โรงเรียนมารดาวนารักษ · ม.6 6 อนุปริญญา...

57
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปการศึกษา 2559 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนมารดาวนารักษ 283/8 หมู 5 บานโคกปราสาท ตําบลไทยเจริญ อําเภอปะคํา จังหวัดบุรีรัมย 31220 รหัสสถานศึกษา 31100013 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย เขต 3 สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน

Upload: others

Post on 03-Sep-2019

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ปการศึกษา 2559 ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

โรงเรียนมารดาวนารักษ

283/8 หมู 5 บานโคกปราสาท ตําบลไทยเจริญ อําเภอปะคํา จังหวัดบุรีรัมย 31220

รหัสสถานศึกษา 31100013

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย เขต 3

สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน

คํานํา

ตามพระราชบัญญัติการศึกษา พุทธศักราช 2542 กําหนดใหสถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายใน และถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของการบริหารการศึกษา ท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่องเปนประจําทุกป โดยใหจัดทํารายงานเสนอตอตนสังกัดและเปดเผยตอสาธารณชนไดทราบถึงสภาพและผลการดําเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และใหนําผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเปนการสรุปผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสะทอนผลการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซ่ึงเปนผลสําเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาท่ีสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายใน 4 มาตรฐาน ไดแก คุณภาพของผูเรียน กระบวนการบริหารและการจัดการของผูบริหารสถานศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ และระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผล ผลการวิเคราะหจุดเดน จุดท่ีควรพัฒนา แลระบุแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือนําเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปท่ีผานมาใหตนสังกัดและสาธารณชนไดรับทราบ และเตรียมความพรอมในการรับการประเมินคุณภาพภายนอกตอไป

ขอขอบคุณคณะผูบริหาร คณะครูและผูท่ีมีสวนเก่ียวของทุกทานในการสนับสนุนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียนมารดาวนารักษทุกทาน ท่ีมีสวนรวมในการดําเนินการประเมินคุณภาพผูเรียนในดานตาง ๆ และมีสวนรวมในการจัดทํารายงานการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาจนสําเร็จดวยดี หวังเปนอยางยิ่งวาขอสรุปจากการนําเสนอในรายงานการประเมินตนเอง จะเปนสารสนเทศท่ีสําคัญสามารถนําไปใชพัฒนาสถานศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานและดียิ่งข้ึนตอไป

คณะผูจัดทํา

โรงเรียนมารดาวนารักษ

สารบัญ

หนา

สวนท่ี 1 ขอมูลพ้ืนฐาน

ขอมูลท่ัวไป 1

ขอมูลครแูละบุคลากร 1

ขอมูลนักเรียน 2

สรุปขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา 3

ผลการทดสอบระดับชาติของผูเรียน 4

สรุปการใชแหลงเรียนรูภายในและภายนอกสถานศึกษา 12

ขอมูลงบประมาณ 13

สภาพชุมชนโดยรวม 14

สรุปผลการประเมินจากหนวยงานภายนอกและขอเสนอแนะ 14

สวนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน 30

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผูบริหารสถานศึกษา 35

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ 38

มาตรฐานท่ี 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผล 39

ผลการประเมินภาพรวม 40

สวนท่ี 3 สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาและความตองการการชวยเหลือ

สรุปผลการประเมิน 41

แนวทางการพัฒนา 43

สวนท่ี 4 ภาคผนวก

หลักฐานขอมูลสําคัญ เอกสารอางอิงตางๆ 44

ภาพกิจกรรม(เฉพาะท่ีสําคัญ) 53

สวนที่ ๑ ขอมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา

1.1ขอมูลท่ัวไป

ชื่อโรงเรียนมารดาวนารักษ ท่ีอยู 283/8 หมู 5 บานโคกปราสาท ตําบลไทยเจริญ อําเภอปะคํา จังหวัดบุรีรัมย รหัสไปรษณีย 31220 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน โทรศัพท 0-4465-4081 โทรสาร 0-4465-4337 เปดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3

๑.๒ ขอมูลบุคลากรของสถานศึกษา 1) จํานวนบุคลากร

บุคลากร ผูบริหาร ผูชวย

ผูบริหาร ครูผูสอน ครูอัตราจาง เจาหนาท่ีอ่ืนๆ

ปการศึกษา 2559 3 7 43 14 -

2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

ระดับการศึกษาสูงสุด จํานวนบุคลากร

ม.6 6

อนุปริญญา 3

ปริญญาตรี 53

ปริญญาโท 3

ปริญญาเอก 0

รวม 65

6 3

53

3 00

10

20

30

40

50

60

3) สาขาวิชาท่ีจบการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา จํานวน (คน) ภาระงานสอนเฉล่ีย

(ชม./สัปดาห) 1. บริหารการศึกษา 2 - 2. คณิตศาสตร 2 20 3. วิทยาศาสตร 3 20

สาขาวิชา จํานวน (คน) ภาระงานสอนเฉล่ีย

(ชม./สัปดาห) 4. ภาษาไทย 3 20 5. ภาษาอังกฤษ 4 20 6. สังคมศึกษา 9 20 7. การงานอาชีพและเทคโนโลย ี 8 20 8. การประถมศึกษา 4 20 9. การศึกษาปฐมวัย 7 20 10. สุขศึกษา – พลศึกษา 4 20 11. นาฏศิลป 1 20 12. กําลังศึกษาตอ 9 20 13. บรรณารักษ 1 20 14. อ่ืน ๆ 10 20

รวม 67 20

1.3 ขอมูลนักเรียน จํานวนนกัเรียนปการศึกษา 2559 รวม 1,464 คน

ระดับ

ชั้น

หอง เพศ

รวม

เฉลี่ย

ชาย หญิง ตอหอง

อ.๑ 2 21 20 41 21 อ.๒ 3 56 39 95 32

อ.3 3 44 60 104 35

รวม 8 121 119 240 ป.๑ 4 97 71 168 42 ป.๒ 4 60 69 129 32 ป.๓ 4 72 65 137 34

ป.๔ 4 76 70 146 37

ป.๕ 4 73 82 155 39 ป.๖ 4 78 73 151 38 รวม 24 456 430 886 ม.1 4 71 82 153 38 ม.2 3 49 57 106 35 ม.3 3 39 40 79 26 รวม 10 159 179 338 รวม

ทั้งหมด 42 736 728 1,464

0

50

100

150

อ. 1 อ. 2 อ. 3

ปี 2559

ปี 2558

ปี 2557

0

50

100

150

200

ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

ปี 2559

ปี 2558

ปี 2557

0

50

100

150

200

ม. 1 ม. 2 ม. 3

ปี 2559

ปี 2558

ปี 2557

1.4 ขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา

.4ผลการทดสอบระดับชาติของผูเรียน

89.46

88.44

90.59

83.33

91.95

84.69

93.31

96.35

74.38

85.71

92.29

90.70

81.07

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00

ภาษาไทย

คณิตศาสตร

วิทยาศาสตร

สังคมศึกษา

ประวัติศาสตร

สุขศึกษา

ศิลปศึกษา

การงานอาชีพ

ภาษาอังกฤษ

หนาที่พลเมือง

วิทยาศาสตรเพ่ิมเติม

ภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม

คอมพิวเตอรเพ่ิมเติม

จํานวนนักเรียน (รอยละ)

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

80.00

90.00

100.00

ภาคเรียนที่ 1

ภาคเรียนที่ 2

แผนภูมิแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุมสาระ รอยละของนักเรียนท่ีมเีกรดเฉลี่ยผานเกณฑท้ังหมด ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 - 6 ปการศึกษา 2559

แผนภูมิแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุมสาระ รอยละของนักเรียนท่ีมีเกรดเฉลี่ยผานเกณฑท้ังหมด ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 - 3 ปการศึกษา 2559

1.5 ผลการทดสอบระดับชาติของผูเรียน

1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(O-NET)ประจําปการศึกษา 2559

แผนภูมิแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2559 ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

หมายเหตุ : คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาของนักเรียนสูงกวาคะแนนเฉลี่ยท้ังระดับจังหวัด และสูงกวาคะแนน เฉลี่ยระดับประเทศ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2559 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3

0

10

20

30

40

50

60

ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมฯ ภาษาอังกฤษ

โรงเรียน

จังหวัด

สช.

ประเทศ

0

10

20

30

40

50

60

ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมฯ ภาษาอังกฤษ

โรงเรียน

จังหวัด

สช.

ประเทศ

ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมฯ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 54.18 50.56 47.20 49.62 38.22 คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด 52.32 38.63 40.27 45.26 31.02 คะแนนเฉลี่ย สังกัด สช.ท้ังหมด 56.52 46.27 44.34 51.15 45.04 คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ 52.98 40.47 41.22 56.68 34.59

หมายเหตุ : คะแนนเฉลี่ยวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนสูงกวาคะแนนเฉลี่ยท้ังระดับจังหวัด และสูง กวาคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

2) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2557 – 2558

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน ปการศึกษา 2557 – 2559

ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน ปการศึกษา 2557 – 2559

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3

0

10

20

30

40

50

60

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงัคมฯ ภาษาองักฤษ

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

0

10

20

30

40

50

60

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงัคมฯ ภาษาองักฤษ

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมฯ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 46.26 25.99 35.18 49.25 29.00 คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด 45.03 26.78 33.99 47.25 28.91 คะแนนเฉลี่ย สังกัด สช.ท้ังหมด 45.86 29.88 35.21 48.75 34.91 คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ 46.36 29.31 34.99 49.00 31.80

1.5 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (NT)

๑) ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (NT) ประจําปการศึกษา ๒๕๕๙

0

10

20

30

40

50

60

70

ดานภาษา ดานคํานวณ ดานเหตุผล เฉลี่ย

โรงเรียน

เขตพ้ืนที่

ประเทศ

ปรับปรุง พอใช ดี ดีมาก

๘.๓๓

๓๗.๕๐ ๓๖.๖๗

๑๗.๕๐

๙.๑๗

๓๒.๕๐

๔๑.๖๗

๑๖.๖๗

๖.๖๗

๔๔.๑๗

๓๕.๐๐

๑๔.๑๗

ดานภาษา ดานคํานวณ ดานเหตุผล

ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (NT) ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ประจําปการศึกษา ๒๕๕๙

๒) ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (NT) ประจําปการศึกษา ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘

เปรียบเทียบผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓

๒.๑) ผลการประเมินและผลการพัฒนาจําแนกตามความสามารถและภาพรวมของ ปการศึกษา ๒๕๕8 – ๒๕๕9

ความสามารถ ปการศึกษา

2558 ปการศึกษา

2559 ผลการพัฒนา

รวมความสามารถท้ัง 3 ดาน 77.90 51.13 -26.77

ดานภาษา 76.20 53.52 -22.68

ดานคํานวณ 76.13 42.20 -33.93

ดานเหตุผล 81.37 57.69 -23.68

แผนภูมิแสดงผลการประเมินและผลการพัฒนาจําแนกตามความสามารถ

และภาพรวมของปการศึกษา ๒๕๕8 – ๒๕๕9

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

ดานภาษา ดานคํานวณ ดานเหตุผล เฉลี่ย

2558

2559

๑.๖ สรุปขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา

ระดับช้ัน การเปรียบเทียบสัดสวนของผูเรียน

ท่ีไดเกรดต่ํากวา 3.00 และตั้งแต 3.00 ข้ึนไป ปการศึกษา 2559 ป.1

ป.2

ป.3

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สงัคมศึกษา

ประวติัศาสตร์

สขุศึกษา

ศิลปศึกษา

การงานอาชีพ

ภาษาองักฤษ

หน้าท่ีพลเมือง

วิทย์(เพ่ิมเติม)

องักฤษ(เพ่ิมเติม)

คอมฯ(เพ่ิมเติม)

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

คณิตศาสตร

วิทยาศาสตร

สังคมศึกษา

ประวัติศาสตร

สุขศึกษา

ศิลปศึกษา

การงานอาชีพ

ภาษาอังกฤษ

หนาที่พลเมือง

วิทย(เพ่ิมเติม)

อังกฤษ(เพ่ิมเติม)

คอมฯ(เพ่ิมเติม)

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

คณิตศาสตร

วิทยาศาสตร

สังคมศึกษา

ประวัติศาสตร

สุขศึกษา

ศิลปศึกษา

การงานอาชีพ

ภาษาอังกฤษ

หนาที่พลเมือง

วิทย(เพ่ิมเติม)

อังกฤษ(เพ่ิมเติม)

คอมฯ(เพ่ิมเติม)

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

ป.4

ป.5

ป.6

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

คณิตศาสตร

วิทยาศาสตร

สังคมศึกษา

ประวัติศาสตร

สุขศึกษา

ศิลปศึกษา

การงานอาชีพ

ภาษาอังกฤษ

หนาที่พลเมือง

วิทย(เพ่ิมเติม)

อังกฤษ(เพ่ิมเติม)

คอมฯ(เพ่ิมเติม)

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

คณิตศาสตร

วิทยาศาสตร

สังคมศึกษา

ประวัติศาสตร

สุขศึกษา

ศิลปศึกษา

การงานอาชีพ

ภาษาอังกฤษ

หนาที่พลเมือง

วิทย(เพ่ิมเติม)

อังกฤษ(เพ่ิมเติม)

คอมฯ(เพ่ิมเติม)

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

คณิตศาสตร

วิทยาศาสตร

สังคมศึกษา

ประวัติศาสตร

สุขศึกษา

ศิลปศึกษา

การงานอาชีพ

ภาษาอังกฤษ

หนาที่พลเมือง

วิทย(เพ่ิมเติม)

อังกฤษ(เพ่ิมเติม)

คอมฯ(เพ่ิมเติม)

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

๑๐

ม.1 เทอม 1

ม.1

เทอม 2

ม.2

เทอม 1

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

วิทยาศาสตร

ประวัติศาสตร

พลศึกษา

ดนตร ี

คอมพิวเตอร

คณิตศาสตร2

อังกฤษ2

งานบาน2

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

วิทยาศาสตร

ประวัติศาสตร

พลศึกษา

ดนตร ี

คอมพิวเตอร

คณิตศาสตร2

อังกฤษ2

งานบาน2

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

วิทยาศาสตร

ประวัติศาสตร

พลศึกษา

ดนตร ี

คอมพิวเตอร

คณิตศาสตร2

อังกฤษ2

งานบาน2

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

๑๑

ม.2 เทอม 2

ม.3

เทอม 1

ม.3

เทอม 2

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

วิทยาศาสตร

ประวัติศาสตร

พลศึกษา

ดนตร ี

คอมพิวเตอร

คณิตศาสตร2

อังกฤษ2

งานบาน2

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

วิทยาศาสตร

ประวัติศาสตร

พลศึกษา

ดนตร ี

คอมพิวเตอร

คณิตศาสตร2

อังกฤษ2

งานบาน2

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ภาษาไทย

วิทยาศาสตร

ประวัติศาสตร

พลศึกษา

ดนตร ี

คอมพิวเตอร

คณิตศาสตร2

อังกฤษ2

งานบาน2

ตํ่ากวาระดับ 3

ระดับ 3 ข้ึนไป

๑๒

๑.7 ขอมูลการใชแหลงเรียนรูภายในและภายนอกโรงเรียนปการศึกษา 255๙

จํานวนนักเรียนท่ีใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๙

จํานวนนักเรียนท่ีใชแหลงเรียนรูนอกโรงเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๙

0

200

400

600

800

1000

1200

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

โบสถคาทอลิก

ปราสาทเกา

หองสมารท

แปลงเกษตร

หองวิทยาศาสตร

หองสมุด

0

100

200

300

400

500

600

700

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ค่าย ตชด.

