ด...

278
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที6 โรงเรียนดุสิตวิทยา โดย นางสาวยุรนันท พลายละหาร การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ

Upload: others

Post on 09-Jul-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เร่ืองการสรางงานนําเสนอของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

โดย นางสาวยุรนันท พลายละหาร

การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 2: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เร่ืองการสรางงานนําเสนอของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

โดย นางสาวยุรนันท พลายละหาร

การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 3: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

THE LEARNING ACHIEVEMENT OF STUDENTS GRADE 6 OF DUSITWITTAYA SCHOOL

BY LEARNING THE BLENDED LEARNING LESSON IN PRESENTATION

By

Miss Yuranan Plailaharn

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for

the Degree

Master of Education Program in Educational Technology

Department of Educational Technology

Graduate School, Silpakorn University

Academic Year 2013

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 4: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหการคนควาอิสระเร่ือง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ” เสนอโดย นางสาวยุรนันท พลายละหาร เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา

……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันท่ี..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ รองศาสตราจารยสมหญิง เจริญจิตรกรรม คณะกรรมการตรวจสอบการคนควาอิสระ .................................................... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารยศิริพงศ พยอมแยม) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (อาจารย ดร.น้ํามนต เรืองฤทธิ์) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารยสมหญิง เจริญจิตรกรรม) ............/......................../..............

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 5: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

52257317 : สาขาเทคโนโลยีการศึกษา

คําสําคัญ : การเรียนแบบผสมผสาน, การสรางงานนําเสนอ

นางสาวยุรนันท พลายละหาร : การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา . อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ: รศ.สมหญิง เจริญจิตรกรรม. 238 หนา

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการเรียนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา 2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหวางการเรียนแบบปกติกับการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา 3) เพ่ือศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ที่มีตอการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงาน กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยไดแกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา อ.บานโปง จ.ราชบุรี จากการเลือกแบบสุมอยางงายมา 2 หองเรียน โดยพิจารณาจากผลการเรียนใกลเคียงกัน หองละ 44 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 1) แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ 2) แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ 3) บทเรียนมัลติมีเดีย เรื่องการสรางงานนําเสนอ 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่องการสรางงานนําเสนอ กอนเรียนและหลังเรียนแบบปรนัย 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรยีนแบบปกติและแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบคาที (t-test แบบ Independent)

ผลการวิจัยพบวา 1) ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธ์ิ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนที่เรียนแบบผสมผสาน กอนเรียนและหลังเรียน แตกตางกันโดยมีคาเฉลี่ยกอนเรียนเทากับ 13.38 และหลังเรียนมีคาเฉลี่ยเทากับ 19.57 ซึ่งสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนแบบผสมผสานและแบบปกติแตกตางกัน โดยนักเรียนกลุมที่เรียนแบบผสมผสาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 19.57

ซึ่งสูงกวากลุมที่เรียนแบบปกติ มีคาเฉลี่ยเทากับ 17.84 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ผลการวิเคราะหขอมูลแบบสอบถามความพึงพอใจการเรียนการสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ พบวา มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.46 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.65 ถือวาอยูในระดับมาก

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ลายมือชื่อนักศึกษา........................................................................ ปการศึกษา 2556

ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ...................................................................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 6: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

52257317 : MAJOR : EDUCATIONAL TECHNOLOGY

KEY WORD : BLENDED LEARNING / PRESENTATION

YURANAN PLAILAHARN : THE LEARNING ACHIEVEMENT OF STUDENTS GRADE 6 OF

DUSITWITTAYA SCHOOL BY LEARNING THE BLENDED LEARNING LESSON IN PRESENTATION.

INDEPENDENT STUDY ASSOC.PROF. SOM-YING JAROENJITTAKAM. 238 pp.

The purpose of this study were 1) to compare the achievement of students’ pretest and

posttest of students grade 6 of Dusitwittaya school by learning the blended learning lesson in

presentation. 2) to compare achievement between traditional learning and blended of students

grade 6 of Dusitwittaya school by learning the blended learning lesson in presentation 3) to study

the satisfaction of the students grade 6 Dusitwittaya school towards blended learning lesson in

presentation. The sample used in this study were students grade 6 Dusitwittaya school Ban Pong,

Ratchaburi simple random selection of the two classes on the basis of academic performance, of 44.

The instruments of research were 1) lesson plants using traditional lesson in presentation. 2) lesson

plants using blended learning lesson in presentation. 3) multimedia courseware lesson in

presentation. 4) a multiple-choice pretest and posttest. 5) Satisfaction of students towards learning

traditional and learning blended lesson in presentation. The data were statistically analyzed using the

mean, standard deviation and the t-test independent.

The results of the research were as follows 1) the comparison of achievement lesson in presentation

of the students blended learning before and after varies with the average pretest and posttest was

13.38 with an average of 19.57 which is higher than previous studies statistically significant at the 0.05

level. 2) achievement of students with learning differences, combination and normal student learning

groups combined an average of 19.57, which is higher than the normal group learning with an average

of 17.84 with achievement than in regular classes statistically significant at the 0.05 level. 3) data

analysis satisfaction teaching blended lesson in presentation showed a mean of 4.46 and standard

deviation equal to 0.65 is considered good.

Department of Educational Technology Graduate School, Silpakorn University

Student’s signature ……………………………………………… Academic Year 2013

Independent study advisor’s signature ………………………………………………

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 7: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

กิตติกรรมประกาศ

การคนควาอิสระฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความดวยความเมตตา และความชวยเหลือเปนอยางดียิ่งจากรองศาสตราจารยสมหญิง เจริญจิตรกรรม อาจารย ท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ ผูวิ จัยขอขอบพระคุณเปนอยางสูง

ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารยศิริพงศ พยอมแยม ประธานกรรมการตรวจสอบการคนควาอิสระ และผูชวยศาสตราจารย ดร.น้ํามนต เรืองฤทธิ์ ผูทรงคุณวุฒิ ท่ีใหขอแนะนําและคําปรึกษา ตลอดจนตรวจสอบแกไขขอบกพรองตางๆ เปนอยางดี

ขอขอบพระคุณผูเช่ียวชาญทุกทานท่ีเสียสละเวลาอันมีคา เพื่อตรวจแกไขเครื่องมือและใหขอแนะนําในการแกไขปรับปรุงเครื่องมือในการวิจัยใหมีประสิทธิภาพ

ขอขอบพระคุณคณาจารยทุกทานท่ีไดใหความรู ขอขอบคุณ คุณแคทรียา สถิตบรรจง คุณนพดล พลายละหาร คุณวิริยะ วิชัยพรหม คุณพรพิมล ดอนหงษไผ และเพื่อนนักศึกษาปริญญาโทเทคโนโลยีการศึกษา รุน 10 รวมถึงทุกกําลังใจท่ีใหความชวยเหลือ ใหคําแนะนํา เปนท่ีปรึกษา และเปนกําลังใจ ขอขอบคุณผูบริหารโรงเรียนดุสิตวิทยาท่ีใหการสนับสนุน ขอขอบคุณนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนรัตนราษฎรบํารุง ท่ีใหความรวมมือเปนอยางดี

ทายท่ีสุดผูวิจัยขอนอมระลึกถึงพระคุณของบิดามารดา คือ คุณพอมนัส คุณแมประยงค พลายละหาร ผูอบรมเล้ียงดู สนับสนุนการศึกษา และเปนผูใหกําลังใจท่ีมีคายิ่งแกผูวิจัยจนสงผลใหผูวิจัยประสบความสําเร็จในการศึกษาครั้งนี้ หากประโยชนใดๆ อันเกิดจากการคนควาอิสระฉบับนี้ ผูวิจัยขอบูชาแดบิดามารดา คณาจารยและผูมีพระคุณทุกทาน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 8: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย................................................................................................................... ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ.............................................................................................................. จ

กิตติกรรมประกาศ.................................................................................................................... ฉ

สารบัญตาราง........................................................................................................................... ญ

สารบัญแผนภาพ ...................................................................................................................... ฐ

สารบัญภาพ.............................................................................................................................. ฑ

บทท่ี

1 บทนํา........................................................................................................................... 1

วัตถุประสงคของการวิจัย................................................................................ 6

สมมติฐาน....................................................................................................... 6

ขอบเขตของการวิจัย....................................................................................... 6

นิยามศัพทเฉพาะ............................................................................................ 7

กรอบแนวคิดการวิจัย..................................................................................... 8

2 เอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ........................................................................................... 9

หลักสูตรสถานศึกษา....................................................................................... 10

ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อการออกแบบการเรียนการสอน...................................... 11

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 9: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

หนา

การเรียนการสอนแบบผสมผสาน................................................................... 14

เนื้อหาเก่ียวกับการสรางงานนําเสนอ.............................................................. 23

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ.......................................................................................... 29

3 วิธีดําเนินการวิจัย.......................................................................................................... 35

ประชากรและกลุมตัวอยาง............................................................................. 35

ตัวแปรท่ีใชในการศึกษา.................................................................................. 35

แบบแผนการศึกษา.......................................................................................... 36

เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา............................................................................... 37

การสรางและการหาคุณภาพเครื่องมือ............................................................. 37

การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล.................................................. 52

การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล.................................... 53

4 ผลวิเคราะหขอมูล........................................................................................................... 58

ตอนท่ี 1 ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยี

สารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสาน.................... 58

ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหวางการเรียนแบบ

ปกติกับการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

เรื่องการสรางงานนําเสนอ.................................................................. 59

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 10: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

หนา

ตอนนท่ี 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ท่ีมีตอการจัดการเรียน

การสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

เรื่องการสรางงานนําเสนอ................................................................. 59

5 สรุป อภิปราย และขอเสนอแนะ................................................................................... 69

สรุปผลการวิจัย.................................................................................. 71

อภิปรายผล........................................................................................ 71

ขอเสนอแนะ...................................................................................... 75

บรรณานุกรม................................................................................................................. 76

ภาคผนวก...................................................................................................................... 80

ภาคผนวก ก รายนามผูเช่ียวชาญ...................................................... 81

ภาคผนวก ข เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย............................................... 84

ภาคผนวก ค คาดัชนีความสอดคลองผูเชียวชาญ (IOC)..................... 213

ภาคผนวก ง ขอมูลจากการทดลอง.................................................... 243

ภาคผนวก จ ตัวอยางบทเรียนอีเลิรนนิง............................................ 255

ประวัติผูวิจัย................................................................................................................... 262

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 11: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1 แบบแผนการวิจัย............................................................................................. 36

2 รายละเอียดการสรางแผนจัดการเรียนรู แบบปกติ เรื่องการสรางงาน

นําเสนอ.............................................................................................. 38

3 รายละเอียดการสรางแผนจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน เรื่องการสรางงาน

นําเสนอ.............................................................................................. 40

4 ผลการหาประสิทธิภาพบทเรียนมับติมีเดีย การทดลองแบบเด่ียว.................... 44

5 ผลการหาประสิทธิภาพบทเรียนมัลติมีเดีย การทดลองกลุมเล็ก...................... 46

6 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยี

สารสนเทศ เรือ่งการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสาน...................... 59

7 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการเรียนแบบปกติกับการ

เรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเร่ืองการสรางงาน

นําเสนอ............................................................................................. 59

8 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

ท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน................................................ 60

9 ขอมูลเก่ียวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน.............................................. 61

10 ผลการวิเคราะหขอมูลแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียน

การสอนแบบผสมผสาน..................................................................... 64

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 12: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

ตารางท่ี หนา

11 แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี1............................ 85

12 แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี2............................ 95

13 แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี3............................ 104

14 แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี4............................ 113

15 แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี5............................ 121

16 แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี6............................ 130

17 แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสานเร่ืองการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี1..................... 138

18 แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสานเร่ืองการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี2..................... 147

19 แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสานเร่ืองการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี3..................... 156

20 แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสานเร่ืองการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี4..................... 165

21 แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสานเร่ืองการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี5..................... 173

22 แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสานเร่ืองการสรางงานนําเสนอ แผนท่ี6..................... 182

23 แบบสอบถามความพึงพอใจองคประกอบในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน....... 208

24 ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC) ของคุณภาพแผนจัดการเรียนรูปกติ...... 213

25 ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC) ของคุณภาพแผนจัดการเรียนรูปกติ...... 221

26 ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC) ของส่ือมัลติมีเดีย................................... 229

27 ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC) ของการประเมินความสอดคลองของ

ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม................................. 234

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 13: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

ตารางท่ี หนา

28 ผลการเปรียบเทียบคะแนนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสาน.......... 243

29 ผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอของ

นักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสาน.......................................................... 246

30 ผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอของ

นักเรียนท่ีเรียนแบบปกติ................................................................... 225

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 14: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที ่ หนา

1 กรอบแนวคิดในการวิจัย.................................................................................. 8

2 ขั้นตอนการสรางแผนจัดการเรียนรูแบบปกติ.................................................. 39

3 ขั้นตอนการสรางแผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน......................................... 42

4 ขั้นตอนการจัดสรางบทเรียนมัลติมีเดีย............................................................ 47

5 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน................................ 49

6 การสรางแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียน

แบบผสมผสาน.................................................................................. 51

7 ขั้นตอนการดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล..................................... 53

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 15: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

1 ตัวอยางการลงช่ือกอนเขาใชส่ือมัลติมีเดีย..................................................... 191

2 ตัวอยางเนื้อหาในหนวยการเรียนรูการสรางงานนาํเสนอ ท้ัง 6 สัปดาห........ 191

3 ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 1......................................................... 192

4 ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 2.......................................................... 192

5 ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 3.......................................................... 193

6 ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 4.......................................................... 193

7 ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 5.......................................................... 194

8 ตัวอยางเน้ือหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 6.......................................................... 194

9 ตัวอยางหนาหลักของเว็บไซต.......................................................................... 255

10 ตัวอยางการเขาใชบทเรียน............................................................................. 255

11 ตัวอยางการสมัครเปนสมาชิก.......................................................................... 256

12 ตัวอยางการกรอกขอมูลเพ่ือสมัครเปนสมาชิก................................................. 256

13 ตัวอยางการลงช่ือเขาสูระบบ........................................................................... 257

14 ตัวอยางบทเรียนและกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละสัปดาห.................... 257

15 ตัวอยางการสงงานของนักเรียน....................................................................... 258

16 ตัวอยางกระทูแลกเปล่ียนความคิดเห็นไดท่ีกระดานถาม – ตอบ..................... 258

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 16: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

ภาพท่ี หนา

17 ตัวอยางการสามารถแสดงความคิดเห็นตอช้ินงาน......................................... 259

18 ตัวอยางกระดานสนทนา................................................................................ 259

19 ตัวอยางขอมูลของนักเรียนท่ีเปนสมาชิก......................................................... 260

20 ตัวอยางรายช่ือและขอมูลการเขาใชบทเรียนอีเลิรนนิงของสมาชิก.................. 260

21 การเพิ่มสมาชิกเขาสูระบบบัญชีผูใช................................................................ 261

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 17: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

1

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ในปจจุบันเทคโนโลยีพัฒนาเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและไมหยุดยั้ง มีการนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมาใชอยางแพรหลายจนนับไดวาเปนอุปกรณสําคัญในการจัดการเรียนการสอน เทคโนโลยีเหลานี้ใชเปนเครื่องมือในการถายทอดความรู การติดตอส่ือสาร และการสรางส่ือการเรียน ดังนั้นจึงเอื้อประโยชนชวยใหการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น อีกท้ังเปนเคร่ืองมือ และแหลงขอมูลในการคนควาศึกษาความรูท่ีกวางไกลแกนักเรียน และยังเปนอีกวิธีในการแกปญหาการขาดแคลนครูผูสอนไดในระดับหนึ่ง จึงควรมีการเรงพัฒนาเทคโนโลยี และการนําเทคโนโลยีมาใชใหเหมาะสมและเพียงพอตอความตองการของนักเรียน และใหทันสมัยอยูเสมอ โดยเฉพาะเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา ชวยพัฒนาการจัดการศึกษาใหดีขึ้น ดวยการท่ีผูเรียนมีอิสระในการเรียนและมีทางเลือก ดวยการรูจักนําเทคโนโลยีมาใชในการเรียนการสอน ทําใหพฤติกรรมการเรียนแบบต้ังรับ(Passive) พึ่งพิงและการปอนจากครูผูสอนมาเปนพฤติกรรมท่ีสอดคลองกับการเรียนรูแบบผูเปนศูนยกลาง ทําใหผูเรียนเรียนรูวิธีการเรียน(Learning how to learn) ผูเรียนท่ีกระตือรือรนมีทักษะท่ีสามารถเลือกรับขอมูลวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลดวยตนเองไดอยางมีระบบ บทบาทของครูผูสอนในการเรียนการสอนบนเครือขายก็ตองเปล่ียนไป สูบทบาทท่ีเอื้อตอการเรียนการสอน รูจักจัดสรรทรัพยากร สรางทักษะพ้ืนฐาน เปนท่ีปรึกษา(Consultant) เปนผูสนับสนุน(Facilitator) (ใจทิพย ณ สงขลา 2542 : 28-30) หากพิจารณาการเรียนรูในยุคใหมท่ีมีขุมความรูมหาศาลหรือท่ีเรียกวา โลกแหงความรู(World of knowledge) ซึ่งแหลงความรูไดเกิดขึ้นตลอดเวลา มีจํานวนมากและกระจายอยูท่ัวโลก การเรียนรูในยุคใหมตองเรียนรูไดมากและรวดเร็ว อีกท้ังตองสามารถแยกแยะ คนหาขาวสารตลอดจนการแสวงหาส่ิงท่ีตองการไดตรงกับความตองการ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาการศึกษาอยางมาก โดยเปนเครื่องมืออันสําคัญท่ีสามารถทําคุณประโยชนใหกับการศึกษาอยางดีเลิศหากนํามาประยุกตใชไดอยางเหมาะสม นอกจากจะยกระดับคุณภาพการศึกษาอยางเปนรูปธรรมใหทันกับความเร็วในความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศเองแลว ยังเปนการสรางตลาดและขีดความสามารถใหกับประเทศโดยรวมอีกดวย (พิเชฐ ดุรงคเวโรจน 2542 : 8)

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ไดใหความสําคัญเปนอยางยิ่งในการนําเทคโนโลยีเขามาประยุกตใชในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา คือ หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ท่ีวาดวยการ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 18: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

2

นําเทคโนโลยีดานตางๆ เขามาประยุกตใชเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอนไดอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ (ชม ภูมิภาค 2544 : 16-17)

การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีทางดานการส่ือสาร (ICT : Information and Communication Technology) เปนไปอยางรวดเร็วและตอเนื่อง สงผลใหเกิดความพยายามในการนําเทคโนโลยีดานตางๆ เหลานี้เขามาประยุกตในดานการจัดการศึกษา เพื่อใหการศึกษามีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ท้ังนี้เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยท่ีมีสติปญญาและคุณธรรม เพื่อรองรับการพัฒนาและสรางขีดความสามารถในการแขงขันในสังคม / เศรษฐกิจแหงความรู (Knowledge Based Economy/Society) (ถนอมพร ตันพิพัฒน 2545 : 3)

สมรรถนะสําคัญ 5 ประการของผูเรียน ICT ชวยใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ (หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 : 4)ดังนี้

1. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีมีตอตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปล่ียนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้นตอตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันใน

สังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยาง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 19: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

3

เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไมพึงประสงคท่ีสงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ

และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู การส่ือสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตองเหมาะสมและมีคุณธรรม

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) เปนเทคโนโลยีท่ีผสมผสานกันระหวางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีโทรคมนาคม (Computer & Telecommunications

Technology) ท่ีมีสวนสําคัญตอการนําสารสนเทศ ซึ่งประกอบดวยขอมูล (Data) ขาวสาร (Information) และความรู (Knowledge) ใหสามารถล่ืนไหลไดสะดวกรวดเร็ว (ไพรัช ธัชยพงษ และ พิเชฐ ดุรงคเวโรจน 2541 : 12) วิทยาการใหมๆ เกิดขึ้นอยางมากมาย ทุกวันมีการพัฒนา คิดคน วิจัยและสรางความรูใหมตลอดเวลา ขณะเดียวกันก็มีความรูและเรื่องราวเกี่ยวกับวิชาการอีกไมนอยท่ีลาสมัย การเรียนการสอนในยุคสมัยใหมจึงตองเรียนรูไดอยางรวดเร็ว ทันยุคทันสมัยและสามารถจบไดรวดเร็ว มีการใชเทคโนโลยีเขาชวยในเรื่องการเรียนการสอน กระจายการเรียนการสอนออกไปอยางกวางขวางมุงตรงไปสูผูเรียน โดยเขาถึงผูเรียนไดทุกหนทุกแหงและทุกเวลา ระบบการเรียนการสอนจึงปรับเปล่ียนรูปแบบไปมากโดยแบงการเรียนการสอนเปนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และ ไมประสานเวลา (Asynchronous Learning) การเรียนการสอนในยุคใหมคงไมอยูแคในตําราเลมเดียวผูเรียนทุกคนในช้ันเรียนคงไมใชตําราจากท่ีกําหนดโดยอาจารยผูสอนเทานั้น แตสามารถแสวงหาแหลงความรูอื่นไดอีกมากมาย มีหองสมุดแบบดิจิตอล มีขุมความรูท่ีเรียกวาขุมความรูโลก บทบาทการสอนของอาจารยจะเปล่ียนจากการใชชอลกและกระดานดํามาเปนการช้ีนํา (Guide) เพราะยืนเคียงขางผูเรียนเพื่อใหผูเรียนไดแสวงหาความคิดริเริ่มในการเรียนรูส่ิงใหม ตองเปล่ียนสภาพการเรียนแบบน่ังเรียนเฉยๆ(passive) มาเปนการเรียนรูที่ มีการใชปฏิสัมพันธโตตอบและมีการใชเทคโนโลยีประกอบการเรียนรู (Active) ยังตองสรางบทบาทท่ีใหเรียนรูดวยตนเองแบบไมประสานเวลาได และท่ีสําคัญการวัดการเรียนรูคงไมอยูท่ีผลคะแนนสอบแตเพียงอยางเดียว ตองเปล่ียนสภาพการเรียนการสอนแบบเดิมมาสูกระบวนการสรางองคความรูได สําหรับอาจารยตองเปล่ียนบทบาทจากการเปนผูสอนมาเปนผูสรางความรู (Knowledge Constructor) สามารถนําเอาองคความรูจากท่ีตางๆ มาประกอบและรวมกันเปนบทเรียนบนเว็บ สรางระบบการโตตอบแบบออนไลน เพื่อพนขีดจํากัดเรื่องเวลา และระยะทาง (ยืน ภูวรวรรณ และสมชาย นําประเสริฐ 2546 :

31-33) เปนปจจัยในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ดวยสังคมแหงปจจุบันผูท่ีมีโอกาสเขาถึงขอมูลไดมากและรวดเร็วกวา จะมีโอกาสในการศึกษาเรียนรูไดอยางกวางขวาง (พจนารถ ทองคําเจริญ 2539 : 2) ซึ่งการเขาถึงแหลงขอมูลขาวสารความรูท่ีสะดวกรวดเร็วในปจจุบัน เปนการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการตอบสนองความตองการดังกลาวท้ังในรูปท่ีเปนภาพ ( Image) เสียง (Sound) ขอมูล (Data) การ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 20: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

4

โตตอบส่ือสาร (Information) ซึ่งเปนขอมูลดิจิตอล (Digital) ท่ีมีความรวดเร็ว ความเสถียรภาพ และมีความเช่ือถือได ท่ีจะรองรับขอมูลจํานวนมหาศาลจากท่ัวโลก หรือท่ีเรียกวาทางดวนสารสนเทศ (Information Superhighway : I Way) ซึ่งตัวอยางการใชทางดวนสารสนเทศท่ีมีความสะดวกรวดเร็วและเปนท่ีนิยมสูงสุดคือ อินเทอรเน็ต (Internet) นั่นเอง (วาสนา สุขกระสานติ 2540 : 1-2)

การเรียนรูของนักเรียนไมไดถูกจํากัดเพียงในหองเรียนเพียงเทานั้น โลกของอินเทอรเน็ตการคนควาจากเว็บไซตท่ัวโลก และจากประสบการณการไดแลกเปล่ียนเรียนรูกับผูอื่นผานส่ือตางๆ เชน Chat

room Webblog กระดานสนทนา เปนตน และการเรียนรูในปจจุบัน มิไดเรียนรูเพียงแตจากส่ือเทานั้น เพราะความรูท่ีเกิดข้ึนนั้น แบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ ความรูชัดแจง (Explicit Knowledge) ไดแก ความรูท่ีถอดรหัสแลว เปนเอกสาร งานวิชาการ การวิจัย มีส่ือการสอน เปนตน กับ ความรูชนิดฝงลึก (Tacit

Knowledge) ไดแก ความรูท่ีอยูในตัวคนซ่ึงเกิดจากประสบการณ บางครั้งแมแตเจาของความรูอาจไมรูวาตัวเองมีความรูชนิดฝงลึกอยู ความรูท่ีนํามาแลกเปล่ียนเรียนรูในกิจกรรมท่ีจัดขึ้นเนนความรูในลักษณะของความรูฝงลึก ซึ่งเกิดจากการนําความรูชัดแจงมาประยุกตใชในการทํางานแลวจนมีประการณระยะหนึ่ง (ณัฏฐิกา หลอดแกว 2552 : 4)

การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) คือ การนํารูปแบบอิเล็กทรอนิกสเขามาเสริมการเรียนการสอนตามรูปแบบปกติ

Dr.Curt J. Bonk (2005) กลาววา การเรียนการสอนแบบผสมผสาน เปนการผสมผสานวิธีหลายๆวิธี(Multiple Learning Methods) เพื่อใชในการจัดการเรียนการสอน(teaching and learning)

เพ่ือสงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและเกิดทักษะดานการปฏิบัติ(Practice Skill) เชน การสอนในช้ันเรียนรวมกับการสอนแบบออนไลน(a combination of face-to-face and Online Learning)

การเรียนการสอนผสมผสานนั้น คือ การผสานกันระหวางส่ือการสอนหลากชนิด ไมวาเปนการสอนท่ีผูสอนยืนบรรยายให การอบรม หรือการสอนแบบใหทําเวิรคชอรปท่ีมีผูรูคอยตอบคําถามอยางแจมแจง หรือการอานจากตําราท้ังการใชอีเลิรนนิ่ง นอกจากนั้น ยังตองมีเครื่องมือควบคุมจัดการเรียนการสอน หรือ Learning Management System (LMS) ไวใชในการติดตามผลการเรียน วาเปนอยางไรเรียนไปมากนอยแคไหน ไดคะแนนเทาไร กลาวโดยรวมองคประกอบหลักใหญในการใชอีเลิรนนิ่งท่ีดีนั้น ตองมีฐานขอมูลเปนพื้นเพื่อใชในการเก็บขอมูลมีอีเลิรนนิ่งเปนตัวกลางและมี LMS เปนสวนหัวครอบอยูขางบน(เจนเนตร มณีนาค 2545 : 66)

สมาคมสโลน (Allen and Seaman 2005) ใหคําจํากัดความของการเรียนการสอนแบบผสมผสานวามีสัดสวนของเนื้อหาท่ีนําเสนออนไลนระหวางรอยละ 30 ตอรอยละ 70 คําอธิบายของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน คือ การเรียนการสอนท่ีผสมออนไลนและการเรียนในช้ันเรียน โดยท่ีเนื้อหา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 21: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

5

สวนใหญสงผานระบบออนไลน ใชการอภิปรายออนไลนและมีการพบปะกันในช้ันเรียนบาง และมีสวนท่ีนาสนใจวาการอภิปรายออนไลนถือวาเปนการสงผานเนื้อหาออนไลน เชนกัน สําหรับการเรียนในรูปแบบอื่นๆ อยางเชน การเรียนการสอนแบบปกติจะไมมีการสงเนื้อหาออนไลน การเรียนการสอนแบบใชเว็บชวยสอนจะมีการสงผานเน้ือหาออนไลนรอยละ 1-30 และการเรียนการสอนออนไลนมีการสงผานเนื้อหาออนไลนรอยละ 80-100

ซึ่งปจจุบันมีรูปแบบการเรียนการสอนหลากหลาย ขึ้นอยูกับการนําไปใชใหเหมาะสม เพราะแตละรูปแบบก็จะมีขอดีและขอดอยท่ีแตกตางกันไป โดยเฉพาะการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended

Learning) เปนการนําเอาขอดีของการเรียนแบบออนไลนและแบบเผชิญหนา หรือการเรียนในหองเรียน มาผสมผสานและประยุกตใชใหเกิดประสิทธิภาพตอการเรียนการสอนไดเปนอยางดี สามารถใชส่ือหลายรูปแบบ รวมท้ังการจัดกลุมแสดงความคิดเห็น ในเนื้อหารวมกับการเรียนการสอนผานเว็บ ทําใหผูเรียนไดรับความรูและสนุกสนานตอการเรียนการสอน นอกจากนี้ผูสอนสามารถติดตามผลการเรียนของนักเรียนวาเปนอยางไร เรียนมากนอยแคไหน ไดคะแนนเทาไร โดยมีเครื่องมือควบคุมจัดการเรียนการสอน ซึ่งทําใหผูสอนสะดวกสบายมากขึ้น และในขณะท่ีผูเรียนกําลังศึกษาทางออนไลน ผูสอนสามารถโตตอบกับนักเรียนไดในชวงเวลานั้น พรอมสามารถสงการบานทางออนไลนไดเชนกัน ทําใหผูสอนมีเวลามากข้ึนและพรอมท่ีจะหาความรูเพิ่มเติมไดทุกเวลา เพื่อสรางเนื้อหาใหผูเรียนไดรับความรูสูงสุด สวนการเรียนแบบผสมผสานนั้นบางกรณีสามารถพบและสนทนา หรือเรียนแบบเผชิญหนาไดเชนกัน ทําใหหลากหลายตอการเรียนการสอน ท้ังนี้ก็ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของเนื้อหาของบทเรียน โดยท่ีผูเรียนสามารถจัดการเรียนของตนเองได ซึ่งทําใหเปดโลกทัศนการศึกษามากขึ้น (เฉลิมพล ภุมรินทร 2550 : 5)

ผูวิจัยเปนผูสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยาประสบกับปญหาหลายประการดังตอไปนี้

ประการท่ีหนึ่ง เวลาสําหรับการเรียนการสอนเรื่องการสรางงานนําเสนอในช่ัวโมงเรียนไมเพียงพอ

ประการท่ีสอง ดวยหนาท่ีภาระของครูผูสอนท่ีนอกเหนือจากงานสอน จึงสงผลครูผูสอนมีเวลาวางนอกช่ัวโมงเรียนสําหรับใหคําปรึกษาแนะนําใหนักเรียนไมเพียงพอ

ประการท่ีสาม เม่ือนักเรียนไดรับมอบหมายงานแลวแตไมสามารถปฏิบัติงานใหแลวเสร็จในช่ัวโมงเรียนไดเนื่องจากเวลาไมเพียงพอ จึงตองปฏิบัติงานตอท่ีบานหรือนอกเวลาเรียน และเมื่อเกิดปญหาไมสามารถแกไขได ตองการปรึกษาครูผูสอน แตดวยเวลาวางของครูผูสอนและนักเรียนไมคอยตรงกันจึงทําใหการใหคําปรึกษาแกปญหาไขปญหาเปนไปอยางไมท่ัวถึงตองความตองการของนักเรียน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 22: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

6

ผูวิจัยจึงมีความประสงคท่ีจะแกไขปญหาตางๆ ขางตน เพื่อใหการเรียนการสอนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดจึงไดนําการเรียนการสอนแบบผสมผสานมาใชการเรียนการสอนเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

2.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการเรียนแบบปกติกับการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

สมมติฐานของการวิจัย

1.ผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ ดวยการเรียนแบบผสมผสาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยาหลังเรียนสูงกวากอนเรียน

2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบผสมผสานกับการเรียนแบบปกติ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา แตกตางกัน

3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนออยูในระดับมาก

ขอบเขตของการวิจัย

1.ประชาการและกลุมตัวอยาง

1.1 ประชากรท่ีใชในการวิจัยไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา 3 หองเรียน จํานวน 139 คน

1.2 กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยไดแกนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา อ.บานโปง จ.ราชบุรี จากการเลือกแบบสุมอยางงายมา 2 หองเรียน โดยพิจารณาจากผลการเรียนใกลเคียงกัน หองละ 44 คน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 23: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

7

2.ตัวแปรท่ีใชในการศึกษา

2.1 ตัวแปรตน (Independent Variable) คือ

2.1.1 การเรียนการสอนแบบผสมแบบผสาน

2.1.2 การเรียนการสอนดวยวิธีปกติ

2.2ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

2. ความพึงพอใจของนักเรียนตอการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

นิยามศัพทเฉพาะ

1.นักเรียนหมายถึง นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา อ.บานโปง จ.ราชบุรี ปการศึกษา2556

2.การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) หมายถึง กระบวนการเรียนการสอนในหองเรียนโดยครูเปนผูบรรยาย สาธิต ส่ือมัลติมีเดีย และการเรียนการสอนแบบออนไลน โดยเรียนรูผานระบบการจัดการเรียนการสอน (LMS) ท่ีผูเรียนสามารถ Login เพื่อมาเขาเรียน และทํากิจกรรมตางๆ ท่ีผูสอนไดกําหนดและจัดขึ้น รวมถึงการอภิปรายการแสดงความคิดเห็นในเนื้อหารวมกัน และ การติดตอส่ือระหวางครูกับนักเรียนผาน Social Network

3.การเรียนแบบปกติ หมายถึง การเรียนการสอนตามแผนการสอน ผูเรียนและผูสอนพบกันในหองเรียนปกติ

4.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนท่ีไดจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียน และจากผลงานการสรางงานนําเสนอหลังจากเรียนผานบทเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.ความพึงพอใจของนักเรียน หมายถึง ทัศนคติหรือระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนการสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 24: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

8

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ผูวิจัยไดกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ดังแผนภาพท่ี 1

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ผลสัมฤทธิ์การเรียน ความพึงพอใจของนักเรียน

การเรียนผสมผสาน

การเ รียนผสมผสาน หมายถึง การผสมผสานกันของวิธีสอนหลากหลาย ไมวาจะเปนการสอนท่ีมีผูสอนยืนบรรยาย ใหการอบรม ใชส่ือการสอน หรือการสอนแบบใหทําเวิรคช็อป ท่ีมีผูรูคอยตอบคําถาม ท้ังแบบเผชิญหนาหรือใชระบบท่ีปรึกษาออนไลน การอานจากตํารา รวมท้ังการใชอี เ ลิรนนิ่ ง นอกจากนั้น ยังตองมี เครื่องมือควบคุมจัดการเรียนการสอน หรือ Learning

