ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ...

28
~ ñ ~ ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติ พุทธศักราช ๒๕๕๕ วันศุกรที่ ๑๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕ กระทรวงวัฒนธรรม ประเพณีรับบัวบางพลี : ไดรับการประกาศเปนมรดกภูมิปญญาทาง วัฒนธรรมของชาติ ประจําปพุทธศักราช ๒๕๕๕ สาขา : แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม งานเทศกาล ประเภท : งานเทศกาล (ป ๒๕๕๕ มี ๒ งาน สารทเดือนสิบ และ ประเพณีรับบัว)

Upload: others

Post on 21-Sep-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñ ~

ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติ

พุทธศักราช ๒๕๕๕

วันศุกรที่ ๑๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕

กระทรวงวัฒนธรรม

ประเพณีรับบัวบางพลี : ไดรับการประกาศเปนมรดกภูมิปญญาทาง

วัฒนธรรมของชาติ ประจําปพุทธศักราช ๒๕๕๕

สาขา : แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม งานเทศกาล

ประเภท : งานเทศกาล

(ป ๒๕๕๕ มี ๒ งาน สารทเดือนสิบ และ ประเพณีรับบัว)

Page 2: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ò ~

ตัวแทนชาวบานบางพลีเขารวมรับเกียรติบัตร ยกยอง “ประเพณีรับบัว” เปน

มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจําป ๒๕๕๕ นางสาวชูศรี สัตยานันท

ประธานสภาวัฒนธรรมบางพลี นายวิชัย ฉันทนานุรักษ นายอําเภอบางพลี นายแฉลม

สําเภาพร นายหยี ่วงษดี และนายชนินทร สวางแกว ไวยาวัจกรวัดบางพลีใหญใน นาย

สิทธิชัย โรจนรัตนชัย ผูใหญบานหมู ๑๐ นางประทุม เนตรสุขแสงและนางสาวอรัญญา

ศรีนารัตน ชาวบานบางพล ีอาจารย สมชาย ชูประดิษฐ ที่ปรึกษาอธิการบดีวิทยาลัย

เซาธอีสทบางกอก ดร.ประสิทธ์ิ ทองไสวรองอธิการบดีฝายพัฒนาและวางแผนวิทยาลัย

เซาธอีสทบางกอก ผศ.ดร.อําพล นววงศเสถียรคณบดีคณะบริหารธุรกิจวิทยาลัย

เซาธอีสทบางกอก อาจารยทินภัทร ประภาสพงษ คณะอาจารยจากวิทยาลัยเซาธอีสท

บางกอก นักวิชาการดานภูมิปญญาทองถ่ินบางพลี ดร.ไพรวัน จงรักดี นางพรทิพย

เดชะทัศน นักวิชาการทองถ่ินบางพลี นายวิชัย ฉันทโชติ ตัวแทนชุมชนชาวบางพล ี

ผศ.นิก สุนทรชัย ผูชวยอธิการบดี ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อ.สุกฤตาวัฒน บํารุง

พานิช หัวหนาแผนกสงเสริมและเผยแพรวัฒนธรรมอําเภอบางพลี

Page 3: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ó ~

มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาต ิ

การคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะส่ิงที่จับตองไมได

ซึ่งเก่ียวของกับ ทักษะ ความรู ความเชี่ยวชาญดานภาษาพูด ดนตรี การฟอนรํา

ประเพณี งานเทศกาล ความเชื่อ ความรูเก่ียวกับธรรมชาติที่สัมพันธกับวิถี

การดําเนินชีวิต ความรูเชิงชางฯลฯ ถือเปนเร่ืองที่มีความสําคัญเรงดวนที่

ทุกประเทศในโลกใหความสําคัญอยางยิ่ง เนื่องจากเปนส่ิงซึ่งเส่ียงตอการ

สูญหายอันสืบเนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก กระแสโลกาภิวัฒน

ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี นอกจากนี้ยังมีการนํามรดกภูมิปญญาทาง

วัฒนธรรมบางอยางไปใชในทางที่ผิด หรือถูกนําไปใชอยางไมเหมาะสมอีกดวย

Page 4: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ô ~

ในเร่ืองนี้กระทรวงวัฒนธรรมโดยกรมสงเสริมวัฒนธรรม ตระหนักใน

ความสําคัญของสถานการณดังกลาว จึงจัดทําโครงการปกปองคุมครอง

มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของไทยขึ้น โดยมีกิจกรรมที่สําคัญคือ

การขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติ เปนประจําทุกป

ในปพุทธศักราช ๒๕๕๕ มีการขึ้นทะเบียนเปนปที่ส่ี ประกอบดวยภูมิปญญา

ทางวัฒนธรรมสาขาตาง ๆ คือ สาขาศิลปะการแสดง สาขางานชางฝมือด้ังเดิม

สาขาวรรณกรรมพ้ืนบาน สาขากีฬาภูมิปญญาไทย สาขาแนวปฏิบัติทางดาน

พิธีกรรมและงานเทศกาล สาขาความรูและแนวปฏิบัติเก่ียวกับธรรมชาติและ

จักรวาล และสาขาภาษา จํานวน ๗๐ รายการ ซึ่งไดรับการรับรองจากกรรมการ

ผูทรงคุณวุฒิที่กรมสงเสริมวัฒนธรรมแตงต้ัง นอกจากนี้ยังมีการมอบเกียรติบัตร

ใหแกชุมชนที่ยังสืบทอดมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมมาอยางตอเนื่อง จํานวน

๑๓ ชุมชน และจะดําเนินการมอบใหแกชุมชนอ่ืน ๆ อีกในโอกาสตอไป

การจัดกิจกรรมคร้ังนี้จะเปนสวนหนึ่งในการนําไปสูความภาคภูมิใจและ

ตระหนักถึงคุณคาความสําคัญของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมอันเปน

เกียรติภูมิของชาติใหแกคนไทยทั้งประเทศ

ความหมายของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม

“มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม” หมายถึง การปฏิบัติการเปน

ตัวแทน การแสดงออก ความรู ทักษะ ตลอดจน เคร่ืองมือ วัตถุ ส่ิงประดิษฐ

และพ้ืนที่ทางวัฒนธรรมที่เก่ียวเนื่องกับส่ิงเหลานั้น ซึ่งชุมชน กลุมชน และใน

บางกรณี ปจเจกบุคคล ยอมรับวาเปนสวนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของตน

มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมซึ่งถายทอด จากคนรุนหนึ่งไปยังคนอีกรุนหนึ่งนี้

Page 5: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ õ ~

เปนส่ิงซึ่งชุมชนและกลุมชนสรางขึ้นใหมอยางสม่ําเสมอ เพ่ือตอบสนองตอ

สภาพแวดลอมของตน เปนปฏิสัมพันธของพวกเขาที่มีตอธรรมชาติ และ

ประวัติศาสตรของตนและทําใหคน เหลานั้นเกิดความรูสึกมีอัตลักษณและความ

ตอเนื่อง ดังนั้น จึงกอใหเกิดความเคารพตอความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

และการคิดสรางสรรคของมนุษย

มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติคืออะไร?

มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมเปนสมบัติอันลํ้าคาที่บรรพบุรุษได

สรางสรรค ส่ังสม และสืบทอดถึงลูกหลาน รุนตอรุน มรดกภูมิปญญาทาง

วัฒนธรรม หมายถึงความรู ความคิด ทักษะ ความชํานาญ ความเชี่ยวชาญที่

แสดงออกผานทางภาษาวรรณกรรม ศิลปะการแสดง ขนบธรรมเนียมประเพณี

พิธีกรรม งานชางฝมือด้ังเดิม การเลนกีฬา ศิลปะการตอสูปองกันตัวและความรู

เก่ียวกับธรรมชาติและจักรวาล

ในยุคที่โลกกําลังเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วเชนปจจุบัน ส่ิงที่เปนภูมิปญญา

ของมนุษยขาติดังกลาวขางตนกําลังถูกคุกคามจากภยันตรายตาง ๆ ทั้งจาก

วัฒนธรรมตางชาติ การฉกฉวยผลประโยชนจากการที่มีเทคโนโลยีที่เหนือกวา

หรือการนําภูมิปญญาของกลุมชนหนึ่ง ๆ ไปใชอยางไมเหมาะสม และไมมี

การแบงปนผลประโยชน ปจจัยตาง ๆ เหลานี้สงผลใหกลุมชนที่ไดรับผลกระทบ

ถูกครอบงําจนเกิดการสูญเสียอัตลักษณและสูญเสียภูมิปญญาที่เปนองคความรู

ของตนไปอยางรูเทาไมถึงการณ

การประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม จึงเปนหนทาง

หน่ึงในการปกปองคุมครอง และเปนหลักฐานสําคัญของประเทศในการประกาศ

Page 6: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ö ~

ความเปนเจาของมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมตาง ๆ ในขณะที่ยังไมมี

มาตรการทางกฎหมายที่จะคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติ

วัตถุประสงคการขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม

๑. เพ่ือบันทึกประวัติความเปนมา ภูมิปญญา และอัตลักษณของมรดกภูมิ

ปญญาทางวัฒนธรรม

๒. เพ่ือเปนฐานขอมูลสําคัญเก่ียวกับมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมที่อยู

ในอาณาเขตของประเทศไทย

๓. เพ่ือเสริมสรางบทบาทสําคัญ และความภูมิใจของชุมชน กลุมคน หรือ

บุคคลที่เปนผูถือครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม

๔. เพ่ือสงเสริมและพัฒนาสิทธิชุมชน ในการอนุรักษ สืบสาน ฟนฟู และ

ปกปองคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของทองถิ่นและของชาติ

๕. เพ่ือรองรับการเขาเปนภาคีอนุสัญญาเพ่ือการสงวนรักษามรดก

วัฒนธรรมที่จับตองไมไดของยูเนสโก

การสงวนรักษาวัฒนธรรมที่จับตองไมไดของ UNESCO

(องคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ)

เพ่ือใหเกิดความเขาใจอยางถองแท ของวัฒนธรรมที่จับตองไดและ

จับตองไมได วามีเกณฑในการพิจารณาอยางไร? ขอนําบทความของคุณ

Humble มาชวยใหความกระจางเพ่ิมขึ้น

คุณ Humble เขียนไวใน www.atcloud.com เมื่อ ๑๘ ม.ค.๒๕๕๓

โดยสรุปวา UNESCO มีการขึ้นทะเบียนมรดก ๒ แบบ

Page 7: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ÷ ~

๑. Tangible Cultural Heritage คือ มรดกวัฒนธรรมที่จับตองได

เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ

๒. Intangible Cultural Heritage คือ มรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมได

เชน ภูมิปญญา ทรัพยสินทางปญญา ระบบคุณคา ความเชื่อ พฤติกรรมและ

วิถีชีวิต (รวมเรียกวาวิถีชน)

แบบที่ ๒ เปนวัฒนธรรมของมนุษยชาติที่จับตองไมได (Intangible

culture heritage) ที่แสดงถึงการคนควาสรางสรรค สติปญญาและ

ความหลากหลายทางภูมิปญญา วัฒนธรรมที่สงผานจากรุนสูรุน อันควรคา

แกการอนุรักษและสงเสริมความรูความเขาใจและสืบทอดมรดกนี้สูชุมชนรุน

ตอไป และมีบทความเสนอเร่ืองมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดของโลก

๑๒ รายการ ของประเทศใน ASEAN โดยสรุปวา

มรดกทางวัฒนธรรมที่จับตองไมได จะอยูในหมวด

๑. ภาษาพ้ืนเมืองและการแสดงออกทางภาษา

๒. ศิลปะการแสดง รวมถึง ดนตรี การเตนรํา มหรสพ

๓. การปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรมและประเพณี

๔. ความรู การปฏิบัติที่เก่ียวของกับธรรมชาติและส่ิงตาง ๆ รอบตัว

๕. หัตถกรรมพ้ืนบาน

ประเทศใน ASEAN มีมรดกทางวัฒนธรรมที่จับตองไมไดที่ไดรับการขึ้น

ทะเบียนจาก UNESCO ๑๒ รายการคือ

เวียดนาม มี ๔ รายการ

๑. ดนตรีแหงราชสํานักเวียดนาม( Nha Nhac, Vietnam Court

Music) หรือดนตรีอันหรูหรา

Page 8: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ø ~

๒. พ้ืนที่ของวัฒนธรรมฆอง (The Space of Gong Culture) ที่สิง

สถิตของทวยเทพ ทุกบานตองมีฆอง

๓. เพลงพ้ืนบาน (Quan Ho Boc Ning) เพลงโตตอบบานแฝด

บอกรัก พลัดพราก หามผูรองแตงงานกัน

๔. การขับรองเพลงคาตรู (Ca tru Singing) เพลงเสียงสูงปากแคบ

ประกอบพิณเอกลักษณเฉพาะ

อินโดนีเซีย มี ๓ รายการ

๑. หนังตะลุง (The Wayang Puppet)

