ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการท...

150
ปัจจัยที่ส ่งผลต่อความพึงพอใจในการทางานของพนักงานไปรษณีย์ สานักงานไปรษณีย์เขต 6 ชณัฐกานต์ ม่วงเงิน วิทยานิพนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐแนวใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2560

Upload: others

Post on 10-Oct-2020

12 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ปัจจยัที่ส่งผลต่อความพงึพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณย์ี ส านักงานไปรษณย์ีเขต 6

    ชณฐักานต์ ม่วงเงนิ

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิาการจดัการภาครัฐแนวใหม่ มหาวทิยาลยัราชภฏันครสวรรค์

    พ.ศ. 2560

  • ปัจจัยทีส่่งผลต่อความพงึพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณย์ี ส านักงานไปรษณย์ีเขต 6

    ชณฐักานต์ ม่วงเงิน

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

    สาขาวชิาการจัดการภาครัฐแนวใหม่ มหาวทิยาลยัราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2560

    ลขิสิทธ์ิของมหาวทิยาลยัราชภัฏนครสวรรค์

  • THE FACTORS AFFECTING JOB SATISFACTION OF THE POSTAL EMPLOYEES IN REGIONAL POSTAL BUREAU REGION 6

    CHANATKAN MUANGNGOEN

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of

    Public Administration Degree in New Public Management Nakhon Sawan Rajabhat University

    2017 Copyright of Nakhon Sawan Rajabhat University

  • บทคัดย่อ

    ชื่อเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6

    ผู้ศึกษา นางสาวชณัฐกานต์ ม่วงเงิน อาจารย์ท่ีปรึกษา ดร.วิชญาภา เมธวีรฉัตร สาขาวิชา การจัดการภาครัฐแนวใหม่ ปีการศึกษา 2559

    การวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 มีว ัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจในการท างานของพนักงานไป รษ ณ ีย ์ ส าน ัก งาน ไป รษ ณ ีย ์เข ต 6 2 ) เ พื ่อ ศ ึกษ าป ัจ จ ัย ที ่ส ่ง ผ ลต ่อค ว ามพ ึงพ อ ใจ ในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 และ 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัย แต่ละตัวที่มีผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์ เขต 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานไปรษณีย์ที่เป็นหัวหน้าที่ท าการไปรษณีย์ สังกัดส านักงานไปรษณีย์เขต 6 จ านวน 82 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม หาค่าความเที่ยง (Reliability) ของแบบสอบถามโดยใช้สูตรค่าสัมประสิทธ์แอลฟา (Coefficient of Alpha) ของ Cronbach พบว่า ค่าความเชื่อมั่นแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis)

    ผลการศึกษาพบว่า 1. ระดับความพึงพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6

    ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้านผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยแต่ละด้าน ประกอบด้วย ค่าจ้าง ลักษณะของงาน ความก้าวหน้าในการงาน และเพ่ือนร่วมงานอยู่ในระดับมาก เช่นเดียวกัน

    2. ระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้านผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยแตล่ะด้านประกอบด้วย ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านเงินเดือนและสวัสดิการ และด้านความมั่นคงในงาน อยู่ในระดับมาก

    3. ผลการทดสอบสมมุติฐานวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยแต่ละตัวที่มีผลต่อความพึงพอใจ ในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 ผลการศึกษาพบว่า

  • 3.1 ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 อย่างมนีัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

    3.2 ปัจจัยด้านเงินเดือนและสวัสดิการ ส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างาน ของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 อย่างมนีัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

    3.3 ปัจจัยด้านความมั่นคงในงาน ส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 อย่างมนีัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

  • Abstract Title Factors Affecting Job Satisfaction of the

    Postal Employees in Regional Postal Bureau Region 6 Author Miss Chanatkan Muangngoen Advisor Dr. Wichayapa Meteeworachat Program New Public Management Academic Year 2016

    The purposes of this research were to study 1) the level of job satisfaction

    of the postal employees in Regional Postal Bureau Region 6, 2) the factors affecting job satisfaction of the postal employees in Regional Postal Bureau Region 6, 3) the influence of individual factors on job satisfaction of the postal employees in Regional Postal Bureau Region 6. The samples used in the research were the 82 heads of post offices under Regional Postal Bureau Region 6. The instrument used for data collection was a five rating scale questionnaire with a Cronbach’s Alpha coefficient of 0.95. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis.

    The study indicated as follows: 1.The overall level of job satisfaction of the postal employees in Regional

    Postal Bureau Region 6 was at a high level. And when considering each aspect, the study indicated that each factor which consists of wages, characteristics of work, progress in work, and colleagues was also at a high level.

    2.Overall, the factors affecting job satisfaction of the postal employees in Regional Postal Bureau Region 6 were at a high level. And when considering each aspect, the study indicated that each factor which consists of interpersonal relationship, salary and welfare, and security in the job was at a high level too.

    3.From the hypothesis test results, after analyzing the influence of individual factors on job satisfaction of the postal employees in Regional Postal Bureau Region 6, the study found that:

    3.1 Interpersonal relationship factors had an influence on job satisfaction of the postal employees significantly at the 0.05 level.

  • 3.2 Salary and welfare had an influence on job satisfaction of the postal employees significantly at the 0.05 level.

    3.3 Security in the job had an influence on job satisfaction of the postal employees significantly at the 0.05 level.

  • (5)

    กติติกรรมประกาศ

    วิทยานิพนธ์ฉบับน้ี ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี โดยได้รับความช่วยเหลือจากหลายท่าน ท่ีได้อนุเคราะห์ให้ค าเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขขอ้บกพร่องต่าง ๆ อย่างดียิ่ง โดยเฉพาะ ดร.วิชญาภา เมธีวรฉัตร อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์, ดร.พิสิษฐ์ จอมบุญเรือง และคณาจารย ์ทุกท่านท่ีไดใ้หค้ าแนะน าและขอ้คิดเห็นต่าง ๆ อนัเป็นประโยชน์อยา่งยิง่ในการท าวจิยั อีกทั้งยงัช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนระหว่างการด าเนินงานอีกดว้ย จนส าเร็จได้ตามวตัถุประสงค์ ตลอดจน ทุกท่านท่ีใหก้ าลงัใจในการท าวจิยัคร้ังน้ี และขอขอบพระคุณเป็นอยา่งสูงไว ้ณ โอกาสน้ี

    ผูว้ิจยัขอมอบความกตญัญูกตเวทิตาคุณแด่บิดา มารดา อาจารย ์และผูมี้พระคุณทุกท่าน ท่ีให้ค าปรึกษา รวมทั้งการให้ก าลงัใจท่ีดีในการวิจยัมาโดยตลอด จนกระทัง่ผูว้ิจยัสามารถท าวิจยัเป็นผลส าเร็จตามความมุ่งหมาย ช่วยเป็นก าลงัใจใหก้ารวจิยัน้ีส าเร็จลุล่วงไปไดด้ว้ยดี

  • (6)

    สารบัญ

    บทที ่ หน้า บทคดัยอ่ภาษาไทย……………………………………………………………………….. (1) บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ...………………………………………………………………….. (3)

    กิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………... (5) สารบญั…………..…………………………………………………………………......... (6) สารบญัตาราง………….…………………………………………….………………….... (8) สารบญัภาพ…………………………………………………………………………..….. (9) 1 บทน า…………………………………………………………………….……….…... 1

    ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา…………………………………...….... 1 วตัถุประสงคก์ารวจิยั...…………………………………………………..……… 3 ขอบเขตการวิจยั...………………….…………………………..…….……….... 4 นิยามศพัทเ์ฉพาะ.......……………………………………………………….…... 5 ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ………………………………………….………....... 6

    2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง………………………….……………………………. 7 แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้งกบัความพึงพอใจในการท างาน…….……………. 8 แนวคิดการใหบ้ริการ…….……………………...……………………….…..…. 52 แนวคิดพฤติกรรมองคก์าร..........................................……………………….... 52 ประวติักิจการไปรษณียไ์ทย........................................……………………….... 55

    ขอ้มูลทัว่ไปของส านกังานไปรษณียเ์ขต 6...............……………….…………... 60 งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง…….………………………..……………………….…..…. 66 กรอบแนวคิดการวจิยั....……………………….…………………..…….…...... 72 สมมติฐานการวิจยั..…….………………………………………………........... 72

    3 วธีิด าเนินการวจิยั....…...……………..….…………………………………………… 73 ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง…………………………………………………..…. 73 เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยั....…………………………………………………….. 74

    ขั้นตอนการสร้างเคร่ืองมือและหาคุณภาพของเคร่ืองมือ………………............. 75 การเก็บรวบรวมขอ้มูล…………………………………………….…………..... 76 การวเิคราะห์ขอ้มูลและสถิติท่ีใช.้...................................…....……………...….. 77

  • (7)

    สารบัญ (ต่อ)

    บทที ่ หน้า 4 ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล........................................................................................................ 78

    สัญลกัษณ์ท่ีใชใ้นการวเิคราะห์ขอ้มูล....................................................................... 78

    ล าดบัขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้มูล.................................................... 79

    ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล............................................................................................... 79

    5 สรุป อภิปรายผลและขอ้เสนอแนะ.................................................................................... 92

    สรุปผลการวจิยั ...................................................................................................... 92

    อภิปรายผล............................................................................................................... 94

    ขอ้เสนอแนะ……………………………................................................................ 98

    บรรณานุกรม........................................................................................................................ 100

    ภาคผนวก............................................................................................................................. 108

    ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อการวจิยั................................................................. 109

    ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะห์................................................................................. 116

    ภาคผนวก ค การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือก่อนน ามาใช.้................................... 123

    ภาคผนวก ง รายนามผูเ้ช่ียวชาญท่ีตรวจเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยั.......................... 131

    ภาคผนวก จ หนงัสือขอความอนุเคราะห์เป็นผูเ้ช่ียวชาญตรวจแบบสอบถาม

    ในการวจิยั.............................................................................................................. 133

    ประวติัยอ่ผูว้จิยั..................................................................................................................... 137

  • (8)

    สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 2.1 สรุปปัจจยัท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างาน....................................................... 40 2.2 การสังเคราะห์เพื่อสรุปองคป์ระกอบของความพึงพอใจในการท างาน................................... 46 2.3 สรุปองคป์ระกอบของความพึงพอใจในการท างาน.................................................... 51 4.1 ปัจจยัส่วนบุคคลของพนกังานไปรษณีย ์ส านกังานไปรษณียเ์ขต 6………………...... 80 4.2 ระดบัปัจจยัท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ส านกังาน ไปรษณียเ์ขต 6 ในภาพรวม........................................................................................... 81 4.3 ระดบัปัจจยัท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ ดา้นความสัมพนัธ์ระหวา่งบุคคล................................................................................... 82 4.4 ระดบัปัจจยัท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ ดา้นเงินเดือนและสวสัดิการ.......................................................................................... 83 4.5 ระดบัปัจจยัท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ ดา้นความมัน่คงในงาน................................................................................................. 84 4.6 ระดบัความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ส านกังานไปรษณียเ์ขต 6 ในภาพรวม................................................................................................................... 85 4.7 ระดบัความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ส านกังานไปรษณียเ์ขต 6 ดา้นค่าจา้ง..................................................................................................................... 85 4.8 ระดบัความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ส านกังานไปรษณียเ์ขต 6 ดา้นลกัษณะของงาน...................................................................................................... 86 4.9 ระดบัความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ส านกังานไปรษณียเ์ขต 6 ดา้นความกา้วหนา้ในการงาน......................................................................................... 87 4.10 ระดบัความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ส านกังานไปรษณียเ์ขต 6 ดา้นเพื่อนร่วมงาน………… ……….......................................................................... 88 4.11 แสดงความสัมพนัธ์ระหวา่งตวัแปรท่ีใชใ้นการศึกษา................................................... 89 4.12 การวเิคราะห์อิทธิพลของปัจจยัแต่ละตวัท่ีมีผลต่อความพงึพอใจในการท างาน ของพนกังานไปรษณีย ์ส านกังานไปรษณียเ์ขต 6......................................................... 90 4.13 สรุปผลของการทดสอบสมมติฐานการวจิยั.................................................................. 91

  • (9)

    สารบัญภาพ ภาพที ่ หน้า 2.1 แสดงกรอบแนวคิดการวจิยั........................................................................................... 72

  • บทที ่1

    บทน ำ

    ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

    บริษทั ไปรษณียไ์ทย จ ำกดั เป็นหน่วยงำนรัฐวิสำหกิจ ในสังกดักระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำร รับผิดชอบเก่ียวกบังำนไปรษณียข์องประเทศไทย ซ่ึงแปรรูปมำจำกกำรส่ือสำรแห่งประเทศไทย (กสท.) เป็นหน่วยงำนท่ีให้บริกำรดำ้นรับส่งไปรษณียภณัฑ์ พสัดุภณัฑ ์และไปรษณียด่์วนพิเศษทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ ซ่ึงมีรำยได้จำกธุรกิจส่ือสำรเป็นหลกั จึงต้องกำรเพิ่มรำยได้จำกธุรกิจค้ำปลีกให้มำกยิ่งข้ึน เพรำะธุรกิจตลำดส่ือสำรมีผลกระทบ จำกบริกำรทดแทนใหม่ ๆ ท่ีเกิดข้ึนจำกกำรพฒันำของเทคโนโลยีสำรสนเทศ ซ่ึงคำดว่ำอำจจะมีควำมรุนแรงยิ่งข้ึนในอนำคต บริษทั ไปรษณียไ์ทย จ ำกดั พยำยำมพฒันำบริกำร จำกบริกำรหลกัไปสู่บริกำรรอง สร้ำงแนวทำงขยำยฐำนรำยได้ไปยงัธุรกิจตลำดอ่ืน ๆ เช่น ธุรกิจตลำดคำ้ปลีก เพื่อลดควำมเส่ียงทำงธุรกิจสร้ำงรำยได้ โดยน ำจุดแข็งขององค์กำรสร้ำงให้ธุรกิจเติบโตอย่ำงย ัง่ยืน ธุรกิจตลำดค้ำปลีกจึงเป็นอีกหน่ึงตลำดท่ีเพิ่มรำยได้ให้กับบริษทัไปรษณีย์ไทย จ ำกัด มำกข้ึน ในอนำคต เน่ืองจำกมีปัจจยัส่ิงแวดล้อมหลำยอย่ำง เช่น แนวโน้มกำรเติบโต และกำรท ำก ำไร จำกธุรกิจคำ้ปลีก ซ่ึงเป็นธุรกิจขนำดใหญ่ท่ีมีมูลค่ำตลำดรวมค่อนขำ้งสูง และสำมำรถสร้ำงผลก ำไร ไดดี้ อีกทั้ง บริษทั ไปรษณียไ์ทย จ ำกดั มีรูปแบบของสินคำ้ท่ีมีโอกำสเฉพำะตวั ยำกต่อกำรเลียนแบบและสินคำ้บำงอย่ำงมีสิทธ์ิผูกขำดในกำรผลิตแต่เพียงผูเ้ดียว เช่น ตรำไปรษณียำกร ฯลฯ รวมทั้งควำมครอบคลุมของเครือข่ำยท่ีท ำกำรไปรษณีย ์ถือวำ่เป็นเครือข่ำยหน่ึงท่ีเขำ้ถึงและมีควำมใกลชิ้ดกบัชุมชนมำกท่ีสุด โดยเฉพำะอยำ่งยิง่ในพื้นท่ีส่วนภูมิภำค ซ่ึงถือเป็นจุดแขง็ท่ีบริษทั ไปรษณียไ์ทย จ ำกดั สำมำรถน ำมำประยุกต์ใช้สร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขนัในกำรด ำเนินธุรกิจคำ้ปลีกได้ (ศุภธร ชีถนอม, 2556, น. 39)

