แผนบริหารการสอนประจ าบทที่...

23
แผนบริหารการสอนประจาบทที6 เนื้อหาประจาบท บทที6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม 6.1 บทนา 6.2 ความหมายของฐานข้อมูล 6.3 ประโยชน์ของฐานข้อมูล 6.4 ขั้นตอนการค้นข้อมูล 6.5 ประเภทของฐานข้อมูล 6.6 วิธีการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล 6.7 การวิเคราะห์ผลลัพธ์การสืบค้น 6.8 การประเมินความน่าเชื่อของแหล่งข้อมูล 6.9 เว็บไซต์ของหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม 6.10 บทสรุป 6.11 คาถามท้ายบท เอกสารอ้างอิง วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาจะมีความสามารถในเรื่องต่อไปนี1. อธิบายความหมายของฐานข้อมูล 2. อธิบายประโยชน์ของฐานข้อมูล 3. อธิบายประเภทของฐานข้อมูล 4. อธิบายความน่าเชื่อของแหล่งข้อมูล กิจกรรมการเรียนการสอน 1. บรรยาย อภิปราย และซักถามระหว่างการเรียน 2. แบ่งกลุ่มนักศึกษาเพื่อทาการฝึกสืบค้นข้อมูล 3. อภิปรายหน้าชั้นเรียน และนาเสนองานที่ได้รับมอบหมาย สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เอกสารวิชาการ 3. แผ่นภาพ 4. โปรแกรมสาเร็จรูปคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต

Upload: others

Post on 01-Aug-2020

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6

เนื้อหาประจ าบท บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม 6.1 บทน า 6.2 ความหมายของฐานข้อมูล 6.3 ประโยชน์ของฐานข้อมูล 6.4 ขั้นตอนการค้นข้อมูล 6.5 ประเภทของฐานข้อมูล 6.6 วิธีการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล 6.7 การวิเคราะห์ผลลัพธ์การสืบค้น 6.8 การประเมินความน่าเชื่อของแหล่งข้อมูล 6.9 เว็บไซต์ของหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม 6.10 บทสรุป 6.11 ค าถามท้ายบท เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

เมื่อเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาจะมีความสามารถในเรื่องต่อไปนี้ 1. อธิบายความหมายของฐานข้อมูล 2. อธิบายประโยชน์ของฐานข้อมูล 3. อธิบายประเภทของฐานข้อมูล 4. อธิบายความน่าเชื่อของแหล่งข้อมูล

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. บรรยาย อภิปราย และซักถามระหว่างการเรียน 2. แบ่งกลุ่มนักศึกษาเพ่ือท าการฝึกสืบค้นข้อมูล 3. อภิปรายหน้าชั้นเรียน และน าเสนองานที่ได้รับมอบหมาย

สื่อการเรียนการสอน

1. เอกสารประกอบการสอน 2. เอกสารวิชาการ 3. แผ่นภาพ 4. โปรแกรมส าเร็จรูปคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต

Page 2: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

170

การวัดผลและประเมินผล 1. การเข้าชั้นเรียนและสังเกตจากการฟังบรรยาย 2. การซักถามระหว่างเรียน 3. การสังเกตทักษะในการสืบค้นข้อมูล 4. การตรวจรายงานและการบ้าน 5. การท าแบบฝึกหัดก่อนและหลังการเรียน

Page 3: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

171

บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

6.1 บทน า สารสนเทศ (information) มีความส าคัญเกี่ยวข้องกับการด ารงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แสวงหาสารสนเทศเพ่ือตอบสนองวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพ่ือการด าเนินชีวิตประจ าวัน เพ่ือการปฏิบัติงานตาม ภารกิจของตน เพ่ือติดตามข่าวสารและพัฒนาความรู้ และเพ่ือความบันเทิง เป็นต้น ในการแสวงหาสารสนเทศอาจจากได้แหล่งต่างๆ เช่น แหล่งบุคคล แหล่งสถาบัน แหล่งสื่อต่างๆ ได้แก่ สื่อตีพิมพ์ สื่อไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตามปัญหาที่ประสบ คือ สารสนเทศมีปริมาณมากมายมหาศาล และทวีจ านวนเพ่ิมขึ้นทุกวันอย่างรวดเร็ว ประกอบกับข้อจ ากัดด้านเวลา ภาษาและสถานที่ ท าให้ไม่สามารถติดตามสารสนเทศที่สนใจได้หมด แหล่งที่จะอ านวยความสะดวกมากที่สุดที่ท าให้เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ คือ แหล่งสารสนเทศที่เป็นทางการและเป็นระบบซึ่งท าหน้าที่จัดรวบรวมสารสนเทศและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และสามารถสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ระบบสารสนเทศ (information system) (Manning et al., 2008) การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้แก่ ข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมโดยผ่านสื่อต่างๆ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และเกิดการน าไปใช้ และเห็นความส าคัญของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนสร้างจิตส านึกในการบริโภคและใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า น าไปสู่การอนุรักษท์รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันสารสนเทศจัดเก็บในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นระบบเพ่ือสามารถค้นและน าไปใช้ได้ตามความต้องการ โดยส่วนใหญ่จัดเก็บในรูปของฐานข้อมูลที่อ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ การค้นฐานข้อมูลเหล่านี้จะเป็นการค้นด้วยชุดค าสั่งส าเร็จที่ผู้จัดท าฐานข้อมูลสร้างชุดค าสั่ง การค้นทีไ่ม่ซับซ้อนและเอ้ือประโยชน์ต่อการใช้ข้อมูลในฐานเพื่อการศึกษาค้นคว้า รายละเอียดที่ได้จากการค้นฐานข้อมูลแต่ละฐานนั้นส่วนใหญ่ประกอบด้วยบรรณานุกรมและสาระสังเขป แต่มีบางฐานข้อมูลที่ให้เอกสารฉบับเต็มเพ่ิมด้วยเพ่ือเป็นการอ านวยความสะดวกให้กับผู้ใช้มากที่สุด โดยไม่ต้องเสียเวลาค้นหาเอกสารฉบับเต็ม ฐานข้อมูลแต่ละฐานอาจมีวิธีการค้นและหน้าจอและการแสดงผลที่แตกต่างกันตามลักษณะของซอฟต์แวร์ แต่โดยส่วนใหญ่ทุกฐานล้วนมีแนวคิดและกระบวนการค้นที่เหมือนกัน (Awad and Ghaziri, 2004) ดังนั้นจึงควรศึกษากระบวนการค้นฐานข้อมูลประเภทต่างๆ ซึ่งจะท าให้ได้รับผลการค้นที่ตรงกับความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เพ่ือประโยชน์ในการสืบค้นข้อมูลต่อไป การสืบค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมจึงเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาที่เรียนรายวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและผู้ที่สนใจทั่วไป เพ่ือสามารถน าความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การวิจัย รวมทั้งใช้การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชีวิตประจ าวันต่อไป 6.2 ความหมายของฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (database) มาจากค า 2 ค า คือ data และ base โดยค าว่า data คือ ทรัพยากรที่ประกอบด้วยข้อเท็จจริงที่มีปริมาณมาก สามารถเพ่ิมขึ้นและเปลี่ยนแปลงได้ในขณะที่ base คือ สิ่งที่เป็นฐานให้สร้างต่อขึ้นไปได ้(ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ, 2548) ดังนั้น เมื่อค าว่า database มารวมกันและน ามาใช้ในวงการสารสนเทศมีความหมายดังนี้ ฐานข้อมูล หรือ database เป็นแหล่งที่จัดเก็บสารสนเทศซึ่งอยู่ในรูปแฟ้มข้อมูลที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประมวลผลอ่ืนในการเรียกอ่านข้อมูล ข้อมูลในฐานข้อมูล

