คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย...

30
1

Upload: others

Post on 12-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

1

Page 2: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

2

คํานํา

สืบเน่ืองจากงานบริการวิชาการ คณะศิลปศาสตร สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่ ไดจัดใหมี

การเผยแพรวิชาการสูสังคม โดยการจัดกิจกรรมจัดรายการวิทยุโทรทัศน ผลิตรายการทางดานสื่อสารการกีฬา

การจัดการกีฬา การจัดการธุรกิจสุขภาพ ผูนํานันทนาการ นันทนาการเชิงพาณิชยและการทองเที่ยว ผาน

สื่อโทรทัศนทองถ่ิน และวิทยุกระจายเสียง ซึ่งนอกจากประสบการณที่เพิ่มข้ึนแลว ยังไดมีโอกาสรวมเสวนากับ

สื่อมวลชนทองถ่ินถึงปญหาที่เกิดข้ึนในชวงเวลาน้ี น่ันคือ การเกิดข้ึนของวิทยุชุมชนที่มีมากมาย หลายคล่ืน แต

ขาดนักจัดรายการวิทยุที่มีคุณภาพ ทําใหเกิดปญหาข้ึนในองคกร ตลอดจนผูรับฟงรายการวิทยุดังกลาว ในการ

น้ี จึงไดจัดโครงการจัดรายการวิทยุ โทรทัศน ประจําป 2556 (กิจกรรมจัดการความรู Knowledge

Management : KM) ดานวิทยุโทรทัศน “การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง” ข้ึน

การจัดการความรูดานวิทยุโทรทัศน คือ การนําผลสําเร็จจากการบริการวิชาการ ประสบการณจริง

มาแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน และนําไปปรับปรุงใหเกิดการพัฒนาความรูอยางตอเน่ือง ดังน้ันเพื่อเปนการ

สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูในวงกวาง ใหผูที่มคีวามรู ความสามารถที่เกี่ยวของไดมีสวน

รวมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู พัฒนาความรูสามารถใหเปนบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ และมีการเรียนรูรวมกัน

กอใหเกิดวัฒนธรรมการใสใจและแบงปน อันเปนรากฐานสําคัญในการจัดการความรู การสรางสังคมแหงการ

เรียนรูและองคกรแหงการเรียนรู

คณะผูจัดทํา ขอขอบคุณผูเขารวมกิจกรรมทุกทานเปนอยางสูงที่เสียสละถายทอดขอมูล เทคนิคและ

วิธีการ และประมวลขอมูลจนออกมาเปนองคความรู “การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง” ซึ่งหวังเปนอยาง

ย่ิงวาคงจะเปนประโยชนในการศึกษา และตอยอดนําไปปรับประยุกตใชในอาชีพไดอยางมีคุณภาพตอไป หาก

มีขอผิดพลาดประการใดกราบขออภัยไว ณ โอกาสน้ี

คณะผูจัดทํา

Page 3: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

3

สารบัญ

เรื่อง หนา

การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง 1

รายการนิตยสารทางอากาศ (Magazine Program ) 7

รายการสารคดี 11 หลักการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง 16 หลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง 19 บทวิทยุกระจายเสียง 22 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับเสียง 26 ศิลปะการพูดทางวิทยุกระจายเสียง 28 บรรณานุกรม 31

Page 4: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

4

การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง

ความสําคัญของรายการวิทยุกระจายเสียง วิทยุกระจายเสียงนับเปนสื่อมวลชนแขนงหน่ึง ที่มีความสําคัญและมีอิทธิพลตอชีวิตประจําวัน ไมย่ิง

หยอนไปกวารายการโทรทัศน เน่ืองจากการสงขาวสารความรูไปสูประชาชนไดไกลกวาและรวดเร็วกวา

สื่อมวลชนอื่นๆ แมนในสถานที่ทุรกันดาร กอปรกับราคาเครื่องรับวิทยุมีราคาถูก นํ้าหนักเบา ตามเทคโนโลยี

ปจจุบัน สามารถเคลื่อนยายติดตัวไปไดงายกวาเครื่องรับโทรทัศน และขณะที่ฟงรายการก็สามารถปฏิบัติ

ภารกิจอื่นไดไปพรอมๆกัน รายการวิทยุมีอิทธิพลในการโนมนาวความคิดเห็นใหคลอยตามไดงาย เน่ืองจากการ

เสนอจินตนาการที่กวางไกลไดมากกวาการดูรายการโทรทัศนที่ถูกจํากัดในเรื่องของภาพและฉาก

รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง 1. รูปแบบรายการ (Format) การจัดและผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงสามารถแบงรูปแบบ ของ

รายการออกเปนประเภทตาง ๆ ได 9 ประเภท 1.1 รายการขาว (News Programme) หมายถึง รายการที่จัดทําข้ึนเพื่อรายงานเหตุการณสําคัญ ๆ ที่เกิดข้ึนแลวใหผูฟงไดรูวาใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทําไม และอยางไร การรายงานเหตุการณที่เกิดข้ึน เรียกวา "News Reporting" วิทยุกระจายเสียงเปนเครื่องมือสงขาวสารไดดีที่สุด เพราะมีความรวดเร็วกวาสื่ออื่น สามารถสงขาวดวน หรือรายงานเหตุการณที่เกิดข้ึนไปสูประชาชนอยางรวดเร็วและกวางไกล แมนผูรับจะอยูที่ไหนก็มีโอกาสรับขาวสารน้ันได ฉะน้ันวิทยุกระจายเสียงจึงเปนสื่อที่เหมาะสมกับการสงสงขาวสารและรายงานเหตุการณอยางย่ิง เพราะผูรับสามารถรับไดทันที รวดเร็ว ทําใหทันเหตุการณตลอดเวลา รายการขาวทางวิทยุกระจายเสียงควรมีลักษณะสั้น ๆ ชัดเจน เขาใจงาย มีหัวขอนําใหรูวาเปนเรื่องอะไร และมีรายละเอียดครอบคลุมใหชัดเจนวา ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทําไม และอยางไร รายการขาวอาจแยกยอยลงไดหลายประเภท เชน ขาวการเมือง ขาวอาชญากรรม ขาวตางประเทศ ขาวเศรษฐกิจ ขาวสังคม ขาวกีฬา ขาวการศึกษา และบันเทิง เปนตน รายการขาว เปนการ นําเสนอขาวสาร เหตุการณสําคัญ มีการรายงานขาวผานรายการ รายการขาวแยกเปนรายการยอยไดอีก คือ 1.1.1 รายการเลาขาว เชน รายการคุยคุยขาว รายการเสียงนกเสียงกา 1.1.2 รายการขาวจราจร เชน ขาวจราจร จส.100 1.2.3 รายการขาวทางการ เชน ขาวของวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย 1.2 รายการสนทนา (Talk) รายการสนทนาเปนรายการพูดคุย แตการพูดคุยโดยตรงกับผูฟง หากแตเปนการสนทนาระหวางผูรวมรายการ ต้ังแต 2 คนข้ึนไป โดยมีคนใดคนหน่ึงเปนผูดําเนินรายการ ทําหนาที่ควบคุมใหการสนทนาใหอยูในขอบเขต และคอยนําการสนทนาจากเรื่องหน่ึงไปสูเรื่องหน่ึง อยางมีระเบียบเปนข้ันเปนตอน และผูดําเนินรายการสนทนารวมออกความคิดเห็นไปกับผูรวมรายการดวย นอกจากน้ียังทําหนาที่เช่ือมโยงการสนทนา และพูดคุยโดยตรงกับผูฟงดวย เชนการข้ึนตน การสรุปขอความการสนทนา และรูปแบบจะเปนการแสดงความคิดเห็น การวิเคราะหขอมูลขาวสาร ในรายการ เปนตน โดยรายการสนทนายังสามารถแยกยอยเปนรายการอื่นๆ ไดอีกคือ

Page 5: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

5

1.2.1 รายการแพทย รายการตอบปญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เชนรายการ ผูหญิงผูหญิง 1.3 รายการสัมภาษณ (Interview) รายการที่มีบุคคลต้ังแต 2 คนข้ึนไปมาซักถามเรื่องราว ปญหา ขอของใจใหผูรับฟง โดยมีผูสัมภาษณ 1 คน ทําหนาที่เปนผูซีกถาม สวนผูใหคําสัมภาษณที่เปนผูตอบคําถามคือผูถูกสัมภาษณ สุดแลวแตความเหมาะสมของเวลาในรายการและเน้ือหา ที่จะสัมภาษณวาควรจะเชิญใครมาสัมภาษณ รายการสัมภาษณจัดไดวาเปนรายการพูดคุย แตเปนการพูดคุยทางออมมิใชพูดโดยตรงการพูดคุยกันระหวางผูสัมภาษณกับผูถูกสัมภาษณจะใหประโยชนแกผูฟงโดยตรง รายการสัมภาษณมีขอแตกตางจากรายการสนทนา คือ ผูสัมภาษณมีหนาที่ในการปอนคําถาม ถามอยางเดียว ไมมีหนาที่ตอบคําถามเอง ไมเหมือนกับผูดําเนินรายการสนทนาที่สามารถรวมสนทนาดวยในบางโอกาส หนาที่ของผูสัมภาษณคือพยายามปอนคําถามที่ใหผูถูกสัมภาษณตอบ หรืออธิบายใหมากที่สุด สิ่งที่ผูสัมภาษณจะทําไดนอกจากน้ันคือ สรุปใหเขาใจชัดเจนย่ิงข้ึน หรือเพิ่มเติมเพื่อใหเขา เพื่อใหเขาใจไดดีข้ึนเทาน้ัน การสัมภาษณน้ันทําไดทั้งในหองสงกระจายเสียงและนอกหองสง รายการสัมภาษณ เนนเน้ือหาไปที่ผูถูกสัมภาษณ ซึ่งเกี่ยวของกับอํานาจหนาที่ เรื่องความเห็นสวนตัว หรือเรื่องอื่น ๆ ซึ่งเปนการใหขอมูลแตฝายเดียว รายการสัมภาษณ แบงเปน ดังน้ี 1.3.1 การสัมภาษณอยางเปนทางการ (Formal Interview ) เชน การเชิญบุคคลสําคัญหรือผูที่มีช่ือเสียงมาสัมภาษณ โดยมีการนัดแนะวันเวลาและสถานที่ที่สัมภาษณ อยางเปนทางการ และมีจุดประสงคที่แนนอน 1.3.2 การสัมภาษณอยางไมเปนทางการ (Informal Interview) เชน สัมภาษณคนเดินถนนมักเปนการถามคําถามโดยไมไดเตรียมมากอน ถามปญหาเฉพาะหนา ถามความคิดเห็น ความรูสึก หรือสัมภาษณผูพบเห็นเหตุการณนาต่ืนเตน เปนตน 1.4 รายการอภิปราย (Panel Discussion) เปนรายการพูดคุยอีกลักษณะหน่ึง คือ ไมใชเปนการพูดคุยกับผูฟงโดยตรง แตเปนการพูดคุยออกความคิดเห็น ในหัวขอใดหัวขอหน่ึง หรือเรื่องใดเรื่องหน่ึง แตผูรวมอภิปรายตางแสคงความคิดเห็นตางทัศนะกัน โดยเปนการแสดงความคิดเห็นไปทีละคน อยางมีระเบียบ โดยมีผูที่ดําเนินการอภิปรายเปนผูควบคุมใหรายการดําเนินไปตามแนวและขอบเขตที่ไดวางไว ผูดําเนินการอภิปรายจะทําหนาที่เพียงนําอภิปราย และที่หนาที่สรุปความคิดเห็นของผูรวมอภิปราย แตไมรวมอภิปรายเหมือนรายการสนทนา สวนใหญแลววัตถุประสงคของการอภิปราย คือ ตองการที่จะฟงความคิดเห็นจากบุคคลตาง ๆ ในเรื่องใดเรื่องหน่ึง ซึ่งบุคคลเหลาน้ันอาจมีความคิดเห็นไมตรงกัน หรือมีความเห็นตรงกัน รายการอภิปรายในแตละครั้งไมควรเชิญผูรวมอภิปรายมากเกินไป และไมควรเกิน 4 คน เพราะถาพูดเรื่องใดเรื่องหน่ึงมากเกินไปผูฟงอาจเบื่อได การอภิปรายอาจทําไดหลายลักษณะ และมักเรียกช่ือรายการตามลักษณะการอภิปรายคือ อภิปรายโตะกลม อภิปรายเปนคณะ (Group Discussion) การอภิปรายเปนแผง (Panel Discussion ) รายการอภิปรายอีกรูปแบบหน่ึงก็คือ "Talk Show" หมายถึงการเชิญผูรวมรายการมาพูดคุยในรายการ โดยมีผูดําเนินรายการ ทําหนาที่พูดคุยคลายกับการอภิปราย แตเน้ือหาสาระในรายการ จะเปนเรื่องเบา ๆ สนุก ไมเปนวิชาการ บางครั้งอาจคุยกันในเรื่องตลก สวนใหญจะอยูในรายการของโทรทัศนมากกวา

Page 6: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

6

1.5 รายการสารคดี (Feature หรือ Documentary ) รูปแบบรายการเปนการนําเสนอเพียงเน้ือหาเพียงเน้ือหาเดียว เชน การนําเสนอเรื่องสัตว ก็จะมีแตเรื่องสัตว หากเปนเพลงที่จะเปดในรายการก็จะตองเปนเพลงที่เกี่ยวกับสัตว การสัมภาษณตองพูดเรื่องสัตว การสนทนาก็ตองเปนเรื่องที่เกี่ยวกับสัตว จึงเรียกรูปแบบรายการน้ีวา รายการสารคดี