    ในเดือนเมษำยน พ.ศ. 2558 พบว่ำ ปัญหำประเภทบริกำร เป็นประเภทหลักท่ี มี กำรร้องเรียนเขำ้มำมำกท่ีสุด เป็นบริกำรไปรษณีย ์จ ำนวน 2 รำย คิดเป็นร้อยละ 1.02 และจำกสถิติจ ำนวนเร่ืองร้องเรียนของปี 2559 บริษทั ไปรษณียไ์ทย จ ำกดั พบวำ่ ประเภทบริกำรไปรษณีย ์395 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 51.97 เป็นประเภทหลักท่ีมีกำรร้องเรียนเขำ้มำมำกท่ีสุด รองลงมำล ำดับท่ี 1 คือ ประเภทกำรปฏิบติัหน้ำท่ี/พฤติกรรมของผูป้ฏิบติังำน 223 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 29.34 รองลงมำ

    https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2

  • 2

    ล ำดบัท่ี 2 คือ ประเภทกรณีอ่ืน ๆ 78 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 10.26 รองลงมำล ำดบัท่ี 3 คือ ประเภท บริกำรท่ีเก่ียวเน่ืองกบัธุรกิจไปรษณีย ์62 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 8.16 และล ำดบัสุดทำ้ยคือ ประเภท กำรจดัซ้ือจำ้งของบริษทั ไปรษณียไ์ทย จ ำกดั 2 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 0.26 ตำมล ำดบั เพื่อลดปัญหำกำรร้องเรียนดงักล่ำว และเป็นไปตำมแผนยุทธศำสตร์ ประกอบไปดว้ย 4 ส่วนส ำคญั เร่ิมตั้งแต่ ส่วนที่ 1 กำรเดินหน้ำตำมนโยบำยไทยแลนด์ 4.0 ที่จะเข้ำไปปรับรูปแบบกำรบริหำรให้เกิด กำรกระจำยอ ำนำจไปในระดบัจงัหวดัและระดับเขตจำกเดิมท่ีรวมศูนย์ เพื่อให้องค์กรสำมำรถแข่งขนัได้ โดยจำกเดิมระบบของ บริษทั ไปรษณีย์ไทย จ ำกัด จะเน้นอยู่ท่ี 3 ส่วนหลัก ๆ คือ 1) รับฝำก 2) คดัแยกและส่งต่อ 3) น ำจ่ำย แต่เม่ือมีกำรตั้งบริษทั ไปรษณีย ์ดิสทริบิวชัน่ เขำ้มำก็ควรใชง้ำนใหเ้กิดประโยชน์สูงสุด และถือเป็นกำรช่วยใหบ้ริษทั ไปรษณีย ์ดิสทริบิวชัน่ สร้ำงก ำไร และให้สำมำรถแข่งขันได้ในอนำคต ท ำให้ในแนวทำงใหม่ระบบของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จ ำกัด แบ่งออกมำเป็น 4 ส่วน คือ 1) รับฝำก ที่จะรับผ่ำนที่ท ำกำรไปรษณียห์รือช่องทำงใดก็ตำมเขำ้มำรวมกนั 2) คดัแยก ท่ีจะใหห้น่วยงำนท่ีเก่ียวขอ้งไปศึกษำกำรท ำระบบคดัแยกแบบอตัโนมติั เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำรท ำงำนให้รวดเร็วข้ึน 3) ส่งต่อ จะให้ทำงบริษทั ไปรษณีย ์ดิสทริบิวชั่น รับผิดชอบในกำรน ำส่งตำมท่ีท ำกำรไปรษณีย์ กระจำยไปสู่ระดับจงัหวดัและเขตต่อไป และ 4) น ำจ่ำย ท่ียงัจ ำเป็นตอ้งใชพ้นกังำนระดบัปฏิบติักำร แต่ก็จะเพิ่มประสิทธิภำพดว้ยกำรน ำอุปกรณ์ และระบบท่ีทนัสมยัเขำ้ไปช่วย ส่วนท่ี 2 เร่ืองของกำรลงทุนเพื่อรับกบัธุรกิจอีคอมเมิร์ซท่ีเกิดข้ึน ในปัจจุบนั เพื่อให้รับกบันโยบำยของไทยแลนด์ 4.0 ท่ีเกิดข้ึน ส่วนท่ี 3 คือ กำรเขำ้ไปลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ไม่ว่ำจะเป็นกำรตั้งส ำนักงำนเพื่อให้ครอบคลุมในบริกำรต่ำง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนและส่วนท่ี 4 คือ กำรตั้งศูนยโ์ลจิสติกส์บริเวณภำคเหนือตอนล่ำง เพื่อเช่ือมเส้นทำงในกำรขนส่งสินคำ้ใหค้ล่องตวัยิง่ข้ึน