เขากระโดง

ศนูย์เต่าทะเล

เรือหลวงจกัรีฯ

สนามไอโมบาย

สวนสตัว ์

๑๓

1.8 ขอมูลงบประมาณ

รายรับ บาท รายจาย บาท เงินงบประมาณ (เงินอุดหนุนรายหัว)

16,240,320.12 งบดําเนินการ/คาจาง 15,413,748.78

คาธรรมเนียม+คอม 3,191,868.25 งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

1,894,829.50

กิจกรรมพิเศษ 791,524.00 สาธารณูปโภค 1,176,748.20 ซอมบํารุง 534,535.93

รวมรายรับ 20,223,712.37 รวมรายจาย 18,458,326.48 1.9 สภาพชุมชนโดยรวม

1.9.1 อาชีพหลักของชุมชน รับราชการ คาขาย เกษตรกร รับจาง ไมมีอาชีพ อ่ืน ๆ (ระบุ) ...........................

1.9.2 ศาสนาท่ีชุมชนนับถือ พุทธ คริสต อิสลาม ฮินด ู ซิกส อ่ืน ๆ (ระบุ) ...........................

1.9.3 อาชีพหลักของผูปกครองสวนใหญ รับราชการ คาขาย เกษตรกร รับจาง ไมมีอาชีพ อ่ืน ๆ (ระบุ) ...........................

1.9.4 ศาสนาท่ีผูปกครองสวนใหญนับถือ พุทธ คริสต อิสลาม ฮินด ู ซิกส อ่ืน ๆ (ระบุ) ...........................

๑๔

1.10 สรุปผลการประเมินจากหนวยงานภายนอกและขอเสนอแนะ 1.10.1 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกของ สมศ. ผลการประเมินภายนอกจําแนกตามระดับคุณภาพ

มาตรฐาน ระดับคุณภาพ

ปรับปรุง พอใช ดี

ดานผูเรียน

ระดับกอนประถมศึกษา

มาตรฐานท่ี 1 ผูเรยีนมีคณุธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค

มาตรฐานท่ี 4 ผูเรยีนมีความรูและทักษะเบ้ืองตน

มาตรฐานท่ี 5 ผูเรยีนมีความสามารถในการคดิวิเคราะห คิดสังเคราะห

มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

มาตรฐานท่ี 6 ผูเรยีนรักการเรียนรู มีทักษะในการแสวงหาความรู

มาตรฐานท่ี 9 ผูเรยีนมีทักษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถ

ทํางานรวมกับผูอ่ืนได

มาตรฐานท่ี 10 ผูเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขนิสัยท่ีด ี

มาตรฐานท่ี 12 ผูเรียนมีสุนทรยีภาพและลักษณะนิสัยดานศลิปะ

ดนตรีและการเคลื่อนไหว

ระดับประถมศึกษา/ ระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษา/ ระดับมัธยมศึกษา

มาตรฐานท่ี 1 ผูเรยีนมีคณุธรรมจริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค

มาตรฐานท่ี 4 ผูเรยีนมีความสามารถในการคดิวิเคราะห คิดสังเคราะห

มีวิจารณญาณ มีความคดิสรางสรรค คิดไตรตรองและ

มีวิสัยทัศน

มาตรฐานท่ี 5 ผูเรยีนมีความรูและทักษะท่ีจําเปนตามหลักสูตร

มาตรฐานท่ี 6 ผูเรยีนมีทักษะในการแสวงหาความรูดวยตนเอง รกัการ

เรียนรูและพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง

มาตรฐานท่ี 9 ผูเรยีนมีทักษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถ

ทํางานรวมกับผูอ่ืนได และมีเจตคติท่ีดีตออาชีพสุจรติ

มาตรฐานท่ี 10 ผูเรียนมีสุขนิสยั สุขภาพกาย และสุขภาพจติท่ีด ี

มาตรฐานท่ี 12 ผูเรียนมีสุนทรยีภาพและลักษณะนิสัยดานศลิปะ

ดนตรี และกีฬา

ดานผูบริหาร

มาตรฐานท่ี 13 สถานศึกษามีการจัดองคกร/ โครงสรางและการ

บริหารงาน อยางเปนระบบครบวงจร ใหบรรลุ

เปาหมายการศึกษา

มาตรฐานท่ี 14 สถานศึกษาสงเสริมความสมัพันธและความรวมมอืกับ

ชุมชนในการพัฒนาการศึกษา

๑๕

มาตรฐาน ระดับคุณภาพ

ปรับปรุง พอใช ดี

มาตรฐานท่ี 18 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอน

โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

มาตรฐานท่ี 20 ผูบริหารมีภาวะผูนําและมีความสามารถในการบรหิาร

จัดการ

มาตรฐานท่ี 25 สถานศึกษามีหลักสูตรเหมาะสมกับผูเรยีนและทองถ่ิน

มีสื่อการเรียน การสอนท่ีเอ้ือตอการเรยีนรู

ดานครู

มาตรฐานท่ี 22 ครูมีความสามารถในการจัดการเรยีนการสอนอยางมี

ประสิทธิผลและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

มาตรฐานท่ี 24 ครูมีวุฒิ/ ความรูความสามารถตรงกับงานท่ีรับผิดชอบ

และมีครูเพียงพอ

ขอเสนอแนะจากการประเมิน รอบท่ี 1

1. สถานศึกษาควรมีการพัฒนาครูใหมีความสามารถในการสอนใหผูเรียนเกิดทักษะในการคิดและกระบวนการทํางานกลุมอยางเปนระบบ รวมท้ังการจัดหาเอกสารขอมูลหรือใหความรูแกครูในดานการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรบูรณาการและกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเปนการเสริมแรงและจูงใจผูเรียนในการนําเขาสูบทเรียน

2. สถานศึกษาควรมีกระบวนการทํางานกลุมอยางเปนระบบ รวมท้ังการจัดหาเอกสารขอมูลหรือใหความรูแกครูในดานการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรบูรณาการและกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเปนการเสริมแรงและจูงใจผูเรียนใหเกิดความกระตือรือรนในการเรียนมากข้ึน

3. ผูบริหารควรมีการนิเทศติดตามประเมินผล รวมท้ังการนําเสนอขอมูลและนําผลการประเมินไปใชในการตัดสินใจและปรับปรุงงานท่ียังไมเดนชัด การจัดโอกาสและเวลาใหผูเรียนไดศึกษาหาความรู แสวงหาคําตอบ และสรางองคความรูดวยตนเอง ยังไมสงผลตอความสัมฤทธิผลของผูเรียนอยางเปนรูปธรรมชัดเจน

4. ครูควรมีการจัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศท่ีปลุกเรา เสริมแรงใหผูเรียนเกิดการเรียนรู การเอาใจใสผูเรียน รวมท้ังจัดกิจกรรมและสถานการณใหผูเรียนกลาแสดงออก การสงเสริมกิจกรรมบูรณาการเชื่อมโยงประสบการณกับชีวิตจริง การใชสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนนอย

5. ครูควรฝกทักษะกระบวนการคิด พรอมท้ังสงเสริมใหผูเรียนนําเสนอผลงานอยางท่ัวถึง ควรใหผูเรียนมีการจัดเก็บแฟมสะสมผลงาน และมีทักษะในการทํางานกลุมอยางเปนระบบ สงเสริมใหผูเรียนรักการอาน รักการคนควาและกลานําเสนอผลงานของตน

6. ผูเรียนระดับกอนประถมศึกษาบางสวนขาดการฝกทักษะในการเชื่อมโยงความรูใหเกิดความคิดรวบยอด มีจินตนาการและความคิดสรางสรรค มีทักษะในเรื่องปฏิสัมพันธและการกะประมาณ

๑๖

7. ผูเรียนระดับประถมศึกษาขาดทักษะดานการคิดวิเคราะห คิดสรางสรรค การสรุปและการบันทึกความรูอยางเปนระบบ รวมท้ังการใชแหลงเรียนรูท้ังในและนอกสถานศึกษายังไมตอเนื่องและเปนรูปธรรมชัดเจน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสอบระดับชาติยังมีคุณภาพต่ํากวามาตรฐาน 1.10.2 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง 1. ระดับการศึกษาปฐมวัย

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน : การศึกษาปฐมวัย

ผลประเมิน อิงเกณฑ

ผลประเมิน อิงสถานศึกษา

คา

เฉลี่ย

ผลการรับรอง

มาตรฐานคุณภาพ

คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

คะแนน ระดับคุณภาพ

ดานผูเรียน

มาตรฐานที่ 1 ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและ

คานิยมที่พึงประสงค

3.94 ดีมาก 3 ดี 3.47 ดี

มาตรฐานที่ 2 ผูเรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและ

สุขภาพจิตที่ดี

3.84 ดีมาก 3 ดี 3.42 ดี

มาตรฐานที่ 3 ผูเรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะ

นิสัยดานศิลปะ ดนตรี และกีฬา

3.82 ดีมาก 3 ดี 3.41 ดี

มาตรฐานที่ 4 ผูเรียนมีความสามารถในการคิด

วิเคราะห คิดสังเคราะห มี

วิจารณญาณ มีความคิด

สรางสรรค คิดไตรตรองและมี

วิสัยทัศน

3.18

ดี

3

ดี

3.09

ดี

มาตรฐานที่ 5 ผูเรียนมีความรูและทกัษะที่

จําเปนตามหลักสูตร

3.44 ดี 3 ดี 3.22 ดี

มาตรฐานที่ 6 ผูเรียนมีทักษะในการแสวงหา

ความรูดวยตนเอง รักการเรียนรู

และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

3.39

ดี

3

ดี

3.20

ดี

มาตรฐานที่ 7 ผูเรียนมีทักษะในการทาํงาน รัก

การ ทํางาน สามารถทํางาน

รวมกับผูอื่นไดและมีเจตคติที่ดี

ตออาชีพสุจริต

3.53

ดีมาก

3

ดี

3.27

ดี

ดานครู

มาตรฐานที่ 8 ครูมีคุณวุฒิ/ความรู

ความสามารถตรงกับ งานที่

รับผิดชอบและมีครูเพียงพอ

3.47 ดี 3 ดี 3.24 ดี

๑๗

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน : การศึกษาปฐมวัย

ผลประเมิน อิงเกณฑ

ผลประเมิน อิงสถานศึกษา

คา

เฉลี่ย

ผลการรับรอง

มาตรฐานคุณภาพ

คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

คะแนน ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 9 ครูมีความสามารถในการจัดการ

เรียน การสอนอยางมีประสิทธิภาพ

และเนนผูเรียนเปนสําคัญ

3.67 ดีมาก 3 ดี 3.34 ดี

ดานผูบริหาร

มาตรฐานที่ 10 ผูบริหารมีภาวะผูนาํและมี

ความสามารถในการบริหาร

จัดการ

4.00 ดีมาก 3 ดี 3.50 ดี

มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดองคกร /

โครงสรางและการบริหารงาน

อยางเปนระบบ ครบวงจร ให

บรรลุเปาหมายการศึกษา

3.86

ดีมาก

3

ดี

3.43

ดี

มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัดกจิกรรม

และการเรียนการสอนโดยเนน

ผูเรียนเปนสําคัญ

3.81 ดีมาก 3 ดี 3.41 ดี

มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีหลักสูตรเหมาะสม

กับผูเรียนและทองถิ่น มีส่ือการ

เรียนการสอนที่เอื้อตอการเรียนรู

3.60 ดีมาก 3 ดี 3.30 ดี

มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษาสงเสริม

ความสัมพันธและความรวมมือ

กับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา

4.00 ดีมาก 3 ดี 3.50 ดีมาก

ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวมไดมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ได ไมได

2. ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน :

ประถมและมัธยมศึกษา

ผลประเมิน อิงเกณฑ

ผลประเมิน อิงสถานศึกษา

คา

เฉลี่ย

ผลการรับรอง

มาตรฐานคุณภาพ

คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

คะแนน ระดับคุณภาพ

ดานผูเรียน

มาตรฐานที่ 1 ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและ

คานิยมที่พึงประสงค

3.67 ดีมาก 3 ดี 3.34 ดี

มาตรฐานที่ 2 ผูเรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและ

สุขภาพจิตที่ดี

3.74 ดีมาก 3 ดี 3.37 ดี

๑๘

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน :

ประถมและมัธยมศึกษา

ผลประเมิน อิงเกณฑ

ผลประเมิน อิงสถานศึกษา

คา

เฉลี่ย

ผลการรับรอง

มาตรฐานคุณภาพ

คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

คะแนน ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 3 ผูเรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะ

นิสัยดานศิลปะ ดนตรี และกีฬา

3.23 ดี 3 ดี 3.12 ดี

มาตรฐานที่ 4 ผูเรียนมีความสามารถในการคิด

วิเคราะห คิดสังเคราะห มี

วิจารณญาณ มีความคิด

สรางสรรค คิดไตรตรองและมี

วิสัยทัศน

3.21

ดี

3

ดี

3.11

ดี

มาตรฐานที่ 5 ผูเรียนมีความรูและทกัษะที่

จําเปนตามหลักสูตร

3.32 ดี 3 ดี 3.16 ดี

มาตรฐานที่ 6 ผูเรียนมีทักษะในการแสวงหา

ความรูดวยตนเอง รักการเรียนรู

และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

3.43 ดี 3 ดี 3.22 ดี

มาตรฐานที่ 7 ผูเรียนมีทักษะในการทาํงาน รัก

การทํางาน สามารถทาํงาน

รวมกับผูอื่นไดและมีเจตคติที่ดี

ตออาชีพสุจริต

3.25 ดี 3 ดี 3.13 ดี

ดานครู

มาตรฐานที่ 8 ครูมีคุณวุฒิ/ความรู

ความสามารถตรงกับงานที่

รับผิดชอบและมีครูเพียงพอ

3.51 ดีมาก 3 ดี 3.26 ดี

มาตรฐานที่ 9 ครูมีความสามารถในการจัดการ

เรียนการสอนอยางมี

ประสิทธิภาพและเนนผูเรียนเปน

สําคัญ

3.24 ดี 3 ดี 3.12 ดี

ดานผูบริหาร

มาตรฐานที่ 10 ผูบริหารมีภาวะผูนาํและมี

ความสามารถในการบริหาร

จัดการ

4.00 ดีมาก 3 ดี 3.50 ดีมาก

มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามกีารจัดองคกร /

โครงสรางและการบริหารงาน

อยางเปนระบบ ครบวงจร ให

บรรลุเปาหมายการศึกษา

3.86

ดีมาก

3

ดี

3.43

ดี

๑๙

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน :

ประถมและมัธยมศึกษา

ผลประเมิน อิงเกณฑ

ผลประเมิน อิงสถานศึกษา

คา

เฉลี่ย

ผลการรับรอง

มาตรฐานคุณภาพ

คาเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

คะแนน ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัดกจิกรรม

และการเรียนการสอนโดยเนน

ผูเรียนเปนสําคัญ

3.59 ดีมาก 3 ดี 3.30 ดี

มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีหลักสูตรเหมาะสม

กับผูเรียนและทองถิ่น มีส่ือการ

เรียนการสอนที่เอื้อตอการเรียนรู

3.60 ดีมาก 3 ดี 3.30 ดี

มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษาสงเสริม

ความสัมพันธและความรวมมือ

กับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา

4.00 ดีมาก 3 ดี 3.50 ดีมาก

ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวมไดมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ได ไมได

ขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง จุดเดน จุดท่ีควรพัฒนา และขอแสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง จุดเดน ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงค มีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยดานศิลปะ ดนตรีและกีฬา มีความสามารถในการคิดวิเคราะห มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรคและมีทักษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนไดและมีเจตคติท่ีดีตออาชีพสุจริต ครูมีคุณวุฒิ / ความรู ความสามารถตรงกับงานท่ีรับผิดชอบและมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพและเนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูบริหารมีภาวะผูนําและมีความสามารถในการบริหารจัดการ สถานศึกษามีการจัดองคกรโครงสรางการบริหารอยางเปนระบบครบวงจรใหบรรลุเปาหมายการศึกษา มีการจัดกิจกรรมอบรมเลี้ยงดูและสงเสริมกระบวนการเรียนรูท่ีสนองตอธรรมชาติและพัฒนาการของผูเรียนเปนสําคัญ มีหลักสูตรท่ีเหมาะสมกับผู เรียนและทองถ่ิน มีสื่อการเรียนการสอนท่ีเอ้ือตอการเรียนรูและมีการสงเสริมความสัมพันธและความรวมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา จุดท่ีควรพัฒนา ดานผูเรียน ผูเรียนควรพัฒนาดานความซ่ือสัตยสุจริต ความสนใจและเขารวมกิจกรรมดานศิลปะและดนตรีนาฏศิลป ตลอดจนการวิพากษ วิจารณ การคิดอยางมีวิจารณญาณและคิดไตรตรอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุมสาระคณิตศาสตร ภาษาไทย วิทยาศาสตร การทํางานตามลําดับข้ันตอน ดานครู ครูควรพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามความถนัด และกระบวนการจัดการเรียนการสอนในกลุมสาระศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาตางประเทศ

๒๐

ดานผูบริหาร ผูบริหารควรพัฒนาดานการจัดระบบนิเทศการเรียนการสอน และโครงการจัดกิจกรรมสงเสริมความสามารถพิเศษและการประเมินของหลักสูตร ขอเสนอแนะ

1) ควรวิเคราะหคุณภาพผูเรียนและผลการดําเนินงานตามโครงการ / กิจกรรม / งานใน

การพัฒนาผูเรียนท่ีผานมา แลวนําขอมูลไปปรับปรุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐาน

การศึกษาของแตละมาตรฐาน โดยเฉพาะทางดานความซ่ือสัตยสุจริต ความประหยัด การกลาแสดงออก

ความสนใจทางดานศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป กระบวนการคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การแสวงหา

ความรูดวยตนเอองและการทํางานตามลําดับข้ันตอน

2) ควรสงเสริมสนับสนุนใหครูไดรบัการฝกอบรมในหนาท่ีและวิชาชีพท่ีสอนเปนอันดับแรก

และตอเนื่อง ควรจัดครูสอนตามวิชาเอก / โท หรือตามความถนัด ครูควรจัดการเรยีนการสอนตาม

แผนการจัดการเรียนรูในทุกกลุมสาระ ควรมีการวิเคราะหผูเรยีนกอนสอนและบันทึกผลหลังการสอนทุก

ครั้ง ท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพ่ือนําขอมูลไปแกปญหาหรือทําวิจัยในชั้นเรียนและปรับการ

เรียนการสอน เพ่ือใหผูเรียนมีความรูและทักษะท่ีจําเปนตามหลักสูตรและมีความเปนเลิศทางวิชาการ

นอกจากนี้ควรปรับครูและการจัดชั้นเรียนใหเปนไปตามเกณฑท่ี ก.ค.ศ. กําหนด

3) ควรทบทวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหมีการดําเนินการอยางเปนระบบ

ครบวงจร PDCA โดยเฉพาะการกําหนดเปาหมายของมาตรฐานและการจัดทําโครงการพัฒนา ควรให

ครอบคลุมทุกมาตรฐานท้ังระดับการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมท้ังใหผูเก่ียวของทุกฝาย

มีสวนรวมในการดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามความเหมาะสมทุกครั้ง

ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ควรจัดทําโครงการ / กิจกรรมพัฒนาคุณภาพการศึกษาท้ังทางดานผูเรียน ครูและผูบริหาร ใหมีระดับคุณภาพท่ีสูงข้ึนและพยายามรักษาระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ีอยูในระดับดีข้ึนไป ใหมีความยั่งยืนและม่ันคงถาวรตลอดไป ควรใหมีวัตถุประสงค เปาหมาย กิจกรรมท่ีครอบคลุมผูเรียนในระดับปฐมวัยในทุกมาตรฐาน หรือจะดําเนินการแยกโครงการ / กิจกรรมพัฒนาของแตละระดับการศึกษาก็จะเปนการเหมาะสม

1.10.3 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม โรงเรียนมารดาวนารักษไดรับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ.รอบสาม

เม่ือวันท่ี 19 – 20 และ 23 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน 3 กลุมตัวบงชี้ คือ กลุมตัวบงชี้พ้ืนฐาน กลุมตัวบงชี้อัตลักษณ กลุมตัวบงชี้มาตรการสงเสริม ซ่ึงสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเปนตารางดังตอไปนี ้

๒๑

1. ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒ – ๕ ป) นํ้าหนัก

คะแนน

คะแนน

ท่ีได

ระดับ

คุณภาพ

กลุมตัวบงชี้พ้ืนฐาน

ตัวบงช้ีท่ี 1 เด็กมีพัฒนาการดานรางกายสมวัย 5.00 5.00 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 2 เด็กมีพัฒนาการดานอารมณและจิตใจสมวัย 5.00 5.00 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 3 เด็กมีพัฒนาการดานสงัคมสมวัย 5.00 5.00 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 4 เด็กมีพัฒนาการดานสติปญญาสมวัย 10.00 8.00 ดี

ตัวบงช้ีท่ี 5 เด็กมีความพรอมศึกษาตอในข้ันตอไป 10.00 10.00 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 6 ประสิทธิผลการจัดประสบการณการเรยีนรูท่ีเนนเด็กเปน

สําคัญ

35.00 32.00 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจดัการและการพัฒนา

สถานศึกษา

15.00 14.00 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 8 ประสิทธิผลของระบบการประกันคณุภาพภายใน 5.00 4.69 ดีมาก

กลุมตัวบงชี้อัตลักษณ

ตัวบงช้ีท่ี 9 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน

พันธกิจและวัตถุประสงคของการจัดตั้งสถานศึกษา

2.50 2.50 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 10 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนท่ีสงผลสะทอนเปน

เอกลักษณของสถานศึกษา

2.50 2.50 ดีมาก

กลุมตัวบงชี้มาตรการสงเสริม

ตวับงช้ีท่ี 11 ผลการดําเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือสงเสริมบทบาทของ

สถานศึกษา

2.50 2.50 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 12 ผลการสงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน

รักษามาตรฐาน และพัฒนาสูความเปนเลิศท่ีสอดคลองกับ

แนวทางการปฏิรูปการศึกษา

2.50 2.50 ดีมาก

คะแนนรวม 100 93.19 ดีมาก

สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาปฐมวัย (3 - 5 ป) ประเภทโรงเรียน

ผลรวมคะแนนประเมินสถานศึกษา 93.19 คะแนน

มีคุณภาพระดับดมีาก

การรับรองมาตรฐานสถานศึกษาประเภทโรงเรียน

ผลคะแนนรวมทุกตัวบงช้ี ตั้งแต 80 คะแนนข้ึนไป ใช ไมใช

มีตัวบงช้ีท่ีไดระดับดีข้ึนไป 10 ตัวบงช้ี จาก 12 ตัวบงช้ี ใช ไมใช

ไมมตีัวบงช้ีใดท่ีมีระดับคุณภาพตองปรับปรุงหรือตองปรับปรุง

เรงดวน

ใช ไมใช

ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย (2 – 5 ป)

สมควรรับรองมาตรฐานการศกึษา ไมสมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

๒๒

จุดเดน 1. ดานผลการจัดการศึกษา

สถานศึกษาใหความสําคัญดานพัฒนาการท้ัง 4 ดานของเด็ก มีการสงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมอันพึงประสงคซ่ึงเปนท่ียอมรับของชุมชนดีซ่ึงมีการสงเสริมใหผูเรียนมีจิตอาสา รูจักการเอ้ือเฟอเผื่อแผแกผูดอยโอกาส และสามารถปลูกจิตสํานึกท่ีดีของผูเรียนได

2. ดานการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา โดย

มีการจัดโครงการพัฒนาบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการจัดบรรยากาศและภูมิทัศนไดเหมาะสมกับการเรียนรูของเด็ก มีความรมรื่น สดชื่นดวยตนไมสีเขียว สวนหยอม ปายนิเทศความรูตาง ๆ และการจัดกิจกรรม ณ ลานกิจกรรม

3. ดานการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ไมมี

4. ดานการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษามีการจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป

การศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย มีการดําเนินงานตามแผน การจัดทํารายงานประจําปของสถานศึกษา ( SAR) ทุกปการศึกษา และสถานศึกษาไดรับการประเมินคุณภาพภายในจากสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการประถมศึกษาบุรีรัมย เขต 3 มีผลการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และมีผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย 11 มาตรฐาน จุดท่ีควรพัฒนา

1. ดานผลการจัดการศึกษา ไมมี

2. ดานการบริหารจัดการการศึกษา ไมมี

3. ดานการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ประสิทธิผลการจัดประสบการณการเรียนรูท่ีเนนเด็กเปนสําคัญ การสรางสุขนิสัยท่ีดีในการรักษาความสะอาด ปองกันโรคและความปลอดภัยแกรางกาย สนับสนุนใหเด็กรูจักควบคุมตนเอง อดทนรอคอยและมุงม่ันตั้งใจ จัดโอกาสใหเด็กไดเลือกทํากิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด ความสามารถและความพอใจของเด็ก สงเสริมเด็กมีความประพฤติดี ไดแก ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ําใจ จัดโอกาสใหเด็กไดเรียนรูการเปนผูนําและผูตามท่ีดี จัดกิจกรรมใหเด็กไดเลาถึงสิ่งท่ีทํา ทบทวนประสบการณเดิม ทบทวนเรื่องท่ีเด็กควรรูหรือเหตุการณท่ีนาสนใจ เปดโอกาสใหเด็กคุนเคยกับหนังสือและไดอานหนังสือตามวัย สงเสริมการสรางมิตรภาพระหวางเด็ก จัดประสบการณ การเรียนรูท่ีหลากหลายเพ่ือใหเด็กไดมีโอกาสในการเรียนรูเต็มศักยภาพ ติดตาม บันทึกและประเมินพัฒนาการของเด็กอยางสมํ่าเสมอตอเนื่องดวยวิธีการท่ีหลากหลาย นําผลการประเมิน

๒๓

พัฒนาการเด็กทุกดานไปใชเพ่ือการพัฒนาเด็กและพัฒนาแนวทางการจัดประสบการณเรียนรู 4. ดานการประกันคุณภาพภายใน

ไมมี อุปสรรค

1. ผูปกครองสวนใหญประกอบอาชีพทํานา รับจาง และประกอบอาชีพตางถ่ินทําใหตองทอดท้ิงบุตรหลานใหอยูกับปู ยา ตา ยาย มีปญหาการหยารางทําใหเด็กขาดความอบอุน และเด็กหลายคนมีสภาพบานเปนกระตอบ ขาดแคลนปจจัยในการดํารงชีวิต

2. หลักเกณฑการจัดสรรงบประมาณและอัตรากําลังปจจุบันทําใหสถานศึกษาขนาดเล็กประสบปญหาครูไมครบชั้น

3. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย เขต 3 ในสวนของการทํางานเอกชนทําใหมีการรับรูขอมูลขาวสารการพัฒนาครูไมคอยชัดเจน