1.6 รายการนิตยสารทางอากาศ ( Magazine) รูปแบบรายการเปนการนําเสนอ ที่มีความหลายหลาย ทั้งเน้ือหา และรูปแบบ ในรายการอาจจะมีทั้งเพลง บทสัมภาษณ ขาว Phone in การตอบคําถาม ฯลฯ รายการนิตยสารทางอากาศยังสามารถแยกยอยเปนรายการอื่น ๆ ไดอีกหลายรายการคือ 1.6.1 รายการเด็ก 1.6.2 รายการผูหญิง 1.6.3 รายการเศรษฐกิจ การเงิน

1.7 รายการละคร (Drama) รูปแบบรายการจะเปนละครวิทยุ มีรูปแบบเหมือนกับละครโทรทัศน เปนเรื่องราวที่จะใหความบันเทิง สาระ ขาวสาร มีตัวละครแสดง โดยการนําเสนอจะเปนบทสนทนา ที่สอดคลองกับการดําเนินชีวิตจริง เชน การนําเสนอเรื่องไขหวัดนก ในบทก็จะมีการพูดถึงเรื่องไขหวัดนก ในบทอาจจะมีการกําหนดใหมีสัตวแพทย เปนตัวแทนใหขอมูล โดยตัวละครจะถูกสมมุติข้ึน เปนตน

1.8 รายการเพลงหรือรายการบันเทิง ( Light Entertainment) รูปแบบรายการจะเนนการใหความบันเทิง เปนหลัก โดยในรายการจะมีการเปดเพลงสลับการใหขอมูลขาวสาร การจัดรายการเพลงจะตองคํานึกกลุมเปาหมายดวย การทํารายการใหกลุมผูฟงตองคํานึงถึงอายุ การเลือกเพลงจะตองใหเขากับอายุ ซึ่งเพลงที่จะเปดตองอยูในวัยที่ใกลเคียงกับผูฟงกลุมเปาหมาย สาระหรือขอมูลขาวสาร ก็จะตองมีความนาเช่ือถือ เปนประโยชนตอผูฟง และผูดําเนินรายการตองอยูในวัยที่ใกลเคียงกับคนฟง ในรายการนอกจากจะมีเพลง ควรจะมีสปอรต ที่สรางความหลากหลาย เพื่อเปนการดึงดูดใจคนฟง การ Phone In ใหผูฟงทางบานโทรศัพทเขามาของฟงเพลง หรือเลนเกมส ตอบปญหา โดยผูจัดอาจจะมีรางวัลมอบใหกับผูชนะ ซึ่งจะเปนวิธีการหน่ึงที่เปนการดึงคนฟง

1.9 รายการกีฬา (Sport) เปนรายการที่มีเน้ือหาที่เกี่ยวของกับการกีฬา เปนหลัก ทั้งการสัมภาษณก็จะเกี่ยวของกับการกีฬา หรือแวดวงกีฬา

2. ลักษณะรายการวิทยุกระจายเสียงท่ีดี 2.1 ตองมีวัตถุประสงคที่แนชัด สามารถายทอดขอมูลขาวสารไดโดยตรงตามวัตถุประสงค 2.2 ตองมีความนาสนใจที่จะติดตามฟงโดยตลอด 2.3 ตองมีความตอเน่ือง ไมขาดหายไป 2.4 ตองอยูในเวลาที่กําหนดแนนอน 2.5 ตองมีความเหมาะสมกับกาลเทศะและตรงกับความตองการของผูฟง 2.6 ตองมีสวนชวยในการพัฒนาสงัคมและผูฟง

Page 7: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

7

3. ชวงเวลาท่ีออกอากาศจะตองคํานึงถึง 3.1 กลุมผูฟงเปาหมาย อาชีพ 3.2 อายุ วัย ของผูฟง 3.3 เน้ือหาสาระของรายการ 3.4 เวลาออกอากาศที่เหมาะสม 3.5 รูปแบบรายการ

4. การวิเคราะหผูฟงรายการ ผูจัดรายการ จะตองวิเคราะหทัศนคติของผูฟงรายการโดยอาศัยแนวทาง ดังน้ี 4.1 ผูฟงประเภทมากดวยราคะจริต ผูฟงที่พอใจในความงาม ความดี ความออนโยน ผูฟงกลุมน้ีควรใชคําสุภาพ ไพเราะ ถาจะตําหนิตองสุภาพ 4.2 ผูฟงประเภทโมหะจริต เปนผูฟงที่หลงเช่ืองาย มีแตความขุนมัวในอารมณ ควรใชถอยคําที่มีเหตุผล ใหเขาใจงายและชัดเจน 4.3 ผูฟงประเภทโทสะจริต มักโกรธงายควรใชถอยคํา ปลอบโยน ใหคําชมเชย ยกยอง 4.4 ผูฟงประเภทวิตกจริต มีแตความกังวล ลังเลใจเช่ือครึ่งไมเช่ือครึ่ง ควรใชถอยคําที่ชวยใหผูฟงเกิดกําลังใจ และมั่นใจตัวเอง เช่ือหูตัวเองวาฟงมาอยางไร ก็จะเช่ืออยางน้ัน 4.5 ผูฟงประเภทศรัทธาจริต คือเปนผูที่เช่ืองาย ควรใชถอยคําประเภทที่สอน หรือแนะนําใหรูจักมีเหตุผล 4.6 ผูฟงประเภทพุทธจริต ผูมีปญญา มีความรู ควรใชถอยคําที่แสดงถึงความใหเกียรติผูติชมรายการ

5.คุณสมบัติของนักจัดรายการวิทยุกระจายเสียง 5.1 ผูจัดรายการ (ผูสงสาร)จะตองมีจิตใจกวางขวางและยอมรับในขอผิดพลาดของตนเอง และเปดใจกวาง ที่จะรับการตอบโตกลับ ดวยการติชม วิจารณแนะนํา จากผูฟง(ผูรับสาร ) ตลอดเวลาและใหเกียรติ ผูที่ติชมรายการ 5.2 ผูจัดรายการ (ผูสงสาร) ตองใหเกียรติผูฟง (ผูรับสาร) เสมอเพราะเราจะรอบรูไปทุกเรื่อง คงเปนไปไมได เมื่อมีผูฟงเสนอแนะช้ีแจง ผูจัดรายการ จะตองรับฟง 5.3 ผูจัดรายการ ตองยอมรับในสถานภาพ และฐานะหนาที่ของผูจัดรายการ เชนภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ประสบการณ เชนผูชายไมเคยคลอดลูก จะรูไดอยางไรวาเวลาคลอดมีความเจ็บปวดอยางไร 5.4 มีความรับผิดชอบผลิตรายการอยางตอเน่ือง และตองมีความรับผิดชอบตอรายการและผูฟง 5.5 เปนผูที่มีปฏิภาณไหวพริบดี รูจักเลือกเรื่องที่จะนําเสนอ รวมทั้งการปรงุแตงใหเหมาะสมและนาสนใจ 5.6 เปนผูมีมนุษยสัมพันธ สามารถทํางานเปนทีมและสามารถที่จะติดตอสรางความสัมพันธที่ดีกับบุคคลทั่วไป 5.7 ตองรูจักควบคุมอารมณใหคงที ่ 5.8 ผูจัดรายการตองไมหลงระเรงิตอคําชม และตองไมหว่ันไหวหรือโตตอบ กับคําติชมของผูฟง

Page 8: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

8

5.9 ตองมีความเสียสละ และทุมเทในการจัดและพัฒนารายการที่รับผิดชอบ 5.10 ตองมีความต่ืนตัว กระตือรือรนอยูเสมอ 5.11ตองเปนนักฟงที่ดี

6. บทวิทยุท่ีดี 6.1 คิดเสียกอนวา กําลังเขียนบทวิทยุ เพื่อจัดใหใครฟง เชน เด็ก ผูใหญ ผูชาย ผูหญิง 6.2 จงเขียนบทรายการ ใหเหมือนทานพูด แลวพูดตาม บทที่เขียนจะตองเขียนใหเขาใจงาย ประโยคสั้น ๆ กะทัดรัด 6.3 เขียนบทวิทยุใหเหมือนเขียนจดหมาย ถึงใครคนหน่ึง 6.4 การใชสรรพนามที่ฟงแลว ใหผูฟงมีความรูสึกใกลชิดและมีลักษณะเหมือนผูฟงเขาไปรวมรายการดวย 6.5 มีทัศนคติที่ดีตอผูฟง เคารพผูฟง ใหเกียรติผูฟง 6.6 อยายัดเยียด สาระใหมากเกินไปในเวลาอันจํากัด 6.7 เนนจุดสําคัญและซ้ําประโยคหรือคําที่สําคัญบอยๆสมเหตุสมผลตรงเปาหมาย 6.8 ไมควรเลน สํานวน อุทาหรณ โคลงกลอน มากเกินไป 6.9 ทุกประโยคทุกคําที่พูดที่เขียนจะตองมีความหมายชัดเจน อยาปลอยใหผูฟงคิดเปนปริศนา 6.10 ไมใชตัวเลขที่ยุงยากในการจํา การฟง เชน การบอกเบอรโทรศัพท 6.11 อยาใชศัพททางวิชาการ หรือคําสูง ๆมากเกินไปถาจําเปนควรอธิบายใหชัดเจน 6.12 การผูกตัวอยาง หรือเปรียบเทียบ จะตองเขาเรื่องราวที่กําลังเขียน 6.13 การต้ังเปาหมายของรายการจะตองชัดเจนและกอนจบรายการ จะตองสรุปอีกครั้งหน่ึง 6.14 ผูเขียนบทวิทยุจะตองมีเวลาเพียงพอและขอมูล พรอมที่จะเขียน 7.ศิลปะในการอานบทวิทยุกระจายเสียง 7.1 การอานบทวิทยุจะตองมีลีลา และใหอานเหมือนพูด พูดใหเหมือนคุยกับผูฟง เหมือนกับผูฟงอยูในหองสงดวย เพื่อใหผูฟงมีจินตนาการวา เขากําลังคุยอยูกับคนในครอบครัวหรือเพื่อรวมงาน 7.2 การออกตัวดวยคําวา ขอโทษวาเสียงไมดี เปนหวัด หรือบนวาเจ็บไขไมสบาย หรือบนวามีอุปสรรคอยางน้ันอยางน้ี จะทําใหผูฟงไมมั่นใจ ในขอมูลที่ผูจัดรายนําเสนอ 7.3 ตองรูจักแบงเวลา หรือจัดเวลาใหผูฟงไดขบคิด หรือทําความเขาใจ หรือยอขอความที่เราพูด 7.4 ทดลองอานบทวิทยุทบทวนเหมือนจัดรายการจริง ๆ แลววางตัวเปนกลาง ถามตัวเองวาเขาทานาฟงหรือไม ถาตนเองรูสึกวาไมนาฟงก็อยาไดหวังเลยวา เราจะจูงใจใหผูฟงมองเห็นภาพดวยห ู นักจัดรายการวิทยุ คือผูที่สามารถใชคําพูด บรรยายใหผูฟงมองเห็นภาพดวยหู ผูจัดรายการคือ ตา

Page 9: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

9

รายการนิตยสารทางอากาศ (Magazine Program )