Management System (LMS) ไวใชในการติดตามผลการเรียน วาเปนอยางไรเรียนไปมากนอยแคไหน ไดคะแนนเทาไร กลาวโดยรวมองคประกอบหลักใหญในการใชอีเลิรนนิ่งท่ีดีนั้น ตองมีฐานขอมูลเปนพื้นเพื่อใชในการเก็บขอมูลมีอีเลิรนนิ่งเปนตัวกลางและมี LMS เปนสวนหัวครอบอยูขางบน (เจนเนตร มณีนาค 2545 : 66)

งานนําเสนอ

การนํา เสนองานหรือผลงานนั้ น ส่ือนําเสนอเปรียบเสมือนสะพานเช่ือมเนื้อหา ของผูบรรยายไปยั ง ผูฟ งและผูชม ดังนั้น ส่ือจึงมีบทบาทสําคัญอยางมาก ส่ือท่ีดี จะชวยใหการถายทอดเนื้อหาสาระทําไดอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น ผูฟงและผูชมจะสามารถ จดจําเนื้อหาสาระไดนานและเขาใจในเนื้อหาไดดีมากขึ้น ความหมายการนําเสนอ การนําเสนอขอมูล หมายถึง การส่ือสารเพื่อเสนอขอมูล ความรู ความคิดเห็น หรือความตองการไปสูผูชม ผูฟงโดยใชเทคนิคหรือวิธีการต า ง ๆ อั น จะ ทํ า ให บ ร ร ลุ ผล สํ า เ ร็ จต า มจุดมุงหมายของการนําเสนอ (โสมวรรณ แฝงเวียง)

วิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 25: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

9

บทที่ 2

เอกสารงานวิจัยทีเ่กี่ยวของ

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของดังตอไปนี้

1. หลักสูตรสถานศึกษา พ.ศ. 2553 โรงเรียนดุสิตวิทยา กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

2. ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อการออกแบบการเรียนการสอน

2.1ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม

2.2ทฤษฏีปญญานิยม

3. การเรียนการสอนแบบผสมผสาน

3.1ความหมายของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

3.2ลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

3.3รูปแบบของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

3.4ขั้นตอนของการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

3.5การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

3.6ประโยชนของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

4. เนื้อหาเก่ียวกับการสรางงานนําเสนอ

5. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 26: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

10

1.หลักสูตรสถานศึกษา พ.ศ. 2554 โรงเรียนดุสิตวิทยา กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

คําอธิบายรายวิชาข้ันพืน้ฐาน

รายวิชา ง16101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จํานวนเวลา 80 ช่ัวโมงป

ศึกษาแนวทางในการทํางานและปรับปรุงงานการทํางานแตละขั้นตอนตามลําดับท่ีวางแผนไว คือ กอนการทํางาน ขณะทํางานและเม่ือทํางานเสร็จแลว ในเรื่องการดูแลรักษาสมบัติภายในบาน การปลูกไมดอกหรือไมประดับหรือปลูกผักหรือเล้ียงปลาสวยงาม การบันทึกรายรับ -รายจาย การจัดเก็บเอกสารการเงิน การจัดการในการทํางานในเรื่องการเตรียมประกอบจัดอาหาร การติดต้ังประกอบของใชในบาน การประดิษฐของใชของตกแตงใหสมาชิกในครอบครัวหรือเพื่อนๆในโอกาสตางๆ มีความรูเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีซึ่งประกอบดวย ตัวปอน กระบวนการ และผลลัพธ เขาใจการสรางส่ิงของเครื่องใชอยางเปนขั้นตอน ต้ังแต กําหนดปญหาหรือความตองการรวบรวมขอมูล เลือกวิธีการออกแบบโดยถายทอดความคิดเปนภาพราง 3 มิติ หรือแผนท่ีความคิดกอนลงมือสรางและประเมินผล ศึกษาการสรางช้ินงานท่ีเกี่ยวของกับกลไกและการควบคุมไฟฟาอีเล็กทรอนิกส การสรางช้ินงานอื่นๆ เชน การตัด การประกอบช้ินงาน การเจาะเปนตน รูหลักการเบ้ืองตนของการแกปญหาเริ่มต้ังแตการพิจารณาปญหา วางแผนการแกปญหา การดําเนินการแกปญหา และการตรวจสอบปรับปรุง การใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล เชน คนหาขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอร คนหาขอมูลทางอินเตอรเน็ท คนหาขอมูลจากซีดีรอม การเก็บรักษาขอมูลในรูปแบบสําเนาถาวร เชน เอกสาร แฟมสะสมงาน ส่ือบันทึก เชน เทป แผนบันทึก ซีดีรอม การจัดทําขอมูลเพื่อการนําเสนอ การเลือกใชซอฟแวรประยุกตใหเหมาะสมกับรูปแบบการนําเสนอ การใชคอมพิวเตอรในการสรางช้ินงาน เชน แผนพับ ปายประกาศ เอกสารแนะนํา ช้ินงาน สไลดนําเสนอขอมูล การสํารวจตนเองในดานความสนใจ ความสามารถและทักษะ

อภิปรายแนวทางการทํางาน ปรับปรุงการทํางาน ฝกทักษะในการจัดการและทักษะในการทํางานรวมกัน มีทักษะในเรื่องการดูแลรักษาสมบัติภายในบาน การปลูกไมดอกหรือไมประดับหรือปลูกผัก การเล้ียงปลาสวยงามหรือสัตว การบันทึกรายรับ-รายจาย การจัดเก็บเอกสารการเงิน การจัดการในการทํางานในเร่ืองการเตรียมประกอบจัดอาหาร การติดต้ังประกอบของใชในบาน การประดิษฐของใชของตกแตง อธิบายสวนประกอบของระบบเทคโนโลยี การใชโปรแกรมพื้นฐาน ซอฟตแวรสําเร็จรูป การประมวลคํา โปรแกรมกราฟก คอมพิวเตอรระบบมัลติมีเดีย ใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล เก็บรักษาขอมูล การใชโปรแกรมนําเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสม เพื่อใหสามารถใชคําส่ัง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 27: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

11

พื้นฐานของระบบปฏิบัติการและสามารถนําระบบการจัดการฐานขอมูลสรางส่ิงของเคร่ืองใชอยางปลอดภัย

มีมารยาทในการทํางานกับสมาชิกในครอบครัวและผูอื่น มีจิตสํานึกในการใชทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา รับผิดชอบในการสรางช้ินงาน ไมคัดลอกผลงานผูอื่น ใชคําสุภาพและไมสรางความเสียหายตอผูอื่น มีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ ดานความซื่อสัตย ความขยันอดทน ความยุติธรรมและความรับผิดชอบ

ตัวชี้วัด

ง 1.1 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3

ง 2.1 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3

ง 3.1 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3 . ป.6/4, ป.6/5

ง 4.1 ป.6/1, ป.6/2

รวม 13 ตัวชี้วัด

2. ทฤษฎีการเรียนรูเพ่ือการออกแบบการเรียนการสอน

ในการออกแบบการเรียนการสอน ผูท่ีออกแบบไดดีควรมีพื้นฐานความรูหลักการและทฤษฏีท่ีเกี่ยวของอยางกวางขวาง เชน หลักการวัดการประเมินผล หลักการสอนและวิธีการสอน ทฤษฎีการเรียนรูและทฤษฎีการสอน หลักการและทฤษฎีดังกลาวเกิดข้ึนจากการศึกษาคนควาและการวิจัยของนักจิตวิทยาการศึกษาเกือบท้ังส้ิน เชน ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral theories) และทฤษฎีปญญานิยม (Cognitive theories) ซึ่งนํามาประยุกตใชเพื่อการเรียนการสอนอยางกวางขวาง

2.1 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral theories)

พื้นฐานความคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมโดยสรุป เช่ือวาพฤติกรรมของมนุษยนั้นเกิดจากการเรียนรู สามารถสังเกตพฤติกรรมไดในรูปแบบตางๆ กัน และเช่ือวาการใหตัวเสริมแรง จะชวยกระตุนใหเกิดพฤติกรรมตามตองการได นักจิตวิทยาท่ีไดรับการยอมรับในกลุมนี้ไดแก พาฟลอฟ ซึ่งเดิมเปนนักวิทยาศาสตรที่มีช่ือเสียงของรัสเซีย วัตสันนักจิตวิทยาชาวอเมริกันซึ่งไดรับการยอมรับวา เปนบิดาของจิตวิทยากลุมพฤติกรรมนิยม และสกินเนอร ท่ีโดดเดนในการนําทฤษฎีดานจิตวิทยามาประยุกตใชเพื่อ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 28: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

12

การเรียนการสอนโดยเฉพาะอยางยิ่งทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับการเสริมแรง ไดมีการศึกษาวิจัยอยางตอเนื่องถึงปจจุบัน

สกินเนอร (Skinner , 1953 : 65) เช่ือวาตัวเสริมแรงเปนตัวแปรสําคัญในการเปล่ียนพฤติกรรมหรือการเรียนรูของผูเรียน เกี่ยวของกับความเร็ว ความอดทนในการทํางาน ความสามารถบังคับตนเอง และชวยใหเกิดความคิดสรางสรรค การเสริมแรงอาจเปนรูปแบบของการใหรางวัล ท่ีเหมาะสม หรืออาจเปนความพึงพอใจท่ีเกิดข้ึนจากความสําเร็จในการเรียนหรือการทํากิจกรรม หลักการของสกินเนอร ไดรับการนําไปพัฒนาเปนรูปแบบการสอนแบบโปรแกรม สกินเนอรไดแยกลักษณะของตัวเสริมแรงท่ีชวยใหเกิดแรงจูงใจ ออกเปน 3 ลักษณะ คือ ตัวเสริมแรงท่ีเปนวัตถุส่ิงของ ตัวเสริมแรงทางสังคม ตัวเสริมแรงภายในตนเอง ในแงของนักวิชาการและครูผูสอน ควรหลีกเล่ียงการใหการเสริมแรงในลักษณะของรางวัลท่ีเปนส่ิงของ เนื่องจาการใหรางวัลในลักษณะน้ีจะลดแรงจูงใจภายใน (Intrinsic motivation) ซึ่งเปนแรงจูงใจท่ีเกิดขึ้นจากความตองการกระทําของบุคคลนั้นๆ

การประยุกตแนวคิดและทฤษฎีพฤติกรรมนิยมออกแบบบทเรียนมัลติมีเดีย

จากหลักการแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูจากกลุมพฤติกรรมนิยมดังกลาว สามารถนํามาประยุกตใชในการออกแบบบทเรียนมัลติมีเดีย ไดดังนี้

2.1.1 ควรแบงเนื้อหาบทเรียนออกเปนหนวยยอย

2.1.2 แตละหนวยควรบอกเปาหมายและวัตถุประสงคใหชัดเจนวา ตองการใหผูเรียนศึกษาอะไร และศึกษาอยางไรบาง

2.1.3 ผูเรียนสามารถเลือกความยากงายของเนื้อหา และกิจกรรมใหสอดคลองกับความตองการและความสามารถและความสามารถของตนเองได

2.1.4 เกณฑการวัดตองมีความชัดเจน นาสนใจ บอกไดวาผูทดสอบอยูตําแหนงใดเมื่อเทียบกับเกณฑปกติ และวัดผลควรทําอยางตอเนื่อง

2.1.5 ควรใหขอมูลปอนกลับในรูปแบบท่ีนาสนใจทันทีทันใด หรือกระตุนใหเกิดแรงจูงใจ

2.1.6 ควรใชภาพและเสียงท่ีเหมาะสม

2.1.7 กระตุนใหผูเรียนสรางจินตนาการท่ีเหมาะสมกับวัย โดยใชขอความ ใชภาพ เสียง หรือการสรางสถานการณสมมติ โดยใหผูเรียนมีสวนรวมในสถานการณนั้น ๆ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 29: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

13

2.1.8 การนําเสนอเนื้อหา และการใหขอมูลยอนกลับ ควรใหความแปลกใหม ซึ่งอาจเปนภาพ เสียง หรือกราฟก แทนท่ีจะใชคําอานเพียงอยางเดียว

2.1.9 เสนอขอมูลในลักษณะของความขัดแยงทางความคิด เชน ปลาตองอยูในน้ําจึงจะรอด แตปลาชนิดหนึ่งท่ีเดินอยูบนดินแข็งได

2.1.10 ควรสอดแทรกคําถาม เพื่อกระตุนใหผูเรียนเกิดความสงสัยหรือประหลาดใจ เมื่อเริ่มตนบทเรียนหรือระหวางเนื้อหาแตละตอน

2.1.11 ใหตัวอยางหรือหลักเกณฑอยางกวาง ๆ เพื่อกระตุนใหผู เรียนคิดคนหาคําตอบเอง การคอยๆ ช้ีแนะ หรือบอกใบอาจจําเปน ซึ่งจะชวยสราง และรักษาระดับความอยากรูอยากเห็น

2.2ทฤษฏีปญญานิยม

ทฤษฏีปญญานิยมเกิดจากความคิดของ ชอมสกี้ (Chomsky , 1972 : 65) ท่ีมีความเห็นไมสอดคลองกับแนวคิดของนักจิตวิทยา ในกลุมพฤติกรรมนิยม ชอมสกี้เช่ือวาพฤติกรรมมนุษยนั้นเกิดขึ้นจากจิตใจ ความคิด อารมณ และความรูสึกแตกตางกันออกไป เขามีวิธีอธิบายพฤติกรรมของมนุษย วาพฤติกรรมของมนุษยมีความเช่ือมโยงกับความเขาใจ การรับรู การระลึก หรือจําได การคิดอยางมีเหตุผล การตัดสินใจ การแกปญหา การสรางจินตนาการ การจัดกลุมส่ิงของ การตีความ ในการออกแบบการเรียนการสอนจึงควรตองคํานึงถึงความแตกตางทางดานการเรียนรูวา การเรียนรูเปนการผสมผสานขอมูลขาวสารเดิมกับขอมูลขาวสารใหมเขาดวยกัน หากผูเรียนมีขอมูลขาวสารเดิมเช่ือมโยงกับขอมูลขาวสารใหม การรับรูก็จะยิ่งงายข้ึน ผูเรียนจะมีลีลาในการรับรู และการเรียนรูและการนําความรูไปใชตางกัน แนวความคิดดังกลาวนี้เองท่ีทําใหเกิดแนวคิดเกี่ยวกับความแตกตางของการจํา นักทฤษฏีกลุมนี้ไดใหความสนใจศึกษาองคประกอบในการจําท่ีสงผลการจําระยะส้ัน ความจําระยะยาว และความคงทนในการจํา

เพียเจ (Piaget , 1952 : 71) เปนนักจิตวิทยาอีกผูหนึ่งในกลุมนี้ เปนผูนําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนา ดานการรับรูของเด็ก และไดสรางทฤษฎีพัฒนาการทางปญญาขึ้น โดยเช่ือวามนุษยเกิดข้ึนมาพรอมกับโครงสราง สติปญญาท่ีไมซับซอน และจะคอย ๆ มีพัฒนาการขึ้นตามลําดับเมื่อไดมีปฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอม ผูสอนจึงควรจัดสภาพแวดลอมใหผูเรียนไดคิด ไดรูจักวิธีการและเกิดการคนพบดวยตนเอง บรูเนอร (Bruner , 1960 : 58) เรียกวิธีการดังกลาวนี้วา การเรียนรูโดยการคนพบ โดยผูสอนตองมีความเขาใจวากระบวนการคิดของเด็กและผูใหญแตกตางกัน การเรียนการสอนจึงตองเนนการจัดหรือสรางประสบการณท่ีผูเรียนคุนเคยกอนและแทรกปญหา ซึ่งผูสอนอาจเปนผูต้ังปญหา หรืออาจมาจากผูเรียนเปนผูต้ังปญหา แลวชวยกันคิดชวยกันแกแลวหาคําตอบ การสอนแนวนี้ไดรับความสนใจจากนักจิตวิทยาในกลุมนี้มาก และไดแตกแขนกออกไปเปนกลุมนักวิศวกรรมนิยม สวนรางวัลท่ีผูเรียนไดรับนั้น ควรเนน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 30: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

14

แรงจูงใจภายในมากกวาแรงจูงใจภายนอก ซึ่งเปนความรูสึกท่ีเกิดขึ้นจากความสําเร็จหรือการแกปญหามากกวารางวัลท่ีไดรับจากภายนอก

3. การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended learning)

โดยท่ัวไปแลววิธีการเรียนการสอนมีมากมาย ต้ังแตรูปแบบปกติคือการเขาช้ันเรียน ทุกคนมาพบกันหมด หรืออาจจะเปนแบบถายทอดสดการสอน โดยมีครูผูสอนสอนเปนผูบรรยายสวนนักเรียนอยูตามท่ีตางๆ ท่ีสามารถรับการถายทอดได ซึ่งอาจจะเปนการถายทอดผานทางทีวี หรือวิดีโอคอนเฟอรเรนซ รูปแบบอื่นๆ ก็มีอีก เชน ซีดีรอม ท่ีสามารถใหผูเรียนนั่งเรียนไดตามใจชอบ หรือจะเปนการเรียนในรูปเอกสาร ใหผูเรียนอานอยางเดียว โดยไมจําเปนตองพูดกับใคร คอยๆ อานไปเปนขั้นเปนตอน การท่ีผูเรียนแตละคนมีความถนัด และความตองการการเรียนรูท่ีแตกตางกัน จึงตองจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพ่ือสงผานเน้ือหาท่ีเหมาะสมในรูปแบบท่ีเหมาะสม สูกลุมผูเรียนท่ีเหมาะสมในเวลาท่ีเหมาะสม การเรียนแบบผสมผสานไดรวมเอาส่ือหลากหลายเพื่อการสรางการเรียนรู

การสอนดวยวิธีการเรียนรูแบบผสมผสานนั้น ผูสอน สามารถใชวิธีการสอน สองวิธีหรือมากกวา ในการเรียนการสอน เชน ผูสอนนําเสนอเนื้อหาบทเรียนผานเทคโนโลยีผนวกกับการสอนแบบเผชิญหนา แตหลังจากนั้นผูสอนนําเน้ือหาบทความแขวนไวบนเว็บ จากนั้นติดตามการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชอีเลินนิ่ง ดวยระบบแอลเอ็มเอส ดวยเครื่องคอมพิวเตอรในหองแล็บ หลังจากนั้นสรุปบทเรียน

ดวยการอภิปรายรวมกับอาจารยผูสอนในหองเรียน

"Blended learning เปนส่ิงสําคัญของการศึกษาและเทคโนโลยี ,blended learning มีการใชงานท่ีเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็ว,เปนการบูรณาการระหวางการเรียนในช้ันเรียนและการเรียนแบบออนไลน ,สามารถชวยสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนและการใชเวลาในช้ันเรียนไดเหมาะสม"

3.1 ความหมายของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

การเรียนแบบผสมผสานเปนการใชส่ือท่ีมีอยูหลากหลายไมวาจะเปน ส่ื อมัลติมีเดีย ภาพถาย เสียง วีดิทัศน รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่ือคอมพิวเตอร ระบบออนไลนตางๆ กิจกรรมการเรียนการสอนแบบตางๆ ไมวาจะเปนการฝกอบบรมการสาธิต การสอนแบบบรรยาย ผสมผสานเขาไปเพื่อพัฒนาความเปนโปรแกรมการเรียนการสอนการฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพ (Bensin 2004; XV)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 31: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

15

ดีสคอล (Driscoll, 2002) ไดใหความหมายของการเรียนแบบผสมผสานไววา หมายถึง ส่ิงท่ีแตกตางกันซึ่งสามารถแสดงศักยภาพไดอยางกวางขวาง โดยแบงออกเปน 4 แนวคิด ดังนี้

1.การรวมหรือการผสมเทคโนโลยีการเรียนการสอนของเว็บ (Web-Based Technology) กับการเรียนในช้ันเรียนแบบด้ังเดิม เชน Live Virtual Classroom, Self-Paced Instruction การเรียนรูแบบรวมมือ (Collaborative Learning) วิดีโอสตรีมมิ่ง (Streaming Video) เสียงและขอความ เพื่อใหบรรลุตามเปาหมายของการจัดการศึกษา

2.การรวมวิธีการสอนเพื่อสรางผลลัพธทางการเรียนท่ีดีท่ีสุด โดยใชหรือไมใชเทคโนโลยีการเรียนการสอนก็ได ซึ่งเปนการผสมผสานวิธีการสอนท่ีหลากหลายเขากันดวยกัน เชน แนวคิดคอนสตรัคติวิซึ่ม (Condtructivism) แนวคิดพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) และแนวคิดพุทธิปญญานิยม (Congnitivism) เพื่อ ให ไดผลลัพธจากการเ รียนท่ี ดี ท่ี สุดซึ่ งอาจใชหรือไม ใช เทคโนโลยีการสอน ( Instructional

Technology)ก็ได

3.การผสมผสานเทคโนโลยีการเรียนการสอนทุกรูปแบบกับการเรียนการสอนท่ีเผชิญหนากับผูสอน ซึ่งเปนมุมมองท่ีมีผูยอมรับกันอยางแพรหลายมากท่ีสุด (Driscoll, 2002) ซึ่งการเรียนแบบผสมผสานตามแนวคิดนี้ถือไดวาเปนการผสมผสานโดยนําเอาคุณสมบัติของเทคโนโลยีทุกรูปแบบไดแก อินเตอรเน็ต รวมไปถึงเคร่ืองมือและอุปกรณการส่ือสารตางๆ เปนตน มาใชเพื่อสนับสนุนและทดแทนกิจกรรมบางสวนของการเรียนการสอนในช้ันเรียนปกติ

4.การรวมเทคโนโลยีการสอนกับการทํางานจริง ซึ่ง Driscoll ไดใหคํานิยมตามแนวคิดนี้วาการเรียนการสอนแบบผสมผสานเปนสวนหนึ่งของการฝกอบรมในองคกร เปนการผสมผสานการเรียนผานระบบอิเล็กทรอนิกสและส่ืออื่นๆ เพื่อใหเกิดการผานความรูในองคกร

บองคและเกรแฮม (Bonk and Graham, 2006) ใหความหมายของการเรียนการสอนแบบผสมผสานวา เปนการผสมผสานระบบการเรียน (Learning Systems) ท่ีหลากหลายเขาดวยกันเพื่อแกปญหาท่ีเกิดขึ้นหลากหลายในการเรียน

สมาคมสโลน (Allen and Seaman 2005) ใหคําจํากัดความของการเรียนการสอนแบบผสมผสานวามีสัดสวนของเนื้อหาท่ีนําเสนออนไลนระหวางรอยละ 30 ตอรอยละ 70 คําอธิบายของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน คือ การเรียนการสอนท่ีผสมออนไลนและการเรียนในช้ันเรียน โดยท่ีเนื้อหาสวนใหญสงผานระบบออนไลน ใชการอภิปรายออนไลนและมีการพบปะกันในช้ันเรียนบาง และมีสวนท่ีนาสนใจวาการอภิปรายออนไลนถือวาเปนการสงผานเนื้อหาออนไลน เชนกัน สําหรับการเรียนในรูปแบบอื่นๆ อยางเชน การเรียนการสอนแบบปกติจะไมมีการสงเนื้อหาออนไลน การเรียนการสอนแบบใชเว็บ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 32: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

16

ชวยสอนจะมีการสงผานเน้ือหาออนไลนรอยละ 1-30 และการเรียนการสอนออนไลนมีการสงผานเนื้อหาออนไลนรอยละ 80-100

แมรี บารท (Mary Bart 2009) กลาววา การเรียนการสอนแบบผสมผสาน เปนการรวมการเรียนการสอนในช้ันเรียนและการเรียนรูออนไลนไวในรายวิชาเดียวกัน ซึ่งรูปแบบการเรียนรูแบบผสมผสานไดเติบโตอยางมากในเวลาท่ีผานมาไมกี่ป การเรียนการสอนแบบผสมผสานหรือบางครั้งเรียกวา ไฮบริดเลิรนนิ่ง ทําใหผูเรียนในช้ันเรียนขนาดใหญพึงพอใจกับความยืดหยุน อยางไรก็ตามประโยชนของการเรียนการสอนแบบผสมผสานท่ีไดออกแบบอยางดี ก็คือ การพัฒนาการสอนและประสบการณการเรียนรู

ศูนยการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยกายารี (Calgary University 2007) ใหคําจํากัดความของการเรียนการสอนแบบผสมผสานวา เปนการรวบการเรียนการสอนในช้ันเรียนและการเรียนการสอนออนไลน เพื่อสรางประสบการณเรียนรูในหองเรียน และขยายขอบเขตการเรียนรูโดยใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีของขอมูลและส่ือสาร วิธีการเรียนรูแบบผสมผสานทําใหผูเรียนสมัครและเรียนออนไลนตามหลักสูตร พัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยลดเวลาการบรรยาย

แรนดี และ นอรม (Randy Garrison and Norm Vaughan 2007) กลาววาการเรียนแบบผสมผสานรวมการเรียนในช้ันเรียนเขากับการเรียนดวยส่ือเทคโนโลยี ซึ่งพื้นฐานคือ การส่ือสารกันดวยคําพูดและการเขียน และเรียนรูจากทรัพยากรการเรียนรูท่ีหลากหลาย เชน เสียง วีดิทัศน กราฟค สถานการณจําลอง และการทัศนศึกษา ซึ่งเปนการนําเอาจุดเดนของส่ือแตชนิดมาผสมผสานเปนประสบการณการเรียนการสอน ท่ีสอดคลองกับบริบทและจุดประสงคของการศึกษา ส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุดคือ การเยนแบบผสมผสานคือ การออกแบบท่ีเปล่ียนแปลงโครงสรางการเยนการสอนเพื่อทดแทนเวลาท่ีใชในการเรียนการสอนในหองเรียน

เจนเนตร มณีนาค (2545 : 66) ใหความหมายของการเรียนแบบผสมผสาน หมายถึงการผสมผสานกันของวิธีสอนหลากหลาย ไมวาจะเปนการสอนท่ีมีผูสอนยืนบรรยาย ใหการอบรม ใชส่ือการสอน หรือการสอนแบบใหทําเวิรคช็อป ท่ีมีผูรูคอยตอบคําถาม ท้ังแบบเผชิญหนาหรือใชระบบท่ีปรึกษาออนไลน การอานจากตํารา รวมท้ังการใชอีเลิรนนิ่ง นอกจากนั้น ยังตองมีเครื่องมือควบคุมจัดการเรียนการสอน หรือ Learning Management System (LMS) ไวใชในการติดตามผลการเรียน วาเปนอยางไรเรียนไปมากนอยแคไหน ไดคะแนนเทาไร กลาวโดยรวมองคประกอบหลักใหญในการใชอีเลิรนนิ่งท่ีดีนั้น ตองมีฐานขอมูลเปนพื้นเพื่อใชในการเก็บขอมูลมีอีเลิรนนิ่งเปนตัวกลางและมี LMS เปนสวนหัวครอบอยูขางบน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 33: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

17

การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) เปนการรวมกันหรือนําส่ิงตางๆมาผสม โดยท่ีส่ิงท่ีถูก รวมรูปแบบการเรียนการสอน รวมวิธีการเรียนการสอน รวมการเรียนแบบออนไลน และรูปแบบการเรียนการสอนในช้ันเรียน

การเติบโตของการเรียนแบบผสมผสานต้ังแตอดีต ปจจุบันและอนาคตการเรียนรูแบบผสมผสาน โดยในอดีตนั้น การเรียนแบบผสมผสานคือสวนท่ีไดมีการรวมเขาหากันจาก 2 รูปแบบสภาพแวดลอมของการเรียนแบบเดิม นั้นก็คือ การเรียนแบบเผชิญหนาในช้ันเรียนกับ การเรียนแบบออนไลน ซึ่งในอดีตนั้นการเรียนท้ัง 2 รูปแบบจะมีชองวางหรือระยะหางระหวางกันคอนขางมาก คือจะมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะของตัวเองมีรูปแบบ และการดําเนินการในรูปแบบท่ีตางกันเพราะวาตางก็ใชส่ือและเคร่ืองมือท่ีแตกตางกัน และมีสถานท่ีในการเรียนท่ีแตกตางกันเพราะมีกลุมผูเรียนท่ีตางกันดวย แตในขณะเดียวกันนั้นการเรียนแบบทางไกลก็กําลังมีการเติบโตและแผขยายอยางรวดเร็ วซึ่งไดเขามาในรูปของเทคโนโลยีใหม ท่ีมีความเปนไปไดอยางสูงท่ีการเรียนแบบออนไลนนั้นจะมีการแผขยายเขามาสูการเรียนในช้ันเรียนอยางรวดเร็วในปจจุบันการเรียนแบบออนไลนนั้นไดเขามามีสวนรวมในการติดตอส่ือสารและมีปฏิสัมพันธรวมในการเรียนการสอนในช้ันเรียนเกิดเปนการเรียนแบบผสมผสานข้ึนมาซึ่งคาดวาในอนาคตนั้นการเรียนแบบผสมผสานจะมีการขยายตัวที่มากขึ้นตามรูปแบบการเรียนแบบออนไลนท่ีจะมีการเติบโตขึ้นมากกวาปจจุบัน จึงสงผลใหการเรียนแบบผสมผสานนั้นมีการขยายวงกวางออกไปจากเดิมยิ่งขึ้นอีกดวย

3.2 ลักษณะการเรียนรูแบบผสมผสานแบงออกเปน 4 ระดับ

1.เรียนรูจากสารสนเทศ การเรียนรูแบบนี้เปนระดับเบื้องตนลางสุด กลาวคือแตละคนสามารถเรียนรูไดเองจากการอานตางๆ ไมวาจะเปนเอกสารอางอิงหรืออะไรก็ตาม

2.เรียนรูจากการโตตอบ (Learn thru interaction) ตัวอยางการเรียนรูลักษณะนี้คือการใช multimedia, Computer – Based Training (CBT) หรือ Web – Based Traning (WBT) เพื่อตรวจสอบตัวเอง

3.เรียนรูจากสังคมยอย (Learn from collaboration) เปนการแบงปนความรูปรึกษาหารือกัน ติดตอกันทางกระดานขาว หรือหองเรียนเสมือน

4.เรียนรูจากการเขาพบปะเผชิญหนากัน (Learn thru collaboration) ระดับนี้จะเปนระดับสูงสุด ตองมี face to face หรือ get together หรือ mentoring นั่นเอง

การเรียนรูแบบผสมผสานตองกอใหเกิดการเรียนรูท้ัง 4 ระดับ ซึ่งเราจะเห็นไดวาอีเลิรนนิ่งสามารถใหการสนับสนุนเพียงระดับท่ี 1 ถึง 3 เทานั้น ดังนั้นการเรียนการสอนแบบท่ีตองมีผูบรรยายหรือผู

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 34: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

18

คุมเวิรคช็อป นั้นยังคงตองมีอยูอยางแนนอน แตอีเลิรนนิ่งจะเปนแนวทาองอีกแนวทางหนึ่งท่ีเสริมการเรียนรูใหสมบูรณแบบย่ิงขึ้น

3.3 รูปแบบของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

เมื่อเริ่มแรกการใชคําวา การเรียนแบบผสมผสาน มักจะหมายถึง การรวมกันอยางงายของช้ันเรียนแบบปกติกับอีเลิรนนิ่ง อยางเชน แบบท่ีผูเรียนเรียนจากภายนอกช้ันเรียนตามอัธยาศัย ปจจุบันการเรียนแบบผสมผสานอาจครอบคลุมถึงมิติตางๆ ของการเรียนรูตอไปนี้เขาดวยกัน ซึ่งอาจมีสวนท่ีคาบเก่ียวกันบาง

1.การผสมระหวางการเรียนออนไลนกับออฟไลน

ในระดับงายท่ีสุด การเรียนแบบผสมผสาน รวมเอารูปแบบการเรียนออนไลนกับออฟไลนเขาดวยกัน ซึ่งการเรียนออนไลนมักจะใชระบบอินเทอรเน็ตหรืออินทราเน็ต และการเรียนออฟไลนเกิดขึ้นในชั้นเรียนปกติ ซึ่งเราอาจนําเอารูปแบบช้ันเรียนปกตินี้ ขึ้นบนระบบออนไลนตัวอยางการผสมผสานแบบนี้อาจรวมเอา วัสดุการเรียนการสอน และทรัพยากรเพื่อการคนควาไวบนเว็บ เพื่อเสริมกับกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีนําโดยผูสอนเปนกิจกรรมหลัก

2.การผสมระหวางการเรียนตามอัธยาศัยกับการเรียนจากการถายทอดสดไปนอกหองเรียนและการเรียนรูแบบรวมมือ

การเรียนตามอัธยาศัย เปนการเรียนรูตามความตองการ ซึ่งจัดการและควบคุมโดยผูเรียน การเรียนแบบรวมมือเปนการส่ือสารระหวางผูเรียนหลายคน เพื่อแบงปนความรูซึ่งกันและกัน การผสมผสานระหวางการเรียนรูท่ีผูเรียนควบคุมดวยตนเองกับการเรียนรูแบบรวมมืออาจจะตองศึกษาบทบาททวนขอมูลของผลิตภัณฑใหมๆ และความนิยมระบบถายทอดสดท่ีลดนอยลงซึ่งอาจแทนท่ีการเรียนดวยการถายทอดสดหรือการเรียนออนไลนมาเปนการอภิปรายของกลุมผูเรียน หรือระหวางผูเรียนกับผูสอน

3.การผสมการเรียนแบบเปนทางการกับไมเปนทางการ

การเรียนตามรูปแบบเดิม ท่ีมีการจัดเรียนเนื้อหาเปนบทๆ เหมือนในตํารา ไมไดครอบคลุมวิธีการเรียนรูเสียท้ังหมด ผูเรียนอาจเกิดการเรียนรูอยางไมเปนทางการไดโดยการพบปะพูดคุยกันตามทางเดิน หรือสงอีเมลโตตอบกัน การเรียนแบบผสมผสานออกแบบมาใหครอบคลุมไปถึง การสนทนาหรือขอมูลท่ีไดจากการเรียนแบบไมเปนทางการ จากแหลงความรูตามประสงค ของผูเรียนอันสนับสนุนการรวมมือและการทํางานของผูจัดการเรียนรู

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 35: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

