ระบาดวิทยาของโรคไข...

14
ระบาดวิทยาของโรคไขหวัดนกในประเทศไทยระหวางป 2547-2549 1/ วีรพงษ ธนพงศธรรม 2/ ถนอม นอยหมอ 2/ บทคัดยอ การศึกษานี้เปนการอธิบายลักษณะของการระบาดของโรคไขหวัดนกชนิดชนิดรุนแรง (HPAI) ในประเทศ ไทย ตั้งแตป 2547-2549 ในเชิงพรรณนา (Descriptive study) และเชิงวิเคราะห (Analytical study) วัตถุประสงค เพื่อใหทราบถึงลักษณะของการระบาดที่เกี่ยวของกับชวงเวลา พื้นทีและชนิดสัตว รวมถึงปจจัยที่เกี่ยวของกับตัวสัตว และยังทราบถึงความสัมพันธของปจจัยตางๆ ดังกลาวตอการระบาดของโรคไขหวัดนก โดยใชขอมูลที่ไดจากการเฝา ระวังโรคดวยอาการทางคลินิก ตั้งแตป 2547-2549 จากผลที่ไดพบวาการเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยตั้งแตป 2547-2549 มีแนวโนมลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยในป 2547 มีอัตราสวน (proportion) การเกิดโรค 0.811 และลดลงเหลือ 0.072 ในป 2548, และ 0.001 ในป 2549 ตามลําดับ และพบวาพื้นที่ตางๆ ตามรายภาคของ ประเทศไทยเกิดโรคไขหวัดนกแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยภาคกลางมีอัตราการเกิดโรคไขหวัดนก มากกวาภาคอื่นๆ ของประเทศ 4.46 เทา (3.96<OR<5.02) ซึ่งเปนไปไดวาพื้นที่ภาคกลางเปนพื้นที่ราบลุมมีน้ําตลอด ทั้งปทําใหเหมาะสมตอการทํานาและเลี้ยงเปดไลทุซึ่งถูกรายงานวาเปนพาหะของโรคไขหวัดนก และพบวาการเกิด โรคไขหวัดนกในแตละฤดูตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยโอกาสในการเกิดโรคไขหวัดนกในชวงฤดูฝน (มิถุนายน-ตุลาคม) มากกวาในชวงฤดูรอน (มีนาคม-พฤษภาคม) 3.80 เทา (2.37<OR<6.17) และ โอกาสในการเกิด โรคไขหวัดนกในชวงฤดูหนาว (พฤศจิกายน-กุมภาพันธ) มากกวาชวงฤดูรอน (มีนาคม-พฤษภาคม) 4.97 เทา (3.09<OR<8.08) สวนชนิดสัตวปกที่พบการระบาดสูงสุดไดแกไกพื้นเมืองคือ รอยละ 58.44 รองลงมาไดแกใน เปด คือ รอยละ 25.71 ไกเนื้อ รอยละ 5.83 ไกไข รอยละ 5.27 นกกระทา รอยละ 2.48 และอื่นๆ รอยละ 2.27 ตามลําดับ และอาการของโรคไขหวัดนกในสัตวปกที่พบมากที่สุด ไดแก ตายกะทันหัน รอยละ 36.83 รองลงมาคือ หงอนเหนียงมีสีคล้ํา รอยละ17.10 ระบบทางเดินหายใจ รอยละ 13.96 ระบบประสาท รอยละ13.12 ทองเสีย รอยละ 8.81 ตาขุรอยละ 6.72 หนาบวม รอยละ 3.04 และมีจุดเลือดออกที่หนาแขง รอยละ 0.42 ตามลําดับ จากผลการศึกษาสรุปไดวาปจจัยที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยไดแก พื้นทีภาคกลาง ชวงฤดูไดแกฤดูฝนและฤดูหนาว (ตั้งแตเดือนมิถุนายน-กุมภาพันธ) และชนิดสัตวไดแกไกพื้นเมืองและเปด ซึ่งอาการที่พบมากไดแกตายกะทันหัน รวมกับอาการอื่นๆ ดังนั้น จึงควรนําขอมูลเหลานี้มาใชในการวางแผนเพื่อการ เฝาระวังโรคไขหวัดนกในประเทศไทยตอไป คําสําคัญ : ระบาดวิทยา โรคไขหวัดนก ประเทศไทย 1/ ทะเบียนวิชาการเลขที50(2)-0105-191 2/ สํานักควบคุม ปองกันและบําบัดโรคสัตว กรมปศุสัตว กรมปศุสัตว .พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

Upload: others

Post on 27-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

ระบาดวิทยาของโรคไขหวัดนกในประเทศไทยระหวางป 2547-25491/

วีรพงษ ธนพงศธรรม2/ ถนอม นอยหมอ2/

บทคัดยอ

การศึกษานี้เปนการอธิบายลกัษณะของการระบาดของโรคไขหวัดนกชนิดชนิดรุนแรง (HPAI) ในประเทศ

ไทย ตั้งแตป 2547-2549 ในเชิงพรรณนา (Descriptive study) และเชิงวิเคราะห (Analytical study) วัตถุประสงค

เพื่อใหทราบถงึลักษณะของการระบาดที่เกี่ยวของกับชวงเวลา พืน้ที ่และชนิดสัตว รวมถึงปจจัยทีเ่กี่ยวของกับตัวสัตว

และยังทราบถงึความสัมพนัธของปจจัยตางๆ ดังกลาวตอการระบาดของโรคไขหวัดนก โดยใชขอมูลที่ไดจากการเฝา

ระวังโรคดวยอาการทางคลินิก ตั้งแตป 2547-2549 จากผลที่ไดพบวาการเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยตัง้แตป

2547-2549 มีแนวโนมลดลงอยางมนีัยสําคัญทางสถติิ โดยในป 2547 มีอัตราสวน (proportion) การเกิดโรค 0.811

และลดลงเหลอื 0.072 ในป 2548, และ 0.001 ในป 2549 ตามลําดับ และพบวาพืน้ที่ตางๆ ตามรายภาคของ

ประเทศไทยเกิดโรคไขหวัดนกแตกตางกนัอยางมนีัยสาํคัญทางสถิต ิ โดยภาคกลางมีอัตราการเกิดโรคไขหวัดนก

มากกวาภาคอื่นๆ ของประเทศ 4.46 เทา (3.96<OR<5.02) ซึ่งเปนไปไดวาพืน้ที่ภาคกลางเปนพืน้ที่ราบลุมมนี้าํตลอด

ทั้งปทําใหเหมาะสมตอการทาํนาและเลี้ยงเปดไลทุง ซึ่งถกูรายงานวาเปนพาหะของโรคไขหวัดนก และพบวาการเกิด

โรคไขหวัดนกในแตละฤดูตางกนัอยางมีนยัสําคัญทางสถิติ โดยโอกาสในการเกิดโรคไขหวัดนกในชวงฤดูฝน

(มิถุนายน-ตุลาคม) มากกวาในชวงฤดูรอน (มนีาคม-พฤษภาคม) 3.80 เทา (2.37<OR<6.17) และ โอกาสในการเกิด

โรคไขหวัดนกในชวงฤดูหนาว (พฤศจกิายน-กุมภาพนัธ) มากกวาชวงฤดูรอน (มีนาคม-พฤษภาคม) 4.97 เทา