๒. กริช(Kris) ดาบสั้นสองคม เครื่องแสดงฐานะทางสังคม เครื่องราง

เครื่องประดับ

๓. ผาบาติกอินโดนีเซีย (Indonesian Batic) ผาสามสี น้ําเงิน น้ําตาล

ขาว สีของพรหม ศิวะ วิศณุ

กัมพูชา มี ๒ รายการ

๑. สะบักธม (Sbac Thom, Khmer Shadow Theatre) หรือ

หนังใหญ มีมากอนนครวัด

๒. นาฏศิลปหลวงของกัมพูชา (The Royal Ballet of Cambodia)

แสดงความสงางาม สื่ออารมณสูเทพเจาบนสรวงสวรรค

ฟลิปปนส มี ๒ รายการ

๑. บทสวดฮุดฮูด แหงอิฟูเกา(The Hudhud Chants of the

Ifugao เปนบทสวดพ้ืนบาน บอกประวัติศาสตร ศาสนา วิถีชีวิต ความเชื่อ

มี ๒๐๐ บท

Page 9: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ù ~

๒. มหากาพยดาเรงเกนของชาวมารันเนาที่ทะเลสาบลาเนา

(The Darengen Epic of the Maranao People of Lake Lanao)

เลาตํานานผูกลา ความรัก ความตาย บันเทิง รองติดตอกันหลายวัน

มาเลเซีย มี ๑ รายการ

๑. มหรสพมักยง (Mak Yong Theatre) มหรสพโบราณ พูดถึง

วรรณคดีเก่ียวกับราชสํานัก

ไทย ไมมีเลย

บทบาทวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกกับการประกาศขึ้นทะเบียนฯ ประเพณีรับบัว

วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เสนอขอรับทุนจากกรมสงเสริมวัฒนธรรม

วิจัยเร่ือง “รับบัว” โดยคณะวิจัยของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก อันมี

ผศ.ดร.อําพล นววงศเสถียรเปนหัวหนา อาจารยธิปตย โสตถิวรรณ

อาจารยทินภัทร ประภาสพงษ เปนผูรวมวิจัย มีที่ปรึกษาคณะวิจัย

ประกอบดวย ดร.ประสิทธิ์ ทองไสว รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา

อาจารยสมชาย ชูประดิษฐ ที่ปรึกษาวิทยาลัยใน “โครงการ รวบรวมและ

จัดเก็บขอมูลมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม เรื่อง ประเพณีรับบัว : มรดก

ภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาวบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ” โดยมี

วัตถุประสงคเพ่ือใหประเพณีรับบัวมีความสําคัญในเชิงการเปนมรดกภูมิปญญา

ทางวัฒนธรรมของชาติ และเขาสูกระบวนการประกาศเปนมรดกภูมิปญญาทาง

วัฒนธรรมตามภาคีอนุสัญญาวาดวยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับตอง

ไมไดของ UNESCO

Page 10: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñð ~

ขั้นตอนการนํามรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมเพ่ือนําไปสูการเสนอขึ้น

ทะเบียนเปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติ และนําไปสูการนําเสนอ

UNESCO ใหเปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติเมื่อประเทศไทย

เขาเปนภาคี Convention for the Safe guarding of the Intangible

Cultural Heritage ของประเพณีรับบัว มีดังนี้

ทําโครงการเก็บรวบรวมเก็บรวบรวม ประกาศเปนมรดกภูมิปญญา

รมต. วัฒนธรรม นําเขาครม.จดทะเบียนเปนมรดกมนุษยชาติขอมูล ประเพณี

รับบัวทางวัฒนธรรมของชาติ อนุมัติเพ่ือ UNESCO อนุสัญญา UNESCO

UNESCO ภายหลังการขึ้นทะเบียนเปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม

ของชาติแลว คณะรัฐมนตรีจะมีมติเสนอชื่อ “ประเพณีรับบัว”เปนมรดกภูมิ

ปญญาทางวัฒนธรรมเรงดวนของมนุษยชาติตามเงื่อนไขที่ปรากฏในอนุสัญญา

วาดวยการปกปองคุมครองมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม และมีการจัดเก็บ

ขอมูลตามกรอบ UNESCO เพ่ือเปนการเตรียมการรองรับการเขาเปนภาคี

อนุสัญญาวาดวยการสงวนรักษามรดกมนุษยชาติตามกรอบ UNESCO

วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เสนอ “รับบัว” ประเพณีทองถิ่นบางพลี