Page 4: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

172

อาจจะเป็นตัวเลข รายการอ้างอิงทางบรรณานุกรม บทคัดย่อ ข้อมูลเต็มรูปของบทความ รายงานทางวิชาการ บทความในสารานุกรม ฐานข้อมูลจ าแนกตามลักษณะการจัดเก็บ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 6.2.1 ฐานข้อมูลเต็มรูป (full text) ฐานข้อมูลเต็มรูป คือ ฐานข้อมูลที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลซึ่งเป็นเนื้อหาสาระสมบูรณ์ตามที่ปรากฏอยู่เต็ม โดยไม่มีการตัดหรือย่อจากฐานข้อมูลนี้ ผู้ค้นจะสามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีอยู่ไม่ว่าจะเป็นสารานุกรม กฎหมาย ข่าวหนังสือพิมพ์ คุณสมบัติทางเคมี สิทธิบัตร ข้อมูลประชากร ฐานข้อมูลประเภทนี้ใช้ในการตอบค าถามทั่วไป ซึ่งจะให้ข้อมูลเนื้อหาเบื้องต้นแก่ผู้ใช้ และพบได้ทั้งในรูปออนไลน์และออฟไลน์ เช่น CHEMSEARCH, Academic American Encyclopedia รวมทั้งฐานข้อมูลที่พบในอินเทอร์เน็ต 6.2.2 ฐานข้อมูลอ้างอิง (reference database) เป็นฐานข้อมูลอักขระ ประกอบด้วย รายละเอียดทางบรรณานุกรม หรือดรรชนีแหล่งที่มาของสารสนเทศ โดยมุ่งเน้นที่จะช่วยให้ผู้ใช้ทราบว่า ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการสามารถหาได้จากสิ่งพิมพ์ใดบ้าง และสิ่งพิมพ์นั้นอยู่ที่ใด โดยผู้ใช้จะไม่ได้เนื้อหาของข้อมูลเหมือนกับฐานข้อมูลประเภทแรก ฐานข้อมูลประเภทนี้จึงถูกเปรียบเสมือนลายแทงให้เข้าไปถึงเนื้อหาทางภูมิปัญญา เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด ดรรชนีวารสารไทย MEDLINE และ ERIC เป็นต้น 6.2.3 ธนาคารข้อมูล (data bank) เป็นฐานข้อมูลเชิงตัวเลขในรูปของสถิติ กราฟ ตาราง และข้อมูลดิบฐานข้อมูลประเภทนี้ให้ค าตอบโดยตรง โดยไม่ต้องอ้างอิงไปยังเอกสารต้นแหล่ง 6.3 ประโยชน์ของฐานข้อมูล

6.3.1 จัดเก็บสารสนเทศได้ในปริมาณสูงท าให้ประหยัดเนื้อท่ีในการจัดเก็บมากกว่าเก็บในกระดาษ 6.3.2 จัดเก็บสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ท าให้เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็วและมี

ประสิทธิภาพกว่าการค้นด้วยมือ ทั้งยังเป็นการช่วยประหยัดเวลาในการค้นหา 6.3.3 ปรับปรุงและแก้ไขสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ท าให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง

และทันสมัยเสมอ 6.3.4 เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกลได้โดยระบบออนไลน์ ท าให้ผู้ใช้เข้าถึง ข้อมูลได้อย่าง

กว้างขวาง โดยไม่ต้องเดินทางไปค้นหาจากหลายแหล่ง 6.3.5 มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าระบบโทรคมนาคมที่ทันสมัย ท าให้ฐานข้อมูลแพร่หลายและ

สามารถจัดหาไดง่้ายจากทั่วโลก 6.4 ขั้นตอนการค้นข้อมูล ในการค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลประเภทต่างๆ มีขั้นตอนและเทคนิคส าหรับการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ กระบวนการค้นเป็นการวางแผนการค้นสารสนเทศอย่างเป็นขั้นตอน เพ่ือให้ได้ค าศัพท์ที่แทนความต้องการสารสนเทศ การก าหนดกลยุทธ์การค้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม ช่วยให้ได้รับผลการค้นที่ตรงกับความต้องการและผลการค้นมีจ านวนไม่มากหรือน้อยเกินไป (สมพร พุทธาพิทักษ์ผล, 2545) กระบวนการค้นสารสนเทศมีขั้นตอน ดังนี้ 6.4.1 การท าความเข้าใจกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ เป็นการพิจารณาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้