(3.09<OR<8.08) สวนชนิดสัตวปกที่พบการระบาดสูงสุดไดแกไกพื้นเมืองคือ รอยละ 58.44 รองลงมาไดแกใน

เปด คือ รอยละ 25.71 ไกเนื้อ รอยละ 5.83 ไกไข รอยละ 5.27 นกกระทา รอยละ 2.48 และอื่นๆ รอยละ 2.27

ตามลําดับ และอาการของโรคไขหวัดนกในสัตวปกที่พบมากที่สุด ไดแก ตายกะทันหัน รอยละ 36.83 รองลงมาคือ

หงอนเหนียงมสีีคล้ํา รอยละ17.10 ระบบทางเดินหายใจ รอยละ 13.96 ระบบประสาท รอยละ13.12 ทองเสยี รอยละ

8.81 ตาขุน รอยละ 6.72 หนาบวม รอยละ 3.04 และมีจุดเลือดออกทีห่นาแขง รอยละ 0.42 ตามลําดับ

จากผลการศึกษาสรุปไดวาปจจัยที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยไดแก พื้นที่

ภาคกลาง ชวงฤดูไดแกฤดูฝนและฤดูหนาว (ตั้งแตเดือนมิถุนายน-กุมภาพันธ) และชนิดสัตวไดแกไกพืน้เมืองและเปด

ซึ่งอาการทีพ่บมากไดแกตายกะทนัหัน รวมกับอาการอื่นๆ ดังนัน้ จึงควรนําขอมูลเหลานี้มาใชในการวางแผนเพื่อการ

เฝาระวงัโรคไขหวัดนกในประเทศไทยตอไป

คําสําคัญ : ระบาดวิทยา โรคไขหวัดนก ประเทศไทย

1/ทะเบียนวิชาการเลขที่ 50(2)-0105-191 2/สํานักควบคุม ปองกันและบําบัดโรคสัตว กรมปศุสัตว กรมปศุสัตว ถ.พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

Page 2: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

2

Epidemiology of Highly Pathogenic Avian Influenza (HPAI) in Thailand

during 2004-20061/

Weerapong Thanapongtharm2/ Tanom Noimoh2/

Abstract

The epidemics of Highly Pathogenic Avian Influenza (HPAI) in Thailand during 2004 – 2006 were

studied, descriptively and analytically. The objectives were to describe the distributions of HPAI in time,

area, and species, and determine whether time and location were significantly associated with the HPAI

occurrences. Proportions of HPAI positive samples among total number of samples submitted for HPAI

confirmation showed that the HPAI reduced considerably from 2004 to 2006. The proportion was 0.811,

0.072, and 0.001 in 2004, 2005, and 2006, respectively. Results of odd ratios (OR) showed that HPAI

prevalence was 4.46 time (3.96<OR<5.02) more likely to occur in Central region than other regions. This

region is mainly wetlands with crops of paddle field and extensively raising free grazing duck.

Rainy season (June to October) and winter (November to February) had more chance to face with

HPAI than summer (March to May) (OR 3.80, 95%CI 2.37-6.17 and OR 4.97, 95%CI 3.09-8.08,

respectively). The most HPAI infected species was backyard chicken (58.44%) followed by duck

(25.71%), broiler (5.83%), layer (5.27%), quail (2.48%) and others (2.27%), respectively. Clinical signs

related to HPAI were sudden death (36.83%), cyanosis of comb and wattles (17.10%), respiratory system

(13.96%), nervous system (13.12%), diarrhea (8.81%), corneal opacity (6.72%), face swelling (3.04%),

and hemorrhage at shank (0.42%).

It was concluded that Central region was the high-risk area to HPAI occurrences in Thailand

during 2004 to 2006; Rainy and winter seasons (From June to February) were the high-risk time; backyard

chickens and ducks were the high-risk species, and most common clinical signs related to HPAI infection

were sudden death. The results obtained from this study provide useful information for development of

effective HPAI control and prevention strategies in Thailand.

Key words : Epidemiology, HPAI, Thailand

1/Research Paper No. 50(2)-0105-191 2/Bureau of Disease Control and Veterinary Services, Department of Livestock Development, Bangkok 10400

Page 3: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

3

บทนํา โรคไขหวัดนก (Avian influenza หรือ Avian flu หรือ Bird flu) เกิดจากเชื้อไวรัส influenza type A ซึ่ง

แบงออกไดหลายชนิดตามการจับกันของโปรตีน 2 ชนิดที่ผนังเซลล ไดแก Heamagglutinin (H) และ

Neuraminidase (N) ซึ่งมีทั้งหมด 16 H และ 9 N โรคไขหวัดนกในสัตวปกประกอบดวย 2 รูปแบบ ไดแก ชนิดที่มี

ความรุนแรงต่ํา (Low pathogenic avian influenza or LPAI) และชนิดที่มีความรุนแรงสูง (Highly pathogenic

avian influenza or HPAI) (World Organization for Animal Health (OIE), 2007) ชนิดของเชื้อไวรัสไขหวัดนกที่

กําลังกอใหเกิดปญหาอยางรุนแรงในปจจุบันไดแก ชนิด H5N1 ซึ่งถูกจัดใหอยูในกลุมชนิดที่มีความรุนแรงสูง

เนื่องจากไดฆาชีวิตสัตวปกทั้งที่เปนสัตวเล้ียงและสัตวปาไปเปนจํานวนมาก นกน้ําอพยพ โดยเฉพาะนกเปดน้ํา เปน

ตัวกักเก็บเชื้อไวรัสในธรรมชาติ (natural reservoir) สวนสัตวปกอื่นๆ เชน ไก เปด ไกงวง และหานนั้นเปนสัตวที่ไวตอ

การรับเชื้อ (susceptible species) เนื่องจากไวรัสสามารถแพรระบาดอยางรวดเร็วจากการสัมผัสกันของสัตวปวย

และสัตวปกติ สวนนกปาอาจจะเปนตัวที่นําโรคจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งจากการอพยพยายถิ่น (Food and

Agriculture Organization (FAO) of the United Nations, 2007) นอกจากนี้ยังพบวาเชื้อไวรัสสามารถระบาดไปยัง

สัตวอ่ืนๆ ไดดวยเชน แมว สิงโต เสือ เฟอรเร็ท สุนัขและหมู ซึ่งติดตอผานการกินเนื้อสัตวปกดิบที่ติดเชื้อ และยังพบวา

เชื้อไวรัสสามารถติดตอไปยังคน จากการกินเนื้อสัตวปกที่ไมผานการปรุงสุกและการสัมผัสอยางใกลชิดกับสัตวที่ติด

เชื้อ ซึ่งการติดตอของเชื้อไวรัสชนิด H5N1 ไปยังคนมีรายงานครั้งแรกในป 2540 ในชวงของการระบาดของโรคไขหวัด

นกในสัตวปกที่ประเทศฮองกง องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) (2007) ไดรายงานวาตั้งแตป

2546- พฤษภาคม 2550 โรคไขหวัดนกชนิด H5N1 ไดระบาดไปแลวทั้งสิ้น 59 ประเทศ (คิดเปนรอยละ 26) จาก 3

ทวีป ไดแก 26 ประเทศในทวีปยุโรป คิดเปนรอยละ 50 ของประเทศในทวีปยุโรป 9 ประเทศในทวีปแอฟริกา คิดเปน

รอยละ 17 ของประเทศในทวีปแอฟริกา และ 24 ประเทศในทวีปเอเชีย คิดเปนรอยละ 46 ของประเทศในทวีปเอเชีย