    บริษทั ไปรษณียไ์ทย จ ำกดั มีจุดมุ่งหมำย คือ ควำมส ำเร็จหรือกำรบรรลุเป้ำหมำยของบริษทั ฯ ซ่ึงในกำรบริหำรงำนเพื่อให้เกิดประสิทธิภำพและบรรลุวตัถุประสงคข์องบริษทั ไปรษณียไ์ทย จ ำกดั ท่ีก ำหนดไวน้ั้น จะตอ้งมีปัจจยัในกำรบริหำรองค์กำร ซ่ึงผูบ้ริหำรส่วนใหญ่ยอมรับกนัว่ำ ปัจจยัส ำคญัของกำรบริหำร มีหลกั 4 ประกำร คือ คน (Man) เงิน (Money) วสัดุอุปกรณ์ (Material) และกำรจดักำร (Management) และในบรรดำปัจจยักำรบริหำรองค์กำรทั้ง 4 ประกำรนั้น กำรบริหำรจดักำร “ทรัพยำกรคนหรือทรัพยำกรมนุษย์” มีควำมส ำคญัมำก ด้วยเหตุที่ “ทรัพยำกรมนุษย์” นอกจำกจะมีควำมส ำคญัในด้ำนทรัพยำกรทำงกำรบริหำรแล้ว “ทรัพยำกรมนุษย์” ยงัมีบทบำทส ำคญัในทุกขั้นตอนของกระบวนกำรบริหำรงำนขององค์กำรนั้น ๆ ตำมแนวคิดของ Luther H. Gulick และLyndall Urwick (POSDCoRB) ซ่ึงประกอบไปดว้ย กำรวำงแผน (Planning) กำรจดัองค์กำร (Organizing) กำรบริหำรทรัพยำกรมนุษย ์(Staffing) กำรอ ำนวยกำร (Directing) กำรประสำนงำน

  • 3

    (Coordinating) กำรรำยงำน (Reporting) และกำรงบประมำณ (Budgeting) หรือเรียกอีกอยำ่งหน่ึงวำ่ “ทรัพยำกรมนุษย”์ เป็นศูนยก์ลำงของกำรพฒันำทรัพยำกรต่ำง ๆ ในองค์กำรช่วยสร้ำงมูลค่ำเพิ่มให้กบัทรัพยำกร กำรบริหำรที่มีอยู่อย่ำงจ ำกดัในองค์กำรให้มีประโยชน์มีมูลค่ำเพิ่มมำกยิ่งข้ึน ใชท้รัพยำกรอยำ่งมีประสิทธิภำพประสิทธิผล (พงษช์ยั ชยวโส, 2556, น. 2)

    ดงันั้น กำรบริหำรทรัพยำกรมนุษย ์จึงมีส่วนส ำคญัในกำรผลกัดนัให้องคก์ำรมีกำรพฒันำอยำ่งเป็นระบบและต่อเน่ือง ตลอดจนส่งเสริมให้องคก์ำรประสบควำมส ำเร็จในกำรด ำเนินงำน ในอนำคต โดยเฉพำะในสถำนกำรณ์ปัจจุบนัท่ีแต่ละองค์กำรต่ำงก็ให้ควำมส ำคญัต่อกำรบริหำรทรัพยำกรมนุษยเ์พิ่มข้ึน เน่ืองจำกไดต้ระหนกัถึงควำมส ำคญัวำ่ กำรบริหำรทรัพยำกรมนุษยเ์ป็นงำนท่ีจะตอ้งแทรกอยู่ในทุกกิจกรรมขององค์กำร เพื่อส่งเสริมและเป็นหลกัประกนัว่ำ ทุกกิจกรรม ขององค์กำรสำมำรถด ำเนินงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ ส่งผลให้ผูบ้ริหำรทุกคนตอ้งให้ควำมส ำคญั ต่อทรัพยำกรมนุษยภ์ำยใตก้ำรดูแลของตน (พงษช์ยั ชยวโส, 2556, น. 2)

    จำกควำมเป็นมำและควำมส ำคญัของปัญหำดงัท่ีไดก้ล่ำวมำแล้วขำ้งตน้ จึงท ำให้ผูว้ิจยั มีควำมสนใจท่ีจะศึกษำเก่ียวกบัปัจจยัท่ีส่งผลต่อควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนกังำนไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6 เพื่อจะไดน้ ำผลกำรวจิยัดงักล่ำว มำใชเ้ป็นขอ้มูลในกำรปรับปรุงควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนักงำนไปรษณีย์ ส ำนักงำนไปรษณีย์เขต 6 ให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุดสอดคล้องกับควำมต้องกำรและสร้ำงควำมพึงพอใจให้ผูบ้ริโภค กลับมำใช้บริกำรซ ้ ำอีก ท ำให้ผูบ้ริโภคได้รับประโยชน์สูงสุดจำกกำรใช้บริกำร และเพื่อ ท่ีจะทรำบข้อมูลเบ้ืองต้นว่ำ มีปัจจยัอะไรบำ้งท่ีมีผลต่อควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนกังำนไปรษณีย์ ส ำนักงำนไปรษณียเ์ขต 6 เช่น ด้ำนควำมสัมพนัธ์ระหว่ำงบุคคล ด้ำนเงินเดือนและสวสัดิกำร และด้ำนควำมมัน่คงในงำน ซ่ึงปัจจยัเหล่ำน้ียอ่มมีผลกระทบและมีควำมสัมพนัธ์กบัควำมพึงพอใจในกำรท ำงำน ท ำให้พนกังำนเกิดควำมกระตือรือร้น และทุ่มเทควำมรู้ควำมสำมำรถท่ีจะเพิ่มประสิทธิภำพและประสิทธิผลในงำนซ่ึงจะน ำไปสู่ควำมส ำเร็จของหน่วยงำนไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6 ให้มีควำมเจริญกำ้วหน้ำต่อไปในอนำคตอยำ่งมัน่คง

    วตัถุประสงค์กำรวจัิย

    1. เพื่อศึกษำระดับควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนักงำนไปรษณีย์ ส ำนักงำนไปรษณียเ์ขต 6

    2. เพื่อศึกษำปัจจัยท่ีส่งผลต่อควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนักงำนไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6

  • 4

    3. เพื่อศึกษำอิทธิพลของปัจจยัแต่ละตวัท่ีมีผลต่อควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนกังำนไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6

    ขอบเขตของกำรวจัิย

    1. ขอบเขตด้ำนเนือ้หำ กำรวิจยัคร้ังน้ี จะท ำกำรศึกษำปัจจยัท่ีส่งผลต่อควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนกังำน

    ไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6 เป็นกำรศึกษำถึงปัจจยัท่ีส่งผลต่อควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนกังำนไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6 และเป็นกำรศึกษำเพื่อคน้หำวำ่มีปัจจยัอะไรบำ้ง ท่ีส่งผลต่อควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนกังำนดงักล่ำว

    2. ขอบเขตด้ำนระยะเวลำ ระยะเวลำในกำรวจิยั ตั้งแต่เดือนธนัวำคม 2559 – เดือนสิงหำคม 2560 3. ขอบเขตด้ำนประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง

    3.1 ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจยัคร้ังน้ี คือ พนักงำนไปรษณียท่ี์เป็นหัวหน้ำที่ท ำกำรไปรษณีย ์สังกดัส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6 รวมทั้งส้ิน 103 คน ซ่ึงท่ีท ำกำรไปรษณียใ์นสังกดัส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6 มีจ ำนวน 103 แห่ง (ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6, 2559, ออนไลน)์

    3.2 กลุ่มตวัอยำ่ง จำกจ ำนวนประชำกรดงักล่ำวขำ้งตน้ ผูว้ิจยัไดก้ ำหนดกลุ่มตวัอยำ่ง ในกำรวิจยัคร้ังน้ี โดยใชสู้ตรค ำนวณของ Taro Yamane (Yamane, 1973, p. 727; อำ้งถึงใน สุพรชยั ลิกขะไชย, 2551, น.7) ท ำใหไ้ดก้ลุ่มตวัอยำ่ง จ ำนวน 82 คน