19

4.การผสมเน้ือหาความรูท่ีพัฒนาข้ึนมากับเนื้อหาความรูท่ัวๆ ไป

เนื้อหาความรูท่ัวไปซอไดในราคาไมแพง และมีมูลคาการผลิตสูงกวาเนื้อหาความรูท่ีพัฒนาข้ึนมาเอง ปจจุบันเนื้อหาสําหรับการเรียนรู ท่ีกําหนดดวยตนเอง สามารถสรางขึ้นดวยการผสมผสานของประสบการณในช้ันเรียนและการเรียนออนไลน ดวยกระบวนการแปลงเนื้อหาใหไดมาตรฐาน อยางเชน SCORM (Shareable Content Object Reference Model) เปดโอกาสใหการผสมผสานอยางยืดหยุน ระหวางเนื้อหาความรูท่ัวไปท่ีมีจําหนาย กับเนื้อหาท่ีพัฒนาขึ้นเองมีมากข้ึน เพื่อพัฒนาผูใชและลดตนทุนการผลิต

3.4 ขั้นตอนของการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

ขั้นตอนการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Huang and Zhou 2003) ประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้

1.การวิเคราะห (Preanalysis) ซึ่งแบงเปน

1.1การวิเคราะหลักษณะของผูเรียน

1.2การวิเคราะหวัตถุประสงคการเรียนรู

1.3การวิเคราะหสภาพแวดลอมของการเรียนรูแบบผสมผสาน

2.การออกแบบกิจกรรมและทรัพยากรเพื่อการเรียนรู (Design of activties and resources)

2.1การออกแบบภาพรวมของการเรียนรูแบบผสมผสาน ประกอบดวย

2.1.1กิจกรรมการเรียนรูแตละหนวย

2.1.2วิธีการนําสงบทเรียนแบบผสมผสาน

2.1.3สวนสนับสนุกการเรียนรูแบบผสมผสาน

2.2การออบแบบหนวยการเรียนรู

2.2.1กําหนดจุดประสงคปลายทาง

2.2.2กําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรม

2.2.3กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 36: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

20

2.2.4กําหนดการประเมินผล

2.3การออกแบบและพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู

2.3.1การเลือกเนื้อหา

2.3.2กําหนดวิธีการเรียนรู

2.3.3การออกแบบและการพัฒนา

3.ขั้นการประเมินผลการเรียนการสอน (Instructional Assesment)

3.1การประเมินกระบวนการเรียนรู

3.2การสอบตามหลักสูตร

3.3การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน

ผลท่ีไดจากการประเมินผลการเรียนการสอน จะนําไปพิจารณาเพื่อปรับปรุงการออกแบบแตละขั้นตอน เพื่อใหการเรียนรูแบบผสมผสานมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตอผูเรียนอยางแทจริง

3.5 การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานมีสิ่งที่ควรพิจารณาดังตอไปนี้

1.เพิ่มทางเลือกวิธีการนําสงบทเรียนสูผูเรียนใหเหมาะสมและมีความหลากหลาย

2.เกณฑการตัดสินความสําเร็จในการเรียนรูแบบผสมผสาน ไมไดวัดท่ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพียงอยางเดียวอาจพิจารณารูปแบบและกระบวนการเรียนรูรวมดวย

3.การออกแบบการเรียนรูแบบผสมผสานจะตองพิจารณาความเร็วของการเรียนรูขนาดของกลุมผูเรียนและการสนับสนุนชวยเหลือผูเรียน

4.สภาพแวดลอมของการเรียนรูแบบผสมผสานของผูเรียนท่ีมีความแตกตางกันซึ่งการจัดการเรียนรูจะตองทําใหผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคการเรียนรูเปนสําคัญ

5.หนาท่ีของผูเรียนจะตองศึกษาและคนพบตัวเอง เพื่อสรางสรรคความรูตามศักยภาพของตนเอง

6.การออกแบบการเรียนรูแบบผสมผสานตองการทีมงานออกแบบท่ีมีความรูดานธุรกิจดวย

3.6 ประโยชนของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 37: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

21

ขอดี

1. แบงเวลาเรียนอยางอิสระ

2. เลือกสถานท่ีเรียนอยางอิสระ

3. เรียนดวยระดับความเร็วของตนเอง

4. ส่ือสารอยางใกลชิดกับครูผูสอน

5. การผสมผสานระหวางการเรียนแบบด้ังเดิมและแบบอนาคต

6. เรียนกับส่ือมัลติมีเดีย

7. เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง Child center

8. ผูเรียนสามารถมีเวลาในการคนควาขอมูลมาก สามารถวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลไดอยางดี

9. สามารถสงเสริมความแมนยาํ ถายโอนความรูจากผูหนึ่งไปยังผูหนึ่งได สามารถทราบผลปฏิบัติยอนกลับไดรวดเร็ว (กาเย)

10. สรางแรงจูงใจในบทเรียนได (กาเย)

11. ใหแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได (กาเย)

12. สามารถทบทวนความรูเดิม และสืบคนความรูใหมไดตลอดเวลา (กาเย)

13. สามารถหลีกเล่ียงส่ิงท่ีรบกวนภายในช้ันเรียนได ทําใหผูเรียนมีสมาธิในการเรียน

14. ผูเรียนมีชองทางในการเรียน สามารถเขาถึงผูสอนได

15. เหมาะสําหรับผูเรียนท่ีคอนขางขาดความมั่นใจในตัวเอง

16. ใชในองคกรตางๆ สามารถลดตนทุนในการอบรม สัมมนาได

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 38: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

22

ขอเสีย

1. ไมสามารถแสดงความคิดเห็น หรือถายทอดความคิดเห็นอยางรวดเร็ว

2. มีความลาชาในการปฏิสัมพันธ

3. การมีสวนรวมนอย โดยผูเรียนไมสามารถมีสวนรวมทุกคน

4. ความไมพรอมดาน ซอฟแวร Software บางอยางมีราคาแพง (ของจริง)

5. ใชงานคอนขางยาก สําหรับผูไมมีความรูดาน ซอฟแวร Software

6. ผูเรียนบางคนคิดวาไมคุมคาตอการลงทุน เพราะราคาอุปกรณคอนขางสูง

7. ผูเรียนตองมีความรู ความเขาใจดานการใชงานคอมพิวเตอร เพื่อเขาถึงขอมูลทางอินเทอรเน็ต

8 .ผูเรียนตองมีความรับผิดชอบตอตนเองอยางสูง ในการเรียนการสอนแบบนี้

9. ความแตกตางของผูเรียนแตละคนเปนอุปสรรคในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

10.สภาพแวดลอมไมเหมาะสมในการใชเครือขาย หรือระบบอินเทอรเน็ต เกิดปญหาดานสัญญาณ

11. ขาดการปฏิสัมพันธแบบ face to face (เรียลไทม)

ความเปนไปไดในการไปใชงานจริงของ Blended Learning การเรียนการสอนแบบผสมผสาน

1. มีการเปล่ียนแปลงไปสูยุค ICT ทําใหมีการเรียนรูที่หลากหลายวิธี เชน 2 วิธี หรือมากกวานั้นได

2. ดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช e-Learning

3. สามารถนําไปใชไดจริงในสถานศึกษา เชน โรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย รวมไปถึง บริษัท องคกร ตาง ๆ เพื่อประหยัดงบประมาณและตนทุน

4. เปนไปไดหรือไมในการนําไปใชงานไดจริงขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม ความเหมาะสมขององคประกอบในการจัดการเรียนการสอน อุปกรณ ผูเรียน และผูสอน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 39: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

23

4. เนื้อหาเก่ียวกับการสรางงานนําเสนอ

โสมวรรณ แฝงเวียง (2556) หลักการนําเสนอขอมูลและสรางส่ือนําเสนอ การนําเสนองานหรือผลงานนั้นส่ือนําเสนอเปรียบเสมือนสะพานเช่ือมเนื้อหา ของผูบรรยายไปยังผูฟงและผูชม ดังนั้นส่ือจึงมีบทบาทสําคัญอยางมาก ส่ือท่ีดี จะชวยใหการถายทอดเน้ือหาสาระทําไดอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น ผูฟงและผูชมจะสามารถจดจําเน้ือหาสาระไดนานและเขาใจในเน้ือหาไดดีมากข้ึน ความหมายการนําเสนอ การนําเสนอขอมูล หมายถึง การส่ือสารเพ่ือเสนอขอมูล ความรู ความคิดเห็น หรือความตองการไปสูผูชม ผูฟงโดยใชเทคนิคหรือวิธีการตางๆ อันจะทําใหบรรลุผลสําเร็จตามจุดมุงหมายของการนําเสนอ

จุดมุงหมายในการนําเสนอ 1. เพื่อใหผูชม ผูฟงรับเขาใจสาระสําคัญของการนําเสนอขอมูล

2. ใหผูชม ผูฟงเกิดความประทับใจและนําไปสูความเช่ือถือในขอมูลท่ีนําเสนอ

การนําเสนอผลงานโดยใชส่ือโสตทัศนูปกรณ มีผลในทางจิตวิทยาการเรียนรู ซึ่งไดมีการ คนพบจากการวิจัยวาการรับรูขอมูลโดยผานทางประสาทสัมผัสสองอยาง คือ ตา และหูพรอมกันนั้น ทําใหเกิดการรับรูท่ีดีกวาสงผลในดานความสามารถในการจดจําไดมากกวาการรับรูโดยผานตา หรือ หูอยางใดอยางหนึ่งเพียงอยางเดียว จึงไดมีการพัฒนาส่ือโสตทัศนูปกรณรูปแบบตาง ๆ ขึ้นมาใชงาน โดยเฉพาะส่ือประสม

หลักการพื้นฐานของการนําเสนอผลงาน มีจุดเนนสําคัญดังนี้ 1) การดึงดูดความสนใจ

โดยการออกแบบใหส่ิงท่ีปรากฏตอสายตานั้นชวนมอง และมีความสบายตาสบายใจขึ้น เมื่อชมการนําเสนอ ดังนั้นการเลือกองคประกอบตาง ๆ เชน สีพื้น แบบ สี และขนาดของตัวอักษร รูปประกอบ ตองเหมาะสม สวยงาม

2) ความชัดเจนและความกระชับของเนื้อหา สวนท่ีเปนขอความตองส้ันแตไดใจความชัดเจน สวนท่ีเปนภาพประกอบตองมีสวนสัมพันธอยางสรางสรรคกับขอความท่ีตองการส่ือความหมาย การใชภาพประกอบ มีประโยชนมาก ดังคําพังเพยภาษาอังกฤษท่ีวา "A picture is worth a thousand words" หรือ "ภาพภาพหนึ่งนั้นมีคาเทียบเทากับคําพูดหนึ่งพันคํา" แตประโยคนี้คงไมเปนจริงหากภาพนั้นไมมีความสัมพันธ อยางสรางสรรคกับความหมายท่ีตองการส่ือ ดังนั้นกอนท่ีจะตัดสินใจใชภาพใดประกอบ จึงควรตอบคําถาม ใหไดเสียกอนวาตองการใชภาพเพ่ือส่ือความหมายอะไรและภาพท่ีเลือกมานั้นสามารถทําหนาท่ีส่ือความหมายเชนนั้นจริงหรือไม

3) ความเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 40: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

24

การสรางจุดเนนตามขอ 1 และ 2 ขางตนตองคํานึงถึงกลุมเปาหมายดวย เชน กลุมเปาหมายเปนเด็ก การใชสีสด ๆ และภาพการตูนมีความเหมาะสม แตถากลุมเปาหมายเปนผูใหญและเนื้อหาท่ีนําเสนอเปนเรื่องวิชาการหรือธุรกิจ การใชสีสันมากเกินไปและการใชรูปการตูนอาจทําใหดูไมนาเช่ือถือเพราะขาดภาพลักษณของการเอาจริงเอาจังไป

หลักการเลือกใชซอฟตแวรสําเร็จรูปเพื่อการนําเสนองาน

พรพิมล อรัญเวศ ไดเสนอหลักการเลือกซอฟตแวร และหลักการนําเสนอผลงานโดยใชซอฟตแวรไว ดังนี้ 1) ทําความเขาใจกับงานที่เราตองการนําเสนอ

กอนการเลือกระบบสารสนเทศมาใชในการนําเสนองานนั้น เราตองเขาใจถึงลักษณะงานท่ีเราตองการนําเสนอกอนวา เปนงานในลักษณะใด เชน เปนขอความ หรือมีการคํานวณหรือเปนงานท่ีเกี่ยวกับการคน การเก็บรักษาขอมูล เพื่อเปนแนวทางในการเลือกระบบสารสนเทศท่ีเหมาะสมกับงานนั้น ๆ

2) เลือกโปรแกรมสําเร็จรูปมาใช เมื่อทราบลักษณะของงานท่ีตองการนําเสนอแลว เราจะเลือกระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับการนําเสนองานนั้น งานบางอยางเราอาจใชระบบสารสนเทศในการนําเสนอไดหลายอยาง เราอาจตองเลือกวาจะใชระบบใด ผูใชตองมีความเขาใจในความสามารถของระบบนั้น โดยเฉพาะในสวนของซอฟตแวรหรือโปรแกรมวาแตละโปรแกรมมีความสามารถใดบาง เราอาจจะตองทําการประเมินวาโปรแกรมใดมีความเหมาะสมเพียงใด แลวจึงเลือกโปรแกรมท่ีเห็นวาเหมาะสมท่ีสุด

3) จัดหาเคร่ืองมือตามความตองการของซอฟตแวร ซอฟตแวรหรือโปรแกรมแตละโปรแกรมมีความสามารถไมเหมือนกัน ขนาดของโปรแกรมก็ไมเทากัน ทําใหความตองการของฮารดแวรในการทํางานตามโปรแกรมนั้นแตกตางกัน ในคูมือการใชงานโปรแกรมหรือซอฟตแวรนั้นจะบอกขอกําหนดของฮารดแวรท่ีตองการสําหรับการใชงานไววาจะตองมีสวนประกอบอะไรบาง เราจะตองจัดหาฮารดแวรใหไดตามขอกําหนดนั้นเพื่อใหสามารถใชงานซอฟตแวรไดอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับระบบโปรแกรมสําเร็จรูปท่ีใชกับไมโครคอมพิวเตอรนั้น สวนใหญสามารถนํามาใชกับไมโครคอมพิวเตอรมาตรฐานท่ีมีขายท่ัวไปไดเลย ยกเวนอุปกรณประเภทเครื่องพิมพท่ีอาจเลือกไดตามความตองการวาเปนเครื่องพิมพสีขาว/ดํา หรือหลายสี จอภาพจะใชขนาดใหญกี่นิ้ว หรือฮารดดิสกท่ีอาจตองดูขนาดความตองการวาซอฟตแวรมีขนาดเทาใด และฮารดดิสกจะพอใชหรือไม เพราะในไมโครคอมพิวเตอรหนึ่งเครื่องนั้นเรามักจะบรรจุโปรแกรมหรือซอฟตแวรไวหลายชนิด และปริมาณแฟมขอมูลท่ีมีอยูเดิมอาจมากจนกระท่ังพื้นท่ีท่ีเหลือไมเพียงพอตอการใชงานโปรแกรมสําเร็จรูปใหมนั้น

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 41: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

25

4 ) การใชงานโปรแกรม

ในการใชงานนั้น นอกาจากผูใชจะตองทําความเขาใจการทํางานของฮารดแวรวาใชงานอยางไรแลว รายละเอียดการใชงานซอฟตแวร ก็เปนส่ิงสําคัญท่ีผูใชจะตองทําความเขาใจใหชัดเจนกอนการใชงาน

สวนใหญจะศึกษาจากคูมือของโปรแกรมสําเร็จรูปนั้นเพื่อความเขาใจในความสามารถกอน ปกติแลวคูมือการใชงานมาจากเจาของผูผลิตซอฟตแวร ซึ่งมักจะอธิบายถึงความสามารถตามฟงกช่ันท่ีมีอยู แตมักจะไมคอยมีตัวอยางการประยุกตใช ผูใชตองทดลองเอง จึงไดมีผูท่ีมีความรูความสามารถในโปรแกรมนั้น ๆ ทําคูมือการใชงานในลักษณะการประยุกต มีตัวอยางของงานแสดงใหเห็น ทําใหสามารถเรียนรูไดรวดเร็วขึ้นและในปจจุบันนี้มีการทําคูมือการใชงานในรูปของส่ือคอมพิวเตอรท่ีเขาใจไดงายยิ่งขึ้น เชน ทําเปนซีดีการใชงาน เปนตน ฉะนั้นผูใชงานท่ียังไมมีประสบการณจึงควรเรียนรูจากคูมือการใชงาน ทําความเขาใจใหชัดเจนกอน แลวจึงลงมือปฏิบัติดวยตนเอง รูปแบบการนําเสนอขอมูลโดยใชคอมพิวเตอร ปจจุบันที่นิยมใชกันมี 2 รูปแบบ คือ

1.การนําเสนอแบบ Web page

เปนรูปแบบการนําเสนอท่ีใชบนอินเทอรเน็ต การนําเสนอแบบนี้สามารถสรางการเช่ือมโยงท่ีสลับซับซอนระหวางสวนตาง ๆ ตลอดจน สามารถสรางการเช่ือมโยงเอกสารท่ีตางรูปแบบกันไดแตตองใชเวลาในการจัดทํามากกวา รูปแบบอ่ืนและผูจัดทําตองมีความรูความชํานาญในโปรแกรมท่ีใชสรางเว็บเพจ

2.การนําเสนอแบบ Slide Presentation

เปนการนําเสนอโดยใชโปรแกรมนําเสนอ ซึ่งเปนโปรแกรม ท่ีใชงายมากมีรูปแบบการนําเสนอใหเลือกใชหลายแบบ สามารถเรียกใชตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพประกอบ และตกแตงดวยสีสัน ท้ังสีพื้น สีของตัวอักษร รูปแบบฟอนต ของตัวอักษรไดงายและสะดวก ในปจจุบันส่ือนําเสนอรูปแบบ Slide

Presentationหรือ สไลดดิจิทัล มักจะสรางดวยโปรแกรมในกลุม Presentation เชน Microsoft

PowerPoint, OfficeTLE Impress เทคนิคการออกแบบส่ือนําเสนอ ส่ือนําเสนอท่ีดี ความมีความโดดเดน นาสนใจ จะเนนความคิด “ หนึ่งสไลดตอ หนึ่งความคิด ” มีการสรุปประเด็น หรือสาระสําคัญโดยมีแนวทาง 3 ประการในการออกแบบ ไดแก

1) ส่ือความหมายไดรวดเร็ว ส่ือนําเสนอท่ีดีตองสามารถส่ือความหมายใหผูฟง ผูชมไดอยางรวดเร็ว การออกแบบ ส่ือนําเสนอในประเด็นนี้ผูออกแบบจะตองทราบกลุมเปาหมาย เนื้อหาสาระท่ีตองการนําเสนอ สถานท่ี และเวลาท่ีตองการนําเสนอเพื่อประกอบการออกแบบส่ือ เชน กลุมเปาหมายขนาดเล็ก ส่ือควรมีใหความสําคัญกับผูฟงมากกวาเนื้อหา สามารถนําเทคนิค หรือ Effect ตาง ๆ ของโปรแกรมสรางส่ือมาใชไดอยางเต็มท่ี กลุมเปาหมายท่ีมีลักษณะโตตอบ เชนการนําเสนอทางวิชาการ การบรรยาย หรือฝกอบรม ส่ือนําเสนอควรให ความสําคัญกับเนื้อหารวมท้ังยังสามารถนําเทคนิค หรือ Effect

ตาง ๆ ของโปรแกรมสรางส่ือ มาใชไดอยางเต็มท่ีเชนกัน กลุมเปาหมายเฉพาะกิจ เชนผูบริหาร นักวิชาการ ส่ือนําเสนอจะตองใหความสําคัญกับเนื้อหาและตัว ผูนําเสนอเปนสําคัญเนื้อหาควรมุงเฉพาะ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 42: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

26

เปาหมายของการนําเสนอ ไมเนน Effect มากนัก กลุมเปาหมายขนาดใหญ การนําเสนอมักใชความสําคัญกับผูบรรยายมากกวาเนื้อหาท่ีนําเสนอ ดังนั้น ส่ือนําเสนอไมควรเนนท่ี Effect แตควรใหความสําคัญกับขนาดตัวอักษร สีตัวอักษร และลักษณะของสีพื้นสไลด

2) เนื้อหาเปนลําดับ ส่ือนําเสนอท่ีดีควรมีการจัดลําดับเนื้อหาเปนลําดับ มีระเบียบ ดูงาย ไมสับสนส่ิงท่ี จะชวยใหการออกแบบส่ือนําเสนอท่ีตองการจัดลําดับเนื้อหาใหเปนระเบียบ และดูงาย คือ

2.1) รูปแบบเนื้อหา ส่ือนําเสนอแตละสไลด ควรหลีกเล่ียงการนําเสนอแบบยอหนา หากไมสามารถหลีกเล่ียงไดควรใช เทคนิคการเนนแนวคิดหลัก( Main Idea) ในแตละยอหนาดวยสีท่ีโดดเดน เชน พื้นหลังสีขาว ตัวอักษรสีดํา ควรเนนแนวคิดหลัก ( Main Idea)ดวยสีแดงเปนตน แตละสไลดเนื้อหาไมควรเกิน 6 – 8 บรรทัด ควรสรุปเนื้อหาใหเปนหัวเรื่อง (Title) และหัวขอ(Topic) หรือแนวคิดหลัก (Main Idea)

2.2) แบบอักษร การควบคุมการแสดงขอความในแตละสไลด ควรใหความสําคัญ กับขนาดตัวอักษร ดังนี้

- หัวขอใหญกําหนดขนาดตัวอักษรใหญกวาหัวขอยอย

- เลือกใชแบบอักษรท่ีเหมาะสม

- เปล่ียนลักษณะของตัวอักษรนั้น ใชตัวหนาในขอความท่ีตองการเนน

- ใชชองวางในการจัดกลุมของเน้ือหา - ขอความท่ีตองการใหอานกอน ควรจัดไวที่ตําแหนงมุมซายบนของหนา - พิมพตัวอักษรลงกรอบท่ีวางแบบไวแลว - ขึ้นหัวขอกอนแลวจึงอธิบายอยางละเอียด

- ใชสีท่ีแตกตางกัน หรือตัวอักษรสีสลับกัน

3) ส่ือนําเสนอตองสะดุดตาและนาสนใจ ส่ือนําเสนอท่ีดีนั้นจะตองมีจุดเดนนาสนใจ สามารถดึงดูดสายตาของผูดู ผูฟงได ซึ่งจุดเดนนี้ไดมาจากขนาดของตัวอักษรท่ีใหญ หรือจากการใชสีท่ีแตกตางออกไป รวมถึง การเลือกใชภาพ การใชสี และการใช Effect ควบคุมการนําเสนอ ท่ีเหมาะสมประกอบ การนําเสนอ

3.1) การใชภาพ เนื่องจากภาพจะชวยใหผูชม ผูฟง สามารถจดจําไดนานกวาตัวอักษร ดังนั้น การแปลงเน้ือหาใหเปนรูปภาพหรือผังภาพก็เปนเทคนิคหนึ่งท่ีสามารถสรางความนาสนใจ ใหกับส่ือท่ีนําเสนอการเลือกใชภาพก็ควรเลือกใชภาพท่ีมีลักษณะท่ีเหมาะสมกันและกัน คือถาในสไลดนั้นเลือกใช ภาพถายก็ควรใชภาพถายกับภาพทุกภาพในสไลด แตถาเลือกใชภาพวาด ก็ควรเลือก ภาพวาดท้ังสไลดเชนกันดังนั้นจึงไมควรใชภาพวาดผสมกับภาพถาย ใสเทคนิคท่ีนาสนใจใหกับภาพเพื่อสรางจุดเดน การเอียงภาพ การเวนชองวางรอบภาพ การเปล่ียนสีภาพใหแตกตางจากปกติ ควรระวังการเลือกใชภาพเปน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 43: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

27

พื้นหลังสไลด เพราะอาจจะทําใหผูชมสนใจ พื้นสไลดมากกวาเนื้อหาท่ีตองการนําเสนอ หรืออาจทําใหผูชมไมสนใจมองสไลดเลยก็ได เนื่องจากภาพทําใหตัวอักษรไมโดดเดน ไมนามอง หรืออานยาก

3.2) การใชสี การเลือกใชสี ควรเลือกใชสีท่ีตัดกันระหวางสีตัวอักษร สีวัตถุ และสีพื้น เชน เลือกใชพื้นสไลดเปนสีขาวหรือสีออน ๆ สีตัวอักษรก็ควรจะเปนสีดํา สีน้ําเงินเข็มหรือสีแดงเลือดหมู กรณีเลือกใชพื้นสไลดเปนสีเข็ม ควรเลือกใชสีตัวอักษรท่ีมองเห็นไดชัด ในระยะไกลเชน สีขาว สีฟาออน

ควรหลีกเล่ียงการใชสีในโทนรอน เชน สีแดงสด สีเหลือกสด สีเขียวสด สีวัตถุ สีแทงกราฟหรือสีของตาราง ก็ควรเลือกใหเหมาะสมกับสีตัวอักษร และสีพื้นดวย การเลือกใชสีใด ๆ ก็ควรเปนสีในชุดเดียวกันสําหรับสไลดท้ังหมด ไมควรใชหนึ่งสี หนึ่งไลด

3.3) การใช Effect ควบคุมการนําเสนอ ไมควรใส Effect มากเกินไป เพราะจะสงผลใหผูชม ผูฟง สนใจ Effect มากกวาเนื้อหาท่ีนําเสนอ หรืออาจไมสนใจการนําเสนอเลยก็ได และ Effect ท่ีมากนี้จะเปน การรบกวนการจดจํา การอาน หรือการชมอยางรุนแรง เลือกใช Effect ไมควรเกิน 3 แบบ ในแตละสไลดควรเลือกใช Effectแสดงขอความท่ีเล่ือนจากขอบ ซายมาขอบขวา ของจอ เนื่องจากธรรมชาติการอานของคนไทยจะอานขอความจากกรอบบนลงมา และอานจากดานซายไปดานขวา อุปกรณดิจิทัลที่ชวยในการนําเสนอผลงาน

อุปกรณดิจิทัลท่ีสามารถถายทอดภาพและเสียงในงานนําเสนอเพื่อใหงานนําเสนอมีคุณภาพ

เขาถึงผูชมและผูฟงไดอยางมีประสิทธิภาพ มีดังนี้ 1. โพรเจกเตอร (Projector) เปนอุปกรณฉายภาพท่ีใชในการนําเสนอ โดยสามารถรองรับ

สัญญาณภาพจากคอมพิวเตอร เครื่องเลนวีซีดี เครื่องเลนดีวีดี และเครื่องกําเนิดภาพอื่น ๆ แลวแสดงผล

ขยายขนาดบนจอรับภาพชวยใหมองเห็นไดไกลขึ้น เหมาะสําหรับการนําเสนอขอมูลในหองประชุม เพื่อใหผูเขารวมประชุมสามารถมองเห็นภาพหรือขอความไดอยางชัดเจน

2. วิชวลไลเซอร (Visualizer) เปนอุปกรณฉายภาพระบบดิจิทัลประเภทหนึ่ง ซึ่งพัฒนามาจากโอเวอรเฮดหรือเครื่องฉายขามศีรษะ ใชแสดงภาพวัตถุและเอกสารสูจอรับภาพท่ีมีอยูจริงไดเลย โดยไมตองดัดแปลง อุปกรณนี้เหมาะสําหรับใชในการนําเสนองานตาง ๆ โดยเฉพาะครู-อาจารยท่ีสอนหนังสือ และใชไดดีในการนําเสนอภาพนิ่งมากกวาภาพเคล่ือนไหว แตภาพท่ีแสดงออกมานั้นก็ใหความคมชัด มีสีสดใส

และมีโหมดของการแสดงภาพใหปรับการทํางานดวย การควบคุมการทํางานสามารถทําไดโดยใชรีโมต

3. กลองถายรูปดิจิทัล (Digital Camera) เปนอุปกรณรับภาพท่ีเปล่ียนจากฟลมมาเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเม่ือถายรูปท่ีตองการแลว รูปจะถูกเก็บลงในหนวยความจํา (memory) ท่ีอยูในกลอง เมื่อตองการดูรูปทําไดโดยการถายขอมูลจากหนวยความจําลงบนเครื่องพิมพหรือเครื่องคอมพิวเตอร ภาพท่ีไดจะมีขนาดตามท่ีตองการ สามารถยอหรือขยาย ปรับแสงหรือเงาแลวแตความพอใจหรือจะเพ่ิมรูปแบบก็สามารถทําได และเมื่อจะถายใหม ก็สามารถใชหนวยความจําเดิมไดเลย โดยไมตองเสียเงินซื้อฟลม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 44: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

28

4. กลองถายวีดิทัศนดิจิทัล เปนอุปกรณรับภาพท่ีบันทึกขอมูล ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว และเสียง เก็บไวในหนวยความจําแบบแฟลชภายในกลอง สามารถยอหรือขยาย ปรับแสงเงาของภาพได และในปจจุบันสามารถคัดลอกขอมูลลงในแผนดีวีดีไดเลย โดยไมตองโอนลงในเคร่ืองคอมพิวเตอร

5. คอมพิวเตอรต้ังโตะและคอมพิวเตอรขนาดสมุดบันทึกหรือโนตบุก เปนอุปกรณท่ีใชสรางงานนําเสนอ เปนส่ือกลางในการเช่ือมโยงอุปกรณอื่น ๆ เชน โพรเจกเตอร เพื่อนําเสนองาน และใชนําเสนองานผานจอภาพของเคร่ืองคอมพิวเตอร

6. เครื่องเลนเสียง หรือเครื่องเลนเอ็มพีสาม (MP3) เปนอุปกรณซึ่งบรรจุขอมูลเสียงท่ีใชเลนในคอมพิวเตอรและสามารถถายโอนขอมูลเขาไปในคอมพิวเตอรได โดยขอมูลเสียงนั้นใชเทคโนโลยีบีบอัดใหมีขนาดเล็กลงมากกวาขอมูลเสียงปกติถึง 12 เทา แมขนาดขอมูลจะเล็กลง แตคุณภาพเสียงไมไดเสียไป อยางไรก็ตาม หากเรานําขอมูลเสียงจากเคร่ืองเลน MP3 ไปเลนในเคร่ืองคอมพิวเตอรรุนเกา จะไดเสียงในลักษณะกระตุกหรือใชการไมไดเลย

7. โทรศัพทเคล่ือนท่ีบางรุน เปนอุปกรณตัวกลางท่ีผูใชสามารถนําเสนองานท่ีสรางดวยซอฟตแวรไมโครซอฟตเพาเวอรพอยตผานเครื่องโพรเจกเตอรไดสะดวก งายตอการติดต้ัง เพียงเช่ือมตอโพรเจกเตอรเขากับโทรศัพทเคล่ือนท่ีผานสายเคเบิล แลวเช่ือมตอโทรศัพทเคล่ือนท่ีดวยบลูทูธ

นอกจากอุปกรณดิจิทัลท่ีชวยในการนําเสนอผลงานแลว ยังมีสวนประกอบท่ีสําคัญในการนําเสนองานคือ คําบรรยาย หรือบทพากย ซึ่งเปนองคประกอบดานโสตหรือเสียงนั่นเอง โดยมีวิธีการและหลักในการพิจารณาดังนี้

1. การบรรยายสด เหมาะสําหรับการประชุมหรือสัมมนาท่ีตองการใหผูชมมีสวนรวม เพราะผูบรรยายในกรณีนี้เปนผูท่ีรูเรื่องราวเกี่ยวกับเนื้อหาเปนอยางดีรูวาควรจะเนนตรงจุดใดและปฏิกิริยาจากผูชมทําใหผูบรรยายรูวาผูชมสามารถติดตามทําความเขาใจไดเพียงพอหรือไมรูวาสวนไหนจะตองอธิบายขยายความมากนอยเพียงใด

2. การพากย เหมาะสําหรับเนื้อหาท่ีสามารถถายทอดไดโดยไมตองอาศัยการมีสวนรวมของผูชม

ขอดีคือสามารถเลือกใชเสียงพากยท่ีมีความไพเราะนาฟง สามารถเลือกใชดนตรี หรือเสียงประกอบ (Sound effect) เพื่อสรางบรรยากาศ แตขอเสียคือไมมีความยืดหยุน ไมสามารถปรับใหเหมาะสมกับความรูสึกของผูชมในขณะนั้น

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 45: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

29

5.งานวิจัยที่เกี่ยวของ

5.1 งานวิจัยในประเทศ

วิไลพร พรมตา (2551:บทคัดยอ) ไดศึกษาผลของการเรียบผสมผสานดวยการเรียนการสอนแบบรวมมือในกลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี1

ท่ีมีบุคลิกภาพแตกตางกัน โดยกลุมตัวอยางเปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี1จํานวน 64 คน แบงออกเปน 2 กลุม กลุมละ 32 คน ตามลักษณะบุคลิกภาพ เครื่องมือท่ีใชไดแก บททดสอบบุคลิกภาพ MPI แผนการเรียนรูแบบความรวมมือกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ บทเรียนบนเว็บแบบผสมผสาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินความรวมมือในการปฏิบัติงานกลุม ผลการวิจัยพบวากลุมตัวอยางมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

กลุมตัวอยางท่ีมีบุคลิกภาพแบบแสดงตัว มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไมแตกตางกันกับนักเรียนท่ีมีบุคลิกภาพแบบเก็บตัว กลุมตัวอยางกลุมท่ีมีคาเฉล่ียของคะแนนความรวมมือในการปฏิบัติงานกลุมสูงกวา คือกลุมท่ีมีบุคลิกภาพแบบเก็บตัว กลุมนักเรียนท่ีมีคาเฉล่ียของคะแนนความรวมมือในการปฏิบัติงานกลุมตํ่ากวาคือ กลุมท่ีมีบุคลิกภาพแบบแสดงตัว

สุไลมาน ยะโกะ (2554:บทคัดยอ) ศึกษาผลของการเรียนดวยบทเรียนแบบผสมผสานท่ีพัฒนาตามแนวคิดการเรียนรูแบบรวมมือท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ในจังหวัดยะลา กลุมตัวอยางท่ีใชเปนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาช้ันปท่ี 5 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนดํารงวิทยา จังหวัดยะลา จํารวน 64 คน แบงเปนกลุมทดลอง 32 คน กลุมควบคุม 32 คน ผลปรากฎวา บทเรียนนแบบผสมผสานท่ีพัฒนาแนวคิดการเรียนรูแบบรวมมือมีประสิทธิภาพอยูท่ี 83.33

กลุมตัวอยางท่ีศึกษาดวยบทเรียนแบบผสมผสานพัฒนาตามแนวคิดการเรียนรูแบบรวมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงกวากลุมตัวอยางท่ีศึกษาแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