นิตยสารทางอากาศคําวานิตยสาร หรือ Magazine มาจากภาษาอาระบิค คือ "Makhazan" หมายความวาที่ซึ่งเก็บรวบรวมสิ่งตาง ๆหลายอยางหลายชนิดไวดวยกัน หรือเรียกทับศัพทวา "สโตร" (Store) จากความหมายน้ี Magazine จึงมีความหมายรวมถึง "นิตยสาร"คือสิ่งพิมพที่รวบรวมเรื่องราวในหัวขอเรื่องตาง ๆ โดยนักเขียนหลาย ๆ คน ดังน้ันความหมายของคําวา "นิตยสารทางอากาศ" จึงหมายถึงรายการที่บรรจุเรื่องตาง ๆ ไวในลักษณะตาง ๆ ผสมกันไป เชน ในรายการจะมีบทความสั้น ๆ ที่เปนเรื่องที่สนใจ อาจจะมีโครงกลอน นิยาย เพลง บทสัมภาษณ แตไมไดหมายความวาในการทํารายการนิตยสารทางอากาศ จะบรรจุอะไรที่นักจัดรายการปรารถนา ใสลงไปใหเต็มในรายการ แตการทํารายการที่ดี มีความจําเปนที่จะตองทําอยางพิถีพิถัน และมีหลักเกณฑ คําวา "Magazine Programme" ศัพทานุกรมสื่อสารมวลชนไดใหความหมายไววา "รายนิตยสาร คือรายการวิทยุที่ใชรูปแบบในการเสนอแบบนิตยสาร น่ันคือ ในรายการเดียวกันจะประกอบดวย เรื่องยอย ตาง ๆ หลายเรื่อง โดยเรื่องตางตาง จะเปนแนวเดียวกันหรือตางแนวกันก็ได ถาเปนแนวเดียวมักเรียกวา Specialized Magazine เชน นิตยสารขาว นิตยสารผูหญิง ถาเปนเรือ่งทั่ว ๆ ไปเรียกวา General Magazine จุดสําคัญคือความสามารถในการเช่ือมโยง ใหหัวขอที่ตางกันเขามาเปนรายการเดียวไดอยางสอดคลองกัน " รายการสารคดีกับรายการนิตยสารทางอากาศ มีลักษณะระแตกตางกัน คือ รายการนิตยสารมีหลายเรื่องในรายการเดียวกัน Several Topic In One Programme แตรายการสารคดีมีเพียงเรื่องเดียว One Topic in One Programme ซึ่งจะตองทําใหมีความหลากหลายในรายการเดียว การทํารายการนิตยสารทางอากาศเปนรายการเบา ๆ ที่จัดข้ึนเพื่อใหทั้งความรู ความเพลิดเพลิน บางครั้งก็สอดแทรกขาวสารนารู การที่ผูจัดรายการจะบรรจุอะไรลงในรายการ จะตองมีการวางแผนการทํารายการใหดีเสียกอน การวางแผนทํารายการตองคํานึงถึงวา รายการที่ผลิตออกอากาศจะใหอะไรกับผูฟง และตองคํานึงถึงความตองการของกลุมผูฟงเปาหมาย เมื่อมีการวางแผนรายการแลว ตองคิดตอไปวาจะนําเสนอรายการในรูปแบบใดบาง ซึ่งในข้ันตอนน้ีจะตองพิถีพิถัน ในการเลือกแนวเรื่อง หัวขอเรื่อง เน้ือเรื่อง และวัตถุดิบที่จะนํามาทํารายการน้ัน การเก็บรวบรวมวัตถุดิบ ตองมีการเก็บขอมูลไว โดยการจดบันทึก โดยการแยกประเภทหัวขอเรื่องไวเพื่อไมใหสับสน หรือบางครั้งเมื่อฟงเพลงอะไรที่ตรงกับเน้ือหาของรายการก็บันทึกไวเพื่อจะไดนมาใชในรายการ หรือเก็บรวบรวมขอมูลเชนน้ีทุกวัน ซึ่งจะทําใหผูจัดรายการมีวัตถุดิบ มาทํารายการนิตยสารทางอากาศไดมาก การจดบันทึกที่ไดอานมาน้ัน จะตองบันทึกดวยวา ใครเปนผูเขียนหัวขอเรื่อง อยูในหนังสือเลมใด พิมพที่สํานักไหน เมื่อไหร ใครเปนผูพิมพ สิ่งเหลาน้ีเปนมรรยาท ที่นักจัดรายการไมควรเพิกเฉย แมในเมืองไทยจะไมเขมงวดในเรื่องลิขสิทธ์ิ แตตามมารยาทและเปนการใหเกียรติแกเจาของเรื่อง มีความจําเปนตองบอกใหผูฟงทราบถึงที่มาดวย สาระที่อยูใน นิตยสารทางอากาศ

สิ่งท่ีจะนํามาบรรจุในรายการนิตยสารทางอากาศ สามารถท่ีจะนํารายการตอไปน้ีมาใชผสมกัน คือ 1. การสัมภาษณบุคคลที่นาสนใจ มีผลงานดีเดน 2. การสัมภาษณบุคคลที่จะใหความรูแปลก ๆ ใหม ๆ แกผูฟง 3. บางสวนของคํากลาวสุนทรพจนที่นาสนใจของบุคคลที่มีช่ือเสียงโดยตัดตอนเฉพาะสวนที่สําคัญจริง ๆ

Page 10: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

10

4. บทความสั้น ๆ ที่ผูเขียน เขียนข้ึน บทความที่นํามาจากหนังสือพิมพ นิตยสารสิ่งพิมพ ตาง ๆ อาจจะนํามาเพียงตอนใดตอนหน่ึง 5. โคลงกลอน 6. เพลง ที่มีความหมายกับรายการที่ผลิต เชนเรื่องไฟฟา ก็เปดเพลงที่เกี่ยวกับไฟฟา 7. เรื่องสั้น 8. ละครสั้น 9. การรายงานเรื่องตาง ๆ หรือสิ่งที่เกิดข้ึน ซึ่งคิดวาผูฟงสนใจ หรือนาจะไดรายงานใหผูฟงไดทราบ 10.การบันทึกเสียงจริงจากเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึน หรือบันทึกเสียงบรรยากาศจากงานฉลองเทศกาลตาง ๆ ที่นาสน

กลุมเปาหมาย นิตยสารทางอากาศ การทํารายการนิตยสารทางอากาศ อันดับแรกตองคํานึงถึง คือ ผูฟง ตองประเมินวาผูฟงตองการที่จะฟงรายการวิทยุอะไร ประเภทไหน ซึ่งขอมูลเหลาน้ีอาจจะไดมาจากการสังเกต หรือการวิจัย เมื่อไดขอมูลแลวก็มีการวางแผนจัดรูปแบบรายการใหเปนไปตามความตองการของผูฟงสวนใหญ ไดตามเปาหมายที่กําหนดไว

เทคนิคการผลิต นิตยสารทางอากาศ เทคนิคการผลิตรายการนิตยสารทางอากาศมีลักษณะเดียวกับรายการเพลง คือมีความหลากหลาย (Variety) และมีการนําเสนอที่มีเน้ือหาสารที่หลากหลายเพื่อไมให กลุมผูฟงเปาหมาย เบื่อรายการ เพราะการทํารายการที่มีแบบอยางเดียว แนวเดียว ไมต่ืนเตนเราใจผูฟงก็ไมสนใจที่จะฟง ดังน้ันการผลิตรายการนิตยสารทางอากาศ มีขอแนะนําวาตองมีแนวทางของรายการกอน คือเกิดแนวความคิด หรือ Idea วา จะใหรายการที่ผลิตไปในแนวทางไหน ตอจากน้ันก็จะกําหนดหัวขอออกมาหลายเรื่อง เพื่อที่จะใหแตละเรื่องมีการเกี่ยวโยงกัน ตอเน่ืองกัน เมื่อฟงรายการแลวมีความรูสึกวาจับเอาเรื่องอะไรสักชุดหน่ึงกลุมหน่ึง ซึ่งไมไดมีความผูกพันมารวมกันไวดวยกัน แตรูปแบบรายการทั้งหมดจะตองมีความหลากหลาย หลังจากที่ไดแนวของรายการแลว ใหทําบัญชีรายการที่รวบรวมไว เมื่อไดบญัชีหัวขอเรื่อง ใหเลือกมา 2-3 หัวขอเรื่อง ที่ผูจัดรายการเห็นวาเปนเรื่องที่นาสนใจ จากน้ันใหเลือกเอาเรื่องที่สําคัญมาเผยแพร ผสมผสานกันกันไป การผลิตรายการนิตยสารทางอากาศ หากมีการบันทึกรายการไวจะเปนวิธีที่ดี เพราะการผลิตรายการที่ดี จะตองมีการตัดตอที่ตองใชความพิถีพิถัน เพราะจะมีการนําเทปเสียงสัมภาษณ บทความ สุนทรพจน เพลง เสียง Sound Effect มาใสไวในรายการ ซึ่งตองใชวิธีการตัดตอ เพื่อใหรายการดําเนินไปอยางราบรื่น กอนที่จะมีการตัดตอรายการ ผูจัดรายการจะตองฟงรายการทั้งหมดเสียกอน โดยฟงอยางต้ังใจ แลวจดบันทึกสิ่งที่สําคัญของแตละตอนเอาไว ตอจากน้ันก็เขียนแนวความคิดหรือหาสาระที่ผูจัดรายการเห็นวามีความเกี่ยวพัน แลวลองอานเรื่องทั้งหมดอีกท ีวาเราเก็บความสําคัญที่เกี่ยวของกับหัวเรื่องไวทั้งหมด แลวจึงเริ่มตัดตอรายการตามที่เราไดจดบันทึก หรือการทํา Out Line เอาไว ทั้งน้ีเพื่อจะใหแนใจวาจะไดไมตัดสวนใดสวนหน่ึงออกไป

Page 11: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

11

การนําเรื่องมาจากเอกสารหรือหนังสือ ผูจัดรายการควรนํามาทําบทใหม อยาอานจากตนฉบับ เพราะภาษาเขียนกับภาษาที่ใชสําหรับผูฟงตางกัน นอกจากน้ันในการทํารายการใด ๆ ก็ตาม ผูจัดรายการควรทําข้ึนดวยตัวเอง ดวยความคิดของตนเอง สิ่งที่จดบันทึกไวผูจัดรายการนํามาเปน ขอมูล ในการจัดรายการเทาน้ัน

การทํา Out Line เมื่อมีการเก็บหัวขอเรื่องไดแลว ใหทําโครง หรือ Out Line เชนการเริ่มตนเรื่องควรจะเริ่มตนดวยอะไร ที่คิดวาเปนการดึงความสนใจของผูฟงรายการ โดยปกติแลวตอนตนรายการควรเนนเรื่องสั้น ที่ควรคาแกการสนใจ ทั้งน้ีเพื่อดึงดูดใจใหติดตามรายการตอไป สวนการปดทายรายการจะตองสรางความประทับใจพอที่จะใหผูฟงฟงแลวไมอยากใหจบ หรือผูฟงอยากจะติดตามฟงใหมในคราวหนา สวนตอนกลางของรายการไมตองพิถีพิถันเทากับตอนเริ่มตนรายการและทายรายการ แตอะไรก็ตามที่หามาบรรจุใหเต็มในรายการตองคํานึงถึงความหลากหลาย ทั้งดานเน้ือหา วิธีการนําเสนอรายการ การทํา Out Line ตองคํานึงถึงความยาวของเรื่องที่นําเสนอในชวงน้ัน ๆ และตองคิดตลอดเวลาวาระยะเวลาความสนใจของผูฟง อยูไมนาน ดังน้ันอยาใหแตละเรื่องนําเสนอนานเกินไป แตก็อยาตัดมากเกินไปจนไมเหลือความสําคัญ ตัวอยาง Out Line เชน ลําดับ เรื่อง หมายเหตุ 1. เรื่องที่นาสนใจ มากที่สุด 2. เรื่องที่นาสนใจ ลองลงมาไมเดน 3. เรื่องที่นาสนใจ ที่จะทําให ผูฟงอยากติดตามตออีก

การเชื่อมโยง ระหวางตอนในรายการนิตยสารทางอากาศ การเช่ือมโยงระหวางแตละตอน ของรายการนิตยสารทางอากาศ เรียกวา Continuity ซึ่งจะทําใหรายการฟงแลวรื่นห ูจากตอนหน่ึงไปสูอีกตอนหน่ึง โดยไมมีความรูสึกวาการนําเสนอมีความขาดตอนเลย การทํา Continuity ผูจัดรายการตองแนใจวาเขียนไดเหมาะสมกับเน้ือหาของรายการที่เลือดมาบรรจุไว Continuity จะชวยโยงความรูสึกของผูฟงจากเรื่องหน่ึงไปสูเรื่องหน่ึง บางครั้ง Continuity จะชวยอธิบายอะไรบางอยางเมื่อจําเปน หรือเพิ่มเติมเน้ือหาสาระ การเช่ือรายการน้ัน ใชดนตรีเช่ือมก็ได แตทุกครั้งที่จะใชดนตรีเช่ือม จะตองมีจุดประสงคที่จริงจัง มิใชจะใชดนตรีเช่ือมเมื่อใดก็ได หรือไมใชจะใสดนตรีเช่ือมใหรายการเต็มครบตามเวลาที่กําหนดเทาน้ัน การใชดนตรีใหใชใหนอยที่สุด รายการนิตยสารทางอากาศ ถาใชเสียงพูดหลายเสียง จะชวยใหรายการนาสนใจกวาการใชเสียงเดียว เพราะการเปลี่ยนเสียงยอมตรึงความสนใจของผูฟงดีกวา และทําใหรายการมีความหลากหลายมากย่ิงข้ึน

Page 12: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

12

รายการสารคด ี

รายการสารคดี Documentary หรือ Feature หนังสือศัพทานุกรมสื่อมวลชน ไดใหความหมายของสารคดีวา "รายการสารคดี Documentary หมายถึง รายการที่ทําในลักษณะการเลาเรื่องหรือบรรยายความรู การเลาเรื่องประวัติวรรณคดี หรือบทประพันธที่สรางเปนแบบละคร " สวนรายการสารคดี คําน้ีมักใชสลับกับคํา Feature แตในบางแหงไดกําหนดลักษณะตางกันบาง แตลักษณะที่เดนคลายกันของ Documentary และ Feature คือ 1.ตองเปนเรื่องจริงหรืออางอิง จากของจริง เสนอหัวขอเรื่องน้ันอยางละเอียดในหลาย ๆ แงมุมเทาที่จะเสนอได ลักษณะบางประการที่จะแตกตางกัน คือ Documentary ตองใชเสียงจริง ๆของบุคคลจริง ๆ จากเหตุการณในหัวขอที่จะเสนอ Feature สามารถใชเสียงสมมุติของคนอื่นแสดงแทน เชนการเสนอเรื่องราวในประวัติศาสตร ออกมาในเชิงสารคดี เปนตน รายการสารคดี นักวิทยุกระจายเสียงเรียกรายการประเภทสารคดี วา เปนรายการวิทยุที่แทจริง (Real Radio) เพราะรายการสารคดีเปนรูปแบบของวิทยุกระจายเสียงที่ผลิตข้ึนเพื่อนําเสนอเรื่องราว เรื่องใดเรื่องหน่ึง (One Subject หรือ One Topic ) ที่ใชเทคนิคของเสียงทางวิทยุอันเปนการยุถึงความเปนจริงของเหตุการณ โดยใชเสียงประกอบและเสียงของผูคนที่เกี่ยวของในเรื่องน้ัน ๆ จริง ๆ มารวมอยูในรายการสารคดี น้ัน รายการสารคดี ทําใหมีความหลากหลายได (Variety) แตตองมีความเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน หรือ เปนเอกภาพ (Unity) เชน การสัมภาษณก็จะตองเปนเรื่องเดียวกัน หากมีสปอต ก็จะตองเปนเน้ือหาเดียวกัน จึงจะเปนเอกภาพที่เรียกวารายการสารคดี ซึ่งมีอยูหลายประเภท ดังน้ี 1. รายการสารคดี สรางเหตุการณทางประวัติศาสตร 2. รายการสารคดี วิจารณตอสภาพการณทางสังคมตาง ๆ 3. รายการสารคดี เสนอเรื่องราว ชีวประวัติบุคคล 4. รายการสารคดี ผสมผสานความคิดเห็นหลาย ๆ ความคิดตอเรื่องใดเรื่องหน่ึง 5. รายการสารคดี เสนอคําอธิบายที่เปนขอเท็จจริง ตอเรื่องใดเรื่องหน่ึง 6. รายการสารคดี นําผูฟงไปทองเที่ยวยังสถานที่ตาง ๆ 7. รายการสารคดี สามารถใชเทคนิคในการบอกเลาแกผูฟงไดหลายแบบ เชน วิธีการบอกเลา บรรยาย สัมภาษณ อภิปราย การใหคําวิจารณของผูเช่ียวชาญ คําวิจารณของคนเดินถนน คําอธิบายของผูเห็นเหตุการณ การแสดงในแบบละคร และการใชเพลงและเสียงประกอบเปนตน อยางไรก็ตาม การใชเทคนิคในการบอกเลาแบบไหน ข้ึนอยูกับ 1. เน้ือเรื่องที่จะเสนอตอผูฟง 2. วัตถุดิบที่มีอยู 3. วัตถุประสงค