ใหกระทรวงวัฒนธรรมประกาศขึ้นทะเบียนเปนมรดกภูมิปญญาของชาติ

ป ๒๕๕๕

ความสําคัญของดอกบัว คุณคา เครื่องสักการะบูชาของชาวบางพล ี

Page 11: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ññ ~

“บัวหลวง” ไมน้ําวงศ

บัวสกุลปทุมชาติ ชื่อ

วิทยาศาสตร Nelumbo

nucifera Gaertn

สัญลักษณของความศักด์ิ

สิทธเปนมงคล กล่ินหอม

จรรโลงใจของดอกบัวทําให

เกิดความสุขความร่ืนรมย ใชสักการะบูชาส่ิงเคารพสูงสุดของชาวพุทธ ดอกบัว

หลวงรองรับพุทธสรีระ พุทธจริยาทุกปาง ประสูติ, ตรัสรู, ปรินิพพาน มีกลีบ

ดอกบัวงดงามประดับ การกระทําทั้งอัญชลี วันทนาและอภิวาท กระพุมมือเปน

รูปดอกบัวตูมทุกคร้ัง บัวเปนสัญญลักษณของความบริสุทธิ์ สะอาด คุณงาม

ความดี สุนทรียภาพและความพากเพียรใน

พระพุทธศาสนา พระสมณโคดมทรงพากเพียรศึกษาเหตุปจจัยของ

ความทุกข ทรงฝกจิตจนเกิดธรรมสมาธิคนพบพระนิพพานวิธีการดับทุกข

ทรงเมตตาสอนบุคคลใหพนทุกข โดยเปรียบบุคคลผูสามารถบรรลุธรรมไดเปน

บัวสามเหลา บัวโผลพนน้ํา อุคติตัญู เปนบุคคลมีปญญามาก แคฟงธรรมเพียง

คร้ังเดียวก็บรรลุธรรม บัวเสมอน้ํา วิปจิตัญู บุคคลผูฟงธรรม ไตรตรองไดรับ

การอธิบายเพ่ิมเติม ก็บรรลุธรรม นัยย บัวใตน้ํา ใหฟงธรรมแลวเพียรส่ังสอน

เพียรฝกหัดก็บรรลุธรรมได

บางพลีมีบัวเต็มทองทุงทองน้ําเปนเอกลักษณประจําถิ่นมากอน สินทรัพย

ทางธรรมชาตินี้ปราชญบางพลีสรางประเพณีรับบัวขึ้น เปนเคร่ืองมือส่ือถึง

คุณคาของไมตรีจิตรมิตรภาพระหวางคน ๓ เผา ส่ือใหตระหนักถึงความสําคัญ

Page 12: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñò ~

ของคาถาพันวันเทศมหาชาติและอานิสงสของการไหวพระวันมหาปวารณาออก

พรรษา เปนตน

ประเพณีรับบัว : มรดกวัฒนธรรมทองถ่ินบางพล ี

ประเพณีรับบัว เปนตํานานน้ําใจไมตรีจิตมิตรภาพความเอ้ืออาทรตอกัน

ของคนบางพลี ๓ ชนเผา คนไทยพ้ืนถิ่น คนรามัญและคนลาว เพ่ือนมนุษย

ผูอพยพหนีรอนมาพ่ึงเย็น มีที่มาปรากฏในตํานานทองถิ่นทั้งของไทย รามัญ

และลาว ดังนี้

พ.ศ. ๒๓๕๘ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ทรงสรางเมือง

นครเขื่อนขันธที่ปากลัดพระประแดงขึ้น สรางปอมปนสรางยุงฉางเก็บเสบียงไว

ปองกันขาศึกที่จะมาทางทะเลไวหลายปอม โปรดเกลาฯใหมอญพวกพญาเจง

เจาเมืองเตรินเมาะตะมะ ที่พาพวกอพพยพมาอาศัยอยูในเขตเมืองปทุมธานีอยู

Page 13: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñó ~

กอนแลว ยายครอบครัวชายฉกรรจ ๓๐๘ คน พรอมขาทาสบริวารมาเปนทหาร

ปนใหญ”อาสารามัญ”ประจําเมืองดานหนานี้ ใหสมิงทอมาบุตรหลาน

เจาพระยามหาโยธา (เจง คชเสนี) เปนเจาเมืองปกครองดูแล ทรงสรางวัดให

ชาวรามัญปากลัดไดมีที่บําเพ็ญกุศลพระราชทานที่ดิน บางพลี บางแกว ใหมอญ

รามัญทํานาเก็บเสบียงเล้ียงตัวและสะสมเปนกําลังปองกันขาศึกที่จะมาทาง

ทะเลปากแมน้ําเจาพระยา

คนลาวนั้น ก็เปน “ลาวอาสาปากน้ํา” พ.ศ.๒๓๕๒ ทาวไชยอุปฮาด

เมืองนครพนม พาสมัครพรรคพวก ๒๐๐๐ คน มาขอพ่ึงพระบรมโพธิสมภาร

โปรดใหต้ังบานเรือนอยูคลองมหาวงศ ใหทาวอินทรสาร บุตรของอุปฮาดเปน

พระยาปลัดเมืองสมุทรปราการ เมื่อกองทัพไทยไดปราบกบฏเจาอนุวงศไดเชลย

เวียงจันทนมาสวนหนึ่งมีเจาเหม็นเปนหัวหนาพาบริวารมาสมทบเปนลาวอาสา

ปากน้ําเพ่ิมขึ้นไดรับพระราชทานที่ดินทํากินที่บางพลี บางปลาเชนกัน

คนรามัญที่ถูกเกณฑมาประจําปอมที่พระประแดงนั้นไพรทาสบริวารมี

ความชํานาญในการทํานา พระประแดงเปนที่สวนมีที่ราบทํานานอย เมื่อไดรับ

