คํานํา · และบุคลากรได...

52
คํานํา นโยบายดานการศกษาตามปฏญญาของประชาคมอาเซยน มเปาหมายท ่จะใหทุก ประเทศในประชาคม ม การพัฒนามาตรฐานการศ กษา เพ ่อสงเสร มการหมุนเว ยนของนักศกษา และอาจารยในอาเซยน รวมทังใหมการยอมรับในคุณสมบัตทางวชาการรวมกัน การสงเสรม ความรวมมอระหวางสถาบันการศกษา การแลกเปล ่ยนนักศกษาและพัฒนาระบบการศกษา ตลอดจนสงเสรมและเพ ่มพูนความรวมมอระหวางสถาบันการศกษาของประเทศสมาชอาเซ ยน คณะวทยาศาสตรและเทคโนโลย มหาวทยาลัยราชภัฏพระนคร เล็งเห็นผลกระทบตอ การศกษาท ่จะเกดข นภายใตการใชปฏญญาอาเซยนดานการศกษาในป พ.ศ. 2558 จงไดม แผนการเตรยมความพรอมเพ ่อกาวสูประชาคมอาเซยนอยางตอเน ่อง โดยในป พ.ศ. 2555 ได ประสบความสําเร็จอยางสูงในการศกษาดูงานท ่คณะวทยาศาสตร มหาวทยาลัยมาลายา จาก ผลสําเร็จครังนันเปนพ นฐานสําคัญท ่คณะวทยาศาสตรและเทคโนโลย จัดทําโครงการพัฒนา หลักสูตรและจัดการเรยนการสอนใหตรงกับสังคมและนโยบายของประเทศ ในระหวางวันท 5-8 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 การดําเนนงานโครงการน ประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค โดยการม วนร วมของผู บร หาร อาจารย ผู สอนและบุคลากร อยางไรก็ตามคณะวทยาศาสตรและเทคโนโลยมเปาหมายความสําเร็จในการรวมมอ ทางวชาการกับมหาวทยาลัยมาลายาท ่ชัดเจน ในปตอไปจะมการจัดโครงการแลกเปล ่ยน นักศกษา การพัฒนาศักยภาพอาจารยในการสอนและการทําวจัย ตลอดจนการพัฒนา หลักสูตรรวมกันอยางแทจรง ทังน ผลสําเร็จของการดําเนนการในโครงการ “ความรวมมอ ทางดานวชาการ ณ ประเทศมาเลเซย ภายใตโครงการแลกเปล ่ยนทางวชาการระหวาง มหาวทยาลัยราชภัฏพระนครกับมหาวทยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซย” จะสงผลตอการ พัฒนาคุณภาพนักศ กษา บุคลากรและอาจารย ของคณะว ทยาศาสตรและเทคโนโลย ในอนาคต คณะผูจัดทํา

Upload: others

Post on 17-Jul-2020

20 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

คํานํา

นโยบายดานการศึกษาตามปฏิญญาของประชาคมอาเซียน มีเปาหมายที่จะใหทุกประเทศในประชาคม มกีารพัฒนามาตรฐานการศกึษา เพื่อสงเสรมิการหมุนเวยีนของนักศึกษาและอาจารยในอาเซียน รวมทั้งใหมีการยอมรับในคุณสมบัติทางวิชาการรวมกัน การสงเสริมความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษา การแลกเปลี่ยนนักศึกษาและพัฒนาระบบการศึกษาตลอดจนสงเสริมและเพิ่มพูนความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซยีน

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เล็งเห็นผลกระทบตอการศึกษาที่จะเกิดขึ้นภายใตการใชปฏิญญาอาเซียนดานการศึกษาในป พ.ศ. 2558 จึงไดมีแผนการเตรียมความพรอมเพื่อกาวสูประชาคมอาเซียนอยางตอเนื่อง โดยในป พ.ศ. 2555 ไดประสบความสําเร็จอยางสูงในการศึกษาดูงานที่คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมาลายา จากผลสําเร็จครั้งนั้นเปนพื้นฐานสําคัญที่คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จัดทําโครงการพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนใหตรงกับสังคมและนโยบายของประเทศ ในระหวางวันที่5-8 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 การดําเนินงานโครงการนี้ประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคโดยการมสีวนรวมของผูบรหิาร อาจารยผูสอนและบุคลากร

อยางไรก็ตามคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีเปาหมายความสําเร็จในการรวมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยมาลายาที่ชัดเจน ในปตอไปจะมีการจัดโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา การพัฒนาศักยภาพอาจารยในการสอนและการทําวิจัย ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตรรวมกันอยางแทจริง ทั้งนี้ผลสําเร็จของการดําเนินการในโครงการ “ความรวมมือทางดานวิชาการ ณ ประเทศมาเลเซีย ภายใตโครงการแลกเปลี่ยนทางวิชาการระหวางมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครกับมหาวิทยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซีย” จะสงผลตอการพัฒนาคุณภาพนักศกึษา บุคลากรและอาจารยของคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยใีนอนาคต

คณะผูจัดทํา

Page 2: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

สารบัญ

คํานํา .....................................................................................................................กสารบัญ..................................................................................................................ขบทสรุปสําหรับผูบรหิาร........................................................................................... 1รายงานผลการดําเนินงานของโครงการ/กจิกรรม......................................................3

1. หนวยงาน ....................................................................................................................3

2. แผนงบประมาณ..........................................................................................................3

3. ช่ือโครงการ/กจิกรรม ..................................................................................................3

4. ผลผลติที่ไดรับจากโครงการ/กจิกรรม ..........................................................................3

5. การบรรลุเปาหมาย ..................................................................................................... 4

6. การดําเนนิการและกิจกรรม ........................................................................................5

6.1 การศกึษาดูงาน ณ University of Malaya .............................................................5

6.2 การศกึษาดูงาน ณ Open University Malaysia ...................................................26

6.3 การศกึษาดูงาน ณ Nanyang Technological University ......................................36

7. ผลการวเิคราะหขอมูล ...............................................................................................46

8. ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนนิการโครงการ.............................................................48

9. การบูรณาการผลที่ไดรับจากโครงการกับภารกจิอื่น ๆ...............................................48

10. ปจจัยหลักที่สงผลใหโครงการประสบความสําเร็จ ....................................................49

11. อุปสรรคในการดําเนินโครงการ ...............................................................................49

12. แนวทางในปรับปรุงโครงการ/ในการดําเนนิงาน.........................................................49

13. ขอเสนอแนะจากผลการประเมนิเพื่อนําไปปรับปรุงโครงการตอไป ............................49

ภาคผนวก............................................................................................................50

Page 3: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

1

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

โครงการความรวมมือทางดานวิชาการ ณ ประเทศมาเลเซีย ภายใตโครงการแลกเปลี่ยนทางวิชาการระหวาง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครกับ University of Malayaประเทศมาเลเซีย ซึ่งไดดําเนินงานโดยคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีวัตถุประสงคเพื่อแสวงหาความรวมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยช้ันนําของประเทศมาเลเซีย โดยเนนในดานการวิจัยและการพัฒนาการเรียนการสอน กิจกรรมจัดขึ้นในระหวางวันที่ 5 – 8 พฤษภาคมพ.ศ. 2557 มีการศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนแนวคิดดานการทําวิจัย การเรียนการสอน และการพัฒนาหลักสูตรรวมกันกับมหาวิทยาลัยมี ช่ือเสียงสามแหง ไดแก University of Malayaประเทศมาเลเซีย Open University Malaysia ประเทศมาเลเซีย และ Nanyang TechnologicalUniversity ประเทศสิงคโปร จํานวนผูเขารวมโครงการ 24 คน ประกอบดวยอาจารยและบุคลากรของคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี

การดําเนินงานในครั้งนี้ อาจารยและบุคลากรผูเขารวมโครงการไดรับความรู ความเขาใจในการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยสามแหง ไดรับประสบการณในการแลกเปลี่ยนแนวคิดในการทําวจัิยรวมกัน สําหรับ University of Malaya มีการหารอืเพื่อวางแผนกิจกรรมที่สามารถจะทํารวมกันได อาทิเชน การแลกเปลี่ยนนักศึกษาและอาจารย การลงนามความรวมมือทางวิชาการอยางเปนทางการ เปนตน สําหรับ Open University Malaysia อาจารยและบุคลากรไดรับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลาสําหรับผูเรียนที่มีอาชีพประจําทั้งระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ซึ่งมีคนจํานวนมากตองการพัฒนาระดับการศึกษาของตนเอง การศึกษาดูงานทําใหไดเขาใจเรื่องการจัดเตรียมระบบสนับสนุนเพื่อการสอนทางไกล การติดตอสื่อสารเพื่อติดตามและใหคําแนะนําแกนักศึกษา การจัดทําเอกสารและคูมือสําหรับการเรียนการสอนแตละวิชา บทบาทหนาที่ของอาจารยผูสอน อาจารยที่ปรึกษาที่ทําให Open University Malaysia ประสบความสําเร็จในการจัดการศึกษาระบบทางไกล โดยมีหนวยบริการอยูทั่วประเทศ สําหรับการศึกษาดูงานที่Nanyang Technological University อาจารยและบุคลากรไดรับประสบการณเกี่ยวกับการทําวจัิย การจัดการเรยีนการสอนในหองปฏบิัตกิารที่ทันสมัยและเพยีงพอ

การดําเนินการในโครงการประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคของโครงการ และนับไดวาเปนโครงการที่ทําใหอาจารยและบุคลากรเกิดแนวคิดในการพัฒนางาน เกิดความตระหนักในการพัฒนาคุณภาพงานใหทัดเทียมกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ เพื่อรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน ไดรับความรูความเขาใจในวัฒนธรรม เศรษฐกิจ วิธีการทํางานและดําเนินชีวิตของประเทศเพื่อนบาน จึงนับไดวาโครงการนี้ประสบความสําเร็จตั้งแตระดับบุคลากร

