ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ... · 2011-08-09 ·...

63
คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์ หน้า 85 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้แกนกลาง และสาระการเรียนรู ้ท้องถิ่น ระดับชั ้นมัธยมศึกษาตอนต ้น

Upload: others

Post on 26-Dec-2019

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 85

    ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    ระดบัช้ันมธัยมศึกษาตอนต้น

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 86

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น รหัสวชิา ว21201 วชิาวทิยาศาสตร์ 1

    สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว3. 1 เขา้ใจสมบติัของสาร ความสมัพนัธร์ะหวา่งสมบติัของสารกบัโครงสร้างและแรงยดึเหน่ียวระหวา่งอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวทิยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ น าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ทดลองและจ าแนกสารเป็นกลุ่มโดยใชเ้น้ือสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ ์และอธิบายสมบติัของสารในแต่ละกลุ่ม

    - เม่ือใชเ้น้ือสารเป็นเกณฑ ์จ าแนกสารไดเ้ป็นสารเน้ือเดียวและสารเน้ือผสม ซ่ึงสารแต่ละกลุ่มจะมีสมบติัแตกต่างกนั - เม่ือใชข้นาดอนุภาคของสารเป็นเกณฑจ์ าแนกสารเป็นสารแขวนลอย คอลลอยดแ์ละสารละลาย ซ่ึงสารแต่ละกลุ่มจะมีสมบติัแตกต่างกนั

    2. อธิบายสมบตัิและการเปล่ียนสถานะของสาร โดยใช้แบบจ าลองการจดัเรียงอนุภาคของสาร

    - สี รูปร่าง ขนาด ความแขง็ ความหนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว เป็นสมบตัิทางกายภาพของสาร ความเป็นกรด-เบส ความสามารถในการรวมตวักบัสารอ่ืน ๆ การแยกสลายของสารและการเผาไหมเ้ป็นสมบตัิทางเคมี - สารในสถานะต่าง ๆ มีลกัษณะการจดัเรียงอนุภาค ระยะห่างระหวา่งอนุภาค และแรงยดึเหน่ียวระหวา่งอนุภาคแตกต่างกนั ซ่ึงสามารถใช้แบบจ าลองการจดัเรียงอนุภาคของสาร อธิบายสมบตัิบางประการของสารได ้

    3. ทดลองและอธิบายสมบตัิความเป็นกรด เบส ของสารละลาย

    - สารละลายทีมี่น ้ าเป็นตวัท าละลาย อาจจะมีสมบติัเป็นกรด กลาง หรือเบส ซ่ึงสามารถทดสอบไดด้ว้ยกระดาษลิตมสั หรือ อินดิเคเตอร์

    4. ตรวจสอบค่า pH ของสารละลายและน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    - ความเป็นกรด-เบสของสารละลายระบุเป็นค่า pH ซ่ึงตรวจสอบไดด้ว้ยเคร่ืองมือวดัค่า pH หรือ ยนิูเวอร์ซลัอินดิเคเตอร์ - ผลิตภณัฑท์ี่ใชใ้นชีวติประจ าวนัอาจมีความเป็นกรดเบสแตกต่างกนั จึงควรเลือกใชใ้หถู้กตอ้งปลอดภยัต่อตนเองและส่ิงแวดลอ้ม

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 87 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว3.2 เขา้ใจหลกัการและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวทิยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ทดลองและอธิบายวธีิเตรียมสารละลายที่มีความเขม้ขน้เป็นร้อยละ และอภิปรายการน าความรู้เก่ียวกบัสารละลายไปใช้ประโยชน์

    - สารละลายประกอบดว้ยตวัละลายและตวัท าละลาย สารละลายที่ระบุความเขม้ขน้เป็นร้อยละหมายถึงสารละลายที่มีอตัราส่วนของปริมาณตวัละลาย ละลายอยูใ่นสารละลายร้อยส่วน - ในชีวติประจ าวนัไดมี้การน าความรู้เร่ืองสารละลายไปใชป้ระโยชน์ทางดา้นการเกษตร อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย ์และดา้นอ่ืน ๆ

    2. ทดลองและอธิบายการเปล่ียนแปลงสมบตัิ มวลและพลงังานของสาร เม่ือสารเปล่ียนสถานะและเกิดการละลาย

    - เม่ือสารเกิดการเปล่ียนสถานะและเกิดการละลาย มวลของสารจะไม่เปล่ียนแปลง แต่สมบติัทางกายภาพเปล่ียนแปลง รวมทั้งมีการถ่ายโอนพลงังานระหวา่งระบบกบัส่ิงแวดลอ้ม

    3. ทดลองและอธิบายปัจจยัที่มีผลต่อการเปล่ียนสถานะ และการละลายของสาร

    - อุณหภูมิ ความดนั ชนิดของสารมีผลต่อการเปล่ียนสถานะ และการละลายของสาร

    สาระที่ 1 ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการด ารงชีวิต มาตรฐาน ว1. 1 เขา้ใจหน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวติ ความสมัพนัธข์องโครงสร้าง และหนา้ที่ของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวติที่ท างานสมัพนัธก์นั มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใชใ้น การด ารงชีวติของตนเองและดูแลส่ิงมีชีวติ

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. สงัเกตและอธิบายรูปร่าง ลกัษณะของเซลลข์องส่ิงมีชีวติเซลลเ์ดียวและเซลลข์องส่ิงมีชีวติหลายเซลล ์

    - เซลลข์องส่ิงมีชีวติเซลลเ์ดียว และเซลลข์อง ส่ิงมีชีวติหลายเซลล ์เช่น เซลลพ์ชื และเซลลส์ตัวมี์รูปร่าง ลกัษณะแตกต่างกนั

    2. สงัเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบส าคญัของเซลล์พชืและเซลลส์ตัว ์

    - นิวเคลียส ไซโทพลาสซึม และเยือ่หุม้เซลล ์เป็นส่วนประกอบส าคญัของเซลลท์ี่เหมือนกนัของเซลลพ์ชืและเซลลส์ตัว ์- ผนงัเซลลแ์ละคลอโรพลาสต ์เป็นส่วนประกอบ ที่พบไดใ้นเซลลพ์ชื

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 88 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    3. ทดลองและอธิบายหนา้ที่ของส่วนประกอบที่ส าคญัของเซลล์พชืและเซลลส์ตัว ์