โดยในชวงปลายป 2546 เร่ิมมีการระบาดกอนในทวีปเอเชีย 2 ประเทศคือ เกาหลีใตและญี่ปุน และไดระบาดเพิ่มข้ึน

อีก 8 ประเทศในป 2547 ซึ่งไดแก เวียดนาม กัมพูชา ลาว ฮองกง จีน ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ตามลําดับ

ตอมาในป 2548 ไขหวัดนกชนิด H5N1 ไดแพรระบาดไปยังทวีปยุโรป 5 ประเทศไดแก รัสเซีย ตุรกี โรมาเนีย

โครเอเชีย และยูเครน ตามลําดับ และขยายการระบาดเพิ่มข้ึนในทวีปเอเชียอีก 2 ประเทศ ซึ่งไดแก คาซัคสถาน

และมองโกเลีย ในป 2549 การระบาดของโรคไขหวัดนกไดแพรระบาดไปยังทวีปแอฟริกาจํานวน 9 ประเทศ ไดแก

ไนจีเรีย ไนเจอร อียิปต แคมารูน เบอรกีนาฟาโซ ซูดาน ไอวารีโคส จิบูติ และกานา และขยายการระบาดเพิ่มข้ึนอีก 21

ประเทศในทวีปยุโรป ไดแก กรีซ บัลแกเรีย อิตาลี อาเซอรไบจัน ฮังการี เยอรมัน สโลวาเนีย ออสเตรีย อัลเบเนีย

บอสเนีย-เฮอรเซโกวีนา ฝร่ังเศส สโลวาเนีย จอรเจีย สวิสเซอรแลนด เซอรเบีย สวีเดน โปแลนด เดนมารค

สาธารณรัฐเชค สหราชอาณาจักร และสเปน และ 9 ประเทศในทวีปเอเชีย ไดแก อิรัก อิหราน ปากีสถาน อินเดีย อาฟ

กานิสถาน พมา อิสราเอล เวสตแบงคและฉนวนกาซา และจอรแดน สวนในป 2550 มีการระบาดเพิ่มข้ึนอีก 3

ประเทศในทวีปเอเชีย ไดแก คูเวต ซาอุดิอาราเบีย และบังกลาเทศ

การระบาดของโรคไขหวัดนกชนิด H5N1 ในประเทศไทย มีรายงานครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2547

ในฟารมไกไขที่อําเภอบางปลามา จังหวัดสุพรรณบุรี (ศูนยควบคุมโรคไขหวัดนก, 2549) และยังพบการระบาดอยาง

ตอเนื่องในป 2548 และ2549 การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาโรคไขหวัดนกในประเทศไทย โดย Tiensin T et al.

(2005) พบวาในป 2547 มีการระบาดของโรคไขหวัดนกใน 60 จังหวัดจาก 76 จังหวัดในประเทศไทย และสัตวปกที่

Page 4: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

4

พบวาเปนโรคไขหวัดนกสวนใหญ (รอยละ 83) เปนไกพื้นเมืองและเปด และพื้นที่ที่พบการระบาดอยูในพืน้ทีภ่าคกลาง

ภาคเหนือตอนลาง และภาคตะวันออก Gilbert et al. (2006) ไดศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะหโรคไขหวัดนกใน

ประเทศไทยพบวา มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวางการเกิดโรคไขหวัดนกชนิด H5N1 กับพื้นที่ที่เลี้ยง

เปดไลทุง ซึ่งสอดคลองกับที่ Songserm T et al. (2006) รายงานวาเปดสามารถขับเชื้อไวรัสไขหวัดนกชนิด H5N1

ไดโดยไมแสดงอาการปวย ซึ่งอาจจะเปนสาเหตุที่ทําใหมีการแพรระบาดของโรคไขหวัดนกไปในหลายพื้นที่อยาง

รวดเร็วในป 2547

อยางไรก็ตามลักษณะของการระบาดของโรคไขหวัดนกในประเทศไทยซึ่งยงัคงพบอยางตอเนื่องนั้น

ดังนัน้วัตถุประสงคของการศึกษาในครัง้นีเ้พื่อใหทราบถงึลักษณะของการระบาดที่เกี่ยวของกับชวงเวลา พืน้ที ่ และ

ชนิดสัตว รวมถึงปจจัยที่เกี่ยวของกับตัวสตัว และความสัมพันธของปจจัยตางๆ ดังกลาวตอการระบาดของโรคไขหวัด

นกในประเทศไทยตั้งแตป 2547-2549

อุปกรณและวิธีการ 1. วธิีการศกึษา

2.1 การศึกษาระบาดวทิยาเชิงพรรณนา (Descriptive Study) โดยการหาการกระจายของโรคไขหวัดนก

ตามชวงเวลา พื้นที่เกิดโรค และชนิดสัตว รวมถึงอาการของโรคไขหวัดนกทีพ่บ

2.2 การศึกษาระบาดวทิยาเชิงวิเคราะห (Analytical study) โดยการวิเคราะหหาความสัมพันธของการ

เกิดโรคกับปจจัยตางๆ ที่เกีย่วของ เชน พืน้ที ่ชวงเวลา และปจจัยที่เกีย่วของกับตัวสัตว

2. การเก็บรวบรวมขอมูล

2.1 ขอมูลสัตวปกปวยตาย รวบรวมจากแบบรายงานการเฝาระวังโรคดวยอาการทางคลินิก (รก. 1) ซึ่ง

รายงานโดยสํานักงานปศุสัตวจังหวัดทุกจังหวัด ตามนิยามโรคไขหวัดนกที่กรมปศุสัตวกําหนด ขอมูลที่เก็บรวบรวม

ประกอบดวยพื้นที่พบสัตวปกปวยตาย วันที่เร่ิมปวย ประวัติสัตวปวย เชน ชนิด จํานวน ลักษณะอาการปวย เปนตน

2.2 นิยามของโรคไขหวัดนกที่ใชในประเทศไทย ตั้งแตวันที่ 23 มกราคม 2547-31 ธันวาคม 2549 แบง

ออกเปน 3 ชวงดังนี้

2.2.1 นิยามโรคไขหวัดนกระหวางวันที่ 23 มกราคม - 2 กรกฎาคม 2547

1) ตายกะทนัหัน โดยไมแสดงอาการผิดปกติ มากกวา 10 %

2) อัตราการตายสะสม > 40% ใน 3 วัน

3) อาจมีอาการระบบประสาท

4) ทองเสยี หรือ ขนยุง ซึม ไมกินอาหาร ไขลด ไขผิดปกติ หงอนเหนยีงสีคล้ํา

5) อาการระบบทางเดินหายใจ

6) กรณีในเปด/หาน มีอาการตอไปนี้ ซึม กินอาหารลด ขนยุง หวับวม ตาขุน

เกณฑการตัดสินใจวาสัตวปกสงสัยวาเปนโรคไขหวัดนก ( Case Criteria)