Page 4: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

2

คณะและมหาวิทยาลัย อยางไรก็ตามการดําเนินการที่มีความตอเนื่องกันทุกป มีกิจกรรมที่เปนรูปธรรมระหวางนักศึกษาและอาจารยระหวางทัง้สองมหาวทิยาลัย จะนําไปสูความรวมมือทางวิชาการที่แทจริง คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจึงมุงหวังที่จะดําเนินการลงนามความรวมมอืทางวชิาการ และทํากจิกรรมทางวชิาการรวมกับ University of Malaya ในปตอๆ ไป

ขอเสนอแนะในการทําโครงการปตอไป ควรเปดโอกาสใหอาจารยและบุคลากรที่มีความตั้งใจพัฒนาตนเองไดเขารวมโครงการอยางทั่วถึง ควรมีแผนงานความรวมมือระยะยาว(3-5 ป) กับมหาวิทยาลัยในตางประเทศ เพื่อใหมีการเตรียมความพรอมและดําเนินการไดสําเร็จตามวัตถุประสงคและควรจัดใหมีการพัฒนาทักษะการใชภาษาตางประเทศใหกับอาจารย บุคลากร และนักศกึษา

Page 5: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

3

รายงานผลการดําเนินงานของโครงการ/กิจกรรมประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร*************************************

1. หนวยงานคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี

ผูรับผิดชอบ ผศ.ดร.เดช บุญประจักษ (คณบดคีณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย)ี

2. แผนงบประมาณ เงนิงบประมาณ บํารุงการศกึษา อื่นๆ …… (โปรดระบุ)

3. ชื่อโครงการ/กจิกรรมกจิกรรมความรวมมอืทางดานวชิาการ ณ ประเทศมาเลเซยี ภายใตโครงการ

แลกเปลี่ยนทางวชิาการระหวาง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครกับ University of Malayaประเทศมาเลเซยี

ในโครงการพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรยีนการสอนตรงกับความตองการชุมชนตลาดเฉพาะ สังคมและนโยบายของประเทศ กจิกรรมการแลกเปลี่ยนนักศกึษา อาจารยและบุคลากรทางการศกึษาในกลุมประชาคมอาเซยีน

รหัสโครงการ/กจิกรรม 1-212-211-0401งบประมาณที่ไดรับอนุมัติ 450,000

4. ผลผลิตท่ีไดรับจากโครงการ/กิจกรรมรายงานผลการดําเนนิการของโครงการ

Page 6: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

4

5. การบรรลุเปาหมาย5.1 เชิงปรมิาณ

ตัวช้ีวัด หนวยนับ แผน ผล รอยละ หมายเหตุอาจารยและบุคลากร คน 24 24 100

5.2 เชิงคุณภาพตัวช้ีวัด หนวยนับ แผน ผล รอยละ หมายเหตุ

ความพงึพอใจตอการศกึษาดูงานมหาวทิยาลัย 3 แหง

ระดับ มาก มาก 100

5.3 ความทันตอเวลาระยะเวลา

ดําเนนิงานตามแผน

ระยะเวลาดําเนนิการจรงิ

ผลที่ไดรับ หมายเหตุ

5 วัน 4 คนื 4 วัน 3 คนื ทําใหตองรบีเดนิทางเพื่อใหทันตอการดูงาน

5.4 ความคุมคาปจจัยที่ประเมนิ หนวยนับ แผน ผล หมายเหตุ

ปจจัยนําเขา1. งบประมาณ บาท 450,000 492,000 ผูเขารวมจายใน

สวนตาง2. ผูเขารวมโครงการ คน 24 26 มผูีสนใจเขารวม

จํานวนมากกระบวนการ

1. การเตรยีมการกอนการเดนิทาง

วัน 60 45

2. การดําเนินการ วัน 5 43. การประเมนิผล ระดับ มาก มาก

Page 7: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

5

ปจจัยที่ประเมนิ หนวยนับ แผน ผล หมายเหตุผลผลติ

รายงานผลการดําเนนิการ

เลม 1 1

ผลลัพธ1. จํานวนรายวิชาที่มี

การบูรณาการกับโครงการรายวชิา 3 3

2. ความรวมมอื แหง 1 1

6. การดําเนนิการและกจิกรรม6.1 การศึกษาดูงาน ณ University of Malaya

6.1.1 ขอมูลท่ัวไปมหาวิทยาลัยมาลายา (University of Malaya (UM); อักษรยาวี: اونیۏرسیتي

(مالیا เปนมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐ และเปนมหาวิทยาลัยที่เกาแกที่สุดของประเทศมาเลเซียตั้งอยูที่กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย กอตั้งขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2492 โดยปจจุบันมีคณาจารยจํานวน 2,613 คน และในป พ.ศ.2555 มหาวทิยาลัยไดแยกออกมาเปนสถาบันอสิระจากกระทรวงอุดมศึกษาของมาเลเซีย และมีอันดับมหาวิทยาลัยโลกโดย QS World UniversityRankings ประจําปค.ศ. 2012-2013 อยูในอันดับที่ 156 ของโลก ปจจุบันมี ศาสตราจารย ซูลตาน อัสซลาน ฌาญ เปนอธกิารบด ีและ รองศาสตราจารย ดร. โมดฮ อามิน จารารูดินส เปนรองอธกิารบด ี มอีาจารย 2,613 คน เจาหนาที่ 590 คน นักศึกษาระดับปริญญาตรี 13,990คน และ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 11,484 คน จากการสํารวจในป 2553 เว็บไซตทางการคอื www.um.edu.my

Page 8: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

6

ภาพที่ 1 His Royal Highness Sultan Azlan Muhibbuddin Shah Ibni Almarhum Sultan YussufIzzuddin Shah Ghafarullahu-Lah อธกิารบดี

วสิัยทัศนเปนสถาบันการศกึษาที่มีช่ือเสยีงในระดับนานาชาตสิําหรับการเรยีนรู การ

วจัิย นวัตกรรม การตพีมิพผลงานทางวิชาการและการเรยีนการสอน

พันธกจิเพื่อสรางความกาวหนาดานความรู และสรางการเรยีนรูผานการวิจัยที่มี

คุณภาพ และการศกึษาสําหรับประเทศและสําหรับมนุษยชาติ

นโยบายคุณภาพของมหาวทิยาลัยมลายามหาวทิยาลัยมาลายามคีวามประสงคที่จะดําเนินการเรียนการสอนการเรยีนรู

การดําเนนิวิจัย การบรกิารที่มคีุณภาพในการสรางความรู และพยายามพัฒนาอยางตอเนื่องเพื่อประโยชนของทุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งนักศกึษาของมหาวทิยาลัยมาลายา

Page 9: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

7

คานิยมของมหาวทิยาลัยมาลายาการยดึถอืหลักคุณธรรม(Integrity) ความเปนมอือาชีพ (Professionalism)ความเคารพ (Respect) คุณธรรมนยิม (Meritocracy)การศกึษาอยางเสรี (Academic Freedom) การทํางานเปนทมี (Teamwork)การยอมรับฟงความคดิเห็นที่แตกตาง (Open-mindedness) ความคดิสรางสรรค (Creativity)ความรับผิดชอบ (Accountability) ความรับผิดชอบตอสังคม

(Social Responsibility)

เปาหมายทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยมาลายา

เมื่อจบการศกึษาจากมหาวิทยาลัยมาลายาจะสามารถ:1. แสดงใหเห็นถึงความรูและทักษะในสาขาของตนที่ศึกษาปฏิบัติงานวิจัย

อยางเปนมืออาชีพ มีกระบวนการของความคิดที่สําคัญ มีความคิดสรางสรรคและสามารถแกปญหาได

2. สามารถเลือกใชวธิีการที่มีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการขอมูลเพื่อใหบรรลุเปาหมายอยางมืออาชีพที่มคีวามหลากหลายสอดคลองกับมาตรฐานวชิาชีพและสามารถตัดสนิใจบนพื้นฐานของขอมูลที่มอียางเหมาะสม

3. ผลักดันตัวเองอยางตอเนื่องในการพัฒนาตนเองอยางมืออาชีพ และสนับสนุนการพัฒนาของผูอื่น สามารถแสดงความเปนผูนําที่ดี และมีพฤติกรรมที่เปนมืออาชีพเพื่อการจัดการปฏบิัตงิานอยางมปีระสทิธภิาพ

4. สามารถสื่อสารอยางมีประสทิธิภาพกับผูเช่ียวชาญ ชุมชน และมีวสิัยทัศนที่มคีวามรับผิดชอบตอสังคม

5. เคารพและปฏิบัติตามคานิยมของมหาวิทยาลัย ไดแก การยึดถือหลักคุณธรรม (Integrity) ความเปนมืออาชีพ (Professionalism) ความเคารพ (Respect) คุณธรรมนิยม (Meritocracy) การศึกษาอยางเสรี (Academic Freedom) การทํางานเปนทีม (Teamwork)การยอมรับฟงความคิดเห็นที่แตกตาง (Open-mindedness) ความคิดสรางสรรค (Creativity)ความรับผิดชอบ (Accountability) ความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility)