4. เนื่องจากโรงเรียนอยูในความรับผิดชอบของวัดคาทอลิก ทําใหชุมชนเขาใจผิดเก่ียวกับการปลูกฝงหลักการศาสนา ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 1. ดานผลการจัดการศึกษา 1. ควรจัดใหเด็กไดแสดงออกตามศักยภาพรายบุคคลและรายกลุมใหมากข้ึน 2. เนนพัฒนาการรายบุคคลและสงเสริมการกลาแสดงออก 3. จัดแสดงผลงานผูเรียนเพ่ือกระตุนผูเรียนเปนประจํา 4. จัดกิจกรรมท่ีเนนการกลาแสดงออกรายบุคคล 5. สงเสริมกิจกรรมภาวการณเปนผูนําและจิตอาสาแกเด็ก 6. จัดหาสื่อท่ีมีคุณภาพเนนพัฒนาการทางความคิดและเกิดผลงาน 7. ควรจัดบุคลากรใหเหมาะสมกับจํานวนเด็ก 8. จัดทําวิจัยในชั้นเรียนและนําเสนอเพ่ือปญหาอยางเปนระบบ 9. จัดหาสื่อท่ีมีคุณภาพเนนพัฒนาการทางความคิดและเกิดผลงาน 10. ควรจัดอุปกรณเครื่องเลนเพ่ือเพ่ิมการเรียนรูแกเด็ก 11. สงเสริมเทคโนโลยีเพ่ือใหนักเรียนไดสัมผัสและเรียนรูอยางท่ัวถึง 12. สงเสริมการจัดโชวผลงานผูเรียนและมีการนําเสนอดวยตัวผูเรียนเองอยูเสมอ 13. ควรจัดผลงานท่ีเนนการเรียนรูจากกิจกรรม 6 กิจกรรมใหชัดเจน 14. สงเสริมพัฒนาสื่อการสอนท่ีมีความหลากหลาย 15. พัฒนาศักยภาพรายบุคคลของเด็กและสรางทีมเครือขายใหเดนชัดดานความสามารถของเด็ก 16. สถานศึกษาควรประมวลทุกกิจกรรมท่ีสงเสริมความเปนคาทอลิกใหเปนโครงการเดียวกัน เพ่ือปลูกฝงและผลักดันความเปนคาทอลิก เพ่ือใหเด็กเกิดเปนอัตลักษณของโรงเรียน “รักและรับใช” ใหเดนชัดยิ่งข้ึน สถานศึกษาโดยฝายอภิบาลควรนําแนวคิดวินัยเชิงบวก และจิตวิทยาเชิงบวกมาขับเคลื่อนใหนักเรียนเกิดอัตลักษณอยางเดนชัดมากข้ึนกวาเดิม

๒๔

17. สถานศึกษาควรสงเสริมกิจกรรมท่ีมีผลตอการพัฒนาตามจุดเนน จุดเดน ท่ีสงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถานศึกษา เพ่ือใหผูท่ีเก่ียวของกับกิจกรรมของโรงเรียนและองคกรท่ีเก่ียวของใหการยอมรับท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาโดยทํากิจกรรมโครงการอยางอยางเปนระบบและตอเนื่อง 18. สถานศึกษามีการสงเสริมให เด็กมีจิตอาสา รูจักการเอ้ือเฟอเผื่อแผแกผูดอยโอกาส ซ่ึงควรมีกิจกรรมจัดทําสงเสริมโครงการอยางตอเนื่อง 2. ดานการบริหารจัดการศึกษา 1. สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมใหคณะกรรมการสถานศึกษาไดรูบทบาทหนาท่ีตามท่ีกฎหมายไดกําหนดแกคณะกรรมการฯ และคณะกรรมการฯ ควรปฏิบัติหนาท่ีตามบทบาทหนาท่ี ใหคณะกรรมการสถานศึกษาและสถานศึกษาควรจัดใหมีเครือขายผูปกครอง เพ่ือเปนการประสานงานระหวางโรงเรียนและผูปกครองไดงายข้ึน 2. ผูบริหารควรเปนผูนําในการบริหารงานทุก ๆ ดาน โดยเฉพาะการเปนผูนําทางวิชาการ โดยการใหคําปรึกษาและคําแนะนํา ( Coaching ) แกคณะครูได 3. ผูบริหารควรใหความสําคัญกับแหลงเรียนรูภายในโรงเรียน เชน หนังสือในหองสมุด ตนไมพูดได ฝาผนัง พรอมกับจัดกิจกรรมกระตุนจากแหลงเรียนรูดังกลาวดวย 4. สถานศึกษาควรมีการบริหารโครงการกิจกรรมอยางตอเนื่องและเปนระบบบริหารคุณภาพ (PDCA) โดยการจัดกิจกรรมโครงการตามเกณฑมาตรฐาน สอดคลองกับเปาหมาย กําหนดเครื่องมือประเมินท่ีหลากหลายและนําผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนแกไขเพ่ือการพัฒนาอยางเปนระบบและตอเนื่อง 3. ดานการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ 1. จัดกิจกรรมการสอนท่ีมีความหลากหลายในรูปแบบการตั้งคําถามและการแกปญหา 2. ครูควรมีผลงานการประเมินผูเรียนและแนวทางการพัฒนาท่ีชัดเจน 3. ควรเนนเด็กใหมีการศึกษานอกหองเรียนสื่อของจริงใหมากข้ึน 4. ดานการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาควรกําหนดมาตรฐานการศึกษาแทนการประกาศใชมาตรฐานและตัวบงชี้ของ สพฐ. และจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ และแผนปฏิบัติการประจําปใหอิงกับมาตรฐานและตัวบงชี้ของสถานศึกษาเอง สถานศึกษาควรนําผลการประเมินท้ังคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกมาเพ่ือแกปญหาและพัฒนาใหดียิ่ง ๆ ข้ึน โดยใชแนวทางวงจรคุณภาพ เดมม่ิง และใหเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีครอบคลุมการดําเนินงานตามกฏกระทรวงฯ นวัตกรรมหรือตัวอยางการปฏิบัติท่ีดี (Good practice) ของสถานศึกษาท่ีเปนประโยชนตอสังคม (ถามี) ไมมี

๒๕

2. ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน : ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน : ระดับการศึกษาประถมศึกษา และ

มัธยมศึกษา

นํ้าหนัก

(คะแนน

คะแนน

ท่ีได

ระดับ

คุณภาพ

กลุมตัวบงชี้พ้ืนฐาน

ตัวบงช้ีท่ี 1 ผูเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี 10.00 9.47 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 2 ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงค 10.00 9.42 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 3 ผูเรียนมีความใฝรู และเรียนรูอยางตอเน่ือง 10.00 9.06 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 4 ผูเรียนคิดเปน ทําเปน 10.00 9.01 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียน 20.00 12.31 ดี

ตัวบงช้ีท่ี 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน

สําคัญ

10.00 8.00 ดี

ตัวบงช้ีท่ี 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา

สถานศึกษา

5.00 3.80 ดี

ตัวบงช้ีท่ี 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา

และตนสังกัด

5.00 3.25 พอใช

กลุมตัวบงชี้อัตลักษณ

ตัวบงช้ีท่ี 9 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน / วิสัยทัศน

พันธกิจและวัตถุประสงคของการจัดตั้งสถานศึกษา

5.00 5.00 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 10 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนท่ีสงผลสะทอนเปน

เอกลักษณของสถานศึกษา

5.00 5.00 ดีมาก

กลุมตัวบงชีม้าตรการสงเสริม

ตัวบงช้ีท่ี 11 ผลการดาํเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือสงเสริมบทบาท

ของสถานศึกษา

5.00 5.00 ดีมาก

ตัวบงช้ีท่ี 12 ผลการสงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน

รักษามาตรฐาน และพัฒนาสูความเปนเลิศท่ีสอดคลอง

กับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

5.00 5.00 ดีมาก

คะแนนรวม 100.00 84.32 ดี

สถานศึกษามผีลคะแนนรวมทุกตัวบงช้ี ตั้งแต 80 คะแนนข้ึนไป ใช ไมใช

สถานศึกษามีตัวบงช้ีท่ีไดระดับดีข้ึนไป 10 ตัวบงช้ี จาก 12 ตัวบงช้ี ใช ไมใช

ไมมตีัวบงช้ีใดท่ีมีระดับคุณภาพตองปรับปรุง หรือ ตองปรับปรุงเรงดวน ใช ไมใช

สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสถานศึกษาในภาพรวม

สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา ไมสมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

จุดเดน

๒๖

1. ดานผลการจัดการศึกษา สถานศึกษามีการสงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึงประสงคซ่ึงเปนท่ียอมรับของชุมชน มีการสงเสริมใหผูเรียนมีจิตอาสา รูจักการเอ้ือเฟอเผื่อแผแกผูดอยโอกาส ใชเวลาวางใหเปนประโยชน และสามารถปลุกจิตสํานึกท่ีดีของผูเรียนได

2. ดานการบริหารจัดการการศกึษา สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา โดยมีการจัดโครงการพัฒนาบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาและจัดบรรยากาศและภูมิทัศนไดเหมาะสมกับการเรียนรูของผูเรียน มีความรมรื่นสดชื่นดวยการปรับภูมิทัศนเขียวสวนหยอม ปายนิเทศความรูตาง ๆ และการจดักิจกรรม ณ ลานกิจกรรม

3. ดานการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ไมมี 4. ดานการประกันคุณภาพภายใน

สถานศึกษามีการจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีดําเนินงานตามแผน การจัดทํารายงานประจําปของสถานศึกษา (SAR) ทุกปการศึกษา และสถานศึกษาไดรับการประเมินคุณภาพภายในจากสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย เขต 3 มีผลการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และมีผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับพ้ืนฐาน 15 มาตรฐาน จุดท่ีควรพัฒนา

1. ดานผลการจัดการศึกษา ไมมี 2. ดานการบริหารจัดการการศกึษา ไมมี 3. ดานการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ประสิทธิผลการจัดประสบการณการเรียนรูท่ีเนนเด็กเปนสําคัญ การสรางสุขนิสัยท่ีดีในการรักษาความสะอาด ปองกันโรคและความปลอดภัยแกรางกาย สนับสนุนใหกลาแสดงออก มีการสอนแบบโครงงาน จัดโอกาสใหเด็กไดเลือกคนควาจัดทําโครงงานตามความสนใจ ความถนัด ความสามารถและความพอใจของผูเรียน สงเสริมเด็กมีความประพฤติดี ไดแก ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีจิตสาธารณะ จัดโอกาสใหเด็กไดเรียนรูการเปนผูนําและผูตามท่ีดี จัดกิจกรรมสงเสริมการกลาแสดงออก จัดประสบการณการเรียนรูท่ีหลากหลาย เพ่ือใหผูเรียนมีโอกาสในการเรียนรูอยางเต็มศักยภาพ ติดตาม บันทึกและประเมินพัฒนาการของ เด็กอยางสมํ่าเสมอ ตอเนื่อง ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย นําผลการประเมินพัฒนาการเด็กทุกดานไปใชเพ่ือการพัฒนาเด็กและพัฒนาแนวทางการจัดประสบการณเรียนรู

4. ดานการประกันคณุภาพภายใน

๒๗

ไมมี โอกาส

1. คณะกรรมการสถานศึกษา องคการปกครองสวนทองถ่ิน ผูนําชุมชน ศิษยเกา และผูปกครองสวนใหญใหการสนับสนุนและสงเสริมความรวมมือพัฒนาการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพของสถานศึกษา

2. นโยบายการกระจายอํานาจการบริหารท้ัง 4 ดาน สงผลใหสถานศึกษามีอิสระในการบริหารงาน

3. การประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพ่ิมเติม 2545 ซ่ึงเปนกฎหมายแมบทการศึกษาทําใหเกิดพระราชบัญญัติท่ีเก่ียวของกับการศึกษา สงผลใหการจัดการศึกษามีการเปลี่ยนแปลงท่ีดีข้ึน อุปสรรค

1. ผูปกครองสวนใหญประกอบอาชีพทํานา รับจาง และประกอบอาชีพตางถ่ินทําใหตองทอดท้ิงบุตรหลานใหอยูกับปู ยา ตา ยาย มีปญหาการหยารางทําใหเด็กขาดความอบอุน และเด็กหลายคนมีสภาพบานเปนกระตอบขาดแคลนปจจัยในการดํารงชีวิต

2. หลักเกณฑการจัดสรรงบประมาณและอัตรากําลังปจจุบันทําใหสถานศึกษาขนาดเล็กประสบปญหาครูไมครบชั้น

3. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย เขต 3 ในสวนการทํางานของเอกชนทําใหมีการรับรูขอมูลขาวสารการพัฒนาครูไมคอยชัดเจน

4. เนื่องจากโรงเรียนอยูในความรับผิดชอบของวัดคาทอลิก ทําใหชุมชนเขาใจผิดเก่ียวกับการปลูกฝงหลักการศาสนา

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. ดานผลการจัดการศึกษา 1. การจัดทําโครงการ / กิจกรรมซ่ึงสถานศึกษาไดดําเนินการอยูแลวนั้น เชน กิจกรรมกีฬาสีภายในโรงเรียน พบวามีการปฏิบัติ แตไมไดระบุใหชัดเจนในแผนปฏิบัติการ ในปการศึกษาตอไปโครงการ / กิจกรรมท่ีอยูในการวางแผนไมวาจะเปนโครงการใหม หรือตอเนื่อง ควรระบุใหชัดเจนในแผนปฏิบัติการ 2. สถานศึกษามีการสงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงคซ่ึงเปนท่ียอมรับของชุมชนท่ีดีและเปนท่ียอมรับซ่ึงมีการสงเสริมกิจกรรมตองทําอยางตอเนื่องและเปนระบบ จัดการพัฒนารูปแบบกิจกรรมการชวยเหลือจิตอาสาโดยเริ่มจากสถานศึกษาและสรางเครือขายผูปกครองและองคกรภายนอกเพ่ือใหผูเรียนใชชีวิตในสังคมจริงและปฏิบัติจริงอยูเสมอ 3. สถานศึกษามีการสงเสริมใหผูเรียนมีความใฝรูและเรียนรูอยางตอเนื่อง โดยจัดสื่ออุปกรณใหผูเรียนไดเรียนรูเปนอยางดี แตยังมีจํานวนไมเพียงพอตอความตองการของผูเรียน ควรมีการเพ่ิมจํานวนอุปกรณใหมากกวาเดิมและอัตราจํานวนครูผูสอนใหเพียงพอ รวมถึงสงเสริมพัฒนาศักยภาพรายบุคคลของผูเรียนเพ่ือใหผูเรียนมีความสุขในการเรียน และรักท่ีจะเรียนรู สงเสริมใหมีการสงเสริมการนําเสนอดานพัฒนาการเทคโนโลยีผลงานผูเรียนอยูเสมอและเปนระบบ 4. สถานศึกษาควรมีการจัดระบบแผนพัฒนาการจัดกิจกรรมสงเสริมทักษะการคิด