ขนิษฐา ศรีชูศิลป (2546 : บทคัดยอ) ศึกษาถึงผลการใชบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชาส่ือโฆษณาของ นักเรียนระดับช้ัน ปวส.2 ท่ีมีระบบการเรียนการสอนตางกัน ผลการวิจัยพบวาบทเรียนผาเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา ส่ือโฆษณา สําหรับนักเรียนศึกษาระดับช้ันปวส.2 ท่ีมีคุณภาพระดับดีท้ัง 2 ระบบ ซึ่งมีประสิทธิภาพโดยรวมของบทเรียนท้ังระบบ Cyber Campus มีคา 89,7/92.9 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดานความรูของนักศึกษาท่ีเรียนบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต วิชาส่ือโฆษณา ท้ัง 2 ระบบกับการเยนแบบปกติแตกตางกันอยางมีนับสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 และการเรียนบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต ระบบ Cyber Campus กบระบบ WBI ทําใหนักเรียนมีเจตคติตอการเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ตไมแตกตางกัน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 46: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

30

เจษฎา เมฆะสุวรรณโรจน (2549 : บทคัดยอ) ผลของการพัฒนาระบบทําใหไดตัวแบบของระบบ 3 กลุมสาระการเรียนรู พบวากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยควรจัดการเรียนการสอนในลักษณะออฟไลน รอยละ 30 ออนไลนรอยละ 35 และการเรียนการสอนแบบเผชิญหนารอยละ 35 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรควรจัดการเรียนการสอนในลักษณะออฟไลน รอยละ 40 ออนไลนรอยละ 30 และการเรียนการสอนแบบเผชิญหนารอยละ30กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรการงานอาชีพและเทคโนโลยีและการศึกษาควรจัดการเรียนการสอนในลักษณะออฟไลน รอยละ 25 ออนไลนรอยละ 45 และการเรียนการสอนแบบเผชิญหนารอยละ 30 แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในระบบเครือขายพบวาการจัดการเรียนการสอนแบบ Internet ท้ัง 3 กลุมสาระการเรียนรูสามารถจัดการเรียนการสอนในลักษณะออนไลนไดเต็มรูปแบบ สวนการจัดการเรียนการสอนแบบ Internet กลุมสาระการเรียนรูท่ีตองการสอนแบบใชขอความนักเรียนสามารถเรียนผาน MODEM ได กลุมสาระการเรียนรูท่ีตองการสอนใชเสียงกับนักเรียนสามารถเรียนผานระบบ ADSLความเร็วไมนอยกวา 128/64 Kbps และกลุมสาระการเรียนรูท่ีตองการสอนแบบใชภาพ นักเรียนสามารถเรียนผานADSL ความเร็วไมนอยกวา 256/128 Kbps

เฉลิมพล ภุมรินทร (2550 : บทคัดยอ)การพัฒนาบทเรียนผานเว็บแบบผสมผสาน วิชาวิทยาศาสตรเรื่อง “อายุทางธรณีวิทยา ซากดึกดําบรรพ และการลําดับช้ันหิน” สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชวงช้ันท่ี4)ผลการวิจัยพบวา 1)แนวทางการพัฒนาบทเรียนผานเว็บแบบผสมผสาน โดยการเรียนในหองเรียน เนื้อหาควรมีท้ังขอความภาพประกอบ ภาพเคล่ือนไหว และไฟลวีดิทัศน เขามาประกอบ 2)บทเรียนผานเว็บแบบผสมผสาน ท่ีพัฒนาข้ึนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ ซึ่งมีคาเทากับ 82.38/82.00 3)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนท่ีเรียนจากบทเรียนผานเว็บแบบผสมผสานหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4)พฤติกรรมการใชบทเรียนผานเว็บแบบผสมผสาน พบวา นักเรียนโรงเรียนรัตนโกสินทร สมโภทชบวรนิเวช ศาลายา โดยรวมอยูในระดับปฏิบัติปานกลาง มีคาเฉล่ีย 2.02 5)ความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนผานเว็บแบบผสมผสาน พบวา นักเรียนโรงเรียนรัตนโกสินทร สมโภทชบวรนิเวช ศาลายา มีความพึงพอใจอยูในระดับมากท่ีสุดมีคาเฉล่ีย 4.87 และนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณมีความพึงพอใจโดยรวมอยูในระดับมากมีคาเฉล่ีย 3.88

สรวงสุดา สายสีสด (2545 : ออนไลน) ไดทําการวิจัยเรื่องการสรางและพัฒนาออนไลนวิชาระบบเครือขายคอมพิวเตอรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักศึกษาระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ปท่ี 2 ท่ีกําลังศึกษาอยูในภาคเยนท่ี 2 ปการศึกษา 2544 แผนกวิชีพคอมพิวเตอรธุรกิจวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี จํานวน 40 คน ไดมาโดยวิธีการสุมแบบงาย (Simple Random Sampling) โดยแบงออกเปน 2 กลุมๆ ละ 20 คน คือ 1) กลุมควบคุม เปนท่ีเรียนดวยวิธีการสอนแบบปกติ 2) กลุมทดลองเปนกลุมท่ีเรียนดวยบทเรียนออนไลนเพื่อ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 47: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

31

สรางและหาประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน วิชา ระเครือขายคอมพิวเตอร ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนท่ีเรียนดวยบทเรียนออนไลนกับวิธีการสอนปกติ สรุปผลการวิจัยบทเรียนออนไลน วิชา ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ท่ีสรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิอยูในระดับดีมาก และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของกลุมท่ีเรียนดวยบทเรียนออนไลน สูงกวากลังเรียนของกลุมท่ีเรียนดวยวิธีปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

เปนไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว

ออมสิน ชางทอง (2546 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนเครือขายอินเทอรเน็ต รายวิชาการเสริมสรางคุณภาพชีวิต เรื่องชีวิตกับนันทนาการ สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตท่ีเรียนบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตกับนิสิตท่ีเรียนตามปกติ พบวานิสิตท่ีเรียนบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตมีผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนดีกวานิสิตท่ีเรียนตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และมีความคิดเห็นตอบทเรียนบนเครือขายอยูในระดับมาก ระบบ blended learning ท่ีไดพัฒนาขึ้นไดผานการทดสอบจากท้ังครูและนักเรียนโดยไดรับการยอมรับวาทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ

ฤตินันท บุญกอง (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาจิตวิทยาเบ้ืองตน เรื่องการคิด สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยใชการสอนผานเว็บกับการสอนปกติ ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาท่ีเรียนโดยการสอนผานเว็บกับการสอนปกติแตกตางกันอยางมีนยัสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0 .05 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมท่ีเรียนโดยการสอนผานเว็บ สูงกวากลุมท่ีเรียนโดยการสอนปกติและนักศึกษามีความคิดเห็น

ท่ีดีตอการเรียนโดยใชบทเรียนผานเว็บ

5.2 งานวิจัยตางประเทศ

Joyce Marie Schmeeckle (2000 : Absract) ไดวิจัยเรื่อง Online training : An evaluation

of the effectiveness and efficiency of training law enforcement personnel over the

Internet. เพื่อประเมินการจัดการฝกอบรมผานเครือขายอินเตอรเน็ตของ The NLETC Jail ใน 2 ดาน คือ 1)การฝกอบรมแบบปกติ ซึ่งประสิทธิผลหมายถึง ผลการเรียน แรงจูงใจ และเจตคติตอการอบรม สวนประสิทธิภาพ หมายถึง เวลาท่ีใชในการเรียน คาใชจายในการฝกอบรมรายบุคคล 2)ตองการทราบผลของการใชมัลติมีเดียในการใชฝกอบรมผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต ในดานการประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการฝกอบรมผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต กลุมตัวอยางไดมาโดยวิธีการสุม ผูเขารับการฝกอบรมของ Jail ในรัฐเนบราสถา – ลินคอลน แลวแบงเปนกลุมฝกอบรมปกติและกลุมฝกอบรมผาน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 48: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

32

เครือขายอินเทอรเน็ต ผลการวิจัยท่ีไดสอดคลองกับสมมติฐานท่ีต้ังไวคือ การฝกอบรมผานเครือขายอินเทอรเน็ตมีประสิทธิผลเทากับการฝกอบรมแบบปกติ และมีประสิทธิภาพมากกวาการฝกอบรมแบบปกติท้ัง 2 กลุมไมรูสึกวาการเรียนท้ัง 2 แบบมีความแตกตางกัน แตการฝกอบรมผานเครือขายอินเทอรเน็ตจะเสร็จสมบูรณในเวลาเกือบครึ่งหนึ่งของการฝกอบรมแบบปกติ และมีคาใชจายในการฝกอบรมต่ํากวากลุมผูเขารับการฝกอบรมแบบปกติ และรูสึกวาไดรับแรงจูงใจสูงกวา และมีเจตคติดานบวกตอการฝกอบรมมากกวาการการฝกอบรมผานเครือขายอินเทอรเน็ต ผลดังกลาวนี้เนื่องมาจากกลุมตัวอยางท่ีเปนเพศหญิงในการฝกอบรมผานเครือขายอินเทอรเน็ต ผูเขารับการฝกอบรมเห็นวาประโยชนท่ีสําคัญท่ีสุดซึ่งขาดไปของการฝกอบรมและการแนะนําตัวเปนส่ิงสําคัญในการฝกอบรม แตก็ไดรับความสะดวกสบายในดานเวลาและประสิทธิภาพของการฝกอบรมทางอินเทอรเน็ต การศึกษาผลของการใชมัลติมีเดียการใชฝกอบรมผานเครือขายอินเทอรเน็ตนั้น กลุมตัวอยางไดมาโดยแบงกลุมแบบคูขนาน กลุมท่ี 1 เรียนโดยเว็บไซตท่ีมีเพียงตัวอักษร สวนกลุมท่ี 2 เรียนจากเว็บไซตมัลติมีเดียท่ีประกอบดวยตัวอักษร เสียง หรือวิดีโอ กลุมทดลองจะตองทําแบบทดสอบในการเรียน จับเวลาท่ีใชในการเรียนการสอน วัดแรงจูงใจและเจตคติท่ีมีตอการฝกอบรมทางอินเทอรเน็ต ผลปรากฏวา ไมมีความแตกตางของผลการทดสอบท้ังสองกลุม ท้ังดานแรงจูงใจ เจตคติ และความลึกซึ้งในการเรียน แตกลุมท่ีหนึ่งซึ่งเรียนจากเว็บไซตท่ีมีเพียงตัวอักษรใชเวลานอยกวา ผลการวิจัยนี้ไมสอดคลองการต้ังสมมติฐานท่ีต้ังไววาการใชวิดีทัศนสงเสริมใหเกิดการเรียนรู ชวยเพิ่มแรงจูงใจและเจตคติแตสอดคลองกับสมมติฐานท่ีวาเว็บไซตท่ีมีเพียงตัวอักษรอยางเดียงจะมีประสิทธิภาพสูงสุด

Rovai and Jordan (2004) ศึกษาความเปนชุมชนแหงการเรียนรูระหวางการเรียนแบบในช้ันเรียนปกติการเรียนแบบผสมผสานและการเรียนออนไลนเพียงอยางเดียว โดยใชกลุมตัวอยางเปนนักศึกษาช้ันปท่ี 3 จํานวน 68 คน และอาสาสมัครอีก 86 คน แบงเปนผูเรียนท่ีเรียนในช้ันเรียนแบบด้ังเดิม 26 คน เปนอาสาสมัคร 24 คน ผูท่ีเรียนบนเว็บแบบผสมผสาน 28 คน อาสาสมัคร 23 คนเรียนดวยวิธีการผสมผสานท้ังแบบในช้ันเรียนปกติและแบบออนไลน ผูท่ีเรียนออนไลนอยางเดียว 25 คน อาสาสมัคร 21 คน เรียนผานระบบBlackboard และการเรียนแบบออนไลน โดยใชแบบวัด CCS เปนครื่องมือวัดลักษณะความเปนชุมชนในช้ันเรียนในการวัดการติดตอสัมพันธและการเรียนรูของผูเรียน จาการวิจัยพบวา การเรียนบนเว็บแบบผสมผสานนั้นสามารถสรางความรูสึกการเรียนรูแบบเปนชุมชนการเรียนรูไดมากกวารูปแบบอ่ืนๆ โดยทําใหบรรยากาศการเรียนเนนผูเรียนเปนศูนยกลางการเรียนรูมากขึ้น โดยจะเนนท่ีการเรียนแบบกระตือรือรนโดยใชกระบวนการเรียนแบบรวมมือและสรางสังคมแหงความรูความเขาใจใหเกิดข้ึน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 49: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

33

Motschnig-Pitrik, R., & Mallich, K. (2004) ศึกษาแนวทางในการจัดการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลางกับการใชเทคโนโลยีสงผลตอความสามารถของผูเรียน จากการศึกษาพบวา

1. การเรียนการสอนควรท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนรู โดยมีเงื่อนไขทางมโนทัศน 3

ประการคือ ความเปนจริง (realness) การยอมรับ (acceptance) และความเขาใจและความเห็นอกเห็นใจผูอื่น (empathic understanding)

2. ลักษณะของการจัดการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลางของการเรยีนรูชวยพัฒนาศักยภาพของผูเรียน ดังนี้

- ความมีสวนรวมในการเรียนรู

- ความตองการในการเรียนรูที่มากข้ึน

- การชวยผูเรียนใหประสบผลสําเร็จและเกิดความเช่ือมั่นในตนเองมากข้ึน

- การกระตุนการเรียนรูโดยการคนพบของผูเรียน

- ชวยใหเกิดการพัฒนาการมีปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน และผูเรียนกับเพื่อนรวมช้ันเรียน

- เพิ่มความสามารถในการเรียนดวยตนเองของผูเรียน

Johnson, McHugo and Hall ( 2006) ศึกษาวิธีการนําการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานมาใชในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา จากการวิจัยสรุปแนวทางในการออกแบบกิจกรรมการเรียนไวดังนี้ รูปแบบการเรียนการสอนใชทรัพยากรออนไลน เชน เนื้อหาวิชา งานท่ีมอบหมาย เครื่องมือการเรียนแบบรวมมือ การประเมินการเรียนการสอนออนไลน รวมกับการเรียนแบบบรรยายในช้ันเรียนแบบด้ังเดิมท่ีเนนการเรียนแบบเผชิญหนา เนื้อหาของบทเรียนแบบออนไลน (online content) ควรครอบคลุมเนื้อหาท่ีเรียนในหองเรียนแบบด้ังเดิมแทนการเรียนแบบเผชิญหนา โดยการออกแบบระบบตองคํานึงถึงส่ิงแวดลอมในการเรียนใหใกลเคียงกับหองเรียนแบบด้ังเดิมโดยการถามปญหา การมอบหมายงาน การใหคําปรึกษา และการทําโครงงาน จากการวิจัยพบวา การเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานสามารถพัฒนาใหผูเรียนเกิดความเขาใจท่ีลึกซึ้งในองคความรู ท่ี เรียนไดมากกวาการเรียนออนไลนและการเรียนในหองเรียนแบบด้ั งเดิมเพียงอยาง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 50: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

34

เดียว เนื่องจากการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานเปนการรวมเอาขอท่ีดีท่ีสุดของวิธีการเรียนในช้ันเรียนแบบด้ังเดิมและระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกสเขาดวยกัน โดยผูเรียนสามารถฝกปฏิบัติการภายในหองปฏิบัติการ และฝกทบทวนความรูในเนื้อหานําไปใชในการแกปญหาในการเรียนไดตามความตองการของผูเรียนอยางอิสระดวยการเรียนแบบออนไลนโดยมีติวเตอรเปนผูคอยช้ีแนะเม่ือเกิดปญหา ซึ่งการเรียนแบบน้ีสามารถพัฒนาทักษะการแกปญหาของผูเรียนไดดวยตนเอง

Sevinc Gulsecen (2004: Absract) ศึกษาผลของการศึกษาแบบผสมผสานท่ีมีผลตอแรงจูงใจในการเรียนของนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน โดยมีสมมติฐานในการวิจัย คือ การเรียนแบบผสมผสานสามารถทําใหนักศึกษาท่ีไมใสใจการเรียนโดยเฉพาะนักศึกษาท่ีอยูในมหาวิทยาลัยเอกชน มีความกระตือรือรนในการเรียนมากขึ้น เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามนักศึกษา 2 กลุม จากมหาวิทยาลัยเอกชนและมหาวิทยาลัยของรัฐ จากการศึกษาพบวา

1.การเรียนแบบผสมผสานทําใหนักเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียนมากขึ้น

2.แรงจูงใจ อัตราการเขาเรียน ความสนใจในการเรียนเพิ่มมากข้ึน

3.ผลการเรียนจากการเรียนแบบผสมผสานของรัฐสูงกวาเอกชน

4.นักศึกษาท่ีมีความรูพื้นฐานทางดานเทคโนโลยีเรียนไดดีกวานักศึกษาท่ีมีความรูพื้นฐานตํ่า

5.ความรูท่ีพิเศษสามารถท่ีจะสรางขึ้นไดท้ัง 2 กลุม โดยการเรียนแบบออนไลน

6.ผูเรียนมีความพึงพอใจในวิธีการสอนแบบการเรียนแบบผสมผสานมากกวาการสอนแบบปกติ

7.นักเรียนท่ีเรียนโดยการเรียนแบบผสมผสานมีความกระตือรือรนในการเรียนมากขึ้น

จากผลงานวิจัยในประเทศและตางประเทศ ท่ีเกี่ยวของแสดงใหเห็นวาการใชส่ืออิเล็กทรอนิกส มีผลตอการเรียนการสอนทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้นอยางมีวินัยสําคัญทางสถิติ นักเรียนมีระดับความคิดเห็นตอบทเรียนในภาพรวมอยูในระดับดี

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 51: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

35

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจยั

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) เรื่อง ผลการเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ซึ่งผูวิจัยขอเสนอรายละเอียด ดังนี้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

2. ตัวแปรท่ีใชในการศึกษา

3. แบบแผนการศึกษา

4. การสรางและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือท่ีใชในการศึกษา

5. การดําเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมขอมูล

6. สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

1.ประชากรและกลุมตัวอยาง

1.1 ประชากร

ประชากรท่ีใชในการศึกษาไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา จํานวน 3 หอง นักเรียนจํานวน 139 คน

1.2 กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยไดแกนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา อ.บานโปง จ.ราชบุรี จากการเลือกแบบสุมอยางงายมา 2 หองเรียน โดยพิจารณาจากผลการเรียนใกลเคียงกัน หองละ 44 คน

2.ตัวแปรท่ีใชในการศึกษา

ตัวแปรที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้

Page 52: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

36

2.1 ตัวแปรตน (Independent Variable) คือ

2.1.1 การเรียนการสอนแบบผสมแบบผสาน

2.1.2 การเรียนการสอนดวยวิธีปกต ิ

2.2ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ

2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

2.2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนตอการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

3.แบบแผนการศึกษา

แบบแผนการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยาตามแบบแผนการวิจัยแบบ Pretest-posttest control group design

ตารางท่ี 1 แบบแผนการวิจัย

กลุม สอบกอน ทดลอง สอบหลัง

RE O1 X O2

RC O1 X O2

RE คือ กลุมทดลอง

RC คือ กลุมควบคุม

X คือ ทดลอง

O1 คือ ทดสอบกอนเรียน

O2 คือ ทดสอบหลังเรียน

Page 53: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

37

4.เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา

4.1 แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

4.2 แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ

4.3 บทเรียนมัลติมีเดีย เรื่องการสรางงานนําเสนอ

4.4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสรางงานนําเสนอ กอนเรียนและหลังเรียนแบบปรนัย

4.5 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบปกติและแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ

5.การสรางและการหาคุณภาพเครื่องมือ

5.1แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 มีวิธีการดําเนินการสรางดังนี้

5.1.1 ศึกษารายละเอียดของหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูดานความรู ดานทักษะกระบวนการและดานคุณลักษะ เวลาเรียน เนื้อหาเรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

5.1.2 ศึกษาการสรางแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จากหนังสือ เอกสารทางวิชาการท่ีเกี่ยวของ

5.1.3 สรางแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดดังนี้

Page 54: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

38

ตารางท่ี 2 รายละเอียดการสรางแผนจัดการเรียนรู แบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

ลําดับ รายละเอียด

1 มาตรฐานการเรียนรู

2 ตัวชี้วัด

3 สาระการเรียนรูดานความรู ดานทักษะกระบวนการ และดานคุณลักษณะ

4 เวลาเรียน

5 กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูบทเรียน

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมรวบยอด

6 ส่ือการเรียนรู/แหลงการเรียนรู

7 การประเมนิผล

5.1.4 นําแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 เสนอตออาจารยที่ปรึกษา

5.1.5 นําแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยี ท่ีผานการปรับปรุงแผนตามคําแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษาแลวใหผูเช่ียวชาญดานเนื้อหา ดานการสอน และดานการวัดผลประเมินผล จํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความถูกตองของแผนจัดการเรียนรู แลววิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence : IOC) นําคะแนนท่ีไดจากการประเมินจากผูเช่ียวชาญท้ัง 3 คน มาคํานวณหาคาดัชนีความสอดคลอง โดยถือเกณฑวาคาดัชนีความสอดคลองมากกวาหรือเทากับ 0.5 เปนเกณฑท่ียอมรับได

ผลการวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง จากผูเช่ียวชาญ ท้ัง 3 คน มีคาเฉล่ียเทากับ 0.91 อยูในเกณฑท่ียอมรับได

Page 55: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

39

5.1.6 ปรับปรุงแผนจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาและผูเช่ียวชาญท้ัง 3 คน

5.1.7 นําแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี6 ไปใชในการวิจัย ดังรายละเอียดตามแผนภาพที่2

แผนภาพที่ 2 ขั้นตอนการสรางแผนจัดการเรียนรูแบบปกติ

ศึกษารายละเอียดของหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูดานความรู ดานทักษะกระบวนการและดานคุณลักษะ เวลาเรียน เนื้อหาเร่ืองการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ศึกษาการสรางแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จากหนังสือ เอกสารทางวิชาการท่ีเกี่ยวของ

สรางแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

นําแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 เสนอตออาจารยท่ีปรึกษา และผูเช่ียวชาญดานเนื้อหา ดานการสอน และดานการวัดผลประเมินผล จํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความถูกตองของแผนจัดการเรียนรู แลววิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง ( Index of Item Objective Congruence : IOC) มีคาเทากับ 0.91

ปรับปรุงแผนจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาและผูเช่ียวชาญท้ัง 3 คน

นําแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ไปใชในการวิจัย

Page 56: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

40

5.2 การสรางแผนจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 มีขั้นตอนการสรางดังตอไปนี้

5.2.1 ศึกษารายละเอียดของหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูดานความรู ดานทักษะกระบวนการและดานคุณลักษะ เวลาเรียน เนื้อหาเรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

5.2.2 ศึกษาการสรางแผนจัดการเรียนรู ผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จากหนังสือ เอกสารทางวิชาการและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

5.2.3 สรางแผนจัดการเรียนรู ผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ ตารางท่ี 3 รายละเอียดการสรางแผนจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน

ลําดับ รายละเอียด

1 มาตรฐานการเรียนรู

2 ตัวชี้วัด

3 สาระการเรียนรูดานความรู ดานทักษะกระบวนการ และดานคุณลักษณะ

4 เวลาเรียน

5 กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูบทเรียน

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมรวบยอด

6 ส่ือการเรียนรู/แหลงการเรียนรู

7 การประเมินผล

Page 57: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

41

5.2.4 นําแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยี ท่ีผานการปรับปรุงแผนตามคําแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษาแลวให ผูเช่ียวชาญดานเนื้อหา ดานการสอน และดานการวัดผลประเมินผล จํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความถูกตองของแผนจัดการเรียนรู แลววิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence : IOC) นําคะแนนท่ีไดจากการประเมินจากผูเช่ียวชาญท้ัง 3 คน มาคํานวณหาคาดัชนีความสอดคลอง โดยถือเกณฑวาคาดัชนีความสอดคลองมากกวาหรือเทากับ 0.5 เปนเกณฑท่ียอมรับได

ผลการวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง จากผูเช่ียวชาญ ท้ัง 3 คน มีคาเฉล่ียเทากับ 0.89 อยูในเกณฑท่ียอมรับได

5.2.5 ปรับปรุงแผนจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษาและผูเช่ียวชาญท้ัง 3 คน

5.2.6 นําแผนจัดการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี6 ไปใชในการวิจัย ดังรายละเอียดตามแผนภาพที่3

Page 58: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

42

ศึกษารายละเอียดของหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูดานความรู ดานทักษะกระบวนการและดานคุณลักษะ เวลาเรียน เนื้อหาเร่ืองการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ศึกษาการสรางแผนจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จากหนังสือ เอกสารทางวิชาการท่ีเกี่ยวของ

สรางแผนจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

นําแผนจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 เสนอตออาจารยท่ีปรึกษา และผูเช่ียวชาญดานเนื้อหา ดานการสอน และดานการวัดผลประเมินผล จํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความถูกตองของแผนจัดการเรียนรู แลววิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง ( Index of Item

Objective Congruence : IOC) มีคาเทากับ 0.89

ปรับปรุงแผนจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาและผูเช่ียวชาญท้ัง 3 คน

นําแผนจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ไปใชในการวิจัย

แผนภาพที่ 3 ขั้นตอนการสรางแผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน

Page 59: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

43

5.3 บทเรียนบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุม

สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

5.3.1 ศึกษาแนวคิดทฤษฎี หลักการ เอกสาร ตําราวิชาการ งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการสรางบทเรียนมัลติมีเดีย

5.3.2 ศึกษาหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูดานความรู ดานทักษะกระบวนการและดานคุณลักษะ เวลาเรียน เนื้อหาเรื่ องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้

5.3.2.1 กําหนดวัตถุประสงคการเรียนรูของบทเรียน กําหนดรูปแบบ เนื้อหาของบทเรียน เกณฑการวัดผลประเมินผล แบบฝกหัด แบบทดสอบ

5.3.2.2 สรางเปนแผนภูมิสายงาน (Flow Chart) และบทภาพ (Storyboard)

5.3.2.3 นําบทภาพ ท่ีสรางขึ้นและรายละเอียดท่ีเกี่ยวกับการวัดและการประเมินผลไปปรึกษาอาจารยท่ีปรึกษาเพื่อขอคําแนะนําและตรวจสอบความถูกตองเหมาะสม เพื่อนํามาปรับปรุ งแกไข

5.3.3 บทเรียนมัลติมีเดียท่ีไดบทภาพท่ีผานการปรับปรุงแกไขเสร็จเรียบรอยแลว จึงสรางบทเรียนมัลติมีเดียตามบทภาพดังกลาว ซึ่งบทเรียนท่ีดีนั้นตองสามารถนําเสนอไดท้ังภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว แสง สี เสียงและกราฟกตางๆ พรอมท้ังมีแบบฝกหัด แบบทดสอบ การนําเสนอผลงาน กระดานสนทนา หองสนทนา การสรางบทเรียนมัลติมีเดีย

5.3.4 นําบทเรียนท่ีสรางไปใหผูเช่ียวชาญดานเนื้อหาจํานวน 3 ทาน ตรวจสอบ ความถูกตองและเหมาะสมของเนื้อหา และผูเช่ียวชาญดานมัลติมีเดียจํานวน 3 ทาน ตรวจสอบความถูกตองสมบูรณของบทเรียน โดยใชแบบประเมินคุณภาพของบทเรียนมัลติมีเดีย มีลักษณะเปนมาตราประมาณคา 5 ระดับ ดังนี้

5 หมายถึง บทเรียนมัลติมีเดียมีคุณภาพมากท่ีสุด

4 หมายถึง บทเรียนมัลติมีเดียมีคุณภาพมาก

3 หมายถึง บทเรียนมัลติมีเดียมีคุณภาพปานกลาง

Page 60: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

44

2 หมายถึง บทเรียนมัลติมีเดียมีคุณภาพนอย

1 หมายถึง บทเรียนมัลติมีเดียมีคุณภาพนอยท่ีสุด

โดยผูวิจัยกําหนดเกณฑแปลความหมายไวดังนี้

คะแนนเฉล่ีย 4.50 – 5.00 หมายถึง มากท่ีสุด

คะแนนเฉล่ีย 3.50 – 4.49 หมายถึง มาก

คะแนนเฉล่ีย 2.50 – 3.49 หมายถึง ปานกลาง

คะแนนเฉล่ีย 1.50 – 2.49 หมายถึง นอย

คะแนนเฉล่ีย 1.00 – 1.49 หมายถึง นอยท่ีสุด

ท้ังนี้บทเรียนมัลติมีเดีย จะตองผานเกณฑ ≥ 3.50 ซึ่งอยูในระดับมาก

ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนมัลติมีเดีย มีคาเฉล่ียเทากับ 4.25 อยูในระดับ มาก

5.3.5 นําบทเรียนมัลติมีเดียท่ีไดไปหาประสิทธิภาพแบบเด่ียว (One-toone Tryout) ซึ่งมีคุณสมบัติคลายกลุมตัวอยาง โดยคัดเลือกนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในภาคเรียนท่ีผานมา ผลการเรียนอยูในระดับสูง ปานกลาง และตํ่าอยางละ 1 คน มาทําการทดลองในขั้นนี้ เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมีเดีย ตามเกณฑ 60/60 และนําผลท่ีไดมาปรับปรุงแกไขเนื้อหาและรูปแบบในการนําเสนอใหเหมาะสม และนําไปหาประสิทธิภาพของกลุมเล็ก (Small Group Tryout)

ตารางท่ี 4 แสดงการวิเคราะหผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมีเดีย ตามเกณฑ 60/60 ของข้ันการทดลองเด่ียว (One-toone Tryout)

Page 61: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

45

นักเรียนคนท่ี คะแนนระหวางเรียน

(30) รอยละ (E1)

คะแนนสอบหลังเรียน (30)

รอยละ (E2)

1 22.00 73.33 25.00 83.33

2 18.00 60.00 19.00 63.33

3 16.00 53.33 17.00 56.67

เฉล่ียรอยละ 18.67 62.22 20.33 67.78

คาประสิทธิภาพ E1/E2 = 62.22/67.78

จากตารางท่ี 4 แสดงใหเห็นผลการทดลองบทเรียนมัลติมีเดียท่ีผานการหาประสิทธิภาพ พบวารอยละของคะแนนเฉล่ียของคะแนนการทดลองระหวางเรียน (E1) มีคาเทากับ 62.22 และรอยละเฉล่ียของคะแนนเฉล่ียการทดลองหลังเรียน (E2) มีคาเทากับ 67.78 ผูวิจัยไดนํา ขอเสนอแนะจากนักเรียนกลุมทดลองขั้นเด่ียวมากวิเคราะหและนําไปปรับปรุงแกไขบทเรียนมัลติมีเดียดังนี้

1.ปรับเพิ่มเติมรูปประกอบ ในแตละบทเรียนเพื่อดึงดูดความสนใจมากยิ่งขึ้น

2.เนื้อในบทเรียนมัลติมีเดียมีตัวหนังสือมาก ทําใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนาย ควรส่ือดวยขอความอยางกระทัดรัด และไดใจความสมบูรณ

5.3.6 นําบทเรียนมัลติมีเดียท่ีผานการหาประสิทธิภาพแบบเด่ียวและปรับปรุงแกไขเนื้อหาและรูปแบบแลว หาประสิทธิภาพของกลุมเล็ก (Small Group Tryout) ซึ่งมีคุณสมบัติคลายกลุมตัวอยาง โดยคัดเลือกนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในภาคเรียนท่ีผานมา ผลการเรียนอยูในระดับสูง ปานกลาง และตํ่าอยางละ 3 คน มาทําการทดลองในข้ันนี้ เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมีเดีย

ตามเกณฑ 70/70 และนําผลท่ีไดมาปรับปรุงแกไขเนื้อหาและรูปแบบในการนําเสนอใหเหมาะสม เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมีเดีย นําผลท่ีไดมาปรับปรุงแกไขเนื้อหาและรูปแบบในการนําเสนอใหเหมาะสมย่ิงขึ้นเพื่อนําบทเรียนผานเว็บท่ีปรับปรุงเรียบรอยไปทดลองภาคสนาม (field Tryout)

Page 62: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

46

ตารางท่ี 5 แสดงการวิเคราะหผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมีเดีย ตามเกณฑ 70/70 ของข้ันการทดลองกลุมเล็ก (Small Group Tryout)

นักเรียนคนท่ี คะแนนระหวางเรียน

(30) รอยละ (E1)

คะแนนสอบหลังเรียน (30)

รอยละ (E2)

1 26.00 86.67 27.00 90.00

2 23.00 76.67 24.00 80.00

3 25.00 83.33 27.00 90.00

4 22.00 73.33 23.00 76.67

5 19.00 63.33 20.00 66.67

6 21.00 70.00 23.00 76.67

7 18.00 60.00 19.00 63.33

8 19.00 63.33 20.00 66.67

9 16.00 60.00 16.00 53.33

เฉล่ียรอยละ 21.00 70.74 22.11 73.70

คาประสิทธิภาพ E1/E2 = 70.74/73.70

จากตารางท่ี 5 แสดงใหเห็นผลการทดลองบทเรียนมัลติมีเดียท่ีผานการหาประสิทธิภาพ พบวารอยละของคะแนนเฉล่ียของคะแนนการทดลองระหวางเรียน (E1) มีคาเทากับ 70.74 และรอยละเฉล่ียของคะแนนเฉล่ียการทดลองหลังเรียน (E2) มีคาเทากับ 73.70 ผูวิจัยไดนํา ขอเสนอแนะจากนักเรียนกลุมทดลองขั้นการทดลองกลุมเล็กมากวิเคราะหและนําไปปรับปรุงแกไขบทเรียนมัลติมีเดียดังนี้

1.ปรับเสียงดนตรีประกอบใหเบาลง เพื่อไมเปนการรบกวนสมาธิของนักเรียน

Page 63: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

47

5.3.7 นําบทเรียนมัลติมีเดียท่ีผานการหาประสิทธิภาพของกลุมเล็ก (Small Group

Tryout) และปรับปรุงแกไขเนื้อหาและรูปแบบเรียบรอยแลวไปทดลองภาคสนาม (Field Tryout)

แผนภาพที่ 4 ขั้นตอนการจัดสรางบทเรียนมัลติมีเดีย

ศึกษาแนวคิดทฤษฎี หลักการ เอกสาร ตําราวิชาการ งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการสรางบทเรียนมัลติมีเดีย

กําหนดวัตถุประสงคการเรียนรูของบทเรียนมัลติมีเดีย กําหนดรูปแบบ เนื้อหาของบทเรียน เกณฑการวัดผลประเมินผล แบบฝกหัด แบบทดสอบ

สรางเปนแผนภูมิสายงาน (Flow Chart) และบทภาพ (Storyboard)

นําบทภาพ ท่ีสรางขึ้นและรายละเอียดท่ีเกี่ยวกับการวัดและการประเมินผลไปปรึกษาอาจารยท่ีปรึกษา

ดําเนินการสรางบทเรียนมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบดวยสวนนําบทเรียน เนื้อหาเร่ือง การสรางงานนําเสนอ แบบฝกหัดระหวางเรียน แบบทดสอบ และส่ิงเรามัลติมีเดีย

ไมผาน

แกไขปรับปรุง

ทดลองคร้ังท่ี 1 รายบุคคล จํานวน 3 คน

ไดบทเรียนมัลติมีเดีย ท่ีจะนําไปทดลองจริงกับกลุมตัวอยาง

นําบทเรียนมัลติมีเดียไปตรวจสอบคุณภาพสื่อโดยผูเชี่ยวชาญดานเน้ือหาและดานมัลติมีเดีย ดานละ 3 คน

ทดลองคร้ังท่ี 2 รายบุคคล จํานวน 9 คน

ไมผาน

แกไขปรับปรุง

Page 64: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

48

5.4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จํานวน 1 ฉบับ โดยดําเนินการสรางตามขั้นตอน ตอไปนี้

5.4.1 ศึกษาเนื้อหาและหลักสูตร และสาระการเรียนรู ของ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 เรื่องการสรางงานนําเสนอ

5.4.2 วิเคราะหเนื้อหาและสาระการเรียนรู เรื่องการสรางงานนําเสนอ เพื่อทําการสรางแบบทดสอบ

5.4.3 ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบแบบปรนัย และการวิเคราะหขอสอบ

5.4.4 สรางแบบทดสอบ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบปรนัย จํานวน 65 ขอ

5.4.5 นําแบบทดสอบเสนอตออาจารยที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาและใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไข

5.4.6 นําแบบทดสอบใหผูเช่ียวชาญดานเนื้อหาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ จํานวน 3 คน ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาและความถูกตอง ภาษาท่ีใช ความสอดคลองกับสาระการเรียนรู ซึ่งใชวิธีตรวจสอบคาดัชนีความสอดคลอง ( Index of Item Objective

Congruence : IOC) นําคะแนนท่ีไดจากการประเมินจากผูเช่ียวชาญท้ัง 3 คน มาคํานวณหาคาดัชนีความสอดคลอง โดยถือเกณฑวาคาดัชนีความสอดคลองมากกวาหรือเทากับ 0.5 เปนขอสอบท่ีใชได

5.4.7 คา IOC มีคาเทากับ 0.97 และนําแบบทดสอบท่ีผานการตรวจสอบความสอดคลองจากผูเช่ียวชาญ 3 คน แลวนํามาปรับปรับแกไข

5.4.8 นําแบบทดสอบไปทดลองกับนักเรียน 40 คน ท่ีไมใชกลุมตัวอยาง ซึ่งเปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีเคยศึกษาเนื้อเรื่องการสรางงานนําเสนอมาแลว

5.4.9 เมื่อนักเรียนทําเสร็จแลวนํามาตรวจใหคะแนน โดยขอท่ีตอบถูกให 1 คะแนน ขอท่ีตอบผิดให 0 คะแนน

5.4.10 เมื่อตรวจใหคะแนนเรียบรอยแลว นําคะแนนท่ีไดมาวิเคราะหหาขอสอบท่ีมีคายากงาย (P) อยูระหวาง 0.20 - 0.80 และคาอํานาจจําแนก (r) ต้ังแต 0.20 ขึ้นไป ไดขอสอบจํานวน 30

ขอ ท่ีครอบคลุมเนื้อหาและสาระการเรียนรูท่ีตองการวัด (พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 129)

Page 65: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

49

5.4.11 การตรวจสอบหาคาความเช่ือมั่น (Reliability) คือ การตรวจสอบผลการวัดท่ีสม่ําเสมอและคงท่ี โดยผูวิจัยเลือกขอสอบท่ีผานเกณฑจํานวน 30 ขอ นํามาหาคาความเช่ือมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชสูตร kr-20 ของ คูเดอร ริชารทสัน (ธีรศักด์ิ อุนอารมณเลิศ 2549 : 75) โดยไดคาความเช่ือมั่นเทากับ 0.63

5.4.12 นําแบบทดสอบท่ีสรางขึ้นไปใชเปนเคร่ืองมือในการวิจัยซึ่งสรุปดังรายละเอียดในแผนภาพที่5

แผนภาพที่ 5 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ศึกษาเนื้อหาและหลักสูตร และสาระการเรียนรู

วิเคราะหเนื้อหาและสาระการเรียนรู

ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบแบบปรนัย และการวิเคราะหขอสอบ

สรางแบบทดสอบ

นําแบบทดสอบเสนอตออาจารยที่ปรึกษาและผูเช่ียวชาญ ตรวจสอบและคํานวณคา IOC

ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบแบบปรนัย และการวิเคราะหขอสอบ

ปรับปรุงแกไข

ไมผาน

นําแบบทดสอบไปทดลองกับนักเรียน 40 คน ท่ีไมใชกลุมตัวอยาง

คายากงาย (P) และ คาอํานาจจําแนก (r)

หาคาความเช่ือมั่น (Reliability)

นําแบบทดสอบท่ีสรางขึ้นไปใชเปนเคร่ืองมือในการวิจัย

Page 66: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

50

5.5 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ

ขั้นตอนตางๆ ในการสรางแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ท่ีมีตอการเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ มีรายละเอียดดังนี้

5.5.1 ศึกษาคนควาเกี่ยวของกับการสรางแบบสอบถามความพึงพอใจ จากหนังสือ เอกสาร หรือจากงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

5.5.2 กําหนดประเด็นท่ีจะศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนเพื่อนํามาสรางเปนคําถามในแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) โดยกําหนดเกณฑความพึงพอใจเปน 5 ระดับ คือ

มากท่ีสุด ใหคาระดับเทากับ 5 คะแนน

มาก ใหคาระดับเทากับ 4 คะแนน

ปานกลาง ใหคาระดับเทากับ 3 คะแนน

นอย ใหคาระดับเทากับ 2 คะแนน

นอยท่ีสุด ใหคาระดับเทากับ 1 คะแนน

โดยคาเฉล่ีย ( ) ระดับความพึงพอใจ ใชเกณฑการประเมินผลดังนี้ (บุญชู ศรีสะอาด 2539 : 66-

68)

4.50 – 5.00 = มากท่ีสุด

3.50 – 4.49 = มาก

2.50 – 3.49 = ปานกลาง

1.50 – 2.49 = นอย

1.00 – 1.49 = นอยท่ีสุด

5.5.3 นําแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีสรางเสร็จแลว เสนอตออาจารยท่ีปรึกษา เพื่ อตรวจพิจารณาความเหมาะสม รวมถึงความหมายตางๆ แลวนํามาปรับปรุงแกไข

Page 67: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

51

5.5.4 นําแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีปรับปรุงแกไขไปเสนอตอผูเช่ียวชาญ 3 คน เพื่อตรวจสอบพิจารณาความเหมาะสม ซึ่งใชวิธีตรวจสอบคาดัชนีความสอดคลอง ( Index of Item

Objective Congruence : IOC) นําคะแนนท่ีไดจากการประเมินจากผูเช่ียวชาญท้ัง 3 คน มาคํานวณหาคาดัชนีความสอดคลอง โดยถือเกณฑวาคาดัชนีความสอดคลองมากกวาหรือเทากับ 0.5 เปนขอคําถามท่ีอยูในเกณฑท่ียอมรับได

ผลการวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง จากผูเช่ียวชาญ ท้ัง 3 คน มีคาเฉล่ียเทากับ 0.87 อยูในเกณฑท่ียอมรับได

5.6.5 ทําการจัดพิมพแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบผสมผสาน เพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือในการวิจัย สรุปรายละเอียดดังแผนภาพที่ 6

แผนภาพที่ 6 การสรางแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบผสมผสาน

ศึกษาคนควาเกี่ยวของกับการสรางแบบสอบถามความพึงพอใจ จากหนังสือ เอกสาร หรือจากงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

กําหนดประเด็นท่ีจะศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนเพื่อนํามาสรางเปนคําถามในแบบสอบถาม ความพึงพอใจ

นําแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีสรางเสร็จแลว เสนอตออาจารยท่ีปรึกษา เพื่อตรวจพิจารณาความเหมาะสม รวมถึงความหมายตางๆ แลวนํามาปรับปรุงแกไข

นําแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีปรับปรุงแกไขไปเสนอตอผูเช่ียวชาญ 3 คน เพื่อตรวจสอบพิจารณาความเหมาะสม ซึ่งใชวิธีตรวจสอบคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence :

IOC) มีคาเทากับ 0.87

นําแบบสอบถามความพึงพอใจไปใชกับกลุมตัวอยางเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล

Page 68: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

52

6.การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล

6.1 ขั้นกอนการทดลอง เปนขั้นท่ีผูวิจัยเตรียมความพรอมในดานตางๆ ดังนี้ ศึกษาเอกสารงานวิจัยตางๆ ท่ีเกี่ยวของแลวทําการวิเคราะหเนื้อหา เพื่อจัดทําแผนจัดการเรียนรู แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน การจัดเตรียมส่ือมัลติมีเดีย ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการชองทางการส่ือสารผานเคร่ืองมือการส่ือผานอินเทอรเน็ต อธิบายใหนักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค ความสําคัญและประโยชนในการทดลองคร้ังนี้และขอความรวมมือจากนักเรียนใหผลการทดลองออกมาเท่ียงตรง

6.2 ขั้นทดลอง ผูวิจัยดําเนินการดวยตนเองตามแผนการจัดการเรียนรูท่ีไดสรางไว เพื่อปองกันมิใหเกิดตัวแปรแทรกซอนและไดดําเนินการทดลอง ซึ่งรายละเอียดดังตอไปนี้

6.2.1 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปทดสอบพื้นฐานความรูกอนเรียนของนักเรียนท้ัง 2 กลุม คือ นักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบปกติ และ นักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบผสมผสาน

6.2.2 ดําเนินการทดลองโดยผูวิจัยเองท้ัง 2 กลุม ในเนื้อหาเดียวกัน ระยะเวลาในการทดลองเทากัน คือ 1 หนวย 6 ช่ัวโมง โดยดําเนินการสอนดังนี้

6.2.2.1 นักเรียนกลุมท่ีไดรับการสอนแบบปกติ สอนแบบบรรยาย และสาธิตและทํากิจกรรมในช่ัวโมงเรียน ตามแผนจัดการเรียนรูแบบปกติ สอบถามปญหา ขอคําแนะนําในช่ัวโมงเรียน หรือนอกช่ัวโมงเรียนเมื่อมีโอกาส

6.2.2.2 นักเรียนกลุมท่ีไดรับการสอนแบผสมผสาน สอนแบบบรรยายและสาธิต รวมกับการเรียนส่ือมัลติมีเดีย ตามแผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน ทํากิจกรรมในช่ัวโมงเรียนและผานชองทางการติดตอส่ือสารผานอินเทอรเน็ต สอบถามปญหา ขอคําแนะนําผานทางการติดตอส่ือสารผานอินเทอรเน็ต

6.2.3 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปทดสอบความรูหลังเรียนของนักเรียนท้ัง 2 กลุม คือ นักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบปกติ และ นักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบผสมผสาน

6.2.4 นําคะแนนท่ีไดจากการทดลองของท้ัง 2 กลุม มาวิเคราะหโดยวิธีทางสถิติเพื่อทําการทดสอบสมมติฐาน

6.3 ขั้นหลังการทดลอง เปนขั้นตอนในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโดยใหนักเรียนทําแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอการเรียนแบบผสมผสาน

Page 69: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

53

ขั้นตอนการดําเนินการวิจัยโดยสรุป รายละเอียดดังแผนภาพท่ี 7 ขั้นตอนการดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล

การเรียนแบบปกติ การเรียนแบบผสมผสาน

ขั้นกอนการทดลอง ขั้นกอนการทดลอง

ขั้นทดลอง

1.ทําแบบทดสอบกอนเรียน

2.เรียนตามแผนจัดการเรียนรูแบบปกติ

3.ทําแบบทดสอบหลังเรียน

ขั้นกอนการทดลอง

1.ทําแบบทดสอบกอนเรียน

2.เรี ยนตามแผนจัดการเรียนรู แบบผสมผสาน

3.ทําแบบทดสอบหลังเรียน

ขั้นหลังการทดลอง

ทําแบบสอบความพึงพอใจ

7.การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

7.1.การวิเคราะหขอมูล

7.1.1 การวิเคราะหคุณภาพแผนจัดการเรียนรู คาความเท่ียงตรงของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบผสมผสาน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผูเรียน

7.1.2 การวิเคราะหดัชนีความยากงาย ดัชนีอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

แผนภาพที่ 7 ขั้นตอนการดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล

Page 70: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

54

7.1.3 วิเคราะหความเช่ือมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

7.1.4 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน และหลังเรียน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการจัดการเรียนแบบปกติ ใชสูตรคํานวณ t-test for dependent Sample

7.1.5 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน และหลังเรียน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการจัดการเรียนแบบผสมผสาน ใชสูตรคํานวณ t-test for dependent Sample

7.1.6 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนดวยการสอนแบบปกติและการสอนแบบผสมผสาน โดยใชสูตรคํานวณ t-test for Independent Sample

7.1.7 ผลการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับการเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนักเรียนกลุมตัวอยาง โดยใชวิธีการหาคาเฉล่ียและคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน

7.2 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

7.2.1 การวิเคราะหความเท่ียงตรง (Validity) โดยการหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence : IOC) (ธีรศักด์ิ อุนอารมยเลิศ 2549 : 65)

IOC =

เมื่อกําหนดให

IOC แทน ดัชนีความสอดคลอง

∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญท้ังหมด

N แทน จํานวนผูเช่ียวชาญ

7.2.2 การวิเคราะหระดับความยาก (Level of difficulty : P) และคาอํานาจจําแนก (Discrimination Index : r) ของแบบทดสอบ (ธีรศักด์ิ อุนอารมยเลิศ 2549 : 53-54) โดยใชสูตร

Page 71: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

55

P =

r =

P = ความยากของขอสอบ

r = คาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ

H = จํานวนคนท่ีตอบถูกในกลุมสูงของแตละขอ

L = จํานวนคนท่ีตอบถูกในกลุมตํ่าของแตละขอ

NH = จํานวนคนท้ังหมดในกลุมสูง

NL = จํานวนคนท้ังหมดในกลุมตํ่า

7.2.3 การวิเคราะหหาคาความเช่ือมั่นของแบบทดสอบ (Reliability) ของแบบทดสอบโดยใชสูตร KR-20 (ธีรศักด์ิ อุนอารมยเลิศ 2549 : 75-76)

rtt = 2spq

1

rtt แทน ความเช่ือมั่นของแบบทดสอบท้ังฉบับ

k แทน จํานวนขอของแบบทดสอบท้ังฉบับ

s2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมท้ังฉบับ

p แทน อัตราสวนของผูตอบถูกในขอนั้น

q แทน อัตราสวนของผูตอบผิดในขอนั้น

สูตรหาคาความแปรปรวน (S2)

S2 =

NH + NL

NH or NL

Page 72: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

56

7.2.4 การวิเคราะหความแตกตางของคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน โดยใชสถิติทดสอบ t-test for dependent Sample (ธีรศักด์ิ อุนอารมณเลิศ 2549 : 94)โดยใชสูตร

t = ∑D

df = n - 1

D = ความแตกตางของคะแนนคู

n = จํานวนคู

7.2.5 การวิเคราะหความแตกตางของคะแนนเฉล่ียสองกลุม โดยใชสถิติทดสอบ t-test for Independent Sample (ลวน และอังคณา สายยศ 2538 : 104) โดยใชสูตร

t =

+

df =

= คะแนนเฉล่ียของกลุมตัวอยางท่ี 1

= คะแนนเฉล่ียของกลุมตัวอยางท่ี 2

= เปนขนาดของกลุมตัวอยางท่ี 1

= เปนขนาดของกลุมตัวอยางท่ี 2

= ความแปรปรวนของกลุมตัวอยางท่ี 1

= ความแปรปรวนของกลุมตัวอยางท่ี 2

Page 73: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

57

7.2.6 การวิเคราะหดวยสถิติพื้นฐาน เชน รอยละ (Percentage) คาเฉล่ียรอยละ (Mean) และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

7.2.6.1 คาสถิติรอยละ (Percentage) ในการหาคาคะแนนพัฒนาการของนักเรียนแตละคนในกลุมท่ีไดรับการจัดการเรียนแบบผสมผสาน (บุญเรียง ขจรศิลป 2542 : 27) โดยใชสูตร

% = x 100

% = คารอยละ

a = จํานวนท่ีตองการหาคารอยละ

n = จํานวนขอมูลท้ังหมด

7.2.6.2 คาเฉล่ีย (Mean , ) ในการหาคุณภาพของแบบสอบถามความพึงพอใจและแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน (ลวน และอังคณา สายยศ 2538 : 73) โดยใชสูตร

=

= คาเฉล่ีย

= ผลรวมของคะแนนท้ังหมด

N = จํานวนขอมูล

7.2.6.3 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (ลวน และอังคณา สายยศ 2538 : 79) โดยใชสูตร

SD =

SD = คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน

= ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง

= ผลรวมของคะแนนท้ังหมดยกกําลังสอง

N = จํานวนในกลุมตัวอยาง

Page 74: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

58

บทที่ 4

ผลวิเคราะหขอมูล

การศึกษาวิจัยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ตามรายละเอียด ดังนี้

ตอนท่ี 1 ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

ตอนท่ี 2 ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการเรียนแบบปกติกับการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

ตอนท่ี 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

ตารางท่ี 4 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

จากการรวบรวมขอมูลเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสาน เมื่อทําการวัดผลสัมฤธิ์จากแบบทดสอบท้ังกอนและหลังเรียน ปรากฏดังตารางตารางท่ี 6 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสาน เมื่อทําการวัดผลสัมฤธ์ิจากแบบทดสอบท้ังกอนและหลังเรียน

Page 75: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

59

การทดสอบ จํานวนนักเรียน

คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย ( ) S.D. t-test

กอนเรียน 44 30 13.38 4.28 10.22

หลังเรียน 44 30 19.57 3.01

จากตารางท่ี 6 พบวาผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสานของนักเรียนกอนเรียนและหลังเรียน แตกตางกันโดยมีคาเฉล่ียกอนเรียนเทากับ13.38 และหลังเรียนมีคาเฉล่ียเทากับ 19.57 ซึ่งสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญ 0.05

ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการเรียนแบบปกติกับการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

ตารางท่ี 7 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการเรียนแบบปกติกับการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

กลุมตัวอยาง จํานวนนักเรียน คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย ( ) S.D. t-test

ผสมผสาน 44 30 19.57 3.01 2.55

ปกติ 44 30 17.84 3.83

จากตารางท่ี 7 พบวาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสานและแบบปกติ แตกตางกันโดย กลุมท่ีเรียนแบบผสมผสาน มีค าเฉล่ียเทากับ 19.57 สูงกวากลุมท่ีเรียนแบบปกติ มีคาเฉล่ียเทากับ 17.84 ในสวนของคาสถิติทดสอบ t-test พบวา กลุมท่ีเรียนแบบผสมผสาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมท่ีเรียนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ตอนนที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

Page 76: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

60

ตารางท่ี 8 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

รายการ ขอมูล จํานวน รอยละ

เพศ

ชาย

หญิง

รวม

23

21

44

52.28

47.72

100

ระดับช้ัน ป.6/2

รวม

44

44

100

100

ประสบการณเรียนแบบผสมผสาน

เคยเรียน

รวม

44

44

100

100

คะแนนเฉล่ียสะสม

ตํ่ากวา 2.00

2.01 – 3.00

3.01 – 4.00

ไมระบ ุ

รวม

8

22

14

0

44

18.18

50.00

31.82

0

100

จากตารางท่ี 8 ผลการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถามจํานวน 44 คน ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6/2 ซึ่งเคยมีประสบการณเรียนแบบผสมผสานผูเรียนสวนใหญมีคะแนนเฉล่ียสะสมในระดับดี (2.01- 3.00) รอยละ 50

Page 77: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

61

ตารางท่ี 9 ขอมูลเก่ียวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

รายการ จํานวน รอยละ อันดับ

1.เครื่องมือออนไลน

1.1กระดานสนทนา

1.2จดหมายอิเล็กทรอนิกส

1.3บล็อก

1.4หองสนทนา

44

44

0

44

100

100

0

100

1

1

1

2.ส่ือประกอบการเรียนการสอน

2.1เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบบทเรียนมัลติมีเดีย

2.2เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบ Power Point

2.3เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบ PDF

2.4เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบ Word

44

44

44

44

100

100

100

100

1

1

1

1

3.กิจกรรมออนไลน

3.1อานเอกสารประกอบการเรียนท่ีนําเสนอในรูปแบบ Word

3.2ศึกษาเรียนรูจากส่ือมัลติมีเดียท่ีนําเสนอใน website

3.3แลกเปล่ียนความคิดเห็นกันบนกระดานสนทนา

44

44

44

100

100

100

1

1

1

Page 78: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

62

รายการ จํานวน รอยละ อันดับ

3.4สงผลงานผานทางอีเมล หรือ website

ตามท่ีผูสอนกําหนด

3.5เขาไปแสดงความคิดเห็นงานแตละงานท่ีนําเสนอบนกระดานสนทนา

44

44

100

100

1

1

4.จํานวนช่ังโมงในการศึกษาแบบออนไลน

4.1 1 – 2 ช่ัวโมงตอวัน

4.2 3 – 4 ช่ัวโมงตอวัน

4.3 นอยกวา 1 – 2 ช่ัวโมงตอวัน

4.4 มากกวา 4 – 5 ช่ัวโมงตอวัน

36

2

6

0

81.82

4.55

13.63

0

1

3

2

5.ชวงเวลาในการศึกษาแบบออนไลน

5.1 6.00 – 9.00 น.

5.2 9.01 – 12.00 น.

5.3 12.01 – 15.00 น.

5.4 15.01 – 18.00 น.

5.5 18.01 – 21.00 น.

5.5 21.01 – 24.00 น.

3

6

44

7

18

0

8.82

13.64

100

15.91

40.91

0

5

4

1

3

2

6.วันท่ีผูเรียนเลือกศึกษาแบบออนไลน

6.1วันจันทร

6.2 วันอังคาร

6.3 วันพุธ

44

6

10

100

13.64

22.73

1

6

4

Page 79: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

63

รายการ จํานวน รอยละ อันดับ

6.4 วันพฤหัสบดี

6.5 วันศุกร

6.6 วันเสาร

6.7 วันอาทิตย

4

7

20

17

9.09

15.91

45.45

38.64

7

5

2

3

จากตารางท่ี 9 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับลักษณะการจัดเรียนการสอนแบบผสมผสาน พบวา กระดานสนทนา อีเมล และหองสนทนาเปนเคร่ืองมือออนไลนท่ีนํามาประกอบการจัดการเรียนการสอน มากท่ีสุด (รอยละ 100) ในดานส่ือประกอบการเรียนการสอนมีการนําเสนอเอกสารประกอบการเรียนการสอนในรูปแบบของบทเรียนมัลติมีเดีย PowerPoint , PDF และ Word มากท่ีสุด (รอยละ 100) ในดานกิจกรรมออนไลนประกอบการเรียนการสอนมีการอานเอกสารประกอบการเรียนท่ีนําเสนอในรูปแบบ Word การศึกษาเรียนรูจากส่ือมัลติมีเดียท่ีนําเสนอใน website แลกเปล่ียนความคิดเห็นกันบนกระดานสนทนา การสงงานผานทางอีเมล หรือ website ท่ีผูสอนกําหนด รวมถึงการเขาไปแสดงความคิดเห็นงาจแตละงานท่ีนําเสนอบนกระดานสนทนามากท่ีสุด (รอยละ 100)

ในสวนของชวงเวลาในการศึกษาแบบออนไลน พบวา ผูเรียนสวนใหญศึกษาแบบออนไลน 1 – 2 ช่ัวโมง ตอวัน (รอยละ 81.82) รองลงมาคือ นอยกวา 1 – 2 ช่ัวโมงตอวัน (รอยละ 13.63) โดยผูเรียนศึกษาแบบออนไลนในชวงเวลา 12.01 – 15.00 น. มากท่ีสุด (รอยละ 100) และจะศึกษาแบบออนไลนมากท่ีสุดในวันจันทร (รอยละ 100)

Page 80: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

64

ตารางท่ี 10 ผลการวิเคราะหขอมูลแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

ขอความ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลผล ลําดับที่

1.ประสบการณการใชอินเทอร เน็ตของผูเรียน เชน การสนทนาออนไลน การคนหาขอมูลทางอินเทอรเน็ต ชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจ

4.51 0.5 มากท่ีสุด 5

2.ประสบการณดานเทคโนโลยีของผูสอนมีผลตอการจัดการรูปแบบการเรียนรูแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน อันเปนการสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจ

4.44 0.7 มาก 8

3.ผูเรียนจําเปนตองไดรับคําแนะนํากอนการเรียนในรายวิชาท่ีมีการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ซึ่งชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจ

4.40 0.7 มาก 10

4.ผูสอนช้ีแจงจุดประสงคทางการเรียนท้ังในช้ันเรียนและออนไลน

4.53 0.5 มากท่ีสุด 4

5.ผูเรียนจําเปนตองไดรับคําแนะนํา/อบรมการใชเครื่องมือในการส่ือสารออนไลน

4.51 0.6 มากท่ีสุด 5

6.การ เ รี ยน รู แบบผสมผสานระหว า งหองเรียนกับออนไลนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายได

4.44 0.7 มาก 8

Page 81: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

65

ขอความ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลผล ลําดับที่

7.ส่ือการเรียนการสอนในการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว า งห อ ง เรี ยนกั บออน ไ ลน ช ว ย ใ ห ผู เ รี ย น ไ ด เ รี ย นต ามความกาวหนาของตนเอง

4.56 0.6 มากท่ีสุด 3

8.ผูสอนแจงความกาวหนาทางการเรียนใหผู เรียนทราบเพื่อกระตุนการเรียนรูของผูเรียน

4.37 0.7 มาก 11

9.ผู เรียน จําเปนตองมีทางในการติดตอสอบถามผูสอนแบบออนไลนในเรื่องท่ีไมเขาใจ

4.58 0.5 มากท่ีสุด 2

10.ผูเรียนสามารถติดตอส่ือสารกับผูสอนเมื่อใดก็ไดตามความตองการของผูเรียน

4.51 0.5 มากท่ีสุด 5

11.ผูสอนจะช้ีแจงกําหนดการสงงานบนเว็บไซตอยางสม่ําเสมอ

4.44 0.7 มาก 8

12.การกําหนดเวลาสงงาน/การมอบหมายงานการเรียนแบบออนไลนมีผลตอการเรียน

4.40 0.7 มาก 10

13.การกําหนดใหผูเรียนศึกษาเอกสารและส่ือการเรียนการสอนในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนกระตุนใหผูเรียนเกิดความอยากรู

4.47 0.6 มาก 7

14.เนื้อหานําเสนออยางเปนลําดับช้ัน จาก 4.47 0.7 มาก 7

Page 82: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

66

ขอความ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลผล ลําดับที่

งายไปยาก

15.กิจกรรมการเรียนรูเนนการเช่ือมโยงเนื้อหาทางทฤษฎีไปสูการปฏิบัติจริง

4.47 0.6 มาก 7

16.การจัดการเรียนการสอบแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนมีผลใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธระหวางกัน

4.35 0.7 มาก 12

17.การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนทําใหผูเรียนมีโอกาสไดแลกเปล่ียนประสบการณและความคิดเห็นระหวางกัน

4.53 0.6 มากท่ีสุด 4

18.เครื่องมือออนไลนเปนสวนหนึ่งท่ีชวยสนับสนุนใหผู เรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน

4.67 0.5 มากท่ีสุด 1

19.ส่ือประกอบการเรียนแบบออนไลนเปนสวนหนึ่งท่ีชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน

4.56 0.6 มากท่ีสุด 3

20.การ เ รี ยนแบบผสมผสานระหว า งหองเรียนกับออนไลนชวยใหผูเรียนไดเรียนรูผานส่ือ/แหลงการเรียนรูที่หลากหลาย

4.42 0.6 มาก 9

Page 83: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

67

ขอความ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลผล ลําดับที่

21.การทํากิจกรรมกลุมในหองเรียนกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย

4.33 0.6 มาก 13

22.การสนทนาแบบออนไลนกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรู

4.49 0.7 มาก 6

23.การ ทํ า ง าน ร าย บุ คคล ( individual

work) สงผลใหผูเรียนเกิดความพยายามในการเรียนรู

4.37 0.7 มาก 11

24.การทําแบบทดสอบหลังเรียนสงผลใหผูเรียนเกิดความพยายามในการเรียน

4.56 0.5 มากท่ีสุด 3

25.ผูสอนใหผลปอนกลับผานการส่ือสารทางอินเทอรเน็ตกับผูเรียน

4.51 0.6 มากท่ีสุด 5

26.ผู สอน ให ผลปอนก ลับกับ ผู เรี ยนในหองเรียน

4.49 0.6 มาก 6

27.ผูสอนใหผลปอนกลับกับผู เรียนเมื่ อผูเรียนสงผลงานหรือแสดงความคิดเห็น

4.53 0.7 มากท่ีสุด 3

28.ผูเรียนทราบเกณฑการประเมินผลท้ังกิจกรรมในหองเรียนและออนไลน

4.42 0.8 มาก 9

29.การมีสวนรวมในการเรียนออนไลน เชน การสังเกต การเขียนบันทึกหลังเรียนจัดเปนรูปแบบการวัดและการเมินผลอยางหนึ่ง

4.44 0.7 มาก 8

30.แบบทดสอบเปนรูปแบบการประเมินผล 4.47 0.6 มาก 7

Page 84: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

68

ขอความ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลผล ลําดับที่

การเรียนรูท่ีวัดความเขาใจในการรายวิชาท่ีจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนไดจริง

31.การแลกเปล่ียนประสบการณผานการนํา เสนอผลงาน เปนการประเ มินผล ท่ีสามารถวัดความสามารถแทจริงของผูเรียน

4.47 0.6 มาก 7

รวมเฉลี่ย 4.46 0.65 มาก

จากตารางท่ี 10 ผลการวิเคราะหขอมูลแบบสอบถามความพึงพอใจการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา พบวา มีคาเฉล่ียเทากับ 4.46 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.65 ถือวาอยูในระดับ มาก จากแบบสอบถามความพึงพอใจการเรียนแบบผสมผสานนั้นนักเรียนสวนใหญมีความพึงพอใจมากท่ีสุดอันดับท่ี 1 คือ เครื่องมือออนไลนเปนสวนหนึ่งท่ีชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน มีคาเฉล่ียเทากับ 4.67 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.5 ถือวาอยูในระดับ มากท่ีสุด ความพึงพอใจอันดับท่ี 2 คือ ผูเรียนจําเปนตองมีทางในการติดตอสอบถามผูสอนแบบออนไลนในเรื่องท่ีไมเขาใจ มีคาเฉล่ียเทากับ 4.58 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.5 ถือวาอยูในระดับ มากท่ีสุด และพึงพอใจอันดับท่ี 3 คือ ส่ือการเรียนการสอนในการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนชวยใหผูเรียนไดเรียนตามความกาวหนาของตนเอง , ส่ือประกอบการเรียนแบบออนไลนเปนสวนหนึ่งท่ีชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน , การทําแบบทดสอบหลังเรียนสงผลใหผูเรียนเกิดความพยายามในการเรียน มีคาเฉล่ียเทากับ 4.53 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.7 ถือวาอยูในระดับ มากท่ีสุด

Page 85: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

69

บทที่ 5

สรุป อภปิราย และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ แบบผสมผสาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

2.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการเรียนแบบปกติกับการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา ท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

ประชากรและกลุมตัวอยาง

1.ประชากรท่ีใชในการวิจัยไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา 3 หองเรียน จํานวน 139 คน

2.กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยไดแกนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา อ.บานโปง จ.ราชบุรี จากการเลือกแบบสุมอยางงายมา 2 หองเรียน โดยพิจารณาจากผลการเรียนใกลเคียงกัน หองละ44คน

ตัวแปรท่ีใชในการศึกษา

1. ตัวแปรตน (Independent Variable) คือ

1.1 การเรียนการสอนแบบผสมแบบผสาน

1.2 การเรียนการสอนดวยวิธีปกติ

Page 86: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

70

2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ

2.1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

2.2. ความพึงพอใจของนักเรียนตอการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา

1. แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

2. แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ

3. บทเรียนมัลติมีเดีย เรื่องการสรางงานนําเสนอ

4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสรางงานนําเสนอ กอนเรียนและหลังเรียนแบบปรนัย

5. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบปกติและแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ

วิธีดําเนินการวิจัย

1.ผูวิจัยใหนักเรียนทําการทดสอบกอนเรียนดวยแบบทดสอบเร่ืองการสรางงานนําเสนอ ซึ่งเปนแบบปรนัย จํานวน 30 ขอ ท่ีผานการวิเคราะหตรวจสอบหาคุณภาพของแบบวัดแลว เพื่อเก็บคะแนนกอนเรียนของนักเรียน

2.ผู วิ จัย ใหนั ก เรียน เ รี ยนด วยอี เ ลิ รนนิ่ ง เรื่ อ งการสร า งง านนํา เสนอ ผาน เว็ บไซตwww.krujeabtechno.com ผสมผสานกับการเรียนในหองเรียนปกติ ท้ังหมด 6 สัปดาห

3.ผูวิจัยใหนักเรียนสงงานผานกระดานถามตอบในแตละสัปดาห และสามารถสอบถามขอมูล ปรึกษาการสรางงานนําเสนอไดในกระดานสนทนา กระดานถามตอบ อี เมล ตามเวลาท่ีระบุไวพรอมกัน หรือนอกเวลาเรียนศึกษาเพิ่มเติมดวยตนเอง

4.ผูวิจัยใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นตอผลงานของเพ่ือนในทางสรางสรรค

Page 87: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

71

5.ผูวิจัยใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเรื่องการสรางงานนําเสนอ ซึ่งเปนแบบปรนัย จํานวน 30 ขอ ซึ่งเปนแบบทดสอบชุดเดียวกับแบบทดสอบกอนเรียนท่ีผานการวิเคราะหตรวจสอบหาคุณภาพของแบบวัดแลว เพื่อนํามาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน

6.ผูวิจัยใหนักเรียนทําแบบสอบถามความพึงพอใจตอการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

7.ผูวิจัยนําผลท่ีไดมาวิเคราะหขอมูลเพื่อนําเสนอในงานวิจัยตอไป

สรุปผลการวิจัย

การวิจัยเร่ือง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา สรุปผลการวิจัยไดดังนี้