    4. ขอบเขตด้ำนตัวแปร 4.1 ตวัแปรอิสระ (Independent variables) คือ ปัจจยัที่ส่งผลต่อควำมพึงพอใจ

    ในกำรท ำงำนของพนกังำนไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6 ประกอบดว้ย 4.1.1 ดำ้นควำมสัมพนัธ์ระหวำ่งบุคคล 4.1.2 ดำ้นเงินเดือนและสวสัดิกำร 4.1.3 ดำ้นควำมมัน่คงในงำน

    4.2 ตวัแปรตำม (Dependent variables) คือ ควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนกังำนไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6

    5. ขอบเขตด้ำนพืน้ที ่ในกำรวิจัยคร้ังน้ี ผู ้วิจ ัยได้ก ำหนดขอบเขตกำรศึกษำ คือ ท่ีท ำกำรไปรษณีย์ สังกัด

    ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6

  • 5

    นิยำมศัพท์เฉพำะ

    พนักงำนไปรษณีย์ ส ำนักงำนไปรษณีย์เขต 6 หมำยถึง หัวหน้ำท่ีท ำกำรไปรษณีย ์สังกดัส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6

    ควำมพึ งพอใจในกำรท ำงำนของพ นักงำน หม ำยถึ ง ควำม รู้ สึ ก ท่ี ดี ท่ี เกิ ด ข้ึน ของพนกังำนที่มีต่องำนที่ปฏิบติัอยู่ ท ำให้มีกำรเสียสละ อุทิศเวลำ มุ่งมัน่ ทุ่มเทให้กบักำรท ำงำน อย่ำงเต็มท่ี จนท ำให้งำนนั้นส ำเร็จตำมวตัถุประสงค์ท่ีก ำหนดไวข้ององค์กร ประกอบดว้ย 1) ค่ำจำ้ง 2) ลกัษณะของงำน 3) ควำมกำ้วหนำ้ในกำรงำน และ 4) เพื่อนร่วมงำน

    ด้ำนค่ำจ้ำง หมำยถึง เงินค่ำจำ้งท่ีไดคิ้ดตำมผลงำนท่ีท ำ เงินท่ีไดรั้บมีควำมเหมำะสมกบัภำระงำน เงินท่ีไดรั้บมีควำมยุติธรรมกบัภำระงำน กำรไดรั้บค่ำจำ้งท่ีเหมำะสมกบักำรทุ่มเทท ำงำนเพื่อควำมส ำเร็จของบริษัท และกำรได้รับเงินค่ำตอบแทนอ่ืนเป็นกรณีพิเศษ (โบนัส) ท่ีเป็นธรรม ตำมคุณภำพผลงำน

    ด้ำนลักษณะของงำน หมำยถึง งำนท่ีท ำเป็นงำนท่ีน่ำสนใจ เป็นงำนท่ีน่ำภูมิใจ งำนท่ีท ำ มีควำมท้ำทำย งำนท่ีท ำเหมำะสมกับควำมรู้ควำมสำมำรถ เป็นงำนท่ีต้องอำศัยควำมคิดริเร่ิมสร้ำงสรรค ์เป็นงำนท่ีตอ้งท ำแข่งกบัเวลำ และกำรมีปริมำณงำนท่ีรับผิดชอบในปัจจุบนัอยูใ่นระดบัท่ีเหมำะสม

    ด้ำนควำมก้ำวหน้ำในกำรงำน หมำยถึง กำรได้รับเล่ือนขั้นอย่ำงยุติธรรม กำรได้รับ เ ล่ือนต ำแหน่งให้สูง ข้ึนอย่ำงยุติธรรม กำรมีโอกำสศึกษำต่อท่ีได้รับวุฒิสูงข้ึน กำรได้รับ กำรสนับสนุนให้พัฒนำควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรท ำงำนอย่ำงต่อเน่ือง และกำรได้รับ กำรฝึกอบรมศึกษำดูงำน เพื่อเพิ่มควำมรู้และทกัษะในกำรปฏิบติังำน

    ด้ำนเพื่อนร่วมงำน หมำยถึง ควำมมีน ้ ำใจและมิตรภำพในกำรท ำงำนของเพื่อนร่วมงำน กำรให้ควำมร่วมมือและช่วยเหลือเก่ียวกบังำนดว้ยดี กำรไม่มีควำมขดัแยง้ในหน่วยงำน และกำรไม่มีกำรแบ่งพรรคหรือแบ่งพวกในหน่วยงำน

    ปัจจัยที่ส่งผลต่อควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนักงำนไปรษณีย์ ส ำนักงำนไปรษณีย์เขต 6 หมำยถึง ปัจจัยที่ เ ก่ียวข้องกับส่ิงแวดล้อมในกำรท ำงำนที่ ช่วยค ้ำ จุนให้บุคคลในองค์กร เกิดควำมพึงพอใจในกำรท ำงำน มีอยู่ 3 องค์ประกอบ ดงัน้ี (1) ดำ้นควำมสัมพนัธ์ระหว่ำงบุคคล (2) ดำ้นเงินเดือนและสวสัดิกำร และ (3) ดำ้นควำมมัน่คงในงำน

    ด้ำนควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล หมำยถึง ควำมสัมพนัธ์ของบุคคลในกำรปฏิบติังำน ไดแ้ก่ ผูบ้ ังคับบัญชำ เพื่อนร่วมงำน และผูใ้ต้บังคับบัญชำ คือ กำรมีควำมร่วมมือกันในกำรท ำงำน เป็นอย่ำงดี กำรมีควำมสำมคัคีกันในกำรท ำงำน มีกำรช่วยเหลือกันทั้ งในเร่ืองงำนและเร่ืองส่วนตัว

  • 6

    ไม่ มีควำมขัดแย้งแบ่งพรรคแบ่งพวก และมีกำรให้ค ำปรึกษำหำรือกันเม่ือมีปัญหำในระหว่ำง กำรปฏิบติังำน

    ด้ำนเงินเดือนและสวัสดิกำร หมำยถึง กำรไดรั้บเงินเดือนมีควำมเหมำะสมกบัควำมสำมำรถและปริมำณงำนท่ีได้ท ำ กำรมีรำยได้เพียงพอต่อควำมจ ำ เป็นขั้ นพื้นฐำนในกำรย ังชีพได้ อย่ำงเหมำะสม กำรไดรั้บสวสัดิกำรอ่ืน ๆ เช่น ค่ำรักษำพยำบำล ค่ำกำรศึกษำบุตร ค่ำเช่ำบำ้น เป็นตน้ มีระบบกำรพิจำรณำปรับเงินเดือนและโบนสั และกำรมีสวสัดิกำรท่ีเหมำะสมยติุธรรม

    ด้ำนควำมมั่นคงในงำน หมำยถึง กำรมีควำมมัน่คงของงำน ควำมมีช่ือเสียงของหน่วยงำน กำรไดรั้บกำรสนบัสนุนจำกผูบ้งัคบับญัชำ ควำมเป็นธรรมของระบบกำรประเมินผลกำรปฏิบติังำน และกำรไดรั้บควำมเป็นธรรมเม่ือมีปัญหำในกำรท ำงำน ประโยชน์ทีค่ำดว่ำจะได้รับ