    - นิวเคลียส ไซโทพลาสซึม เยือ่หุม้เซลล ์แวคิวโอล เป็นส่วนประกอบที่ส าคญัของเซลลส์ตัว ์มีหนา้ที่แตกต่างกนั - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือ่หุม้เซลล ์แวคิวโอล ผนงัเซลล ์และ คลอโรพลาสต ์เป็นส่วนประกอบที่ส าคญัของเซลลพ์ชื มีหนา้ที่แตกต่างกนั

    4. ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผา่นเซลล ์ โดยการแพร่และออสโมซิส

    - การแพร่เป็นการเคล่ือนที่ของสาร จากบริเวณที่มีความเขม้ขน้สูงไปสู่บริเวณที่มีความเขม้ขน้ต ่า - ออสโมซิสเป็นการเคล่ือนทีข่องน ้ าผา่นเขา้และออกจากเซลล ์จากบริเวณที่มีความเขม้ขน้ของสารละลายต ่าไปสู่บริเวณที่มีความเขม้ขน้ของสารละลายสูง โดยผา่นเยือ่เลือกผา่น

    5. ทดลองหาปัจจยับางประการที่จ าเป็นต่อการสงัเคราะห์ดว้ยแสงของพชื และอธิบายวา่แสง คลอโรฟิลล ์แก๊ส คาร์บอนได- ออกไซด ์น ้ า เป็นปัจจยัที่จ าเป็นตอ้งใชใ้นการสงัเคราะห์ดว้ยแสง

    - แสง คลอโรฟิลล ์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด ์และน ้ า เป็นปัจจยัที่จ าเป็นต่อกระบวนการสงัเคราะห์ดว้ยแสงของพชื

    6. ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสงัเคราะห์ดว้ยแสงของพชื

    - น ้ าตาล แก๊สออกซิเจนและน ้ า เป็นผลิตภณัฑท์ีไ่ดจ้ากกระบวนการสงัเคราะห์ดว้ยแสงของพชื

    7. อธิบายความส าคญัของกระบวนการสงัเคราะห์ดว้ยแสงของพชืต่อส่ิงมีชีวติและส่ิงแวดลอ้ม

    - กระบวนการสงัเคราะห์ดว้ยแสงมีความส าคญัต่อการด ารงชีวติของส่ิงมีชีวติและต่อส่ิงแวดลอ้มใน ดา้นอาหาร การหมุนเวยีนของแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด ์

    8. ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เก่ียวขอ้งกบัการล าเลียงน ้ าของพชื

    - เน้ือเยือ่ล าเลียงน ้ าเป็นกลุ่มเซลลเ์ฉพาะเรียงต่อเน่ืองกนัตั้งแต่ราก ล าตน้ จนถึงใบ ท าหนา้ที่ ในการล าเลียงน ้ าและธาตุอาหาร

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 89 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    9. สงัเกตและอธิบายโครงสร้างที่เก่ียวกบัระบบล าเลียงน ้ าและอาหารของพชื

    - เน้ือเยือ่ล าเลียงน ้ าและเน้ือเยือ่ล าเลียงอาหารเป็นกลุ่มเซลลท์ีอ่ยูคู่่ขนานกนัเป็นท่อล าเลียง จากราก ล าตน้ถึงใบ ซ่ึงการจดัเรียงตวัของท่อล าเลียงในพชืใบเล้ียงเด่ียวและพชืใบเล้ียงคู่จะแตกต่างกนั - เน้ือเยือ่ล าเลียงน ้ า ท าหนา้ที่ในการล าเลียงน ้ าและธาตุอาหารจากรากสู่ใบ ส่วนเน้ือเยือ่ล าเลียงอาหารท าหนา้ที่ล าเลียงอาหารจากใบสู่ส่วนต่าง ๆ ของพชื - การคายน ้ ามีส่วนช่วยในการล าเลียงน ้ าของพชื

    10. ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เก่ียวขอ้งกบัการสืบพนัธุข์องพชื

    - เกสรเพศผูแ้ละเกสรเพศเมียเป็นโครงสร้างที่ใชใ้นการสืบพนัธุข์องพชืดอก

    11. อธิบายกระบวนการสืบพนัธุ์แบบอาศยัเพศของพชืดอกและการสืบพนัธุแ์บบไม่อาศยัเพศของพชื โดยใชส่้วนต่าง ๆ ของพชืเพือ่ช่วยในการขยายพนัธุ ์

    - กระบวนการสืบพนัธุแ์บบอาศยัเพศของพชืดอกเป็นการปฏิสนธิระหวา่งเซลลสื์บพนัธุเ์พศผูแ้ละเซลลไ์ข่ในออวลุ - การแตกหน่อ การเกิดไหล เป็นการสืบพนัธุข์องพชืแบบไม่อาศยัเพศ โดยไม่มีการปฏิสนธิ - ราก ล าตน้ ใบ และก่ิงของพชืสามารถน าไปใชข้ยายพนัธุพ์ชืได ้

    12. ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพชืต่อแสง น ้ า และการสมัผสั

    - พชืตอบสนองต่อส่ิงเร้าภายนอก โดยสงัเกตไดจ้ากการเคล่ือนไหวของส่วนประกอบของพชื ที่มีต่อแสง น ้ า และการสมัผสั

    13. อธิบายหลกัการและผลของการใชเ้ทคโนโลย ีชีวภาพในการขยายพนัธุ ์ ปรับปรุงพนัธุ์ เพิม่ผลผลิตของพชืและน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์

    - เทคโนโลยชีีวภาพ เป็นการใชเ้ทคโนโลยเีพือ่ท าใหส่ิ้งมีชีวติหรือองคป์ระกอบของส่ิงมีชีวติ มีสมบติัตามตอ้งการ - การเพาะเล้ียงเน้ือเยือ่พชื พนัธุวศิวกรรม เป็นเทคโนโลยชีีวภาพที่ใชใ้นการขยายพนัธุ ์ ปรับปรุงพนัธุ์ และเพิม่ผลผลิตของพชื

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 90 สาระที ่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ระบวนการทางวทิยาศาสตร์และจิตวทิยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกปั้ญหา รู้วา่ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ้ ภายใต้ขอ้มูลและเคร่ืองมือที่มีอยูใ่นช่วงเวลานั้น ๆ เขา้ใจวา่ วทิยาศาสตร์ เทคโนโลย ี สังคม และส่ิงแวดลอ้มมี ความเก่ียวขอ้งสมัพนัธก์นั