1.ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสาน กอนเรียนและหลังเรียน แตกตางกันโดยมีคาเฉล่ียกอนเรียนเทากับ 13.38 และหลังเรียนมีคาเฉล่ียเทากับ 19.57 ซึ่งสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

2.ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสานและแบบปกติแตกตางกัน โดยนักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบผสมผสาน มีคาเฉล่ียเทากับ 19.57 ซึ่งสูงกวากลุมท่ีเรียนแบบปกติ มีคาเฉล่ียเทากับ 17.84 ในสวนของคาสถิติทดสอบ t พบวากลุมท่ีเรียนแบบผสมผสาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมท่ีเรียนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

3.ผลการวิเคราะหขอมูลแบบสอบถามความพึงพอใจตอการเรียนการสอนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเร่ืองการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา พบวา มีคาเฉล่ียเทากับ 4.46 และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากับ 0.65 ถือวาอยูในระดับ มาก

อภิปรายผล

1.ผลการศึกษาคะแนนผลสัมฤทธิ์ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนกอนและหลังเรียนดวยการเรียนแบบผสมผสาน และแบบปกติ พบวา กลุมตัวอยางนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสานมีคาเฉล่ียท่ีสูงขึ้น โดยคะแนนกอนเรียน คือ 13.38 และ คะแนนหลังเรียน คือ 19.57 พบวานักเรียนสวนใหญมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ เรื่องการสรางงานนําเสนอหลังเรียน ถือวาอยูในระดับท่ีสูงขึ้นจากกอนเรียน โดยมีจํานวนนักเรียนท่ีใกลเคียงกัน และคาเฉล่ียโดยรวมสูงขึ้นถึง 6.19 คะแนน คิดเปนรอยละ 46.26 ในสวนกลุมตัวอยางท่ีเรียนแบบปกตินั้นมีคาเฉล่ียสูงขึ้น โดยคะแนนกอนเรียนคือ 13.95 และ คะแนนหลังเรียน คือ 17.84 พบนักเรียนสวนใหญมีคะแนนผลสัมฤทธิ์เรื่องการสรางงานนําเสนอหลังเรียนถือวาอยูในระดับ

Page 88: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

72

ท่ีสูงขึ้นจากกอนเรียน และคาเฉล่ียโดยรวมสูงขึ้น 3.89 คะแนน คิดเปนรอยละ 27.89 จากการวิจัยพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสานหลังเรียนสูงกวากอนเรียน และจากการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียนพบวาคะแนนผลสัมฤธิ์ที่วัดผลจากการทําแบบทดสอบแบบปรนัย จํานวน 30 ขอ นั้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเฉล่ีย ไมถึงรอยละ 80 ของคะแนนเต็ม ดวยผลการเรียนเฉล่ียสะสมของนักเรียน สูงสุดอยูในกลุมคะแนนเฉล่ียสะสม 2.01 – 3.00 คิดเปนรอยละ 55 อยูในกลุมคะแนนเฉล่ียสะสม 3.01 – 4.00 คิดเปน รอยละ 18.18 และกลุมคะแนนเฉล่ียสะสม ตํ่ากวา 2.00 คิดเปนรอยละ 18.18 จึงผลตอคะแนนผลสัมฤทธิ์ดวยวิธีการวัดผมสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยขอสอบแบบปรนัย แตเมื่อนําคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการสรางช้ินงานนําเสนอของนักเรียน เรื่องการสรางงานนําเสนอท่ีเรียนแบบผสมผสาน มาวิเคราะหมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางเรียนจากการสรางช้ินงานนําเสนอ เฉล่ียเทากับ 26.15 คิดเปนรอยละ 87.17 อยูในระดับ ดีมาก ซึ่งแสดงใหเห็นวานักเรียนมีความสามารถในการทําคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการสรางช้ินงานนําเสนอไดสูงกวาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทําแบบทดสอบแบบปรนัย แสดงวานักเรียนมีทักษะ มีความสามารถในการนําความรูความเขาใจจากการเรียนมาสรางช้ินงานนําเสนอไดเปนอยางดี อาจเปนเพราะนักเรียนมีความสนใจและสนุกกับการสรางช้ินงานนําเสนอมากกวาการใหความสําคัญกับการทําแบบทดสอบแบบปรนัย สอดคลองกับงานวิจัย ทิศนา แขมมณี(2544 : 148-154) ท่ีกลาววา การจัดการเรียนรูผานกระบวนการเรียนรูจะชวยใหผูเรียนมีสวนรวม สามารถสรางความรูไดดวยตนเองทําความเขาใจ สรางความหมาย สาระขอความรูใหแกตนเองมีปฏิสัมพันธตอกันและกัน แลกเปล่ียนขอมูล ความรู ความคิดและประสบการณแกกันและกัน รวมท้ังมีบทบาทในกระบวนการเรียนรูมากท่ีสุดและสามารถนําความรูท่ีไดไปใชในชีวิตประจําวัน Johnson, McHugo and Hall ( 2006) จากการวิจัยสรุปแนวทางในการออกแบบกิจกรรมการเรียนไวดังนี้ รูปแบบการเรียนการสอนใชทรัพยากรออนไลน เชน เนื้อหาวิชา งานท่ีมอบหมาย เครื่องมือการเรียนแบบรวมมือ การประเมินการเรียนการสอนออนไลน รวมกับการเรียนแบบบรรยายในช้ันเรียนแบบด้ังเดิมท่ีเนนการเรียนแบบเผชิญหนา เนื้อหาของบทเรียนแบบออนไลน (online content) ควรครอบคลุมเนื้อหาท่ีเรียนในหองเรียนแบบด้ังเดิมแทนการเรียนแบบเผชิญหนา โดยการออกแบบระบบตองคํานึงถึงส่ิงแวดลอมในการเรียนใหใกลเคียงกับหองเรียนแบบด้ังเดิมโดยการถามปญหา การมอบหมายงาน การใหคําปรึกษา และการทําโครงงาน จากการวิจัยพบวา การเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานสามารถพัฒนาใหผูเรียนเกิดความเขาใจท่ีลึกซึ้งในองคความรู ท่ี เรียนไดมากกวาการเรียนออนไลนและการเรียนในหองเรียนแบบด้ังเดิมเพียงอยางเดียว เนื่องจากการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานเปนการรวมเอาขอท่ีดีท่ีสุดของวิธีการเรียนในช้ันเรียนแบบด้ังเดิมและระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกสเขาดวยกัน โดยผูเรียนสามารถฝกปฏิบัติการภายในหองปฏิบัติการ และฝกทบทวนความรูในเนื้อหานําไปใชในการแกปญหาในการเรียนไดตามความตองการ

Page 89: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

73

ของผูเรียนอยางอิสระดวยการเรียนแบบออนไลนโดยมีติวเตอรเปนผูคอยช้ีแนะเมื่อเกิดปญหา ซึ่งการเรียนแบบน้ีสามารถพัฒนาทักษะการแกปญหาของผูเรียนไดดวยตนเอง

2.ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสานและแบบปกติพบวา นักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบผสมผสาน มีคาเฉล่ียเทากับ 19.57 คิดเปนรอยละ 65.23 ซึ่งสูงกวากลุมท่ีเรียนแบบปกติ มีคาเฉล่ียเทากับ 17.84 คิดเปนรอยละ 59.47 สรุปไดวานักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบผสมผสานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวานักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบปกติ โดยมีคาเฉล่ียตางกัน 1.73

คะแนน คิดเปนรอยละ 8.84 เมื่อพิจารณาการกระจายของขอมูลท้ังสองกลุม พบวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบผสมผสาน มีคาเทากับ 3.01 และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบปกติ เทากับ 3.87 ทําใหคาเฉล่ียท่ีคํานวณไดเปนตัวแทนคากลางของขอมูลท่ีเช่ือถือไดท้ังสองกลุม ในสวนของคาสถิติทดสอบ t พบวากลุมท่ีเรียนแบบผสมผสาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมท่ีเรียนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 สรุปวาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการสรางงานนําเสนอระหวางนักเรียนกลุมท่ีแบบผสมผสานกับนักเรียนกลุมท่ีเรียนแบบปกติ มีความแตกตางกัน เมื่อเทียบความกาวหนาของกลุมตัวอยางท่ีเรียนแบบผสมผสานและแบบปกติ พบวากลุมตัวอยางท่ีเรียนแบบผสมผสานมีความกาวหนาท่ีดีกวากลุมตัวอยางท่ีเรียนแบบปกติ โดยวัดจากคาเฉล่ียหลังเรียน คะแนนความกาวหนา โดยผลจากการศึกษาคะแนนผลสัมฤทธิ์ดังกลาว เกิดจากความแตกตางดานรูปแบบการเรียนของนักเรียนท้ังสองกลุม เนื่องจากกลุมตัวอยางนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสานนักเรียนจะเรียนท้ังในช้ันเรียนและในบทเรียนอีเลิรนนิ่ง ครูผูสอนอธิบายเนื้อหาการสรางงานนําเสนอ แบงบทเรียนตามเนื้อหาตรงกับหลักสูตรการเรียนการสอน ประกอบดวย การเร่ิมใชงานโปรแกรม การใชเครื่องมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง งานนําเสนอ การกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด (Slide Transition) การกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ การสรางและคุณสมบัติตางๆ เกี่ยวกับ Chart การกําหนดจุดเช่ือมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object) การกําหนดการนําเสนอ และในแตละสัปดาหจะมีการฝกการสรางช้ินงาน ตามลําดับเนื้อหาของบทเรียน ในสวนของการเรียน อีเลิรนนิ่งนั้น นักเรียนจะเขาไปทบทวนเนื้อหา แตละสัปดาหนอกเหนือจากเวลาเรียนในช้ันเรียน โดยในแตละบทเรียนจะมีขอความ ภาพนิ่ง ภาพกราฟก ภาพเคล่ือนไหวทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรูดวยตนเอง ศึกษาคนควาโดยมีครูเปนผูคอยใหคําแนะนํา มีการรวมแสดงความคิดเห็นผานกระดานสนทนา มีการอภิปราย แสดงความคิดเห็นตอบทเรียนและช้ินงานของตนเองและเพื่อน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงแนวความคิดของนักเรียนแตละคนมากยิ่งขึ้น จะเห็นขอแตกตางวา เมื่อนักเรียนมีการทบทวนบทเรียน ศึกษาคนควา นอกช้ันเรียน ไดแลกเปล่ียนความคิดเห็น สอบถามปญหา ขอสงสัยไดตลอดเวลานั้น ระดับความรู ความเขาใจของนักเรียนในการสรางงานนําเสนอนั้นจะมีการเรียนรูท่ีสูงขึ้น สอดคลองกับงานวิจัย Rovai and Jordan (2004) ท่ีกลาววา การเรียนบนเว็บแบบผสมผสานนั้นสามารถสรางความรูสึกการเรียนรูแบบเปนชุมชนการเรียนรูไดมากกวารูปแบบอื่นๆ โดยทําใหบรรยากาศการเรียนเนนผูเรียนเปน

Page 90: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

74

ศูนยกลางการเรียนรูมากข้ึน โดยจะเนนท่ีการเรียนแบบกระตือรือรนโดยใชกระบวนการเรียนแบบรวมมือและสรางสังคมแหงความรูความเขาใจใหเกิดขึ้น Dr.Curt J.Bonk (2005) กลาววา Blended Learning

เปนการผสมผสานวิธีการหลายๆ วิธี (Multiple Learning Methods) เพื่อใชในการจัดการเรียนการสอน (teaching and learning) เพื่อสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรูและเกิดทักษะดานการปฎิบัติ (Practice

Skill) เชน การสอนในช้ันเรียนรวมกับการสอนแบบออนไลน (a combination of face-to-face and

Online Learning)

3.ผลการวิเคราะหขอมูลความพึงพอใจการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา พบวา มีคาเฉล่ียเทากับ 4.46 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.65 ถือวาอยูในระดับ มาก จากแบบสอบถามความพึงพอใจการเรียนแบบผสมผสานนั้นนักเรียนสวนใหญมีความพึงพอใจมากท่ีสุดอันดับท่ี 1 คือ เครื่องมือออนไลนเปนสวนหนึ่งท่ีชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน มีคาเฉล่ียเทากับ 4.67 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.5 ถือวาอยูในระดับ มากท่ีสุด พึงพอใจอันดับท่ี 2 คือ ผูเรียนจําเปนตองมีทางในการติดตอสอบถามผูสอนแบบออนไลนในเรื่องท่ีไมเขาใจ มีคาเฉล่ียเทากับ 4.58 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.5 ถือวาอยูในระดับ มากท่ีสุด และพึงพอใจอันดับท่ี 3 คือ ส่ือการเรียนการสอนในการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนชวยใหผูเรียนไดเรียนตามความกาวหนาของตนเอง , ส่ือประกอบการเรียนแบบออนไลนเปนสวนหนึ่งท่ีชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน , การทําแบบทดสอบหลังเรียนสงผลใหผูเรียนเกิดความพยายามในการเรียน มีคาเฉล่ียเทากับ 4.53 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.7 ถือวาอยูในระดับ มากท่ีสุด สวนดานท่ีนักเรียนมีความพึงพอใจเปนเปนอันดับสุดทายคือ การทํากิจกรรมกลุมในหองเรียนกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย ท้ังนี้เพราะ นักเรียนแตละคนจะมีสิทธ์ิในการใชเครื่องคอมพิวเตอรหนึ่งคนตอหนึ่งเครื่องดังนั้นนักเรียนจึงมีความตองการท่ีจะทํางานท่ีเครื่องคอมพิวเตอรของตนเองมากกวาท่ีจะไปรวมทํางานกลุมกับเพื่อนคนอ่ืนๆ สอดคลองกับงานวิจัย ออมสิน ชางทอง (2546 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนเครือขายอินเทอรเน็ต รายวิชาการเสริมสรางคุณภาพชีวิต เรื่องชีวิตกับนันทนาการ สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตท่ีเรียนบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตกับนิสิตท่ีเรียนตามปกติ พบวานิสิตท่ีเรียนบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีกวานิสิตท่ีเรียนตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และมีความคิดเห็นตอบทเรียนบนเครือขายอยูในระดับมาก ระบบ blended learning ท่ีไดพัฒนาขึ้นไดผานการทดสอบจากท้ังครูและนักเรียนโดยไดรับการยอมรับวาทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ

Page 91: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

75

จากการวิจัยในคร้ังนี้ ผูวิจัยไดสัมผัสกับประสบการณตรงท่ีจะนําเสนอเพื่อกอใหเกิดประโยชนในการวิจัยในคร้ังตอไป

ขอเสนอแนะท่ัวไป

1.อธิบายคําช้ีแจงอยางละเอียดสําหรับการใชบทเรียนอีเลิรนนิง กอนนักเรียนจะศึกษาเนื้อหาในบทเรียนและกอนดําเนินการทดลองจริง

2.ควรสอบถามความพรอมของนักเรียนเกี่ยวกับอุปกรณคอมพิวเตอรและสัณญาณอินเทอรเน็ตท่ีบานของนักเรียน

3.นักเรียนทุกคนจะตองมีอีเมล และชองทางการส่ือสารอื่นๆ ผานโซเชียลเน็ตเวิรค

ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป

1.ควรมีการศึกษาวิจัยการจัดการเรียนรูกับนักเรียนท่ีมีระดับผลการเรียนแตกตางกัน คือ เกง ปานกลาง และออน ท่ีสงผลตอการเรียนแบบผสมผสาน

2.ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความคงทนการเรียนรูของผูนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสานและเรียนแบบปกติ

3.ควรมีการศึกษาวิจัยการจัดการเรียนรู ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานกับวิชาอ่ืนๆ

Page 92: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

76

บรรณานุกรม

ภาษาไทย

ขนิษฐา ศรีชูศิลปะ. ศึกษาถึงผลการใชบทเรียนผานเครือขายอนิเทอรเน็ต วิชาสื่อโฆษณา ของ

นักเรียนระดับชั้นปวส.2 ที่มีระบบการเรียนการสอนตางกัน. 2546.

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสาน(ออนไลน). เขาถึงเมื่อ 19 กรกฎาคม

2553.เขาถึงไดจากhttp://gotoknow.org/blog/panitaw/375086

เจนเนตร มณีนาค. “จากอีเลิรนนิ่งสูการเรียนการสอนแบบผสมผสาน,” e-economy 2,41 (ธันวาคม 2545) :65-68

เจษฎา เมฆะสุวรรณโรจน. “ผลของการพัฒนาระบบทําใหไดตัวแบบของระบบ 3 กลุมสาระการ

เรียนรู” สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร ภาควิชาคอมพิวเตอร

มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2549.

ใจทิพย ณ สงขลา. การออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บ ในระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส. กรงุเทพฯ

: คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547.

เฉลิมพล ภุมรินทร. “การพัฒนาบทเรียนผานเว็บแบบผสมผสาน วิชาวิทยาศาสตรเร่ือง “อายุทางธรณีวิทยาซากดึกดําบรรพ และการลําดับชั้นหิน” สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชวงช้ันที่4)” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2550.

ฐานขอมูลการวิจัย การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ออนไลน). เขาถึงเมื่อ 4 กรกฎาคม 2553. เขาถึง

ไดจาก http://www.thaiedresearch.org/

ถนอมพร ตันติพิพัฒน. Design e-learning หลักการออกแบบและการสรางเว็บเพื่อการเรียนการ

สอน.กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ.2545

Page 93: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

77

ทฤษฎีการเรียนรูโดยการประมวลสารสนเทศ (Information Processing Model of Learning

(ออนไลน). เขาถึงเมื่อ 18 กรกฎาคม 2553. เขาถึงไดจากhttp://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Learning_Cognitive.htm

ทฤษฎีการเรียนรู.doc ทฤษฎีการเรียนรูโดยการประมวลสารสนเทศ (Information Processing

Modle of Learning) (ออนไลน). เขาถึงเม่ือ 19 กรกฎาคม 2553. เขาถึงไดจากwww.sk1edu.org/wangpai/

ธีรศักดิ์ อุนอารมณเลิศ. เคร่ืองมือการวิจัยทางการศึกษา การสรางและการพัฒนา. นครปฐม : ภาควิชา

พื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2549.

ยืน ภูวรวรรณ และ สมชาย นําประเสริฐชัย. ไอซีทีเพื่อการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่ัน.2546.

ฤตินันท บุญกอง. การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาจิตวิทยาเบื้องตน เร่ืองการคิด

สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. 2546.

วิไลพร พรมตา.(2551). “ผลของการเรียบผสมผสานดวยการเรียนการสอนแบบรวมมือในกลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1ที่มีบุคลิกภาพแตกตางกัน” วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สมรรถนะ ของผูเรียน 5 ประการ กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา(ออนไลน). เขาถึงเมือ่4 กรกฎาคม 2553. เขาถึงไดจากhttp://kruthainkp2.ning.com/forum/topics/5328910:Topic: 6731

สุไลมาน ยะโกะ. (2554). “การศึกษาผลของการเรียนดวยบทเรียนแบบผสมผสานที่พัฒนาตามแนวคิดการเรียนรูแบบรวมมือที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ในจังหวัดยะลา”. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

สรวงสุดา สายสีสด. การสรางและพัฒนาออนไลนวิชาระบบเครือขายคอมพิวเตอรระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.). 2545.

Page 94: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

78

ออมสิน ชางทอง. การพัฒนาบทเรียนเครือขายอินเทอรเน็ต รายวิชาการเสริมสรางคุณภาพชีวิต เร่ืองชีวิตกับนันทนาการ สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2546.

ภาษาอังกฤษ

Allen, I.E. & Seaman, J.(2005) Growing by Degree of Online Education in The United

States_. Sloan Consortium Foundation.

Bonk C.J, & Graham C.R. (2006). The Handbook of Blended Learning. San Francisco,

CA:Pfeiiffer

Chomsky (1972). Cognitive Science, Naturalism and Internalism.

Driscoll, Margaret.(2002). Web-based training : using technology to design adult learning

experiences. San Francisco : Jossey-Bass/Pfeiffer.

D. Randy Garrison & Norman D. Vaughan Review by Jeremy J. Hernandez Lecturer and

Diversity Faculty Fellow Higher Education Program Morgridge College of Education

University of Denver - See more at:

http://www.nacada.ksu.edu/Resources/Journal/Current-Past-Book-

Reviews/articleType/ArticleView/articleId/685/Blended-learning-in-higher-

education-Framework-principles-and-guidelines.aspx#sthash.jQ60xtpT.dpuf

Gagne, Robert M. (1977). The conditions of learning. New York: Holt Rinehart and

Wunston.

Johnson, K., McHugo, C., and Hall, T. Analysing the efficacy of blended learning using

technology Enhanced Learning (TEL) and m-Learning delivery technologies.

[online]. Accessed 29 October 2009.

Avilablefrom:Http://www.ascilite.org.au/conferences/

sydney06/proceeding/pdf_papers/p73.pdf

Page 95: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

79

Joyce Marie Schmeeckle, "Online training: An evaluation of the effectiveness and

efficiency of training law enforcement personnel over the Internet" (January 1,

2000).

Motschnig-Pitrik, R., & Mallich, K. (2004). Effects of Person-Centered Attitudes on

Professional and Social Competence in a Blended Learning Paradigm. Educational

Technology & Society, 7 (4), 176-192.

Rovai, A.P. & Jordan, H.M. (2004): Blended Learning and Sense of Community: A

comparative analysis with traditional and fully online graduate courses. The

International Review of Research in Open and Distance Learning, Vol 5, No 2.

Sevinc Gulsecen.(2004). “A Comparative Research in Blended Learning : State University

VS PrivateUniversity”. Department of Information, Istanbul University.Turkey,.

Skinner, B.F.(1953). Science and Human Behavior. New York : Macmillan.

Page 96: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

80

ภาคผนวก

Page 97: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

81

ภาคผนวก ก

รายนามผูเช่ียวชาญ

Page 98: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

82

รายนามผูเชี่ยวชาญสําหรับประเมินเคร่ืองมือในการวิจัย

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

ผูเชี่ยวชาญแผนจัดการเรียนรูแบบปกติ

1. ภราดา ดร.วรวุฒิ จิรสุจริตธรรม

ผูอํานวยการและผูรับใบอนุญาตวิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บานโปง

2. อ.สิทธิชัย ลายเสมา

อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

3. อ.ปญญา เกตตะรังศรี

ครู ชํานาญการพิเศษ สอนวิชาคอมพิวเตอร โรงเรียนรัตนราษฎรบํารุง บานโปง

ผูเชี่ยวชาญแผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน

1. อ.ศัลยพงศ วิชัยดิษฐ

อาจารยกลุมโปรแกรมคอมพิวเตอร ประสบการณในการใช E-Learning มากกวา 6 ป

มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม

2. อ.วรวุฒิ มั่นสุขผล

อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

3.อ.แคทรียา สถิตบรรจง

ครูผูสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และปฏิบัติหนาท่ีสรางงานนําเสนอในโอกาสตางๆ ของโรงเรียนประสบการณสอน 7 ป โรงเรียนดุสิตวิทยา

ผูเชี่ยวชาญดานสื่อมัลติมีเดีย

1. อ.ศัลยพงศ วิชัยดิษฐ

อาจารยกลุมโปรแกรมคอมพิวเตอร ประสบการณในการใช E-Learning มากกวา 6 ป

Page 99: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

83

มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม

2. อ.สิทธิชัย ลายเสมา

อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

3. อ.ณรงคยศ เล็กเปล่ียน

ครูผูสอนและครูประจําฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บานโปง

ผูเชี่ยวชาญดานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

1. อ.ธีรภัทร กุโลภาส

ผูอํานวยการโรงเรียนดุสิตวิทยา บานโปง

2. นายจิรประวัตน ศรีวัฒนทรัพย

ศึกษานิเทศ กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

3. อ.ปญญา เกตตะรังศรี

ครูชํานาญการพิเศษ สอนวิชาคอมพิวเตอร โรงเรียนรัตนราษฎรบํารุง บานโปง

แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบผสมผสาน

1. อ.ณรงคยศ เล็กเปล่ียน

ครูผูสอนและครูประจําฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโก บานโปง

2. อ.บุญสม หลอมหัทธนะกุล

ครูผูสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ประสบการณสอน 7 ป โรงเรียนดุสิตวิทยา บานโปง

3. นายจิรประวัตน ศรีวัฒนทรัพย

ศึกษานิเทศ กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

Page 100: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

84

ภาคผนวก ข

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

- แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ

- แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน

- ตัวอยางบทเรียนมัลติมีเดีย

- แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสรางงานนําเสนอ กอนเรียนเรียนแบบปรนัย

- แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ

Page 101: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

85

แผนจัดการเรียนรูแบบปกติ เร่ืองการสรางงานนําเสนอ

ตารางท่ี 11

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําในชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

สาระสําคัญ:

Page 102: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

86

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

โปรแกรม Ms PowerPointเปนโปรแกรมท่ีมีความสามารถในการนําเสนอขอมูลในรูปแบบสไลดหรือภาพนิ่งและส่ือผสม การใชงานโปรแกรม Ms PowerPointตองศึกษาสวนประกอบของหนาตางโปรแกรม Ms PowerPoint ใหเขาใจ การเขาสู โปรแกรม Ms

PowerPoint ทําไดโดย คลิกท่ีปุม Start เล่ือนเมาสไปช้ีท่ี Programs หรือ All Programs

เลือก Microsoft Office เลือก Microsoft Office PowerPoint สวนการออกจากโปรแกรม Ms PowerPoint ทําไดโดย คลิกคําส่ัง File เลือก Exit คลิกปุมคําส่ัง Yes/No/Cancel การสรางงานนําเสนอใหม คลิกปุม (Office Button) เลือกคําส่ัง New เลือกคําส่ัง Installed Template เลือกรูปแบบท่ีตองการแลวคลิกปุม Create

การบันทึกเอกสาร คลิกปุม (Save) บนแถบ Quick Access Toolbar หรือ

คลิกปุม (Office Button) เลือกคําส่ัง Save หรือ Save As ก็ได กําหนดรายละเอียด ท่ีชอง Save in เลือกตําแหนงไดรฟและโฟลเดอรท่ีตองการเก็บขอมูล ท่ีชอง File Name

พิมพชื่อไฟล คลิกปุม Save จะไดไฟลนามสกุล .pptx

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกประโยชนของโปรแกรม Ms PowerPointไดถูกตอง บอกข้ันตอนการเขา และออกจากโปรแกรม Ms PowerPoint บอกสวนประกอบของหนาตางโปรแกรม Ms PowerPoint

บอกข้ันตอนการสรางงานนําเสนอใหม จาก Template

Page 103: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

87

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

บอกข้ันตอนการบันทึกเอกสาร มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

ใชสวนประกอบตางๆ ของหนาตางโปรแกรม Ms PowerPointไดเหมาะสม เขาและออกจากโปรแกรม Ms PowerPoint

สรางงานนําเสนอใหมจาก Template ได บันทึกเอกสารได มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

เห็นประโยชนของโปรแกรม Ms PowerPoint

มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงค ว า ม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการ

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

Page 104: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

88

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

วางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

แนวทางการบูรณาการ:

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น / การรายงานหนาช้ันเรียน

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษา พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงา�และเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม Ms PowerPoint การประเมินผล:

Page 105: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

89

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – สรางงานนําเสนอใหมจาก Template/การสรางงานนําเสนอเปลา และการบันทึกงานนําเสนอ

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางงานนําเสนอใหมจาก Template/การสรางงานนําเสนอเปลา และการบันทึกงานนําเสนอ (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูการเรียน: 1.นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนจํานวน 10 ขอ ครูจดบันทึกคะแนนของนักเรียน

2.ครูติดโปสเตอรการนําเสนอขอมูลเรื่องหนึ่งไวบนกระดาน และนําเสนอขอมูลเรื่องเดียวกันในรูปแบบของโปรแกรม Ms PowerPoint แลวใหนักเรียนดูและรวมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใชคําถามดังนี้

นักเรียนชอบการนําเสนอขอมูลในรูปแบบใดระหวางโปสเตอรกับการนําเสนอขอมูลดวยคอมพิวเตอร และเพราะเหตุใดจึงชอบการนําเสนอขอมูลรูปแบบดังกลาว(ตัวอยางคําตอบ การนําเสนอขอมูลดวยคอมพิวเตอรเพราะนาสนใจมากกวา เพราะมีลูกเลนใน

Page 106: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

90

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

การนําเสนอ)

จากนั้นใหนักเรียน 1 คน ท่ีมีประสบการณการเขาสูโปรแกรม Ms Word ออกมาแสดงใหเพื่อนดู แลวรวมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใชคําถามดังนี้

เพื่อนของนักเรียนกําลังทําอะไร (ตัวอยางคําตอบ เขาสูโปรแกรม Ms

Word)

ขั้นตอนการเขาสูโปรแกรม Ms Word ของเพื่อนถูกตองหรือไม (ตัวอยางคําตอบ ถูกตอง)

นักเรียนคิดวาการเขาสูโปรแกรม Ms PowerPoint จะมีขั้นตอนเหมือนการเขาสูโปรแกรมMs Wordหรือไม เพราะเหตุใด (ตัวอยางคําตอบ เหมือน เพราะเปนโปรแกรม

Microsoft Office เหมือนกัน)

กิจกรรมการเรียนรู:

1. ใหนักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่องการนําเสนอขอมูลโดยใชโปรแกรม Ms PowerPoint การเขาและการออกจากโปรแกรม แลวรวมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใชคําถามดังนี้

ใชโปรแกรมโปรแกรม Ms PowerPoint มีความสามารถอยางไรบาง (ตัวอยางคําตอบ นําเสนอขอมูลในรูปแบบสไลดหรือภาพนิ่งและส่ือผสม)

สวนประกอบของหนาตางโปรแกรม Ms PowerPoint มีอะไรบาง (ตัวอยางคําตอบ แถบชื่อเร่ือง ปุมควบคุมการยอและขยายหนาตาง แถบเมนู แถบเคร่ืองมือ

Page 107: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

91

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

แท็ปและปุมแสดงสไลด พื้นที่กรอกขอความพื้นที่ของสไลด ชองสําหรับพิมพหมายเหตุของแตละสไลด แถบเคร่ืองมือรูปวาด แถบแสดงสถานะการพิมพ)

การเขาและการออกจากโปรแกรมมีข้ันตอนอยางไร 2. ครูสาธิตขั้นตอนการเขาสูโปรแกรมโปรแกรม Ms PowerPoint และขั้นตอนการออกจากโปรแกรม Ms PowerPointใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนแตละคนฝกปฏิบัติตาม โดยมีครูเปนผูประเมินผล

3. ครูสาธิตขั้นตอนการสรางงานนําเสนอใหมจาก Template และ ขั้นตอนตอนการสรางงานนําเสนอเปลา จากโปรแกรม Ms PowerPoint ใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนแตละคนฝกปฏิบัติตาม โดยมีครูเปนผูประเมินผล

4. ครูสาธิตขั้นตอนการบันทึกงานนําเสนอ ใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนแตละคนฝกปฏิบัติตาม โดยมีครูเปนผูประเมินผล

5. ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นวาการเขาสูโปรแกรม Ms

PowerPoint ขั้นตอนการออกจากโปรแกรม Ms PowerPoint ขั้นตอนการสรางงานนําเสนอใหมจาก Template การสรางงานนําเสนอเปลา และขั้นตอนการบันทึกงานนําเสนอของนักเรียนแตละคนพบปญหาหรือไม ถาพบปญหา แกไขปญหานั้นอยางไร

6. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใชคําถามทาทายดังนี้

อาชีพใดตองใชโปรแกรม Ms PowerPoint มากท่ีสุด

กิจกรรมรวบยอด:

Page 108: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

92

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ใหนักเรียนรวมกันสรุปความรูดังนี้ การใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint ซึ่งมีความสามารถในการนําเสนอขอมูลในรูปแบบสไลดหรือภาพนิ่งและส่ือผสม ตองศึกษาสวนประกอบของหนาตางโปรแกรมใหเขาใจ และนักเรียนรวมกันสรุปความรูดังนี้ คลิกท่ีปุม

Start เล่ือนเมาสไปช้ีท่ี Programs หรือ All Programs เลือก Microsoft Office

เลือก Microsoft Office PowerPoint เปนขั้นตอนการเขาสูโปรแกรม Ms PowerPointและ

คลิกคําส่ัง File เลือก Exit คลิกปุมคําส่ัง Yes / No / Cancel เปนขั้นตอนการออกจากโปรแกรม Ms PowerPoint

คลิกปุม (Office Button) เลือกคําส่ัง New เลือกคําส่ัง Installed

Template เลือกรูปแบบท่ีตองการแลวคลิกปุม Create

การบันทึกเอกสาร คลิกปุม (Save) บนแถบ Quick Access Toolbar หรือคลิกปุม (Office Button) เลือกคําส่ัง Save หรือ Save As ก็ได กําหนดรายละเอียด ท่ีชอง Save in เลือกตําแหนงไดรฟและโฟลเดอรท่ีตองการเก็บขอมูล ท่ีชอง File Name

พิมพชื่อไฟล คลิกปุม Save จะไดไฟลนามสกุล .ppt

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. ประสบการณการเขาสูโปรแกรมไมโครซอฟตเวิรดของนักเรียน

2. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

Page 109: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

93

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 110: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

94

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

หนวยการจัดการเรียนรูเ ร่ือง : การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 111: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

95

ตารางท่ี 12

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําในชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

Page 112: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

96

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สาระสําคัญ:

การสรางขอความ มี 2 แบบ คือ สรางโดยการใช Text box เมื่อการกรอบขอความแบบปกติ การสรางโดยใช WordArt เมื่อตองการขอความท่ีสวยงามกวาปกติ การใชเครื่องมือ AutoShape ถาตองการวาดรูปเอง และการสรางรูปภาพ (Picture/ClipArt) ในกรณีท่ีตองการเลือกรูปภาพจากแฟมงานอื่นโดยเลือกจากคําส่ัง Picture

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

1. บอกข้ันตอนการสรางขอความโดยการใช Text box และการสรางโดยใช WordArt

2. บอกขั้นตอนการสรางรูปราง (AutoShape)

3. บอกข้ันการสรางรูปภาพ (Picture/ClipArt)

มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

1. การสรางขอความโดยการใช Text box และการสรางโดยใช WordArt ได

2. สรางรูปราง (AutoShape) ตามวิธีการท่ีถูกตองได

Page 113: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

97

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

3. สรางรูปภาพ (Picture/ClipArt) ตามวิธีท่ีถูกตองได

มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

เห็นประโยชนของโปรแกรม Ms PowerPoint

มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงค ว า ม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

แนวทางการบูรณาการ:

Page 114: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

98

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น / การรายงานหนาช้ันเรียน

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษา พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – สรางงานนําเสนอโดยใชเคร่ืองมือการสรางขอความ / รูปราง