    1. ท ำให้ทรำบถึงปัจจยัท่ีส่งผลต่อควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนักงำนไปรษณีย์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6

    2. ท ำให้ทรำบถึงปัญหำท่ีท ำให้พนกังำนขำดควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนกังำนไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6

    3. สำมำรถน ำขอ้มูลท่ีได้จำกกำรวิจยัคร้ังน้ี น ำเสนอผูบ้ริหำรของไปรษณีย ์ส ำนักงำนไปรษณียเ์ขต 6 เพื่อน ำไปสู่กำรพฒันำและเสริมสร้ำงควำมพึงพอใจในกำรท ำงำนของพนักงำนไปรษณีย ์ส ำนกังำนไปรษณียเ์ขต 6 ต่อไป

  • บทที ่2

    เอกสารและงานวจิัยทีเ่กีย่วข้อง

    การวิจัยเร่ืองปัจจัยท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนักงานไปรษณีย ์ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 โดยมีวตัถุประสงค์ของการวิจยั 1) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจ ในการท างานของพนักงานไปรษณีย์ ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 2) เพื่อศึกษาปัจจยัท่ีส่งผลต่อ ความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ส านกังานไปรษณียเ์ขต 6 และ 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจยัแต่ละตวัท่ีมีผลต่อความพึงพอใจในการท างานของพนกังานไปรษณีย ์ส านักงานไปรษณีย์เขต 6 ผูว้ิจยัได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารวารสาร และบทความทางอินเตอร์เน็ต ท่ีกล่าวถึงความพึงพอใจในการท างานและอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวิจัย โดยน าเสนอเป็นล าดบั ดงัน้ี

    1. แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้งกบัความพึงพอใจในการท างาน 1.1 ความหมายของความพึงพอใจ 1.2 แนวคิดของความพึงพอใจในการท างาน 1.3 ความส าคญัของความพึงพอใจในการท างาน 1.4 ทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้งกบัความพึงพอใจในการท างาน 1.5 ปัจจยัท่ีส่งผลต่อความพึงพอใจในการท างาน

    2. แนวคิดการใหบ้ริการ 3. แนวคิดพฤติกรรมองคก์าร 4. ประวติักิจการไปรษณียไ์ทย 5. ขอ้มูลทัว่ไปของส านกังานไปรษณียเ์ขต 6 6. วจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง 7. กรอบแนวคิดในการวจิยั 8. สมมติฐานการวิจยั

  • 8

    แนวคิดและทฤษฎทีีเ่กีย่วข้องกบัความพงึพอใจในการท างาน (Job Satisfaction Theory)

    1. ความหมายของความพึงพอใจ ค าวา่ “ความพึงพอใจ” ตรงกบัภาษาองักฤษวา่ “Satisfaction” ซ่ึงมีนกัวิชาการไดใ้หค้ าจ ากดัความ

    และความหมายไว ้ดงัน้ี ชาญยุทธ ชูสุวรรณ (2556, น. 7) ไดก้ล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกส่วนตวั

    ท่ีรู้สึกเป็นสุข หรือยินดีท่ีได้รับการตอบสนองความตอ้งการในส่ิงท่ีขาดหายไป หรือส่ิงท่ีท าให้ ไม่เกิดความสมดุล ในที่น้ีหมายถึง ความพึงพอใจของบุคลากรสายสนับสนุนวิทยาลยัทองสุข ผูต้อบแบบสอบถาม

    บุญมี เวียงนนท์ (2556, น. 10) ได้ให้ความหมายของ ความพึงพอใจไวว้่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือเจตคติท่ีดีต่อการปฏิบติังานตามภาระหน้าท่ี ท่ีเป็นความรู้สึกหรือทศันคติท่ีเป็นไป ในทางบวกของบุคคลท่ีช่ืนชอบต่อการท างาน ท่ีเห็นว่างานได้ตอบสนองความตอ้งการทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจของผูป้ฏิบติัจนท าใหเ้กิดทศันคติท่ีดีต่อการท างาน

    ปวรรัตน์ เลิศสุวรรณเสรี (2555, น. 4-5) ไดใ้ห้ความหมาย ความพึงพอใจวา่ หมายถึง ค่าระดบัความรู้สึกชอบ ยอมรับ มีความสุขท่ีเกิดจากการปฏิบัติงาน กระตือรือร้น มุ่งมั่น เกิดความคิดสร้างสรรค์ และมีเจตคติท่ีดีต่อการปฏิบติังาน จึงท าให้มีความรู้สึกเก่ียวกบัการท างาน โดยรวม ในเชิงบวกส่งผลใหก้ารปฏิบติังานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

    ศิริกาญจน์ อาก๊ะ (2555, น. 6) ไดก้ล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง สภาวะของอารมณ์ ความรู้สึกและเจตคติของบุคคลท่ีมีต่องานท่ีเขาปฏิบติัอยู่ โดยแสดงออกมาเป็นความสนใจ กระตือรือร้น เตม็ใจและสนุกร่าเริง เป็นตน้ เม่ือผูป้ฏิบติังานเกิดความพึงพอใจในงานท่ีท า เขาก็จะมีความพยายาม อุตสาหะ มีความสุขในการท างาน และความมุ่งมัน่จนงานนั้นส าเร็จตามวตัถุประสงค ์

    สุธานิธ์ิ นุกูลอ้ึงอารี (2555, น. 5) ไดก้ล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลท่ีมีต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึง จะเกิดข้ึนต่อเม่ือส่ิงนั้นสามารถตอบสนองความตอ้งการของตนเองอยา่งดีหรือสมบูรณ์ท่ีสุด ซ่ึงความพึงพอใจท่ีเกิดข้ึนสามารถเปล่ียนแปลงได้ตามค่านิยมและประสบการณ์ ของตวับุคคล

    ขวญัใจ พิรุณ (2554, น. 19) ไดก้ล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือเจตคติชอบ มีความสุข พอใจ ของครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีต่อองค์ประกอบของงาน ซ่ึงเกิดจากการได้รับการตอบสนองความต้องการในการให้บริการของสานักงานส่งเสริมสวสัดิการและ สวสัดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาจงัหวดัก าแพงเพชร

  • 9

    รพีพรรณ สุพรรณพฒัน์ (2554, น. 5) ให้ความหมาย ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึก ท่ีดี ความรู้สึกชอบ รัก ทัศนคติท่ีดีของบุคคลท่ีมีต่องานท่ีปฏิบัติอยู่ ซ่ึงท าให้บุคคลปฏิบติังาน ด้วยความรัก มีความสุขท่ีได้ท างาน และปฏิบติังานนั้นด้วยความรับผิดชอบ และอุทิศตนทุ่มเทใหก้บังาน จนท าใหง้านนั้นส าเร็จตามวตัถุประสงคท่ี์ก าหนดไว ้

    เรณู สุขฤกษกิ์จ (2554, น. 7) ให้ความหมายวา่ ความพึงพอใจวา่ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีของบุคลากรท่ีมีต่องานท่ีท าอยู ่ซ่ึงเป็นความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนจากการไดรั้บการตอบสนองทั้งทางดา้นร่างกายหรือจิตใจ อนัจะส่งผลใหบุ้คลากรเกิดความพึงพอใจในการท างาน