รายการสารคดีท่ีดีท่ีสุด คือ รายการที่มีเสียงพูด หรือเสียงประกอบจากเหตุการณจริง ๆมากที่สุดโดยมีคําบรรยายนอยที่สุด รวมถึงการผสมผสานอยางกลมกลืนและไดสวนสัด ระหวางคะพูดกับเสียงเพลงหรือเสียงประกอบ

Page 13: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

13

ขอบเขตของรายการสารคดี 1. สารคดีท่ีมุงใหขาวสาร (Information Documentary) เปนรายการสารคดีที่มุงหมายที่จะใหขอเท็จจริงตาง ๆซึ่งถือเปนแบบฉบับของการไดขาวสารที่ดีกวาแบบอื่น ๆ 2. สารคดีแบบหนังสือพิมพ (Journalism Documentary) รูปแบบรายการมุงหมายที่จะเจาะลึกไปถึงรูปแบบตางๆ ของเรื่องใดเรื่องหน่ึง เหมือนกับเปนบทความช้ินหน่ึง แตเปลี่ยนรูปแบบมาเปนหนังสือพิมพทางเสียงแทน นําเสนอเรื่องใดเรื่องหน่ึง อาจจะเปนเรื่องการเมือง เรื่องทางเศรษฐกิจ เรื่องทางสังคม การผลิตรายการสารคดีแบบน้ีจะเปนไปในแบบของการตอบคําถามในใจของผูฟง เชน ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร อยางไร อยางไร ซึ่งเปนการนําเสนออยางเปนทางการ และสมดุลทั้งสองดาน 3. สารคดีแบบเสนอชีวประวัติของบุคคล (Personal Fortran) เปนรายการสารคดีที่นําเสนอชีวประวัติบุคคลสําคัญหรือบุคคลที่นาสนใจไดอยางละเอียด มีจุดมุงหมายในการนําเสนอ รายการสารคดีแบบน้ี เพื่อกอใหเกิดความรูสึกที่เช่ือถือเห็นอกเห็นใจ หรือเพียงเปนการสนองความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับบุคคลที่มีช่ือเสียงตาง ๆ เชน โมฮัมหมัดอาลี เปนตน 4. สารคดีแบบเสนอขาวจากผูเห็นเหตุการณ (Eye-Witness Documentary) นําเสนอเรื่องราวที่นาสนใจ คือ เรื่องของคนที่อยูในสถานการณที่ผิดปกติธรรมดาตาง ๆ เชน อยูในเหตุการณที่นาต่ืนเตน นาเห็นใจ เชน เหตุการณมัสยิดกรือเซะ เหตุการณตากใบ เปนตน 5. สารคดีแบบเสนอเรื่องราวประวัติศาสตร (Historical Documentary) นําเสนอรูปแบบเรื่องราวที่เกิดข้ึนในอดีต ซึ่งวิธีน้ีทําไดแตตองเปนการวิจัยหาขอมูลตาง ๆ แลวจึงนํามาเลาใหม ในรูปของการบอกเลาทางวิทยุกระจายเสียง 6. สารคดีแบบท่ีเลาโดยใชเสียง (Sound - Picture) รายการสารคดีแบบน้ีเปนการอธิบายถึง สถานที่ เหตุการณ หรือยุคสมัย โดยไดเน้ือเรือ่งหรือความรูสึก ไมมีการแสดงออกมาโดยผานทางเสียงจริง ๆ และเสียงพูด ซึ่งโดยปกติแบบน้ีจะไมใชผูบรรยายประกอบ เปนสารคดีที่ใหผูฟงใชมโนภาพเอาเอง 7. สารคดีแบบท่ีแตงขึ้นมาเอง (Creative Feature) เปนสารคดีที่มีรูปแบบที่คิดข้ึนมาเองตามความคิดฝน ทั้งน้ีตองมีการเขียนบทข้ึนมาเอง อาจจะเปนรูปแบบของละคร โดยมีเพลงประกอบเสียงเขาชวย

การวางแผนจัดทําสารคดี 1. การวางแผนเกี่ยวกับเน้ือหาโดยสรุป พิจารณาถึงจุดมุงหมายของผูจัดรายการและพยายามทําใหเปนไปตามน้ัน โดยพิจารณาวา ผูผลิตจะมีโอกาสครอบคลุมทุกอยางที่ตองการไดเพียงใด 2. ตัดสินใจเรื่องเน้ือหา พิจารณาเรื่องเน้ือหาและคําบรรยาย รวมทั้งสิ่งที่จะใชในรายการ เชน เสียงสัมภาษณ วัตถุดิบ รวมทั้งเสียงประกอบตาง ๆ ที่ตองการ 3. การทําวิจัยคนควา ไดแกขอมูลที่ตองการสําหรับสัมภาษณ ขอเท็จจริงตาง ๆ บุคคลที่ควรขอคําปรึกษา บุคคลที่ควรสัมภาษณ รวมทั้งวิจัยเรื่องตาง ๆ 4. เลือกผูที่จะเขารวมในรายการ ควรเลือกผูที่รูเรื่องในเรื่องน้ัน ๆ และมีเวลาวางที่จะมาใหสัมภาษณจริง ๆ 5. บันทึกเสียงลงเทป บันทึกเสียงโดยคํานึงถึงความตองการของเราและเผื่อไวสําหรับตัดตอ ถาเรามีสิ่งน้ีไวในใจแลว การเรียบเรียงและการเช่ือมโยงก็จะทําไดงาย เสียงที่ตองการ ควรมีการบันทึกเสียงที่ตองการตาง ๆ ลงเทปโดยบันทึกใหไดคุณภาพดี และบันทึกเผื่อไวยาว ๆเพื่อการตัดตอเสียงอกีครั้ง ซึ่งจะอยูในข้ันตอนการบันทึกเสียงทั้งรายการ ซึ่งรวมทั้งเสียงเพลงดวย

Page 14: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

14

6. การตัดตอครั้งที1่ใหตัดสิ่งที่รูวาไมตองการออกไปอยาเสียดายจากน้ันตรวจสอบโดยการฟงอีกครั้ง เพื่อหาจุดที่ดีที่สุดที่จะเช่ือมโยงกันไดอยางดีที่สุด ระหวางวัตถุดิบกับบทบรรยายและพรอมที่จะหาวัตถุดิบเพิ่มเติม หากจุดที่เช่ือมตอระหวางวัตถุกับบทบรรยายยังไมเช่ือมโยงกันดีพอ ลอกวัตถุดิบทั้งหมดลงบนเทปตามลําดับ โดยเวนชวงหนาชวงหลังของแตละชวงไวใหพอดี 7. เตรียมการเขียนบทที่จะใช ถึงข้ันน้ีควรมีการตกลงใจแลววาจะใชอะไรแทรกตรงไหน ขณะเดียวกันบทบรรยายตองพรอม และจะใชวัตถุดิบกี่นาที ที่จะเฟรดตรงไหนเพลงจะเริ่มที่ตรงไหน จบตรงไหน ควรมีการจบเวลาใหแนนอน 8. การเรียบเรียงเรื่อง หรือการบันทึกเสียง วัตถุดิบทั้งหมดจะไดมีการนํามาผสมผสานกันตามที่ไดวางแผนไว เพื่อใหรายการดําเนินไปดวยความราบรื่น ลองซอมดูอีกครั้งวาการเรียบเรียงอยางน้ีเปนอยางไร ถายังไมดีพออาจใชการตัดตอแกไข เพิ่มเติมไดอีก

เทคนิคผลิตรายการสารคดี (Documentary Techniques) รายการสารคดีมีโครงสราง 2 ประการ คือ 1. มีผูบรรยาย เปนผูเลาประกอบกับเทปแทรก ที่ไดมีการบันทึกไวกอนแลว 2. โดยการเลาเรื่อง ดวยการใชเทปแทรกตอเน่ืองกันไป ไมไดใชผูบรรยาย 2.1 เทปแทรก ไดแก คําพูด หมายถึงขาวสาร เรื่องราว ที่อาจจะติดตอมาจากคําใหสัมภาษณที่เกี่ยวของกับสารคดีที่ผลิต 2.2 คําใหสัมภาษณ ตองใหมีการเช่ือมโยงที่ดี และใหเหมาะสมกับการนําเสนอรายการในรูปแบบสารคดี คําสัมภาษณไมควรยาวเพราะจะเปนรายการสัมภาษณได 2.3 คําอภิปราย เปนเสียงของผูอภิปรายต้ังแตสองคนข้ึนไป หรือใหความคิดเห็นที่โตแยงกัน 2.4 เสียงประกอบจริง (Actuality Sounds) หมายถึงเสียงที่เกิดข้ึนจริง ๆ ขณะน้ันควรบันทึกจากสถานที่จริง ๆ 2.5 เสียงประกอบ (Sound Effects) เปนเสียงที่ผลิตจากอีเลกโทรนิกส เพื่อนํามาใชใหเกิดการเช่ือมโยงกัน ระหวางเน้ือหา 2.6 ดนตรี (Music) เพื่อชวยเช่ือมโยงเทปสัมภาษณ กับคําบรรยาย 2.7 เสียงบุคคลที่เกี่ยวของในเหตุการณ ใชเสียงของบุคคลในเหตุการณจริง เชน เสียงรายงานขาวจากสถานที่จริง เสียงผูที่เห็นเหตุการณจริง เสียงนักบินอวกาศ

หลักสําคัญในการดําเนินเรื่อง 1. ใหมีความนาสนใจทั้งเน้ือหาและเทคนิค พึงระลึกวา เน้ือหาคือหลักสําคัญอยาคํานึงถึงแตดานเทคนิค จนลืมความสําคัญของเน้ือ หรือทําใหผูฟงหันเหความสนใจไปจากเน้ือหา 2. บทเช่ือมโยง ควรทําใหราบเรียบและตอเน่ือง 3. พยายามนําเรื่องนาฟง มีชีวิตชีวา แมนจะเปนเรื่องหนัก ๆแตก็สามารถทําใหมีชีวิตชีวานาสนใจได 4. ทําใหผูฟงคอยๆ เริ่มสนใจเรื่องที่เราเสนอจนตองต้ังฟงจนจบ

Page 15: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

15

การสัมภาษณเพ่ือนํามาประกอบรายการสารคดี การสัมภาษณเพื่อประกอบรายการสาคดีสวนมากจะใชแคเสียงสัมภาษณของผูใหสัมภาษณมาประกอบเทาน้ัน ดังน้ันการสัมภาษณเพื่อจะนํามาประกอบสารคดี ควรจะสัมภาษณโดยถามคําถามใหตรงจุดที่เราตองการเปนเรื่อง ๆ ไป และคําตอบที่ไดก็ควรจะเก็บทั้งหมด จนกวาจะไดมีการตัดสินใจตัดตอใชเฉพาะสวนที่ตองการ

บทบรรยายสําหรับรายการสารคดี บทบรรยายสําหรับรายการสารคดี ไมควรเนนใหละเอียดมากเกินไป ไมวาจะดานขาวสาร ตัวเลข หรือสถิติใด ๆ ทั้งน้ีเพราะเราสามารถจะนําวัตถุดิบ เชนคําสัมภาษณใหรายละเอียดที่ดีกวา นอกจากน้ันบทบรรยายก็ควรใชใหนอย และใชเทาที่จําเปน บทบรรยายไมจําเปนตองเช่ือมโยงทุก ๆเทป อาจใชดนตรีหรือเสียงประกอบแทนบทบรรยายได หากเปนการใหความหมายไดอยางชัดเจนแกผูฟงช่ือหรือตําแหนงผูใหสัมภาษณในรายการสารคดี เมื่อไดมีการพูดไปแลวอยางละเอียดในตอนแรก ก็ไมจําเปนตองพูดโดยละเอียดทุกครั้ง เชน อาจพูดถึงเฉพาะช่ือ หรือ ตําแหนง