Page 5: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

173

6.4.2 การคัดเลือกฐานข้อมูลที่เหมาะสม ได้แก่ ขอบเขต ความทันสมัยของฐานข้อมูล ระยะเวลาที่ครอบคลุมสารสนเทศทั้งหมดในฐานข้อมูล เนื้อหาสาระของระเบียนข้อมูล วิธีการจัดท าศัพท์ดรรชนี เป็นต้น 6.4.3 การก าหนดค าค้นแทนความต้องการสารสนเทศ เมื่อได้ประเด็นเนื้อหาของความต้องการแล้ว ต้องเลือกค าศัพท์มาแทนความต้องการสารสนเทศ ซึ่งค าศัพท์ดังกล่าวอาจเรียกว่า ค าค้น (Keyword) เพ่ือใช้ในการค้นสารสนเทศ 6.4.4 การก าหนดกลยุทธ์การค้น มักอยู่ในรูปข้อค าถามท่ีประกอบด้วยค าค้น โดยกลยุทธ์การค้นมักจะขึ้นอยู่กับวิธีการท างานของระบบที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลสารสนเทศนั้น 6.4.5 การด าเนินการค้นและทบทวนผลการค้น การด าเนินการค้นจะเป็นลักษณะโต้ตอบระหว่างผู้ค้นและระบบคอมพิวเตอร์ ดังนั้นผู้ค้นจึงควรทบทวนผลการค้นที่ได้รับทันทีว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ ถ้าไม่ตรงกับความต้องการควรปรับปรุงวิธีการค้นใหม่เพ่ือให้ได้ผลการค้นที่พอใจมากท่ีสุด 6.5 ประเภทของฐานข้อมูล ฐานข้อมูลที่ควรให้ความสนใจ เพราะมีความส าคัญต่อการศึกษา ได้แก่ ฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด ฐานข้อมูลที่ห้องสมุดพัฒนาขึ้นเอง ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งปัจจุบันสามารถค้นสารสนเทศผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รายละเอียดของแต่ละฐานข้อมูลและการค้น มีรายละเอียด ดังนี้ 6.5.1 ฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด ฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด เป็นรายการทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทที่จัดให้บริการในห้องสมุด ซึ่งห้องสมุดแต่ละสถาบันจะใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่แตกต่างกัน แต่ช่องทางการค้นฐานข้อมูลจะใช้การค้นออนไลน์หรืออาจเรียกโดยย่อว่า โอแพค (OPAC) หรือระบบการสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดด้วยคอมพิวเตอร์ (On-line Public Access Catalog : OPAC) (ภาพที่ 6.1) OPAC คือ การน าคอมพิวเตอร์มาใช้ในการค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการในห้องสมุดแทนการค้นจากบัตรรายการแบบเดิม แต่ละระบบจะมีหลักการค้นที่ไม่แตกต่างกัน สิ่งจ าเป็นที่ควรรู้จัก ได้แก่ เว็บไซต์ของห้องสมุดสถาบันที่จะเข้าไปค้นและการเข้ าสู่ทางเลือกการค้นโอแพค ส่วนรายละเอียดของข้อมูลที่จะน ามาใช้ประโยชน์เพ่ือการค้นหาตัวเล่ม ได้แก่ รายละเอียดของข้อมูลรายเล่มที่ประกอบด้วย CALL NO หมายถึง เลขเรียกหนังสือ AUTHOR หมายถึง ชื่อผู้แต่ง TITLE หมายถึง ชื่อหนังสือ PUBLICATION หมายถึง สถานที่พิมพ์ ส านักพิมพ์ และปีที่พิมพ์ LOCATION หมายถึง สถานที่จัดเก็บหนังสือ STATUS หมายถึง สถานะของหนังสือ AVAILABLE หมายถึง การยืมหนังสือ ในที่นี้หมายถึง ไม่มีผู้ยืม หากมีการยืม จะมีรายละเอียดว่า Due ….. หมายถึง หนังสือเล่มนั้นถูกยืมออกโดยระบุวันก าหนดส่ง

Page 6: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

174

ภาพที่ 6.1 ระบบการสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดด้วยคอมพิวเตอร์ (ที่มา: http://opac-library.psru.ac.th/index.html)

6.5.2 ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ให้บริการผ่านเครือข่ายของมหาวิทยาลัย ครอบคลุมสาขาวิชาต่างๆ บางฐานข้อมูลให้เฉพาะรายการบรรณานุกรมและสาระสังเขป แต่บางฐานข้อมูลให้เอกสารฉบับเต็ม โดยสามารถ เข้ า ใ ช้ ฐ านข้ อมู ล ได้ ที่ เ ว็ บ ไซต์ ส านั ก วิ ทย าบริ ก า รและ เทค โน โลยี ส า รสน เทศ(http://library.psru.ac.th) โดยเลือกเมนู “ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Databases)” ซึ่งประกอบด้วยฐานขอ้มูลแบ่งตามกลุ่มสาขาวิชา ดังนี้

ภาพที่ 6.2 ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (ที่มา: http://library.psru.ac.th)

Page 7: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

175

1) กลุ่มสหสาขาวิชา 1.1) ฐานข้อมูล ScienceDirect เป็นฐานข้อมูลหนังสือและบทความวารสารทุกสาขาวิชา ผลการค้นให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) เป็นฐานข้อมูลที่ครอบคลุมสาขาวิชา Physical Sciences and Engineering, Life Sciences, Health Sciences, Social Sciences and Humanities โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลโดยเลือก “ScienceDirect”

ภาพที่ 6.3 ฐานข้อมูล ScienceDirect (ที่มา: http://www.sciencedirect.com)

1.2) ฐานข้อมูล H.W. Wilson เป็นฐานข้อมูลดรรชนี สาระสังเขปและเอกสารฉบับเต็มครอบคลุมทุกสาขาวิชา ดังนี้ Applied Science & Technology, Art, Business, Education, General Science, Humanities, Library and Information Science, Social Sciences, Law, General Interest, Biological & Agricultural Science เข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “H.W. Wilson

ภาพที่ 6.4 ฐานข้อมูล H.W. Wilson (ที่มา: http://www.ebscohost.com/wilson)

Page 8: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

176

1.3) ฐานข้อมูล ISI Web of Science เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปพร้อมการอ้างอิงและอ้างถึง ครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ จากวารสาร ประมาณ 9,200 รายชื่อ ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 2001 - ปัจจุบัน โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “ISI Web of Science”

ภาพที่ 6.5 ฐานข้อมูล ISI Web of Science (ที่มา: http://apps.webofknowledge.com)

1.4) ฐานข้อมูล ABI/INFORM เป็นฐานข้อมูลด้านบริหารจัดการ และสาขาอ่ืนที่เกี่ยวข้องจากวารสารและเอกสารอ่ืนๆ ผลการค้น ให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “ABI/INFORM”