1) อาการตามขอ 1. ในนิยามลักษณะอาการของโรค

Page 5: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

5

2) อาการตามขอ 2. และขอ 3. ในนิยามลกัษณะอาการของโรค

3) อาการตามขอ 2. และขอ 4. ในนิยามลกัษณะอาการของโรค

4) อาการตามขอ 2. และขอ 5. ในนิยามลกัษณะอาการของโรค

5) อาการตามขอ 2. และขอ 6. ในนิยามลกัษณะอาการของโรค

2.2.2 นิยามโรคไขหวัดนกระหวางวันที่ 3 กรกฎาคม 2547 – 30 มิถุนายน 2548

1) อัตราการตายมากกวา 10 เปอรเซ็นต ภายใน 1 วัน หรือสัตวปวยแสดงอาการ ดังนี ้ 1.1) ตายกะทันหัน 1.2) อาการระบบทางเดนิหายใจ เชน หายใจลําบาก หนาบวม น้ําตาไหล 1.3) อาการทางระบบประสาท เชน ชัก คอบิด

1.4) ทองเสีย หรือขนยุง ซึม ไมกินอาหาร ไขลด ไขรูปรางผิดปกติ หงอน เหนียงสีคล้ํา หรือหนาแขงมีจุดเลือดออก

2) ในกรณีเปด/หาน/ไกพืน้เมือง อาจมีอาการซึม เบื่ออาหาร ขนยุง หนาบวม หรือตาขุน

2.2.3 นิยามโรคไขหวัดนกระหวางวันที่ 1 กรกฎาคม 2548 – 31 ธันวาคม 2549

1) สัตวปกที่ถูกเลี้ยงในระบบฟารม มีอัตราการตายอยางนอยรอยละ 1 ใน 2 วัน หรือมี

อัตราการกินอาหารและน้ําลดลงรอยละ 20 ใน 1 วัน หรือ

2) สัตวปกที่ถูกเลี้ยงแบบหลังบาน มีอัตราการตายอยางนอยรอยละ 5 ใน 2 วัน

3) สัตวปกตามขอ (1) และ (2) แสดงอาการอื่นรวมดวยดังนี้

3.1) ตายกะทันหัน 3.2) อาการระบบทางเดินหายใจ เชน หายใจลําบาก หนาบวม น้ําตาไหล 3.3) อาการทางระบบประสาท เชน ชัก คอบิด

3.4) ทองเสีย หรือขนยุง ซึม ไมกินอาหาร ไขลด ไขรูปรางผิดปกติ หงอน เหนียงสีคล้ํา หรือหนาแขงมีจุดเลือดออก

2.3 สัตวปกปวยตายจะถูกเก็บตัวอยางซากหรืออุจจาระ (cloacal swab) สงตรวจยังหองปฏิบัติการตรวจ

วินิจฉัยของกรมปศุสัตวจํานวน 8 แหง ซึ่งไดแกสถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติและศูนยวิจัยและพัฒนาการทาง สัตว

แพทยประจําภาคจํานวน 7 แหง วิธีการตรวจวินิจฉัยที่หองปฏิบัติการใชประกอบดวย 2 วิธีหลักๆ ไดแกการตรวจ

วินิจฉัยทางไวรัสวิทยาโดยวิธีแยกและพิสูจนเชื้อไวรัส และการตรวจโรคไขหวัดนกโดยวิธีชีวโมเลกุล (RT-PCR หรือ

Real time PCR) ผลการตรวจจะถูกรายงานมายังกรมปศุสัตวเพื่อรวบรวมเมื่อเสร็จส้ินการตรวจวินิจฉัยแลว

3. การวิเคราะหขอมูล

3.1 การหาการกระจายของโรคไขหวัดนกตามชวงเวลา พืน้ที่เกิดโรค และชนิดสัตว รวมถงึอาการของโรค

ไขหวัดนกที่พบ โดยแสดงผลออกมาในรูปของรอยละ กราฟ และแผนที ่โดยใชโปรแกรม Arcview GIS 3.2

3.2 การวิเคราะหหาความสัมพันธของการเกิดโรคกับปจจัยตางๆ ที่เกีย่วของ เชน พืน้ที่ ชวงเวลา และ

ปจจัยที่เกี่ยวของกับตัวสัตว โดยแสดงผลในรูปของ chi-square และ Odds ratio โดยคาที่ใหผลมีนัยสาํคัญทางสถิติ

ตองมีคา p-value นอยกวา 0.05 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยใชโปรแกรม Epiinfo version 6

Page 6: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

6

3.3 การแบงพื้นที่ในประเทศไทย เพื่อการวิเคราะหเปรียบเทยีบ โดยอาศัยความคลายคลึงทางลกัษณะ

ภูมิประเทศเปนเกณฑ ออกเปน 6 ภูมิภาค (ศูนยพัฒนาทรัพยากรการศึกษา มหาวทิยาลัยมหาสารคาม, 2550) ดังนี ้

1) ที่ราบลุมน้าํภาคกลาง ประกอบดวยพื้นที่ของ 22 จังหวัด ไดแก จังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก

กําแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ นครสวรรค อุทยัธาน ี ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี อางทอง สระบุรี สุพรรณบุรี

พระนครศรีอยธุยา ปทุมธาน ี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร นครนายก นครปฐมสมุทรปราการ สมทุรสาคร และ

สมุทรสงคราม

2) ทิวเขาและหุบเขาภาคเหนือ ประกอบดวยจังหวัดตาง ๆ รวม 9 จังหวัดคือ แมฮองสอน

เชียงใหม ลําพนู ลําปาง เชยีงราย พะเยา นาน แพร และอุตรดิตถ

3) เทือกเขาภาคตะวนัตก ประกอบดวยพื้นที่ของ 5 จังหวัดรวมกนั คือ จังหวัดตาก กาญจนบุรี

ราชบุรี เพชรบรีุ และประจวบคีรีขันธ

4) ที่ราบสงูภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ หรือที่ราบสูงโคราช ประกอบดวยพืน้ที่ของ 19 จังหวัด คือ

หนองคาย นครพนม มกุดาหาร สกลนคร อุดรธานี หนองบัวลาํพู เลย ขอนแกน ชยัภูมิมหาสารคาม กาฬสินธุ รอยเอ็ด

อุบลราชธานี อํานาจเจริญ ศรีสะเกษ สุรินทร บุรีรัมย และนครราชสีมา

5) ชายฝงภาคตะวันออกเฉยีงใต หรือภาคตะวันออก ประกอบดวยพื้นที่ของ 7 จังหวัด คือ

ปราจีนบุรี สระแกว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยองจนัทบุรี และตราด

6) คาบสมุทรภาคใต ประกอบดวย 14 จังหวัด คือ ชุมพร ระนอง สุราษฎรธาน ี พงังา กระบี ่

นครศรีธรรมราช พัทลงุ ตรัง ภูเก็ต สตูล สงขลา ปตตาน ียะลา และนราธิวาส

3.4 การแบงฤดูกาล แบงออกเปน 3 ชวง ตามฤดกูาลในประเทศไทย ซึง่ไดแก ฤดูรอน (มีนาคม-

พฤษภาคม) ฤดูฝน (มถิุนายน-ตุลาคม) และฤดูหนาว (พฤศจกิายน-กุมภาพันธ) (สถาบันราชภัฎบานสมเด็จ

เจาพระยา, 2550)

ผลการศึกษา

จากขอมูลการเฝาระวังโรคไขหวัดนกดวยอาการทางคลินิกของประเทศไทย ตั้งแตป 2547-2549 มี

จํานวนทั้งสิ้น 10,220 ราย ใหผลเปนบวก 1,937 ราย (รอยละ 23.39) และผลลบ 8,283 ราย (รอยละ 81.05) ซึ่งถา

