เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งในชีวิตประจ าวันและการงานอาชีพต่างๆตลอดจนเทคโนโลยี อีกท้ังวิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะส าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ ทุกคนจึงจ าเป็นต้องได้รับการพัฒนา ให้รู้วิทยาศาสตร์ เพ่ือที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างขึ้น สามารถน าความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม (ส านักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน . 2551: 1) กล่าวได้ว่า วิทยาศาสตร์นั้นมีความส าคัญและเก่ียวข้องกับชีวิตประจ าวันของทุกคน

    ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 มาตรา 22 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้อง ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และมาตรา 23(2) ให้ความส าคัญกับการบูรณาการความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา โดยเฉพาะความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้นจะเน้นกระบวนการที่นักเรียนเป็นผู้คิดลงมือปฏิบัติ ศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย การเรียนรู้ของนักเรียนจะเกิ ดขึ้นระหว่างที่นักเรียนมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมและจะมีความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง อีกทั้งกระบวนการดังกล่าวท าให้นักเรียนได้รับการพัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม ในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ มีเจตคติและค่านิยมที่เหมาะสมต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (กรมวิชาการ. 2546: 215-216) ดังนั้น ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ จึงควรออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองและได้ท างานร่วมกับผู้อ่ืน

    ส าหรับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.2551จัดท าสาระการเรียนรู้แกนกลาง ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละระดับชั้นและกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นั้นมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะส าคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกข้ันตอน มีการท ากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. 2551: 1)

    วิชา ฟิสิกส์ จัดเป็นรายวิชาหนึ่งในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเป็นวิชาพ้ืนฐานที่ ส าคัญยิ่ง เนื่องจากวิชาฟิสิกส์ยังคงไว้ซึ่งส่วนที่เป็นพ้ืนฐานของความเข้าใจต่อธรรมชาติและเป็นพ้ืนฐานในสาขาวิชาอ่ืน ๆ ในการน าไปประยุกต์ใช้ (ส านักงานส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี . 2547: 2) และในปัจจุบันพบว่า คนที่จะเข้าศึกษาในด้านวิศวกรรมศาสตร์และ

  • 2

    สถาปัตยกรรมศาสตร์ในระดับอุดมศึกษาจะต้องมีความรู้พ้ืนฐานวิชาฟิสิกส์ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายเป็นอย่างดี วิชาฟิสิกส์ถือเป็นราชาของวิทยาศาสตร์เพราะการได้มาซึ่งความรู้มิได้เกิดจากการฟังบรรยาย แต่การงอกเงยความรู้ทางฟิสิกส์มาจากการสังเกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและ ท าการวิเคราะห์ผลจากกฎเกณฑ์ที่ธรรมชาติด าเนินอยู่ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี. 2556: 8) สรุปได้ว่าในบรรดาวิชาวิทยาศาสตร์ทั้งหลายนั้น ฟิสิกส์เปรียบเสมือนวิชาที่มีความส าคัญมาก ดังจะเห็นได้จากการมีข้อก าหนดว่านักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ประสงค์จะสอบแข่งขันเข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษาในหลาย ๆ สาขาวิชาจะต้องผ่านการสอบคัดเลือกวิชานี้ แต่วิชานี้เป็นวิชาที่นักเรียนส่วนใหญ่มีผลคะแนนการทดสอบอยู่ในระดับต่ ากว่ าเกณฑ์และปัญหาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียน นับได้ว่าเป็นปัญหาจ าเป็นเร่งด่วนที่ผู้เกี่ยวข้องต้องเร่งพิจารณาหาทางแก้ไข

    จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2559 ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สั งกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน ในระดับประเทศนั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 31.77 ส าหรับโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตลุ่มน้ าปิง สังกัดส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 38 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีผลคะแนนเฉลี่ย 30.13 และเมื่อจ าแนกตามสาระในส่วนที่เกี่ยวข้องกับวิชาฟิสิกส์ ซึ่งประกอบด้วยสาระที่ 4-7 พบว่าในสาระที่ 5 ได้แก่ พลังงาน มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 25.14 โดยมีคะแนนเฉลี่ยที่น้อยที่สุด จะพบว่าอยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุงถึงร้อยละ 74.86 (สถาบันทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ. 2560: ออนไลน์) อย่างไรก็ตามในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนก็พบว่าปัญหาที่ท าให้การเรียนการสอนไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่หวังไว้ โดยมีสาเหตุมาจากหลายประการ พอสรุปได้ดังนี้ ในด้านตัวครู พบว่าการจัดการเรียนการสอนของครูยังไม่สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน มุ่งเน้นเนื้อหามากกว่ากระบวนการคิด ขาดเทคนิควิธีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านตัวผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนยังขาดความสนใจในกิจกรรมการเรียนการสอน มีความกระตือรือร้นน้อย ขาดทักษะการคิด ขาดเจตคติท่ีดีต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์เนื่องจากเป็นวิชาที่นักเรียนส่วนใหญ่คิดว่ายาก ส่งผลให้ผู้เรียนส่วนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ าและการจัดการเรียนการสอนยังมุ่งเน้นการสอนที่เน้นครูเป็นศูนย์กลาง ยังไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาความรู้ด้วยตนเอง

    ส าหรับปัญหาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ควรจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้น ในการพัฒนาตัวนักเรียนเป็นหลักและการพัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ให้เกิดขึ้นแก่นักเรียนถือเป็นหัวใจของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เมื่อใดที่นักเรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์แล้วสิ่งที่ผู้สอนคาดหวังอ่ืน ๆ จากการเรียนการสอนก็จะตามมา (พันธ์ ทองชุมนุม. 2547: 15) และการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ได้รับการยอมรับกันอย่างแพร่หลายทั้งในประเทศและนอกประเทศ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นการด าเนินการเรียนการสอนโดยผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดค าถาม เกิดความคิดและลงมือสืบเสาะหาความรู้เพ่ือน ามาประมวลหาค าตอบหรือข้อสรุปด้วยตนเอง (ทิศนา แขมมณี. 2556: 141) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สุวิทย์ มูลค า และอรทัย มูลค า (2546: 142) ที่กล่าวถึง การสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ ท าให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีค้นหาความรู้และการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ซึ่งความรู้ที่ได้

  • 3

    มีคุณค่า มีความหมายส าหรับนักเรียน เป็นประโยชน์และจดจ าได้นาน สามารถเชื่อมโยงความรู้และน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ มีความเป็นอิสระและมีเจตคติที่ดีต่ อ วิธีและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส าหรับขั้นตอนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยวิธีสืบเสาะ หาความรู้นั้น มี 5 ขั้นตอน คือ (1) ขั้นสร้างความสนใจ (2) ขั้นส ารวจและค้นหา (3) ขั้นอภิปรายและลงข้อสรุป (4) ขั้นขยายความรู้ และ (5) ขั้นประเมิน (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2546: 219-220)

    ในการศึกษาวิธีการสอนในรูปแบบต่างๆที่น ามาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ จะเห็นได้ว่าครูจะต้องใช้รูปแบบกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพ่ือให้ได้การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และได้มีนักวิจัยหลายท่านได้ท าการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการน าการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ใช้ในการจัด การเรียนรู้ เช่น ชวาลา ฤทธิ์ฤาชัย (2552) ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง คลื่นเสียง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้น การสอนแบบสืบเสาะ หาความรู้ เป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและเจตคติ ต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์สูงขึ้นด้วย

    จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนเห็นว่าการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ จะช่วย ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์สูงขึ้นและนักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ อันเนื่องมาจากการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ท าให้นักเรียนได้ค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง สามารถเชื่อมโยงความรู้และน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้รวมถึงมีเจตคติที่ดี ในการเรียน มีความสนใจและพึงพอใจในการเรียนการสอนมากขึ้น ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเลือกการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ เจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 วัตถุประสงค์การวิจัย

    ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยก าหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยไว้ดังนี้ 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบ

    สืบเสาะหาความรู้กับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบ

    สืบเสาะหาความรู้ ก่อนเรียนและหลังเรียน 3. เพ่ือเปรียบเทียบเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบ

    สืบเสาะหาความรู้กับเกณฑ์ระดับดี (3.51)

    ขอบเขตการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยก าหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ดังนี้ 1. ขอบเขตด้านเนื้อหาและระยะเวลา

  • 4

    เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ เนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 5 พลังงานเรื่อง คลื่น ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวังประจบวิทยาคม ซึ่งได้ก าหนดขอบข่ายของเนื้อหา ดังต่อไปนี้