๒๘

โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน โดยใหผูเรียนหาคําตอบดวยตนเองโดยใชทักษะกระบวนการและมีการนําเสนอผลงานเนนการปฏิบัติจริงของผูเรียน มีการประเมินการทํากิจกรรมอยูเสมอ 5. สถานศึกษาควรมีการสงเสริมพัฒนาครูทุกทานใหมีการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานและสงเสริมการคิดวิเคราะหคิดสังเคราะหแกผูเรียน รูจักเชื่อมโยงเรื่องราวเหตุการณในทุกกลุมสาระท้ัง 8 กลุมสาระการเรียนรูและครบทุกระดับชั้นโดยดําเนินการอยางตอเนื่อง 6. สถานศึกษาควรมีการตรวจสอบมาตรฐานของขอสอบและนําขอสอบมาใชทดสอบผูเรียนโดยการนําขอสอบมาใหนักเรียนวิเคราะหและรูจักการหาคําตอบดวยตัวเอง 7. สถานศึกษาควรประมวลผลทุกกิจกรรมท่ีสงเสริมความเปนคาทอลิกใหเปนโครงการเดียวกันเพ่ือปลูกฝงและผลักดันความเปนคาทอลิกเพ่ือใหนักเรียนเกิดเปนอัตลักษณของโรงเรียน “รักและรับใช” ใหเดนชัดยิ่งข้ึน สถานศึกษาโดยฝายอภิบาลควรนําแนวคิดวินัยเชิงบวก และจิตวิทยาเชิงบวก มาขับเคลื่อนใหนักเรียนเกิดอัตลักษณอยางเดนชัดมากข้ึนกวาเดิม 8. โรงเรียนควรประมวลผลทุกโครงการ ทุกกิจกรรมท่ีสงเสริมความเปนคาทอลิกใหเปนโครงการเดียวกันเพ่ือปลูกฝงและผลักดันความเปนคาทอลิกใหเดนชัดยิ่งข้ึน 9. สถานศึกษาควรพัฒนาโมเดลในการพัฒนาผูเรียนใหมีความสามารถทางสติปญญา ( IQ) โดยการมุงเนนในการพัฒนาความสามารถทางอารมณ ( EQ) ของผูเรียน ๒. ดานการบริหารจัดการศึกษา 1. สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมใหคณะกรรมการสถานศึกษาไดรูบทบาทหนาท่ีตามท่ีกฎหมายไดกําหนดแกคณะกรรมการ และคณะกรรมการฯ ควรปฏิบัติตามบทบาทหนาท่ีใหคณะกรรมการสถานศึกษา และสถานศึกษาจัดใหมีเครือขายผูปกครอง เพ่ือเปนการประสานงานระหวางโรงเรียนและผูปกครองไดงายยิ่งข้ึน 2. ผูบริหารควรเปนผูนําในการบริหารงานทุก ๆ ดาน โดยเฉพาะการเปนผูนําทางวิชาการ โดยการใหคําปรึกษาและคําแนะนํา ( Coaching) แกคณะครูได 3. ผูบริหารควรใหความสําคัญกับแหลงเรียนรูภายในโรงเรียน เชน หนังสือในหองสมุด ตนไมพูดได ฝาผนัง พรอมกับจัดกิจกรรมกระตุนจากแหลงเรียนรูดังกลาวดวย 4. เพ่ือใหผลการสอบวัดผลระดับชาติ ( O-NET) มีความเสถียรภาพ สถานศึกษาควรบริหารจัดการเพ่ือควบคุมผลการสอบใหมีพัฒนาการอยางตอเนื่องโดยการกําหนดเปาหมายท่ีชัดเจน กําหนดนโยบาย กําหนดแผนงานท้ังระยะสั้นและระยะยาว มีโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ พัฒนาครูใหมีความสามารถในการจัดการเรียนรูเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และพัฒนาผูเรียนมีความสามารถหรือทักษะในการเรียน เชน ทักษะการอาน ทักษะการบันทึก ทักษะการคิด ทักษะการสรุปความ ๓. ดานการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ 1. โรงเรียนควรทําการประเมินแบบทดสอบทุกภาคการศึกษา เพ่ือตรวจสอบความเท่ียงตรงของแบบทดสอบ 2. ครูควรตองออกแบบการจัดการเรียนรู ท่ีมีความเชื่อมโยงระหวางเปาหมาย กิจกรรมในการจัดการเรียนรู การวัดผลประเมินผล บันทึกหลังการสอน และวิจัยในชั้นเรียนใหครอบคลุมวงจร PDCA โดยการวิเคราะหหลักสูตรใหครอบคลุมเปาหมายการจัดการเรียนรูท้ัง 3 ดาน คือ ดานพุทธิพิสัย ( Cognitive Domain) ดานทักษะพิสัย ( Psychomotor Domain )

๒๙

ดานจิตพิสัย (Affective Domain ) พรอมกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จ ( KPI ) ใหครอบคลุมท้ัง 3 ดาน เพ่ือเปนการงายตอการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับเปาหมายโดยใชสื่อประกอบ ท้ังสื่อธรรมชาติ สื่อทองถ่ิน หรือสื่อเทคโนโลยี และใชเทคนิคการจัดการเรียนรูท่ีเราใจผูเรียน วัดผลประเมินผลดวยวิธีการท่ีหลากหลาย นําผลการประเมินมาบันทึกเปนบันทึกหลังการสอนใหสอดคลองกับเปาหมายการเรียนรู และนําผลการประเมินมาแกปญหาในกรณีท่ีการจัดการเรียนรูไมบรรลุเปาหมายในการจัดการเรียนรู และนําผลไปพัฒนาใหสูงข้ึนในกรณีท่ีบรรลุเปาหมายในการจัดการเรียนรู 3. ครูควรใชการสอนเชิงรุก ( Active Learning ) เชน การสอนแบบ PBL 4. ควรจัดกิจกรรม KM เพ่ือพัฒนางานแผนการจัดการเรียนรู การออกแบบการจัดการเรียนรู การวัดผลประเมินผล และวิจัยในชั้นเรียน ท้ังภายในและเครือขายโรงเรียน 4. ดานการประกันคุณภาพภายใน เพ่ือพัฒนาระบบคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง สถานศึกษาควรกําหนดมาตรฐานการศึกษาแทนการประกาศใชมาตรฐานและตัวบงชี้ของ สพฐ. และจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ และแผนปฏิบัติการประจําปใหอิงกับมาตรฐานและตัวบงชี้ของสถานศึกษาเอง สถานศึกษาควรนําผลการประเมินท้ังคุณภาพภายในและผลการประเมินคุณภาพภายนอกมาเพ่ือแกปญหาและพัฒนาใหดียิ่ง ๆ ข้ึน โดยใชแนวทางวงจรคุณภาพ เดมม่ิง และใหเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีครอบคลุมการดําเนินงานตามกฎกระทรวงฯ นวัตกรรมหรือตัวอยางการปฏิบัติท่ีดี (Good practice) ของสถานศึกษาท่ีเปนประโยชนตอสังคม (ถามี) ไมมี

สวนท่ี 2

๓๐

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูเรียน ระดับคุณภาพ : ดีมาก ๑. กระบวนการพัฒนา สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผูเรียนดวยวิธีการท่ีหลากหลาย ครูจัดการเรียนรูใหเปนไปตามศักยภาพของผูเรียน และเปนไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมีการออกแบบการจัดการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียนโดยมีการจัดการเรียนเรียนรูท้ังรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบรวมมือกันเรียนรู แบบใชกระบวนการคิด กระบวนการใชปญหาเปนหลักและเนนเรื่องการอานออกเขียนไดของผูเรียนเปนเรื่องสําคัญท่ีสุด โดยมุงพัฒนาใหผูเรียนทุกคนอานออกและเขียนไดตั้งแตระดับชั้น ป. ๑ พัฒนาครูทุกคนใหมีความสามารถในการนําเทคนิควิธีสอนใหตรงตามศักยภาพผูเรียน ใชสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหลงเรียนรูและแหลงสืบคนขอมูล ไดแกหองสมุด หอง Smart classroom ครูในสายชั้นเดียวกันรวมกันกําหนดแผนการจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผลแบบบูรณาการ ครูเนนการใชคําถามเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียน นอกจากนี้ สถานศึกษาไดมีการดําเนินการเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตของผูเรียน เพ่ือใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข เนนการพัฒนาดานคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกับวัยของผูเรียน และตามนโยบายของผูบริหารเรื่อง “โรงเรียนคุณธรรม” โดยการจัดอบรมคุณธรรมกับนักเรียนทุกระดับชั้น จัดกิจกรรมการพัฒนาใหเหมาะสมกับวัย พัฒนาคุณธรรมผูเรียนตามหลักสูตร เนนใหผูเรียนมีวินัย ซ่ือสัตย รับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ มีระบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิต นําภูมิปญญาทองถ่ินมารวมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอน และมีการเรียนรูในโลกกวาง การเขาไปศึกษากับภูมิปญญาในชุมชนรอบๆสถานศึกษา

๒.ผลการดําเนินงาน ในดานผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการผูเรียนสามารถอานออกและอานคลองตามมาตรฐานการอานในแตละระดับชั้น สามารถเขียนสื่อสารไดดีรูจักการวางแผน สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนไดดีตามหลักประชาธิปไตย กลาแสดงออก และแสดงความคิดเห็น หรือวิพากษไดอยางสรางสรรค สืบคนขอมูลหรือแสวงหาความรูจากสื่อ เทคโนโลยีไดดวยตนเองรวมท้ังสามารถวิเคราะห จําแนกแยกแยะไดวาสิ่งไหนดี สําคัญ จําเปน รวมท้ังรูเทาทันสื่อและสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วผูเรียนรูและตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติดตางๆ เลือกรับประทานอาหารท่ีสะอาด และมีประโยชน รักการออกกําลังกาย นักเรียนทุกคนสามารถเลนกีฬาไดอยางนอยคนละประเภท ยอมรับในกฎ กติกาของกลุม ของสถานศึกษา ของสังคม มีทัศนคติท่ีดีตออาชีพสุจริต รวมถึงมีความเขาใจเรื่องความแตกตางระหวางบุคคลและระหวางวัย ท้ังนี้ มีผลการดําเนินงานเชิงประจักษจากการประเมินในดานตาง ๆ ดังนี้

ประเด็น ผลการประเมิน

๓๑

ประเด็น ผลการประเมิน ความสามารถในการอาน (ป.๑ – ป.๔)

ผลการประเมินความสามารถในการอานของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ – ๔ (ระดับดี)

ความสามารถในการสื่อสาร คิดคํานวณ และคิดวิเคราะห

ความสามารถในการส่ือสาร คิดคํานวณ และคิดวิเคราะหของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ –6 (ระดับดีเย่ียม)

ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

ความสามารถในการใชเทคโนโลยีของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ –6 (ระดับดีเย่ียม)

0

10

20

30

40

50

60

70

80

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4

ดีเย่ียม

ดี

ผาน

ปรับปรุง

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ดีเย่ียม

ดีมาก

ดี

พอใช

ปรับปรุง

0

20

40

60

80

100

120

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ดีเย่ียม

ดีมาก

ดี

พอใช

๓๒

ประเด็น ผลการประเมิน ผลการทดสอบระดับชาติ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2559 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

หมายเหตุ คะแนนเฉล่ียวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรของนักเรียนสูงกวา คะแนนเฉล่ียทั้งระดับจังหวัด

ระดับสังกัด สช. และสูงกวาคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2559 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3

หมายเหตุ คะแนนเฉล่ียวิชาวิทยาศาสตรและสังคมศึกษาของนักเรียนสูงกวา คะแนนเฉล่ียทั้งระดับจังหวัด

ระดับสังกัด สช. และสูงกวาคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ

รอยละของจํานวนนักเรียนท่ีมผีลการประเมินผลสมัฤทธิ์ผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (NT) ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓

ประจําปการศึกษา ๒๕๕๙ จําแนกตามระดับคุณภาพ

0

10

20

30

40

50

60

ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมฯ ภาษาอังกฤษ

โรงเรียน

จังหวัด

สช.

ประเทศ

0

10

20

30

40

50

60

ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมฯ ภาษาอังกฤษ

โรงเรียน

จังหวัด

สช.