พระราชทานทีดินบางพลี ใหเปนที่ทํากิน คร้ันถึงฤดูทํานา เดือน ๓ เดือน ๔

ฝนปรอยเม็ด สมิงมอญหัวหนา จะพาขบวนเรือบริวารบรรทุกเสบียงอาหาร ไป

ต้ังกองทํานาที่บางพลี ขบวนเรือแจวพายเขาคลองสําโรงระยะทางมากกวา

๒๐ กิโลเมตร เมื่อสงไพรทาสใหอยูทํานาแลวก็กลับ จะมารับใหมเมื่อการทํานา

เสร็จส้ิน ซึ่งตรงกับฤดูออกพรรษา บางพลีนั้นมีทั้งคนไทยด้ังเดิมอยูแลว มีคน

ลาวอพยพมาใหม เมื่อมีกําลังไพรพลเพ่ิมขึ้นจึงตกลงทิศทางที่จะหักรางถางพง

ปราบที่ดินทํานาใหกวางขวางออกไปอีก ดวยน้ําใจไมตรีคนไทยเจาของทองถิ่น

ตกลงกันวาคนลาวแยกไปจับจองที่ทํากินแถวคลองสลุด คนไทยไปทางคลอง

Page 14: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñô ~

ชวดลากขาว และคนรามัญไปทางคลองลาดกระบัง ทํากินมีอุปสรรคอยางไร

ครบปก็จะกลับมาพบหารือกันที่วัดบางพลี

ชาวรามัญนั้นจะมาเฉพาะฤดูทํานาทุกป ขบวนเรือที่จะมารับพวกพอง

ในวันออกพรรษามีความร่ืนเริง มีกระจับปสีซอ รองรําทําเพลงกันสนุกสนาน

ถึงที่นัดหมายวัน ๑๔ ค่ําเดือน ๑๑ ที่วัด หลวงพอโตบางพลี ชาวรามัญปากลัด

เปนผูเครงครัดในพระพุทธศาสนา เมื่อกลับบานถิ่นเดิมก็จะไปเก็บดอกบัวที่

ตําบลบางพลีใหญซึ่งมีมากมายเพ่ือจะไปทําบุญถวายดอกบัววัดที่มีการเทศ

คาถาพันสงทายพรรษาประจําป คร้ังแรกก็เก็บกันเอง ตอมาชาวอําเภอบางพลี

เห็นวาชาวรามัญมาเก็บดอกบัวจํานวนมากทุกป ไปไหวพระคาถาพันที่วัดปาก

ลัดพระประแดง เปนกุศลอยางยิ่ง จึงมาชวยเก็บดอกบัวเตรียมไวใหที่วัดบางพลี

และฝากไปไหวพระคาถาพันเทศมหาชาติงานใหญดวยตามนิสัยคนไทยคนลาวที่

ชอบเอ้ือเฟอเผ่ือแผมีจิตเปนบุญเปนกุศล สงเสริมการทําดี กอนไปชาวมอญก็

จะพายเรือไปลํ่าลาตามบาน ชาวบานไทย-ลาวก็จะฝากบัวไปทําบุญเพ่ิมเติมอีก

ดวย ระยะแรกกสงใหกับมือ มีการไหวขอบคุณ ตอมาก็เกิดความคุนเคยถาใกล

ก็สงถึงมือ ถาไกลก็โยนให จึงเรียกวา “รับบัว โยนบัว” และเมื่อกลับ ขบวนเรือ

ก็จะแขงขันพาย-แจวกันสนุกสนานเปนประจํา

เมื่อการต้ังถิ่นฐานมั่นคงขึ้นชาวรามัญตางถิ่นที่มารับบัวจาก ชาวบางพลี

คอย ๆ ลดลง เกิดตําบลคนมอญสมิงราชาเทวะ สมิงเทวะอักษร เปนชุมชนใหญ

ที่บางแกว พ.ศ. ๒๔๐๐ นายนอย หมื่นราช รวมกับศรัทธาชาวบานสรางวัดราช

ศรัทธารามขึ้นปจจุบันคือวัดบางพลีใหญกลาง พวกลาวสรางวัดบางลาว เมื่อ

พ.ศ. ๒๔๒๔ วันขึ้น ๑๓ ค่ําเดือน ๑๑ ออกพรรษา กระจับปสีซอในทองน้ํายัง

คึกคักติดตอกันมาหลายป พุทธศักราช ๒๔๔๘ การเลิกทาสสมบูรณแลว

Page 15: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñõ ~

พวกมอญปากลัด ลาวคลองมหาวงศที่มาทํานาที่บางพลี ไดจับจองที่ดินเปนของ

ตนเอง มีทับกระทอม เรือนเคร่ืองผูกเปนสิทธิ์ของตนเองมากขึ้น เปนชุมชนขึ้นมี

วัดราษฎรศรัทธาธรรมไวทําบุญปฏิบัติธรรมตามศรัทธา ไมตองไปทําบุญที่วัด

ปากลัดพระประแดงเชนเคย

เมื่อเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ เสียงกระจับปสีซอกลอง

รํามะนาจากคนตางตําบล คอย ๆเงียบลง คนในทองถิ่นที่เคยเก็บดอกบัวไวรวม

ทําบุญมายาวนานคร้ันไมมีคนมารับบัว ตางก็ออกแจวพายรับบัวตามบานริมน้ํา

นํามาไหวหลวงพอโตพระศักด์ิสิทธิ์ในวัดของตนแทน เร่ิมสืบทอดประเพณี

รับบัวไหวหลวงพอโตวัดบางพลีเปนงานของทองถิ่นโดยเฉพาะ

Page 16: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñö ~

การจัดงาน

ประเพณีรับบัว ตอมามี

การเพ่ิมสาระและใหมี

ความหมายยิ่งขึ้น พ.ศ.

