รูปที่ 4-1...

45
บทที4 วงจรไฟฟ้ า อน กรม ขนาน และผสม

Upload: others

Post on 03-Nov-2019

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

บทท 4

วงจรไฟฟา อนกรม ขนาน และผสม

Page 2: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

วงจรไฟฟาแบบอนกรม (Series circuit)

วงจรไฟฟาแบบอนกรม คอวงจรไฟฟาทตออปกรณไฟฟา

หรอตวตานทาน หลายๆ ตว เรยงกนตามลาดบ คอใหปลายของ

ตวตานทานตวแรกเชอมกบปลายของตวตานทานตวทสอง และ

ปลายของตวตานทานตวทสองตอเชอมกบปลายของตวตานทาน

ตวทสามตามลาดบไปเรอยๆ ดงแสดงในรปท 4-1

Page 3: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

รปท 4-1 การตอตวตานทานแบบอนกรม

Page 4: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

การหาคาความตานทานรวมของวงจรอนกรม

ใชสตรดงน

RT = R1 + R2+ R3 +…………….+ Rn

Page 5: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-1 จงหาคาความตานทานรวมของวงอนกรมดงรป

จากสตร RT = R 1 + R2 + R3 +R4

= 10 + 10 + 5 +15

= 40

ตอบ ความตานทานในวงจรนมคาเทากบ 40 โอหม

Page 6: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-2 จากวงจรไฟฟาดงรปจงคานวณหาคากระแสไฟฟาท

ไหลในวงจร

I =

=

= = 1.85 A

TRE

50510120

65120

Page 7: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

เนองจากในวงจรไฟฟาแบบอนกรมกระแสทไหลผานตว

ตานทางทกตวในวงจรมคาเทากน เมอพจารณาจากกฎของ

โอหมแลว จะเหนวาแรงดนจะครอม (Voltage drop) ทเกดกบตว

ตานทาน แตละตวมคาเทากบผลคณของกระแสทไหลผานตว

ตานทางกบคาความตานทานนนๆ ดงแสดงในรป 4-2

Page 8: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

รปท 4-2 แบงแรงดน

จากวงจรสามารถหาคากระแสทไหลในวงจรไดจาก

I = = = 1 A

แรงดนตกครอม R1 = V1

V1 = I x R1 = 1 x 5 = 5 V

แรงดนตกครอม R2 = V2

V2 = I x R2 = 1x10 = 10 V

TR

E

15

15

Page 9: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

จะเหนไดวาคาแรงดนตกครอมตวตานทานในวงจรอนกรม

รวมกนแลวจะมคาเทากบแรงดนของแหลางจายไฟฟาในวงจร

คอ

V = V + V + V +............+ V T 1 2 N3

Page 10: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-3 วงจรไฟฟาแบบอนกรมดงรป มแรงดนตกครอม R1 =10 V , R2 =15

V และ R3 = 20 V ตามลาดบ จงคานวณหาคาแรงดนไฟฟาของ

แหลงจายและกระแสไฟฟาในวงจร

vT = v1 + v2+ v3

= 10+15+20 = 45 V

แรงดนไฟฟาของแหลงจายเทากบ 45 โวลต

I = = = = 1 m A

กระแสไฟฟาทไหลในวงจรมคาเทากบ 1 m ATRE

KKK 20151045

K4545

Page 11: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-4 วงจรไฟฟาอนกรมของหลอดไฟ 2 หลอด มขนาดกาลงไฟฟาหลอดละ

100 w จงคานวณหาคากระแสทไหลผานหลอดไฟ และแรงดนตกครอมหลอดไฟแต

ละหลอด

เมอ V = V + V

จะได V = V = = = 220 V

แรงดนตกครอมหลอดไฟแตละหลอดมคาเทากบ 220 V

I = = = 0.45 A

กระแสไฟฟาทไหลผานหลอดไฟมคาเทากบ 0.45 A

T 1 2

1 2 2VT

2440

VP

220100

Page 12: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

สาหรบการคานวณหาคากาลงไฟฟาในวงจรอนกรมนน

สามารถหาไดจากผลรวมของกาลงไฟฟาของตวตานทานแตละ

ตวในวงจรอนกรม โดยเขยนเปนสมการไดดงน

PT = P1 + P2+ P3 +…………….+ Pn

Page 13: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-5 จงคานวณหาคากาลงไฟฟาบนตวตานทานแตละตวในวงจร

I = = = 0.29 A

PR1 = I R1 = (0.29) x 50 = 4.205 w

PR2 = I R2 = (0.29) x 100 = 8.410 w

PR3 = I R3 = (0.29) x 200 = 16.820 w.