ประเทศ

0

10

20

30

40

50

60

70

80

ดานภาษา ดานคํานวณ ดานเหตุผล

ดีมาก

ดี

พอใช

ปรับปรุง

๓๓

ประเด็น ผลการประเมิน คุณลักษณะท่ีพึงประสงคของผูเรียน

ผลการประเมินนักเรียนดานคุณธรรม จริยธรรม ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ – ๖

ผลการประเมินนักเรียนดานการมีสวนรวมในการอนุรักษธรรมชาต ิ

ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ – ๖

ผลการประเมินนักเรียนดานความภาคภูมิใจในความเปนไทย

ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ – ๖

0

20

40

60

80

100

120

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ดีเย่ียม

ดีมาก

ดี

พอใช

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

80.00

90.00

100.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ระดับคุณภาพ 5

ระดับคุณภาพ 4

ระดับคุณภาพ 3

ระดับคุณภาพ 2

ระดับคุณภาพ 1

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

80.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ระดับคุณภาพ 5

ระดับคุณภาพ 4

ระดับคุณภาพ 3

ระดับคุณภาพ 2

ระดับคุณภาพ 1

๓๔

ประเด็น ผลการประเมิน ผลการประเมินนักเรียนดานการยอมรับความคิดเห็นของผูอ่ืน สุขภาวะทางจิต

ภูมิคุมกัน และความเปนธรรมตอสังคม ท่ีอยูในระดับดีเย่ียม

ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ – ๖

๔. จุดเดน ผูเรียนอานหนังสือออกและอานคลอง รวมท้ังสามารถเขียนเพ่ือการสื่อสารไดทุกคน สามารถใชเทคโนโลยีในการแสวงหาความรูไดดวยตนเอง สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยูในระดับดี มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) มีพัฒนาการท่ีดีข้ึนมาโดยตลอด ผูเรียนมีสุขภาพรางกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ําหนักสวนสูงตามเกณฑ มีระเบียบวินัยจนเปนเอกลักษณของสถานศึกษาเปนท่ียอมรับของชุมชนโดยรอบในเรื่องความมีวินัย เคารพกฎกติกามารยาทของสังคม เชน การแตงกายเปนระเบียบเรียบรอย มาโรงเรียนทันเวลา การไหวขอบคุณคนขับรถรับสง เปนตน ๕. จุดควรพัฒนา ผูเรียนในระดับชั้น ป.๑ – ป.๓ ยังตองเรงพัฒนาดานการนําเสนอ การอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางสมเหตุสมผล และตองพัฒนาทักษะการแกปญหาตามสถานการณไดอยางเหมาะสมผูเรียนในระดับชั้น ม.๑ – ม.๓ ยังตองไดรับการสงเสริมในดานทัศนคติท่ีดีตอความเปนไทยไมหลงใหลกับคานิยมตางชาติ จนเกิดการลอกเลียนแบบ ทําใหลืมวัฒนธรรมอันดีงามของไทย การใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคและเปนประโยชน

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

80.00

90.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ระดับคุณภาพ 5

ระดับคุณภาพ 4

ระดับคุณภาพ 3

ระดับคุณภาพ 2

ระดับคุณภาพ 1

๓๕

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผูบริหารสถานศึกษา ระดับคุณภาพ: ดีมาก ๑.กระบวนการพัฒนา โรงเรียนไดดําเนินการวิเคราะหสภาพปญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผานมา โดยการศึกษาขอมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผนรวมกันกําหนดเปาหมาย ปรับวิสัยทัศน กําหนดพันธกิจ กลยุทธ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป ใหสอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา พรอมท้ังจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผูรับผิดชอบ ดําเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือใหบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว มีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน และสรุปผลการดําเนินงาน ๒. ผลการพัฒนา ๒.๑ สถานศึกษามีการกําหนดเปาหมาย วิสัยทัศนและพันธกิจสอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความตองการของชุมชน ทองถ่ิน และสอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ ๒.๒ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป สอดคลองกับการพัฒนาผูเรียนทุกกลุมเปาหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีความรู ความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตําแหนง ขอมูลสารสนเทศมีความถูกตอง ครบถวน ทันสมัย นําไปประยุกตใชได ดําเนินการอยางเปนระบบและมีกิจกรรมจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมท่ีกระตุนผูเรียนใหใฝเรียนรู ๒.๓ สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป ใหสอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยผูมีสวนไดเสียมีสวนรวมในการพัฒนาและรวมรับผิดชอบ ๒.๔ ผูเก่ียวของทุกฝาย และเครือขายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีสวนรวมในการ รวมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผิดชอบตอผลการจัดการศึกษา ๒.๕ สถานศึกษามีการนิเทศ กํากับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม เปนระบบและตอเนื่อง เปดโอกาสใหผูเก่ียวของมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ๒.๖ สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบโดยทุกฝายมีสวนรวม ยึดหลัก ธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุงพัฒนาผูเรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา ๒.๗ สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากโรงเรียนเครือขาย สงผลใหสถานศึกษามีสื่อ และแหลงเรียนรูท่ีมีคุณภาพ

๓๖

วิธีการพัฒนา ผลการพัฒนา ก า ร พั ฒ น า ค รูบุ ค ล า ก ร ท า งการศึกษา

แผนภูมิแสดงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา

การมีสวนรวมของเครือขายในการวางแ ผ น ก า ร พั ฒ น าคุณภาพการศึกษา

แผนภูมิแสดงจํานวนเครือขายท่ีมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ

การศึกษา

การจัดหาทรัพยากร ผูบริหารไดระดมทุนทรัพยากรสําหรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใน

สถานศึกษาท้ังในรูปของงบประมาณ และบุคคลท่ีเปนภูมิปญญาจากทองถ่ินมาชวยในการสนับสนุนการเรียนการสอน

การนิ เ ทศ กํ า กั บ ติ ด ต า ม แ ล ะประเมินผล

แผนภูมิแสดงจํานวนครูท่ีไดรับการนิเทศ

5

30 19

10 ยังไมเคยไดรับการพัฒนา

1 ครั้ง/ภาคเรียน

2 ครั้ง/ภาคเรียน

มากกวา 2 ครั้ง / ภาคเรียน

1

3

3 2 ครั้งตอภาคเรียน

1 ครั้งตอภาคเรียน

มากกวา 2 ครั้ง

59

5

2 ครั้งข้ึนไป

1 ครั้ง

๓๗

๓. จุดเดน โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอยางเปนระบบ โรงเรียนไดใชเทคนิคการประชุมท่ีหลากหลายวิธี เชน การประชุมแบบมีสวนรวม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุม เพ่ือใหทุกฝายมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย ท่ีชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป ท่ีสอดคลองกับผลการจัดการศึกษา สภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ท่ีมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผูสอนสามารถจัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ มีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผล การดําเนินงาน และจัดทํารายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนไดใชกระบวนวิจัยในการรวบรวมขอมูล เพ่ือใชเปนฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ๔. จุดควรพัฒนา 1. เปดโอกาสใหผูปกครองไดมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผูเรียน 2. สรางเครือขายความรวมมือของผูมีสวนเก่ียวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียนใหมีความเขมแข็งมีสวนรวมรับผิดชอบตอผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

๓๘

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ระดับคุณภาพ: ดีมาก ๑.กระบวนการพัฒนา โรงเรียนดําเนินการสงเสริมใหครูจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผู เรียนเปนสําคัญ โดยการดําเนินงาน/กิจกรรมอยางหลากหลาย ไดแก งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา มีการบูรณาการภาระงาน ชิ้นงาน โดยทุกระดับชั้นจัดทําหนวยบูรณาการอาเซียน เศรษฐกิจพอเพียง ปรับโครงสรางรายวิชา หนวยการเรียนรูลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู สัดสวนคะแนนแตละหนวย กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีสอดคลองกับหนวยการเรียนรู สนับสนุนใหครูจัดการเรียนการสอนท่ีสรางโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวม ไดลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรูไดดวยตนเอง จัดการเรียนการสอนท่ีเนนทักษะการคิด เชน จัดการเรียนรูดวยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหนาท่ีใหนักเรียนจัดปายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานท่ีตาง ๆท้ังภายในหองเรียนและนอกหองเรียน ครูใชสื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปญญาทองถ่ิน มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนท่ีใช ครูทุกคนทํางานวิจัยในชั้นเรียนภาคเรียนละ ๑ เรื่อง ผลิตสื่อเดือนละ 1 ชิ้น และไดรับการตรวจใหคําแนะนําผูบริหารโรงเรียน ๒.ผลการดําเนินงาน

จากการดําเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอยางหลากหลาย เพ่ือพัฒนาใหครูการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ สงผลใหผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานท่ี ๓ อยูในระดับดีมาก ๓.จุดเดน ครูมีความตั้งใจ มุงม่ันในการพัฒนาการสอนโดยจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรูโดยการคิด ไดปฏิบัติจริง มีการใหวิธีการและแหลงเรียนรูท่ีหลากหลายใหนักเรียนแสวงหาความรูจากสื่อเทคโนโลยีดวยตนเองอยางตอเนื่องนักเรียนมีสวนรวมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเรียนรู ๔.จุดควรพัฒนา ควรนําภูมิปญญาทองถ่ินใหเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรูและการใหขอมูลยอนกลับแกนักเรียนทันทีเพ่ือนักเรียนนําไปใชพัฒนาตนเอง

๓๙

มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

ระดับคุณภาพ: ดีมาก ๑. กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนดําเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ๘ ประการ ไดแก ๑)กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๒) จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษามุงเนนคุณภาพตามมาตรฐาน ๓) จัดการและบริหารขอมูลสารสนเทศอยางเปนระบบโดยใชเทคโนโลยีชวยในการเก็บขอมูล วิเคราะหขอมูลเปนสารสนเทศท่ีเปนประโยชนในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ๔) จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ๕) ดําเนินการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ๖) ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา ๗)จัดทํารายงานประจําปท่ีเสนอผลการประเมินคุณภาพภายใน ๘) โรงเรียนดําเนินการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องโดยจัดประชุมคณะครู ผูปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษานําเสนอผลการดําเนินงานรายงานประจําปของสถานศึกษาในปการศึกษาท่ีผานมา วิเคราะหผลการประเมินคุณภาพภายในจากรายงานประจําปของปการศึกษาท่ีผานมา วิเคราะหจุดเดน จุดท่ีควรพัฒนาและจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปตามจุดท่ีควรพัฒนา ประกอบดวยโครงการ/กิจกรรมท่ีจะพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาโดยเนนท่ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จัดทําโครงการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามีกิจกรรมใหความรูความเขาใจแนวทางการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในใหครูทุกคนในโรงเรียนเพ่ือใหคณะครู บุคลากรทุกฝายท่ีเก่ียวของมีความเขาใจการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แตงต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน ใหปฏิบัติหนาท่ีติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษาภาคเรียนละ ๑ ครั้ง จัดทําเครื่องมือใหนักเรียนประเมินตนเองในการเรียนรู ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเองท่ีวางไว คณะกรรมการประกันคุณภาพของโรงเรียนประเมินการดําเนินงานตามมาตรฐานและสรุปผลการดําเนินงานเพ่ือพัฒนาปรับปรุงตลอดปการศึกษา ติดตามการประเมินโครงการและกิจกรรมสรุปผลการดําเนินงานปรับปรุงการทํางานอยางมีสวนรวมของทุกฝาย โรงเรียนจัดทําแบบสํารวจความพึงพอใจและประเมินผลการดําเนินงานของโรงเรียนจากนักเรียน ผูปกครอง คณะกรรมการของสถานศึกษาในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ๒. ผลการดําเนินงาน

โรงเรียนมีการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาอยางเปนระบบมีผลการประเมินคุณภาพภายในท่ีระดับคุณภาพดีและคณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ชุมชนมีความพึงพอใจในการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน

๓. จุดเดน

โรงเรียนใหความสําคัญกับการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเนนการสรางความเขาใจและใหความรูดานการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝายท่ีเก่ียวของท่ีชัดเจน เปนประโยชนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเนนการมีสวนรวม ดําเนินการในรูปของคณะกรรมการ สรางวัฒนธรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหกับบุคคลท่ีเก่ียวของทุกระดับ

๔๐

๔. จุดควรพัฒนา

โรงเรียนจัดระบบใหครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แตยังขาดการใหขอมูลยอนกลับแกครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือยกระดับคุณภาพของนักเรียน นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู แตก็ยังตองพัฒนาเรื่องการติดตามชวยเหลือดานการเรียนรูของนักเรียนเปนรายบุคคลใหสมํ่าเสมอ

สรุปผลการประเมินในภาพรวม ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยูในระดับ ๔ ดีมาก จากผลการดําเนินงานโครงการและกิจกรรมตางๆ สงผลใหสถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสําเร็จตามท่ีตั้งเปาหมายไวในแตละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปวาไดระดับดีมาก ท้ังนี้เพราะมาตรฐานท่ี ๑ ผลการจัดการศึกษา อยูในระดับดี มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการศึกษา อยูในระดับดีมาก มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ อยูในระดับดีมาก มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผล อยูในระดับดีมาก ท้ังนี้ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางหลากหลายท่ีเปนไปตามปญหาและความตองการพัฒนาตามสภาพของผูเรียน สอดคลองกับจุดเนนของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนทองถ่ิน จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนอยูในระดับดีเยี่ยมพัฒนาการของคาเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสูงข้ึน ผูเรียนมีความสามารถในการอานและเขียนการสื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษความสามารถในการคิดคํานวณการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดดี และมีความประพฤติดานคุณธรรมจริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษากําหนดปรากฏอยางชัดเจน ดังท่ีปรากฏผลประเมินในมาตรฐานท่ี ๑ ในดานกระบวนการบริหารจัดการของผูบริหารสถานศึกษามีผลประเมินในรายมาตรฐานอยูในระดับดีมาก สถานศึกษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดําเนินงานตามแผนท่ีเกิดจากการมีสวนรวม ใชผลการประเมินและการดําเนินงานท่ีผานมาเปนฐานในการพัฒนา และสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการดําเนินงาน และการปรับปรุงแกไขงานใหดีข้ึนอยางตอเนื่อง ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญมีผลประเมินอยูในระดับดีมาก วิเคราะห ออกแบบและจัดการเรียนรูท่ีเปนไปตามความตองการของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู ใชสื่อการเรียนรู ติดตามตรวจสอบและชวยเหลือนักเรียนเพ่ือพัฒนาและแกปญหารายบุคคล และการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกข้ันตอน สถานศึกษาดําเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในอยางเปนข้ันตอน จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนมีผลประเมินอยูในระดับดีมาก โดยสถานศึกษาใหความสําคัญกับผูเก่ียวของทุกฝายเพ่ือเกิดความรวมมือในการวางระบบและดําเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเปนอยางดี และผูมีสวนเก่ียวของมีความม่ันใจตอระบบการบริหารและการจัดการของสถานศึกษาในระดับสูง

๔๑

สวนท่ี 3

สรุปผล แนวทางการพฒันา และความตองการการชวยเหลือ

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเปนขอมูลสารสนเทศสําคัญท่ีสถานศึกษาจะตองนําไปวิเคราะห สังเคราะหเพ่ือสรุปนําไปสูการเชื่อมโยงหรือสะทอนภาพความสําเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (๓-๕ ป)และนําไปใชในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากขอมูลการดําเนินของสถานศึกษาและผลจากการดําเนินงาน จึงสามารถสรุปเปน จุดเดน จุดควรพัฒนาของแตละมาตรฐาน พรอมท้ัง แนวทางการพัฒนาในอนาคตและความตองการความชวยเหลือไดดังนี้

จุดเดน

1. ดานผูเรียน ผูเรียนอานหนังสือออกและอานคลอง รวมท้ังสามารถเขียนเพ่ือการสื่อสารไดทุกคน สามารถใชเทคโนโลยีในการแสวงหาความรูไดดวยตนเอง สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยูในระดับดี มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) มีพัฒนาการท่ีดีข้ึนมาโดยตลอด ผูเรียนมีสุขภาพรางกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ําหนักสวนสูงตามเกณฑ มีระเบียบวินัยจนเปนเอกลักษณของสถานศึกษาเปนท่ียอมรับของชุมชนโดยรอบในเรื่องความมีวินัย เคารพกฎกติกามารยาทของสังคม เชน การแตงกายเปนระเบียบเรียบรอย มาโรงเรียนทันเวลา การไหวขอบคุณคนขับรถรับสง เปนตน ๒. ดานกระบวนการบริหารและการจัดการของผูบริหารสถานศึกษา