๒๔๖๗ อําแดงจ่ัน

ชาวบานผูมีฐานะกับ

พวกศรัทธาธรรมพรอม

ใจกันสานไมไผขัดแตะแบบสุม รูปองคพระปฐมเจดียขึ้นที่วัดบางพลีใหญใน ปด

กระดาษระบายสีทองสมมติเปน ธาตุเจดียบรรจุพระธาตุของพระพุทธเจา ต้ังใน

เรือแหไปตามลําคลองรับบัวบูชาจากชาวบาน นํามาหมผาแดงจัดงานฉลองที่วัด

มีมหรสพสมโภช มีคนมาเที่ยวเตรชมงานกันมากติดตอกันหลายป

นายชื้น วรศิริ นายอําเภอบางพลี พ.ศ. ๒๔๗๘-๒๔๘๑ พบวาประเพณี

รับบัวมีทีทาวาจะสูญ จึงหารือกับพอคาคหบดีและชาวบาน ทางราชการจะเขา

มาสงเสริม จึงไดเพ่ิมวันจัดงานขึ้นอีก ๑ วัน เร่ิมงานวัน ๑๓ ค่ํา เดือน ๑๑ เปน

วันแตงเรือลอยลําแหแหนไปในคลองสําโรง ผานหมูบานผานวัดสําคัญ ไปหยุดที่

ทายวัดบางพลีใหญกลางเพ่ือชักชวนใหคนชม ในเชาวันขึ้น ๑๔ ค่ําเดือน ๑๑

เร่ิมขบวนการรับบัว มีการประกวดเรือสวยงาม เรือขบขัน เรือมีความหมาย

ตอมา นายไสว โตเจริญ ไดเอาไมไผมาสานเปนโครงพระพุทธรูปหลวงพอโต

วัดบางพลีใหญใน ปดหุมดวยกระดาษทองนํามาต้ังบนเรือสังเค็ด แหไปตาม

ลําคลองรับบัว คร้ังนั้นไดเร่ิมมีการทําขาวตมมัดแจกแกแขกตางบานแกหิว

งานรับบัวสมัยนั้นครึกคร้ืนสนุกสนานมาก กํานันผูใหญบาน ชาวบางพลีสามัคคี

ชวยกันหาดอกบัว จัดสุราอาหารไวตอนรับแขกตางบาน จัดเรือลองไปตาม

Page 17: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñ÷ ~

ลําคลองรองรําทําเพลงร่ืนเริงสนุกสนานกันจนรุงขึ้น ๑๔ ค่ํา ก็จะลองเรือแห

องคพระไปรับดอกบัวที่ชาวบานเตรียมไวบูชา แลวก็พากันไปรวมถวายดอกบัว

ใหพระไปทําพิธีสงฆวันปวารณาออกพรรษา

นายเชื่อม สิริสนธ เปนนายอําเภอบางพลี ป พ.ศ.๒๔๘๒-๒๔๙๐ จัดเรือ

รับบัวโดยใหมีมหรสพกลางแจงที่วัดบางพลีใหญใน วัดบางพลีใหญกลางและ

หนาที่วาการอําเภอบางพลีฉลองตลอดคืน จัดใหมีตลาดนัดประกวดสินคา

เกษตรและประกวดนางงามขึ้น

มาถึงป พ.ศ. ๒๔๙๗ พระครูพิศาลสมณวัตต เจาอาวาสวัดบางพลีใหญใน

ไดทํารูปหลอหลวงพอโตจําลองโดยใชโลหะอลูมิเนียมเบาเคล่ือนยายไดงายนํา

ลงเรือแหแหนไปตามลําคลองสําโรงในวันขึ้น ๑๓ ค่ํา เดือน ๑๑ เปนการ

ประกาศขาวงานรับบัวประเพณีแหหลวงพอโตกอนวันงานรับบัว ๑ วัน เปน

แบบแผนสืบมามาจนทุกวันนี้ ประชาชนที่อยูสองฝงคลองสําโรงที่ขบวนแห

หลวงพอโตผานจะประดับธงทิว ตกแตงบานเรือน และต้ังโตะหมูบูชาตอนรับ

พอเขาวันขึ้น ๑๔ ค่ําเวลา ๐๖.๐๐ น. - ๑๑.๐๐ น. เดือน ๑๑ เปนวันรับบัว

จากผูมาเที่ยวงานบุญ ชมประกวด

เรือประเภทตาง ๆ ของตําบล

ใกลเคียง เร่ิมมาต้ังแต พ.ศ

๒๕๐๐ โดยใชสนามบริเวณหนา

ที่วาการอําเภอเปนเวทีจัดงาน

เปนแบบแผนมาจนทุกวันนี ้

------------------------------------------------------

Page 18: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñø ~

ภาคผนวก

เราไดรับความรูจากขอเขียนของคุณ Humble เมื่อ ๑๘ ม.ค. ๒๕๕๓

วาทั่วโลกมีมรดกทางวัฒนธรรมที่จับตองไมได อยู ๑๖๖ รายการ จาก ๗๑

ประเทศ

ใน ASEAN มีมรดกทางวัฒนธรรมที่ที่จับตองไมไดที่ขึ้นทะเบียน จาก

UNESCO อยู ๑๒ รายการ จาก ๕ ประเทศ

ประกอบดวย

เวียดนาม ๔ รายการ

อินโดนีเซีย ๓ รายการ

กัมพูชา ๒ รายการ

ฟลิปปนส ๒ รายการ

มาเลเซีย ๑ รายการ

ไทย ไมม ี

๑. ดนตรีแหงราชสํานักเวียดนาม (Nha Nhac, Vietnamese Court

Music) ประเทศเวียดนาม

Nha Nhac (นานัค) แปลวา ดนตรี

อันหรูหรา เก่ียวโยงกับดนตรีและ

การฟอนรําที่แสดงสําหรับราช

สํานักเวียดนามต้ังแตศตวรรษที่ ๑๕

ถึงกลางศตวรรษที่ ๒๐ อันเปนชวง

ส้ินสุดราชวงศสุดทาย ลักษณะเดน

Page 19: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ñù ~

ของนานัค คือ ใชแสดงเปดและปดงานพระราชพิธีตาง ๆ ในอดีต นานัคจะ

ประกอบดวยวงใหญ ประกอบดวย นักแสดง นักดนตรี นักรอง ในเคร่ืองแตง

กายเต็มยศ นานัค นอกจากจะแสดงในงานพิธีแลว หนาที่อีกอยางหนึ่งก็คือ

การส่ือสารและแสดงความเคารพตอเทพเจา เจาแผนดิน และรวมถึงการ

เผยแพรความรูเก่ียวกับธรรมชาติและจักวาล หลังจากที่ราชวงศเวียดนามส้ินไป

เหลานักดนตรีที่เหลือก็ยังคงสืบตอ และกลายเปนแรงบันดาลใจแกดนตรี

สมัยใหมในเวียดนาม

๒. พ้ืนที่ของวัฒนธรรมฆอง (The Space of Gong Culture)

ประเทศเวียดนาม

พ้ืนที่ทางวัฒนธรรมฆอง อยู

ในเขตที่สูงตอนกลางประเทศ

เวียดนาม ในพ้ืนที่หลายจังหวัด

และ ๑๗ ชนเผา ในกลุมภาษา

ออสโตรเอเชียนและออสโตร นี

เชียน ฆองมีความเกียวพันอยาง

แนบแนนระหวาชีวิตประจําวัน

และการเปล่ียนผานของฤดูกาล ความเชื่อกอใหเกิดโลกในตํานานลึกลับ ซึ่งฆอง

สามารถใชสรางภาษาเพ่ือส่ือสารระหวางมนุษย ทวยเทพ และโลกเหนือ

ธรรมชาติ ฆองเชื่อวาเปนที่สิงสถิตของส่ิงศักด์ิสิทธิ์ ทุกครอบครัวจะมีฆองอยาง

นอยอยูหนึ่งตัว ฆองแสดงถึงความมั่งคั่ง อํานาจและเกียรติภูมิของเจาของ ฆอง

Page 20: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ òð ~

จะถูกใชในงานพิธีตาง ๆ แตกตางกันไปตามหมูบานตาง ๆ และตางกันในแตละ

พิธีการ

๓. เพลงพ้ืนบาน (Quan Ho Boc Ninh Folk Songs) ประเทศเวียดนาม

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเวียดนาม ตอนเหนือของฮานอย มีหลาย