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ตั้งค าถามที่อยูบ่นพื้นฐานของความรู้และความเขา้ใจทางวทิยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถท าการส ารวจตรวจสอบหรือศึกษาคน้ควา้ไดอ้ยา่งครอบคลุมและเช่ือถือได ้

    2. สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์ส่ิงที่จะพบ หรือสร้างแบบจ าลอง หรือสร้างรูปแบบ เพือ่น าไปสู่การส ารวจตรวจสอบ

    3. คน้ควา้รวบรวมขอ้มูลที่ตอ้งพจิารณาปัจจยั หรือตวัแปรส าคญั ปัจจยัที่มีผลต่อปัจจยัอ่ืน ปัจจยัที่ควบคุมไม่ได ้และจ านวนคร้ังของการส ารวจ ตรวจสอบ เพือ่ใหไ้ดผ้ลที่มีความเช่ือมัน่อยา่งเพยีงพอ

    4. เลือกวสัดุ เทคนิควธีิ อุปกรณ์ที่ใชใ้นการสงัเกต การวดั การส ารวจตรวจสอบอยา่งถูกตอ้งทั้งทางกวา้งและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ

    5. รวบรวมขอ้มูลและบนัทกึผลการส ารวจตรวจสอบอยา่งเป็นระบบถูกตอ้ง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปไดเ้หมาะสมหรือ ความผดิพลาดของขอ้มูล

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 91 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    6. จดักระท าขอ้มูล โดยค านึงถึงการรายงานผลเชิงตวัเลขที่มีระดบัความถูกตอ้งและน าเสนอขอ้มูลดว้ยเทคนิควธีิที่เหมาะสม

    7. วเิคราะห์ขอ้มูล แปลความหมายขอ้มูล และประเมินความสอดคลอ้งของขอ้สรุป หรือสาระส าคญั เพือ่ตรวจสอบกบัสมมติฐานที่ตั้งไว ้

    8. พจิารณาความน่าเช่ือถือของวธีิการและผลการส ารวจตรวจสอบ โดยใชห้ลกั ความคลาดเคล่ือนของการวดัและการสงัเกต เสนอแนะ การปรับปรุงวธีิการส ารวจตรวจสอบ

    9. น าผลของการส ารวจตรวจสอบที่ได ้ทั้งวธีิการและองคค์วามรู้ที่ไดไ้ปสร้างค าถามใหม่ น าไปใชแ้กปั้ญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวติจริง

    10. ตระหนกัถึงความส าคญัใน การที่จะตอ้งมีส่วนร่วมรับผดิชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปตวัช้ีวดัวทิยาศาสตร์ ที่น าเสนอต่อสาธารณชนดว้ยความถูกตอ้ง

    11. บนัทึกและอธิบายผลการส ารวจตรวจสอบอยา่งมีเหตุผล ใชพ้ยานหลกัฐานอา้งอิงหรือคน้ควา้เพือ่เติม เพือ่หาหลกัฐานอา้งอิงที่เช่ือถือได ้และยอมรับวา่ความรู้เดิมอาจมีการเปล่ียนแปลงได ้ เม่ือมีขอ้มูลและประจกัษ์พยานใหม่เพิม่เติมหรือโตแ้ยง้จากเดิม ซ่ึงทา้ทายใหมี้การตรวจสอบ อยา่งระมดัระวงั อนัจะน ามาสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม่

    12. จดัแสดงผลงาน รายงาน และ/หรืออธิบายเก่ียวกบัแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือช้ินงานใหผู้อ่ื้นเขา้ใจ

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 92

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น รหัสวชิา ว21202 วชิาวทิยาศาสตร์ 2

    สาระที่ 4 แรงและ การเคลื่อนที ่มาตรฐาน ว4.1 เขา้ใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโนม้ถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์อยา่งถูกตอ้งและมีคุณธรรม

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. สืบคน้ขอ้มูล และอธิบายปริมาณ สเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์

    - ปริมาณทางกายภาพแบ่งเป็นปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ ปริมาณสเกลาร์เป็นปริมาณที่มีแต่ขนาด ปริมาณเวกเตอร์เป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง

    2. ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจดั อตัราเร็วและความเร็ว ในการเคล่ือนที่ของวตัถุ

    - การเคล่ือนที่ของวตัถุเก่ียวขอ้งกบัระยะทาง การกระจดั อตัราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง คือ ความยาวที่วดัตามแนวทางการเคล่ือนที่ของวตัถุจากต าแหน่งเร่ิมตน้ไปยงัต าแหน่งสุดทา้ย การกระจดั คือ เวกเตอร์ที่ช้ีต าแหน่งสุดทา้ยของวตัถุเทียบกบัต าแหน่งเร่ิมตน้ อตัราเร็ว คือ ระยะทางที่วตัถุเคล่ือนที่ไดใ้นหน่ึงหน่วยเวลา ความเร็ว คือ การกระจดัของวตัถุในหน่ึงหน่วยเวลา

    สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว5.1 เขา้ใจความสมัพนัธร์ะหวา่งพลงังานกบัการด ารงชีวติ การเปล่ียนรูปพลงังาน ปฏิสมัพนัธ์ระหวา่งสารและพลงังาน ผลของการใชพ้ลงังานต่อชีวติและส่ิงแวดลอ้ม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และน าความรู้ ไปใชป้ระโยชน์

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวดัอุณหภูมิ

    - การวดัอุณหภูมิเป็นการวดัระดบัความร้อนของสาร สามารถวดัดว้ย เทอร์มอมิเตอร์

    2. สงัเกตและอธิบายการถ่ายโอนความร้อน และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    - การถ่ายโอนความร้อนมีสามวธีิ คือ การน าความร้อน การพาความร้อนและการแผรั่งสีความร้อน - การน าความร้อน เป็นการถ่ายโอนความร้อนโดยการสัน่ของโมเลกุล - การพาความร้อน เป็นการถ่ายโอนความร้อนโดยโมเลกุลของสารเคล่ือนที่ไปดว้ย - การแผรั่งสีความร้อน เป็นการถ่ายโอนความร้อนจากคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า - การน าความรู้เร่ืองการถ่ายโอนความร้อนไปใชป้ระโยชน์