    อนงคน์าฏ แกว้ไพฑูรย ์(2554, น. 5) ไดก้ล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ระดบัความรู้สึก ความประทบัใจ ความคาดหวงัท่ีไดรั้บการตอบสนอง หรือทศันคติท่ีมีต่อเจา้หน้าท่ีรัฐผูใ้ห้บริการ สถานท่ีหรือส่ิงต่าง ๆ ท่ีมากระทบความรู้สึกในลักษณะท่ีชอบหรือไม่ชอบ เห็นด้วยหรือ ไม่เห็นดว้ย พอใจหรือไม่พอใจ

    จุฑาพร รัตนมุสิก และคณะ (2553, น. 11) ไดก้ล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกยอมรับ ความพอใจของหัวหน้าหน่วยงาน หรือนายจ้าง หรือบุคคลท่ีท าหน้าท่ีบังคับบัญชา ต่อการปฏิบติังาน และลกัษณะของบณัฑิตท่ีท างานในสถานประกอบการนั้น ๆ

    ทิพวารินท ์กล่ินโชยสุคนธ์ (2552, น. 755) ไดใ้ห้ความหมายของ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกพอใจ โดยการไดบ้รรลุหรือการตอบสนองในความตอ้งการ ความคาดหวงั ความปรารถนา ของบุคคล ซ่ึงเป็นผลมาจากความชอบ ความสนใจ มีทศันคติท่ีดีต่อสถานการณ์ หรือส่ิงใด ๆ และเห็นวา่ส่ิงนั้นมีประโยชน์และมีคุณค่า

    แพรวพรรณ นพตระกูล (2552 , น.10) ได้ให้ความหมาย ความพึงพอใจไวว้่า หมายถึง ความรู้สึกดา้นบวกท่ีแสดงออกมา เม่ือส่ิงท่ีคาดหวงัไดรั้บการตอบสนองความตอ้งการ

    บรรพต ศรีวิเศษ (2550 , น. 3) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคล ในเชิงบวกหรือลบท่ีจะท างานและเต็มใจปฏิบัติงานในต าแหน่งหน้าท่ี ท่ีอยู่ ซ่ึ งจะส่งผล ต่อประสิทธิภาพในการปฏิบติังาน

    ภากรณ์ น ้ าวา, และ ศิริวิมล วนัทอง (2550, น. 6) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของผู ้ป่วยท่ีมีต่อแผนกผู ้ป่วยนอกโรงพยาบาลด่านมะขามเต้ีย จังหวดักาญจนบุรี ตามลักษณะความพึงพอใจต่อบริการ ในด้านความสะดวกท่ีได้รับจากบริการ การประสานของ การบริการ อธัยาศยัและการให้เกียรติของผูใ้ห้บริการ ขอ้มูลท่ีไดรั้บจากบริการ คุณภาพของบริการและค่าใชจ่้ายเม่ือใชบ้ริการ

  • 10

    Wolman (1973, p. 384; อา้งถึงใน ขวญัใจ พิรุณ, 2554, น. 19) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกท่ีมีความสุขเม่ือไดรั้บความส าเร็จตามความมุ่งหมายความตอ้งการ หรือแรงจูงใจของความพึงพอใจไวว้า่ ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพความตอ้งการ

    พจนานุกรมฉบบัราชบณัฑิตยสถาน (2542, น. 775) ไดใ้ห้ความหมายของ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกท่ีดีมีความสุข เ ม่ือคนเราได้รับผลส าเ ร็จตามความมุ่งหมาย (Goals) ความตอ้งการ (Need) หรือแรงจูงใจ (Motivation) ความพึงพอใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ

    จากการศึกษาความหมายของความพึงพอใจท่ีนักวิชาการต่าง ๆ ได้ให้ความหมายไว้ทั้งหมดขา้งตน้ ผูว้ิจยัจึงสรุปไดว้่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกพอใจของพนกังานท่ีมีต่องาน ท่ีท าอยู ่ซ่ึงท าใหพ้นกังานนั้นปฏิบติังานดว้ยความรับผิดชอบและอุทิศตนทุ่มเทใหก้บังาน ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการท างาน 2. แนวคิดของความพงึพอใจในการท างาน (Job satisfaction) มีนกัวิชาการไดใ้ห้นิยามของ “ความพึงพอใจในการท างาน” ไวใ้นลกัษณะต่าง ๆ กนัไป ซ่ึงผูว้จิยัไดท้ าการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้งกบัความพึงพอใจในการท างานท่ีนกัวชิาการไดใ้ห้ความหมายของค าวา่ “ความพึงพอใจในการท างาน” ซ่ึงอาจจะคลา้ยกนัหรือแตกต่างกนัดงัน้ี

    ปวรรัตน์ เลิศสุวรรรณเสรี (2555 , น. 4) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน หมายถึง ค่าระดบัความรู้สึกชอบ ยอมรับ มีความสุข ท่ีเกิดจากการปฏิบติังาน กระตือรือร้น มุ่งมัน่ เกิดความคิดสร้างสรรค์ และมีเจตคติท่ีดีต่อการปฏิบติังาน จึงท าให้มีความรู้สึกเก่ียวกบัการท างานโดยรวมในเชิงบวกส่งผลใหก้ารปฏิบติังานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

    รพีพรรณ สุพรรณพฒัน์ (2555, น. 5) กล่าววา่ ความพึงพอใจในงาน หมายถึง ความรู้สึก ท่ีดี ความรู้สึกชอบ รัก ทศันคติท่ีดีของบุคคลท่ีมีต่องานท่ีปฏิบติัอยู ่ซ่ึงท าให้บุคคลปฏิบติังานดว้ยความรัก มีความสุขท่ีไดท้ างานและปฏิบติังานนั้นดว้ยความรับผดิชอบ และอุทิศตนทุ่มเทใหก้บังาน จนท าใหง้านนั้นส าเร็จตามวตัถุประสงคท่ี์ก าหนดไว ้

    วรรณี ชัยเฉลิมพงษ์, และ นุศราพร เกษสมบูรณ์ (2555, น. 4) กล่าวว่า ความพึงพอใจ ในการท างาน หมายถึง ความรู้สึกในเชิงบวกท่ีมีต่อลักษณะงาน การปกครอง ผลประโยชน์อ่ืน การได้รับการยอมรับ ความสัมพนัธ์กับเพื่อนร่วมงาน ค่าตอบแทนท่ีเป็นตวัเงิน และคุณธรรม ในการท างาน

    สุธานิธ์ิ นุกูลอ้ึงอารี (2555, น. 5) ไดก้ล่าววา่ ความพึงพอใจในงาน หมายถึง ทศันคติหรือความรู้สึกของพนกังานต่องานท่ีปฏิบติัอยูแ่ละปัจจยัดา้นอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวขอ้งกบังาน ซ่ึงท าให้พนกังานเกิดความรู้สึกทางบวกต่องาน และสามารถท างานบรรลุตามวตัถุประสงคข์ององคก์ร