แยกเปนรายป พบวาในป 2547 มีรายงานผลบวก 1,740 ราย (รอยละ 44.79) และ ผลลบ 2,145 ราย (รอยละ 55.21)

ในป 2548 มีรายงานผลบวก 194 ราย (รอยละ 6.75)และผลลบ 2,678 ราย (รอยละ 93.25) และในป 2549 มี

รายงานผลบวก 3 ราย (รอยละ 0.09)และผลลบ 3,460 ราย (รอยละ 99.91) โดยมีอัตราสวน (Proportion) ของ

การเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยตั้งแตป 2547-2549 เปน 0.234 และแยกเปนรายปคือ 0.811 0.072, และ

0.001 ในป 2547, 2548, และ 2549 ตามลําดับ (รายละเอียดตามตารางที่ 1) เมื่อทําการวิเคราะหหาแนวโนมของ

การเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยตลอด 3 ป พบวามีแนวโนมลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (Chi-square for

linear trend : 2438.139, P-value = 0.000)

Page 7: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

7

ตารางที่ 1 แสดงการพบเชือ้โรคไขหวัดนกในประเทศไทย เปนรายป ตั้งแตป 2547-2549

ป ผลบวก ผลลบ รวม อัตราสวนการเกิดโรค

2547 1,740 2,145 3,885 0.811

2548 194 2,678 2,872 0.072

2549 3 3,460 3,463 0.001

รวม 1,937 8,283 10,220 0.234

อัตราสวน (Proportion) การเกิดโรค = จํานวนผลบวก/จํานวนผลลบ

พื้นที่ที่พบการระบาดของโรคไขหวัดนกในประเทศไทยในป 2547-2549 พบวาในป 2547 การระบาด

ของโรคไขหวัดนกจะมีมากในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย และพบการระบาดของโรคประปรายในพื้นที่อ่ืนๆ ทั่ว

ประเทศ โดยในป 2547 พบโรคไขหวัดนกทั้งหมดใน 60 จังหวัด 299 อําเภอ และ 787 ตําบล ตอมาในป 2548 การ

ระบาดของโรคยังคงพบมากในพื้นที่ภาคกลาง และพบบางสวนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยในป 2548 พบโรค

ไขหวัดนกทั้งหมดใน 21 จังหวัด 58 อําเภอ และ 110 ตําบล สวนในป 2549 พบโรคไขหวัดนกใน 2 จังหวัด 2 อําเภอ

และ 2 ตําบล ในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รายละเอียดตามภาพที่ 1)

ภาพที่ 1 แผนที่แสดงการระบาดของโรคไขหวัดนกในประเทศไทย ตั้งแตป 2547-2549

เปรียบเทียบอัตราสวนการเกิดโรคไขหวัดนกระหวางพื้นที่ตางๆ ตามรายภาคของประเทศไทย พบวามี

ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P-value < 0.000) โดยเมื่อไดทําการเปรียบเทียบในแตละภาคแลว พบวา

ภาคกลางมีโอกาสในการเกิดโรคไขหวัดนกมากกวาภาคอื่นๆ ของประเทศ 4.46 เทา (3.96<OR<5.02) (รายละเอียด

ตามตารางที่ 2 และ 3)

Page 8: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

8

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบการพบโรคไขหวัดนกในพื้นที่ภาคตางๆ ในประเทศไทย ในป 2547-2549

พื้นที ่ ผลบวก ผลลบ รวม อัตราสวนการเกิดโรค

ภาคกลาง 1,520 3,724 5,244 0.41

ภาคเหนือ 69 1,551 1,620 0.04

ภาคตะวันตก 54 376 430 0.14

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 132 1,899 2,031 0.07

ภาคตะวันออก 120 373 493 0.32

ภาคใต 42 360 402 0.12

รวม 1,937 8,283 10,220 0.23

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการพบโรคไขหวัดนกในพื้นที่ภาคกลางและภาคอื่นๆ ในประเทศไทย ในป 2547-2549

พื้นที ่ ผลบวก ผลลบ รวม Odds ratio

ภาคกลาง 1,520 3,724 5,244 4.46 (3.96<OR<5.02)

ภาคอื่น ๆ 417 4,559 4,976 1

รวม 1,937 8,283 10,220

การระบาดของโรคไขหวัดนกตามชวงเวลาพบวาชวงที่เร่ิมมีการระบาดของโรคไขหวัดนกไดแกเดือน

กรกฎาคม และพบโรคสูงสุดในเดือนตุลาคม และลดนอยลงจนถึงเดือนมีนาคม โดยรายละเอียดแสดงในตารางที่ 4

และ ภาพที่ 2

กราฟการระบาด (Epidemic curve) ของโรคไขหวัดนกในประเทศไทยตั้งแตป 2547-2549 พบวาแบง

การระบาดของโรคไขหวัดนกในประเทศไทย ไดเปน 3 ชวงใหญๆ ชวงที่ 1 คือ มกราคม-กุมภาพันธ 2547 ชวงที่ 2 คือ

กรกฎาคม 2547-มีนาคม 2548 และชวงที่ 3 คือ กรกฎาคม-พฤศจิกายน 2548 (ตามภาพที่ 3)

0

50

100

150

200

250

300

Jan-

04

Mar

-04

May

-04

Jul-0

4

Sep

-04

Nov

-04

Jan-

05

Mar

-05

May

-05

Jul-0

5

Sep

-05

Nov

-05

Jan-

06

Mar

-06

May

-06

Jul-0

6

Sep

-06

Nov

-06

Date

Case

s

ภาพที่ 2 กราฟแสดงการระบาดของโรคไขหวัด

นกเปนรายเดือนตั้งแตป 2547-2549

ภาพที่ 3 กราฟแสดงการระบาดของโรคไขหวัด

นกตั้งแตป 2547-2549

0

100

200

300

400

500

600

700

800

900

ม.ค. ก.พ. มี.ค. ม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

เดือน

จํานวนผลบวก

ผลบวกสะสม

ผลบวกเฉล่ีย

Page 9: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

9

ตารางที่ 4 แสดงการระบาดของโรคไขหวัดนกเปน รายเดือนสะสมตั้งแตป 2547-2549

เดือน ผลบวก ผลลบ รวม อัตราสวนการเกิดโรค

มกราคม 191 246 437 0.78

กุมภาพนัธ 97 386 483 0.25

มีนาคม 11 221 232 0.05

เมษายน 8 62 70 0.13

พฤษภาคม 1 66 67 0.02

มิถุนายน - 168 168 0.00

กรกฎาคม 124 754 878 0.16

สิงหาคม 90 1,453 1,543 0.06

กันยายน 128 511 639 0.25

ตุลาคม 777 2,247 3,024 0.35

พฤศจิกายน 390 1,556 1,946 0.25

ธันวาคม 120 613 733 0.20

รวม 1,937 8,283 10,220 0.23

เมื่อเปรียบเทียบการเกิดโรคไขหวัดนกตามชวงเวลา โดยแบงออกเปน 3 ชวง ตามฤดูกาลในประเทศไทย

ซึ่งไดแก ฤดูรอน (มีนาคม-พฤษภาคม) ฤดูฝน (มิถุนายน-ตุลาคม) และฤดูหนาว (พฤศจิกายน-กุมภาพันธ) พบวาการ

เกิดโรคไขหวัดนกในแตละชวงฤดูตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P-value < 0.000) และพบวาโอกาสในการเกิด