๑) ผูบริหารมีความตั้งใจ มีความมุงม่ัน มีหลักการบริหาร และมีวิสัยทัศนท่ีดีในการบริหารงาน สามารถเปนแบบอยางท่ีดีในการทํางาน และคณะกรรมการสถานศึกษามีความตั้งใจ และมีความพรอมในการปฏิบัติหนาท่ีตามบทบาท

๒) โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอยางเปนระบบ โรงเรียนไดใชเทคนิคการประชุม ท่ีหลากหลายวิธี เชน การประชุมแบบมีสวนรวม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุม เพ่ือใหทุกฝายมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายท่ีชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําปท่ีสอดคลองกับผลการจัดการศึกษา สภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ท่ีมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตรของสถานศึกษา ครูผูสอนสามารถจัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ มีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผล การดําเนินงาน และจัดทํารายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนไดใชกระบวนวิจัยในการรวบรวมขอมูลมาใชเปนฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ๓. ดานกระบวนการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

๑) ครูพัฒนาตนเองอยูเสมอ มีความตั้งใจ มุงม่ัน ในการปฏิบัติหนาท่ีอยางเต็มเวลาและความสามารถ

๒) ครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนแสวงหาความรูจากสื่อเทคโนโลยีดวยตนเองอยางตอเนื่อง ๓) ครูใหนักเรียนมีสวนรวมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเรียนรู

๔๒

๔) ครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนเรียนรูจากการคิดไดปฏิบัติจริงดวยวิธีการและแหลงเรียนรู ท่ีหลากหลาย

๕) ผลงานวิจัยในชั้นเรียนของครูทุกคน ไดรับการตรวจประเมินและคําแนะนําจากคณะกรรมการวิจัย ๔. ดานการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผล

โรงเรียนใหความสําคัญกับการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเนนการสรางความเขาใจและใหความรูดานการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝายท่ีเก่ียวของอยางชัดเจน เปนประโยชนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การดําเนินงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเนนการมีสวนรวม โดยดําเนินการในรูปของคณะกรรมการสรางวัฒนธรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหกับบุคคลท่ีเก่ียวของทุกระดับ

จุดควรพัฒนา 1. ดานผูเรียน ผูเรียนในระดับชั้น ป.๑ – ป.๓ ยังตองเรงพัฒนาดานการนําเสนอ การอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางสมเหตุสมผล และตองพัฒนาทักษะการแกปญหาตามสถานการณไดอยางเหมาะสมผูเรียนในระดับชั้น ม.๑ – ม.๓ ยังตองไดรับการสงเสริมในดานทัศนคติท่ีดีตอความเปนไทยไมหลงใหลกับคานิยมตางชาติ จนเกิดการลอกเลียนแบบ ทําใหลืมวัฒนธรรมอันดีงามของไทย การใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคและเปนประโยชน 2. ดานกระบวนการบริหารและการจัดการของผูบริหารสถานศึกษา

๑) ควรเปดโอกาสใหผูปกครองไดมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผูเรียนมากข้ึน

๒) ควรสรางเครือขายความรวมมือกับผูมีสวนเก่ียวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ใหมีความเขมแข็ง มีสวนรวมรับผิดชอบตอผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา 3. ดานคร ู

๑) ครูควรจัดกิจกรรมเนนใหผูเรียนไดมีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะหอยางหลากหลาย และใชแหลงเรียนรูในการพัฒนาตนเอง

๒) ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในระดับชั้น ป.๑ – ป.๓ ใหสามารถนําเสนอ อภิปราย และแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางสมเหตุสมผล และมีทักษะในการแกปญหาตามสถานการณไดอยางเหมาะสม

๓) ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในระดับชั้น ม.๑ – ม.๓ ใหมีพฤติกรรม ทัศนคติท่ีดีตอความเปนไทย ไมหลงใหลกับคานิยมตางชาติ จนเกิดการลอกเลียนแบบ ทําใหลืมวัฒนธรรมอันดีงามของไทย

๔) ครคูวรจัดการเรียนการสอนดวยวิธีการท่ีหลากหลาย สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและฝกใหนักเรียนไดคิดวิเคราะห หาความรูจากแหลงเรียนรู สื่อ เทคโนโลยีใหมากข้ึน และพัฒนาสื่อ แหลงเรียนรู จัดเตรียมหองปฏิบัติการใหอยูในสภาพดีและพรอมใชงานเสมอ

๔๓

๕) ครูควรวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีท่ีหลากหลายตามสภาพจริง สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และธรรมชาติวิชา

๖) ครูควรนําภูมิปญญาทองถ่ินใหเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรู

๗) ครูควรใหขอมูลยอนกลับแกนักเรียนทันทีเพ่ือนักเรียนนําไปใชพัฒนาตนเอง 4. ดานการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผล

๑)สถานศึกษาจัดระบบใหครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แตยังขาดการใหขอมูลยอนกลับแกครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือยกระดับคุณภาพของนักเรียน

๒) นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู แตยังขาดการติดตาม ชวยเหลือดานการเรียนรูของนักเรียนเปนรายคน

แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๑. การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเนนการพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคลใหชัดเจนข้ึน ๒. การสงเสริมใหครูเห็นความสําคัญของการจัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดทําการวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหสามารถเรียนรูไดเต็มศักยภาพ ๓. กาพัฒนาบุคลากรโดยสงเขารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรูในงานท่ีไดรับมอบหมาย ติดตามผลการนําไปใชและผลท่ีเกิดกับผูเรียนอยางตอเนื่อง ๔. การพัฒนาสถานศึกษาใหเปนสังคมแหงการเรียนรูของชุมชน

ความตองการและการชวยเหลือ ๑.การพัฒนาครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ท่ีสอดคลองกับการพัฒนาผูเรียนในศตวรรษท่ี ๒๑ ๒.การสรางขอสอบท่ีสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูตามแนวทางของการประเมิน O-NET และ PISA

๔๔

สวนท่ี 4

ภาคผนวก ตารางแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับประถมศึกษาปท่ี 1 – มัธยมศึกษาปท่ี 3

ปการศึกษา 2559

วิชา

ประถมศกึษาปที่ 1 ประถมศกึษาปที่ 2 ประถมศกึษาปที่ 3 1 2 เฉลี่ย 1 2 เฉลี่ย 1 2 เฉลี่ย

ภาษาไทย 76.11 74.38 75.25 73.39 73.63 73.51 71.15 73.87 72.51 คณิตศาสตร 73.90 75.17 74.53 76.76 72.00 74.38 70.72 71.39 71.06 วิทยาศาสตร 76.10 76.66 76.38 71.62 76.44 74.03 72.01 75.41 73.71 สังคมศึกษา 75.78 76.67 76.23 79.41 77.62 78.51 66.97 73.01 69.99 ประวัติศาสตร 76.66 72.66 74.66 75.93 78.42 77.18 77.76 76.03 76.90 สุขศึกษาและพลศึกษา 81.87 82.73 82.30 81.09 81.37 81.23 80.42 81.95 81.19 ศิลปศึกษา 83.93 81.50 82.71 80.50 81.77 81.13 74.09 75.20 74.65 การงานอาชีพ 77.86 80.23 79.05 79.22 78.53 78.87 78.54 78.28 78.41 ภาษาอังกฤษ 72.94 72.96 72.95 71.78 73.89 72.88 66.90 69.90 68.40 หนาที่พลเมือง 80.22 80.85 80.53 84.94 84.92 84.93 74.50 80.43 77.47 วิทยาศาสตร (เพ่ิมเตมิ) 76.08 76.51 76.30 73.70 77.17 75.44 73.20 75.62 74.41 ภาษาอังกฤษ (เพ่ิมเตมิ) 73.17 73.23 73.20 72.74 75.02 73.88 78.20 70.26 69.23 คอมพิวเตอร 81.81 82.66 82.24 77.47 81.79 79.63 79.35 82.40 80.88

รวมเฉลี่ย 77.42 77.40 77.41 76.81 77.90 77.35 77.37 75.67 74.52

วิชา

ประถมศกึษาปที่ 4 ประถมศกึษาปที่ 5 ประถมศกึษาปที่ 6 1 2 เฉลี่ย 1 2 เฉลี่ย 1 2 เฉลี่ย

ภาษาไทย 67.42 70.23 68.82 67.46 67.32 67.39 71.49 72.54 72.02 คณิตศาสตร 70.41 70.39 70.40 65.47 71.96 68.71 67.66 70.49 69.07 วิทยาศาสตร 72.72 74.09 73.41 72.06 71.05 71.56 74.71 71.04 72.88 สังคมศึกษา 68.98 70.39 69.69 65.47 62.90 64.18 68.48 61.82 65.15 ประวัติศาสตร 64.86 64.69 64.78 70.94 70.70 70.82 69.25 62.42 65.84 สุขศึกษาและพลศึกษา 73.89 77.65 75.77 82.25 84.73 83.97 73.69 76.31 75.00 ศิลปศึกษา 78.08 81.52 79.80 76.84 81.49 79.16 77.28 77.54 77.41 การงานอาชีพ 75.36 78.72 77.04 70.53 78.26 74.39 75.94 82.46 79.20 ภาษาอังกฤษ 68.48 66.62 67.55 59.00 61.03 60.01 62.12 66.17 64.14 หนาที่พลเมือง 76.89 79.00 77.94 72.79 84.21 78.50 81.07 73.29 82.18 วิทยาศาสตร (เพ่ิมเตมิ) 74.86 75.73 75.30 73.37 73.05 73.21 76.75 74.04 75.39 ภาษาอังกฤษ (เพ่ิมเตมิ) 71.78 68.60 70.19 65.74 65.12 65.43 66.17 69.66 67.92 คอมพิวเตอร 62.77 69.59 66.18 63.71 72.67 68.19 63.67 68.68 66.18

รวมเฉลี่ย 71.27 72.86 72.07 69.66 72.65 71.16 71.41 72.03 71.72

๔๕

วิชา

มัธยมศกึษาปที ่1 มัธยมศกึษาปที ่ 2 มัธยมศกึษาปที ่ 3 1 2 เฉลี่ย 1 2 เฉลี่ย 1 2 เฉลี่ย

ภาษาไทย 65.20 65.53 65.37 63.82 65.52 64.67 65.78 69.77 67.77 คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 60.28 60.83 60.55 61.03 63.84 62.43 60.07 65.87 62.98 วิทยาศาสตร 60.04 61.63 60.83 63.16 62.13 62.64 62.66 65.71 64.19 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 63.16 63.38 63.27 66.13 65.70 65.92 69.14 66.51 67.82 ประวัติศาสตร 55.83 59.28 57.56 59.15 55.60 57.37 60.72 57.85 59.29 สุขศึกษา 75.96 77.25 76.61 77.28 77.03 77.15 76.77 77.38 77.07 พลศึกษา 76.31 77.99 77.15 77.07 78.59 77.83 77.76 78.35 78.06 ศิลปะ 77.81 78.35 78.08 77.94 77.73 77.83 80.62 77.20 78.91 ดนตรี นาฏศิลป 72.58 72.52 72.55 74.59 70.57 72.58 74.08 74.33 74.21 การงานอาชีพ 72.31 73.82 73.06 75.10 75.77 75.43 76.91 75.24 76.07 คอมพิวเตอร 63.47 68.82 66.15 64.08 70.26 67.17 67.63 73.95 70.79 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 59.22 61.48 60.35 58.76 58.03 58.39 64.82 64.78 64.80 คณิตศาสตรเพ่ิมเตมิ 61.68 66.05 63.86 60.45 62.53 61.49 59.73 63.28 61.51

การอาน การเขียน 60.28 60.83 60.55 61.03 63.84 62.43 60.07 65.89 62.98 ภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม 66.74 54.52 60.63 57.38 59.86 58.62 63.61 63.30 63.46 หนาที่พลเมือง 72.96 75.16 74.06 77.08 79.56 78.32 77.73 84.18 80.95

การงานอาชีพเพ่ิมเติม 67.27 74.20 70.74 63.81 81.34 72.57 66.58 81.63 74.11

รวมเฉลี่ย 66.70 68.07 67.39 67.27 68.99 68.13 68.91 71.06 69.99

แผนภูมิแสดงผลสัมฤทธิ์เฉล่ียของระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 – มัธยมศึกษาปท่ี 3

ปการศึกษา 2559

60

62

64

66

68

70

72

74

76

78

80

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

เทอม 1

เทอม 2

เฉลี่ย

๔๖

แผนภูมิแสดงผลสัมฤทธิ์เฉล่ียของระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 – มัธยมศึกษาปท่ี 3

(ภาพรวมโรงเรียน) ปการศึกษา 2559

73.99

67.63

71.87

74.75

69.37

72.96

74.04

68.5

72.19

64

66

68

70

72

74

76

ประถมศกึษา มัธยมศึกษา ภาพรวม

เทอม 1

เทอม 2

เฉลี่ย

๔๗

สรุปผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุมสาระการเรียนรู

ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 – ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2559

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 167 - - 5 10 24 23 46 59 128 76.65 คณิตศาสตร 167 - 1 6 12 27 39 40 42 121 72.46 วิทยาศาสตร 167 - 1 2 4 13 37 51 59 147 88.02 สังคมศึกษา 167 - - 2 4 12 47 59 43 149 89.22 ประวัติศาสตร 167 - - - 9 13 31 49 65 145 86.83 สุขศึกษาและพลศึกษา 167 - - - - - 100 48 18 166 99.40 ศิลปะ 167 - - - - - 5 20 142 167 100.00 การงานอาชพีฯ 167 - - - 2 3 37 52 73 162 97.01 ภาษาอังกฤษ 167 - 2 3 11 28 55 43 25 123 73.65 หนาที่พลเมือง 167 - - - - 4 17 59 87 163 97.60 วิทยาศาสตร(เพิ่มเติม) 167 - - 2 4 8 43 60 50 153 91.62 ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม) 167 - - 3 12 30 55 40 27 122 73.05 คอมพิวเตอร (เพิ่มเติม) 167 - - - - - 1 48 118 167 100