Page 10: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

8

ประวัติ

ประวัติของมหาวิทยาลัยมาลายานั้นเริ่มตั้งแตครั้งเปนวิทยาลัยแพทยศาสตรและวิทยาลัยราฟเฟลส ในสมัยเปนอาณานิคมของประเทศอังกฤษ โดยในชวงป ค.ศ.1900 มีการจัดตั้งโรงพยาบาลแพทยแผนฝรั่งหลายแหงในปนังและสิงคโปร และเริ่มมีการเปดโรงเรียนการแพทยในเวลาตอมาเพื่อรองรับการขาดแคลนบุคลากร ทางการแพทยและการขยายตัวของประเทศจนพัฒนาเปนวิทยาลัยแพทย (King Edward VII Medical College of Medicine) ในปค.ศ.1905 สวนวทิยาลัยราฟเฟลส (Raffles College) เปนวทิยาลัยที่มีการเรียนการสอนทางดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรนั้น กอตั้งขึ้นในป ค.ศ.1928 เพื่อเปดการเรียนการสอนในสาขาวิชาทางภาษาและมีความรวมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยจากประเทศอังกฤษอีกดวย ระหวางชวงปค.ศ.1938-1949 เปนชวงหัวเลี้ยวหัวตอจากภาวะสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางรัฐบาลอังกฤษ British Malaya Government ไดมีการริเริ่มที่จะสรางมหาวิทยาลัยของชาวมาเลเซียขึ้นมา โดยมีการสงนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเบอมิงแฮมของอังกฤษ และอีกหลายทานมาศึกษากระบวนการพัฒนาและความเปนไปได จนกระทั่งในปค.ศ.1949 ไดมีการกอตั้งมหาวิทยาลัยมาลายาขึ้นมาเปนผลสําเร็จจากการรวม วิทยาลัยแพทยศาสตร (King EdwardVII Medical College of Medicine) และ วิทยาลัยราฟเฟลส (Raffles College) ในวันที่ 8 ตุลาคมค.ศ.1949 ณ ประเทศสิงคโปร ในปค.ศ.1959 มหาวทิยาลัยถูกแบงออกเปน 2 มหาวทิยาลัยอันเนื่องจากมีวิทยาเขตหนึ่งอยูในกัวลาลัมเปอรและสิงคโปร และมติเปนเอกฉันทในวันที่ 1มกราคม ค.ศ.1962 มหาวิทยาลัยที่กั วลาลัมเปอรจะช่ือ มหาวิทยาลัยมาลายา สวนมหาวิทยาลัยในสิงคโปรจะใชช่ือมหาวิทยาลัยแหงสิงคโปร (ปจจุบันคือมหาวิทยาลัยแหงชาติสงิคโปร National University of Singapore)

ภาพที่ 2 ตาสัญญลักษณในแตละยุค

Page 11: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

9

คณะสาขาวิชาที่เปดสอนระดับปรญิญาตรี

คณะศลิปศาสตรและสังคมศาสตร (Faculty of Arts and Social Sciences)คณะบรหิารธุรกจิและการบัญชี (Faculty of Business and Accountancy)คณะเทคโนโลยสีารสนเทศและวทิยาการคอมพวิเตอร (Faculty of

Computer Science & Information Technology)คณะทันตแพทยศาสตร (Faculty of Dentistry)คณะเศรษฐศาสตรและการจัดการ (Faculty of Economics &

Administration)คณะครุศาสตร (Faculty of Education)คณะวศิวกรรมศาสตร (Faculty of Engineering)คณะภาษาและภาษาศาสตร (Faculty of Languages and Linguistics)คณะนติิศาสตร (Faculty of Law)คณะแพทยศาสตร (Faculty of Medicine)คณะวทิยาศาสตร (Faculty of Science)คณะสิ่งแวดลอม (Faculty of Built Environment)

อางองิ1. History of UM [homepage on the Internet]. Kuala Lumpur [cited 2014 May 20]. Availablefrom: http://www.um.edu.my/2. University of Malaya [homepage on the Internet].[cited 2014 May 20]. Available from: https://en.wikipedia.org/wiki/University_of_Malaya

6.1.2 ผลการศึกษาในแตละกลุม6.1.2.1 คณาจารยและบุคลากรในกลุมที่ 1

Group 1 Name MentorVisit / Discussion onTeaching & Learningand Research with ISMResearchers

1. MS. SOMKIDSOOTTITANTAWAT2. MR. NATTAPONG SONGNEAM3. MR. NATTHAKORN TONGPIAN

MRS. LAONGTIPMATHURASA

Page 12: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

10

Group 1 Name Mentor4. MR. BOONCHAI AREE-UEA5. MRS. SUNANTA SRIMUANG6. MRS. LAONGTIP MATHURASA

จากการศกึษาดูงานกลุมที่ 1 เสนอแนวโนมและโอกาสในความรวมมอืทางการศกึษา ดังนี้ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะ

การแลกเปลี่ยนศกึษาดูงานระหวางนักศกึษาและอาจารย

-สรางความรวมมอืทางการศกึษาโดยแลกเปลี่ยนนักศกึษาที่ฝกประสบการณวิชาชีพดานคณติศาสตร-เนื่องจากคณะศกึษาดูงานไดพบนักศกึษาจากสาขาวิชาคณติศาสตรมหาวทิยาลัยสงขลานครนิทรฯมาฝกประสบการณวิชาชีพที่นี่เปนระยะเวลา 8 สัปดาห

เนื่องจากกลุมที่ไปศกึษาดูงานนัน้เปนสาขาวิชาทางคณติศาสตรซึ่งไมตรงกับสาขาวชิาวทิยาการคอมพวิเตอรและสาขาวชิาเทคโนโลยสีารสนเทศจงึขอเสนอวาจะขอไปศกึษาดูงานที่ Faculty of ComputerScience and Information Technology ในครัง้ตอไป

6.1.2.2 คณาจารยและบุคลากรในกลุมที่ 2

Group 2 Name MentorVisit / Discussion onTeaching & Learningand Research with ISBResearchers- Bioinformatics- Biochemistry- Biotechnology- Bio health Science- Microbiology- Ecology & Biodiversity- Genetics & MolecularBiology

1. MR. RAMET JUIJULJERM2. MR. KONGAKE SIRINGAM3. MS.THOUCHA RUMMASAK4. MS. PAPASSORNWATTANAKULPAKIN5. MS. WEETHIMAVISALVETHAYA6. MS. CHIDCHUA KAEWPANYA7. MR. ONGKARN VANIJAJIVA8. MS. WISUTTHANA SAMUTSRI

MR. ONGKARNVANIJAJIVA

Page 13: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

11

Group 2 Name Mentor- EnvironmentalScience & Management- Biology

9. MS. KANITTA OUMAREE10. MS. SASIPORNRATTANASUWAN11. MRS. AKUAKULPRASUTIDILOK12. MRS. SARUDANITIWORAKARN13. MRS.ARANYA RATTANSOMBOON

จากการศกึษาดูงานกลุมที่ 2 เสนอแนวโนมและโอกาสในความรวมมอืทางการศกึษา ดังนี้สาขาวิชาเทคโนโลยกีารจัดการการเกษตร

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะการทํางานวจัิย -กรณทีี่อาจารยมีงานวิจัยอยูแลว

และตองการใช เครื่องมอือุปกรณเพิ่มเตมิ อาจขอไปอยู lab ที่เกี่ยวของกับตน 1- 6 เดอืน เปนตน ซึ่งอาจให Professor ที่ lab นัน้ๆชวยอาน paper โดยอาจใสช่ือ Prof.นัน้ๆ ดวย-หรอื ใหนักศกึษาที่ทําวจัิยกับเราไปทําวจัิยที่นั่นเพิ่มเตมิ โดยอาจจะเกี่ยวของหรอืไมเกี่ยวของกับวทิยานพินธ แตนักศกึษาไดรับประสบการณ กรณนีี้นักศกึษาตองออกคาใชจายเอง หรอืบางสวน (มหาวทิยาลัย คณะหรอื advisor อาจมทีุนชวยบางสวน)

-หอพักฟร ีอาจารย/นักศกึษาเตรยีมคาใชจายสวนตัว-ทุนของ UM ม ีแตการแขงขันคอนขางสูง-ดานภาษา นักศกึษาไปเรียนเพิ่มเตมิจาก language center ที่UM ได แตควรใหเตรยีมตัวใหพรอม โดยทั่วไปกําหนด IELT6.0, TOEFL 550-หาทุนแลกเปลี่ยนสําหรับนักศกึษาในเมอืงไทยกอน ถาเปนไปได

Page 14: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

12

สาขาวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะการแลกเปลี่ยนศกึษาดูงานระหวางนักศกึษาและอาจารย

ขอเท็จจรงิไดพูดคุยแนะนําสาขาวชิาวิทยศาสตรสิ่งแวดลอมกับ Prof. PoziMilow และแจงความสนใจเรื่องการสงเสรมิใหนักศกึษาสาขาวทิยาสาสตรสิ่งแวดลอมมหาวทิยาลัยราชภัฎพระนคร ไดมีโอกาสเขาเรยีนในมหาวทิยาลัยมาลายาแนวทางการพัฒนาควรทําขอตกลงความรวมมือใหความชวยเหลือดานวิชาการระหวางมหาวทิยาลัยเพื่อสงเสรมิการโอนหนวยกติ ระหวางมหาวทิยาลัย

ขอเท็จจรงิปจจุบันมนีักศกึษาจากประเทศไทยเขาไปเรยีน(แลกเปลี่ยน) ในมหาวทิยาลัยมาลายา มากกวา 100 คน(ขอมูลจากหนา websiteมหาวทิยาลัย)

ขอเสนอแนะควรสงเสรมิการใหนักศกึษาสาขาวทิยาศาสตรสิ่งแวดลอมจากมหาวทิยาลัยราชภัฎพระนครไดมโีอกาสเขาไปเรยีนในมหาวทิยาลัยมาลายา เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและเปดโลกทรรศนในกลุมประเทศอาเซยีนโดยเฉพาะประเทศมาเลเซยี เนื่องจากใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารและคาครองชีพไมแพงเกนิควรปญหาและอุปสรรคมหาวทิยาลัยมาลายา มีนักศกึษา 20 คนตอหองเรยีน(คาดวานาจะเปนนักศกึษาที่คอนขางเรยีนเกง กระตอืรอืรนและมคีวามรับผิดชอบตอหนาที่อยางสูง) ในขณะที่