โรคไขหวัดนกในชวงฤดูฝน (มิถุนายน-ตุลาคม) มากกวาในชวงฤดูรอน (มีนาคม-พฤษภาคม) 3.80 เทา

(2.37<OR<6.17) และ โอกาสในการเกิดโรคไขหวัดนกในชวงฤดูหนาว (พฤศจิกายน-กุมภาพันธ) มากกวาชวงฤดรูอน

(มีนาคม-พฤษภาคม) 4.97 เทา (3.09<OR<8.08) (รายละเอียดตามตารางที่ 5)

ตารางที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบการเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยเปนรายชวงเดือน ตั้งแตป 2547-2549

เดือน ผลบวก ผลลบ รวม Odds ratio

มีนาคม-พฤษภาคม 20 349 369 1

มิถุนายน-ตุลาคม 1,119 5,133 6,252 3.80 (2.37<OR<6.17)

พฤศจิกายน-กุมภาพนัธ 798 2,801 3,599 4.97 (3.09<OR<8.08)

รวม 1,937 8,283 10,220

เปรียบเทียบการระบาดของโรคไขหวัดนกตามชนิดสัตวปกตั้งแตป 2547-2549 พบการระบาดของโรคใน

ไกพื้นเมืองสูงที่สุด คือ รอยละ 58.44 รองลงมาไดแกในเปด คือ รอยละ 25.71 ไกเนื้อ รอยละ 5.83 ไกไข รอยละ 5.27

นกกระทา รอยละ 2.48 และอ่ืนๆ รอยละ 2.27 ตามลําดับ (รายละเอียดตามตารางที่ 6)

Page 10: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

10

ตารางที่ 6 แสดงการระบาดของโรคไขหวัดนกตามชนิดสัตว เปนรายปตั้งแต ป 2547-2549

2547 2548 2549 รวม ชนิดสัตว พบเชื้อ รอยละ พบเชื้อ รอยละ พบเชื้อ รอยละ พบเชื้อ รอยละ

ไกเนื้อ 109 6.26 4 2.06 - 0.00 113 5.83

เปด 478 27.47 20 10.31 - 0.00 498 25.71

ไกไข 92 5.29 8 4.12 2 66.67 102 5.27

ไกพื้นเมือง 978 56.21 153 78.87 1 33.33 1,132 58.44

นกกระทา 41 2.36 7 3.61 - 0.00 48 2.48

อ่ืนๆ* 42 2.41 2 1.03 - 0.00 44 2.27

รวม 1,740 100.00 194 100.00 3 100.00 1,937 100.00

อื่นๆ* ไดแก หาน สัตวปกสวยงาม และนกอื่นๆ

อาการของโรคไขหวัดนกในสัตวปกที่พบมากที่สุด ไดแก ตายกระทันหัน รอยละ 36.83 รองลงมาคือ

หงอนเหนียงมีสีคล้ํา รอยละ17.10 ระบบทางเดินหายใจ รอยละ 13.96 ระบบประสาท รอยละ13.12 ทองเสีย

รอยละ 8.81 ตาขุน รอยละ 6.72 หนาบวม รอยละ 3.04 และมีจุดเลือดออกที่หนาแขง รอยละ 0.42 ตามลําดับ โดยมี

รายละเอียดตามตารางที่ 7

ตารางที่ 7 แสดงอาการสัตวปกที่ตรวจพบโรคไขหวัดนก แบงตามชนิดสัตว ตั้งแตป 2547-2549 ชนิดสัตว ตายกระ

ทัน หัน

ทางเดนิ หายใจ

ระบบ ประสาท

ทองเสีย ตาขุน หงอนเหนียง สีคลํ้า

หนาบวม

จุดเลือดออก หนาแขง

รวม

ไกเนื้อ 12 2 4 2 - 7 1 - 28

เปด 81 28 50 15 53 15 1 - 243

ไกไข 15 5 3 7 1 7 1 1 40

ไกพื้นเมือง 227 89 62 53 10 129 26 3 599

นกกระทา 9 5 2 4 - - - - 20

อื่นๆ 7 4 4 3 - 5 - - 23

รวม 351 133 125 84 64 163 29 4 953

รอยละ 36.83 13.96 13.12 8.81 6.72 17.10 3.04 0.42 100

Page 11: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

11

วิจารณผล

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาระบาดวิทยาเชิงสังเกต (Observational Study) ซึ่งประกอบดวยการศึกษาเชิง

พรรณนาและเชิงวิเคราะห โดยศึกษาธรรมชาติของการเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทย โดยใชขอมูลที่ไดจากการเฝา

ระวังโรคดวยอาการทางคลินิก ตั้งแตป 2547-2549 ทั้งกิจกรรมเชิงรับ โดยเจาของสัตวเปนผูรายงานโรค และกิจกรรม

เชิงรุก โดยเจาหนาที่ปศุสัตว รวมทั้งอาสาสมัคร เปนผูเขาไปคนหาโรคทั้งจากกิจกรรมปกติและจากโครงการรรณรงค

คนหาโรคไขหวัดนกแบบบูรณาการ (x-ray) ซึ่งจะดําเนินการอยางนอยปละ 2 คร้ัง ซึ่งจากการดําเนินการดังกลาว

อาจมีผลทําใหการคนพบโรคไขหวัดนกในแตละชวงของปไมสอดคลองกับการเกิดโรคจริง โดยอาจจะขึ้นอยูกับความถี่

ในการเขาไปคนหา ยังผลใหอาจไมไดธรรมชาติที่แทจริงของโรคไขหวัดนกได

จากผลที่ไดพบวาอัตราสวนการเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยตั้งแตป 2547-2549 เปน 0.234 และมี

แนวโนมลดลงจากป 2547-2549 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P-value 0.000) โดยในป 2547 มีอัตราสวนการเกิดโรค

0.811 และลดลงเหลือ 0.072 ในป 2548, และ 0.001 ใน 2549 ตามลําดับ การที่อัตราการพบโรคไขหวัดนกใน

ประเทศไทยที่ลดนอยลงอยางมากนี้ อาจเนื่องดวยรัฐบาลไดดําเนินมาตรการตางๆ ในการควบคุมและปองกันโรค

ไขหวัดนกอยางจริงจังและตอเนื่อง โดยการตั้งคณะกรรมการควบคุมโรคไขหวัดนกในระดับชาติโดยมีรอง

นายกรัฐมนตรีเปนประธาน และคณะกรรมการประกอบดวยกระทรวงตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งหมด เพื่อชวยกันแกปญหา

โดยมีมาตรการหลัก ซึ่งไดแก การควบคุมเคลื่อนยาย การปรับปรุงระบบการเลี้ยงสัตวปก การเฝาระวังและสอบสวน

โรค การทําลายสัตวปวยและการทําลายเชื้อโรค การประชาสัมพันธ และการศึกษาวิจัย เปนตน (ศูนยควบคุมโรค

ไขหวัดนก, 2549)

เมื่อเปรียบเทียบอัตราสวนการพบโรคไขหวัดนกระหวางพื้นที่ตางๆ ตามรายภาคของประเทศไทย พบวามี

ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P-value < 0.000) โดยเมื่อไดทําการเปรียบเทียบในแตละภาคแลว พบวา

ภาคกลางมีโอกาสในการเกิดโรคไขหวัดนกมากกวาภาคอื่นๆ ของประเทศ 4.46 เทา (3.96<OR<5.02) ซึ่งอาจเปนไป