ภาพที่ 6.6 ฐานข้อมูล ABI/INFORM (ที่มา: http://www.proquest.com/en-US/catalogs/databases/detail/abi_inform.shtml)

Page 9: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

177

1.5) ฐานข้อมูล Emerald eJournal เป็นฐานข้อมูลบทความวารสารอิเล็กทรอนิกส์ของส านักพิมพ์ MCB University Press ครอบคลุมบทความวารสารด้านการจัดการห้องสมุดและบริการสารสนเทศรวมถึงด้านวิศวกรรม เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ผลการค้นให้ข้อมูลรายกา รบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “Emerald eJournal”

ภาพที่ 6.7 ฐานข้อมูล Emerald eJournal (ที่มา: http://www.emeraldinsight.com)

1.6) ฐานข้อมูล Academic Search Premier เป็นฐานข้อมูลครอบคลุมสหสาขาวิชาทั้งสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ผลการค้นให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม และมีสิ่งพิมพ์ประเภท Peer Review โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล เลือก “Academic Search Premier”

ภาพที่ 6.8 ฐานข้อมูล Academic Search Premier

(ที่มา: http://ehis.ebscohost.com)

Page 10: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

178

1.7) ฐานข้อมูล SprinkgerLink เป็นฐานข้อมูลวารสารและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สหสาขาวิชา ให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “SprinkgerLink”

ภาพที่ 6.9 ฐานข้อมูล SprinkgerLink

(ที่มา: http://link.springer.com)

2) กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2.1) ฐานข้อมูล Education Research Complete เป็นฐานข้อมูลด้านการศึกษา ครอบคลุมงานวิจัยด้านการศึกษาและสาขาที่เกี่ยวข้อง ผลการค้นให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “Education Research Complete”

ภาพที่ 6.10 ฐานข้อมูล Education Research Complete (ที่มา: http://ehis.ebscohost.com)

Page 11: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

179

2.2) ฐานข้อมูล Kluwer Arbitration เป็นฐานข้อมูลเฉพาะด้านอนุญาโตตุลาการ ข้อมูลทางด้านกฎหมายและกรณีศึกษาใน International Council For Commercial Arbitration (ICCA) และ ASA Bulletin Asian International Arbitration ผลการค้นให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “Kluwer Arbitration”

ภาพที่ 6.11 ฐานข้อมูล Kluwer Arbitration (ที่มา: http://www.kluwerarbitration.com)

3) กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3.1) ฐานข้อมูล CINAHL Plus with Full Text เป็นฐานข้อมูลด้านการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพ และมนุษยนิเวศศาสตร์ ประกอบด้วย บทความวารสาร หนังสือ โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “CINAHL Plus with Full Text”

ภาพที่ 6.12 ฐานข้อมูล CINAHL Plus with Full Text (ที่มา: http://www.ebscohost.com/academic/cinahl-plus-with-full-text)

Page 12: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

180

3.2) ฐานข้อมูล ACM Digital Library เป็นฐานข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ผลการค้นให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “ACM Digital Library”

ภาพที่ 6.13 ฐานข้อมูล ACM Digital Library (ที่มา: http://dl.acm.org/dl.cfm)

3.3) ฐานข้อมูล Computer & Applied Sciences Complete เป็นฐานข้อมูลด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ผลการค้นให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “Computer & Applied Sciences Complete”

ภาพที่ 6.14 ฐานข้อมูล Computer & Applied Sciences Complete (ที่มา: http://ehis.ebscohost.com)

Page 13: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

181

3.4) ฐานข้อมูล American Chemical Society Journal (ACS) เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์จากส านักพิมพ์ The American Chemical Society ครอบคลุมสาขาวิชาเคมีและสาขาอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “American Chemical Society Journal (ACS)”

ภาพที่ 6.15 ฐานข้อมูล American Chemical Society Journal (ที่มา: http://pubs.acs.org)

6.5.3 ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ ให้บริการผ่านเครือข่ายมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ผลการค้นในแต่ละระเบียน ให้รายละเอียด ได้แก่ สถาบัน ปีที่ จ านวนหน้า ระดับปริญญา ชื่อนิสิต/นักศึกษา ชื่อวิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษา บทคัดย่อ และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ส านักวิทยาบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “Online Databases” ซึ่งประกอบด้วยฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ที่ส าคัญ ดังนี้ 1) ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์สถาบันอุดมศึกษา (Thai Digital Collection) เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความวารสาร เอกสารจดหมายเหตุ และหนังสือหายากของไทยที่มีให้บริการในห้องสมุดมหาวิทยาลัยหรือสถาบันต่างๆ ในประเทศไทยที่ เป็นสมาชิกของเครือข่ ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (ThaiLIS) ผลการค้นให้ข้อมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “Thai Digital Collection (TDC)”

Page 14: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

182

ภาพที่ 6.16 ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์สถาบันอุดมศึกษา (ที่มา: http://tdc.thailis.or.th/tdc)

2) ฐานข้อมูล ProQuest Digital Dissertation เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและปริญญาเอกของมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก ครอบคลุมทุกสาขาวิชา โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “ProQuest Digital Dissertation”

ภาพที่ 6.17 ฐานข้อมูล ProQuest Digital Dissertation (ที่มา: http://search.proquest.com)

Page 15: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

183

3) ฐานข้อมูล Dissertation Full Text เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็มระดับปริญญาเอก/โทของสหรัฐอเมริกา แคนาดาประเทศในยุโรป และที่อ่ืนๆ ประมาณ 600 สถาบัน ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ให้ข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม โดยสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูล โดยเลือก “Dissertation Full Text”

ภาพที่ 6.18 ฐานข้อมูล Dissertation Full Text (ที่มา: http://search.proquest.com)