ขอควรทราบ 1. ไมควรใชเทปแทรกยาวมากในแตละครั้ง ถาจําเปนควรแบงเปน 2 หรือ 3 ชวง โดยใชคําบรรยายแทรกระหวางชวง 2. การเริ่มตนรายการควรใชถอยคําที่ดึงดูดความสนใจ หรือใชเสียงดนตรีที่ไพเราะ หรือแมนแตใชเสียงประกอบที่นาสนใจ เพื่อดึงความสนใจผูฟงเปนเรื่องแรก 3. ผูบรรยาย ควรจะน่ังในหองสงตลอดเวลา ที่บันทึกเสียงหลังออกอากาศและฟงเทปแทรกทุกชวงอยางต้ังใจ เพื่อใหนํ้าเสียงและจังหวะของคําพูดสอดคลองกันกับเทปแทรกน้ัน ๆทุกชวงตอน 4. เรื่องระดับเสียง ควรระมัดระวังใหสม่ําเสมอทั้งเสียงบรรยายและเทปแทรก อยางไรก็ตาม ถาเปนเสียงดนตร ีควรใหเบากวาเสียงบรรยาย เพราะถาดังเทากัน เวลาออกอากาศเสียงดนตรีจะดังกวา 5. การเช่ือมตอระหวางเทปแทรกและคําบรรยาย ควรหยุดพักหายใจ ตามธรรมชาติ เพื่อใหผูฟงรูสึกวาทุกอยางเปนไปตามธรรมชาติอยางแทจริง 6. เสียงของผูบรรยายควรใหสอดคลองกับเน้ือหาและเทปแทรก เชน ถาเทปแทรกจบลงดวยความเศราโศก ก็ไมควรบรรยายตอดวยเสียงรื่นเริง หรือถาเทปแทรกจบลงดวยถอยคําขํา ๆ ก็ควรย้ิม แลวก็บรรยายตอดวยเสียงย้ิม ๆผูฟงจะรูสึกไดเองวาเราขํา ไมควรถึงกับหัวเราะออกมา ซึ่งจะเปนการแสดงออกมากไป

Page 16: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

16

หลักการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง เปนการวางแผนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงใหเปนไปตามวัตถุประสงคที่กําหนดและวางแนวทาง การเขียนบทวิทยุแนวทางปฏิบัติ แมนกระทั่งการหลอมความคิดเห็นของทีมงานใหไปในจุดประสงคเดียวกันซึ่งจะนําไปสูความสําเร็จสูเปาหมาย คือ ผูฟงรายการ การจัดรายการวิทยุกระจายเสียง มีการกลาวันวา "เทคนิค คือ หัวใจ" "รายการคือ ใบหนา" การสงกระจายเสียงทุกครั้งจึงตองคํานึงถึงคุณภาพทั้งดานเทคนิค คือคุณภาพของเสียงที่ออกอากาศและคุณภาพของรายการ ควบคูกันไป หากขาดดานใดดานหน่ึงแลว ผูฟงยอมปฏิเสธที่จะรับฟง ซึ่งหมายถึงวา ความหมายของการกระจายเสียงจะหมดไปทันที เพราะขาดปจจัยที่สําคัญของการสื่อสาร คือ ผูรับ การจัดรายการวิทยุกระจายเสียง หากมองอยางผิวเผินนาจะเปนเรื่องงาย แตความจริงแลว การจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อใหเปนที่นิยมของผูฟง สามารถสื่อสารขอมูลขาวสาร ไดอยางตรงเปาหมายและมีสวนชวยในการพัฒนาสังคมและพัฒนาผูฟงดวย เปนสิ่งที่ยาก ซึ่งจะตองมีการวางแผนและดําเนินการอยางรัดกุม ตอเน่ือง รายการวิทยุกระจายเสียงแตละชวงเวลาการออกอากาศน้ัน จะตองมีการวางแผนของผูบริหารสถานี โดยมีการแบงชวงเวลา ซึ่งนิยมแบงเปนชวงละครึ่งช่ัวโมงหรือ หน่ึงช่ัวโมง (คือแตละชวงจะลงทายดวย 00 หรือ 30 ) เพราะเปนการสะดวกตอผูฟง จากน้ันก็จะพิจารณาวาในแตละชวงจะเสนอรายการประเภทใดใหเหมาะสมกับกลุมผูฟงเปนหลัก พรอมทั้งมีการกําหนดนโยบายและเปาหมายใหผูจัดรายการที่เหมาะสม รับผิดชอบไปดําเนินการ ซึ่งสิ่งที่ผูจัดรายการจะตองคํานึงถึงมีหลายประการดวยกัน คือ 1. ผูฟง 2. แหลงขอมูลและการรวบรวมขอมูล 3. เน้ือหา 4. เวลาออกอากาศ 5. รูปแบบรายการ 6. เครื่องมือผลิตรายการ 7. การประสานงานและความรวมมือ 8. การมอบหมายและแบงงานกันทํา 9. ช่ือเรื่อง และการต้ังช่ือรายการ 10. วัตถุประสงคของรายการ 11. การประเมินผล รายการวิทยุประดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ 1. บทพูด หรือ เน้ือหา (Content) 2. ดนตรีหรือเพลง (Music) 3. เสียงประกอบ (Sound Effect)

Page 17: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

17

ขั้นตอนการผลิตรายการวิทย ุ 1. วัตถุประสงค 1.1 เพื่อใหความรูความเขาใจวิธีการวางแผนการผลิต รายการวิทยุกระจายเสียงโดยนําความรูพื้นฐานมาเปนแนวทางสรางสรรค 1.2 เพื่อใหสามารถนําเทคนิคตาง ๆ มาใชในการผลิตรายการวิทยุ 1.3 เพื่อใหสามารถผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการพัฒนาการ ดานตาง ๆไดอยางเหมาะสม 2. หลักการผลิตรายการวิทย ุ หลักการผลิตรายการวิทยุถาจะใหไดผลจะตองยึดหลักตอไปน้ี 2.1 จะตองมีวัตถุประสงควา จะทํารายเพื่อการอะไร 2.2 วัตถุประสงคของรายการ 2.3 ตองรูจักผูฟงวาเปนประเภทใด มีเปาหมาย เชน อายุ อาชีพ การศึกษา เพศ ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ตองตระหนักเสมอวา วิทยุไมควรนําเสนอเรื่องราวที่สลับซับซอน 2.4 ตัวอยางที่ยกมาประกอบ จะตองใหผูฟงหันมาฟงจะตองเปนเรื่องใกลตัว 2.5 การจัดรายการตองยึดความถูกตองเปนเกณฑ 2.6 การจัดรายการใหสอดคลองกับธรรมชาติของประเภทรายการ 3. องคประกอบการผลิตรายการวิทย ุ 3.1 กลุมผูฟง เปาหมาย ความเช่ือถือ ความสนใจระดับความรู ความสามารถ อาชีพ 3.2 วัตถุประสงคของรายการ ตองกําหนดวัตถุประสงคใหชัดเจน (กรมประชาสัมพันธ คือ การนําเสนอขอเท็จจริง เช่ือถือได) ตองกําหนดใหชัดเจนวา ผูฟงไดเรียนรูอะไรบาง เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางไหน แตละรายการใหกําหนดวัตถุประสงคเพียง 1 หรือ 2 วัตถุประสงคเทาน้ัน โดยมีการกําหนดขอเท็จจริงมาเปนแนวคิดเพื่อกําหนดเน้ือหาของรายการ 3.3 วิธีการนําเสนอ ทําอยางไรใหคนสนใจ โดยไมจําเปนที่จะตองเนนเรื่องความรูมากนัก 3.4 มีสื่อสนับสนุน เชน เพลงหรือโฆษณา 3.5 การมีสวนรวมกับผูฟง ทําใหผูฟงมีปฏิกิริยาตอบสนอง 3.6 การประเมินผล ประเมินดูวา รายการทําไดดีมากนอยแคไหน โดยใชแบบทดสอบ สัมภาษณหรือโทรศัพท จดหมาย เพื่อนํามาปรับปรุงรายการใหดีย่ิงข้ึน 4.การเตรียมผลิตรายการวิทย ุ 4.1 ข้ันเตรียมการ โดยมีจุดประสงควา จะผลิตรายการประเภทใดรูปแบบของรายการ สรุปไดดังน้ี 4.1.1 รายการสนทนา ต้ังแต 2 คนข้ึนไป 4.1.2 รายการสัมภาษณ ต้ังแต 2 คนข้ึนไป ผูถูกสัมภาษณอยางนอย 1 คน 4.1.3 รายการอภิปราย มีหลายคน 4.1.4 รายการสารคดี 4.1.5 รายการนิตยสารทางอากาศ มีขาว -เพลง-สารคดี-สัมภาษณ 4.1.6 รายการขาว รายงานขาวเหตุการณที่เกิดข้ึน รวดเร็ว สั้นชัดเจน 4.1.7 รายการบรรยายเหตุการณนอกสถานที่จากจุดที่เกิดเหตุ 4.1.8 รายการเพลง

Page 18: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

18

4.1.9 รายการละคร 4.1.10 รายการปกิณกะ เกร็ดความรู ไมจําเปนตองเช่ือมโยงกัน 4.2 การเตรียมการตองมีการวางแนวการผลติประชุมวางแผนวาจะจัดอยางไร 4.2.1 ข้ันศึกษา เน้ือหาผูเขียนบทจะตองศึกษาอยางถองแท เพื่อเตรียมตัวในการ เขียนบท 4.2.2 ข้ันลงมือเขียนบท ตามที่วางแนวเอาไว มีการแกไขพิมพบทใหเพื่อนรวมงานเตรียมวัสดุในการผลิตรายการตามบทที่เขียนไว 4.2.3 จองหองบันทึกเสียง มี 2 ข้ันตอน 1) ข้ันซักซอม มีการซอมแหงใหมีความคุนเคยกอนที่จะซอมกับไมโครโฟน และซอมในหองบันทึกเสียง 2) ข้ันลงมือผลิต มีการบันทึกรายการ ผูรวมงานตองมากอนเวลา การตรวจสอบคิว เมื่อบันทึกรายการเสร็จแลวจะตองตรวจสอบดูกอนวา จะตองแกไขอะไรบาง

Page 19: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

19

หลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง การจัดรายการวิทยุกระจายเสียงใหมีคุณภาพ ควรยึดหลักดังน้ี 1. หลักการจัดวิทยุกระจายเสียง การทําหนาที่ตอสื่อมวลชนที่ดี คือ การมีความรับผิดชอบตอสังคม และถาหากตองการเปนนักจัดรายที่ดี กอนทีจะพูดเพื่อกระจายเสียงผานสื่อวิทยุทุกครั้งตอง "ย้ิมกับไมโครโฟน" สื่อวิทยุกระจายเสียงเปนสื่อที่สําคัญในกระบวนการสื่อสาร คือ 1.1 การใหขาวสาร 1.2 การทําหนาที่ถายทอดมรดกทางสังคม 1.3 การใหการศึกษา 1.4 การใหความบันเทิง

2. การจัดรายการวิทยุกระจายเสียง ตองมี 3 ตอง คือ 2.1 ตองมีองคความรู (Body of know Ledge) 2.2 ตองมีทักษะ (Skill) 2.3 ตองมีศิลปะ (Art full)

3. หลักแหงความสําเร็จ การจัดรายการคือ 3.1 ผูรู ผูจัดรายการตองรูเรื่องราวที่ตัวเองจะนําไปพูดในรายการอยางละเอียด และตองทําความเขาใจเน้ือหาที่จะพูด อยางลึกซึ้งสามารถที่จะพูดออกมาไดอยางตอเน่ืองและเปนระบบ โดยไมตองดูบทเปนหลัก 3.2 ผูต่ืน ผูจัดรายการตองมีความต่ืนตัวตลอดเวลาที่เขาไปจัดรายการ และตองรูวาตัวเองพูดอะไรออกไป และตองคํานึงดวยวา คําพูดกับตัวเองมีผลกระทบกับใคร และตองคิดเสมอวาคําพูดน้ัน ผูฟงรับรู (Perception) และไดอะไรบาง 3.3 ผูเบิกบาน ผูจัดรายการ เมื่อเขาไปอยูในหองสงจะตองเปนผูเบิกบาน แจมใส พูดแตสิ่งที่ดี ๆ สรางสรรค ไมตรึงเครียดกับผูฟง แตไมถึงกับราเริงจนเกินเหตุ ไมควรพูด 2 แง 2 งาม

4.การจัดรายการวิทยุกระจายเสียงตองทํางานดวย หลัก 6T และ 3H 4.1 Topic คือ ตองมีวัตถุประสงค หัวของเรื่องที่ชัดเจน แจมชัด ในการ ทํางาน 4.2 Target คือ การจัดรายการวิทยุกระจายเสียงตองรูจักกลุมเปาหมายของเรา 4.3 Team คือ การทํางานดานสื่อสารมวลชน ตองมี Team ซึ่งเหมือนกับงานอื่น ๆ เชนกัน 4.4 Tactic คือ ตองมีกลยุทธ ในการนําเสนอ ตองมีกลยุทธในการดึงดูดใจ 4.5 Time คือผูจัดรายการวิทยุกระจายเสียงตองรูจัก "เวลา" "กาลเทศะ" รูจักใชทรัพยากรของ เวลา ใหเปนประโยชนใหมากที่สุด 4.6 Technology คือ นักจัดรายการวิทยุตองรูจักจักเทคโนโลยี เพื่อการเสาะหาแหลงความรู รูจักใชเทคโนโลยี เพื่อการประหยัด เชน Internet เปนตน