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 2 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 128 - 2 12 11 19 28 23 33 84 65.63 คณิตศาสตร 128 - 1 8 7 11 22 25 54 101 78.91 วิทยาศาสตร 128 - 6 6 16 18 35 20 27 82 64.06 สังคมศึกษา 128 - 1 - 3 9 21 24 70 115 89.84 ประวัติศาสตร 128 - - - - 23 39 35 31 105 82.03 สุขศึกษาและพลศึกษา 128 - - - - - 2 48 78 128 100.00 ศิลปะ 128 - - - - - 12 44 72 128 100.00 การงานอาชพีฯ 128 - - - 1 11 8 38 70 116 90.63 ภาษาอังกฤษ 128 - 3 8 12 26 30 26 23 79 61.72 หนาที่พลเมือง 128 - - - - - 2 22 104 128 100.00 วิทยาศาสตร(เพิ่มเติม) 128 - 3 9 3 24 21 29 39 89 69.53 ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม) 128 - 2 4 8 32 25 30 27 82 64.06 คอมพิวเตอร (เพิ่มเติม) 128 - - - 4 18 12 39 55 106 82.81

๔๘

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 136 - - 6 23 37 27 21 22 70 51.47 คณิตศาสตร 136 - - 5 35 21 36 22 17 75 55.15 วิทยาศาสตร 136 - - - 36 25 24 23 28 75 55.15 สังคมศึกษา 136 - 3 50 28 8 7 12 28 47 34.56 ประวัติศาสตร 136 - - - - - 43 54 39 136 100.00 สุขศึกษาและพลศึกษา 136 - - - - - 1 58 77 136 100.00 ศิลปะ 136 - - - 5 24 40 46 21 107 78.68 การงานอาชพีฯ 136 - - - - - 9 72 55 136 100.00 ภาษาอังกฤษ 136 - - 12 55 27 18 10 14 42 30.88 หนาที่พลเมือง 136 - - - 4 36 50 15 31 96 70.59 วิทยาศาสตร(เพิ่มเติม) 136 - - - 22 38 19 25 32 76 55.88 ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม) 136 - - 8 56 28 16 8 20 44 32.35 คอมพิวเตอร (เพิ่มเติม) 136 - - - 1 - 3 81 51 135 99.26

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 146 - - 29 31 25 31 17 13 61 41.78

คณิตศาสตร 146 - 8 14 25 22 22 13 42 77 52.74

วิทยาศาสตร 146 - 17 7 7 15 29 24 47 100 68.49

สังคมศึกษา 146 - - 2 53 30 27 18 16 61 41.78

ประวัติศาสตร 146 - - 1 83 46 13 2 1 16 10.96

สุขศึกษาและพลศึกษา 146 - 3 11 17 32 13 3 67 83 56.85

ศิลปะ 146 - - - 3 8 36 32 67 135 92.47

การงานอาชีพฯ 146 - - - 11 27 35 23 50 108 73.97

ภาษาอังกฤษ 146 - 19 29 17 16 15 12 38 65 44.52

หนาที่พลเมือง 146 - - - - 13 40 43 50 133 91.10

วิทยาศาสตร(เพ่ิมเติม) 146 - 4 16 4 15 22 31 54 107 73.29

ภาษาอังกฤษ (เพ่ิมเติม) 146 - - 18 31 17 15 15 50 80 54.79

คอมพิวเตอร (เพ่ิมเติม) 146 - 6 21 69 34 12 4 - 16 10.96

๔๙

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 153 - - 24 48 26 27 13 15 55 35.95

คณิตศาสตร 153 - 2 13 69 32 15 10 12 37 24.18

วิทยาศาสตร 153 - 11 13 14 19 31 16 49 96 62.75

สังคมศึกษา 153 - 20 19 43 21 25 11 14 50 32.68

ประวัติศาสตร 153 - 12 10 16 22 27 27 39 93 60.78

สุขศึกษาและพลศึกษา 153 - 8 4 3 9 7 10 112 129 84.31

ศิลปะ 153 - - - 1 12 41 46 53 140 91.50

การงานอาชีพฯ 153 - - 4 4 15 106 22 2 130 84.97

ภาษาอังกฤษ 153 - 50 48 29 6 8 5 7 20 13.07

หนาที่พลเมือง 153 - - - 15 32 47 38 21 106 69.28

วิทยาศาสตร(เพ่ิมเติม) 153 - 9 9 21 15 19 21 48 88 57.52

ภาษาอังกฤษ (เพ่ิมเติม) 153 - 3 16 72 35 9 6 12 27 17.65

คอมพิวเตอร (เพ่ิมเติม) 153 - 2 3 90 43 14 1 - 15 9.80

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 152 - 10 9 19 19 35 25 35 95 62.50

คณิตศาสตร 152 - 27 17 24 15 23 15 31 69 45.39

วิทยาศาสตร 152 - 7 13 10 18 19 23 62 104 68.42

สังคมศึกษา 152 - 21 19 18 3 34 41 16 91 59.87

ประวัติศาสตร 152 - 28 16 12 5 35 24 32 91 59.87

สุขศึกษาและพลศึกษา 152 - 5 11 12 20 26 21 57 104 68.42

ศิลปะ 152 - - - - 6 39 52 55 146 96.05

การงานอาชีพฯ 152 - - - 2 7 46 59 38 143 94.08

ภาษาอังกฤษ 152 - 16 36 63 23 8 - 6 14 9.21

หนาที่พลเมือง 152 - 1 - 4 17 20 15 95 130 85.53

วิทยาศาสตร(เพ่ิมเติม) 152 - 5 9 12 16 19 17 74 110 72.37

ภาษาอังกฤษ (เพ่ิมเติม) 152 - 8 20 35 47 19 15 8 42 27.63

คอมพิวเตอร (เพ่ิมเติม) 152 - 1 2 94 37 18 - - 18 11.84

๕๐

ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 155 - 2 18 47 49 32 7 - 39 25.16

คณิตศาสตร 155 - 52 28 30 13 19 7 6 32 20.65

วิทยาศาสตร 155 - 47 37 23 22 14 7 5 26 16.77

สังคมศึกษา 155 - 28 38 24 29 20 6 10 36 23.23

ประวัติศาสตร 155 - 105 13 13 4 8 4 8 20 12.90

สุขศึกษา 155 - - 1 1 9 40 53 51 144 92.90

พลศึกษา 155 - - 1 1 3 35 72 43 150 96.77

ศิลปะ 155 - - - - 8 3 81 63 147 94.84

ดนตรี 155 - 3 3 41 11 13 31 53 97 62.58

งานบาน 155 - 3 15 5 22 46 31 33 110 70.97

คอมพิวเตอร 155 - 4 28 63 38 16 1 5 22 14.19

ภาษาอังกฤษ 155 - 84 10 9 11 17 14 10 41 26.45

คณิตศาสตร(เพิ่มเติม) 155 - 39 - 63 31 10 6 6 22 14.19

การอาน 155 - 2 36 64 21 25 4 3 32 20.65

ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม) 155 - 30 20 21 26 17 11 30 58 37.42

หนาที่พลเมือง 155 - - - 11 40 17 51 36 104 67.10

งานบาน (เพิ่มเติม) 155 - 18 24 23 29 27 7 27 61 39.35

ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 154 - 2 20 46 49 26 11 - 37 24.03 คณิตศาสตร 154 - 49 29 33 14 18 3 8 29 18.83 วิทยาศาสตร 154 - 42 38 28 27 12 6 1 19 12.34 สังคมศึกษา 154 - 28 38 24 28 20 6 10 36 23.38 ประวัติศาสตร 154 - 89 20 18 10 12 5 - 17 11.04 สุขศึกษา 154 - - 1 1 9 38 53 52 143 92.86 พลศึกษา 154 - - 1 - 3 32 75 43 150 97.40 ศิลปะ 154 - - - - 8 5 79 62 146 94.81 ดนตรี 154 - 3 3 41 11 13 30 53 96 62.34 งานบาน 154 - 3 12 5 17 45 22 50 117 75.97 คอมพิวเตอร 154 - 3 25 51 34 29 6 6 41 26.62 ภาษาอังกฤษ 154 - 83 10 10 13 18 10 10 38 24.68 คณิตศาสตร(เพิ่มเติม) 154 - 35 - 57 31 15 8 8 31 20.13 การอาน 154 - 2 23 67 26 23 9 4 36 23.38 ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม) 154 - 38 24 24 29 15 13 11 39 25.32 หนาที่พลเมือง 154 - - - 11 44 23 43 33 99 64.29 งานบาน (เพิ่มเติม) 154 - 14 25 22 32 29 7 25 61 39.61

๕๑

ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 110 - 1 27 33 26 9 10 4 23 20.91 คณิตศาสตร 110 - 43 - 25 22 8 4 8 20 18.18 วิทยาศาสตร 110 - 4 19 44 24 11 7 1 19 17.27 สังคมศึกษา 110 - 3 31 22 20 11 13 10 34 30.91 ประวัติศาสตร 110 - 63 3 10 9 6 6 13 25 22.73 สุขศึกษา 110 - - - - 6 21 34 49 104 94.55 พลศึกษา 110 - 1 - - - 28 32 49 109 99.09 ศิลปะ 110 - - - - 2 - 82 26 108 98.18 ดนตรี 110 - 11 9 4 6 12 12 56 80 72.73 งานบาน 110 - 9 7 7 4 8 19 56 83 75.45 คอมพิวเตอร 110 - 6 22 27 24 26 5 - 31 28.18 ภาษาอังกฤษ 110 - 53 22 20 5 8 4 8 20 18.18 คณิตศาสตร(เพิ่มเติม) 110 - 39 27 12 32 21 16 4 41 37.27 การอาน 110 - 4 11 22 32 21 16 4 41 37.27 ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม) 110 - 65 8 6 10 14 6 1 21 19.09 หนาที่พลเมือง 110 - 4 1 4 13 12 18 58 88 80.00 งานบาน (เพิ่มเติม) 110 - 34 16 12 4 19 14 11 44 40.00

ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 110 - - 23 31 27 9 16 4 29 26.36 คณิตศาสตร 110 - 36 5 22 25 5 3 14 22 20.00 วิทยาศาสตร 110 - 9 17 37 23 11 11 2 24 21.82 สังคมศึกษา 110 - - 16 11 4 1 4 - 5 4.55 ประวัติศาสตร 110 - 64 12 14 10 5 1 4 10 9.09 สุขศึกษา 110 - - - - 6 28 29 47 104 94.55 พลศึกษา 110 - - - - - 20 41 49 110 100.00 ศิลปะ 110 - - - - 2 - 82 26 108 98.18 ดนตรี 110 - 15 8 4 12 25 12 34 71 64.55 งานบาน 110 - 8 9 3 8 6 25 51 82 74.55 คอมพิวเตอร 110 - 7 21 21 21 24 6 10 40 36.36 ภาษาอังกฤษ 110 - 51 17 14 11 10 3 4 17 15.45 คณิตศาสตร(เพิ่มเติม) 110 - 38 26 13 4 13 8 8 29 26.36 การอาน 110 - 3 10 19 34 20 18 6 44 40.00 ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม) 110 - 55 10 9 13 13 10 23 20.91 หนาที่พลเมือง 110 - 2 1 3 13 12 15 64 91 82.73 งานบาน (เพิ่มเติม) 110 - 29 18 9 4 18 6 26 50 45.45

๕๒

ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 82 - - 1 38 23 9 5 6 20 24.39 คณิตศาสตร 82 - 37 - 7 26 7 - 5 12 14.63 วิทยาศาสตร 82 - 4 17 30 18 7 3 3 13 15.85 สังคมศึกษา 82 - - 4 19 25 17 9 8 34 41.46 ประวัติศาสตร 82 - 36 9 14 5 5 2 11 18 21.95 สุขศึกษา 82 - - - 1 2 19 31 29 79 96.34 พลศึกษา 82 - - - 1 - 8 39 34 81 98.78 ศิลปะ 82 - - - - - - 20 62 82 100.00 ดนตรี 82 - 9 11 5 6 4 1 46 51 62.20 งานบาน 82 - - 4 2 3 14 25 34 73 89.02 คอมพิวเตอร 82 - - 15 15 10 25 14 3 42 51.22 ภาษาอังกฤษ 82 - 32 4 2 10 9 12 13 34 41.46 คณิตศาสตร(เพิ่มเติม) 82 - 35 15 7 6 11 3 5 19 23.17 การอาน 82 - 1 4 20 33 13 8 3 24 29.27 ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม) 82 - 14 21 15 13 6 4 9 19 23.17 หนาที่พลเมือง 82 - - 1 6 6 11 18 40 69 84.15 งานบาน (เพิ่มเติม) 82 - 24 4 8 8 9 14 15 38 46.34

ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 จํานวน น.ร. รอยละ น.ร.

กลุมสาระการเรียนรู จํานวนท่ี จํานวนนักเรียนท่ีมผีลการเรียนรู ท่ีไดระดับ 3 ท่ีไดระดับ 3 เขาสอบ ๐ 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึ้นไป ขึ้นไป

ภาษาไทย 82 - - 1 38 23 9 5 6 20 24.39 คณิตศาสตร 82 - 37 - 7 26 7 - 5 12 14.63 วิทยาศาสตร 82 - 4 17 30 18 7 3 3 13 15.85 สังคมศึกษา 82 - - 4 19 25 17 9 8 34 41.46 ประวัติศาสตร 82 - 36 9 14 5 5 2 11 18 21.95 สุขศึกษา 82 - - - 1 2 19 31 31 29 35.37 พลศึกษา 82 - - - 1 - 8 39 34 81 98.78 ศิลปะ 82 - - - - - - 20 62 82 100.00 ดนตรี 82 - 9 11 5 6 4 1 46 51 62.20 งานบาน 82 - - 4 2 3 14 25 34 73 89.02 คอมพิวเตอร 82 - - 15 15 10 25 14 3 42 51.22 ภาษาอังกฤษ 82 - 32 4 2 10 9 12 13 34 41.46 คณิตศาสตร(เพิ่มเติม) 82 - 35 15 7 6 11 3 5 19 23.17 การอาน 82 - 1 4 20 33 13 8 3 24 29.27 ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม) 82 - 14 21 15 13 6 4 9 19 23.17 หนาที่พลเมือง 82 - - 1 6 6 11 18 40 69 84.15 งานบาน (เพิ่มเติม) 82 - 24 4 8 8 9 14 15 38 46.34

๕๓

ภาพกิจกรรม

๕๔