Page 15: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

13

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะนกัศกึษาจากมหาวทิยาลัยราชภัฎพระนครคอนขางชาเรื่องการเรยีนรูและขาดทักษะภาษาอังกฤษ ที่อาจจะเปนอุปสรรคตอการเรยีนและตัดเกรดรวมกับนักศกึษาจากมหาวทิยาลัยมาลายา

สาขาวิชาคหกรรมศาสตรประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะ

การแลกเปลี่ยนศกึษาดูงานระหวางนักศกึษาและอาจารย

โอกาสไมมเีพราะไมมสีาขานี้ จากการดูงานที่มหาวทิยาลัยพบวาทุกมหาวทิยาลัยมีอุปกรณ เครื่องอํานวยความสะดวก เจาหนาที่พรอมสําหรับการเรยีนการสอน มีหองอาจารยแยกเปนสัดเปนสวนเหมาะสําหรับการทํางาน อยากใหมหาวทิยาลัยของเราจัดหองทํางาน พรอมอุปกรณสําหรับการทํางานใหอาจารยทุกคนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการทํางาน

การจัดกจิกรรมรวมกัน ถาเปนในลักษณะการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม เชน การทําอาหารการทํางานศลิปประดษิฐทางสาขาคหกรรมศาสตรยินดเีขารวมในการจัดทํากจิกรรม

สาขาคหกรรมศาสตรชวยเสรมิเปนกจิกรรมยอยของกจิกรรมหลักของสาขาที่เกี่ยวของ

การแลกเปลี่ยนการเรยีนการสอนระหวางนักศกึษาและอาจารย

ควรมกีารแลกเปลี่ยนอาจารยไปเรยีนภาษาอังกฤษในคอรสระยะสัน้ เพื่อเตรยีมตัวเขาสูอาเซยีน

ควรมกีารคัดเลอืกผูที่จะเขาอบรมภาษาอังกฤษกอนสงไปอบรม

Page 16: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

14

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะอื่นๆ กอนที่มหาวทิยาลัยเราจะกาวสู

อาเซยีนควรเตรยีมบุคลากรใหพรอมในเรื่องของภาษาอังกฤษเพราะจําเปนตองใชในการตดิตอสื่อสาร ดังนัน้มหาวทิยาลัยควรสงเสรมิดานนี้เปนลําดับแรก

มหาวทิยาลัยควรจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดการอบรม

สาขาวิชาเทคโนโลยกีารจัดการสุขภาพประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะ

อื่นๆ เหมาะแกผูที่ตองการพัฒนาดานภาษาอังกฤษ เชน อาจารยและนักศกึษา ในชวงปดภาคการศกึษาเนื่องจากคาใชจายไมสูง อาจเปนงบประมาณจากมหาวทิยาลัยสวนหนึ่งและจากอาจารยและนักศกึษาออกเพิ่มอกีสวนหนึ่ง

6.1.2.3 คณาจารยและบุคลากรในกลุมที่ 3

Group 3 Name MentorLab Visit / Discussionwith PhysicsResearchers

1. MR. ARTHIT SANSOMBOON2. MS. WISUTTHANA SAMUTSRI

MS. WISUTTHANASAMUTSRI

Page 17: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

15

จากการศกึษาดูงานกลุมที่ 3 เสนอแนวโนมและโอกาสในความรวมมือทางการศกึษา ดังนี้สาขาวิชาฟสกิส

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะ1. การแลกเปลี่ยนศกึษาดูงานระหวางนักศกึษาและอาจารย

-สอบถามจากอาจารยที่แล็ปมีโอกาสเปนไปไดอยางมาก โดยตดิตอผาน Professor ที่สนใจไดเลย หากตองการสงนักศกึษามาทํางานวิจัย ทัง้นี้ตองสงเอกสารผานไปยังคณะดูกอน

-สามารถสงนักศกึษาหรอือาจารย มรภ.พระนคร ไปTraining หรอื ทํา Projectรวมกับ University of Malayaได (Optics, Material Science)

-เพื่อใหโอกาสการแลกเปลี่ยนนักศกึษาเปนไปไดมากขึ้นควรใหอาจารยตดิตอผาน professor ที่สนใจงานวิจัยเรื่องเดยีวกัน ทําวจัิยที่ University of Malaya สักระยะกอน-แตหากนักศกึษาตองการทุนวจัิยตองตดิตอเพื่อขอรายละเอียดเพิ่มเตมิจากคณะ-Professor Khaulah Sulaimanยนิดใีหนักศกึษาแลกเปลี่ยนหรอืขอใชเครื่องมอื-ควรสงอาจารยที่สนใจไปฝกใชเครื่องมอืที่ University of Malaya(ถามงีบประมาณ) อาจเปนชวงสั้นๆ 1-3 เดอืน

2.การจัดกจิกรรมรวมกัน

-เพื่อใหมคีวามเปนไปไดอาจเริ่มจากการเชิญเปน key notespeaker ในงาน conference ที่มหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครเปนเจาภาพ-สามารถสงผลงานไปเขารวมประชุมวิชาการที่ University ofMalaya จัดขึ้น-สามารถเชิญอาจารยหรือนักศกึษาของ University ofMalaya มารวมงานประชุม

-University of Malaya มกีารจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติอยางสม่ําเสมอ-มรภ.พระนคร จะมกีารจัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติI-SEEC 2016

Page 18: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

16

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะวชิาการของเราได

3.การแลกเปลี่ยนการเรยีนการสอนระหวางนักศกึษาและอาจารย

- ยังเปนไปไดยากเนื่องจาก1. ภาคการศกึษาตางกัน2. ภาษาที่ใชในการเรยีนการสอนตางกัน

- ปรับภาคการศกึษาใหสอดคลองกัน-พัฒนาการสอนใหนักศกึษาราชภัฏพระนครสามารถสื่อสารเขาใจภาษาอังกฤษเบื้องตนได

4.การทํางานวิจัย -เริ่มจากการแลกเปลี่ยนดูงานของอาจารยที่สนใจงานวิจัยเรื่องเดยีวกันและขอใชเครื่องมอืที่ University of Malaya กอน

-สบืเนื่องจากการขอศกึษาดูงานและขอใชเครื่องมอืจากอาจารยจากนัน้อาจสงนกึศกึษาเพื่อทําวจัิยรวมกัน เปนตน-ควรสงอาจารยหรอืนักศกึษามรภ.พระนคร ไปทําแลปที่University of Malaya เพื่อในอนาคตอาจจะมี Project รวมกันได

5.หลักสูตร 2 ปรญิญา - ยังเปนไปไดยากเนื่องจาก1. ภาคการศกึษาตางกัน2. ภาษาที่ใชในการเรยีนการสอนตางกัน

- ปรับภาคการศกึษาใหสอดคลองกัน-พัฒนาการสอนใหนักศกึษาราชภัฏพระนครสามารถสื่อสารเขาใจภาษาอังกฤษเบื้องตนได

6.1.2.4 คณาจารยและบุคลากรในกลุมที่ 4

Group 4 Name MentorLab Visit / Discussionwith ChemistryResearchers

1. MS. RATSAMEESANGSIRIMONGKOLYING2. MS. ATIYARATTANAPITTAYAPORN

MS. ATIYARATTANAPITTAYAPORN

Page 19: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

17

Group 4 Name Mentor3. MS. PORNCHANOKCHALOPAGORN4. MS. SUKANDA PHOKPINIT5. MR. THONGCHAI KHAMMEE

จากการศกึษาดูงานกลุมที่ 4 เสนอแนวโนมและโอกาสในความรวมมอืทางการศกึษา ดังนี้สาขาวิชาเคมี

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะ1. การแลกเปลี่ยนศกึษาดูงานระหวางนักศกึษาและอาจารย

-จัดใหมกีารแลกเปลี่ยนศกึษาดูงานเพื่อใหนักศกึษาเปดโลกทัศนและเสรมิสรางแนวความคดิในดานงานวจัิยอยางอสิระพรอมพัฒนาทักษะทางภาษา ณ ภาควชิาเคมีUniversity of Malaya-การสงนักศกึษาแลกเปลี่ยน และความรวมมอืเกี่ยวกับการวจัิยขัน้สูง โดยจัดทํา MOU ใหนักศึกษามาทําวจัิยในชวงสัน้ 1 เดอืนเพื่อใชเครื่องมอืทีท่ันสมัยและสงอาจารยที่มศัีกยภาพมาทําpostdoc ชวงสัน้ๆ เพื่อตพีมิพผลงาน

-หาแหลงทุนและจัดทําโครงการงบประมาณสนับสนุนจากภายในและภายนอกมหาวทิยาลัย-การสงนักศกึษาจําเปนตองมีการเตรยีมความพรอมทัง้ทางดานภาษาและวัฒนธรรม

2. การจัดกจิกรรมรวมกัน

-จัดงานประชุมวิชาการทางวทิยาศาสตรระดับนานาชาติ-จัดทํา short courseหรอืเชิญอาจารยหรอืนักวจัิยมาบรรยายวชิาเรยีนชวงสัน้ๆโดยจัดทํา MOUสรางความรวมมอืดานวชิาการโดยเนนประโยชนจากการที่

-กระตุนการผลติผลงานวิจัยของอาจารยและนักศกึษาเพื่อตพีมิพงานวจัิยในระดับนานาชาติ ซึ่งตองการความสนับสนุนดานหองปฏบิัตกิารและอุปกรณเครื่องมอืทางวทิยาศาสตร-เสนอใหจัดหองปฏบิัตกิาร

Page 20: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

18

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะUniversity of Malayaมเีครื่องมอืที่ทันสมัยมาใหคําบรรยายเกี่ยวการประยุกตใชเครื่องมอืตาง ๆ ในชวงสั้น ๆ