Page 115: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

99

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

และรูปภาพ

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางงานนําเสนอโดยใชเครื่องมือการสรางขอความ / รูปราง และรูปภาพ(เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูการเรียน: ใหนักเรียนรวมกันสนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการพิมพขอความลงในโปรแกรมไมโครซอฟตเวิรดโดยครูใชคําถามดังนี้

การพิมพขอความลงในกระดาษทําการของโปรแกรม Ms Word ทําไดอยางไร (ตัวอยางคําตอบ คลิกเมาสลงบนพื้นที่วางแลวพิมพขอความที่ตองการ)

นักเรียนคิดวาการสรางรูปราง และรูปภาพของโปรแกรม Ms Word ทําไดอยางไร

Page 116: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

100

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

กิจกรรมการเรียนรู:

1. ครูสาธิตขั้นตอนการสรางขอความลงในสไลด ของโปรแกรม Ms PowerPoint ใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนแตละคนฝกปฏิบัติตาม โดยมีครูเปนผูประเมินผล

2. ครูสาธิตการสรางรูปราง (AutoShape) ของโปรแกรม Ms PowerPoint ใหนักเรียนดู

แลวใหนักเรียนแตละคนฝกปฏิบัติตาม โดยมีครูเปนผูประเมินผล

3. ครูสาธิตการสรางรูปภาพ (Picture/ClipArt) ของโปรแกรม Ms PowerPoint ใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนแตละคนฝกปฏิบัติตาม โดยมีครูเปนผูประเมินผล

4. ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นวาการพิมพขอความลงในสไลด การสรางรูปราง (AutoShape) การสรางรูปภาพ (Picture/ClipArt) ของโปรแกรม Ms PowerPoint นักเรียนแตละคนพบปญหาหรือไม ถาพบปญหา แกไขปญหานั้นอยางไร

กิจกรรมรวบยอด:

การสรางขอความ มี 2 แบบ คือ สรางโดยการใช Text box เมื่อการกรอบขอความแบบปกติ การสรางโดยใช WordArt เมื่อตองการขอความท่ีสวยงามกวาปกติ การใชเครื่องมือ AutoShape ถาตองการวาดรูปเอง และการสรางรูปภาพ (Picture/ClipArt) ในกรณีท่ีตองการ

Page 117: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

101

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

เลือกรูปภาพจากแฟมงานอื่นโดยเลือกจากคําส่ัง Picture

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. ประสบการณการการใชโปรแกรมไมโครซอฟตเวิรดของนักเรียน

2. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

Page 118: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

102

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 119: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

103

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 120: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

104

ตารางท่ี 13

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคลื่อนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําในชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

Page 121: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

105

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคลื่อนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สาระสําคญั:

การใสเอฟเฟกตเปนอีกขั้นตอนหนึ่งท่ีสามารถสรางความนาสนใจใหกับงานนําเสนอไดหลายรูปแบบ เชนกําหนดเอฟเฟกตใหแตละสไลด กําหนดความเร็วในขณะท่ีเปล่ียนสไลด กําหนดเสียง การตั้งเวลาเปล่ียนสไลด

การกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ สามารถกําหนดไดดังรูปแบบตอไปนี้ การกําหนดแอนนิเมช่ันแบบอัตโนมัติใหกับขอความและวัตถุ การกําหนดแอนนิเมช่ันแบบกําหนดใหแตละขอความและวัตถุ การกําหนดตัวเลือก เพิ่มเติมของแอนนิเมช่ัน

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกขั้นตอนการใสเอฟเฟกตใหสไลด บอกข้ันตอนการกําหนดการเคล่ือนไหวใหวัตถุ

มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

1. ใสเอฟเฟกตใหสไลดตามข้ันตอนท่ีถูกตอง

2. กําหนดการเคล่ือนใหกับวัตถุตามข้ันตอนท่ีถูกตอง

Page 122: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

106

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคลื่อนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

1. สนใจการใสเอฟเฟกตใหสไลดตามข้ันตอนท่ีถูกตอง

2. สนใจการกําหนดการเคล่ือนใหกับวัตถุตามข้ันตอนท่ีถูกตอง

มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงค ว า ม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

Page 123: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

107

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคลื่อนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

แนวทางการบูรณาการ:

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น / การรายงานหนาช้ันเรียน

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษา พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

Page 124: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

108

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคลื่อนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – การกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางช้ินงานการกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูการเรียน: 1. ครูใหนักเรียนอานการตูนจากหนังสือ และดูการตูนแอนนิเมช่ัน

2.ครูตั้งคําถามใหนักเรียนรวมแสดงความคิดเห็น “ความแตกตางระหวางการอานการตูนจากหนังสือกับการดูการตูนแอนนิเมช่ัน”

3.ครูบอกกิจกรรมการเรียนการสอนในช่ัวโมงนี ้

Page 125: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

109

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคลื่อนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

กิจกรรมการเรียนรู:

1.ครูสาธิตขั้นตอนการกําหนดการเค ล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด ( Slide

Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation) ทีละขั้นตอน

2.นักเรียนฝกปฏิบั ติการกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด (Slide

Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation) โดยการสรางช้ินงานนําเสนอการโฆษณาสินคาตามความสนใจของนักเรียน

กิจกรรมรวบยอด:

ใหนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่องการกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

หนังสือการตูน

การตูนแอนนิเมช่ัน 3. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

Page 126: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

110

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคลื่อนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 127: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

111

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคลื่อนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

Page 128: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

112

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคลื่อนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 129: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

113

ตารางท่ี 14

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําในชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

Page 130: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

114

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สาระสําคัญ:

การสรางและคุณสมบัติตางๆ เกี่ยวกับ Chart มีดังนี้ การสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart และการตกแตง Chart ใหนาสนใจมากขึ้น

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกข้ันตอนการสรางและคุณสมบัติตางๆ เกี่ยวกับ Chart

มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

การสราง Chart ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง การตกแตง Chart ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

สนใจการสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart การตกแตง Chart ตามขั้นตอนท่ีถูกตอง มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมี มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึง

Page 131: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

115

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

เหตุผลตามความจําเปน คว าม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

แนวทางการบูรณาการ:

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

Page 132: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

116

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สุขศึกษพลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – การสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart การตกแตง Chart

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางช้ินงานการสราง Chart การจัดการกับขอมูล

Page 133: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

117

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

(Data Source) ของ Chart การตกแตง Chart (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูการเรียน: ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใชคําถามทาทายดังนี้

นักเรียนเคยสรางแผนภูมิเพื่อนําเสนอขอมูลในรูปแบบใดบาง และมีวิธีการสรางแผนภูมินั้นๆ อยางไร

นักเรียนรวมแสดงความคิด (คําตอบของนักเรียนขึ้นอยูกับประสบการณเดิมของนักเรียนแตละคน) กิจกรรมการเรียนรู:

1.ครูสาธิตข้ันตอนการสรางช้ินงานการสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart การตกแตง Chart ใหนักเรียนดู

2.ใหนักเรียนแตละคนฝกปฏิบัติการสรางช้ินงานการสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart การตกแตง Chart โดยนําเสนอแผนภูมิรายรับ รายจายและเงินคงเหลือของตนเองโดยมีครูเปนผูประเมิน

กิจกรรมรวบยอด:

ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นวา การสรางช้ินงานการสราง Chart

Page 134: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

118

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart การตกแตง Chartของนักเรียนแตละคนพบปญ-

หาหรือไม ถาพบปญหา แกไขปญหานั้นอยางไร

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. เครื่องโพรเจกเตอรและจอรับภาพ

2. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

Page 135: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

119

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

Page 136: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

120

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 137: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

121

ตารางท่ี 15

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําใน

Page 138: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

122

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

สาระสําคัญ:

การกําหนดจุดเช่ือมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object) มีดังนี้ การกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกขั้นตอน การกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

กําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง กําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง แกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยงตามข้ันตอนท่ีถูกตอง มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

Page 139: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

123

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สนใจการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง สนใจการกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง สนใจการแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยงตามข้ันตอนท่ีถูกตอง มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงค ว า ม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

แนวทางการบูรณาการ:

Page 140: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

124

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษ� พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – การกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติ

Page 141: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

125

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางช้ินงานการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูการเรียน: ใหนักเรียนเขาเว็บไซตของโรงเรียนดุสิตวิทยา เพื่อดูขอมูลตางๆ ภายในเว็บไซต จากนั้นใหนักเรียนรวมกนัสนทนาเกี่ยวกับรูปแบบการนําเสนอขอมูลจากเว็บไซต รวมถึงความนาสนใจจากรูปแบบการนําเสนอของเว็บไซต

กิจกรรมการเรียนรู:

1.ครูสาธิตข้ันตอนการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของ

Page 142: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

126

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

จุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง

2.ใหนักเรียนฝกปฏิบัติการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง

กิจกรรมรวบยอด:

ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นวา ขณะปฏิบัติงานการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยงพบปญหาหรือไม ถาพบ ปญหา แกไขปญหานั้นอยางไร

นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน ครูบันทึกผลเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน (รายบุคคล)

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. เว็บไซตของโรงเรียนดุสิตวิทยา www.dusitwittaya.ac.th

2. เครื่องโพรเจกเตอรและจอรับภาพ

3. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

Page 143: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

127

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 144: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

128

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 145: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

129

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 146: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

130

ตารางท่ี 16

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําในชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

Page 147: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

131

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สาระสําคัญ:

การกําหนดการนําเสนอ มีดังนี้ กําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกขั้นตอน กําหนดลักษณะของงานนําเสนอ บอกข้ันตอนการกําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ บอกข้ันตอนการกําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

กําหนดลักษณะของงานนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

สนใจการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง สนใจการกําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง

Page 148: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

132

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สนใจการกําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใช ทรั พ ยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงความเ ป น ไ ป แ ล ะ ค ว า มเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรียนการปฏิบัติภาระงานตางๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

แนวทางการบูรณาการ:

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

Page 149: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

133

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษพลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – การกําหนดลักษณะของงานนาํเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินช้ินงาน

3. เกณฑการประเมิน

Page 150: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

134

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

การประเมินผลจากการสรางช้ินงานการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูการเรียน: ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาทบทวนเก่ียวกับเครื่องมือตางๆ ท่ีไดเรียนมาแลว

กิจกรรมการเรียนรู:

1.ครูสาธิตขั้นตอนการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

2.ใหนักเรียนฝกปฏิบัติการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

กิจกรรมรวบยอด:

ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นวา ขณะปฏิบัติงานการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

Page 151: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

135

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

พบปญหาหรือไม ถาพบปญหา แกไขปญหานั้นอยางไร

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. เครื่องโพรเจกเตอรและจอรับภาพ

2. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

Page 152: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

136

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 153: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

137

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 154: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

138

แผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน เร่ืองการสรางงานนําเสนอ

ตารางท่ี 17

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม

Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวชี้วัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําใน

Page 155: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

139

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม

Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

สาระสําคัญ:

โปรแกรม Ms PowerPointเปนโปรแกรมท่ีมีความสามารถในการนําเสนอขอมูลในรูปแบบสไลดหรือภาพนิ่งและส่ือผสม การใชงานโปรแกรม Ms PowerPointตองศึกษาสวนประกอบของหนาตางโปรแกรม Ms PowerPoint ใหเขาใจ การเขาสู โปรแกรม Ms PowerPoint ทําไดโดย

คลิกท่ีปุม Start เล่ือนเมาสไปช้ีท่ี Programs หรือ All Programs เลือก Microsoft

Office เลือก Microsoft Office PowerPoint สวนการออกจากโปรแกรม Ms PowerPoint ทําไดโดย คลิกคําส่ัง File เลือก Exit คลิกปุมคําส่ัง Yes/No/Cancel การสรางงานนําเสนอใหม คลิกปุม (Office Button) เลือกคําส่ัง New เลือกคําส่ัง Installed Template

เลือกรูปแบบท่ีตองการแลวคลิกปุม Create

การบันทึกเอกสาร คลิกปุม (Save) บนแถบ Quick Access Toolbar หรือคลิกปุม

(Office Button) เลือกคําส่ัง Save หรือ Save As ก็ได กําหนดรายละเอียด ท่ี

ชอง Save in เลือกตําแหนงไดรฟและโฟลเดอรท่ีตองการเก็บขอมูล ท่ีชอง File Name พิมพ

ช่ือไฟล คลิกปุม Save จะไดไฟลนามสกุล .pptx

Page 156: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

140

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม

Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกประโยชนของโปรแกรม Ms PowerPointไดถูกตอง บอกข้ันตอนการเขา และออกจากโปรแกรม Ms PowerPoint บอกสวนประกอบของหนาตางโปรแกรม Ms PowerPoint

บอกข้ันตอนการสรางงานนําเสนอใหม จาก Template

บอกข้ันตอนการบันทึกเอกสาร มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

ใชสวนประกอบตางๆ ของหนาตางโปรแกรม Ms PowerPointไดเหมาะสม เขาและออกจากโปรแกรม Ms PowerPoint

สรางงานนําเสนอใหมจาก Template ได บันทึกเอกสารได มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

เห็นประโยชนของโปรแกรม Ms PowerPoint

Page 157: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

141

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม

Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงความเปนไปและความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

แนวทางการบูรณาการ:

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น / การรายงานหนาช้ันเรียน

Page 158: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

142

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม

Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษา พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม Ms PowerPoint

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

การมีสวนรวมในการเรียนแบบออนไลน การรวมแสดงความคิดเห็นบนกระดานสนทนา การสงงานบนกระดานสงงาน (ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70)

Page 159: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

143

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม

Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางงานนําเสนอใหมจาก Template/การสรางงานนําเสนอเปลา และการบันทึกงานนําเสนอ (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูการเรียน:

1.ครูอธิบายเกี่ยวกับวิธีการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอดวยโปรแกรม Ms PowerPoint

กิจกรรมการเรียนรู:

1.ครูสาธิตและช้ีแจงเกี่ยวกับการทําแบบทดสอบกอนเรียนการสรางงานนําเสนอดวยโปรแกรม Ms PowerPoint การสมัครสมาชิก เขาถึงไดท่ี www.krujeabtechno.com

2.นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนจํานวน 30 ขอ ครูจดบันทึกคะแนนของนักเรียน (ใน

Page 160: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

144

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม

Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ช้ันเรียน)

3.ครูและนักเรียน สนทนาซักถามเก่ียวกับการรวมกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลนของนักเรียน

กิจกรรมรวบยอด:

ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน และการเขาถึง www.krujeabtechno.com

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. www.krujeabtechno.com

2. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

Page 161: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

145

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม

Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

.............................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

Page 162: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

146

แผนการจัดการเรียนรูที่: 1

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การเร่ิมตนใชงานโปรแกรม

Ms PowerPoint

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

.............................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 163: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

147

ตารางท่ี 18

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําใน

Page 164: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

148

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

สาระสําคัญ:

การสรางขอความ มี 2 แบบ คือ สรางโดยการใช Text box เมื่อการกรอบขอความแบบปกติ การสรางโดยใช WordArt เมื่อตองการขอความท่ีสวยงามกวาปกติ การใชเครื่องมือ AutoShape ถาตองการวาดรูปเอง และการสรางรูปภาพ (Picture/ClipArt) ในกรณีท่ีตองการเลือกรูปภาพจากแฟมงานอื่นโดยเลือกจากคําส่ัง Picture

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

1. บอกข้ันตอนการสรางขอความโดยการใช Text box และการสรางโดยใช WordArt

2. บอกขั้นตอนการสรางรูปราง (AutoShape)

3. บอกข้ันการสรางรูปภาพ (Picture/ClipArt)

มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

Page 165: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

149

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

1. การสรางขอความโดยการใช Text box และการสรางโดยใช WordArt ได

2. สรางรูปราง (AutoShape) ตามวิธีการท่ีถูกตองได

3. สรางรูปภาพ (Picture/ClipArt) ตามวิธีท่ีถูกตองได

มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

เห็นประโยชนของโปรแกรม Ms PowerPoint

มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงค ว า ม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการ

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

Page 166: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

150

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

วางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

แนวทางการบูรณาการ:

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น / การรายงานหนาช้ันเรียน

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษา พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

Page 167: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

151

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – สรางงานนําเสนอโดยใชเคร่ืองมือการสรางขอความ / รูปราง และรูปภาพ

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางงานนําเสนอโดยใชเครื่องมือการสรางขอความ / รูปราง และรูปภาพ(เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู (Online)

กิจกรรมนําสูการเรียน: ใหนักเรียนรวมกันสนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการพิมพ

Page 168: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

152

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ขอความลงในโปรแกรมไมโครซอฟตเวิรด ทาง www.krujeabtechno.com ใชโดยครูใชคําถามดังนี ้

การพิมพขอความลงในกระดาษทําการของโปรแกรม Ms Word ทําไดอยางไร (ตัวอยางคําตอบ คลิกเมาสลงบนพื้นที่วางแลวพิมพขอความที่ตองการ)

นักเรียนคิดวาการสรางรูปราง และรูปภาพของโปรแกรม Ms Word ทําไดอยางไร

กิจกรรมการเรียนรู:

1. นักเรียนศึกษาขั้นตอนการสรางขอความลงในสไลด การสรางรูปราง (AutoShape) การสรางรูปภาพ (Picture/ClipArt) ของโปรแกรม Ms PowerPoint จากส่ือมัลติมีเดีย เขาถึง www.krujeabtechno.com

2. ใหนัก เรียนแตละคนฝกปฏิบั ติตามใบงาน ท่ีได รับมอบหมายโดยเขาถึ ง www.krujeabtechno.com

กิจกรรมรวบยอด:

Page 169: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

153

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

การสรางขอความ มี 2 แบบ คือ สรางโดยการใช Text box เมื่อการกรอบขอความแบบปกติ การสรางโดยใช WordArt เมื่อตองการขอความท่ีสวยงามกวาปกติ การใชเครื่องมือ AutoShape ถาตองการวาดรูปเอง และการสรางรูปภาพ (Picture/ClipArt) ในกรณีท่ีตองการเลือกรูปภาพจากแฟมงานอื่นโดยเลือกจากคําส่ัง Picture

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. ประสบการณการการใชโปรแกรมไมโครซอฟตเวิรดของนักเรียน

2. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

3. www.krujeabtechno.com

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียง

Page 170: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

154

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

Page 171: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

155

แผนการจัดการเรียนรูที่: 2

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การใชเคร่ืองมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 172: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

156

ตารางท่ี 19

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําใน

Page 173: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

157

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

สาระสําคัญ:

การใสเอฟเฟกตเปนอีกขั้นตอนหนึ่งท่ีสามารถสรางความนาสนใจใหกับงานนําเสนอไดหลายรูปแบบ เชนกําหนดเอฟเฟกตใหแตละสไลด กําหนดความเร็วในขณะท่ีเปล่ียนสไลด กําหนดเสียง การตั้งเวลาเปล่ียนสไลด

การกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ สามารถกําหนดไดดังรูปแบบตอไปนี้ การกําหนดแอนนิเมช่ันแบบอัตโนมัติใหกับขอความและวัตถุ การกําหนดแอนนิเมช่ันแบบกําหนดใหแตละขอความและวัตถุ การกําหนดตัวเลือก เพิ่มเติมของแอนนิเมช่ัน

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกขั้นตอนการใสเอฟเฟกตใหสไลด บอกข้ันตอนการกําหนดการเคล่ือนไหวใหวัตถุ

มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

Page 174: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

158

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

1. ใสเอฟเฟกตใหสไลดตามข้ันตอนท่ีถูกตอง

2. กําหนดการเคล่ือนใหกับวัตถุตามข้ันตอนท่ีถูกตอง

มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

1. สนใจการใสเอฟเฟกตใหสไลดตามข้ันตอนท่ีถูกตอง

2. สนใจการกําหนดการเคล่ือนใหกับวัตถุตามข้ันตอนท่ีถูกตอง

มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงค ว า ม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร

Page 175: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

159

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

แนวทางการบูรณาการ:

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น / การรายงานหนาช้ันเรียน

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษา พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

Page 176: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

160

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – การกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางช้ินงานการกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียน

Page 177: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

161

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

หนาสไลด และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู (Offline)

กิจกรรมนําสูการเรียน: ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาถึงการเรียนการสอนแบบ Online จากนั้น

1. ครูใหนักเรียนอานการตูนจากหนังสือ และดูการตูนแอนนิเมช่ัน

2.ครูตั้งคําถามใหนักเรียนรวมแสดงความคิดเห็น “ความแตกตางระหวางการอานการตูนจากหนังสือกับการดูการตูนแอนนิเมช่ัน”

3.ครูบอกกิจกรรมการเรียนการสอนในช่ัวโมงนี ้

กิจกรรมการเรียนรู:

1.ครูสาธิตขั้นตอนการกําหนดการเค ล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด ( Slide

Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation) ทีละขั้นตอน

2.นักเรียนฝกปฏิบั ติการกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด ( Slide

Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation) โดยการสรางช้ินงานนําเสนอ

Page 178: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

162

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

การโฆษณาสินคาตามความสนใจของนักเรียน โดยสงช้ินงานท่ี www.krujeabtechno.com

กิจกรรมรวบยอด:

ใหนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่องการกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1.หนังสือการตูน

2.การตูนแอนนิเมช่ัน 3.คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

Page 179: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

163

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 180: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

164

แผนการจัดการเรียนรูที่: 3

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการเคลื่อนไหวในขณะเปลี่ยนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 181: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

165

ตารางท่ี 20

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําใน

Page 182: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

166

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

สาระสําคัญ:

การสรางและคุณสมบัติตางๆ เกี่ยวกับ Chart มีดังนี้ การสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart และการตกแตง Chart ใหนาสนใจมากขึ้น

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกข้ันตอนการสรางและคุณสมบัติตางๆ เกี่ยวกับ Chart

มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

การสราง Chart ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง การตกแตง Chart ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

สนใจการสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart การตกแตง Chart ตาม

Page 183: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

167

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ขั้นตอนท่ีถูกตอง มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงค ว า ม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

แนวทางการบูรณาการ:

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น

Page 184: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

168

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา อ. บานโปง จ. ราชบุรี

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษ� พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – การสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ

Page 185: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

169

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา อ. บานโปง จ. ราชบุรี

Chart การตกแตง Chart

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางช้ินงานการสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart การตกแตง Chart (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู (Online)

กิจกรรมนําสูการเรียน: ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใชคําถามทาทายดังนี้ ทาง www.krujeabtechno.com

นักเรียนเคยสรางแผนภูมิเพื่อนําเสนอขอมูลในรูปแบบใดบาง และมีวิธีการสรางแผนภูมินั้นๆ อยางไร

นักเรียนรวมแสดงความคิด (คําตอบของนักเรียนขึ้นอยูกับประสบการณเดิมของนักเรียนแตละคน)

Page 186: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

170

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา อ. บานโปง จ. ราชบุรี

กิจกรรมการเรียนรู:

1.นักเรียนศึกษาขั้นตอนการสรางช้ินงานการสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data

Source) ของ Chart การตกแตง Chart จากส่ือมัลติมีเดีย เขาถึง www.krujeabtechno.com

2.ให นั ก เ รี ยนแต ละ คน ฝ กป ฏิบั ติ ต าม ใบ ง าน ท่ี ไ ด รั บม อบหมาย โด ย เข า ถึ ง www.krujeabtechno.com โดยใหนักเรียนแตละคนนําเสนอแผนภูมิรายรับ รายจายและเงินคงเหลือของตนเอง และสงช้ินงานทางอีเมล [email protected]

กิจกรรมรวบยอด:

ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นวา การสรางช้ินงานการสราง Chart การจัดการกับขอมูล (Data Source) ของ Chart การตกแตง Chartของนักเรียนแตละคนพบ ปญหาหรือไม ถาพบปญหา แกไขปญหานั้นอยางไร ผานทาง www.krujeabtechno.com

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. www.krujeabtechno.com

Page 187: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

171

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา อ. บานโปง จ. ราชบุรี

2. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 188: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

172

แผนการจัดการเรียนรูที่: 4

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การสรางและคุณสมบัติตางๆ เก่ียวกับ Chart

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 1 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 189: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

173

ตารางท่ี 21

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมลู

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําใน

Page 190: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

174

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

สาระสําคัญ:

การกําหนดจุดเช่ือมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object) มีดังนี้ การกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกขั้นตอน การกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

กําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง กําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง แกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยงตามข้ันตอนท่ีถูกตอง มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

Page 191: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

175

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

สนใจการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง สนใจการกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง ตามข้ันตอนท่ีถูกตอง สนใจการแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยงตามข้ันตอนท่ีถูกตอง มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงค ว า ม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูทองถ่ิน: -

แนวทางการบูรณาการ:

Page 192: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

176

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษ� พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – การกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติ

Page 193: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

177

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางช้ินงานการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู (Online)

กิจกรรมนําสูการเรียน: ใหนักเรียนเขาเว็บไซตของโรงเรียนดุสิตวิทยา เพื่อดูขอมูลตางๆ ภายในเว็บไซต จากนั้นใหนักเรียนรวมกนัสนทนาเกี่ยวกับรูปแบบการนําเสนอขอมูลจากเว็บไซต รวมถึงความนาสนใจจากรูปแบบการนําเสนอของเว็บไซต

กิจกรรมการเรียนรู:

1.นักเรียนศึกษาข้ันตอนการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ

Page 194: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

178

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง จากส่ือมัลติมีเดีย โดยเขาถึง www.krujeabtechno.com

2.ใหนักเรียนฝกปฏิบัติการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยง

กิจกรรมรวบยอด:

ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นวา ขณะปฏิบัติงานการกําหนดจุดเช่ือมโยง (Hyperlink) การกําหนดคุณสมบัติตางๆ ของจุดเช่ือมโยง การแกไขจุดเช่ือมโยง การลบ / ยกเลือก จุดเช่ือมโยงพบปญหาหรือไม ถาพบ ปญหา แกไขปญหานั้นอยางไร โดยเขาถึง www.krujeabtechno.com เพื่อรวมสนทนา

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. เว็บไซตของโรงเรียนดุสิตวิทยา www.dusitwittaya.ac.th

2. www.krujeabtechno.com

3. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

Page 195: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

179

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมีความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 196: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

180

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 197: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

181

แผนการจัดการเรียนรูที่: 5

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง : การกําหนดจุดเชื่อมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 198: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

182

ตารางท่ี 22

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด:

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล

การเรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

ตัวช้ีวัด

มฐ.ง 3.1 ป.6/3 เก็บรักษาขอมูลเปนประโยชนในรูปแบบตางๆ

ป.6/4 การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต

ป.6/5 ใชคอมพิวเตอรชวยสรางช้ินงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําใน

Page 199: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

183

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

สาระสําคัญ:

การกําหนดการนําเสนอ มีดังนี้ กําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

สาระการเรียนรู:

มิติดานความรู (Knowledge):

บอกขั้นตอน กําหนดลักษณะของงานนําเสนอ บอกข้ันตอนการกําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ บอกข้ันตอนการกําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

มิติดานทักษะกระบวนการ (Process):

กําหนดลักษณะของงานนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง

Page 200: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

184

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

มิติดานคุณลักษณะ (Attitude):

สนใจการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง สนใจการกําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง สนใจการกําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอตามขั้นตอนท่ีถูกตอง มิติดานเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ : ใชทรัพยากร คอมพิวเตอรและอุปกรณการเรียนรูอยางพอประมาณ

มีเหตุมีผล: ใชพลังงานอยางมีเหตุผลตามความจําเปน

มีภูมิคุมกัน: คํานึงถึงค ว า ม เ ป น ไ ปแล ะความเปล่ียนแปลงจากการใชเทคโนโลยี

ความรู: มีความรูความเขาใจในการเรี ยนการปฏิบั ติภาระงานตา งๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีการวางแผนในการเรียนการปฏิบัติงาน

คุณธรรม: มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่ือสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

แนวทางการบูรณาการ:

Page 201: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

185

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ภาษาไทย การตอบคําถาม / การรวมแสดงความคิดเห็น

คณิตศาสตร การคํานวณและวางแผนระยะเวลาในการทํางาน

วิทยาศาสตร การสังเกต

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การทํางานรวมกับเพื่อน

สุขศึกษ� พลศึกษา การรักษาความสะอาดของรางกาย เชน การตัดเล็บใหส้ัน การลางมือกอนใชอุปกรณคอมพิวเตอร

ศิลปะ การวาดภาพระบายสี

การงานและเทคโนโลยี การดูแลทําความสะอาดอุปกรณคอมพิวเตอรและหองเรียน

ภาษาตางประเทศ ช่ือเมนู / เครื่องมือจากโปรแกรม

การประเมินผล:

1. วิธีการวัดและประเมินผล

ภาระ/ช้ินงาน – การกําหนดลักษณะของงานนาํเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับ

Page 202: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

186

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

การนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

2. เคร่ืองมือ

แบบประเมินชิ้นงาน

3. เกณฑการประเมิน

การประเมินผลจากการสรางช้ินงานการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ (เกณฑการประเมินแบบรูบิก)

กิจกรรมการเรียนรู

กิจกรรมนําสูการเรียน: ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาทบทวนเก่ียวกับเครื่องมือตางๆ ท่ีไดเรียนมาแลว

กิจกรรมการเรียนรู:

1.ครูสาธิตขั้นตอนการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

Page 203: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

187

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

2.ใหนักเรียนฝกปฏิบัติการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอ

กิจกรรมรวบยอด:

ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นวา ขณะปฏิบัติงานการกําหนดลักษณะของงานนําเสนอ กําหนดตัวเลือกสําหรับการนําเสนอ กําหนดจํานวนสไลดท่ีตองการนําเสนอพบปญหาหรือไม ถาพบปญหา แกไขปญหานั้นอยางไร

นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 30 ขอ ครูบันทึกผลเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน (รายบุคคล)

สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู:

1. เครื่องโพรเจกเตอรและจอรับภาพ

2. คอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงครบชุด

กิจกรรม / ภาระงานเพิ่มเติม สําหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษใหนักเรียนชวยเหลือเปนพี่เล้ียงใหกับเพื่อนท่ีมี

Page 204: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

188

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

ความตองการพิเศษ

กิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียนที่มีความตองการพิเศษ:

สําหรับนักเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจะมีนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษคอยเปนพี่เล้ียงใหคําแนะนํา

กิจกรรมสืบเนื่อง:

นักเรียนนําความรูท่ีไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนไปใชรวมกับวิชาอ่ืนๆ

บันทึกหลังสอน / ขอเสนอแนะ:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 205: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

189

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

...........................................................................................................................................................

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร ) ครูผูจัดการเรียนรู

ความคิดเห็นของผูประเมินแผน:

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

Page 206: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

190

แผนการจัดการเรียนรูที่: 6

(แผนจัดการเรียนแบบผสมผสาน)

หนวยการจัดการเรียนรูเร่ือง: การกําหนดการนําเสนอ

รหัส: ง16101 วิชา: เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร

กลุมสาระการเรียนรู: การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี: 2 เวลาเรียน: 2 ช่ัวโมง

ครูผูจัดการเรียนรู: นางสาวยุรนันท พลายละหาร โรงเรียนดุสิตวิทยา

อ. บานโปง จ. ราชบุรี

( นางสาวยุรนันท พลายละหาร )

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ผูประเมินหนวยการเรียนรู

Page 207: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

191

ตัวอยางบทเรียนมัลติมีเดีย เร่ืองการสรางงานนําเสนอ

1. นักเรียนลงช่ือกอนเขาใชส่ือมัลติมีเดีย

ภาพท่ี 1

2. เนื้อหาในหนวยการเรียนรูการสรางงานนําเสนอ ท้ัง 6 สัปดาห

ภาพท่ี 2

Page 208: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

192

3. ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 1 การใชเครื่องมือและลักษณะพิเศษใหมๆ ในการสราง Presentation

ภาพท่ี 3

4. ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 2 เริ่มตนใชงานโปรแกรม MsPowerpoint

ภาพท่ี 4

Page 209: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

193

5. ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 3 การกําหนดการเคล่ือนไหวในขณะเปล่ียนหนาสไลด (Slide Transition) และการกําหนดการเคล่ือนไหวใหกับวัตถุ (Animation)

ภาพท่ี 5

6. ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 4 การสรางและคุณสมบัติตางๆ เกี่ยวกับ Chart

ภาพท่ี 6

Page 210: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

194

7. ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 5 การกําหนดจุดเช่ือมโยงใหกับขอความ (Text) และวัตถุ (Object)

ภาพท่ี 7

8. ตัวอยางเนื้อหาการเรียนรูในสัปดาหท่ี 6 การกําหนดการนําเสนอ

ภาพท่ี 8

Page 211: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

195

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการสรางงานนําเสนอ กอนเรียนเรียนแบบปรนัย

1. ขอใดคือสัญรูปของโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ก. ข.

ค. ง.

2. ขอใดกลาว ไมถูกตอง เกี่ยวกับการปดแฟมเอกสาร ก. การปดแฟมทําไดโดย คลิกคําส่ัง แฟม => ปด

ข. ถาแฟมท่ีตองการปดยังไมเคยบันทึกมากอน หรือเคยบันทึกมาแลวแตมีการเปล่ียนแปลง หรือ

มีการตกแตงขอความในเอกสาร จะมีขอความถามวาตองการเปล่ียนแปลงลงในแฟมหรือไม ค. ปดแฟมโดยการคลิกเลือกปุม

ง. ปดแฟมโดยการคลิกเลือกปุม

ขอสอบเร่ืองการสรางงานนําเสนอ วิชาเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา อ.บานโปง จ.ราชบุรี

ช่ือ....................................................................นามสกุล.........................................................เลขท่ี........ป.6/.......

Page 212: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

196

3.

แถบเคร่ืองมือขางบนนี้ช่ือวาอะไร ก. Ribbon

ข. Quick Access Toolbar

ค. Outline Tab

ง. Working Space

4.

ภาพนี้ช่ือวาอะไร ก. แถบเคร่ืองมือ

ข. แถบหัวเรื่อง ค. พื้นท่ีสรางงาน

ง. แถบเมนู

5. ไกดตองการมุมมองภาพนิง่แบบตัวเรียงลําดับ ไกดจะตองเลือกมุมมองในขอใด ก. ข.

ค. ง.