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 93 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    3. อธิบายการดูดกลืน การคายความร้อน โดยการแผรั่งสี และน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์

    - วตัถุที่แตกต่างกนัมีสมบตัิในการดูดกลืนความร้อนและคายความร้อนได้ต่างกนั - การน าความรู้เร่ืองการดูดกลืนความร้อนและการคายความร้อนไปใช้ประโยชน์

    4. อธิบายสมดุลความร้อนและผลของความร้อนต่อการขยายตวัของสาร และน าความรู้ไปใชใ้นชีวติประจ าวนั

    - เม่ือวตัถุสองส่ิงอยูใ่นสมดุลความร้อน วตัถุทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากนั - การขยายตวัของวตัถุเป็นผลจากความร้อนที่วตัถุไดรั้บเพิม่ขึ้น - การน าความรู้เร่ืองการขยายตวัของวตัถุเม่ือไดรั้บความร้อนไปใช้ประโยชน์

    สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว6.1 เขา้ใจกระบวนการ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผวิโลกและภายในโลก ความสมัพนัธข์องกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสณัฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. สืบคน้และอธิบายองคป์ระกอบและการ แบ่งชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผวิโลก

    - บรรยากาศของโลกประกอบดว้ยส่วนผสมของแก๊สต่าง ๆ ที่อยูร่อบโลกสูงขึ้นไปจากพื้นผวิโลกหลายกิโลเมตร - บรรยากาศแบ่งเป็นชั้นตามอุณหภูมิและการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิตามความสูงจากพื้นดิน

    2. ทดลองและอธิบายความสมัพนัธร์ะหวา่ง อุณหภูมิ ความช้ืนและความกดอากาศที่มีผลต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ

    - อุณหภูมิ ความช้ืนและความกดอากาศ มีผลต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ

    3. สงัเกต วเิคราะห์และอภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีผลต่อมนุษย ์

    - ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ ไดแ้ก่ การเกิดเมฆ ฝน พายฟุ้าคะนอง พายหุมุนเขตร้อน ลมมรสุมฯลฯ

    4. สืบคน้ วเิคราะห์ และแปลความหมายขอ้มูลจากการพยากรณ์อากาศ

    - การพยากรณ์อากาศอาศยัขอ้มูลเก่ียวกบัอุณหภูมิ ความกดอากาศ ความช้ืน ปริมาณเมฆ ปริมาณน ้าฝนและน ามาแปลความหมายเพือ่ใชใ้นการท านายสภาพอากาศ

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 94 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    5. สืบคน้ วเิคราะห์ และอธิบายผลของลมฟ้าอากาศต่อการด ารงชีวติของส่ิงมีชีวติ และส่ิงแวดลอ้ม

    - สภาพลมฟ้าอากาศที่เปล่ียนแปลงบนโลกท าใหเ้กิดพาย ุปรากฏการณ์เอลนิโญ ลานีญา ซ่ึงส่งผลต่อการด ารงชีวติของมนุษย ์และส่ิงแวดลอ้ม

    6. สืบคน้ วเิคราะห์ และอธิบายปัจจยัทางธรรมชาติและการกระท าของมนุษยท์ี่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิของโลก รูโหวโ่อโซน และฝนกรด

    - ปัจจยัทางธรรมชาติและการกระท าของมนุษย ์เช่นภูเขาไฟระเบิด การตดัไมท้ าลายป่า การเผาไหมข้องเคร่ืองยนตแ์ละการปล่อยแก๊สเรือนกระจก มีผลท าใหเ้กิดภาวะโลกร้อน รูโหวข่องชั้นโอโซน และฝนกรด - ภาวะโลกร้อนคอืปรากฏการณ์ทีอุ่ณหภูมิเฉล่ียของโลกสูงขึ้น

    7. สืบคน้ วเิคราะห์และอธิบายผลของภาวะโลกร้อน รูโหว่โอโซน และฝนกรด ที่มีต่อส่ิงมีชีวติและส่ิงแวดลอ้ม

    - ภาวะโลกร้อนท าใหเ้กิดการละลายของธารน ้ าแขง็ ระดบัน ้ าทะเลสูงขึ้น การกดัเซาะชายฝ่ังเพิม่ขึ้น น ้ าท่วม ไฟป่า ส่งผลใหส่ิ้งมีชีวติบางชนิดสูญพนัธุแ์ละท าใหส่ิ้งแวดลอ้มเปล่ียนแปลงไป - รูโหว่โอโซน และฝนกรดมีผลต่อการเปล่ียนแปลงของส่ิงมีชีวติและส่ิงแวดลอ้ม

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 95 สาระที ่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ระบวนการทางวทิยาศาสตร์และจิตวทิยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกปั้ญหา รู้วา่ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ้ ภายใต้ขอ้มูลและเคร่ืองมือที่มีอยูใ่นช่วงเวลานั้น ๆ เขา้ใจวา่ วทิยาศาสตร์ เทคโนโลย ี สังคม และส่ิงแวดลอ้มมี ความเก่ียวขอ้งสมัพนัธก์นั

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ตั้งค าถามที่อยูบ่นพื้นฐานของความรู้และความเขา้ใจทางวทิยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถท าการส ารวจตรวจสอบหรือศึกษาคน้ควา้ได้อยา่งครอบคลุมและเช่ือถือได ้

    2. สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์ส่ิงที่จะพบ หรือสร้างแบบจ าลอง หรือสร้างรูปแบบ เพือ่น าไปสู่การส ารวจตรวจสอบ

    3. คน้ควา้รวบรวมขอ้มูลที่ตอ้งพจิารณาปัจจยั หรือตวัแปรส าคญั ปัจจยัที่มีผลต่อปัจจยัอ่ืน ปัจจยัที่ควบคุมไม่ได ้และจ านวนคร้ังของการส ารวจ ตรวจสอบ เพือ่ใหไ้ดผ้ลที่มีความเช่ือมัน่อยา่งเพยีงพอ

    4. เลือกวสัดุ เทคนิควธีิ อุปกรณ์ที่ใชใ้นการสงัเกต การวดั การส ารวจตรวจสอบอยา่งถูกตอ้งทั้งทางกวา้งและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ

    5. รวบรวมขอ้มูลและบนัทกึผลการส ารวจตรวจสอบอยา่งเป็นระบบถูกตอ้ง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได ้ ความเหมาะสมหรือความผดิพลาดของขอ้มูล

    6. จดักระท าขอ้มูล โดยค านึงถึงการรายงานผลเชิงตวัเลขที่มีระดบัความถูกตอ้งและน าเสนอขอ้มูลดว้ยเทคนิควธีิที่เหมาะสม

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 96 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    7. วเิคราะห์ขอ้มูล แปลความหมายขอ้มูล และประเมินความสอดคลอ้งของขอ้สรุป หรือสาระส าคญั เพือ่ตรวจสอบกบัสมมติฐานที่ตั้งไว ้

    8. พจิารณาความน่าเช่ือถือของวธีิการและผลการส ารวจตรวจสอบ โดยใชห้ลกัความคลาดเคล่ือนของการวดัและ การสงัเกต เสนอแนะการปรับปรุงวธีิการส ารวจตรวจสอบ

    9. น าผลของการส ารวจตรวจสอบที่ได ้ทั้งวธีิการและองคค์วามรู้ที่ไดไ้ปสร้างค าถามใหม่ น าไปใชแ้กปั้ญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวติจริง

    10. ตระหนกัถึงความส าคญัใน การที่จะตอ้งมีส่วนร่วมรับผดิชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปตวัช้ีวดัวทิยาศาสตร์ ที่น าเสนอต่อสาธารณชนดว้ยความถูกตอ้ง

    11. บนัทึกและอธิบายผล การส ารวจตรวจสอบอยา่งมีเหตุผล ใชพ้ยานหลกัฐานอา้งอิงหรือคน้ควา้เพือ่เติม เพือ่หาหลกัฐานอา้งอิงที่เช่ือถือได ้และยอมรับวา่ความรู้เดิมอาจมี การเปล่ียนแปลงได ้ เม่ือมีขอ้มูลและประจกัษ์พยานใหม่เพิม่เติมหรือโตแ้ยง้จากเดิม ซ่ึงทา้ทายใหมี้การตรวจสอบ อยา่งระมดัระวงั อนัจะน ามาสู่ การยอมรับเป็นความรู้ใหม่

    12. จดัแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเก่ียวกบัแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือช้ินงานใหผู้อ่ื้นเขา้ใจ

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 97

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น รหัสวชิา ว22101 วชิาวทิยาศาสตร์ 3

    สาระที่ 1 ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการด ารงชีวิต มาตรฐาน ว1.1 เขา้ใจหน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวติความสมัพนัธข์องโครงสร้าง และหนา้ที่ของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวติที่ท างานสมัพนัธก์นั มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใชใ้น การด ารงชีวติของตนเองและดูแลส่ิงมีชีวติ

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. อธิบายโครงสร้างและ การท างานของระบบยอ่ยอาหาร ระบบหมุนเวยีนเลือด ระบบหายใจ ระบบขบัถ่าย ระบบสืบพนัธุ ์ของมนุษยแ์ละสตัว ์รวมทั้งระบบประสาทของมนุษย ์

    - ระบบยอ่ยอาหาร ระบบหมุนเวยีนเลือด ระบบหายใจ ระบบขบัถ่าย ระบบสืบพนัธุ ์และระบบประสาทของมนุษย ์ในแต่ละระบบ ประกอบดว้ยอวยัวะหลายชนิดที่ท างานอยา่งเป็นระบบ - ระบบยอ่ยอาหาร ระบบหมุนเวยีนเลือด ระบบหายใจ ระบบขบัถ่าย ระบบสืบพนัธุข์องสตัว ์ ประกอบดว้ยอวยัวะหลายชนิดที่ท างานอยา่ง เป็นระบบ

    2. อธิบายความสมัพนัธข์องระบบต่างๆ ของ มนุษยแ์ละน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์

    - ระบบยอ่ยอาหาร ระบบหมุนเวยีนเลือด ระบบหายใจ ระบบขบัถ่าย ระบบสืบพนัธุข์องมนุษยใ์นแต่ละระบบมีการท างานที่สมัพนัธก์นัท าให้มนุษยด์ ารงชีวติอยูไ่ดอ้ยา่งปกติ ถา้ระบบใดระบบหน่ึงท างานผดิปกติ ยอ่มส่งผลกระทบต่อระบบอ่ืน ๆ ดงันั้นจึงตอ้งมีการดูแลรักษาสุขภาพ

    3. สงัเกตและอธิบายพฤติกรรมของมนุษยแ์ละสตัวท์ี่ตอบสนองต่อส่ิงเร้าภายนอกและภายใน

    - แสง อุณหภูมิ และ การสมัผสั จดัเป็นส่ิงเร้า ภายนอก ส่วน การเปล่ียนแปลงระดบัสารใน ร่างกาย เช่น ฮอร์โมน จดัเป็นส่ิงเร้าภายใน ซ่ึงทั้ง ส่ิงเร้าภายนอกและส่ิงเร้าภายในมีผลต่อมนุษยแ์ละสตัว ์ท าใหแ้สดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา

    4. อธิบายหลกัการและผลของการใช ้เทคโนโลยชีีวภาพในการขยายพนัธุ ์ปรับปรุงพนัธุ ์และเพิม่ผลผลิตของสตัวแ์ละน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์

    - เทคโนโลยชีีวภาพเป็นการใชเ้ทคโนโลยเีพือ่ ท าใหส่ิ้งมีชีวติหรือองคป์ระกอบของส่ิงมีชีวติมีสมบตัิตามตอ้งการ - การผสมเทียม การถ่ายฝากตวัอ่อน การโคลนเป็นการใชเ้ทคโนโลยชีีวภาพใน การขยายพนัธุ ์ปรับปรุงพนัธุ ์และเพิม่ผลผลิตของสตัว ์

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 98 ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    5. ทดลอง วเิคราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลงังานและสดัส่วนที่เหมาะสมกบัเพศและวยั

    - แป้ง น ้ าตาล ไขมนั โปรตีน วติามินซี เป็นสารอาหารและสามารถทดสอบได ้- การบริโภคอาหาร จ าเป็นตอ้งใหไ้ดส้ารอาหารที่ครบถว้นในสดัส่วนที่เหมาะสมกบัเพศและวยั และไดรั้บปริมาณพลงังานที่เพยีงพอกบั ความตอ้งการของร่างกาย