สวนตัวแกอาจารยนักวิจัยสําหรับอาจารยที่มศัีกยภาพในการตพีมิพงานวจัิยระดับนานาชาตทิี่มคีุณภาพ-PNRU ควรปูพื้นฐานใหนักศกึษากอนเพื่อความเขาใจมายิ่งขึ้น-ควรใหเจาหนาที่หองปฏบิัตกิาร/นักวทิยาศาสตรมสีวนรวมในการทํางานวจัิย/ผูชวยวจัิย ของอาจารย และนักศกึษา และสามารถตพีิมพงานวจัิยรวมกันได ซึ่งปจจุบันเปนไดแคฝายสนับสนุนเบื้องหลังและตองการความสนับสนุนดานหองปฏบิัตกิารและอุปกรณเครื่องมอืทางวทิยาศาสตรมากกวานี้

3. การแลกเปลี่ยนการเรยีนการสอนระหวางนักศกึษาและอาจารย

เชิญวทิยากรDr. Vannajan Sanghiran LeeDepartment of Chemistry,University of Malaya

-เตรยีมความพรอมภาษาอังกฤษของคณาจารย

4. การทํางานวจัิย -ไดมกีารคุยงานวจัิยทางดานMolecular genetic&Biochemistryและเตรยีมโครงการเพื่อขอทุนสนับสนุนงานวจัิย- Dr. Vannajan Sanghiran LeeใหความรวมมอืวจัิยในสวนของMolecular docking

-เตรยีมฝกฝนนักศกึษาใหมีความชํานาญในทักษะปฏบิัติการทดลองและสรางความคดิเพื่อตอยอดงานวจัิย

Page 21: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

19

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะ-Material science research-Plaswood จาก palm น้ํามัน -ทาง University of Malaya ทํา

วจัิยการทําไมเทยีมจาก palmน้ํามัน ทีม่คีุณภาพสูงตรงนี้จะคลายกับที่ชัยบาดาลที่ออยมาก เกษตรกรตองตัดและเผาทิ้งหากวามงีานวจัิยที่สรางทําไมเทยีมจาก ใบออยขึ้นก็จะมปีระโยชนมาก

5. หลักสูตร2 ปรญิญา

-หลักสูตรรวมที่ไดวุฒปิรญิญาโท5 ป (โดยวุฒปิรญิญาตรทีางวทิยปรญิญาโทอาจเปนบรหิาร) โดยทาง PNRU สอนเนื้อหาพื้นฐานปรญิญาตร ีและในช้ันปสูง ๆ ก็สงไปเรยีนและทําวิจัยที่ Universityof Malaya ซึ่งจะตองจัดทํา MOUและโครงการเตรยีมตัวนักศึกษาและอาจารยผูสอน

สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอางประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะ

1. การแลกเปลี่ยนศกึษาดูงานระหวางนักศกึษาและอาจารย

1. ตัง้เปนกลยุทธของคณะฯ และมีการจัดโครงการ/กจิกรรมและเปลี่ยน2. ตัง้เปนกลยุทธของคณะฯ ที่จะสนับสนุนใหนักวจัิยไดทํางานวจัิยรวมกับนักวจัิยของ UM หรอืที่อื่นๆในอาเซยีน3. เพิ่มเปนโครงการ/กจิกรรมใน

- ผูทํารายงานมคีวามเห็นวามีความเปนไปได สําหรับที่ UM

Page 22: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

20

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะหลักสูตร

2. การทํางานวจัิย - อาจเริ่มตนจากคณะฯ หรือมหาวทิยาลัยสนับสนุนใหนักวจัิยของเราเชิญนักวจัิยของUM มาเปนนักวจัิยรวม เชนเขยีนโครงการขอทุนวจัิยโดยเชิญนักวจัิยของ UM มาเปนนักวจัิยรวมหรอืเปนที่ปรกึษาโครงการวจัิย

6.1.3 ภาพกิจกรรม ณ University of Malayaภาพกจิกรรรมของคณะผูดูงาน

จากคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครที่ Faculty of Science, University of Malaya

เมอืงกัวลาลัมเปอร รัฐสลังงอร ประเทศมาเลเซยีในวันที่ 6 พฤษภาคม 2557

Prof. Dr. Sithi V. Muniandy รองคณบดคีณะวทิยาศาสตร University of Malaya จับมอืทักทายกับ ผศ.ดร. เดช บุญประจักษ คณบดคีณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมรภ.พระนคร

Page 23: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

21

Prof. Dr. Sithi V. Muniandy ทักทายและแลกเปลี่ยนนามบัตรกับคณะผูมาดูงานจากคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิยาลัยราชภัฏพระนคร ทุกคนอยางเปนกันเอง

ผศ.ดร. เดช บุญประจักษ ทักทายกับ Prof. Dr. Sharifuddin Bin Md Zainหัวหนาภาควิชาเคม ีซึ่งเปนภาควชิาที่ใหญที่สุดในคณะวทิยาศาสตร University of Malaya

Page 24: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

22

Prof. Dr. Sithi V. Muniandy กรุณาบรรยายแนะนําเกี่ยวกับมหาวทิยาลัยและคณะวทิยาศาสตรใหคณะผูมาศกึษาดูงาน

คณะผูดูงานซักถามแลกเปลี่ยนขอมูลและความรูเกี่ยวกับงานทําวจัิยของคณาจารยและนักวิจัยสาขาตางๆ ในคณะวทิยาศาสตร University of Malaya

Page 25: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

23

คณาจารยจากสาขาและภาควชิาตางๆ ของคณะวทิยาศาสตร University of Malayaที่เขารวมประชุมและรวมแลกเปลี่ยนขอมูลความรูดานการทําวจัิย

Prof. Dr. Vikineswary S. จาก Institute of Biological Science ซึ่งดํารงตําแหนงเปนหัวหนาศูนย Mushroom Research Centre นําคณะฯ เยี่ยมชมหองปฏบิัตกิารทางวทิยาศาสตร

ชีวภาพ

Page 26: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

24

ถายรูปรวมกันหลังจากประชุมปรกึษาหารอืและเยี่ยมชมดูหองปฏบิัตกิารที่ใชทํางานวิจัยในสาขาตางๆ ของคณะวทิยาศาสตร University of Malaya

ถายรูปรวมกันที่ดานหนาคณะวทิยาศาสตร University of Malaya

Page 27: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

25

คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏพระนคร รูสกึเปนเกยีรตทิี่Prof. Dr. Sithi V. Muniandy รองคณบดคีณะวทิยาศาสตร University of Malaya

กรุณารับคําเชิญเพื่อรวมรับประทานอาหารค่ําที่ภัตตาคารอาหารจนี

Page 28: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

26

6.2 การศึกษาดูงาน ณ Open University Malaysia

6.2.1 ขอมูลท่ัวไปการจัดการเรยีนการสอนทัง้ระดับปรญิญาตรี โท และ เอก มคีณะวิชาดังนี้1. คณะวิชาการศกึษาและภาษา (FACULTY OF EDUCATION AND LANGUAGE

:FEL) เปดสอนหลักสูตรระดับประกาศนยีบัตร

Diploma in Early Childhood EducationPostgraduate Diploma in Teaching

ระดับปรญิญาตรีBachelor of Early Childhood Education with HonoursBachelor of Education (Educational Administration) with HonoursBachelor of Education (TESL) with HonoursBachelor of English Studies with Honours

ระดับบัณฑติศกึษาMaster of Instructional Design and TechnologyMaster of EducationMaster of English StudiesDoctor of Philosophy (Education)Doctor of Education

2. คณะสังคมศาสตรประยุกต (FACULTY OF APPLIED SOCIAL SCIENCES :FASS) เปดสอนหลักสูตร

ระดับประกาศนยีบัตรDiploma in Islamic Studies with Education

ระดับปรญิญาตรีBachelor of Communication with HonoursBachelor of Islamic Studies (Islamic Management) with HonoursBachelor of Political Science with HonoursBachelor of Psychology with HonoursBachelor of Malay Studies with HonoursBachelor of Applied Social Science with Honours

Page 29: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

27

ระดับบัณฑติศกึษาเปดสอนMaster of Islamic StudiesMaster of Counselling

3. วทิยาลัยธุรกจิ (OUM BUSINESS SCHOOL : OUMBS) เปดสอนหลักสูตรระดับประกาศนยีบัตร

Diploma in ManagementDiploma in Human Resource Management

ระดับปรญิญาตรีBachelor of Accounting with HonoursBachelor of Business Administration with HonoursBachelor of Human Resource Management with HonoursBachelor of Management with HonoursBachelor of Marketing with HonoursBachelor of Tourism Management with Honours

ระดับบัณฑติศกึษาเปดสอนMaster of Business AdministrationMaster of ManagementMaster of Human Resource ManagementDoctor of Philosophy (Business Administration)Doctor of Business Administration

4. คณะเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร (FACULTY OF INFORMATIONTECHNOLOGY & MULTIMEDIA COMMUNICATION : FITMC) เปดสอนหลักสูตร

ระดับประกาศนยีบัตรDiploma in Information Technology

ระดับปรญิญาตรีBachelor of Information Technology with HonoursBachelor of Information Technology and Management with HonoursBachelor of Information Technology and Network Computing with

Honours

Page 30: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

28

ระดับบัณฑติศกึษาเปดสอนMaster of Information TechnologyDoctor of Philosophy (Information Technology)

5. คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ี(FACULTY OF SCIENCE & TECHNOLOGY:FST)เปดสอนหลักสูตร

ระดับปรญิญาตรีBachelor of Manufacturing Management with HonoursBachelor of Occupational Health and Safety Management with

HonoursBachelor of Technology Management with HonoursBachelor of Science in Project and Facility Management with HonoursBachelor of Environmental Sustainability Management with Honours

ระดับบัณฑติศกึษาเปดสอนMaster of Project ManagementMaster of Occupational Safety and Health Risk ManagementDoctor of Philosophy (Engineering)Doctor of Philosophy (Science)

6. คณะพยาบาลและวทิยาศาสตรสุขภสาพ(FACULTY OF NURSING &HEALTH SCIENCE :FONAS)เปดสอนหลักสูตร

