01999031 western music romantic

Post on 10-Jul-2015

735 Views

Category:

Education

10 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

ดนตรีตะวันตกดนตรีตะวันตก Western MusicWestern Music

113 - Vocalise_Rachmaninoff

The Romantic Period : The Romantic Period : คค..ศศ..18201820--19001900

ดนตรีตะวันตกดนตรีตะวันตก

11. . ยุคกลางยุคกลาง (The Middle Ages : (The Middle Ages : คค..ศศ..450450--14501450))

22. . ยุคฟนฟูศิลปวิทยาการยุคฟนฟูศิลปวิทยาการ (The Renaissance : (The Renaissance : คค..ศศ..14501450--16001600) )

33. . ยุคบาโรกยุคบาโรก (The Baroque Period : (The Baroque Period : คค..ศศ..16001600--17501750) )

44. . ยุคคลาสสิกยุคคลาสสิก (The Classical Period : (The Classical Period : คค..ศศ..17501750--18201820))

55. . ยุคโรแมนติกยุคโรแมนติก (The Romantic Period : (The Romantic Period : คค..ศศ..18201820--19001900) )

66. . ยุคศตวรรษท่ี ยุคศตวรรษท่ี 2020 (The Twentieth Century : (The Twentieth Century : คค..ศศ..19001900--ปจจุบันปจจุบัน))

0004 - De Profundis_Gregorian Chant

0006 - Gloria from Missa Papae Marcelli_Palestrina

0007 - Hallelujah Chorus from Messiah_Handel

0003 - Gregorian Chant (Salve Regina)

0031 - Missa Benedicta es_Palestrina

0019 - Violin Concerto in Am BWV 1041_Bach

072 - EINE KLEINE NACHTMUSIK KU525 PART1_ ALLEGRO_Mozart095 - Piano Sonata in C No.15 K545 (1st Movt.) _Mozart

Waltz in C#m Op64 No2_Chopin

0036 Tragical Overture Op.81_Brahms

0039 - Symphony of Psalms_II_Stravinsky

0043 - Three Compositions for Piano_Babbitt0041 - Summertime_Gershwin

5. สมัยโรแมนติก(Romantic Period) คศ. 1820-1900 พพ..ศศ. . 23632363--244324431820 + 543 = พ.ศ. 2363

1900 + 543 = พ.ศ. 2443 (รัชกาลท่ี 1-4)

พ.ศ. 2325-2352 รัชกาลท่ี 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา ฯ ไดเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ แหงพระราชวงศจักรี ไดพระราชทานนามของพระนครวา กรุงเทพมหานครฯ หรือ กรุงรัตนโกสินทร พ.ศ. 2352 -2367 รัชกาลท่ี 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ขึ้นครองราชสมบัติ

พ.ศ. 2367-2394 รัชกาลท่ี 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ขึ้นครองราชสมบัติ

พ.ศ. 2394-2411 รัชกาลท่ี 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ขึ้นครองราชสมบัติ

พ.ศ. 2411-2453 รัชกาลท่ี 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ขึ้นครองราชสมบัติ

- การพัฒนาดานตางๆ วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจและการเมือง

- วิทยาการใหม ๆ มาก เชน ผลิตเหล็กกลาอาหารกระปอง ถายรูป เรือกลไฟ พลังไฟฟา โทรเลข โทรศัพท ฯลฯ

- ปญหา คือเครื่องกลมาแทนแรงงาน คนตกงานเศรษฐกิจตกตํ่า

ภูมิหลังประวัติศาสตรสมัยโรแมนติก(Romantic Period) คศ. 1820-1900

- ลัทธินายทุน (Capitalism)

- ลัทธิสังคมนิยม (Socialism) คารล มากซ ชาวเยอรมัน แนะวิธีปฏิรูปสังคมดวยการปฏิวัติ

- สงครามกลางเมือง(Civil War)ในสหรัฐอเมริกา(คศ. 1861-1865)

E.T.A. Hoffman นักประพันธท่ีมีชื่อเสียงชาวเยอรมันเปนผูกลาววาเสียงเพลงที่ไดฟงคือ“ศิลปะโรแมนติค”