  • 11

    ธร สุนทรายุทธ (2553, น. 111; อา้งถึงใน ปวรรัตน์ เลิศสุวรรรณเสรี, 2555, น. 8) มีความเห็นวา่ความพึงพอใจในการท างาน หมายถึง ความรู้สึกรวม ๆ ของบุคคลต่อการท างานในทางด้านดี ท่ีเกิดจากการท างาน ท าให้ไดรั้บผลตอบแทนเกิดความพึงพอใจ เกิดความรู้สึกกระตือรือร้น มุ่งมัน่ ท่ีจะท างาน มีขวญัและก าลงัใจในการท างาน ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบติังาน รวมถึงความส าเร็จตามเป้าหมายขององคก์ร

    ภสัสร ข าสินธ์ุ, และ อรนุช มัง่มี (2553, น. 4) ไดก้ล่าวว่า ความพึงพอใจในการท างาน หมายถึง ความรู้สึกส่วนบุคคลท่ีเกิดจากความชอบหรือไม่ชอบในด้านการท างานของพนักงานบริษทั ไปรษณียไ์ทย จ ากดั ไปรษณียศ์ูนยห์ลกัส่ี กรุงเทพมหานคร

    ดารุณี สร้อยแสง (2552, น. 4) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจในการท างาน หมายถึง ท่าทีความรู้สึกนึกคิดของบุคลากรในลักษณะของความพึงพอใจท่ีมีต่อส่ิงกระตุ้นหรือส่ิงแวดล้อม ท่ีเก่ียวขอ้งดว้ยในการท างาน

    ทิพวารินท ์กล่ินโชยสุคนธ์ (2552, น. 13) กล่าววา่ ความพึงพอใจในงานของแต่ละบุคคลเกิดจากภาวะทางอารมณ์ เกิดจากความคิด ทศันคติ ความรู้สึกและประสบการณ์ท่ีผ่านมา และ จะท าให้เกิดพฤติกรรมในการท างานตามมา เช่น ถ้าบุคคลใดมีความพึงพอใจในการปฏิบติังาน ก็จะมีการเสียสละ อุทิศเวลา มุ่งมัน่ ทุ่มเทให้กบัการท างานอยา่งเต็มท่ี และถา้พบวา่บุคคลใด ไม่มีความพึงพอใจในการปฏิบติังาน ก็จะท าใหเ้กิดความเสียหายกบัองคก์รเป็นอยา่งยิง่

    ณัฏฐพนัธ์ เขจรนนัทน์ (2551, น. 78; อา้งถึงใน ปวรรัตน์ เลิศสุวรรรณเสรี, 2555, น. 7) ให้ความหมายไวว้า่ ความพอใจในงาน หมายถึง ทศันคติเก่ียวกบังานของพนกังาน ซ่ึงเก่ียวขอ้งกบัปัจจยัแวดล้อมในงานของเขา เช่น ค่าตอบแทน โอกาสในการเล่ือนต าแหน่ง ความก้าวหน้า หวัหน้างาน ตลอดจนเพื่อนร่วมงาน ซ่ึงมีอิทธิพลต่อการรับรู้ในงานของบุคคล ความพอใจในงาน ยงัเกิดข้ึนจากปัจจยัแวดลอ้มของงาน ไดแ้ก่ รูปแบบการบริหาร นโยบายและขั้นตอนการท างาน กลุ่มงานท่ีเก่ียวขอ้ง สภาพแวดลอ้มการท างาน ตลอดจนประโยชน์และผลตอบแทน

    นฤมล พลเจริญ (2550, น. 13) ไดก้ล่าววา่ ความพึงพอใจในงาน หมายถึง ความรู้สึกท่ีดีของบุคคลท่ีมีต่อทุก ๆ ลกัษณะของงานร่วมกนั เป็นความรู้สึกท่ีไดรั้บการตอบสนองทั้งทางดา้นร่างกายและจิตใจ จนท าใหบุ้คคลเกิดความพึงพอใจในงาน

    สุภาภรณ์ อินทแพทย์ (2550, น. 14) กล่าวว่า ความพึงพอใจในงาน (Job satisfaction)หมายถึง ความรู้สึกหรือความคิดในด้านลักษณะของงาน ความก้าวหน้าในหน้าท่ีการงาน ความสัมพนัธ์กับเพื่อนร่วมงาน ความสัมพนัธ์กบัหัวหน้างาน ความมัน่คงในงาน เงินเดือนและสวสัดิการของพนกังานท่ีไดรั้บการตอบสนองความตอ้งการจนท าให้เกิดก าลงัใจและความเต็มใจ ท่ีจะท างานอยา่งเตม็ศกัยภาพ

  • 12

    รัชวลี วรวุฒิ (2549, น. 8; อา้งถึงใน นฤมล พลเจริญ, 2555, น. 17) กล่าววา่ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน อาจหมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลท่ีมีต่อลักษณะงาน หรือองคป์ระกอบของงานท่ีบุคคลผูน้ั้นกระท าอยู ่

    พรชัย ทิพยากูล (2548, น. 12; อ้างถึงใน นฤมล พลเจริญ , 2555, น. 17) กล่าวว่า ความพึงพอใจในงาน หมายถึง ทศันคติท่ีดีและไม่ดี ความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบต่องานท่ีท าอยู ่และองคป์ระกอบอ่ืน ๆ ท่ีเป็นส่ิงจูงใจ ซ่ึงความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนนั้น เป็นผลมาจากการไดรั้บการตอบสนอง ท่ีเป็นไปตามท่ีคาดหวงัไวก้็จะเกิดความพึงพอใจในงานนั้น ในทางกลบักนั ถ้าไม่ได้เป็นไปตาม ท่ีคาดหวงับุคคลก็จะเกิดความรู้สึกทางลบ ซ่ึงเป็นผลใหเ้กิดความไม่พึงพอใจในงานได ้

    Shermerhorn, et al. (2000,p. 118; อ้างถึงใน สุธานิธ์ิ นุกูลอ้ึงอารี, 2555, น. 16) ได้ให้ความหมายของ ความพึงพอใจในงาน วา่เป็นระดบัความรู้สึกในทางบวกหรือลบของแต่ละบุคคลต่องาน ซ่ึงเป็นทัศนคติหรืออารมณ์ที่มีการตอบสนองต่องาน สภาพทางกายภาพและสังคม ในสถานท่ีท างาน เม่ือบุคคลมีความรู้สึกในทางบวกต่องานก็จะส่งเสริมให้ผลการปฏิบัติงาน ของบุคคลนั้นสูงข้ึนดว้ย

    A Lock (1989; อา้งถึงใน ทิพวารินท์ กล่ินโชยสุคนธ์, 2552, น. 13) ให้นิยามความพึงพอใจในงานไวว้่า “เป็นภาวะทางอารมณ์ ซ่ึงเป็นผลจากการรับในผลงานของบุคคลหน่ึงหรือประสบการณ์ในงานของบุคคลหน่ึง”

    Gilmer (1967, p. 80; อ้างถึงใน สุธานิธ์ิ นุกูลอ้ึงอารี, 2555, น. 11) ได้ให้ความหมายว่า ความพึงพอใจในการท างาน เป็นทศันคติของบุคคลท่ีมีต่อปัจจยัต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้งกบัการด ารง