ระดับประกาศนยีบัตรAdvanced Diploma In Teaching Methodology

ระดับปรญิญาตรีBachelor of Nursing Science with Honours

ระดับบัณฑติศกึษาเปดสอนMaster of NursingDoctor of Nursing

การจัดการศึกษาของOUMการจัดการศกึษามีศูนยการเรยีนรูกระจายอยูตามภูมิภาคตางๆ ของประเทศ

มาเลเซยี ศูนยการเรยีนของ Open University มี 12 แหง ไดแก

Page 31: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

29

1. KEDAH LEARNING CENTRE2. PENANG LEARNING CENTR3. PERAK LEARNING CENTRE4. KUALA LUMPUR LEARNING CENTRE5. PETALING JAYA LEARNING CENTRE6. NEGERI SEMBILAN LEARNING CENTRE7. MELAKA LEARNING CENTRE8. KELANTAN LEARNING CENTRE OHOR LEARNING CENTRE9. TERENGGANU LEARNING CENTRE10. PAHANG LEARNING CENTRE11. SABAH LEARNING CENTRE12. SARAWAK LEARNING CENTRE

ศูนยการเรยีนรูกัวลาลัมเปอร (Shah Alam Learning Centre)ตั้งอยูที่ 50480 KUALA LUMPUR เปนศูนยการเรียนรูที่จัดการเรียนการสอน

ใหกับผูเรียนศึกษานอกเวลา ผูเรียนเปนผูประกอบอาชีพในระหวางวันจันทรถึงวันศุกร จึงมีเวลาเรียนในวันเสาร และอาทิตย จัดการเรียนการสอนแบบออนไลน จุดเดนของ OpenUniversity มดีังนี้

1. เปนหลักสูตรนอกเวลา และเรยีนทางไกล มี หลักสูตรต้ังแตระดับประกาศนียบัตร ถึงระดับปริญญาเอก

2. มหาวิทยาลัยมีระบบคอมพิวเตอรเครือขายที่ดีในการสนับสนุนการเรียนใหนักศกึษาทุกคน โดยมกีารอบรมการใชใหนักศกึษาตัง้แตเขาเรยีน

3. ทุกหลักสูตรดําเนินการภายใตเกณฑมาตรฐานการศึกษาของประเทศมาเลเซีย(Malaysia Qualification Framework) เริ่มตั้งแตการกําหนดสมบัติผูสมัคร วิธีการคัดเลือกวธิกีารสอน การสอบและวัดผล

4. ระบบการติดตาม เนื่องจากนักศึกษามีงานประจําทํา มหาวิทยาลัยใหความสําคัญในเรื่องของการใหอาจารยตดิตามใหคําปรกึษาแกนักศกึษาเปนระยะ

5. มีเอกสารคําสอนและคูมือ โดยอาจารยผูสอนจัดทําอยางถูกตอง ชัดเจน ทั้งเปนหนังสอื แผนซดี ีและแจกใหกับนักศกึษาทุกคนที่ลงทะเบยีนเรยีน

6. การจัดหองเรียน สถานที่ ของ Open University ในพื้นที่ที่จํากัด สามารถจัดใหใชประโยชนไดเต็มที่

Page 32: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

30

7. อาจารยและบุคลากรของมหาวิทยาลัย อาจารยผูสอนสวนใหญเปนอาจารยภายนอกที่มีศักยภาพและประสบการณ อาจารยของมหาวิทยาลัยเองมีจํานวนไมมาก ซึ่งสวนใหญทําหนาที่บรหิารงาน ประสานงาน และดูแลระบบ

6.2.2 แนวโนมและโอกาสในความรวมมอืทางการศึกษาประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะ

การแลกเปลี่ยนศกึษาดูงานระหวางนักศกึษาและอาจารย

ในกรณีที่ คณะวทิยาศาสตรฯ จะมีการจัดตัง้สาขาใหมๆ เชน ProjectManagement อาจขอความรวมมอืในการจัดตัง้หลักสูตร M.Sc. (……)เปน International course โดยนักศกึษาตองเปนวัยทํางานแลว และควรใหลงเรยีนออนไลนบางรายวชิารวมกับ OUM เลยสําหรับ Degree ที่จะไดรับถาทั้งสองมหาวทิยาลัยสามารถออกรวมกันได จะยิ่งทําใหหลักสูตรดูมนี้ําหนักมากขึ้น

Degree ที่ไดรับอาจกําหนดจาก จํานวนวิชาที่เรยีนกับทาง Open U.เชน (1) 5 วชิา จะไดDegree เปน InternationalProgramme หรือ(2) 5 วชิา จากขอ (1)และเลอืกจากสาขาอื่นที่สนใจอกี 5 วิชา จะได DoubleDegree เปนตน

หลักสูตร 2 ปรญิญา รวมมอืกับทาง OUMเพื่อเปดการเรยีนการสอนสําหรับการเรยีนรูดวยตนเองผานเครอืขายอนิเตอรเนต

Page 33: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

31

6.2.3 ภาพประกอบการศึกษาดูงาน Open University Malaysiaภาพกจิกรรรมของคณะผูดูงาน

จากคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครที่ Open University Malaysia (Shah Alam Learning Center)

เมอืงชาหอาลาม รัฐสลังงอร ประเทศมาเลเซยีในวันที่ 7 พฤษภาคม 2557

บรรยากาศการกลาวเปดประชุมตอนรับคณะผูดูงานโดยคณะผูบรหิารจาก Open University Malaysia, Shah Alam Learning Center

คณะผูบริหารและคณาจารย Open University Malaysia, Shah Alam Learning Centerบรรยายแนะนํามหาวทิยาลัย หลักการ หลักสูตรตางๆ รวมถงึวธิกีารสอนในศูนยการเรยีนรู

Page 34: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

32

ทุกคนชมภาพสไลดและบรรยายแนะนําเกี่ยวกับคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมหาวทิยาลัยราชภัฏพระนคร

คณะผูดูงานจากคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครแตละคนแนะนําตัวเองและสาขาวิชาที่สังกัด

Page 35: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

33

เปดโอกาสใหคณะผูดูงานซักถามปญหาขอสงสัยกอนจะพาเยี่ยมชมสวนตางๆ ของศูนยการเรยีนรู

ศูนยการเรยีนรู Open University Malaysia และคณะผูเยี่ยมชม

Page 36: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

34

บรรยากาศการพาคณะผูเยี่ยมชมไปยังสวนตางๆ ของศูนยการเรยีนรู (1)

บรรยากาศการพาคณะผูเยี่ยมชมไปยังสวนตางๆ ของศูนยการเรยีนรู (2)

Page 37: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

35

ตําราและสื่อการเรยีนรูที่กําลังจัดวางเพื่อเตรยีมแจกจายใหนักศกึษาผูมาลงทะเบยีนเรยีนในแตละรายวชิา

ผูบรหิารและคณาจารยถายรูปรวมกันกับคณะผูเยี่ยมชมที่สวนรับรองภายในหองโถงดานหนา Open University Malaysia, Shah Alam Learning Center

Page 38: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

36

6.3 การศึกษาดูงาน ณ Nanyang Technological University

6.3.1 ขอมูลท่ัวไปNanyang Technological University (NTU) หรือมหาวิทยาลัยเทคโนหนานหยาง

เปนมหาวิทยาลัยที่ใหญที่สุดเปนอันดับสองของประเทศสิงคโปร มี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 23,500 คน ระดับบัณฑิตศึกษา 9,000 คน มีนักศึกษาตางชาติ รอยละ 24 เรียนในระดับปริญญาตรี รอยละ 52 เรียนในระดับปริญญาโท และในระดับปริญญาเอกมีนักศกึษาตางชาติรอยละ 79 นักศึกษาทั้งหมด เปนวทิยาลัยทางดานวศิวกรรมศาสตรที่ใหญที่สุดในโลกNTU เปนมหาวิทยาลัยที่มุงมั่นที่จะเปนผูนําทางดานการเรียนการสอนในสิงคโปร ปจจุบันเปนมหาวทิยาลัยระดับโลก จํานวนอาจารยและบุคลากรมี 6,050 คน แยกเปน อาจารย 1,700 คนในจํานวนนี้เปนอาจารยตางชาติ 943 คน มีนักวิจัย 2,350คน และบุคลากรสายสนับสนุน2,800 คน

ประวัตคิวามเปนมาNTU กอตัง้ขึ้นในป ค.ศ. 1981 ตัง้อยูที่ถนนหนานหยางเสนที่ 50 ประเทศสงิคโปร

เปนมหาวทิยาลัยที่เนนการสอนและการวจัิยดานวศิวกรรมและเทคโนโลย ีตอมา NTU ไดรวมกับวทิยาลัยครู หรอื สถาบันการศกึษาแหงชาต ิ(National Institute Education – (NIE) เพิ่มหลักสูตรการเรยีนการสอนในสาขาการบัญชี บริหารธุรกจิและสื่อสารมวลชน โดยการเรยีนการสอนแบงออกเปนวทิยาลัยได ดังนี้

-College of Engineering-College of Science-Nanyang Business School-College of Humanities, Arts, and Social Sciences

ซึ่งภายใน 4 วิทยาลัยนี้ยังแบงออกเปนแผนกอีกหลายๆแผนกดวยกัน นอกจากนี้ยังมีศูนยการศึกษา และสถาบันการศึกษาอีกมากมายภายในมหาวิทยาลัย รวมถึงโรงเรียนที่เปดใหม 3โรง เรี ย น ป ระกอ บ ด วย Art, Design and Media, Humanities and Social Sciences, แล ะPhysical and Mathematical Sciences

Page 39: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

37

College of Scienceประกอบดวย1. School of Physical and Mathematic science หรอื SPMS ตัง้ขึ้นเมื่อ ป ค. ศ 2005

ประกอบดวย ภาควชิาไดแก Mathematic , Chemistry and biological chemistry, Physic andapply physic , Earth science