E.T.A. Hoffman นักประพันธท่ีมีชื่อเสียงชาวเยอรมันเปนผูกลาววาเสียงเพลงที่ไดฟงคือ“ศิลปะโรแมนติค”

โจแอนน "โจ" โรวลิ่ง (Joanne "Jo" Rowling)

ดนตรียุคโรแมนติคตอนตน(ประมาณ ค.ศ.1820-1875)

1. ดนตรีลักษณะโรแมนติค เริ่มแรกจากเพลงขับรอง และพลงเปยโนสั้น ๆ ตอมาประพันธเปนเพลงบรรเลงโดยวงดุริยางคของ Beethoven และ Schubert

2. Hoffman เปนผูกลาววาเสียงเพลงท่ีไดฟงคือ “ศิลปะโรแมนติค” ตอจากนั้นเล็กนอย เริ่มขึ้นในงานจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรม

3. คศ. 1827 Beethoven มรณะกรรมลง Weber คีตกวีชาวเยอรมันประพันธดนตรีลักษณะโรแมนติคไดอยางชัดเจน คือ อุปรากรเรื่อง Oberon ตอจากนั้นงานดนตรี จากคีตกวีอื่น ๆ ท่ีตามมากลายเปนโรแมนติคอยางสมบูรณ เชน Chopin, Schumann, Liszt, Wagner, Verdi,Brahms Tchaikovski เปนตน

4. การแตงเพลงใชแบบแผนในสมัยคลาสสิคท้ังสิ้น เชน Sonata, Symphony Concerto หรือ Overture ขอแตกตางคือแตงเพลงดวยอารมณ จินตนาการและความรูสึกท่ีเศรา รันทด ดีใจ โกรธอยางสุดขีดใชจังหวะ (Rhythm) แปลกออกไป มีการกระแทกเนนเสียงดัง หนักรุนแรง และผอนเบาทันทีอยางชัดเจนใชคอรดเสียงกระดาง (Discord) เขามาผสมคอรดเสียงไพเราะ(Concord) เพื่อเพิ่มความคมเขม ใหกับบทเพลง

5. สับเปล่ียนเครื่องดนตรีในวงแสดงสีสันของเสียงอยางเต็มท่ี ใชบันไดเสียง Chromatic สอดแทรกบันไดเสียง Major และ Minor มีผลทําใหบทเพลงใหความรูสึกสะเทือนอารมณมากขึ้น

C Chromatic

C Major

6. ทํานองเพลงโรแมนติค มีอิทธิพลแกความรูสึกทางใจ

7. คีตกวีมีความคิดเปนของตนเองในการสราง ผลงานผลิตงานตอบสนองตนเอง และชนชั้นกลาง

8. วงดุริยางคขยายใหญขึ้น

101 - Serenade_Schubert

9. ลวดลายการประพันธเปน Homophony10. เพลงบรรเลงไดรับความนิยม11. เรื่องราวเคาโครงเรื่องของอุปรากร บัลเลต ไดจาก

ตํานานหรือนิทานโบราณ- เทวนิยาย (ยักษ, วีรบุรุษ, ภูติผีปศาจ, แมมด)- เรื่องประหลาดมหัศจรรย

รูปพรรณหรือลวดลายการบรรเลง(texture)Monophonic texture 0003 - Gregorian Chant (Salve Regina)

Polyphonic texture

Homophonic texture

0021 - Brandenburg Concerto No.5 in D (Allegro) BWV 1050_Bach

020 - HUNGARIAN DANCES NO.5

C Am F G7

Heterophonic texture(ลักษณะรูปพรรณของดนตรีไทย)

ดนตรียุคโรแมนติคตอนปลาย(ประมาณ ค.ศ.1875-1900)ดนตรีโรแมนติคแตกแขนงออกเปน 2 รูปแบบคือ1. แบบชาตินิยม(Nationalism) 2. แบบเยอรมันนิยม(Germanism)

1. แบบชาตินิยม(Nationalism) แสดงออกถึงเอกลักษณของชาติ โดยการผสมผสานเอกลักษณประจําชาติเชน เพลงพื้นบาน เครื่องดนตรีพื้นบาน จังหวะเตนรําพื้นบาน เรื่องราวของชาติตนเองเขากับดนตรี