หมูบานที่เปนหมูบานฝาแฝดกันที่กระชับความสัมพันธกันโดยเพลงพ้ืนบาน

การขับรองเพลงจะเปนการสลับกันระหวาง นักรองหญิงสองคนจากหนึ่ง

หมูบาน และนักรองชายสองคนจากอีกหนึ่งหมูบาน โดยนักรองจะตองมีเสียง

ใกลเคียงกัน ดังนั้นจึงไมใชทุกคนที่รองเพลงได การรอง จะสลับกันรองโตตอบ

กัน โดยผูรองตอบจะจะตองรอง

ตอบในทํานองเดียวกันแตตางเนื้อ

รอง มีขอหามดวยวา หญิงชายที่

รองเพลงโตตอบกัน จะแตงงานกัน

ไมได จากการรวบรวมมีเพลงกวา

๔๐๐ เพลง และ ๒๑๓ ทํานอง

เนื้อหาจะเก่ียวกับความรัก

การพลัดพลากและความสุขเมื่อไดเจอกันอีกคร้ัง การรองเพลจะมีขึ้นในงานพิธี

ประเพณีประจําป และงานสังสรรคที่ไมเปนทางการ เพลงพ้ืนบาน Quan Ho

Bac Nhin ไดแสดงใหเห็นถึงจิตวิญญาณ ปรัชญาและอัตลักษณของชุมชน

ทองถิ่นไดเปนอยางดี

๔. การขับรองเพลคาตรู (Ca tru singing) ประเทศเวียดนาม

Page 21: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ òñ ~

การขับรองเพลคาตรูเปนการขับรองเพลงที่ซับซอนจากบทกวี การขับรอง

มีเอกลักษณโดดเดนเปนแบบเฉพาะของเวียดนามที่ไมไดรับอิทธิพลจากที่อ่ืน

เอกลักษณอยูที่วงและทักษะการขับรองชั้นสูงของผูขับรอง หนึ่งวงจะประกอบ

ไปดวยนักรองหญิง มือพิณแบบเวียดนามและคนตีกลอง ผูขับรองหญิงจะขับ

รองดวยเสียงสูงและทําปากแคบที่สุด ใชเทคนิคของการหายใจและไวเบรโต

เพ่ือใหเกิดเสียงที่นาฟงและเปนเอกลักษณ มือกลองจะตีเพ่ือยกยองคนรองหรือ

ตีบอกจังหวะ หรือสามารถตีบอกเมื่อคนรองรองไมดี การรองคาตรูนั้น อาจจะ

รองเพ่ือความบันเทิง การแขงขันหรือการขับรองในวัง คาตรูประกอบรูปแบบ

ดนตรี ๕๖ แบบ

๕. หนังตะลุง (The Wayang Puppet Theatre)