หลักสูตรที่เปดสอนBachelor of Science in chemistry and biological chemistryBachelor of Science in mathematicและอื่นๆ อกีหลายหลักสูตร

2. School of Biological Science หรอื SBS ตัง้ขึ้นเมื่อ ป ค. ศ 2005ประกอบดวย ภาควิชา structural biology and Biochemistry , Molecular genetics and cellbiology

หลักสูตรที่เปดสอนระดับปรญิญาตรี

Bachelor of science in biological scienceBachelor of science in biological science with business minor

หลักสูตรสองปรญิญาควบ เรยีน 5 ปBachelor of science in biomedical scienceBachelor of medicine (Chinese medicine) เรียนทNTU 2 ป แล ว ไป เรียนที่

ประเทศจีน นักศึกษาตองพูดภาษาจีน แมนดารินได มีคลินิกแพทยแผนจีนที่ตั้งขึ้น เพื่อบริการรักษาแกบุคคลทั่วไป และไดรับความนยิมอยางยิ่ง

อาคารเรยีนอาคารมพีื้นที่ 30,000 ตารางเมตรประกอบดวย lecture theater, class room teaching

lab พื้นหองปฏบิัตกิารมี 7 ช้ัน เปนที่ตัง้ของหองปฏบิัตกิารจํานวน 60 หองจํานวนบุคลากรและนักศึกษา

บุคลากร SBS SPMSอาจารย 61 123นักวจัิย 194 273บุคลากรสนับสนุน 46 58เจาหนาที่วุฒปิรญิญาตรี 1,256 2,231นักศกึษาระดับปรญิญาโท และปรญิญาเอก 266 504

Page 40: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

38

บุคลากร SBS SPMSนักศกึษาระดับปรญิญาตรี 1,584 2,383นักศกึษาหลักสูตรโทควบเอก 202 242

การวจัิยไดรับการสนับสนุนดังนี้

1. National Research Foundation Fellows หรอื NRF สนับสนุนทุนวจัิยpostdoctoral ปละ 10-15 คน ระยะเวลาใหทุนคนละ 2 ป มอีาจารยจากมหาวทิยาลัยตางๆ ทัง้ในสงิคโปรและทั่วโลก มาศึกษาวจัิยโดยใชทุนนี้ สวนมากมาจาก ยุโรป อเมรกิา เกาหล ีญี่ปุนจนี และ กรซี

2. Ministry of Education ACRF ปละ 3 ทุน สนับสนุนการวจัิยในดาน GreenChemistry, Malaria and Influenza, Structural and computational biology, Infectiondiseases, Condensed matter, Optic and spectroscopy, Theoretical computer science,Coding and cryptography, Chemical synthesis

3. Earth observation of Singapore ใหทุนวจัิยเมื่อ กุมภาพันธ 2009 จํานวน150 ลานดอลลาร ทําการวิจัยเกี่ยวกับ Earth quake, volcanic explosion, tsunami, climatechange ของ ASEAN ทมีวจัิยนําโดย Prof. Kerry Sieh จาก California Institute of Technologyประเทศสหรัฐอเมรกิา

4. Singapore Council on Environmental and life Science Engineering หรอืSCESE ใหทุนสนับสนุนในป 2005 รวมกับ National University of Singapore จํานวน 120 ลานดอลลาร เปนระยะเวลา 10 ป วจัิยเกี่ยวกับ Microbial biofilms ทมีวจัิยนําโดย Prof. Stafanจาก University of New South Wale ประเทศออสเตรเลยี

6.3.2 แนวโนมและโอกาสในความรวมมอืทางการศึกษาประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะ

หลักสูตรแบบ 2 ปรญิญาที่ NTU (ยกมาเฉพาะที่เกี่ยวของนาสนใจ)1. Biomedical Sciences & Chinese

คณะวทิยาศาสตรและเทคโนฯอาจจัดทําเปนหลักสูตร 2 ปรญิญา หรือหลักสูตร 1 ปรญิญาแตเพิ่ม

เนื่องจากทางคณะฯกําลังจะเปดหลักสูตรใหมคอื สาขาแพทยแผนไทยอาจจัดทําหลักสูตร

Page 41: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

39

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะMedicine (เรยีน 5 ป)ไดปริญญาB.Sc. (Hons) in BiomedicalScience และ B.M. (ChineseMedicine) - หมายเหตุ: นศ.ที่จบสาขานี้ยังไมไดใบรับรองการประกอบอาชีพแพทยจนีในสงิคโปร

2. Chemical and BiomolecularEngineering & Economics (เรยีน5 ป) ไดปรญิญา B.Eng และ B.A.(Hons) in Economics

3. Business & Computing (4 ป)4. Business & Computer Engineering

(4 ป)5. Computer Science & Economics

(5 ป)6. Environmental Engineering &

Economic (เรยีน 5 ป)ไดปริญญาB.eng และ B.A (Economic)

ขอสังเกตุ :ขอกําหนดทั่วไปของโปรแกรม 2ปรญิญา ที่ NTUคอืตองทําคะแนนเฉลี่ย (CGPA)ของวชิาแตละสาขาไมต่ํากวา 3.5หากต่ํากวาจะไมได 2 ปรญิญา (dropout off the double degree program)นี่คอืเหตุผลที่บางหลักสูตรจงึเขยีน(Hons) ไวหลังช่ือปรญิญา

เปน second major (เรยีนควบ 2สาขาเอก) เชน- สาขาเคมแีละวทิยาศาสตรเครื่องสําอาง- สาขาชีววทิยาและวทิยาศาสตรเครื่องสําอาง

ขอสังเกตุ1. การใชช่ือปรญิญา2. การรับรองหลักสูตรโดยสกอ.3. ระยะเวลาเรยีน4. เงื่อนไขการได 2 ปรญิญาหรอื 2 สาขาเอกเชน ระดับผลการเรยีนที่ไดในเอกแรกควรถงึเกณฑที่กําหนดจึงสามารถลงเอกที่สองได หากไมถงึเกณฑก็ไดปรญิญาแคเอกเดยีว ทัง้นี้เพื่อเปนการรักษาระดับคุณภาพใหเปนที่นาเช่ือถอืจากแหลงงานหรือการประกอบวชิาอาชีพ (ผูทํารายงานคดิวาไมจําเปนตองตัง้เกณฑเกรดเฉลี่ยสูงเทาของNTU ก็ได อาจตัง้เกณฑไวประมาณ 2.5-3 ก็พอ)

- สาขาเคมแีละแพทยแผนไทย- สาขาชีววทิยาและแพทยแผนไทย- สาขาวทิยาศาสตรเครื่องสําอางและแพทยแผนไทย

อื่นๆ1. NTU มี Integrated program ซึ่งได

Page 42: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

40

ประเด็น แนวทางการพัฒนา ขอเสนอแนะปรญิญาจาก 2 สถาบันในสาขาเดยีวกันหรอืใกลเคยีงกัน ใชเวลาเรยีน 4-4.5 ป2. NTU มี = ปรญิญาตรคีวบโท

6.3.3 ภาพประกอบการศึกษาดูงาน ณ Nanyang Technological Universityภาพกจิกรรรมของคณะผูดูงาน

จากคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครที่ College of Science, Nanyang Technological University

ประเทศสงิคโปร ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2557

คณะผูเยี่ยมชมมาถงึและกําลังเดนิเขา School of Biological Sciences,Collage of Science ตามเวลานัดหมาย

Page 43: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

41

Prof. Dr. Lars Nordenskiöld ผูชวยคณบดี College of Science กลาวตอนรับคณะเยี่ยมชมและบรรยายเกี่ยวกับขอมูลตางๆ โดยเฉพาะเรื่องการทําวจัิยและหลักสูตรตางๆ ที่เปดสอน

Prof. Dr. Lars Nordenskiöld กลาวถงึหัวของานวจัิยตางๆ ที่ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัย

Page 44: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

42

Prof. Dr. Lars Nordenskiöld แนะนํารายช่ือของนักวจัิยที่ไดรับทุนวจัิยจากNational Research Foundation ของประเทศสิงคโปร

ผศ.ดร. เดช บุญประจักษ คณบดคีณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยกีลาวขอบคุณและมอบของที่ระลกึแก Prof. Dr. Lars Nordenskiöld ผูชวยคณบดี College of Science, NTU

Page 45: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

43

คณะผูเยี่ยมชมรวมตัวบรเิวณทางเช่ือมตกึเพื่อใหเจาหนาที่พาเขาเยี่ยมชมในสวนของหองปฏบิัตกิารตางๆ

ภายในหองปฏบิัตกิารที่ใชในการเรยีนการสอนของนักศกึษาระดับปรญิญาตรีมขีนาดใหญพอเพยีงเพื่อรองรับ นศ. และมเีครื่องมอืพื้นฐานที่ทันสมัยและเปนระเบยีบ

Page 46: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

44

นักวทิยาศาสตรที่ทําหนาที่ดูแลหองปฏบิัตกิารของนักศกึษานําพาเยี่ยมชมและอธบิายขอซักถามอยางเปนกันเอง

คณะผูเยี่ยมชมจากคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครที่หนาตกึ School of Biological Sciences ซึ่งไดงบสรางดวยเงนิหลายลานดอลลารสิงคโปร

Page 47: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

45

คณะผูเยี่ยมชมจากคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครถายรูปรวมกับ Prof. Dr. Lars Nordenskiöld ผูชวยคณบดี College of Science, NTU

Page 48: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

46

7. ผลการวิเคราะหขอมูลจากการสอบถามความคิดเห็นของผูเขารวมโครงการไดรับขอมูลกลับคืน จํานวน 24

ฉบับ มรีายละเอยีดดังนี้กําหนดเกณฑการแปลความหมายระดับความพงึพอใจในการจัดกจิกรรมไวดังนี้