    6. อภิปรายผลของ สารเสพติดต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย และแนวทางใน การป้องกนัตนเองจาก สารเสพติด

    - สารเสพติดแต่ละประเภทมีผลต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ท าให้ระบบเหล่านั้นท าหนา้ที่ ผดิปกติ ดงันั้นจึงตอ้งหลีกเล่ียงการใชส้ารเสพติด และหาแนวทางในการป้องกนัตนเองจาก สารเสพติด

    สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว3.1 เขา้ใจสมบติัของสาร ความสมัพนัธร์ะหวา่งสมบติัของสารกบัโครงสร้างและแรงยดึเหน่ียวระหวา่งอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ น าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ส ารวจและอธิบายองคป์ระกอบ สมบตัิของธาตุและสารประกอบ

    - ธาตุ เป็นสารบริสุทธ์ิที่ประกอบดว้ยอะตอมชนิดเดียวกนัและไม่สามารถแยกสลายเป็นสารอ่ืนไดอี้กโดยวธีิการทางเคมี - สารประกอบเป็นสารบริสุทธ์ิที่ประกอบดว้ยธาตุตั้งแต่สองธาตุขึ้นไป รวมตวักนัดว้ยอตัราส่วนโดยมวลคงที่ และมีสมบตัิแตกต่างจากสมบติัเดิมของธาตุที่เป็นองคป์ระกอบ

    2. สืบคน้ขอ้มูลและเปรียบเทียบสมบตัิของธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ ธาตุก่ึงโลหะและธาตุกมัมนัตรังสีและน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    - ธาตุแต่ละชนิดมีสมบติับางประการที่คลา้ยกนัและแตกต่างกนั จึงสามารถจ าแนกกลุ่มธาตุตามสมบติัของธาตุเป็นธาตุโลหะ ก่ึงโลหะ อโลหะ และธาตุกมัมนัตรังสี - ในชีวติประจ าวนัมีวสัดุ อุปกรณ์และผลิตภณัฑต่์าง ๆ ที่ผลิตมาจากธาตุและสารประกอบ จึงควรเลือกใชใ้หถู้กตอ้งเหมาะสมปลอดภยั และย ัง่ยนื

    3. ทดลองและอธิบาย หลกัการแยกสารดว้ย วธีิการกรอง การตกผลึก การสกดั การกลัน่ และ โครมาโทกราฟี และน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์

    - การกรอง การตกผลึก การสกดั การกลัน่และ โครมาโทกราฟี เป็นวธีิการแยกสารที่มีหลกัการแตกต่างกนั และสามารถน าไปประยกุตใ์ชใ้นชีวติประจ าวนั

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 99 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว3.2 เขา้ใจหลกัการและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ทดลองและอธิบายการเปล่ียนแปลงสมบตัิ มวล และพลงังานเม่ือสารเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งอธิบายปัจจยัที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี

    - เม่ือสารเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลงังานเขา้มาเก่ียวขอ้ง ซ่ึงอาจเป็นการดูดพลงังานความร้อนหรือคายพลงังานความร้อน - อุณหภูมิ ความเขม้ขน้ ธรรมชาติของสารและตวัเร่งปฏิกิริยา มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร

    2. ทดลอง อธิบายและเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาของสารต่าง ๆ และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    - สมการเคมีใชเ้ขียนแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร ซ่ึงมีทั้งสารตั้งตน้และสารผลิตภณัฑ ์- ปฏิกิริยาระหวา่งโลหะกบัออกซิเจน โลหะกบัน ้ า โลหะกบักรด กรดกบัเบส และกรดกบัคาร์บอเนตเป็นปฏิกิริยาเคมีที่พบทัว่ไป - การเลือกใชว้สัดุและสารรอบตวัในชีวติประจ าวนัไดอ้ยา่งเหมาะสมและปลอดภยัโดยค านึงถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

    3. สืบคน้ขอ้มูลและอภิปรายผลของสารเคมี ปฏิกิริยาเคมีต่อส่ิงมีชีวติและส่ิงแวดลอ้ม

    - สารเคมีและปฏิกิริยาเคมี มีทั้งประโยชน์และโทษต่อส่ิงมีชีวติและส่ิงแวดลอ้มทั้งทางตรงและทางออ้ม

    4. สืบคน้ขอ้มูลและอธิบายการใชส้ารเคมีอยา่งถูกตอ้ง ปลอดภยั วธีิป้องกนัและแกไ้ขอนัตรายที่เกิดขึ้นจากการใชส้ารเคมี

    - การใชส้ารเคมีตอ้งมีความระมดัระวงั ป้องกนั ไม่ใหเ้กิดอนัตรายต่อตนเองและผูอ่ื้น โดยใชใ้หถู้กตอ้ง ปลอดภยัและคุม้ค่า - ผูใ้ชส้ารเคมีควรรู้จกัสญัลกัษณ์เตือนภยับน ฉลาก และรู้วธีิการแกไ้ข และการปฐมพยาบาลเบื้องตน้เม่ือไดรั้บอนัตรายจากสารเคมี

    หมายเหตุ ตวัหนงัสือสีเขม็ คือ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 100 สาระที ่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ระบวนการทางวทิยาศาสตร์และจิตวทิยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกปั้ญหา รู้วา่ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ้ ภายใต้ขอ้มูลและเคร่ืองมือที่มีอยูใ่นช่วงเวลานั้น ๆ เขา้ใจวา่ วทิยาศาสตร์ เทคโนโลย ี สังคม และส่ิงแวดลอ้มมีความเก่ียวขอ้งสมัพนัธก์นั

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ตั้งค าถามที่อยูบ่นพื้นฐานของความรู้และความเขา้ใจทางวทิยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถท าการส ารวจตรวจสอบหรือศึกษาคน้ควา้ได้อยา่งครอบคลุมและเช่ือถือได ้

    2. สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์ส่ิงที่จะพบ หรือสร้างแบบจ าลอง หรือสร้างรูปแบบ เพือ่น าไปสู่การส ารวจตรวจสอบ

    3. คน้ควา้รวบรวมขอ้มูลที่ตอ้งพจิารณาปัจจยั หรือตวัแปรส าคญั ปัจจยัที่มีผลต่อปัจจยัอ่ืน ปัจจยัที่ควบคุมไม่ได ้และจ านวนคร้ังของการส ารวจ ตรวจสอบ เพือ่ใหไ้ดผ้ลที่มีความเช่ือมัน่อยา่งเพยีงพอ