TRE

20010050100

2 2

22

2 2

Page 14: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

หรอคานวณไดจาก

VR1 = I . R1 = 0.29 x 50 = 14.5 v

VR2 = I . R2 = 0.29 x 100 = 29.0 v

VR3 = I . R3 = 0.29 x 200 = 58.0 v

PR1 = I . VR1 = 0.29 x 14.5 = 4.205 w

PR2 = I . VR2 = 0.29 x 29.0 = 8.410 w

PR3 = I . VR3 = 0.29 x 58.0 = 16.820 w

Page 15: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

วงจรไฟฟาแบบอนกรมทมแหลงจายหลายตวตออนกรมกน

ในกรณทวงจรอนกรมมแหลงจายไฟฟาตออนกรมกนมากกวา 1

แหลงจาย คาแหลง จายไฟฟารวมวงจร (VT) จะเทากบผลรวมของคา

แรงดนไฟฟาแตละตวในวงจร โดยพจารณาขวของแหลงจายไฟฟา

VT = V1 + V2+ V3 +…………….+ Vn

Page 16: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-6 จากวงจรจงหาคาแรงไฟฟารวมของวงจร

VT = V1 + V2

= 5 + 10 = 15 v

VT = V1 + V2

= 5 - 10 = -15 v

Page 17: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-7 จงคานวณหาคากระแสไฟฟาในวงจร และแรงดนตกครอม

ความตานทานแตละตว

VT = V1 + V2+ V3

= 50 + 10 – 20 = 40 v

RT = R1 + R2+ R3

= 50 + 100 + 150 = 300

I = = = 0.133 A

VR1 = I . R1 = 0.1333 x 50 = 6.65 v

VR2 = I . R2 = 0.1333 x 100 = 13.30 v

VR3 = I . R3 = 0.1333 x 150 = 19.95 v

T

TRV

30040

Page 18: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-8 แบตเตอร 3 ตวตออนกรมกนดงรป จงหาคากระแสไฟฟา

ในวงจรและกาลงไฟฟาทตวตานทาน

VT = V1 + V2- V3

= 100 + 50 - 25 = 125 v

I = = = 125 mA

PRL = I . R

= (125 x 10 ) x (1 x 10 )

= 15.625 w

L

TRV

K1125

2

3 32

Page 19: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-9 จากวงจรไฟฟาดงรปจงคานวณหาคา RS และ RL เมอม

แรงดนตกครอม RL เทากบ6.5 v ทกระแส 50 mA

RL = = = 130

VRS = VS – VRL

= 13.5 – 6.5 = 7 v

RS = = = 140

IVRL

31050

5.6x

IVRS

31050

7x

Page 20: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

วงจรไฟฟาแบบขนาน (Parallel circuit)