คีตกวีแบบชาตินิยม(Nationalism) เชน Berlioz(ค.ศ.1803-1869) ชาวฝรั่งเศสGrieg(ค.ศ.1803-1869) ชาวนอรเว

Berlioz Grieg

2. แบบเยอรมันนิยม(Germanism) ลักษณะดนตรีท่ีมีเอกลักษณของชาติเยอรมันและออสเตรีย ต้ังแต Bach Handel Haydn Mozart Beethoven Schubert เปนตน ซึ่งเปนเพลงท่ีไดรับความนิยมในวงกวางสืบตอกันมา

Handel, George Frederic ค.ศ. 1685-1759

German

Haydn (1732-1809) Austrian composer

Amadeus Mozart(1756-1791)Austrian composer

BeethovenGerman Schubert

German

Bach, Johann Sebastian ค.ศ. 1685-1750

German

คีตกวีแบบเยอรมันนิยม เชน Wagner(ค.ศ.1813-1883) ชาวเยอรมัน นักแตงเพลง Conductor เพลงท่ีประพันธใชวง Symphony Orchestra ขนาดใหญเพื่อแสดงพลังเสียง มีความสามารถดานการแยกเสียงสําหรับเครื่องดนตรีมาก(Orchestration) เพลงของ Wagner ใชเครื่องดนตรีตางท่ีมีอยูในเวลานั้นมากท่ีสุด เชนเพิ่ม English Horn Clarinet ขนาดตางๆ เปนตน เขาไปในวง Symphony Orchestra

Wagner0037 - Overture_The Mastersingers of Nuremberg

Richard Wagner

เครื่องดนตรีเปยโนพัฒนาขึ้นจนไดรับความนิยมแทนท่ี

เครื่อง Keyboard อื่นๆ มีบทบาทสําคัญใชเลนเด่ียวและใชคลอประกอบเครื่องดนตรีอื่นๆ

เครื่องสายยังคงสําคัญและมีบทบาทในวง Symphony Orchestra

เครื่องลม Flute, Oboe, Clarinet, Bassoon พัฒนาไดมาตรฐาน

เครื่องทองเหลือง Trumpet, Trombone, French Hornพัฒนาไดมาตรฐาน

เครื่องเคาะจังหวะ Timpani, Cymbals, Drumsพัฒนาไดมาตรฐาน

บทเพลงและการผสมวงดนตรีบทเพลงและการผสมวงดนตรี- เพลงบรรเลงไดรับความนิยม- การผสมวงดนตรีขนาดเล็ก (Chamber Music)

บทเพลง วงดนตรี จํานวนSonata Solo 1Duo หรือ Duet Duo 2Trio String Trio 3Quartet String Quartet 4

ประเภทบทเพลง วงดนตรี จํานวนPianoPiano Sonata Solo 1

บทเพลงบทเพลง : Piano Sonata: Piano Sonataการแสดง การแสดง : Piano: Piano RecitalRecital080 - FANTASIE IMPROMPTU No.4 in C# Minor

บทเพลงบทเพลง : Violin & Piano Sonata: Violin & Piano Sonataการแสดง การแสดง : Violin & Piano: Violin & Piano RecitalRecital

ประเภทบทเพลง วงดนตรี จํานวนViolin Sonata Solo & Piano 2Sonate for Violin and Piano Violin and Piano 2

Violin Sonata No.5 In F Major, op. 24- I. Allegro

ประเภทบทเพลง วงดนตรี จํานวนDuo หรือ Duet Duo 2

บทเพลงบทเพลง :: Duet for Flute and Guitarการแสดง การแสดง :: Flute and Guitar RecitalRecital

ประเภทบทเพลง วงดนตรี จํานวนTrio for String String Trio 3

String Trio (Violin , Cello and Piano)

String Quartet (Violin I, II, Viola, Cello)

ประเภทบทเพลง วงดนตรี จํานวน(String)Quartet (String) Quartet 4

การผสมวงดนตรีขนาดใหญ เนนเครื่องสาย เครื่องลมไม เครื่องทองเหลือง และ

เครื่องกระทบจังหวะ เรียกวา Symphony Orchestra เพื่อใชบรรเลง Symphony , Concerto หรือบทเพลงประกอบละคร Opera และ Ballet