    4. เลือกวสัดุ เทคนิควธีิ อุปกรณ์ที่ใชใ้นการสงัเกต การวดั การส ารวจตรวจสอบอยา่งถูกตอ้งทั้งทางกวา้งและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ

    5. รวบรวมขอ้มูลและบนัทกึผลการส ารวจตรวจสอบอยา่งเป็นระบบถูกตอ้ง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได ้ ความเหมาะสมหรือความผดิพลาดของขอ้มูล

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 101 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง และ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    6. จดักระท าขอ้มูล โดยค านึงถึงการรายงานผลเชิงตวัเลขที่มีระดบัความถูกตอ้งและน าเสนอขอ้มูลดว้ยเทคนิควธีิที่เหมาะสม

    7. วเิคราะห์ขอ้มูล แปลความหมายขอ้มูล และประเมินความสอดคลอ้งของขอ้สรุป หรือสาระส าคญั เพือ่ตรวจสอบกบัสมมติฐานที่ตั้งไว ้

    8. พจิารณาความน่าเช่ือถือของวธีิการและผลการส ารวจตรวจสอบ โดยใชห้ลกัความคลาดเคล่ือนของการวดัและการสงัเกต เสนอแนะการปรับปรุงวธีิการส ารวจตรวจสอบ

    9. น าผลของการส ารวจตรวจสอบที่ได ้ทั้งวธีิการและองคค์วามรู้ที่ไดไ้ปสร้างค าถามใหม่ น าไปใชแ้กปั้ญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวติจริง

    10. ตระหนกัถึงความส าคญัใน การที่จะตอ้งมีส่วนร่วมรับผดิชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วทิยาศาสตร์ ที่น าเสนอต่อสาธารณชนดว้ยความถูกตอ้ง

    11. บนัทึกและอธิบายผลการส ารวจตรวจสอบอยา่งมีเหตุผล ใชพ้ยานหลกัฐานอา้งอิงหรือคน้ควา้เพือ่เติม เพือ่หาหลกัฐานอา้งอิงที่เช่ือถือได ้และยอมรับวา่ความรู้เดิมอาจมี การเปล่ียนแปลงได ้ เม่ือมีขอ้มูลและประจกัษ์พยานใหม่เพิม่เติมหรือโตแ้ยง้จากเดิม ซ่ึงทา้ทายใหมี้การตรวจสอบ อยา่งระมดัระวงั อนัจะน ามาสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม่

    12. จดัแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเก่ียวกบัแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือช้ินงานใหผู้อ่ื้นเขา้ใจ

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 102

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น รหัสวชิา ว22102 วชิาวทิยาศาสตร์ 4

    สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที ่มาตรฐาน ว4.1 เขา้ใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโนม้ถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์อยา่งถูกตอ้งและมีคุณธรรม

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ทดลองและอธิบาย การหาแรงลพัธข์องแรงหลายแรงในระนาบเดียวกนัที่กระท าต่อวตัถุ

    - แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เม่ือมีแรงหลายแรงในระนาบเดียวกนักระท าต่อวตัถุเดียวกนั สามารถหาแรงลพัธไ์ดโ้ดยใชห้ลกัการรวมเวกเตอร์

    2. อธิบายแรงลพัธท์ี่กระท าต่อวตัถุที่หยดุน่ิงหรือวตัถุเคล่ือนที่ดว้ยความเร็วคงตวั

    - เม่ือแรงลพัธมี์ค่าเป็นศูนยก์ระท าต่อวตัถุที่หยดุน่ิง วตัถุนั้นก็จะหยดุน่ิงตลอดไป แต่ถา้วตัถุเคล่ือนที่ดว้ยความเร็วคงตวั ก็จะเคล่ือนที่ดว้ยความเร็วคงตวัตลอดไป

    สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว5.1 เขา้ใจความสมัพนัธร์ะหวา่งพลงังานกบัการด ารงชีวติ การเปล่ียนรูปพลงังาน ปฏิสมัพนัธ์ระหวา่งสารและพลงังาน ผลของการใชพ้ลงังานต่อชีวติและส่ิงแวดลอ้ม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ทดลองและอธิบายการสะทอ้นของแสง การหกัเหของแสง และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    - เม่ือแสงตกกระทบผวิวตัถุหรือตวักลางอีก ตวักลางหน่ึง แสงจะเปล่ียนทิศทาง การเคล่ือนที่โดยการสะทอ้นของแสง หรือการหกัเหของแสง - การน าความรู้เก่ียวกบัการสะทอ้นของแสง และการหกัเหของแสงไปใช้อธิบายแวน่ตา ทศันอุปกรณ์ กระจกเสน้ใยน าแสง

    2. อธิบายผลของ ความสวา่งที่มีต่อมนุษยแ์ละส่ิงมีชีวติอ่ืน ๆ

    - นยัน์ตาของคนเราเป็นอวยัวะใชม้องดูส่ิงต่าง ๆ นยัน์ตามีองคป์ระกอบส าคญัหลายอยา่ง - ความสวา่งมีผลต่อนยัน์ตามนุษย ์จึงมีการน าความรู้เก่ียวกบัความสวา่งมาช่วยในการจดัความสวา่งใหเ้หมาะสมกบัการท างาน - ออกแบบวธีิการตรวจสอบวา่ความสวา่งมีผลต่อส่ิงมีชีวติอ่ืน

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 103 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    3. ทดลองและอธิบายการดูดกลืนแสงสี การมองเห็นสีของวตัถุ และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

    - เม่ือแสงตกกระทบวตัถุ วตัถุจะดูดกลืนแสงสีบางสีไว ้และสะทอ้นแสงสีที่เหลือออกมาท าใหเ้รามองเห็นวตัถุเป็นสีต่าง ๆ - การน าความรู้เก่ียวกบัการดูดกลืนแสงสีการมองเห็นสีของวตัถุไปใช้ประโยชน์ในการถ่ายรูปและในการแสดง

    สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว6.1 เขา้ใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผวิโลกและภายในโลก ความสมัพนัธข์องกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสณัฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์

    ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    1. ส ารวจ ทดลองและอธิบายลกัษณะของชั้นหนา้ตดัดิน สมบตัิของดิน และกระบวนการเกิดดิน

    - ดินมีลกัษณะและสมบติัแตกต่างกนัตามวตัถุตน้ก าเนิดดิน ลกัษณะภูมิอากาศ ลกัษณะภูมิประเทศ พชืพรรณ ส่ิงมีชีวิต และระยะเวลาใน การเกิดดิน และตรวจสอบสมบติับางประการของดิน - ชั้นหนา้ตดัดินแต่ละชั้นและแต่ละพื้นที่มีลกัษณะ สมบตัิ และองคป์ระกอบแตกต่างกนั

    2. ส ารวจ วิเคราะห์และอธิบายการใชป้ระโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน

    - ดินในแต่ละทอ้งถ่ินมีลกัษณะและสมบติัต่างกนัตามสภาพของดิน จึงน าไปใชป้ระโยชน์ต่างกนั - การปรับปรุงคุณภาพดินขึ้นอยูก่บัสภาพของดินเพือ่ท าใหดิ้นมี ความเหมาะสมต่อการใชป้ระโยชน์ - การส ารวจ วิเคราะห์ดินในท้องถิ่น - การใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพดินในท้องถิ่น

    3. ทดลองเลียนแบบเพือ่อธิบายกระบวนการเกิด และลกัษณะองคป์ระกอบของหิน

    - กระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวทิยาทั้งบนและใตพ้ื้นผวิโลก ท าให้เกิดหินที่มีลกัษณะองคป์ระกอบแตกต่างกนัทั้งทางดา้นกายภาพ และทางเคมี

    4. ทดสอบ และสงัเกตองคป์ระกอบและสมบตัิของหิน เพือ่จ าแนกประเภทของหิน และน าความรู้ไปใชป้ระโยชน์

    - หินแบ่งเป็น หินอคันี หินแปรและหินตะกอนหินแต่ละประเภทมีความสมัพนัธก์นั และน าไปใชป้ระโยชน์ในทางอุตสาหกรรม การก่อสร้างและอ่ืน ๆ

    หมายเหตุ ตวัหนงัสือสีด า คือ สาระทอ้งถ่ิน

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 104 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    5. ตรวจสอบและอธิบาย ลกัษณะทางกายภาพของแร่ และการน าไปใชป้ระโยชน์

    - เม่ือสภาวะแวดลอ้มธรรมชาติที่อยูภ่ายใตอุ้ณหภูมิและความดนัที่เหมาะสม ธาตุและสารประกอบจะตกผลึกเป็นแร่ที่มีลกัษณะและสมบติัต่างกนั ซ่ึงตอ้งใชว้ิธีตรวจสอบสมบติัแต่ละอยา่งแตกต่างกนัไป - แร่ที่ส ารวจพบในประเทศไทยมีหลายชนิด แต่ละชนิดตรวจสอบทางกายภาพไดจ้ากรูปผลึก ความถ่วงจ าเพาะ ความแขง็ ความวาว แนวแตกเรียบ สีและสีผงของแร่และน าไปใชป้ระโยชน์ต่างกนัเช่นใชท้ าเคร่ืองประดบั ใชใ้นดา้นอุตสาหกรรม- กระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวทิยาทั้งบนและใตพ้ื้นผวิโลก ท าใหเ้กิดหินที่มีลกัษณะองคป์ระกอบแตกต่างกนัทั้งทางดา้นกายภาพ และทางเคมี

    6. สืบคน้และอธิบายกระบวนการเกิด ลกัษณะและสมบติัของปิโตรเลียม ถ่านหิน หินน ้ ามนั และการน าไปใช้ประโยชน์

    - ปิโตรเลียม ถ่านหิน หินน ้ ามนั เป็นเช้ือเพลิงธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีวทิยา ซ่ึงแต่ละชนิดจะมีลกัษณะ สมบตัิและวธีิการน าไปใชป้ระโยชน์แตกต่างกนั

    7. ส ารวจและอธิบายลกัษณะแหล่งน ้ าธรรมชาติ การใช้ประโยชน์และการอนุรักษแ์หล่งน ้ าในทอ้งถ่ิน

    - แหล่งน ้ าบนโลก มีทั้งน ้ าจืด น ้ าเคม็ โดยแหล่งน ้ าจืดมีอยูท่ ั้งบนดิน ใตดิ้น และในบรรยากาศ - การใชป้ระโยชน์ของแหล่งน ้ า ตอ้งมีการวางแผนการใช ้การอนุรักษ ์ การป้องกนั การแกไ้ข และผลกระทบ ดว้ยวธีิการที่เหมาะสม - การส ารวจ อธิบายลกัษณะแหล่งน ้าธรรมชาติในท้องถิ่น - การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่งน ้าในท้องถิ่น

    8. ทดลองเลียนแบบ และอธิบาย การเกิดแหล่งน ้ าบนดิน แหล่งน ้ าใตดิ้น

    - แหล่งน ้ าบนดินมีหลายลกัษณะขึ้นอยูก่บั ลกัษณะภูมิประเทศ ลกัษณะ ทางน ้ า และความเร็วของกระแสน ้ า ในแต่ละฤดูกาล - น ้ าบนดินบางส่วนจะไหลซึมสู่ใตผ้วิดินถูกกกัเกบ็ไวใ้นชั้นดินและหิน เกิดเป็นน ้ าใตดิ้น ซ่ึงส่วนหน่ึงจะซึมอยูต่ามช่องวา่งระหวา่งเม็ดตะกอน เรียกวา่น ้ าในดิน อีกส่วนหน่ึง จะไหลซึมลึกลงไป จนถูกกกัเก็บไว ้ ตามช่องวา่งระหวา่งเม็ดตะกอน ตามรูพรุน หรือตามรอยแตกของหิน หรือชั้นหินเรียกวา่น ้ าบาดาล - สมบติัของน ้ าบาดาลขึ้นอยูก่บัชนิดของดิน แหล่งแร่และหินที่เป็นแหล่งกกัเก็บน ้ าบาดาล และชั้นหินอุม้น ้ า

  • คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ หน้า 105 ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลางและ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

    9. ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการผพุงัอยูก่บัที่ การกร่อน การพดัพา การทบัถม การตกผลึกและผลของ กระบวนการดงักล่าว

    - �