ประเทศอินโดนีเซีย

หนังตะลุงมีตนกําเนิดมาจากเกาะชวา อินโดนีเซีย แลวแพรหลายไปที่อ่ืน

ๆ ในภูมิภาคเอเชียอาคเณยรวมทั้งประเทศไทย ตลอดหลายรอยปที่ผานมา

หนังตะลุงไดรับความนิยมในราชสํานักชวา บาหลี และรวมไปถึงชาวบานทั่วไป

Page 22: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ òò ~

หนังตะลุงจากทุกที่จะตางกันดวยขนาด รูปราง รุปแบบ แตจะมีความ

เหมือนกันคือจะทําจากหนังวัวและมีคันชัก และเลนประกอบเคร่ืองดนตรี

ทองเหลืองเชน ฆอง อยูหลังฉากผาขาว เร่ืองราวของหนังตะลุงในอินโดนีเซียจะ

เปน นิทานทองถิ่น มหากาพยจากอินเดียและเปอรเซีย ในอดีต คนเชิดหนังจะ

ไดรับการยอมรับวา เปนผูที่ปลูกฝงคานิยมและศีลธรรมในสังคมผานการเชิด

หนังและเร่ืองราวที่ถายทอดผานคําพูดและการแสดงของสามัญชนในเร่ือง ซึ่ง

นําไปสูการวิพากยวิจารณทางสังคมและการเมือง ซึ่งทําใหหนังตะลุงไดรับความ

นิยมและสืบทอดมาถึงทุกวันนี้

๖. กริช (Kris) ประเทศอินโดนีเซีย

กริช เปนดาบส้ันสองคม ที่

เปนเอกลักษณของอินโดนีเซีย

กริชเปนทั้งอาวุธและส่ิงของทาง

จิตวิญญาณเพราะเชื่อวากริชมี

พลังอํานาจอยูภายใน

กริชมีตนกําเนิดในเกาะชวา เมื่อ

ประมาณคริชศตวรรษที่ ๑๐

คุณคาของกริชอยูที่ ๓ สวน รูปทรงที่มีกวา ๔๐ แบบ การสลักตกแตงใบมีดที่มี

กวา ๑๒๐ ลาย อายุและตนกําเนิด กริชบางชิ้นไดรับการตีเปนอยางดีดวย

เทคนิคการตีทบไปทบมาหลายรอยคร้ัง ทําใหกริชมีความแกรงและคม กริชยัง

ใชเปนเคร่ืองแตงกายในงานพิธีตาง ๆ ทั้งชายและหญิง เปนเคร่ืองแสดงฐานะ

ทางสังคม สัญลักษณของผูชนะและใชในพิธีกรรมและการแสดงตาง ๆ

Page 23: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ òó ~

๗. ผาบาติกอินโดนีเซีย (Indonesian Batik) ประเทศอินโดนีเซีย

ผาบาติกหรือปาเต เปนเทคนิคที่ทําลายบนผาที่โดดเดน เปนเอกลักษณที่

เกิดจากการนําขี้ผ้ึงมาวาดลวดลายบนผืนผาและลง

สี การฟอกยอมคร้ังแลวคร้ังเลากอใหเกิดความงาม

แกผืนผา ผาบาติกมีปรากฏในหลากหลายพ้ืนท่ี

ต้ังแตจีน ญี่ปุน อินเดีย อียิปตโบราณ แตที่โดดเดน

และมีชื่อเสียงที่สุดคือผาบาติกอินโดนีเซียที่มี

หลักฐานปรากฎต้ังแตศตวรรษที่ ๖-๗ บาติก

พ้ืนบานจะประกอบดวยสามสี น้ําเงินเขม น้ําตาล

และขาว แสดงถึงพระพรหม พระศิวะและพระ

วิษณุ ผาบางลายก็สงวนไวสําหรับชนชั้นสูงเทานั้น

ผาลายกวาง แถบกวางจะแสดงถึงชนชั้นสูง นอกจากนี้เมื่อมีพิธีสําคัญ เรายัง

สามารถสังเกตวา ใครมีเชื้อสายเจาจากเส้ือผาท่ีสวมใส

๘. หนังใหญ (Sbek Thom, Khmer

Shadow Theatre) ประเทศกัมพูชา

สะบักธม หรือการแสดงหนังใหญนั้น มี

มาต้ังแตสมัยกอนนครวัด แรกเร่ิมเปนการ

แสดงเพ่ือถวายทวยเทพซึ่งจะจัดขึ้นในโอกาส

สําคัญเทานั้น ตัวหนังแกะจากหนังวัวเปนรูป

เทวดาและอสูร ตัวหนังหนึ่งตัวจะแกะสลัก

จากหนังทั้งผืน เร่ืองที่ใชแสดงคือเร่ืองราม

Page 24: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ òô ~

เกียรติ ซึ่งผูเลนจะเชิดหุนบนฉากผาสีขาวรวมกับพวก วงมโหรีและผูขับรอง

๙. นาฏศิลปหลวงของกัมพูชา (The Royal Ballet of Cambodia)

ประเทศกัมพูชา

นาฏศิลปหลวงของกัมพูชามีชื่อเสียงเร่ืองความสงางามและเคร่ืองประดับ

ที่วิจิตร และไดรับการฟนฟูอีกคร้ังหลังยุคเขมรแดง นาฏศิลปหลวงของกัมพูชา

มีความเก่ียวของและรับใชราชสํานักเขมรมากวาพันปในพิธีหลวงตาง ๆ ตัว

ละครหลักก็จะประกอบไปดวยตัวพระ

ตัวนาง ยักษ และลิง ซึ่งจะมีเคร่ืองแตง

กายและทารําตางกันชัดเจน นักแสดง

จะตองฝกอยางหนักเพ่ือที่จะส่ืออารมณ

ไปยังผูชม และถือเปนผูสงสารจาก

พระเจาแผนดินสูเทพเจาบนสรวงสวรรค

๑๐. บทสวดฮุดฮุดแหงอิฟูเกา (The Hudhud Chants of the

Ifugao) ประเทศฟลิปปนส

ชาวอิฟูเกานอกจาก

จะมีชื่อเสียงดานการทํานา

ขั้นบันไดแลว ยังมีบทสวด

พ้ืนบานที่ไดรับการขึ้น

ทะเบียนอีกดวยเรียกวา

บทสวดฮุดฮุด

ประกอบดวยบทสวด

Page 25: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ òõ ~

บรรยายมากกวา ๒๐๐ เร่ือง แตละเร่ืองก็แยกยอยลงไปอีกเร่ืองละ ๔๐ บท

เร่ืองราวจะเก่ียวกับบรรพบุรุษ วีรบุรุษ กฎหมาย ศาสนา ความเชื่อ หลักปฏิบัติ

การสวดจะกระทําโดยผูหญิงเปนสวนใหญ ระหวาง ฤดูเพาะปลูก เก็บเก่ียว

งานศพและพิธีสําคัญตาง ๆ กวาจะทําการสวดเสร็จก็กินเวลาหลายวัน โดยจะ

สวดกันเปนหมูคณะ คลายการรองประสานเสียง

๑๑. มหากาพยดาเรงเกนของชาวมารันเนาที่ทะเลสาบลาเนา

(The Darangen Epic of the

Maranao People of Lake Lanao)

ประเทศฟลิปปนส

มหากาพยดาเรนเกนเปนมหากาพย

โบราณที่แสดงถึงความรูของชาวมาราเนา

ซึ่งเปนกลุมมุสลิมหนึ่งในสามกลุมทาง

ตอนใตของประเทศฟลิปปนส มหากาพยประกอบไปดวย ๑๘ รอบ ดวย

จํานวนบรรทัดทั้งหมด ๗๒,๐๐๐ บรรทัด เลาเร่ืองราวทางประวัติศาสตรและ

บรรพบุรุษผูกลา ตํานาน ซึ่งแฝงไปดวยเนื้อหาของความรัก ความตาย การเมือง

ผานการใชสัญลักษณ การเปรียบเที่ยบและการประชดประชัน นอกจากนี้

มหากาพยยังไดแสดงใหเห็นถึงธรรมเนียมกฎหมาย บรรทัดฐานทางสังคม และ

ชาติพันธุ คานิยมของทองถิ่น มหากาพยมีปรากฏกอนการเขามาของศาสนา

อิสลาม ในยุคของภาษาสันสกฤตเปนที่แพรหลายในแถบนี้ การขับรอง

มหากาพยทําโดยผูที่ไดรับการฝกมาเปนพิเศษ ที่มีความเปนเลิศในดานความจํา

Page 26: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ òö ~

การรองสดและการใหความบรรเทิง ในงานแตงงานซึ่งกินเวลาหลายคืน

ซึ่งผูแสดงตองมีทักษะการรองอยางสูง

๑๒. มหรสพมักยง ( Mak Yong Thetre) ประเทศมาเลเซีย

มักยงเปนมหรสพโบราณของชาว

มาเลยในรัฐกลันตันประเทศมาเลเซีย

ซึ่งรวมศิลปะหลายอยางเขาดวยกันทั้ง

การรอง การแสดง ดนตรี ทาทางและ

เคร่ืองแตงกายที่สวยงาม มักยงแสดง

เพ่ือความบันเทิง หรือพิธีกรรมเก่ียวกับ

การรักษาผูปวย ผูเชี่ยวชาญเชื่อวามักยงเร่ิมมีกอนยุคศาสนาอิสลามจากการ

เปนการแสดงในราชสํานัก ผูแสดงสวนมากเปนผูหญิง จะทําการขับรองเลาเร่ือง

ในวรรณคดีโบราณเก่ียวกับราชสํานักและเทพเจาและตลก รวมกับเคร่ืองดนตรี

ทองถิ่น ประกอบดวยกลอง ฆองและซอสามสายแบบมาเลย

Page 27: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ ò÷ ~

Page 28: ประเพณีรับบัว : มรดกภูมิป ญญา ......เซาธ อ สท บางกอก ผศ.ดร.อ าพล นววงศ เสถ

~ òø ~