ไดวา พื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยที่ประกอบดวยพื้นที่ของ 22 จังหวัด ไดแก จังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก กําแพงเพชร

พิจิตร เพชรบูรณ นครสวรรค อุทัยธานี ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี อางทอง สระบุรี สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา

ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร นครนายก นครปฐมสมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม เปนบริเวณที่

ราบตอนกลางและตอนลางของลุมน้ําทั้งหมดที่ไหลลงสูอาวไทย (ศูนยพัฒนาทรัพยากรการศึกษา มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม, 2550) ซึ่งอาจเปนไปไดวาลักษณะภูมิประเทศสวนใหญของพื้นที่ภาคกลางนี้เปนที่ราบลุมและมี

ปริมาณน้ําเพียงพอ ทําใหเหมาะสมกับการประกอบอาชีพทํานาไดตลอดทั้งป และสงผลใหมีการประกอบอาชีพเลี้ยง

เปดไลทุงมากในพื้นที่ดังกลาว เนื่องจากมีงานวิจัยที่พบวาการแพรกระจายของเชื้อไขหวัดนกในประเทศไทยสัมพันธ

อยางมีนัยสําคัญกับการเลี้ยงเปดไลทุงและพื้นที่นาขาว (Gilbert et al, 2006) และมีรายงานวาเปดไลทุงนั้นเปน

ตัวนําโรค (carrier) ไขหวัดนกในประเทศไทย (Songserm T. et al, 2006)

เมื่อเปรียบเทียบการเกิดโรคไขหวัดนกตามชวงเวลา โดยแบงออกเปน 3 ชวง ตามฤดูกาลในประเทศไทย

ซึ่งไดแก ฤดูรอน (มีนาคม-พฤษภาคม) ฤดูฝน (มิถุนายน-ตุลาคม) และฤดูหนาว (พฤศจิกายน-กุมภาพันธ) (สถาบัน

ราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา, 2550) พบวาการเกิดโรคไขหวัดนกในแตละฤดูตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P-

value < 0.000) และพบวาโอกาสในการเกิดโรคไขหวัดนกในชวงฤดูฝน (มิถุนายน-ตุลาคม) มากกวาในชวงฤดูรอน

(มีนาคม-พฤษภาคม) 3.80 เทา (2.37<OR<6.17) และ โอกาสในการเกิดโรคไขหวัดนกในชวงฤดูหนาว (พฤศจิกายน-

Page 12: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

12

กุมภาพันธ) มากกวาชวงฤดูรอน (มีนาคม-พฤษภาคม) 4.97 เทา (3.09<OR<8.08) ลักษณะของการเกิดโรคไขหวัด

นกที่มีลักษณะแตกตางกันไปตามฤดูกาล โดยพบวาที่อุณหภูมิต่ําลงจะสัมพันธกับการเกิดโรคไขหวัดนกที่เพิ่มข้ึนนี้

สอดคลองกับหลายการศึกษา (Olivier ,2006; Liu et al, 2007; และ Fang et al, 2005) ซึ่งอาจเปนไปไดวา เชื้อไวรัส

ไขหวัดนกจะไมทนตออุณภูมิสูง ในขณะที่จะอยูไดนานขึ้นในสิ่งแวดลอมที่เย็นและเปยกชื้น ซึ่งสงผลใหการเกิดโรค

ไขหวัดนกในประเทศอิตาลีมีการระบาดมากขึ้นในชวงฤดูหนาว (Capua and Marangon, 2000) นอกจากนี้

Webster et al. (1978) ไดรายงานวาสภาวะสิ่งแวดลอมมีผลอยางชัดเจนตอการอยูรอดของเชื้อไวรัสไขหวัดนก

ภายนอกตัวสัตว โดยพบวาเชื้อไวรัสจะอยูไดนานขึ้นในอุจจาระที่มีอุณหภูมิต่ําและความชื้นสูง เชื้อไวรัสอาจอยูในน้ํา

ในทะเลสาบไดถึง 4 วัน ที่ 22 องศาเซลเซียส และอยูไดนานกวา 30 วัน ที่ 0 องศาเซลเซียส มีการศึกษาลักษณะ

เดียวกันนี้ในประเทศไทย โดย Songserm T et al. (2005) พบวาเชื้อไวรัสมีชีวิตอยูในน้ํามูก น้ําลาย ส่ิงคัดหลั่ง หรือ

ในอุจจาระไดไมเกิน 30 นาที ที่อุณหภูมิกลางแดดระหวาง 33-35 องศาเซลเซียส และสามารถอยูไดตั้งแต 1-10 วัน

ในรมที่อุณหภูมิระหวาง 25-35 องศาเซลเซียส แตอยางไรก็ตามควรจะไดมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อหาความสัมพันธ

ระหวางการเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยและสภาพอากาศและปริมาณน้ําฝน ในแตละชวงของป

เปรียบเทียบการระบาดของโรคไขหวัดนกตามชนิดสัตวปกตั้งแตป 2547-2549 พบการระบาดของโรคใน

ไกพื้นเมืองสูงที่สุด คือ รอยละ 58.44 รองลงมาไดแกในเปด คือ รอยละ 25.71 ไกเนื้อ รอยละ 5.83 ไกไข รอยละ 5.27

นกกระทา รอยละ 2.48 และอื่นๆ รอยละ 2.27 ตามลําดับ ดังนั้นจึงนาจะพิจารณาไดวาการพบโรคในไกพื้นเมืองและ

เปดรวมกันถึงรอยละ 84.15 นาจะมีความสัมพันธกับระบบการเลี้ยงสัตวปก ซึ่งมากกวารอยละ 98 จะอยูในระบบการ

เล้ียงที่ 3 และ 4 ที่มีระบบการปองกันโรคที่ไมดีหรือแทบจะไมมีระบบการปองกันโรคเลย (Food and Agriculture

Organization (FAO) of the United Nations, 2004)

อาการของโรคไขหวัดนกในสัตวปกที่พบมากที่สุด ไดแก ตายกระทันหัน รอยละ 36.83 รองลงมาคือ

หงอนเหนียงมีสีคล้ํา รอยละ17.10 ระบบทางเดินหายใจ รอยละ 13.96 ระบบประสาท รอยละ13.12 ทองเสีย รอยละ

8.81 ตาขุน รอยละ 6.72 หนาบวม รอยละ 3.04 และมีจุดเลือดออกที่หนาแขง รอยละ 0.42 ตามลําดับ จากผลที่ได

พบวาอาการที่เดนชัดที่สุดก็คือการตายกระทันหัน โดยพบรอยละ 36.37 ซึ่งสอดคลองกับ Australian Veterinary

Emergency Plan (AUSVETPLAN) (2002) ไดรายงานวาในรายที่แสดงอาการแบบเฉียบพลัน (acute cases) จะ

พบวาสัตวปกจะตายอยางรวดเร็วจนอาจจะไมแสดงอาการปวยแตอยางไร โดยพบวาเร็วที่สุดคือ 24 ชั่วโมง และพบ

ไดบอยภายใน 48 ชั่วโมง และเคยมีรายงานวาพบอัตราการตายถึงรอยละ 100 ในกรณีแสดงอาการแบบเฉียบพลัน

และกึ่งเฉียบพลัน อาการตางๆ เหลานี้ที่พบจากการศึกษาก็ไมสามารถแยกไดดวยตาเปลากับโรคอื่นๆในสัตวปก