6.5.4 โปรแกรมค้นหา (search engines) สารสนเทศโดยทั่วไปบนเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web : WWW.) อาจเป็นได้ทั้งตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ หรือแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ หน่วยงานต่างๆ ในปัจจุบันนิยมเผยแพร่ข้อมูลเหล่านี้ผ่านระบบเวิลด์ไวด์เว็บในอินเทอร์เน็ต หน่วยงานดังกล่าวมีทั้งที่เป็นส่วนราชการ สถาบันการศึกษา เอกชน และบุคคลทั่วไปและมีวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้ใช้จ าเป็นต้องพิจารณาความถูกต้องและน่าเชื่อถือของข้อมูลก่อนน าสารสนเทศที่สืบค้นได้จากอินเทอร์เน็ตมาใช้ การค้นหาสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตโดยผ่านทางเวิลด์ไวด์เว็บนั้น มีเครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศที่เรียกว่า โปรแกรมค้นหา การสืบค้นสารสนเทศด้วยโปรแกรมค้นหา การสืบค้นด้วยค าส าคัญ (keyword) ดังตัวอย่างเช่น Google scholar บริการสืบค้นบทความทางวิชาการจากสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ ได้แก่ peer-reviewed journals วิทยานิพนธ์ หนังสือ รายงานการวิจัย จากส านักพิมพ์ สมาคม มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีของ Google

Page 16: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

184

ภาพที่ 6.19 โปรแกรมค้นหา Google scholar

(ที่มา: http://scholar.google.co.th) 6.6 วิธีการค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ปัจจุบันมีฐานข้อมูลประเภทต่างๆ ทั้งฐานข้อมูลเฉพาะวิชา และสหสาขาวิชา รวมทั้งเป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และฐานข้อมูลหนังสืออิเ ล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลประเภทต่างๆ นี้ให้บริการการอยู่บนเครือข่ายมหาวิทยาลัย โดยทั่วไปแล้ววิธีการค้นของแต่ละฐานข้อมูลจะไม่แตกต่างกันมากนัก ซึ่งประกอบด้วยวิธีการค้นหลักๆ ดังนี้ (ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552) 6.6.1 เลือกวิธีการค้น โดยท่ัวไปการค้นจะประกอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่ 1) การค้นแบบง่าย (basic search) เป็นการค้นจากเขตข้อมูลใดเขตข้อมูลหนึ่งโดยตรง เช่น ชื่อผู้แต่ง (author) ชื่อเรื่อง (title) หรือหัวเรื่อง (subject) เป็นต้น 1.1) ชื่อผู้แต่ง (author) เป็นการค้นหาโดยใช้ชื่อของบุคคล กลุ่มบุคคล นามปากกา หรือชื่อหน่วยงาน/องค์กร ที่เป็นผู้แต่งหรือเขียนหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ 1.2) ชื่อเรื่อง (title) เป็น การค้นหาข้อมูล ด้วยชื่อเรื่อง เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ชื่อเรื่องสั้น นวนิยาย ชื่องานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ การค้นโดยใช้ชื่อเรื่องนี้ เป็นการค้นหาแบบเจาะจง ดังนั้นผู้ค้นต้องรู้จักชื่อเรื่อง หลักการค้นหาด้วยชื่อเรื่องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ใช้หลักการเดียวกัน คือ ค้นหาตามชื่อนั้นๆ ได้เลย โดยระบบจะท าการค้นหาจากชื่อเรื่อง เริ่ มจากอักษรตัวแรกและตัวถัดไปตามล าดับ 1.3) หัวเรื่อง (subject heading) คือ ค าหรือวลีที่ก าหนดขึ้นมา เพ่ือใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์หรือทรัพยากรสารสนเทศ หัวเรื่องท่ีใช้ในการค้นหานั้น โดยปกติแล้ว จะน ามาจากคู่มือหัวเรื่องที่ใช้กันเป็นมาตรฐานในห้องสมุดหรือหน่วยงานที่ให้ บริการสารสนเทศ ทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ 1.4) ค าสืบค้น (keywords) คือ การค้นหาด้วยค าหรือวลีที่ก าหนดขึ้นมา เพ่ือใช้แทนเรื่องที่ต้องการค้นหา โดยทั่วไปค าส าคัญจะมีลักษณะที่สั้น กะทัดรัด ได้ใจความ มีความหมาย เป็นค านามหรือเป็นศัพท์เฉพาะในแต่ละสาขาวิชา ยกตัวอย่าง การก าหนดค าส าคัญเพ่ือใช้สืบค้น เช่น รายงานการวิจัย เรื่อง มลพิษทางอากาศภายในโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก

Page 17: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

185

2) การค้นแบบลึก (advanced search) เป็นการค้นที่สามารถก าหนดเขตข้อมูล/ทางเลือกเพ่ิมเติมได้ เช่น การก าหนดเขตข้อมูล ได้แก่ การระบุภาษา หรือ การระบุปีพิมพ์ของเอกสารและการใช้ค าเชื่อม and, or และ not หรือการใช้เครื่องหมาย * หรือเครื่องหมาย ! เพ่ือการตัดค า เพ่ือให้ได้ผลการค้นที่ตรงกับความต้องการมากข้ึน 2.1) การสืบค้นข้อมูล โดยใช้ตรรกบูลีน (boolean logic) หรือการค้นหาโดยใช้ operator เป็นการค้นหา โดยใช้ค าเชื่อม 3 ตัว คือ AND, OR, NOT ดังนี้ 2.1.1) AND ใช้เชื่อมค าค้น เพื่อจ ากัดขอบเขตการค้นหาให้แคบลง เช่น ต้องการค้นหาค าว่า ส้มต าท่ีเป็นอาหาร มีรูปแบบการค้นดังนี้ คือ มลพิษทางดิน AND ดินเค็ม หมายถึง ต้องการค้นหาค าว่า มลพิษทางดิน และค าว่า ดินเค็ม 2.1.2) OR ใช้เชื่อมค าค้น เพ่ือขยายขอบเขตให้กว้างขึ้น เช่น ดินเค็ม OR ดินเปรี้ยว หมายถึง ต้องการค้นหาค าว่า ดินเค็ม และ ดินเปรี้ยว หรือค้นหาค าใดค าหนึ่งก็ได้

2.1.3) NOT ใช้เชื่อมค าค้น เพ่ือจ ากัดขอบเขตให้แคบลง เช่น ต้องการค้นหาค าว่า ดิน AND เปรี้ยว NOT อาหาร หมายถึง ต้องการค้นหา ค าว่า เปรี้ยว เฉพาะที่เป็น ดิน ไมใ่ช่ อาหารเปรี้ยว เป็นต้น

2.1.4) NEAR ใช้เมื่อต้องการให้ค าที่ก าหนดอยู่ห่างจากกันไม่เกิน 10 ค า ในประโยคเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน (อยู่ด้านหน้าหรือหลังก็ได้) เช่น research NEAR natural resources ข้อมูลที่ได้จะมีค าว่า research และ natural resources ที่ห่างกันไม่เกิน 10 ค า ตัวอย่างเช่น research on the natural resources in Thailand