    1. คลื่นและสมบัติของคลื่น 4 ชั่วโมง 2. เสียง 2 ชั่วโมง 3. มลพิษทางเสียง 2 ชั่วโมง 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 4 ชั่วโมง ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคเรียนที่ 2

    ปีการศึกษา 2560 เป็นเวลา 3 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง รวม 12 ชั่วโมง 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

    2.1 ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตลุ่มน้ าปิง สังกัดส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 38 จ านวน 11 โรงเรียน จ านวน 1,182 คน

    2.2 กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ก าลังเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนวังประจบวิทยาคม สังกัดส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 38 จ านวน 1 ห้องเรียน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Clusterrandom sampling) จ านวน 29 คน

    3. ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้ 3.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3.2 ตัวแปรตาม

    3.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ 3.2.2 เจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์

    นิยามศัพท์เฉพาะ

    การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ หมายถึง การน าวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ หาความรู้ มาเป็นพ้ืนฐานของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนดังนี้

    ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ เป็นการน าเข้าสู่บทเรียน โดยครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสงสัย อยากรู้อยากเห็นและสนใจที่จะเรียนรู้ อาจเป็นการสาธิต การน าเสนอสถานการณ์ เพ่ือให้นักเรียนสังเกต อภิปราย ตั้งประเด็นปัญหาในเรื่องที่จะศึกษา

    ขั้นที่ 2 ขั้นส ารวจและค้นหา เป็นการวางแผนก าหนดแนวทาง การส ารวจ ตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน ก าหนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล

    ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป เป็นการวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และน าเสนอใน รูปแบบต่างๆ

    ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ เป็นการน าความรู้ที่สร้างข้ึนไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมและ

  • 5

    แนวคิดท่ีได้ค้นคว้าเพ่ิมเติม ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล การประเมินผู้เรียนด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมีความรู้

    อะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพียงใด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ หมายถึง ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในการเรียนรู้วิชา

    ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งวัดจากคะแนนของนักเรียนที่ได้จาก การท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ

    เจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ หมายถึง ความรู้สึก ความคิดเห็น ความรู้สึกนึกคิดท้ังด้าน ชอบและไม่ชอบของนักเรียนที่มีต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ เมื่อเกิดจากการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งวัดได้จากการตอบแบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ ในด้านเนื้อหาสาระของฟิสิกส์ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนฟิสิกส์ ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อ การเรียนวิชาฟิสิกส์ จ านวน 15 ข้อ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนทีไ่ด้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ได้แนวทางการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ที่เป็นพ้ืนฐานส าคัญในการเรียนรู้ชั้นสูงต่อไป

    2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์สูงขึ้น ซึ่งจะท าให้นักเรียนสามารถน าความรู้ ที่ได้ไปใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในขั้นสูงๆที่อาศัยวิชาฟิสิกส์เป็นพ้ืนฐาน

    3. เป็นแนวทางส าหรับครู โดยเฉพาะครูที่สอนในรายวิชาฟิสิกส์ในการที่จะน าการสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้นี้ไปพัฒนาในการสอนเนื้อหาอ่ืนๆต่อไป

  • 6

    บทที่ 2

    เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

    ในการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาผลการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแบ่งออกเป็นหัวข้อต่างๆดังนี้

    1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ 1.1 ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร์ 1.2 วิสัยทัศน์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1.3 เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1.4 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1.5 มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพ้ืนฐานสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1.6 คุณภาพของผู้เรียน 1.7 ความหมายและพัฒนาการด้านความคิดเกี่ยวกับฟิสิกส์ 1.8 หลักสูตรวิชาฟิสิกส์

    2. แนวคิดเก่ียวกับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 2.1 ปรัชญาวิทยาศาสตร์ดั้งเดิม 2.2 แนวคิดของเพียเจต์ 2.3 ทฤษฎีการสร้างเสริมความรู้

    3. การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3.1 ความเป็นมาของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3.2 ความหมายของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3.3 ขั้นตอนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3.4 บทบาทของครูในการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3.5 บทบาทของนักเรียนในการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3.6 ข้อดีและข้อจ ากัดของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้

    4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ 4.1 เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอน 4.2 แนวทางการวัดและประเมินผล 4.3 ประเภทแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ 4.4 การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์

    5. เจตคติต่อการเรียนวิชาฟิสิกส์

  • 7

    5.1 ความหมายของเจตคติ 5.2 องค์ประกอบของเจตคติ 5.3 แบบวัดเจตคติ 5.4 ประโยชน์ของการวัดเจตคติ 5.5 การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดเจตคติ

    6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6.1 งานวิจัยในประเทศ 6.2 งานวิจัยต่างประเทศ

    7. กรอบแนวคิดของการวิจัย 8. สมมติฐานการวิจัย

    หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

    1. ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะวิทยาศาสตร์ ความรู้วิทยาศาสตร์ ได้มาด้วยความพยายามของมนุษย์ ที่ใช้กระบวนการสืบเสาะ

    หาความรู้ (Scientific Inquiry) การสังเกต การส ารวจตรวจสอบ การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบและการสืบค้นข้อมูล ท าให้เกิดองค์ความรู้ใหม่เพ่ิมพูนตลอดเวลา ความรู้และกระบวนการดังกล่าว มีการถ่ายทอดต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน

    ความรู้วิทยาศาสตร์ต้องสามารถอธิบายและตรวจสอบได้ เพ่ือน ามาใช้อ้างอิงทั้งใน การสนับสนุนหรือโต้แย้ง เมื่อมีการค้นพบข้อมูลหรือหลักฐานใหม่ หรือแม้แต่ข้อมูลเดียวกันก็อาจเกิดความขัดแย้งขึ้นได้ ถ้าวิทยาศาสตร์แปรความหมายด้วยวิธีการหรือแนวคิดที่แตกต่างกัน ความรู้วิทยาศาสตร์อาจเปลี่ยนแปลงได้ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องที่ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมได้ไม่ว่าจะอยู่ใน ส่วนใดของโลก วิทยาศาสตร์จึงเป็นผลจากการสร้างเสริมความรู้ของบุคคล การสื่อสารและ การเผยแพร่ข้อมูล เพ่ือให้เกิดความคิดในเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ มีผลให้ความรู้วิทยาศาสตร์เพ่ิมขึ้น อย่างไม่หยุดยั้งและส่งผลต่อคนในสังคม การศึกษาค้นคว้าและการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จึงอยู่ภายในขอบเขต คุณธรรม จริยธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม

    ความรู้วิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐานที่ส าคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี เทคโนโลยีเป็น กระบวนการในงานต่าง ๆ หรือกระบวนการพัฒนา ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ โดยอาศัยความรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมกับศาสตร์อ่ืน ๆ ทักษะ ประสบการณ์ จินตนาการและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของมนุษย์ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองความต้องการและแก้ปัญหาของมวลมนุษย์ เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับทรัพยากร กระบวนการและระบบการจัดการ จึงต้องใช้เทคโนโลยีทางสร้างสรรค์ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (กรมวิชาการ. 2544)

    2. วิสัยทัศน์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิสัยทัศน์เป็นมุมมองภาพในอนาคตที่มุ่งหวังว่าจะมีการพัฒนาอะไร อย่างไร ซึ่งจะ

    สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม วิสัยทัศน์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ก าหนดไว้เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน และชุมชุนร่วมกันพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์และปฏิบัติร่วมกันสู่ความส าเร็จ

  • 8

    ในการก าหนดวิสัยทัศน์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ใช้กรอบความคิดในเรื่องของการพัฒนา การศึกษาเพ่ือเตรียมคนในสังคมแห่งการเรียนรู้และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ดังนี้ (กรมวิชาการ. 2544)

    2.1 หลักสูตรและการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จะเชื่อมโยงเนื้อหา แนวคิดหลัก และ กระบวนการที่เป็นสากล แต่มีความสอดคล้องกับชีวิตจริงทั้งระดับท้องถิ่นและระดับประเทศและ มีความยืดหยุ่นหลากหลาย

    2.2 หลักสูตรและการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ต้องตอบสนองผู้เรียนที่มีความถนัด และความสนใจแตกต่างกันในการใช้วิทยาศาสตร์ส าหรับการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ ที่เก่ียวข้องกับวิทยาศาสตร์

    2.3 ผู้เรียนทุกคนจะได้รับการส่งเสริมให้พัฒนากระบวนความคิด ความสามารถ ในการเรียนรู้ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหาและการคิดค้นสร้างสรรค์ องค์ความรู้

    2.4 ใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น โดยถือว่ามีความส าคัญควบคู่กับการเรียนในสถานศึกษา 2.5 ใช้ยุทธศาสตร์การเรียนการสอนหลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการ

    ความสนใจและวิธีเรียนที่แตกต่างกันของผู้เรียน 2.6 การเรียนรู้เป็นกระบวนการส าคัญที่ทุกคนต้องได้รับการพัฒนาเพื่อให้สามารถ

    เรียนรู้ตลอดชีวิตจึงจะประสบความส าเร็จในการด าเนินชีวิต 2.7 การเรียนการสอนต้องส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม

    ค่านิยมท่ีเหมาะสมต่อวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม วิสัยทัศน์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานก าหนด

    ไว้ ดังนี้ (กรมวิชาการ. 2544) การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับความรู้ กระบวนการและเจตคติ

    ผู้ เรียนทุกคนควรได้รับการกระตุ้น ส่งเสริมให้สนใจและกระตือรือร้นที่จะเรียนวิทยาศาสตร์ มีความสงสัยเกิดค าถามในสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับโลกธรรมชาติรอบตัว มีความมุ่งมั่นและมีความสุข ที่จะศึกษาค้นคว้าสืบเสาะหาความรู้ เพ่ือรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ผล น าไปสู่ค าตอบของค าถาม

    สามารถตัดสินใจด้วยการใช้ข้อมูลอย่างมีเหตุผล สามารถสื่อสารค าถาม ค าตอบข้อมูล และสิ่งที่ค้นพบจากการเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้

    การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากความรู้วิทยาศาสตร์เป็น เรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติ (Natural Word) ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทุกคนจึงต้องเรียนรู้เพ่ือน าผลการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตในการประกอบอาชีพ เมื่อผู้เรียนได้เรียนวิทยาศาสตร์โดยได้รับ การกระตุ้นให้เกิดความตื่นเต้น ท้าทายกับการเผชิญกับสถานการณ์หรือปัญหา มีการร่วมคิด ลงมือปฏิบัติจริงก็จะเข้าใจและเห็นความเชื่อมโยงของวิทยาศาสตร์กับวิชาอ่ืน ๆ และชีวิต ท าให้สามารถอธิบาย ท านาย คาดการณ์สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผล การประสบความส าเร็จในการเรียนวิทยาศาสตร์จะเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจ มุ่งมั่นที่จะสังเกต ส ารวจ ตรวจสอบ สืบค้นความรู้ที่มีคุณค่าเพ่ิมขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จึงต้องสอดคล้องกับสภาพจริงในชีวิต

  • 9

    โดยใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายในท้องถิ่นและค านึงถึงผู้เรียนที่มี วิธีการเรียนรู้ ความสนใจและ ความถนัดแตกต่างกัน

    การเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เป็นการเรียนรู้เพื่อความเข้าใจซาบซึ้งและเห็น ความส าคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้หลาย ๆด้านเป็นความรู้แบบองค์รวม อันจะน าไปสู่การสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ และพัฒนาคุณภาพชีวิต มีความสามารถในการจัดการและร่วมกันดูแลรักษาโลกธรรมชาติอย่างยั่งยืน

    3. เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการ

    สังเกต ส ารวจ ตรวจสอบและการทดลอง เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติและน าผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิดและทฤษฎี ดังนั้น การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ จึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนรู้ โดยค้นพบด้วยตนเองมากที่สุด นั่นคือให้ได้ทั้งกระบวนการและองค์ความรู้ ตั้งแต่วัยเริ่ มแรกก่อนเข้าวัยเรียน เมื่ออยู่ในสถานศึกษาและเมื่อออกจากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพแล้ว การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในสถานศึกษามีเป้าหมายส าคัญ (กรมวิชาการ. 2546) ดังนี้

    1. เพ่ือให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎีที่เป็นพ้ืนฐานในวิทยาศาสตร์ 2. เพ่ือให้เข้าใจในขอบเขตธรรมชาติและข้อจ ากัดของวิทยาศาสตร์ 3. เพ่ือให้มีทักษะส าคัญในการศึกษาค้นคว้า คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและ

    การจัดการทักษะในการสื่อสารและความสามารถในการตัดสินใจ 5. เพ่ือให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ

    สภาพแวดล้อมในเชิงที่มีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน 6. เพ่ือน าความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์

    ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 7. เพ่ือให้คนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์

    และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ 4. สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

    สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ก าหนดสาระหลักของวิทยาศาสตร์พ้ืนฐานที่นักเรียน ทุกคนต้องเรียนรู้ ประกอบด้วยส่วนที่เป็นเนื้อหา แนวความคิด หลักวิทยาศาสตร์และกระบวนการ สาระที่เป็นองค์ความรู้ของกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 8 หน่วยหลัก ดังนี้