Page 20: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

20

5. ปจจัยท่ีการดึงดูดผูฟงใหฟงรายการ 3H 5.1 Head คือ ตองทํางานดวยสมองสติปญญาพิจารณาดวยความรอบ คอบรอบรู 5.2 Hand คือ ทํางานดวยฝมืออันประณีต บรรจง ละเอียด สวยงามนาช่ืนชม 5.3 Heart คือ การทํางานดวยใจ ใฝใจ ใจรัก มีนํ้าใจ เอื้อเฟอ เมตตา อดทน พากเพียร พยายาม การทํางานดานสื่อมวลชน ตองรูจักกับคําวา จรรยาบรรณ คือ ขอควรปฏิบัติในการประกอบอาชีพดานสื่อมวลชน ที่ผูจัดรายการจําเปนตองมีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพของตนเอง ตองมีวินัย (Discipline) คือ ตองรูจักหนาที่ที่ตองปฏิบัติ นอกจากน้ันตองมี ศีลธรรม เปนขอเตือนใจอยูเสมอในกรอบของสังคม (Social Culture) อยูดวย มีกรอบแหงวัฒนธรรมยังไมพอตองรูจักกรอบแหงกฎหมาย (Law) ที่ทําหนาที่เปนขอปฏิบัติของสื่อมวลชนที่ดี แตถาทําไมดีก็จะถูกลงโทษตามกฎหมายบานเมือง

6. ขอควรปฏิบัติในการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง การจัดรายการที่ดี จําเปนตองมีทั้งความรูและศิลปะ นอกจากน้ันยังมีองคประกอบอื่น ๆ ดังน้ี 6.1 กลุมผูฟงเปาหมาย หมายถึง กลุมผูฟงที่ผูผลติรายการตองการจะสงขอมูลขาวสารตาง ๆไปถึงไมวาจะเปนขาวสาร ความรูความบันเทิง ผูจัดรายการตองทราบถึงภูมิหลัง ของผูฟงเชน อายุ เพศ สถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ แนวคิด คานิยม 6.2 การพูด มีความสัมพันธกับวัย และระดับการศึกษาของผูฟงอยางมาก การใชภาษาใหเหมาะสมตลอดจนจังหวะจะโคน และศิลปะของการพูด ตองเปนสื่อในความหมายตอกลุมแมนความแตกตางในสังคม ประเพณี ศาสนา ไมควรพูดศัพทแสลงตาง ๆ จะทําใหคนฟงไดภาษาผิด ๆ จนติดปาก ในเรื่องของภาษาน้ันตองคํานึงถึงภาษาถ่ินตาง ๆ ดวย เพราะจะทําใหรายการประสบความสําเร็จมากข้ึน 6.3 ลีลา การพูด การพูดทางวิทยุกระจายเสียง ไมควรพูดเหมือนการอานหนังสือ แตควรพูดเหมือนกับการสนทนาในหมูเพื่อนฝูง หรือไมใชพูดเหมือนกับการปราศรัย ลีลาการพูดแตละคนมีลีลาเปนแบบฉบับของตนเอง ขอที่ตองคํานึงถึงคือ นําเสียงจะตองแสดงถึงความจริงใจไมแสดงอาการดูถูกตาง ๆ ออกมา 6.4 เพลง เพลงประจํารายการ ที่เรียกวา "Title" หรือ Introduction หรือบางทีก็เรียกเพลงนํารายการ จะใชเพลงบรรเลง หรอื เพลงที่มีเน้ือหาคลายกับรายการ ก็ได - เพลงค่ันรายการ เพลงค่ันรายการจะชวยใหรายการที่มีเน้ือหาหนัก(รายการที่เนนทางวิชาการ) จะทําใหรายการมีการผอนคลาย - การสรางบรรยากาศของรายการ จะชวยทําใหบรรยากาศในการฟงดีข้ึน เพลงที่นําประกอบน้ันควรเลือกสรรใหตรงกับเรื่องที่จะพูด เปนการสรางจินตนาการไปกับสิ่งที่พูดไดดี 6.5 ความหลาก เปนวิธีหรือเทคนิคในการจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อทอดึงดูดความสนใจจากกลุมผูฟงเพื่อแขงขันกับสถานีวิทยุอื่น ๆ เพื่อใหกลุมผูฟงสนใจดังน้ันวิธีนําเสนอรายการ ตองเสนอใหมีความหลากหลาย ในความหลากที่จะเกิดข้ึนมีทั้ง เรื่องภาษา การพูด ลีลาการพูด เพลงประกอบ ในความหลากไมมีกฎตายตัว ผูจัดรายการตองมีการปรับใหสอดคลองกับวัตถุประสงคและสภาพแวดลอมตาง ๆ

7. กระบวนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง มีข้ันตอนตาง ๆดังน้ี 7.1 ข้ันการเตรียมการ 7.1.1 ข้ันการวางแผนการผลิต คือ การกําหนดหัวขอวาจะจัดรายการในเรื่องอะไรบาง มีเน้ือหาอยางไร จะเสนอรายการในรูปแบบไหน ผูฟงคือใคร ออกอากาศเวลาไหน

Page 21: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

21

7.1.2 การเขียนบท เปนการนําเอาความคิด ในข้ันการวางแผนมาขยาย และเขียนรายละเอียดโดยอาศัยจินตนาการของผูเขียน ประกอบกับการคนหาขอมูลที่เกี่ยวของตาง ๆมาเขียนในรูปของบทวิทยุกระจายเสียง 7.1.3 การเตรียมการดานอุปกรณทางเทคนิค เชนการหาวัตถุดิบ เรื่องตาง ๆ ตัวบุคคล สถานที่เสียงประกอบการเขียนบทวิทยุ เทปบันทึกเสียง แผนซีดี ไมโครโฟน 7.2 การซอมกอนออกอากาศ การซอมกอนออกอากาศ เปนการนําสิ่งตาง ๆ มารวมกันและจัดลําดับตามบทที่เขียน แลวทําการซักซอมจัดรายการทั้งหมด พรอมทั้งปรับปรุงแกไขสิ่งบกพรองใหเหมาะสมย่ิงข้ึน โดยการซอมใหกระทําเพียงคราว ๆ 7.3 ขั้นออกอากาศ เปนข้ันตอนที่ทุกสิ่งทุกอยางผานการแกไขเสร็จเรียบรอยแลว รายการตาง ๆ อยูในสภาพที่สมบูรณและนําออกอากาศ 7.4 ขั้นการประเมิน หลังจากที่รายการไดออกอากาศแลว กระบวนการผลิตจะเสร็จสิ้นลง ก็ตองมีการประเมินผลรายการ ที่จัดทําไปน้ันประสบความสําเร็จเพียงใด ดูจากการที่ไดรับความสนใจจากกลุมผูฟง หากรายการไดรับการตอบสมนองจากผูฟงในลักษณะถูกใจผูฟง น่ันคือความสําเร็จ วิธีการประเมิน วัดจาก จดหมาย ไปรษณียบัตร โทรศัพท หรือคําติชมจากเพื่อนรวมงาน ที่มีโอกาสไดพูดคุย การประเมินแบบน้ีเปนการประเมินข้ันพื้นฐาน หากเปนการประเมินตามหลักวิชาการจะตองมีการสํารวจการรับฟง โดยใหหนวยงานที่เช่ือถือไดเปนผูดําเนินการ คือ สํานักงานสถิติจังหวัด มหาวิทยาลัยที่อยูในพื้นที่ การประเมินในลักษณะน้ี จะเปนการสํารวจการรับฟง ของรายการที่ออกอากาศทัง้หมด เพราะการสํารวจแตละครั้ง จะใชงบประมาณมาก แตผลการประเมินจะมีความเช่ือถือมากกวา การที่ไดรับจดหมาย หรือ โทรศัพท เพราะเปนการประเมินผลทางวิชาการ

Page 22: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

22

บทวิทยุกระจายเสียง

บทวิทยุกระจายเสียง หมายถึง ขอความที่บอกความเปนไปของรายการน้ัน ๆ ต้ังแตเริ่มตนจนจบรายการ เพื่อที่จะใหรายการดําเนินไปอยางมีทิศทางในขอบเขตของรูปแบบที่วางไว ซึ่งมีหนาที่ดังน้ี 1. บทวิทยุจะเปนแนวทางใหผูรวมรายการ ทราบวาใครมีหนาที่อะไรจะตองทําตอนไหน 2. บทวิทยุจะตองช้ีถึงเน้ือหาสาระตาง ๆ รายละเอียดและรูปแบบของรายการไดเปนอยางดี 3. บทวิทยุจะเปนคูมือในการเตรียมตัวลวงหนา สําหรับผูที่เกี่ยวของตาง ๆ 4. บทวิทยุจะเปนเครื่องกําหนด หนาที่ในการประสานงานกับทุกฝายของบุคคลที่รวมกันผลิตรายการ

ประเภทของบทวิทยุกระจายเสยีง มี 3 ประเภท 1. บทวิทยุประเภทแสดงเคาโครง มีลักษณะเปนการราง ลําดับเน้ือหา หรือลําดับการทํางาน ใหผูรวมงานไดเขาใจกัน แสดงไวในบทเฉพาะสวน ที่สําคัญเทาน้ัน 2. บทวิทยุประเภทกึ่งสมบูรณ มีรายละเอียดเน้ือหาข้ันตอนไวชัดเจน แตจะมีบางตอน เวนไวเพื่อใหพูดเองตามความเหมาะสม 3. บทวิทยุ ประเภทเต็มรูปแบบ ทีมีรายละเอียดทุกอริยะบท ทุกคําพูดที่จะออกอากาศ

ลักษณะของบทวิทยุกระจายเสียงมี 4 สวนคือ 1. สวนหัวของรายการ ประกอบดวย 1.1 ช่ือรายการ....................... 1.2 ช่ือเรื่อง........................... 1.3 ช่ือสถานี......................... 1.4 วันเวลาที่ออกอากาศ......... 1.5 ความยาวของรายการ........ 2. สวนที่บอกหนาที่ผูรวมงาน วัสดุในการประกอบการแสดง 2.1 ช่ือผูรวมงาน................... 2.2 ผูใหเสียงประกอบ.......... 2.3 เพลงที่ตองใช................. 2.4 ผูควบคุมรายการ............ 2.5 ผูดําเนินรายการ............. 3. สวนของเน้ือหา จะบอกผูเกี่ยวของและสิ่งที่กําหนดใหทํา 4. สวนปดทาย เปนสวนที่แสดงสัญลักษณวา รายการจะจบ ประกาศขอบคุณ

จุดเริ่มตนในการเขียนบทวิทยุกระจายเสียง 1. ริเริ่มใหเกิดแนวคิด 2. นําเอาแนวคิดไปไตรตรองดูความเหมาะสม

Page 23: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

23

3. พัฒนาแนวคิดใหมีความผสมกลมกลืน 4. เริ่มเขียนบท

สวนประกอบของบทวิทยุกระจายเสียง มี 4 สวน 1. สวนเริ่มรายการ เปนการเรงความสนใจใหคนฟง ใชเวลา 10 % 2. สวนของรูปแบบรายการ เปนการนําผูฟงเขาสูรายการใชเวลา 30 % 3. สวนประทับใจใชเวลา 50 % ของเวลาทั้งหมด 4. สวนสรุป คือ สรุปเน้ือหาทั้ง 3 สวน ที่กลาวมาแลวใชเวลา 10%

ลักษณะของรายการวิทยุกระจายเสียงท่ีดี 1. ตองมีวัตถุประสงคที่แนชัดและสามารถถายทอดขอมูลขาวสารไดตรง ตามวัตถุประสงค 2. ตองมีความนาสนใจที่จะติดตามรับฟงโดยตลอด 3. ตองมีความตอเน่ืองไมขาดสาย 4. ตองอยูในเวลาที่กําหนด โดยปกติรายการที่จัดจะตองเผื่อไวสําหรับประกาศรายการ 1-2 นาที 5. ตองมีความเหมาะสมกับกาลเทศะ ตรงกับความตองการของผูฟง 6. การออกเสียงภาษาไทยตองชัดเจนถูกตอง 7. ไมขัดตอความเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของชาติ 8. ตองมีสวนชวยในการพัฒนาสังคมและผูฟง

ลักษณะของนักจัดรายการท่ีดี 1. มีความรับผิดชอบในการจัดรายการอยางตอเน่ือง และตองมีความรับผิดชอบตอรายการและผูฟง 2. เปนผูมีปฏิภาณไหวพริบ รูจักเลือกเรื่องที่จะนําเสนอ รวมทั้งการปรุงแตงใหเหมาะสมและนาสนใจ 3. เปนผูมีรสนิยมดี 4. เปนผูมีมนุษยสัมพันธดี สามารถทํางานเปนทีม สามารถติดตอและสรางความสัมพันธอันดีตอบุคคลทั่วไป 5. ตองรูจักควบคุมอารมณตัวเองใหคงที ่เพราะตองเผชิญทั้งชมและคําดา ผูจัดรายการที่ดีจะไมหลงระเริงกับคําชม ตองไมหว่ันตอคําติของผูฟง 6. ตองมีความเสียสละ ทุมเทเวลา เพื่อการจัดและพัฒนารายการที่ตนรับผิดชอบอยูตลอดเวลา 7. ตองมีความต่ืนตัวและกระตือรือรนอยูเสมอ 8. ตองเปนนักฟงที่ดี 9. ตองเปนคนชอบอานหนังสือ คนควาเรื่องราวตาง ๆ และสนใจขาวสารรอบดาน