2.1.5) BEFORE ใช้เมื่อต้องการก าหนดให้ค าแรกปรากฏอยู่ข้างหน้าค าหลังในระยะห่างไม่เกิน 8 ค า เช่น research BEFORE natural resources

2.1.6) AFTER ใช้เมื่อต้องการก าหนดให้ค าแรกปรากฏอยู่ข้างหลังค าหลังในระยะห่างไม่เกิน 8 ค า เช่น research AFTER natural resources

2.1.7) (parentheses) ใช้เมื่อต้องการก าหนดให้ท าตามค าสั่งภายในวงเล็บก่อนค าสั่งภายนอก เช่น (research OR quantitative) and natural resources 2.2) การค้นวลี (phrase searching) เป็นการใช้เครื่องหมายอัญประกาศ (“ ”) เมื่อต้องการก าหนดให้ค้นเฉพาะหน้าเอกสารที่มีการเรียงล าดับค าตามที่ก าหนด เท่านั้น เช่น “pollution research” 2.3) การตัดค า (Word stemming/Truncation) เป็นการใช้เครื่องหมาย asterisk (*) ตามท้ายค า 3 ค าข้ึนไป เพ่ือค้นหาค าท่ีขึ้นต้นด้วยตัวอักษรที่ก าหนด เช่น research* 2.4) ค าพ้องความหมาย (synonym) เป็นการใช้ค าเหมือนที่มีความหมายเดียวกันหรือใกล้เคียงกันเพ่ือช่วยให้ค้นเรื่องท่ีครอบคลุม เช่น World/Globe/Earth 2.5) เขตข้อมูลเพ่ือการค้น (field searching) เป็นการก าหนดเขตข้อมูลเพ่ือ การค้น เช่น ชนิดของข้อมูล หรือท่ีอยู่ของข้อมูล เป็นต้น เช่น text: “satellite” url: NASA 2.6) ตัวเล็กตัวใหญ่ถือว่าต่างกัน (case sensitive) เป็นการใช้ตัวอักษรใหญ่กับตัวเล็กในความหมายที่แตกต่างกัน เช่น ใช้ตัวอักษรใหญ่ขึ้นต้นชื่อเฉพาะ เช่น George W. Bush 2.7) ภาษาธรรมชาติ (natural language) เป็นการสืบค้นจากค าถามที่เป็นภาษาธรรมชาติ เช่น ใช้ค าถามภาษาอังกฤษง่ายๆ ที่ต้องการให้ search Engine หาค าตอบให้ เช่น What is pollution?

Page 18: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

186

6.6.2 ป้อนค าค้นในช่องค าค้น (search box) โดยสามารถใส่ค าเดียวโดดๆ วลี หรือ ค าหลายค าที่เชื่อมต่อกันตามค าเชื่อมที่ใช้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระบบการค้นของแต่ละฐานข้อมูล 6.6.3 ทบทวนกลยุทธ์การค้นเบื้องต้น โดยปกติระบบจะแสดงผลการค้นเป็นตัวเลขจ านวนระเบียนที่พบ ซึ่งอาจมีตั้งแต่ศูนย์ หลักสิบ หรือหลักร้อย ในกรณีผลการค้นที่ได้มีน้อย หรือมากเกินไป ควรทบทวน กลยุทธ์การค้นใหม่ โดยเริ่มตั้งแต่การเลือกฐานข้อมูล การเลือกประเภทการค้น การป้อนค าค้นใหม่ และการก าหนดเขตข้อมูล 6.6.4 ส ารวจเลือกดูผลการค้น เมื่อได้ผลการค้นอยู่ในระดับที่พอใจแล้ว ให้คลิกเลือกรายการที่ค้นได้ โดยสามารถก าหนดให้ระบบแสดงรายละเอียดผลการค้นในระดับที่แตกต่างกัน เช่น เฉพาะรายการบรรณานุกรม บรรณานุกรมพร้อมสาระสังเขป หรือเอกสารฉบับเต็ม ทั้งนี้แล้วแต่ประเภทของฐานข้อมูล 6.6.5 ตรวจดูรายการที่ค้นได้ว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ เป็นการอ่านเนื้อหาคร่าวๆ ของรายการที่ค้นได้ว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ ในบางกรณีระบบจะระบุว่ารายการล าดับต้นๆ ที่แสดงผลให้ทราบเป็นรายการที่ใกล้เคียงกับเรื่องท่ีค้นมากที่สุด 6.6.6 แสดงผลการค้น เป็นการสั่งให้ระบบแสดงผลการค้น ซึ่งอาจเป็นการสั่งให้แสดงผลบนหน้าจอ พิมพ์ลงกระดาษ ส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อมูล 6.7 การประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล การประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลเพ่ือเป็นการตรวจสอบความน่าเชื่อของแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่สืบค้นมาได้ ผู้สืบค้นสามารถประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลได้จาก 12 องค์ประกอบ (สุกัญญา ประจุศิลปะและคณะ, 2547) ดังนี้ 6.7.1 บอกวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลไว้ในเว็บไซต์ 6.7.2 การเสนอเนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลของเว็บไซต์ 6.7.3 เนื้อหาเว็บไซต์ไม่ขัดต่อกฎหมาย ศีลธรรม และจริยธรรม 6.7.4 มีการระบุชื่อผู้เขียนบทความหรือผู้ให้ข้อมูลบนเว็บไซต์ 6.7.5 มีการให้ที่อยู่ (e-mail address) ที่ผู้อ่านสามารถติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์ได้ 6.7.6 มีการอ้างอิงหรือระบุแหล่งที่มาของข้อมูลของเนื้อหาที่ปรากฏบนเว็บไซต์ 6.7.7 สามารถเชื่อมโยง (link) ไปเว็บไซต์อ่ืนที่อ้างถึงได้ 6.7.8 มีการระบุวันเวลาในการเผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์ 6.7.9 มีการระบุวันเวลาในการปรับปรุงข้อมูลครั้งล่าสุด 6.7.10 มีช่องทางให้ผู้อ่านแสดงความคิดเห็น 6.7.11 มีข้อความเตือนผู้อ่านให้ใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจใช้ข้อมูลที่ปรากฏบนเว็บไซต์ 6.7.12 มีการระบุว่า เป็นเว็บไซต์ส่วนตัวหรือระบุแหล่งที่ให้การสนับสนุนในการสร้างเว็บไซต์