วงจรไฟฟาแบบขนานคอการตออปกรณไฟฟา หรอตวตานทาน

จานวนมากกวา 2 ตว ครอมเขากบขวของแหลงจายไฟฟาตวเดยวกนดงในรปท 4-2

รปท 4-2 วงจรไฟฟาแบบขนาน

Page 21: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

คาความตานทานรวมในวงจรแบบขนานคอการใชกฎของ

โอหม คานวณคาความตานทานโดยใชคาแรงดนรวม (VT ) หาร

ดวยคากระแสรวม (IT) ในวงจร

RT =

หรอ

= + + +…………..+

T

TIV

1

1RTR

12

1R 3

1R NR

1

Page 22: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-10

จงคานวณหาคาตางๆตอไปน

1.คาความตานทานรวมของวงจร

2.คากระแสไหลผานความตานทานแตละตวและกระแสไฟฟารวมของวงจร

3.กาลงไฟฟาทความตานทานแตละตวและกาลงไฟฟารวมของวงจร

Page 23: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

1.) = + +

= + + = = = 0.542

RT = = 1.85

2.) I1 = = = 6A

I2 = = = 4A

I3 = = = 3A

TR1

3

1R2

1R1

1R

41

61

81

24346

2413

542.01

1RV

424

2RV

624

3RV

824

Page 24: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

IT = I1 + I2+ I3

= 6 + 4 + 3 = 13 A หรอ IT = = = 13 A

P1 = V . I1 = 24 x 6 = 144 w

P2 = V . I2 = 24 x 4 = 96 w

P3 = V . I3 = 24 x 3 = 72 w

PT = P1 + P2+ P3 = 144 + 96 + 72 = 312 w

หรอ

PT = V . IT = 24 x 13 = 312 w

TRV

85.124

Page 25: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

การหาคาความตานทานรวมในวงจรขนานกรณอนๆ

1. กรณคาความตานทานทกตวเทากนหมด การหาคาความตานทานรวมในวงจรทาไดโดยใชสมการ

RT = คาของตวตานทาน

จานวนตวตานทานในวงจร

RT = = 10 3

30

Page 26: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

2. กรณตวตานทานขนานกน 2 สาขา ถาตวตานทานทมคาไมเทากน 2 ตว ขนานกน สามารถคานวณคาความตานทานรวมในวงจรไดโดยใชสมการ

RT = R1 x R2

R1 + R2

RT = 60406040

x

=1002400

= 24

Page 27: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

กาลงไฟฟารวมในวงจรแบบขนาน ทเกดขนกบตวตานทาน

แตละตวในวงจรคอ ผลคณของกระแสไฟฟาทไหลผานตว

ตานทานกบแรงดนตกครอมตวตานทานนนๆ รวมกน และกาลง

ไฟฟารวมทเกดขนกบตวตานทานทกตวจะเทากบกาลงไฟฟาท

แหลงจายไฟฟาออกมา

Page 28: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4–11 จากวงจรไฟฟาแบบขนาน จงคานวณหาคาแรงดนของ

แหลงจายและความตานทาน R3

V = V3 = I2 . R2 = 2 x 200 = 400 v

I2 = = = 4 A

I3 = IT - I1 – I2

= 10 – 4 – 2 = 4 A

R3 = = = 100

1RV

100400

3IV

4400

Page 29: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ผลจากการเปดวงจรในวงจรไฟฟาแบบขนาน

เมอวงจรไฟฟาแบบขนานทสาขาใดๆ เปดวงจร (Open Circuit)

กระแสกจะไมไหลในสาขานนๆ ตวอยางเชน วงจรไฟฟาแบบขนาน 3

สาขา ตอโหลดดวยหลอดไฟ 3 หลอด ขนานกบแหลงจาย 220 โวลต ดง

รป 4 – 3 เมอเปดวงจรทตาแหนงสายหลกของวงจร (รป ก) กจะทาใหไม

มกระแสไหลผานหลอดไฟทง 3 หลอด ทาใหหลอดไมตดทงหมด แต

เมอหลอดท 1 ขาด (เปดวงจร) กระแสไฟฟากจะไมไหลผานหลอดท 1

เพยงหลอดเดยว แตหลอดท 2 และ 3 จะสวางเนองจากมกระแสไฟฟา

ไหลผาน

Page 30: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

รปท 4-3 การเปดวงจรไฟฟาแบบขนาน

Page 31: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ผลจากการปดวงจรในวงจรไฟฟาแบบขนาน

เมอเกดการลดวงจร (Short circuit) ในวงจรไฟฟาแบบ

ขนาน ทตาแหนงสาขาใดๆ ของวงจรจะทาใหกระแสไฟฟาไม

ไหลในสาขาอนๆ ของวงจรไฟฟา แตกระแสทงหมดจะไหลผาน

ตาแหนงทลดวงจรซงทาใหเกดอนตรายตอวงจรไฟฟา และ

แหลงจายไฟฟาอาจเสยหายได

Page 32: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

รปท 4- 4 การปดวงจรไฟฟาแบบขนาน

Page 33: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

วงจรไฟฟาแบบผสม (Combination circuit)

วงจรไฟฟาแบบผสมนเปนการตอตวตานทานในวงจรรวมกน

ระหวาง การตอแบบอนกรมและขนาน จงตองใชการวเคราะห

วงจรในแตละสวนของวงจรผสม ตามลกษณะของวงจรแตละแบบ

Page 34: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า
Page 35: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4-12 จงคานวณหาคา IT และ V1