เชน โรคนิวคาสเซิล อหิวาห อีโคไล เปนตน ดังนั้น กรณีของโรคไขหวัดนกชนิดรุนแรง (HPAI) ควรสงสัยเมื่อสัตวปก

ตายกระทันหัน รวมกับอาการอื่นๆ ที่พบขางตน

จากผลการศึกษาสรุปไดวาปจจัยที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคไขหวัดนกในประเทศไทยไดแก พื้นที่

ภาคกลาง ชวงฤดูไดแกฤดูฝนและฤดูหนาว (ตั้งแตเดือนมิถุนายน-กุมภาพันธ) และชนิดสัตวไดแกไกพืน้เมืองและเปด

ซึ่งอาการทีพ่บมากไดแกตายกะทนัหัน รวมกับอาการอื่นๆ ดังนัน้ จึงควรนําขอมูลเหลานี้มาใชในการวางแผนเพื่อการ

เฝาระวงัโรคไขหวัดนกในประเทศไทยตอไป

Page 13: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

13

ขอเสนอแนะ 1.ควรดําเนินการศึกษาเพิ่มเติมทางระบาดวิทยาของโรคไขหวัดนกในประเทศไทยในแงของการวิเคราะหหา

ความสัมพันธของการเกิดโรคไขหวัดนกกับปจจัยทางสิ่งแวดลอมที่มีผลตอการระบาดของโรค เชน ปริมาณน้ําฝน และ

อุณหภูมิ เปนตน

2.ควรศึกษาหาแหลงกักเก็บของเชื้อโรคไขหวัดนกในประเทศไทยในสิ่งแวดลอมหรือในสัตวปก ซึ่งมีผลทําให

เกิดการระบาดซ้ําซอนของโรคไขหวัดนก

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการเฝาระวังโรคไขหวัดนกทุกทาน เร่ิมต้ังแต เกษตรกร อาสาสมัคร

ตาง ฯ เจาหนาที่จากสํานักงานปศุสัตวอําเภอ สํานักงานปศุสัตวจังหวัด สํานักสุขศาสตรสัตวและสุขอนามัย สถาบัน

สุขภาพสัตวแหงชาติ ศูนยวิจัยและพัฒนาการทางสัตวแพทยประจําภูมิภาคทั้ง 7 แหง ศูนยควบคุมโรคไขหวัดนก ที่ได

มีสวนรวมในการดําเนินการเฝาระวังและควบคุมโรคไขหวัดนกในประเทศไทย

เอกสารอางอิง ศูนยควบคุมโรคไขหวัดนก.(2549).การควบคุมโรคไขหวัดนกในประเทศไทย.กรุงเทพฯ; ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง

ประเทศไทย จํากัด.

ศูนยพัฒนาทรัพยากรการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.(2550). ภูมิศาสตรประเทศไทย. Retrieved June 4,

2007, from http://wbc.msu.ac.th/wbc/human/0107%20102/chapter1-13.htm.

สถาบันราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา.(2550).สารานุกรม เร่ืองดินฟาอากาศ. Retrieved June 20, 2007,from

http://csweb.bsru.ac.th/project42/s422429002/content/thaiseason.html.

Australian Veterinary Emergency Plan (AUSVETPLAN). (2002). Nature of the disease. Retrieved August

20, 2004, from http://www.aahc.com.au/ausvetplan/index.html.

Capua, I and Marangon, S. (2006). Control of Avian Influenza in Poultry. Emerg Infect Dis [serial on the

Internet]. Retrieved August 21, 2006, from http://www.cdc.gov/ncidod/EID/vol12no09/06-

0430.htm.

Capua, I and Marangon, S. The avian influenza epidemic in Italy, 1999-2000. Avian Pathology 2000;

29:289-294.

Capua, I. and Mutinelli, F. Highly pathogenic avian influenza (HPAI). Avian Influenza 2001; 18-19.

Fang LQ, Cao CX, Chen GS, Lei FM, Liu YL, Li CY, et al. Studies on the spatial distribution and

environmental factors of highly pathogenic avian influenza in Mainland China, using

geographic information system technology. Zhonghua Liu Xing Bing Xue Za Zhi. 2005

Nov;26(11):839-42

Page 14: ระบาดวิทยาของโรคไข หวัดนกในประเทศไทยระหว างป 2547-2549 1/dcontrol.dld.go.th/dcontrol/images/km/research/wege.pdf ·

14

Food and Agricultural Organization (FAO) of the United Nations. Avian Influenza Disease Emergency

Bulletin. Vol. 46. 2007. pp. 12–13. Retrieved June 16, 2007, from

http://www.fao.org/docs/eims/upload//209858/AVIbull040.pdf.

Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations. (2007).Background of Avian Influenza.

Retrieved June 16, 2007, from http://www.fao.org/avianflu/en/background.html.

Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations. (2004). Guiding principles for highly

pathogenic avian influenza surveillance and diagnostic networks in ASIA. FAO expert meeting

on surveillance and diagnosis of avian influenza in Asia, Bangkok, 21-23 July 2004.

Gilbert M, Chaitaweesub P, Parakamawongsa T, Premashthira S, Tiensin T, Kalpravidh W, et al. (2006).

Free-grazing ducks and highly pathogenic avian influenza, Thailand. Emerg Infect Dis [serial

on the Internet]. Retrieved June 20, 2007, from http://www.cdc.gov/ncidod/EID/vol12no02/05-

0640.htm.

Liu CM, Lin SH, Chen YC, Lin KC, Wu TS, and King CC. Temperature Drops and the Onset of Severe

Avian Influenza A H5N1 Virus Outbreaks. PLoS ONE. 2007; 2(2): e191.

Olivier AJ. Ecology and epidemiology of avian influenza in ostriches. Dev Biol (Basel). 2006;124:51-7

Songserm, T. et al . Domestic ducks and H5N1 influenza epidemic, Thailand. Emerging Infectious

Diseases 2006; 12 : 575-581.

Songserm, T., Jam-on, R., Sae-Heng, N., and Meemak, N. (2005). Survival and stability of HPAI H5N1 in

different environments and susceptibility to disinfectants [abstract 73]. In: Abstracts of the

OIE/FAO international Conference on Avian Influenza. Paris; 2005 Apr 7-8.

Songserm, T., Sae-Heng, N., Jam-on, R., Witoonsatient, K, Meemak, N. (2005). Clinical, gross-

histopathologic and immunohistochemical finding of grazing ducks affected with HPAI H5N1

in Thailand [abstract 74]. In : Abstracts of the OIE/FAO International Conference on Avian

Influenza. Paris; 2005 April 7-8.

Tiensin T, Chaitaweesub P, Songserm T, Chaisingh A, Hoonsuwan W, Buranathai C, et al. Highly

pathogenic avian influenza H5N1, Thailand, 2004. Emerg Infect Dis [serial on the Internet].

2005 Nov [date cited]. Retrieved June 16, 2007, from

http://www.cdc.gov/ncidod/EID/vol11no11/05-0608.htm.

Webster RG, Yakhno M, Hinshow VS, Bean WJ and Murti KG. Intestinal influenza: replication and

characterization of influenza viruses in ducks. Virology 1978; 84:268-276.

World Organization for Animal Health (OIE).(2007). Highly pathogenic avian influenza. Retrieved June 16,

2007, from http://www.oie.int.