Page 19: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

187

6.8 การวิเคราะห์ผลลัพธ์การสืบค้น 6.8.1 ผลลัพธ์ที่สัมพันธ์หรือตรงประเด็นกับเรื่องที่สืบค้น พิจารณาจากผลลัพธ์ที่ได้รับและก าหนดว่าพอใจกับผลลัพธ์ที่ได้จากการสืบค้นในครั้งนี้หรือไม่ ถ้าพอใจกับผลลัพธ์ที่พบนั้น เลือกเอกสารที่เนื้อหาตรงประเด็นกับหัวเรื่องที่สืบค้นมากที่สุดเก็บไว้ใน marked records เพ่ือด าเนินการ save หรือ print หรือ email ในลาดับต่อไป 6.8.2 ผลลัพธ์ที่ ไม่ สัมพันธ์หรือ ไม่ ตรงประเด็นกับเรื่องที่สืบค้น ตรวจสอบความถูกต้องของค าสะกด และตัดค าที่ไม่จ าเป็นออกไป เพ่ิมความถูกต้องความแม่นย าให้กับค าที่ใช้ในการสืบค้น เช่น ใช้ thesaurus ทบทวนการเลือกฐานข้อมูลที่ใช้ในการสืบค้นเหมาะสมกับหัวข้องานวิจัยหรือไม่ 6.8.3 ผลลัพธ์การสืบค้นพบมากหรือน้อยเกินไป เพ่ิมหรือขยายการสืบค้นให้ได้ผลลัพธ์ที่ครอบคลุมกว้างขึ้น โดยใช้ AND เพ่ือเพ่ิมจ านวนผลลัพธ์เพียงเล็กน้อย หรือ ใช้ OR เพ่ือเพ่ิมจ านวนผลลัพธ์ให้มากขึ้นกว่า AND เพ่ิมความแม่นย าให้กับค าที่ใช้ในการสืบค้น โดยเพิ่มการใช้ AND และลดการใช้ OR ให้น้อยลง

6.9 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสิ่งแวดล้อม 6.9.1 หน่วยงานราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านสิ่งแวดล้อมมีหลายหน่วยงานที่ส าคัญ ได้แก่ หน่วยงานในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเว็บไซต์ของหน่วยงานโดยทั่วไปจะกล่าวถึงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานดังกล่าว การประชาสัมพันธ์การด าเนินโครงการต่างๆ ข่าวการประชุมสัมมนา ข้อมูลการวิจัย (ทั้งในส่วนของทุนสนับสนุนงานวิจัย และผลงานวิจัย) ข้อก าหนดและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม การเผยแพร่สิ่งพิมพ์และบทความวิชาการ รวมตลอดถึง web link ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างเว็บไซต์ของหน่วยงานราชการด้านสิ่งแวดล้อมดังแสดงในตารางที่ 6.1 6.9.2 สมาคม/องค์กรอิสระทางด้านสิ่งแวดล้อม เว็บไซต์ของสมาคมและองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องกับงานสิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่จะเป็นเว็บที่เผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์โครงการและหลักสูตรฝึกอบรมที่เป็นประโยชน์ รวมทั้งเผยแพร่บทความและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานในวิชาชีพ ในที่นี้จะยกตัวอย่างมาให้ทดลองเข้าไปดูบางเว็บไซต์ ดังตาราง 6.2 6.9.3 หน่วยงานต่างประเทศทางด้านสิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่เป็นเว็บไซต์ของหน่วยงานรัฐของประเทศต่างๆ และองค์กรระหว่างประเทศที่รับผิดชอบทางด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร มาตรฐาน/ข้อก าหนดและสิ่งพิมพ์/ บทความ โดยส่วนใหญ่แล้วจะเปิดให้เข้าไปอ่านได้ นอกจากนั้นทุกเว็บไซต์จะมี web link เพ่ือเป็นประโยชน์ในการสืบค้นต่อไป ดังตาราง 6.3

Page 20: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

188

ตารางท่ี 6.1 ตัวอย่างเว็บไซต์ของหน่วยงานราชการด้านสิ่งแวดล้อม

หน่วยงาน เว็บไซต์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมทรัพยากรน้ า กรมป่าไม้ กรมทรัพยากรน้ าบาดาล กรมทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

http://www.monre.go.th http://www. oepp.go.th http://www.pcd.go.th http://www.deqp.go.th http://www.dnp.go.th http://dwr.go.th http://www.forest.go.th http://www.dgr.go.th

http://www.dmr.go.th

http://www.dmcr.go.th กระทรวงอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม ส านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สถาบันรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม ( สรอ )

http://www.industry.go.th http://www.diw.go.th http://www.tisi.go.th http://www.masci.or.th

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค ศูนย์ข้อมูลพิษวิทยา กรมอนามัย

http://www.moph.go.th http://www.ddc.moph.go.th http://webdb.dmsc.moph.go.th http://www.anamai.moph.go.th

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย http://www.ieat.go.th กระทรวงพลังงาน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน(พพ) ส านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ)

http://www.energy.go.th http://www.dmf.go.th http://www.dede.go.th http://www.eppo.go.th

Page 21: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

189

ตารางท่ี 6.2 เว็บไซต์ของสมาคมและองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องกับงานสิ่งแวดล้อม

สมาคม เว็บไซต์ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) http://www.tei.or.th

สถาบันสิ่งแวดล้อมไทยเผยแพร่กิจกรรม โครงการ/งานวิจัย วารสารของสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ซึ่งด าเนินงานในฐานะสถาบันวิชาการอิสระ รวมทั้งบทความ และ web link ที่เป็นประโยชน์

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ (TDRI)

http://www.info.tdri.or.th สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศ เผยแพร่กิจกรรม โครงการ/งานวิจัยของสถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศ ซึ่งอาจเข้าไปสืบค้นข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมส่วนหนึ่ง ได้จากฐานข้อมูลของห้องสมุดของสถาบัน

สมาคมวิศวกรสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย

http://www.eeat.or.th สมาคมวิศวกรสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย เป็นเว็บที่เผยแพร่กิจกรรม โครงการ การให้ทุนสนับสนุนงานวิจัย การประชุมสัมมนา วารสาร และสิ่งพิมพ์ของสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (EEAT)