    หน่วยที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด ารงชีวิต หน่วยที่ 2 : สารและสมบัติของสาร หน่วยที่ 3 : ทรัพยากรในท้องถิ่น หน่วยที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่ หน่วยที่ 5 : พลังงาน หน่วยที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก หน่วยที่ 7 : ดาราศาสตร์และอวกาศ หน่วยที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  • 10

    5. มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐานสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นข้อก าหนดคุณภาพของ

    ผู้เรียนด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์

    มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพ้ืนฐานของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องกับการวิจัยมีดังนี้ (กรมวิชาการ. 2546)

    หน่วยที่ 5 : พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 : เข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างพลังงานกับการด ารงชีวิต การเปลี่ยน

    รูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงานผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    6. คุณภาพของผู้เรียน การจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ ส าหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งหวังให้ผู้เรียน

    ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นกระบวนการไปสู่การสร้างองค์ความรู้ โดยผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ทุกขั้นตอน ผู้เรียนจะได้ท ากิจกรรมหลายหลาย ทั้งเป็นกลุ่มและรายบุคคล โดยอาศัยแหล่งการเรียนรู้ที่เป็นสากลและท้องถิ่น โดยผู้สอนมีบทบาทในการวางแผนการเรียนรู้ กระตุ้นแนะน า ช่วยเหลือ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

    เพ่ือให้การศึกษาวิทยาศาสตร์บรรลุผลตามเป้าหมายและวิสัยทัศน์ที่กล่าวไว้ จึงได้ ก าหนดคุณภาพของผู้เรียนวิทยาศาสตร์ที่จบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 12 ชั้นปี ไว้ดังนี้

    คุณภาพของผู้เรียนวิทยาศาสตร์ที่จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 12 ชั้นปี 1. เข้าใจเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด ารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ

    สัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 2. เข้าใจสมบัติของสารและการเปลี่ยนแปลงของสาร แรงและการเคลื่อนที่ของ

    พลังงาน 3. เข้าใจโครงสร้างและส่วนประกอบของโลก ความส าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ

    ดาราศาสตร์และอวกาศ 4. ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหาในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

    ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ศึกษาค้นคว้า สืบค้นจากแหล่งเรียนรู้หลากหลายและจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและสื่อสารความรู้ในรูปแบบต่างๆให้ผู้อ่ืนรับรู้

    5. เชื่อมโยงความรู้ความคิดกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ น าไปใช้ในการด ารงชีวิต และการศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม ท าโครงงานวิทยาศาสตร์หรือสร้างชิ้นงาน

    6. มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์หรือจิตวิทยาศาสตร์ ดังนี้ - ความสนใจใฝ่รู้ - ความมุ่งม่ัน อดทน รอบคอบ - ซื่อสัตย์ ประหยัด - การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน - ความมีเหตุผล

  • 11

    - การท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างสร้างสรรค์ 7. มีเจตคติ คุณธรรม ค่านิยมท่ีดีต่อวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม มีความ

    พอใจความซาบซึ้ง ความสุขในการสืบเสาะหาความรู้และรักท่ีจะเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต ตระหนักถึงความส าคัญและประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในการด ารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตระหนักว่าการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีผลต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม แสดงความ ชื่นชม ยกย่อง และเคารพในสิทธิของผลงานที่ผู้ อ่ืนและตนเองคิดค้นขึ้น แสดงความซาบซึ้ง ในความงาม และตระหนักถึงความส าคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมกิจกรรม ทีเ่กี่ยวกับการอนุรักษ์พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและท้องถิ่น ตระหนักและ ยอมรับความส าคัญของการใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และการท างานต่าง ๆ

    7. ความหมายและพัฒนาการด้านความคิดเกี่ยวกับฟิสิกส์ ฟิสิกส์ เป็นศาสตร์ที่ศึกษาธรรมชาติของสสารและพลังงานโดยมีขอบเขตศึกษาที่

    กว้างมาก กระบวนการที่ส าคัญในการศึกษาวิชาฟิสิกส์ คือ ทฤษฎี การทดลองและการแสดงผลการวัดปริมาณต่าง ๆ เป็นระบบหน่วยสากล เพ่ือสะดวกต่อก