คาเฉลี่ยระหวาง 4.50-5.00 หมายถงึ พงึพอใจระดับมากที่สุดคาเฉลี่ยระหวาง 3.50-4.49 หมายถงึ พงึพอใจระดับมากคาเฉลี่ยระหวาง 2.50-3.49 หมายถงึ พงึพอใจระดับปานกลางคาเฉลี่ยระหวาง 1.50-2.49 หมายถงึ พงึพอใจระดับนอยคาเฉลี่ยระหวาง 1.00-1.49 หมายถงึ พงึพอใจระดับนอยที่สุด

ผลการประเมิน พบว าผู เขารวมโครงการม ีความพึงพอใจตอการศึกษาดูงานที่University of Malaya ในภาพรวมระดับมาก โดยมคีาเฉลี่ยความพ ึงพอใจ 4.38

โดยผูเขารวมโครงการมคีวามพ ึงพอใจในระดับมากที่สุดตอการใหคําแนะนําและความชวยเหลอืในการศกึษาดูงานจากบุคลากรของมหาวทิยาลัย University of Malaya ดวยคาเฉลี่ย4.62 และผูเขารวมโครงการมคีวามพึงพอใจในระดับมากตอสถานที่ที่ใชในการตอนรับมคีวามเหมาะสม ดวยคาเฉลี่ย 4.08 (ดังตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ความพงึพอใจตอการศกึษาดูงานที่ University of Malaya

รายการ คาเฉลี่ยคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลความหมาย

1. สถานที่ที่ใชในการตอนรับมคีวามเหมาะสม 4.08 0.67 มาก2. สื่อและอุปกรณที่มหาวทิยาลัยฯใชมคีวามทันสมัย

4.23 0.70 มาก

3. บุคลากรของมหาวทิยาลัยฯ ใหคําแนะนําและความชวยเหลือในการศึกษาดูงาน

4.62 0.56 มากที่สุด

4. ระยะเวลาในการศกึษาดูงานมคีวามเหมาะสม

4.38 0.56 มาก

5. ประโยชนที่ทานไดรับและสามารถนําไปปรับใชในดานการจัดการเรยีนการสอน

4.12 0.75 มาก

6. ประโยชนที่ทานไดรับ และสามารถนําไปปรับใชในดานงานวจัิย

4.12 0.64 มาก

7. ภาพรวมในการศกึษาดูงานที่มหาวทิยาลัยฯ 4.38 0.56 มาก

Page 49: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

47

ผลการประเมิน พบว าผูเขารวมโครงการม ีความพึงพอใจตอการศึกษาดูงานที่ OpenUniversity Malaysia ในภาพรวมระดับมาก โดยมคีาเฉลี่ยความพ ึงพอใจ 4.27

โดยผูเขารวมโครงการมีความพ ึงพอใจในระดับมากที่สุดตอการใหคําแนะนําและความชวยเหลือในการศึกษาดูงานจากบุคลากรของมหาวิทยาลัย Open University Malaysia ดวยคาเฉลี่ย 4.58 และผูเขารวมโครงการมีความพึงพอใจในระดับมากตอประโยชนที่ทานไดรับและสามารถนําไปปรับใชในดานงานวจัิย ดวยคาเฉลี่ย 3.69 (ดังตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 ความพงึพอใจตอการศกึษาดูงานที่ Open University Malaysia

รายการ คาเฉลี่ยคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลความหมาย

1. สถานที่ที่ใชในการตอนรับมคีวามเหมาะสม 4.50 0.64 มาก2. สื่อและอุปกรณที่มหาวทิยาลัยฯ ใชมคีวามทันสมัย 4.46 0.57 มาก3. บุคลากรของมหาวทิยาลัยฯ ใหคําแนะนําและความชวยเหลือในการศึกษาดูงาน

4.58 0.49 มากที่สุด

4. ระยะเวลาในการศกึษาดูงานมคีวามเหมาะสม 4.42 0.57 มาก5. ประโยชนที่ทานไดรับและสามารถนําไปปรับใชในดานการจัดการเรยีนการสอน

4.12 0.85 มาก

6. ประโยชนที่ทานไดรับและสามารถนําไปปรับใชในดานงานวจัิย

3.69 1.10 มาก

7. ภาพรวมในการศกึษาดูงานที่มหาวทิยาลัยฯ 4.27 0.71 มาก

ผลการประเมิน พบว าผู เขารวมโครงการม ีความพึงพอใจตอการศึกษาดูงานที่Nanyang Technological University ในภาพรวมระดับมาก โดยมคีาเฉลี่ยความพ ึงพอใจ 4.12

โดยผู เขารวมโครงการมีความพ ึงพอใจในระดับมากที่สุดตอสื่อและอุปกรณที่มหาวิทยาลัย Nanyang Technological University ใชมีความทันสมัย ดวยคาเฉลี่ย 4.65 และผูเขารวมโครงการมคีวามพึงพอใจในระดับมากตอประโยชนที่ทานไดรับและสามารถนําไปปรับใชในดานงานวจัิย ดวยคาเฉลี่ย 3.88 (ดังตารางที่ 3)

Page 50: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

48

ตารางที่ 3 ความพงึพอใจตอการศกึษาดูงานที่ Nanyang Technological University

รายการ คาเฉลี่ยคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลความหมาย

1. สถานที่ที่ใชในการตอนรับมคีวามเหมาะสม 4.54 0.57 มากที่สุด2. สื่อและอุปกรณที่มหาวทิยาลัยฯใชมคีวามทันสมัย 4.65 0.55 มากที่สุด3. บุคลากรของมหาวทิยาลัยฯ ใหคําแนะนําและความชวยเหลือในการศึกษา ดูงาน

4.42 0.69 มาก

4. ระยะเวลาในการศกึษาดูงานมคีวามเหมาะสม 4.19 0.88 มาก5. ประโยชนที่ทานไดรับและสามารถนําไปปรับใชในดานการจัดการเรยีนการสอน

4.00 0.73 มาก

6. ประโยชนที่ทานไดรับและสามารถนําไปปรับใชในดานงานวจัิย

3.88 1.05 มาก

7. ภาพรวมในการศกึษาดูงานที่มหาวทิยาลัยฯ 4.12 0.97 มาก

8. ประโยชนท่ีไดรับจากการดําเนนิการโครงการ8.1 อาจารยและบุคลากรที่เขารวมโครงการไดรับการฝกฝนการใชภาษาอังกฤษในการ

สื่อสาร8.2 อาจารยและบุคลากรไดรับประสบการณตรงในการเยี่ยมชมหองปฏบิัตกิาร การ

สอนและการวจัิย8.3 อาจารยและบุคลากรไดเรยีนรูวัฒนธรรม เศรษฐกิจ ความเช่ือทางศาสนา

การดําเนนิชีวติของชาวมาเลเซยี8.4 ไดสรางเครอืขายความรวมมอืทางวิชาการ

9. การบูรณาการผลท่ีไดรับจากโครงการกับภารกจิอื่น ๆโครงการนี้ไดมกีารบูรณาการกับการเรยีนการสอนในรายวชิา 3 รายวชิา ดังนี้ 1)

ปฏบิัตกิารการวเิคราะหทางเคมดีวยเครื่องมอื 1 2) ปฏบิัตกิารเคมอีนิทรยี 1 และ3) ปฏบิัตกิารชีวเคมี 2

Page 51: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

49

10. ปจจัยหลักท่ีสงผลใหโครงการประสบความสําเร็จ (Key Success Factor)10.1 การวางแผนการดําเนนิการที่ชัดเจน กําหนดระยะเวลาการทํากจิกรรมลวงหนา10.2 ไดรับความรวมมอืจากคณาจารยและบุคลากรที่เขารวมโครงการในการรวมประชุมการเตรยีมความพรอมและแบงหนาที่รับผิดชอบ ตั้งแตเริ่มโครงการ10.3 มกีารสรางความเขาใจรวมกันถงึวัตถุประสงคของโครงการและเปาหมายที่ควรจะ

ไดรับ10.4 เปนโครงการที่มกีารดําเนนิการตอเนื่องจากโครงการที่ดําเนนิการไปแลวเมื่อ

พฤษภาคม 2555

11. อุปสรรคในการดําเนนิโครงการจํานวนงบประมาณที่ไดรับเปนกรอบจํากัดจํานวนอาจารยและบุคลากรในการเขารวม

โครงการ

12. แนวทางในปรับปรุงโครงการ/ในการดําเนินงาน12.1 กําหนดงบประมาณใหเหมาะสมกับกจิกรรมและระยะเวลาที่จัดทําในตางประเทศ12.2 จัดทําแผนระยะยาวในการสรางความรวมมอืกับมหาวทิยาลัยในตางประเทศ

13. ขอเสนอแนะจากผลการประเมินเพื่อนําไปปรับปรุงโครงการตอไป13.1 จัดทํากจิกรรมทางวชิาการที่ชัดเจน เชน กจิกรรมแลกเปลี่ยนนักศกึษา การพัฒนา

งานวจัิยรวมกันระหวางมหาวทิยาลัยในอาเซยีน การพัฒนาหลักสูตรรวมกัน13.2 การลงนามทําความรวมมอืทางวิชาการอยางเปนทางการ

Page 52: คํานํา · และบุคลากรได รับโอกาสในการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลแบบนอกเวลา

50

ภาคผนวก1. โครงการที่ไดรับอนุมัติ2. กําหนดการ3. คําสั่งไปราชการตางประเทศ4. รางโครงการฯ ประจําปงบประมาณ 25585. เอกสารที่เกี่ยวของกับโครงการ เชน หนังสอืตดิตอ บันทกึเชิญประชุมและเอกสาร

แนบ คํากลาวขอบคุณ แผนพับคณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี6. ภาพประกอบโครงการ

6.1 เอกสารที่ไดรับจากมหาวทิยาลัยตางๆ6.2 ภาพของที่ระลกึของมหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครกับมหาวทิยาลัยตางๆ6.3 สถาปตยกรรมสําคัญในมาเลเซยี6.4 การแตงกาย6.5 ภาษามาลายู