ตัวอยาง การเขียนบท วิทยุกระจายเสียง บทรายการ "สมายเรดิโอ สรางสุขดวยดวยรอยย้ิม" การประกวด ดีเจ เยาวชนตอตานยาเสพติดยอดเย่ียมระดับเขต จัดโดย สํานักประชาสัมพันธเขต 6 ดําเนินรายการ โดย 1.นายสุทธิพงษ รัตนะ (ใหม) ม.5/1 2.นายอุทัย นุนดํา (จิ๋ว) ม.5/1

Page 24: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

24

โรงเรียน พัทลุงพิทยาคม อําเภอเมือง จ.พัทลุง สปอต "รวมเลือดเน้ือ" ซีดีแผนที่ 1 เวลา 30 วินาท ีเพลงประกอบรายการ เพลงอมพระมาพูด เทป เพลงที่ 1 เวลา 3.15 นาท ีผูดําเนินรายการ (ใหม): สวัสดีครับ ยินดีตอนรับทานผูฟงเขาสูรายการ สมายเรดิโอ สรางสุขดวยรอยย้ิม เพื่อใสวัยทีน หางไกลยาเสพติด ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยจังหวัดพัทลุง 98 Mz เราจะอยูดวยกัน 30 นาทีเต็ม ตรงน้ี ต้ังแตเวลา 13.30 -14.00 น. กับดีเจ อารมณดี ผม สุทธิพงษ รัตนะ ใหมครับ และผม อุทัย นุนดํา จิ๋วครับ ผูดําเนินรายการ (จิ๋ว) สมายเรดิโอ สรางสุขดวยรอยย้ิม มอบสาระบันเทิงใหกับเยาวชนวัยแหงการสรางสรรค วัยที่พรอมไปดวยพลังกาย พลังใจและพลังความคิด ทานผูฟงทานใดตองการพูดคุยกับเรา 2 คน โทรเขามาไดที่หมายเลขโทรศัพท 074-635521 ยํ้าอีกครั้งหน่ึงนะครับ 074-635521 วันน้ีเรามีเรื่องราวที่นาสนใจมากมายมาน่ังพูดคุยกับทานผูฟงในรายการ มีเรื่องอะไรบางครับ คุณใหม ผูดําเนินรายการ (ใหม) ชวงแรกของรายการ คือ ชวงถามมาตอบไป ก็จะตอบคําถามของทานผูฟงทั้งทางจดหมายและโทรศัพท ชวงที่ 2 คือชวงนานาสาระ มีบทสัมภาษณดารายยอดนิยมเกี่ยวกับยาเสพติดในปจจุบัน และชวงสุดทายบอกขาวเลาตอ มีขาวสารเกี่ยวกับยาเสพติดพูดคุยกนัดวยนะครับ ผูดําเนินรายการ (จิ๋ว) กอนที่จะเขาสูชวง ถามมาตอบไป ขอใชเวลาตรงน้ีประกาศผลประกวดคําขวัญรณรงคตอตานยาเสพติด เน่ืองในวันตอตานยาเสพติด วันที่ 26 มิถุนายน ที่จะถึงน้ี ซึ่งรายการไดจัดใหมีการประกวดเมื่อสัปดาหที่แลว เพื่อเปนการรณรงคเกีย่วกับการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ครับ เพลงประกอบรายการ เพลงเกิดมาเพื่อรักเธอ เทป เพลงที่ 2 เวลา 3.30 นาที สปอต เรื่องยาเสพติด เวลา 30 วินาท ี ตอน เราอยูไหน หางไกลยาเสพติด ซีดี แผนที่ 2 ขอความที่ 1

ดําเนินรายการไปจนจบรายการ......ในเวลา 30 นาที..........................

ตัวอยางบทวิทยุกระจายเสียง ของ โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง อ.เมืองยะลา บทวิทยุ รายการวัยมันส พันธุใหม ออกอากาศ วันเสาร เวลา 10.35-11.00 น. ความยาว 29.31 นาที ทาง สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จ.ยะลา ระบบ FM.92.0 Mhz ดําเนินรายการ โดย นางสาวปาลีรัฐ กาญจนภูม ิ นางสาวณหทัย วิชชุรัตน สัมภาษณ นายสมพิศ เพ็ชรประยูร นางสาวนิชพัฒน พัฒนปรีชากุล นายกฤษฎา เพชรรักษ ลําดับ เสียง เน้ือหา เวลา เพลงไตเต้ิล เพลงพระจันทรสีนํ้าเงิน ซีดี รองที่ 1 3.40 นาที

Page 25: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

25

ผูดําเนินรายการ

สวัสดี คุณผูฟงพบกับรายการวัยมันสพันธใหม กับดิฉันปาลีรัฐ กาญจนภูมิ แปงคะ และ ณหทัย วิชชุรัตน กูดคะ เรา 2 คน กับรายการวัยมันส พันธุใหม ที่มีความมันในตัวเอง มีความคิดแปลกใหมในการนําสิ่งดี ๆ และที่สําคัญตองไมยุงเกี่ยวกับยาเสพติดดวยนะคะ และแนนอนคะวันน้ีรายการ วัยมันสวันใหม ของเราก็นําเรื่องราวที่เกี่ยวกับยาเสพติดที่นารูและเปนประโยชนแกผูฟง และเพื่อน ๆมาฝากกันดวย หลาย ๆ คนคงจะใหคํานิยาม คําจํากัดความยาเสพติดแตกตางกันไปนะคะ ยาเสพติดสําหรับแปง หมายถึงยาหรือสารที่เสพเขาสูรางกายแลวมีผลกระทบที่รายแรงตอสุขภาพรางกายและจิตใจ แปงวาหลาย ๆ คน คงคิดเชนเดียวกันกับแปงใชไหมคะ วาโทษของมันรายแรงคาไหน

แนวคิดท่ัวไปเก่ียวกับเสียง เสียงเปนสิ่งสําคัญอยางย่ิงยวดในการสื่อสารโทรคมนาคม และเพื่อเปนการติดตอในชีวิตประจําวันของมวลมนุษยชาติ เพื่อที่จะใหเกิดสื่อความหมายในแงของเน้ือหาและในแงของอารมณ ความรูสึกตาง ๆจึงมีการแบงเสียงออกเปน 4 รูปแบบ คือ 1. คําพูด เปนสื่อโดยตรงที่ใหความหมายในแงของเน้ือหาที่เกี่ยวกับความคิด หรือเรื่องราวตาง ๆ คําพูดอาจจะอยูในรูปแบบตาง ๆ เชน คําสนทนา การบอกเลา หรือคําบรรยาย เปนบทรองหรือบทเพลง 2. เสียงตามธรรมชาติ เสียงที่เกิดตามธรรมชาตินอกเหนือจากที่เปนคําพูด เชนเสียงนก เสียงนํ้าไหล เสียงลม เสียงฟารอง เปนตน 3. เสียงดนตรี เสียงเฉพาะอยาง ซึ่งเกิดจากการประดิษฐของมนุษย เพื่อทําใหเกิดผลทางอารมณ ความรูสึกทางอารมณ ความรูสึกสูง ๆ ตํ่า ๆ ของระดับเสียง จังหวะและลักษณะตาง ๆของเสียงจากเครื่องดนตรีนานาชนิด 4. เสียงพิเศษ เปนเสียงที่ไมจัดอยูในลักษณะใดใน 3 ขอที่กลาวมาขางตน เปนเสียงที่ประดิษฐข้ึนมาเพื่อสรางความรูสึกทางอารมณโดยเฉพาะเชนเสียงเอกโค เปนตน

ประเภทของเสียง 1. เสียงหลักตามเน้ือหา หมายถึง เสียงใด ๆ ก็ตามที่นําเสนอเน้ือหาของเน้ือเรื่อง ไมวาจะโดยตรงหรือโดยออมก็ตาม เชน เสียงคนพูด 2. เสียงประกอบ เพ่ือประกอบความสมจริง หมายถึง เสียงอันเกิดข้ึนตามธรรมชาติของสิ่งตาง ๆทําใหเกิดความรูสึกที่สมจริง เชน เมื่อเห็นภาพแกวตกมาแตกก็จะตองมีเสียงแกวแตกใหไดยินดวย 3. ดนตรีประกอบ หมายถึง เสียงดนตรีที่นํามาประกอบเพื่อใหเกิดความสมจริงและสรางบรรยากาศทางอารมณคลอยตาม เสียงประกอบมีอิทธิพลเชิงจิตวิทยาสูงมาก เปนตัวลดความขัดแยงที่เกิดข้ึนของเน้ือหา 4. เสียงประกอบพิเศษ หมายถึงการสรางเสียงที่จงใจเพื่อผลทางจิตวิทยาโดยตรง เพื่อเปนสัญลักษณแทนบางสิ่งบางอยาง เชน เณรนอยเจาปญญา มีการเคาะไมกะโหลก และพอคิดออกก็จะมีเสียง "ปง" ออกมา เปนตน

Page 26: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

26

วัตถุประสงคของการใชเสียง เสียงเปนองคประกอบหน่ึงในการนําเสนอ ฉะน้ันการนําเสนอใหเกิดความสมบูรณ และเปนการเสริมสรางการดําเนินเรื่องราวตาง ๆใหสมจริง การโนมนาวอารมณ ความรูสึกไปในทิศทางที่ตองการ โดยแบงการใชเสียงออกเปน 3 ประการ 1. การนําเสนอเน้ือหา หมายถึง การนําเสนอสวนที่เปนสาระ เชน เหตุผล เหตุการณ เรื่องราว ความรู ความคิด การนําเสนอเน้ือหาดวยเสียงน้ัน มีรูปแบบหลัก ๆ อยู ไดแก 1.1 การบรรยาย เชน การบรรยายสารคดี 1.2 การสนทนา เชน พิธีกรพูดกับผูฟง 1.3 เสียงสิ่งของตาง ๆ ที่เปนสวนของเน้ือหาที่ไมใชเสียงพูด เชน เครื่องดนตร ี 1.4 เสียงของบรรยากาศ สิ่งแวดลอมในขณะน้ันเชน เสียงที่ชวยบอกวาในขณะน้ันตัวละครอยูที่ไหน คือ คลื่นทะเล เสียงนํ้าตก เปนตน 2. การสงเสริมอารมณ ความรูสึก จินตนาการ คือการสงเสริมเน้ือหาใหเกิดอารมณความรูสึกและจินตนาการเปนองคประกอบสําคัญในการถายทอดการรับรูของมนุษย เชน เมื่อ ฟงไพเราะ ก็จะทําใหอยากฟง 3. การตกแตงรายการ เปนเรื่องของการดําเนินรายการโดยเฉพาะไมเกี่ยวของโดยตรงกับเน้ือหา เชน การประกอบเสียงเปดรายการและปดรายการ

องคประกอบของเสียงในเชิงจิตวิทยา 1. ความดัง 2. การเปลี่ยนแปลงความหนักเบาของเสียง 3. ทวงทํานองของเสียงที่มีผลตออารมณและความรูสึก 4. ความชัดเจนและการมีความหมาย 5. ลีลาและการนําเสนอ 6. ความกลมกลืนและการขัดแยงกับองคประกอบตาง ๆ

ความสัมพันธของเสียงกับเน้ือหาและภาพ ในแงของการนําเสนอถือไดวาภาพและเสียงเปนองคประกอบหลักที่จะใหเน้ือหาสาระอารมณ ความรูสึก สุนทรียภาพและจินตนาการ เสียงจึงเขาไปมีบทบาทอยูทุกสวนในลักษณะตาง ๆ กันดวยเสียงในหลาย ๆ ประเภท ความสัมพันธของเสียงกับเน้ือหา นอกจากเสียงหลักแลว ยังมีในกรณีเสียงประกอบอื่น ๆ เพื่อสรางความสัมพันธใหเขากับเน้ือหาที่นําเสนอ มีจุดประสงคและสงเสริมใหสิ่งที่ขาดหาย เกิดความชัดเจนข้ึน เชนเสียงประกอบพิเศษ เปนตน ความสัมพันธระหวางเสียงกับภาพ ในฐานะที่เสียงและภาพเปนสื่อในการเสนอเน้ือหาสาระเพื่อใหเกิดอารมณ ความรูสึก ขอสําคัญในการพิจารณาความสัมพันธระหวางเสียงกับภาพคือ 1. เน้ือหาหลัก จะถายทอดเปนภาพหลัก 2. เสียงประกอบอื่น ๆ จะนําเขามาพิจารณาเปนลําดับถัดไป ในลักษณะเติมสวนที่ขาดใหได 100 %

Page 27: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

27

ศิลปะการพูดทางวิทยุกระจายเสียง

การพูดทางวิทยุกระจายเสียง ประกอบดวย

1. เสียง การพูดทางวิทยุกระจายเสียงนับวาเปนศิลปะ อยางหน่ึงที่จะตองประกอบดวยความรูความชํานาญ การพูดทางวิทยุกระจายเสียง เปนการพูดระหวางผูพูดกับผูฟงที่ไมไดเห็นหนากัน ไมไดเห็นแววตาหรือกิริยาอาการซึ่งกันและกัน ผูพูดจึงมีแตเสียงและคําพูดของตนเทาน้ันที่เปนเครื่องมือ สื่อถึงและชักจูงผูฟงใหติดตามรับฟงการพูดน้ัน ๆไปโดยตลอดดังน้ันความจําเปนในเบื้องตนของผูพูดวิทยุกระจายเสียงที่เอาชนะจิตใจของผูฟงจึงเปนเรื่องของเสียง โดยมีขอแนะนําวา เสียงหรือนํ้าเสียงที่เปลงออกมาจะตองเปนเสียงที่แสดงความมั่นใจ มั่นคง ปราศจากอาการลังเล ไมแนใจ ทั้งน้ีดวยเหตุผลที่วาถาหากผูฟงจับไดวา แมนแตตัวผูพูดเองก็ยังไมแนใจ ขาดความเช่ือมั่นมีความลังเลในสิ่งที่พูดออกมา ผูฟงยอมขาดความเลื่อมใส ที่จะฟงทันท ี