RT = R1 + (R2 // R3 + R4)

= 16 + (36 // 72)

= 16 + ( )

= 16 + 24 = 4072367236x

Page 36: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

IT = = = 2 A

V1 = IT x (R2 // R3 + R4)

= 2 x (36 // 54 + 18)

= 2 x ( )

= 2 x 24 = 48 v

TRV

4080

72367236x

Page 37: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

ตวอยางท 4- 13 จากวงจรไฟฟา จงคานวณหาคาของ V , R4 และแรงดน

ตกครอม R4 (VR4)

VR1 = I1 . R1

VR1 = 3 x 10 = 30 v

VR2 = I1 . R2

VR2 = 3 x 20 = 60 v

V = VR1 . VR2

V = 30 + 60 = 90 v

Page 38: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

I2 = IT - I1

= 7 – 3 = 4 A

VR3 = I2 x R3

= 4 x 12 = 48 v

VR4 = V - VR3

= 90 – 48 = 42 v

VR3 = = = 10.52

4

IVR

442

Page 39: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

แบบฝกหดทายบทท 4

1.) จงคานวณหาคาความตานทานรวมของวงจรดงรป พรอมจาลองดวยโปรแกรม

Page 40: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

2.) จงคานวณหาคาความตานทานรวมของวงจรดงรป พรอมจาลอง

ดวยโปรแกรม

3.) จงคานวณหาคาความตานทานรวมของ

วงจรดงรป พรอมจาลองดวยโปรแกรม

Page 41: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

4.) จากวงจรความตานทานในขอ 1 เมอนาไปตอกบแรงดนไฟฟา

200 โวลต จะมกระแสไฟฟาไหลในวงจร และแรงดนตกครอม R3

เทาไร พรอมจาลองดวยโปรแกรม

5.) จากวงจรความตานทานในขอ 2 เมอนาไปตอกบแรงดนไฟฟา

100 โวลต จะมกระแสไฟฟาไหลในวงจร และแรงดนตกครอม R3

เทาไร พรอมจาลองดวยโปรแกรม

6.) จากวงจรความตานทานในขอ 3 เมอนาไปตอกบแรงดนไฟฟา

300 โวลต จะมกระแสไฟฟาไหลในวงจร และแรงดนตกครอม R1

เทาไร พรอมจาลองดวยโปรแกรม

Page 42: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

7.) จากวงจรดงรปเมอมแรงดนตกครอม R1 เทากบ 24 โวลต จง

คานวณหาคาดงตอไปน พรอมจาลองดวยโปรแกรม

7.1 แรงดนไฟฟาตกครอม R2 และ R3

7.2 แรงดนไฟฟารวม (V1)

7.3 ความตานทานรวม

7.4 กาลงไฟฟาทความตานทานแตละตว

Page 43: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

8.) จากวงจรดงรป จงคานวณหาคาดงตอไปน พรอมจาลองดวยโปรแกรม

8.1 คาความตานทานรวม

8.2 กระแสไฟฟาทไหลผาน R2 และ R3

8.3 กระแสทไหลในวงจร

8.4 แรงดนไฟฟา V1 และ V2

Page 44: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

9.) จากวงจรดงรป จงคานวณหาคาดงตอไปน พรอมจาลองดวยโปรแกรม

9.1 คาความตานทานรวม

9.2 กระแสทไหลในวงจร

9.3 แรงดนไฟฟารวมของวงจร

9.4 แรงดนไฟฟา V1 , V2 และ V3

9.5 กาลงไฟฟาทความตานทาน R1

Page 45: รูปที่ 4-1 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม · วงจรไฟฟ้าแบบขนานคือการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

10.) จากวงจรดงรป ถาแบตเตอรทง 2 ตว มคาความตานทาน

ภายใน 1 โอหม จงคานวณหาคาดงตอไปน พรอมจาลองดวยโปรแกรม

10.1 คาความตานทานรวม

10.2 กระแสทไหลในวงจร

10.3 แรงดนไฟฟารวมของวงจร

10.4 แรงดนไฟฟา V1 , V2 และ V3