มูลนิธิโลกสีเขียว http://www.greenworld.or.th มูลนิธิโลกสีเขียวเผยแพร่กิจกรรม ข่าวสาร นิตยสาร หนังสือและสื่อด้านสิ่งแวดล้อมของมูลนิธิ และมีรวมเว็บสิ่งแวดล้อม

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

http://www.tgo.or.th องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ขึ้นภายใต้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์หลักในการวิเคราะห์ กลั่นกรอง และท าความเห็นเกี่ยวกับการให้ค ารับรองโครงการที่ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด รวมทั้ง ติดตามประเมินผลโครงการที่ได้รับค ารับรอง ส่งเสริมการพัฒนาโครงการ และการตลาดซื้อขายปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ได้รับการรับรอง เป็นศูนย์กลางข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานการณ์ด าเนินงานด้านก๊าซเรือนกระจก จัดท าฐานข้อมูลเกี่ยวกับโครงการที่ได้รับค ารับรอง และการขายปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ ได้รับการรับรอง ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนให้ค าแนะน าแก่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเกี่ยวกับการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

Page 22: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

190

ตารางท่ี 6.3 เว็บไซต์ของหน่วยงานของต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับงานสิ่งแวดล้อม

หน่วยงาน เว็บไซต์ US Environmental Protection Agency (EPA)

http://www.epa.gov เว็บไซต์ขององค์กรพิทักษ์สิ่งแวดล้อม สหรัฐอเมริกา เป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์จ านวนมาก เช่น มาตรฐานและข้อก าหนด เอกสาร คู่มือ บทความวิชาการ เทคโนโลยี และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อม

United Nations Environment Programme (UNEP)

http://www.unep.org เว็บไซต์ที่รวบรวมและเผยแพร่ข่าวสาร การอบรมสัมมนา และโครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งเอกสารและบทความที่เป็นประโยชน์

World Health Organization (WHO)

http://www.who.int/en เว็บไซต์ที่ เผยแพร่กิจกรรม และผลงานวิจัย รายงาน ข่าวสาร บทความ รวมทั้ง web link ไปยังโครงการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและมลพิษสิ่งแวดล้อมขององค์การอนามัยโลก

Department for Environment Food and Rural Affairs (DEFRA) UK

http://www.defra.gov.uk/environment เว็บไซต์ของรัฐบาลอังกฤษด้านสิ่งแวดล้อม อาหาร และการพัฒนาชนบท สามารถเข้าไปสืบค้นข้อมูล นโยบาย ข้อก าหนด กฎหมาย ผลงานวิจัย เอกสารเผยแพร่ รวมทั้ง web link ที่เกี่ยวข้องกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมในอังกฤษ และ EU ได ้

Department of Sustainability, Environment, Water, Population and Communities, Australia

http://www.environment.gov.au เว็บไซต์ของกระทรวงสิ่งแวดล้อมของออสเตรเลีย ที่เผยแพร่นโยบาย ข้อก าหนดและกฎหมาย ผลการด าเนินงาน และเอกสารเผยแพร่ที่เป็นประโยชน์โดยจัดเป็นกลุ่มตามงาน (environmental themes) เช่น สภาพบรรยากาศ ความหลากหลายทางชีวภาพ

European Environment Agency http://www.eea.europa.eu เว็บไซต์ที่รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลด้านสิ่ งแวดล้อมของสหภาพยุโรป ประกอบด้วยการประชาสัมพันธ์กิจกรรม การประชุมสัมมนา รายงานผลการด าเนินโครงการต่างๆ

International Organization for Standardization

http://www.iso.org เว็บไซตท์ี่รวบรวมการพัฒนาและข้อมูลเกี่ยวกับระบบมาตรฐาน ISO สามารถเข้าไปสืบค้นได้ แต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ download

Page 23: แผนบริหารการสอนประจ าบทที่ 6elearning.psru.ac.th/courses/98/File7.pdf · 171 บทที่ 6 การค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

191

6.10 บทสรุป สารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อมมีปริมาณมากมายมหาศาลในอินเตอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันได้ ความรู้ที่ได้ท าให้เห็นถึงความส าคัญของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ น าไปสู่การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสร้างจิตส านึกในการบริโภคและใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า ปัจจุบันสารสนเทศจัดเก็บในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นระบบเพ่ือสามารถค้นและน าไปใช้ได้ตามความต้องการ โดยส่วนใหญ่จัดเก็บในรูปของฐานข้อมูล ดังนั้นจึงควรศึกษากระบวนการค้นฐานข้อมูลประเภทต่างๆ ซึ่งจะท าให้ได้รับผลการค้นที่ตรงกับความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เพ่ือประโยชน์ในการสืบค้นข้อมูลต่อไป การสืบค้นข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมจึงเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาที่เรียนรายวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และผู้ที่สนใจทั่วไป เพ่ือสามารถน าความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและการวิจัย รวมทั้งใช้การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่อไป 6.11 ค าถามท้ายบท

1. จงอธิบายความหมายของฐานข้อมูล 2. จงอธิบายประโยชน์ของฐานข้อมูล 3. ฐานข้อมูลมีกี่ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง 4. ถ้านักศึกษาต้องการสืบค้นข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์ จะสามารถสืบค้นในฐานข้อมูลอะไรบ้าง

(ยกตัวอย่างมา 3 ฐาน) 5. จงยกตัวอย่างเว็บไซต์ของหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในประเทศและต่างประเทศ

เอกสารอ้างอิง ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ. 2548. การจัดการสารสนเทศเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2552. การค้นคว้าและการเขียน รายงาน. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล. 2545. ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ. ในประมวล สาระชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เล่ม 1 หน่วยที่ 2. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สุกัญญา ประจุศิลป, อารีย์วรรณ อ่วมตานี และอนิรุทธ์ สติมั่น. 2547. การศึกษาการเผยแพร่ข้อมูล สุขภาพผ่านอินเทอร์เน็ต. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวงสาธารสุข. Awad, E. M., and Ghaziri, H. M. 2004. Knowledge management. USA: Pearson Education. Manning, C. D., Raghavan, P. and Schütze, H. 2008. Introduction to information retrieval. UK: Cambridge University Press.