2. อารมณ สวนประกอบที่สําคัญประการหน่ึงในการพูดทางวิทยุกระจายเสียงก็คือ อารมณ โดยธรรมชาติแลว อารมณจะมีสวนสัมพันธอยางลึกซึ้งกับเสียงหรือนํ้าเสียงที่เปลงออกมาเสมอ เชน เวลาโกรธ เสียงหรือนํ้าเสียงที่จะพูดออกมาจะเปนอีกอยางหน่ึง เวลาที่มีความเศราเสียใจก็จะเปนอีกอยางหน่ึง หรือยามที่มีอารมณต่ืนเตนดีใจ นํ้าเสียงที่เปลงออกมาก็จะเปนไปในอีกลักษณะหน่ึง เปนตน จึงมีคําเปรียบเทียบเกี่ยวกับเสียงและอารมณของผูพูด ในดานวิทยุกระจายเสียงวา เสียงที่เปลงออกมาน้ันเปนประดุจกระจกเงา ที่สะทอนใหเห็นอารมณของผูพูด อยาพูดในขณะที่กําลังเหน่ือย กอนพูดอยางรับประทานอาหารใหอิ่มแปล เพราะจะทําใหอึดอัด หรืองวงนอน ตองทําตนใหกระฉับกระเฉง ปรับอารมณใหเบิกบานแจมใส เตรียมพรอมที่จะพูดในเรื่องที่เตรียมไว แลวรายการที่ผลิตเสียงและคําพูดที่พูดออกอากาศไปจะพลอยทําใหผูฟงมีอารมณแจมใสเบิกบาน และติดตามรับฟงการพูดของนักจัดรายการไดอยางเพลิดเพลิน โดยใหคํานึกตลอดเวลาคือ "ย้ิมเสมอเมื่อพูด" หรือ "จงย้ิมกับไมคเสมอ"

3. ภาษาพูดหรือคําพูด การพูดทางวิทยุกระจายเสียงเปนศิลปะอยางหน่ึง และเปนศิลปะที่จะตองประกอบดวยความรูความชํานาญ ที่เปนจะสวนสนับสนุนสงเสริม และนํ้าเสียงที่ใชเปนสิ่งดึงดูดใจผูฟงในเบื้องตนแลว ภาษาที่ใชหรือคําพูด ก็นับเปนสิ่งสําคัญย่ิง ถึงแมนวาผูพูดจะเปนคนที่มีเสียงไพเราะ และภาษาที่ใชพูดดวยวาเหมาะสมกับการที่จะนํามาใชสําหรับงานวิทยุกระจายเสียงหรือไมเพียงใด คําวาภาษาที่ใชพูดในที่น้ีก็มิไดหมายความวาภาษาไทย ภาษาตางประเทศ ภาษาทองถ่ิน หรือภาษากลางแตอยางใด หากหมายถึงคําพูดที่ใชสื่อถึงกันระหวางผูพูดกับผูฟงทางวิทยุกระจายเสียงเทาน้ัน คือจะตองคํานึงวาจะพูดอยางไร ใชคําพูดอยางไรคนฟงถึงจะชอบฟง ฟงแลวเขาใจไดโดยงายหรือไม ภาษาที่เราใชกันอยูตามปกติมีสองภาษา คือ

3.1 ภาษาเขียน 3.2 ภาษาพูด ผูพูดทางวิทยุกระจายเสียงที่ดีจะตองมีความเขาใจเรื่องน้ีอยางมาก เพราะตองพยายามใหภาษาที่นํามาใชพูดทางวิทยุกระจายเสียงน้ัน เปนภาษาที่เขาใจงาย ฟงเปนกันเอง แตไดความหมาย ที่แจมชัดสําหรับผูฟงดวย โดยมีหลักงาย ๆคือการใชภาษาที่ใชกันเปนปกติธรรมดาที่สุด ฟงเขาใจงาย ตรงไปตรงมา ดังน้ี

Page 28: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

28

3.2.1 ใชภาษาที่ฟงแลวเขาใจงายที่สุดเทาที่จะทําได พยายามหาถอยคําหรือประโยคสั้น ๆ งาย ๆ ฟงแลวเขาใจทันท ี 3.2.2 การพูดทุก ๆ ตอน จะตองแสดงความหมายในแงเดียว ไมมีการขัดแยงกันเองหรือลังเลใจ 3.2.3 ใชภาษาสุภาพนาฟง การพูดทางวิทยุกระจายเสียงตองพูดอยางใหเกียรติและยกยองผูฟง อยาทําใหผูฟงรูสึกวา ผูพูดดูถูก เห็นผูฟงเปนคนโง ดังน้ันภาษาหรือถอยคําที่ใชนอกจากจะฟงงายไดใจความแลว ยังตองเปนคําสุภาพและไมยกตนอยูเหนือผูฟงดวย 3.2.4 ไมพูดนอกเรื่องโดยไมจําเปน ความจริงการมีอารมณขันน้ันเปนสิ่งที่ดีสําหรับนักกระจายเสียง หรือนักจัดรายการมาก เพราะเปนเครื่องประกอบอยางหน่ึงของศิลปในการพูดแตตองระมัดระวังไมนํามาปะปนกับการพูดตลก การพูดทางวิทยุกระจายเสียง จะตองเริ่มตนดวยการเตรียมพรอมทั้งกายและใจ คือกอนพูดตองไมเหน่ือย ไมงวงนอน ทําตัวใหกระฉับกระเฉง มีความกระตือรือรนที่จะพูด ปรับอารมณใหเบิกบานแจมใส มีความเช่ือมั่น ความจริงใจ และมีความรูเกี่ยวกับเรื่องที่จะพูดเปนอยางดี และเมื่อน่ังตอหนาไมโครโฟนแลวตองนึกวากําลังพูดอยูกับใครคนใดคนหน่ึง วิธีการพูดและนํ้าเสียงจะตองฟงเปนกันเอง และนุมนวลมากกวาจะนึกวากําลังพูดอยูกับคนเปนจํานวนมาก ๆ การพูดควรพูดใหเปนธรรมชาติมากที่สุด ใชเสียงของผูจัดโดยธรรมชาติ ประกอบกับ ภาษาหรือคําพูดที่งาย ๆ ไดขอความพยายามใหกะทัดรัดที่สุด ใสความรูสึกนึกคิดไปตามเรื่องราวที่พูดไว แลวพยายามตะลอมเขาหาจุดโดยเร็วที่สุด โดยการยกตัวอยางใหกระจางกอน แลวจึงพูดเรื่องอื่นตอไป ไมพูดนอกเรื่องหรือวกไปวนมา และขอสําคัญอีกอยางหน่ึง คือ ทุก ๆ ประโยค ทุก ๆ ถอยคํา ที่ไดพูดออกไปน้ันจะตองแสดงถึงความรูและความมั่นใจของผูจัดรายการดวย

การอานขาวและบทความทางวิทยุกระจายเสียง การอานขาวและบทความทางวิทยุกระจายเสียง ตองคํานึงถึงความถูกตองตามหลักเกณฑ หรืออักขรวิธี ถึงแมนวาจะเคยใชในชีวิตประจําวันอยูก็ตาม แตการที่จะเปนนักพูดหรือผูอานขาวทางวิทยุกระจายเสียงที่ดีไดจะตองไมน่ิงเฉย ตองหมั่นคนควาศึกษาเพิ่มเติมอยูเสมอ ควรมีคูมือในการออกเสียงไวใช เชน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน และเอกสารอื่นที่ใหความรูเกีย่วกับภาษาไทย โดยเฉพาะเรื่องการอานออกเสียงตาง ๆ ประกอบกับวิธีการหรือที่เรียกวา ลีลาการอาน ซึ่งเปนเรื่องสําคัญสําหรับนักวิทยุกระจายเสียงมาก ถึงแมนจะอานหนังสือไดถูกตองตามอักขระวิธีทั้งหมดไมผิดพลาด แตลีลาการอานไมดี ผูฟงก็จะไมเขาใจ หรือฟงเพียงผาน ๆ ไมดึงดูดใจผูฟง บางครั้งการอานลีลาไมดี ก็จะทําใหเรื่องที่อานขาดความสําคัญหรือขาดความไพเราะตามเน้ือหาไปได ลีลาการอานที่ดีจึงเปนคุณสมบัติที่สําคัญของผูที่อานหนังสือ โดยเฉพาะอยางย่ิงการอานทางวิทยุกระจายเสียง ไมวาจะเปนบทความหรือการอานขาว หรอืคําประพันธใด ๆ ก็ตาม สวนเรื่องการออกเสียงดังหรือไมดังเพียงใด ที่เรียกวา ระดับเสียง ในการอานออกเสียงน้ัน พระยาอุปกิตติศิลปะสาร อาจารยภาษาไทย เคยสอนวา "ตองอานใหชัดและดังพอที่จะไดยินทั่วถึงกัน แตก็ไมดังเกินไปจนเปนรองขายขนม " ดังน้ัน การอานขาวและบทความทางวิทยุกระจายเสียงจึงประกอบดวย 2 ประการ คือ 1. ความถูกตองตามอักขระวิธี หรือ หลักการอานภาษาไทย

Page 29: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

29

2. มีลีลาการอานที่ดี

ขอแนะนําบางประการในการประกาศและการเสนอรายการ 1. หากทานเปนผูประกาศ จงคิดและเตรียมเรื่องที่ทานกําลังจะพูด 2. พูด หรือ ประกาศดวยเสียงที่จริงจังและจงเปนผูรอบรู จงอยาแสดงความละเลยหรือเบื่อหนายตอเหตุการณใด ๆ 3. จงมีสมาธิอยางเต็มที่ตอสิ่งที่ทานกําลังจะพูด 4. อยาประกาศขอความใด ๆ ที่ยาวเกินไป 5. ใหตรวจสอบนาฬิกาตาง ๆ ตรงดีแลวหรือ เมื่อแจงเวลา จงตรวจสอบเวลาเหลาน้ันวาเที่ยงตรงหรือไม 6. อยาขอโทษ ที่ยืดยาวเกินไป เพราะผูฟงลืมเร็ว 7. เตรียมเพลง 1 เพลง เพื่อเตรียมพรอมตลอดเวลา และจงใชเพื่อแกปญหาตาง ๆ เพื่อชวยใหการนําเสนอราบรื่น 8. อยาใชภาษาพูดที่ไมสุภาพในหองสง หรือในบริเวณหองบันทึกเสียง ทานอาจจะพูดบางสิ่งบางอยางที่ไมสุภาพขณะที่ไมโครโฟนเปดอยู 9. อยาพูดเร็วนัก จงพูดดวยความเร็วที่ตางกัน หยุดระหวางเรือ่งและยอหนา 10. เตรียมบทที่จะอานไวใหพรอม เชนคําเตือนเรื่องแผนดินไหว หรือคําแถลงของรัฐบาล หรือประกาศภาวะฉุกเฉิน 11. ใหบันทึกเสียงของตนเองแลวหาคนมาวิจารณ 12. ตองจริงใจ และเปนตัวของตัวเอง อยาพยายามเลียมแบบใคร เพราะจะไมเปนธรรมชาติ 13. ตรงตอเวลาในการออกอากาศ (แตตองมาเตรียมตัวกอนออกอากาศ) 14. เมื่อไมมีอะไรจะพูด จงเงียบ

Page 30: คํานํา · 2014-06-25 · 5 1.2.1 รายการแพทย รายการตอบป ญหาสุขภาพ 1.2.2 รายการสตรี เช

30

บรรณานุกรม

ธานี แมนญาติ รายการสารคดี , เอกสารประกอบคําบรรยายของโรงเรียนการประชาสัมพันธ , 2527 นงลักษณ สุทธิวัฒนพันธ , กลยุทธการประชาสัมพันธ , กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ อัลฟา พับลิชช่ิง , 2545 จํานวน หนา 216 นภาภรณ อัจริยะกุล , นิตยสารทางอากาศ เอกสารประกอบคําบรรยายของโรงเรียนการประชาสัมพันธ , 2527 พิศิษฐ ชวาลาธวัช , ว่ิงไปกับขาว กาวไปกับโลก ,กรุงเทพมหานคร : อินฟอรมีเดีย บุคส, 2546 สุโขทัยธรรมาธิราช , มหาวิทยาลัย . สาขาวิชานิเทศศาสตร . เอกสารการสอนชุดวิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวิทยุและโทรทัศน (Introduction to Radio and Television) ,2537 สุรินทร แปลงประสบโชค , หลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง เอกสารประกอบคําบรรยายของโรงเรียนการประชาสัมพันธ , 2527 อัจฉรา หัสบําเรอ , ศิลปะการพูดทางวิทยุกระจายเสียง เอกสารประกอบการบรรยายของโรงเรียนการประชาสัมพันธ , 2527 อชัถยา ช่ืนนิรันดร , หลักการผลิตรายการวิทยุ , เอกสารประกอบคําบรรยาย สถาบันราชภัฏภูเก็ต , 2540