Symphony OrchestraSymphony Orchestra

0036 Tragical Overture Op.81_Brahms047 - VIOLIN CONCERTO IN E MINOR ALLEGRO MOLTO APPASSIONATO103 - Violin Concerto in D Op.61_Beethoven104 - Violin Concerto in D Op.77_Brahms

105 - Violin Concerto No.1 in G minor Op.26_Bruch020 - HUNGARIAN DANCES NO.5

075 - MEDITATION FORM THAIS0037 - Overture_The Mastersingers of Nuremberg_Richard Wagner

คีตกวีที่สําคัญChopin, Schumann, Liszt,

Chopin Schumann Liszt

ค.ศ. 1810-1849 ชาวโปแลนดค.ศ. 1810-1856 ชาวเยอรมัน ค.ศ. 1811-1886 ชาวฮังการี

080 - FANTASIE IMPROMPTUNO.4 IN C#m

110 - Traumerei_Robert Schumann

Der Nussbaum_Schumann

Les Jeux deux a la villa deste_Liszt

Liszt

Hungarian Rhapsody No 2_Liszt (Tom & Jerry)

Click Here

Wagner, Verdi, Brahms Tchaikovski

Tchaikovskiค.ศ. 1840-1893

ชาวรัสเซียน

BrahmsVerdi

Wagner

ค.ศ. 1813-1883 ชาวเยอรมัน

ค.ศ. 1813-1901 ชาวอิตาเลียนค.ศ. 1833-1897 ชาวเยอรมัน

0037 - Overture_The Mastersingers of Nuremberg_Richard Wagner

009 - SCENE OF THE SWANFROM SWAN LAKE BALLER SUITE OP.20

Waltz in A_Brahms

104 - Violin Concerto in D Op.77_Brahms

กิจกรรมชม Ballet(จินตลีลา)

Ballet_Swan Lake Tchaikovski

Beethoven (คศ.1770-1827) ชาวเยอรมัน

Beethoven-วัยเด็กไมฉายแววทางดนตรี พอบังคับ อยากใหเกงดนตรีเหมือน Mozart- ฐานะยากจน- ชีวิตลุมๆ ดอนๆ- ชีวิตรักปวดราว ปกติ เปนโสด- ผูนําในการนําดนตรีเปล่ียนจาก ยุคคลาสสิคสูยุค โรแมนติก- ผลงานมากมาย Piano Sonatas ,

Violin Concerto Symphony 9 บท, อุปรากร ฯลฯ- สุขภาพทรุดโทรม หูหนวก คิดมาก อยากฆา ตัวตาย- ปวยหนัก Shock เนื่องจากสายฟาผา บริเวณไกลเคียง ตาย

010 FUR ELISE

067 SYMPHONY NO.5 IN C MINOR OP.67 PART 1 FATE ALLEGRO CON Bio

079 PIANO SONATA NO.4 IN C SHARP MINORMOONLIGHT ADAGIO SOS

001 027 Symphony No.9 in Dm (IV) Main theme Beethoven

103 Violin Concerto in D Op.61_Beethoven

Diane Kruger – Anna Holtz Ed Harris – Ludwig van Beethoven Joe Anderson – Karl van Beethoven Ralph Riach – Wenzel Schlemmer Phyllida Law – Mother Canisius

Anna Holtz (แอนนา โฮลทซ)

กิจกรรมชมภาพยนตเรื่อง Copying Beethoven

อุปนิสัยของ Beethoven

Symphony No.9

เรียนรูคําศัพทเรียนรูคําศัพทSymphony Op. = OpusConcertoConcerto No.No. = Number= NumberOpera BWV = Bach Work Version Ballet K = KochelSonataDuo หรือ DuetTrioQuartet

เรียนรูคําศัพทเรียนรูคําศัพทConcertRecitalConductor, Baton [Fr.]

Concert MasterPiecesSong

3. กิจกรรมชม ความหมายของ Conductorตัวอยาง Conductor โดย Mr. Bean

Conductor_Mr.Bean

top related