Page 213: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

197

6. โปรแกรม Microsoft PowerPoint ใชสําหรับงานประเภทใด

ก. ใชสําหรับคนหาขอมูลบนอินเทอรเน็ต

ข. ใชสําหรับงานตกแตงภาพ

ค. ใชสําหรับงานนําเสนอ

ง. ใชสําหรับงานตัดตอภาพยนตร

7. ขอใดถูกตอง ก. นองแยม เลนเกมดวยโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ข. คุณพอ สงอีเมลดวยโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ค. พี่แทน เตรียมนําเสนอรายงานดวยโปรแกรม Microsoft PowerPoint

ง. คุณปูตัดตอภาพยนตรดวยโปรแกรม Microsoft PowerPoint

8. การกระทําของใครที่นักเรียน ไมควร ปฏิบัติตาม ก. ณเดชสรางงานนําเสนอเร่ืองวงจรชีวิตผีเส้ือสงคุณครู ข. บอยสรางงานนําเสนอท่ีตอวาเพื่อนท่ีไมชอบใจแลวเปดใหเพื่อนๆ ในหองดู

ค. หมากสรางแผนภูมินําเสนอเก่ียวกับสถิติการมาเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี6

ง. ญาญาสรางการดอวยพรวนัครบรอบแตงงานใหคุณพอคุณแม

9. ลักษณะของการสรางงานนําเสนอ โดยเลือกใช Blank Presentation คือขอใด

ก. แผนสไลดเปลา

ข. แผนสไลดท่ีมีการตกแตงกราฟก

ค. แผนสไลดท่ีมีหัวขอ และโครงเนื้อหา

ง. แผนสไลดท่ีมีหัวขอ โครงเน้ือหา และมีการตกแตงกราฟก

Page 214: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

198

10.

หากตองการใชเมนูชุดรูปแบบทําไดโดยวิธีใด

ก. มุมมอง => ชุดรูปแบบ

ข. แทรก => ชุดรูปแบบ

ค. แกไข => ชุดรูปแบบ

ง. ออกแบบ => ชุดรูปแบบ

11. หากเคนตองการบันทึกงานโดยการกดปุมคียลัดนักเรียนจะแนะนําใหเคนกดปุมใดบนแปนพิมพ

ก. Ctrl + D ข. Ctrl + S

ค. Shift + D ง. Shift + S

12. หมายถึงขอใด

ก. สรางไฟลใหม ข. นําเสนอรูปภาพ

ค. บันทึก

ง. เปดงานใหม

13. สัญรูปนี้ คือสวนของเมนูใด

ก. ข.

ค. ง.

Page 215: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

199

14. ขอใดคือคําส่ังในการสรางกลองขอความ

ก. เมนู Insert Paint

ข. เมนู Insert Text Box

ค. เมนู Insert Save

ง. เมนู Insert Open

15. หากตองการสรางรูปส่ีเหล่ียมผืนผาในโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2007 ควรเลือกใชเมนูใดตอไปนี้

ก. ข.

ค. ง.

16. โจกตองการวาดภาพดวยฝมือของตนเองลงในงานนําเสนอ โจกจะตองเลือกใชเคร่ืองมือใด

ก. ข.

ค. ง.

Page 216: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

200

17. ถาเราตองการนํา ภาพจากภายนอก เขามาในโปรแกรม Microsoft PowerPoint ควรเลือกเมนูใด

ก. ข.

ค. ง.

18. การเลือกรูปภาพจากคําส่ัง ClipArt หมายถึงขอใด

ก. การเลือกรูปภาพที่มีอยูแลวจากโปรแกรม

ข. การเลือกรูปภาพจากแผนซีดี

ค. การเลือกรูปภาพจากแฟลชไดร

ง. การเลือกรูปภาพจากเว็บไซต

19. ขอใด ไมใช คุณสมบัติของ Effect

ก. สามารถกําหนดความเร็วในขณะเปล่ียนสไลดได

ข. สามารถกําหนดเสียงในขณะเปล่ียนสไลดได

ค. ชวยเพิ่มความนาสนใจใหงานนําเสนอ

ง. ชวยเพิ่มระยะเวลาในการนําเสนองาน

20. หากตองการตั้งเวลาอัตโนมัติจะตองกําหนดรายละเอียดการตั้งคาในขอใด

ก. On Mouse Click

ข. Effect

ค. Advance Slide

ง. Automatically After

Page 217: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

201

21. จากภาพหมายความวาอยางไร ก. ภาพนิ่งจะเล่ือนเมื่อมีการคลิกเมาส ข. ภาพนิ่งจะเล่ือนเมื่อเวลาผานไป 8 นาที

ค. ภาพนิ่งจะเล่ือนเมื่อเวลาผานไป 8 วินาที

ง. ภาพนิ่งจะเล่ือนหลังจากท่ีคลิกเมาสแลว 8 วินาที

22. ปุมนี้มีชือ่วาอะไร

ก. Print ข. Text Box

ค. Slide Show ง. Save As

23. คําส่ังการนําเสนอภาพนิ่ง สามารถใชปุมใดตอไปนี ้ ก. F5 ข. F6

ค. F7 ง. F8

24. หากตองการนําเสนอขอมูลสถิติการมาเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ควรใชเคร่ืองมือใด

ก. ข.

ค. ง.

25. Chart Style มีประโยชนอยางไร ก. สําหรับตกแตง Chart ใหนาสนใจมากขึ้น

ข. สําหรับพิมพตัวอักษรลงใน Chart

ค. สําหรับยาย Chart

ง. สําหรับพิมพตัวเลขลงใน Chart

Page 218: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

202

26. แตงกวาตองการกําหนดจุดเช่ือมโยง แตงกวาจะตองเลือกสัญรูปใด

ก. ข.

ค. ง.

27. จากภาพหมายถึงการกําหนดจุดเช่ือมโยงแบบใด

ก. การกําหนดจุดเช่ือมโยงไปยังเว็ปไซต

ข. การกําหนดจุดเช่ือมโยงไปยังสไลดภายในงานนําเสนอเดียวกัน

ค. การกําหนดจุดเช่ือมโยงไปยังไฟลงานเอกสารอืน่

ง. การกําหนดจุดเช่ือมโยงไปยังไฟลงานนําเสนออืน่

28. ใครคลิกเลือกสัญรูปในการกําหนดการนําเสนอไดถูกตอง

ก. กอลฟคลิกเลือกสัญรูป

ข. กุกคลิกเลือกสัญรูป

ค. กองคลิกเลือกสัญรูป

ง. กูดคลิกเลือกสัญรูป

Page 219: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

203

29. Presented by a speaker (full screen) เปนการกําหนดการนําเสนอแบบใด

ก. การนําเสนอผลงานแบบหนาตาง

ข. การนําเสนอผลงานแบบเต็มจอ

ค. การนําเสนอผลงานแบบคร่ึงจอ

ง. การนําเสนอผลงานแบบสัมผัสจอ

30.จากภาพหมายความวาอยางไร

ก. นําเสนอผลงานท้ังหมดเลือกแสดง

ข. เลือกแสดงเฉพาะหนาท่ี 3

ค. เลือกแสดงเฉพาะหนาท่ี 9

ง. เลือกแสดงเฉพาะสไลดหนาท่ีตองการ

Good Luck

Page 220: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

204

แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบผสมผสาน เร่ืองการสรางงานนําเสนอ

แบบสอบถามเพื่องานวิจัย

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

คําช้ีแจง

1.แบบสอบถามนี้มุงศึกษาองคประกอบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ดังนั้นคําตอบตามความพึงพอใจของนักเรียนมีความสําคัญและจําเปนตอการเขาใจท่ีถูกตองในการวิจัยครั้งนี้ อันจะนําไปสูแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานตอไป ซึ่งผูวิจัยขอยืนยันวาจํานําคําตอบของนักเรียนไปใชในการวิจัยเทานั้น การรายผลจะเปนภาพรวม มิใชอางอิงถึงคําตอบของผูใด ดังนั้นจะไมมีผลกระทบตอนักเรียนแตอยางใด

2.แบบสอบถามนี้เปนแบบเลือกตอบ มีท้ังหมด 3 ตอน คือ

ตอนท่ี 1 แบบสอบถามเก่ียวกับขอมูลสวนบุคคล

ตอนท่ี 2 แบบสอบถามลักษณะการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

ตอนท่ี 3 แบบสอบถามองคประกอบในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

คําจํากัดความท่ีใชในการวิจัย

การเรียนการสอนแบบผสมผสาน หมายถึง การเรียนการสอนท่ีผสมผสานรูปแบบท่ีหลากหลาย ไมวาจะเปนการเรียนการสอนท่ีเกิดขึ้นในหองเรียน (Offline) ผสมผสานกับการเรียนการสอนบนเครือขาย (Online) ดําเนินการบรรยาย อภิปราย ช้ีแจงรายละเอียดการเรียน กําหนดตามรางกิจกรรมการเรียน นําเสนอเอกสารประกอบการเรียน ถาม-ตอบปญหาขอสงสัยเกี่ยวกับเนื้อหาท่ีไดเรียนระหวางผูสอนกับผูเรียน ผูเรียนกับผูเรียน และดําเนินกิจกรรมในหองเรียนและบนเครือขาย ผานเคร่ืองมือท่ีหลากหลาย โดยเปาหมายอยูท่ีการใหผูเรียนบรรลุเปาหมายการเรียนรูเปนสําคัญ

Page 221: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

205

ตอนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

โปรดทําเคร่ืองหมาย ในชองวาง หนาขอความที่ตรงกับคําตอบของนักเรียน

1. เพศ ชาย หญิง

2. ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6/2 ประถมศึกษาปท่ี 6/3

3. นักเรียนเคยเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนหรือไม

เคย ไมเคย

4. นักเรียนเคยเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนจํานวน..........วิชา

โปรดระบุช่ือวิชา 1. …………………………………………………………..

2. …………………………………………………………..

3. …………………………………………………………..

5. คะแนนเฉล่ียสะสม (ป.4-ป.5) …………………………………………………..

ตอนที่ 2 ลักษณะการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

1. เครื่องมือออนไลนใดบางท่ีผูสอนกําหนดใหนักเรียนเขาไปศึกษาหรือทํากิจกรรม (สามารถตอบไดมากกวา 1ขอ)

กระดานสนทนา อีเมล

บล็อก หองสนทนา

อื่นๆ โปรดระบุ .....................................................................................................

2. มีการนําเสนอส่ือประกอบการเรียนการสอนในรูปแบบใดบาง (สามารถตอบไดมากกวา 1ขอ)

เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบบทเรียนมัลติมีเดีย

เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบ Power Point

Page 222: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

206

เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบ PDF

เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบ Word

3. ในรายวิชานี้นักเรียนตองทํากิจกรรมออนไลนใดบาง ตามประมวลรายวิชา (สามารถตอบไดมากกวา 1ขอ)

อานเอกสารประกอบการเรียนท่ีนําเสนอในรูปแบบ Word

ศึกษาเรียนรูจากส่ือมัลติมีเดียท่ีนําเสนอใน website

แลกเปล่ียนความคิดเห็นกันบนกระดานสนทนา

สงผลงานผานทางอีเมล หรือ website ตามท่ีผูสอนกําหนด

เขาไปแสดงความคิดเห็นงานแตละงานท่ีนําเสนอบนกระดานสนทนา

อื่นๆ โปรดระบุ .................................................................................................

4. นักเรียนเขาไปศึกษาในเว็บท่ีผูสอนกําหนดใหสัปดาหละกี่ช่ัวโมง

1 – 2 ช่ัวโมงตอวัน

3 – 4 ช่ัวโมงตอวัน

นอยกวา 1 – 2 ช่ัวโมงตอวัน สัปดาหละ..................................ช่ัวโมง

มากกวา 4 – 5 ช่ัวโมงตอวัน วันละ..........................................ช่ัวโมง

5. นักเรียนเขาไปศึกษาในเว็บท่ีผูสอนกําหนดใหสัปดาหละ ......................ช่ัวโมง

6. สวนใหญนักเรียนเขาไปศึกษาในเว็บชวงเวลาใด (สามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ)

6.00 – 9.00 น. 9.01 – 12.00 น.

12.01 – 15.00 น. 15.01 – 18.00 น.

18.01 – 21.00 น. 21.01 – 24.00 น.

Page 223: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

207

7. สวนใหญนักเรียนเขาไปศึกษาในเว็บวันใด (สามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ)

วันจันทร วันอังคาร

วันพุธ วันพฤหัสบดี

วันศุกร วันเสาร

วันอาทิตย

ตอนที่ 3 แบบสอบถามองคประกอบในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

องคประกอบในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน : นักเรียนมีความพึงพอใจเก่ียวกับประเด็นตอไปนี้ มากนอยเพียงใด

คําช้ีแจง

ใหนักเรียนพิจารณาขอคําถามตางๆ แตละขอ และทําเครื่องหมาย / ลงในชองหมายเลขท่ีตรงกับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีตรงกับความเปนจริงมากท่ีสุด ตามเกณฑพิจารณาตอไปนี้

ระดับความพึงพอใจ ความพึงพอใจ

5 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด

4 หมายถึง พึงพอใจมาก

3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง

2 หมายถึง พึงพอใจนอย

1 หมายถึง พึงพอใจนอยท่ีสุด

Page 224: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

208

ตารางท่ี 23

ขอความ ระดับพึงพอใจ

5 4 3 2 1

1.ประสบการณการใชอินเทอรเน็ตของผูเรียน เชน การสนทนาออนไลน การคนหาขอมูลทางอินเทอรเน็ต ชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจ

2.ประสบการณดานเทคโนโลยีของผูสอนมีผลตอการจัดการรูปแบบการเรียนรูแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน อันเปนการสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจ

3.ผูเรียนจําเปนตองไดรับคําแนะนํากอนการเรียนในรายวิชาท่ีมีการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ซึ่งชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจ

4.ผูสอนช้ีแจงจุดประสงคทางการเรียนท้ังในช้ันเรียนและออนไลน

5.ผูเรียนจําเปนตองไดรับคําแนะนํา/อบรมการใชเครื่องมือในการส่ือสารออนไลน

6.การเรียนรูแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายได

7.ส่ือการเรียนการสอนในการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนชวยใหผูเรียนไดเรียนตามความกาวหนาของตนเอง

8.ผูสอนแจงความกาวหนาทางการเรียนใหผูเรียนทราบเพ่ือกระตุนการเรียนรูของผูเรียน

Page 225: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

209

ขอความ ระดับพึงพอใจ

5 4 3 2 1

9.ผูเรียนจําเปนตองมีทางในการติดตอสอบถามผูสอนแบบออนไลนในเรื่องท่ีไมเขาใจ

10.ผูเรียนสามารถติดตอส่ือสารกับผูสอนเมื่อใดก็ไดตามความตองการของผูเรียน

11.ผูสอนจะช้ีแจงกําหนดการสงงานบนเว็บไซตอยางสม่ําเสมอ

12.การกําหนดเวลาสงงาน/การมอบหมายงานการเรียนแบบออนไลนมีผลตอการเรียน

13.การกําหนดใหผูเรียนศึกษาเอกสารและส่ือการเรียนการสอนในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนกระตุนใหผูเรียนเกิดความอยากรู

14.เนื้อหานําเสนออยางเปนลําดับช้ัน จากงายไปยาก

15.กิจกรรมการเรียนรูเนนการเช่ือมโยงเนื้อหาทางทฤษฎีไปสูการปฏิบัติจริง

16.การจัดการเรียนการสอบแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนมีผลใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธระหวางกัน

17.การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนทําใหผูเรียนมีโอกาสไดแลกเปล่ียนประสบการณและความคิดเห็นระหวางกัน

18.เครื่องมือออนไลนเปนสวนหนึ่งท่ีชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับ

Page 226: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

210

ขอความ ระดับพึงพอใจ

5 4 3 2 1

ออนไลน

19.ส่ือประกอบการเรียนแบบออนไลนเปนสวนหนึ่งท่ีชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน

20.การเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนชวยใหผูเรียนไดเรียนรูผานส่ือ/แหลงการเรียนรูที่หลากหลาย

21.การทํากิจกรรมกลุมในหองเรียนกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย

22.การสนทนาแบบออนไลนกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรู

23.การทํางานรายบุคคล (individual work) สงผลใหผูเรียนเกิดความพยายามในการเรียนรู

24.การทําแบบทดสอบหลังเรียนสงผลใหผูเรียนเกิดความพยายามในการเรียน

25.ผูสอนใหผลปอนกลับผานการส่ือสารทางอินเทอรเน็ตกับผูเรียน

26.ผูสอนใหผลปอนกลับกับผูเรียนในหองเรียน

27.ผูสอนใหผลปอนกลับกับผูเรียนเมื่อผูเรียนสงผลงานหรือแสดงความคิดเห็น

28.ผูเรียนทราบเกณฑการประเมินผลท้ังกิจกรรมในหองเรียนและออนไลน

Page 227: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

211

ขอความ ระดับพึงพอใจ

5 4 3 2 1

29.การมีสวนรวมในการเรียนออนไลน เชน การสังเกต การเขียนบันทึกหลังเรียนจุดเปนรูปแบบการวัดและการเมินผลอยางหนึ่ง

30.แบบทดสอบเปนรูปแบบการประเมินผลการเรียนรูท่ีวัดความเขาใจในการรายวิชาท่ีจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนไดจริง

31.การแลกเปล่ียนประสบการณผานการนําเสนอผลงานเปนการประเมินผลท่ีสามารถวัดความสามารถแทจริงของผูเรียน

Page 228: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

212

ภาคผนวก ค

คาดัชนีความสอดคลองผูเชียวชาญ (IOC)

- ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC) ของคุณภาพแผนจัดการเรียนรูปกติ

- ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC) ของแผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน

- ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC) ของส่ือมัลติมีเดีย

- ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC) ของแบบประเมินความสอดคลองของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบผสมผสาน

Page 229: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

213

ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC)

ของคุณภาพแผนจัดการเรียนรูปกติ เร่ืองการสรางงานนําเสนอ

สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

เรื่องการสรางงานนําเสนอ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

ตารางท่ี 24

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 1 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 0 +1 0.67 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 0 0.67 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

+1 +1 0 0.67 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัด +1 +1 +1 1.00 ใชได

Page 230: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

214

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 1 1 2 3

เรียนรู

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 0 +1 0.67 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 +1 1.00 ใชได

Page 231: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

215

ตารางท่ี 24 (ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 2 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 0 +1 0.67 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

+1 +1 0 0.67 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 +1 1.00 ใชได

Page 232: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

216

ตารางท่ี 24 (ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 3 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 0 +1 0.67 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 0 +1 0.67 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 0 +1 1.00 ใชได

Page 233: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

217

ตารางท่ี 24(ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 4 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 0 +1 0.67 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 0 0.67 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 0 +1 0.67 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 +1 1.00 ใชได

Page 234: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

218

ตารางท่ี 24 (ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 5 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 0 +1 0.67 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 0 0.67 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 +1 1.00 ใชได

Page 235: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

219

ตารางท่ี 24 (ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 6 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 0 +1 0.67 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 0 0.67 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 0 0.67 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 +1 1.00 ใชได

Page 236: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

220

ขอเสนอแนะอื่นๆ

ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 ดร.วรวุฒิ จิรสุจริตธรรม

การออกแบบแผนจัดการเรียนรูเหมาะสมดีในแตละสัปดาห เห็นสมควรนําไปพิจารณาดําเนินการขั้นตอนการวิจัยข้ันตอไปได

ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 อาจารยสิทธิชัย ลายเสมา

-

ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3 อาจารยปญญา เกตตะรังศรี

เปนแผนจัดการเรียนรูที่ดี ใชส่ือท่ีหลากหลายสงเสริมนักเรียนตามศักยภาพของบุคคล

Page 237: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

221

ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC)

ของแผนจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ

สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

ตารางที่ 25

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 1 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

0 +1 +1 0.67 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

0 +1 +1 0.67 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

Page 238: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

222

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 1 1 2 3

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน 0 +1 +1 1.00 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 0 0.67 ใชได

Page 239: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

223

ตารางที่ 25 (ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 2 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

0 +1 +1 0.67 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

0 +1 +1 0.67 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน 0 +1 +1 0.67 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 0 0.67 ใชได

Page 240: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

224

ตารางที่ 25 (ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 3 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

0 +1 +1 0.67 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน 0 +1 +1 0.67 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 0 0.67 ใชได

Page 241: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

225

ตารางที่ 25 (ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 4 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

+1 +1 0 0.67 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน +1 +1 0 0.67 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 0 0.67 ใชได

Page 242: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

226

ตารางที่ 25 (ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 5 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 0 +1 0.67 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

0 +1 +1 0.67 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน 0 +1 +1 0.67 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 0 0.67 ใชได

Page 243: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

227

ตารางที่ 25 (ตอ)

รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

สัปดาหที่ 6 1 2 3

1 การกําหนดสาระสําคัญครอบคลุมเน้ือหาในการจัดกระบวนการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

2 การกําหนดสาระการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู ครบทั้ง 3 ดาน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

3 รูปแบบกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

4 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

5 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับระดับชั้นของนักเรียน

+1 +1 +1 1.00 ใชได

6 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน

0 +1 +1 0.67 ใชได

7 การใชสื่อและแหลงเรียนรูสอดคลองกับการจัดเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 ใชได

8 สื่อและแหลงเรียนรูเราความสนใจของนักเรียน +1 0 +1 0.67 ใชได

9 วิธีการวัดผลตรงตามสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 ใชได

10 การประเมินผลสอดคลองกับวิธีการวัดผล +1 +1 0 0.67 ใชได

Page 244: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

228

ขอเสนอแนะอื่นๆ

ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 อาจารยศัลยพงศ วิชัยดิษฐ

ควรบอกเวอรชั่นโปรแกรม MS POWERPOINT และเวอรชั่นของระบบปฏิบัติการที่ใชในการทดลองเพราะถาเปน WINDOWS 8 จะไมมีปุมSTART

ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 อาจารยวรวฒุิ มั่นสุขผล

-

ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3 อาจารยธีรภัทร กุโลภาส

ควรระบุเกณฑ Rubric ใหชัดเจน

Page 245: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

229

ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC)

ของสื่อมัลติมีเดีย เรื่องการสรางงานนําเสนอ สาํหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

ตารางที่ 26

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

1. สวนนําของบทเรียน

1.1 สวนนําเราความสนใจ , ใหขอมูลพ้ืนฐานที่จําเปน

1.2 วัตถุประสงค เมนูหลักสวนชวยเหลือ คําแนะนํา

0

0

+1

+1

+1

+1

0.67

0.67

ใชได

ใชได

2. เน้ือหาของบทเรียน

2.1 โครงสรางของเน้ือหาชัดเจน มีความกวางความลึก

เชื่อมโยงความ รูเดิมกับความรูใหม

2.2 มีความถูกตองตามหลักสูตร

2.3 สอดคลองกับวัตถุประสงคที่ตองการจะนําเสนอ

2.4 สอดคลองกับการประยุกตใชในการเรียนการสอน, มี

ความสัมพันธ ตอเน่ือง

2.5 ความยากงายเหมาะสมตอผูเรียน

0

0

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

0.67

0.67

1.00

1.00

1.00

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

Page 246: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

230

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

2.6 ไมขัดตอความมั่นคงของชาติและคุณธรรมจริยธรรม +1 +1 +1 1.00 ใชได

3. การใชภาษา

3.1 ใชภาษาถูกตอง เหมาะสมกับระดับของผูเรียน

3.2 สื่อความหมายไดชัดเจนเหมาะสมกับผูเรียน

+1

0

+1

+1

+1

+1

1.00

0.67

ใชได

ใชได

4. การออกแบบระบบการเรียนการสอน

4.1 ออกแบบดวยระบบตรรกะท่ีดี เน้ือหามีความสัมพันธ

ตอเน่ือง

4.2 สงเสริมการพัฒนาความคิดสรางสรรค

4.3 มีความยืดหยุน สนองความแตกตางระหวางบุคคล

ควบคุมลําดับเน้ือหา ลําดับการเรียนและแบบฝกได

4.4 ความยาวของการนําเสนอแตละหนวย / ตอน

เหมาะสม

4.5 กลยุทธในการถายทอดเน้ือหานาสนใจ

4.6 มีกลยุทธการประเมินผลใหผูเรียนเกิดการเรียนรูให เหมาะสม มีความหลากหลาย และปริมาณเพียงพอที่ สามารถตรวจสอบความเขาใจบทเรียนดวยตนเองได

+1

+1

+1

+1

0

0

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

+1

1.00

1.00

1.00

1.00

0.67

0.67

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

ใชได

5. สวนประกอบดวย MULTIMEDIA

5.1 ออกแบบหนาจอเหมาะสม งายตอการใชสัดสวน

0

+1

+1

0.67

ใชได

Page 247: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

231

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

เหมาะสมสวยงาม

5.2 ลักษณะของขนาด สี ตัวอักษร ชัดเจน สวยงาม

อานงาย เหมาะสมกับระดับผูเรียน

5.3 ภาพกราฟกเหมาะสม ชัดเจน สอดคลองกับ เน้ือหาและมีความสวยงาม มีความคิดสรางสรรคในการ ออกแบบ และสรางภาพ

5.4 คุณภาพการใชเสียง ดนตรี ประกอบบทเรียน

เหมาะสมชัดเจนนาสนใจ ชวนคิด นาติดตาม

0

0

-1

+1

+1

0

+1

+1

+1

0.67

0.67

0.67

ใชได

ใชได

ใชได

6. การออกแบบปฏิสัมพันธ

6.1 ออกแบบปฏิสัมพันธใหโปรแกรมใชงาย สะดวก โตตอบกับผูเรียนอยางสม่ําเสมอ การควบคุมเสนทาง การเดินบทเรียน (Navigation) ชัดเจนถูกตองตาม หลักเกณฑ และสามารถยอนกลับไปยังจุดตางๆ ไดงาย รูปแบบปฏิสัม พันธ เชนการพิมพ การใช เมาส เหมาะสม มีการควบคุมทิศทาง ความชาเร็วของ บทเรียน

6.2 การใชผลปอนกลับเสริมแรงหรือใหความชวยเหลือ เหมาะสมตามความจําเปน มีขอมูลปอนกลับที่เอื้อให ผูสอนไดวิเคราะห และ แกปญหา

0

0

+1

+1

+1

+1

0.67

0.67

ใชได

ใชได

Page 248: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

232

ขอเสนอแนะอื่นๆ

ผูเชี่ยวชาญทานที่ 1 อาจารยศัลยพงศ วิชัยดิษฐ -

ผูเชี่ยวชาญทานที่ 2 อาจารยณรงคยศ เล็กเปลี่ยน -

ผูเชี่ยวชาญทานที่ 3 อาจารยบุญสม หลอมหัทธนะกุล -

Page 249: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

233

ผลการวิเคราะหคาความสอดคลอง (IOC)

แบบประเมินความสอดคลองของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ สาํหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ดวยวิธีการเรียนแบบผสมผสาน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอ

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนดุสิตวิทยา

คําชี้แจง

1.แบบประเมินความสอดคลองน้ีใชสําหรับการวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลองของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการสรางงานนําเสนอ สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

โดยแบงเปน 2 สวนดังน้ี

สวนที่ 1 ขอมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับผูเชี่ยวชาญ

สวนที่ 2 การประเมินความสอดคลองของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบผสมผสาน

2.ในการประเมินสวนที่ 2 โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองที่เห็นวาสอดคลองกับแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบผสมผสาน ดังน้ี

ให +1 เมื่อแนใจวาขอความน้ันสอดคลองกับแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบผสมผสาน

ให 0 เมื่อไมแนใจวาขอความน้ันสอดคลองกับแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบผสมผสาน

ให -1 เมื่อแนใจวาขอความน้ันไมสอดคลองกับแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบผสมผสาน

สวนที่ 1 ขอมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับผูเชี่ยวชาญ

1. สถานภาพ

ครู อาจารย บุคลากรทางการศึกษา อื่นๆ...............................

2. เพศ

ชาย หญิง

Page 250: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

234

3. อายุ

ตํ่ากวา 30 ป 30 – 40 ป 41 – 50 ป 50 ปข้ึนไป

4. ระดับการศึกษา

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก

5. ประสบการณในการทํางาน

ตํ่ากวา 5 ป 5 -10 ป 11-15 ป 15 ปข้ึนไป

สวนที่ 2 การประเมินความสอดคลองของตอนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

โปรดทําเคร่ืองหมาย ในชองวาง หนาขอความที่ตรงกับคําตอบของทาน

ตารางที่ 27

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

1.เพศ

ชาย

หญิง

+1 +1 +1

1.00 ใชได

2.ระดับ

ชั้นประถมศึกษาปที่ 6/2

ประถมศึกษาปที่ 6/3

+1

0

+1 0.67 ใชได

3.นักเรียนเคยเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนหรือไม

เคย

ไมเคย

+1 +1 +1 1.00 ใชได

Page 251: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

235

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

4.นักเรียนเคยเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนจํานวน..........วิชา โปรดระบุชื่อวิชา

1. …………………………………………………………..

2. …………………………………………………………..

3. …………………………………………………………..

+1 +1 0 0.67 ใชได

5.คะแนนเฉลี่ยสะสม (ป.4-ป.5) ……………………………… +1 +1 0 0.67 ใชได

ตอนที่ 2 ลักษณะการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

ตารางที่ 27 (ตอ)

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

1. เครื่องมือออนไลนใดบางที่ผูสอนกําหนดใหนักเรียนเขาไปศึกษาหรือทํากิจกรรม (สามารถตอบไดมากกวา 1ขอ)

กระดานสนทนา อีเมล

บล็อก หองสนท

อื่นๆ โปรดระบุ..........................................

+1 +1 0

0.67 ใชได

Page 252: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

236

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

2. มีการนําเสนอสื่อประกอบการเรียนการสอนในรูปแบบใดบาง (สามารถตอบไดมากกวา 1ขอ)

เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบบทเรียนมัลติมีเดีย

เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบ Power Point

เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบ PDF

เอกสารประกอบการเรียนนําเสนอในรูปแบบ

Word

+1 0 +1

0.67

ใชได

3. ในรายวิชาน้ีนักเรียนตองทํากิจกรรมออนไลนใดบาง ตามประมวลรายวิชา (สามารถตอบไดมากกวา 1ขอ)

อานเอกสารประกอบการเรียนที่ นําเสนอในรูปแบบ Word

ศึกษาเรี ยนรู จากสื่อ มัล ติมี เ ดียที่ นํา เสนอใน

website

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันบนกระดานสนทนา

สงผลงานผานทางอีเมล หรือ website ตามที่ผูสอนกําหนด

เขาไปแสดงความคิดเห็นงานแตละงานท่ีนําเสนอบนกระดานสนทนา

อื่นๆ โปรดระบุ ...................................................

0 +1 +1

0.67

ใชได

Page 253: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

237

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

4. นักเรียนเขาไปศึกษาในเว็บที่ผูสอนกําหนดใหสัปดาหละกี่ชั่วโมง

1 – 2 ชั่วโมงตอวัน

3 – 4 ชั่วโมงตอวัน

นอยกวา 1 – 2 ชั่วโมงตอวัน สัปดาหละ.....ชั่วโมง

มากกวา 4 – 5 ชั่วโมงตอวัน วันละ...........ชั่วโมง

+1 0 +1

0.67

ใชได

5. นักเรียนเขาไปศึกษาในเว็บที่ผูสอนกําหนดใหสัปดาหละ ........ชั่วโมง +1 +1 0 0.67 ใชได

6. สวนใหญนักเรียนเขาไปศึกษาในเว็บชวงเวลาใด (สามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ)

6.00 – 9.00 น. 9.01 – 12.00 น.

12.01 – 15.00 น. 15.01 – 18.00 น.

18.01 – 21.00 น. 21.01 – 24.00 น.

+1 0 +1

0.67

ใชได

7. สวนใหญนักเรียนเขาไปศึกษาในเว็บวันใด (สามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ)

วันจันทร วันอังคาร

วันพุธ วันพฤหัสบดี

วันศุกร วันเสาร

วันอาทิตย

0 +1 +1 0.67 ใชได

Page 254: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

238

ตอนที่ 3 แบบสอบถามองคประกอบในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

องคประกอบในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน : นักเรียนมีความพึงพอใจเกี่ยวกับประเด็นตอไปน้ี มากนอยเพียงใด

คําชี้แจง

ใหนักเรียนพิจารณาขอคําถามตางๆ แตละขอ และทําเครื่องหมาย / ลงในชองหมายเลขที่ตรงกับความพึงพอใจของนักเรียนที่ตรงกับความเปนจริงมากท่ีสุด ตามเกณฑพิจารณาตอไปน้ี

ระดับความคิดเห็น ความคิดเห็น

5 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด

4 หมายถึง พึงพอใจมาก

3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง

2 หมายถึง พึงพอใจนอย

1 หมายถึง พึงพอใจนอยที่สุด

ตารางที่ 27 (ตอ)

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

1.ประสบการณการใชอินเทอรเน็ตของผูเรียน เชน การสนทนาออนไลน การคนหาขอมูลทางอินเทอรเน็ต ชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจ

1.00 1.00 0 0.67 ใชได

2.ประสบการณดานเทคโนโลยีของผูสอนมีผลตอการจัดการรูปแบบการเรียนรูแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน อันเปนการสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจ

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

3.ผูเรียนจําเปนตองไดรับคําแนะนํากอนการเรียนในรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ซึ่ งชวย

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

Page 255: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

239

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

สนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามท่ีต้ังใจ

4.ผูสอนชี้แจงจุดประสงคทางการเรียนทั้งในชั้นเรียนและออนไลน

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

5.ผูเรียนจําเปนตองไดรับคําแนะนํา/อบรมการใชเครื่องมือในการสื่อสารออนไลน

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

6.การเรียนรูแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายได

0 1.00 1.00 0.67 ใชได

7.สื่อการเรียนการสอนในการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนชวยใหผูเรียนไดเรียนตามความกาวหนาของตนเอง

1.00 1.00 0 0.67 ใชได

8.ผูสอนแจงความกาวหนาทางการเรียนใหผูเรียนทราบเพ่ือกระตุนการเรียนรูของผูเรียน

1.00 0 1.00 0.67 ใชได

9.ผูเรียนจําเปนตองมีทางในการติดตอสอบถามผูสอนแบบออนไลนในเรื่องที่ไมเขาใจ

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

10.ผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูสอนเมื่อใดก็ไดตามความตองการของผูเรียน

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

11.ผูสอนจะชี้แจงกําหนดการสงงานบนเว็บไซตอยางสม่ําเสมอ

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

12.การกําหนดเวลาสงงาน/การมอบหมายงานการเรียนแบบออนไลนมีผลตอการเรียน

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

13.การกําหนดใหผูเรียนศึกษาเอกสารและสื่อการเรียนการสอนในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนกระตุนใหผูเรียนเกิดความอยากรู

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

Page 256: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

240

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

14.เน้ือหานําเสนออยางเปนลําดับชั้น จากงายไปยาก 1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

15.กิจกรรมการเรียนรูเนนการเชื่อมโยงเน้ือหาทางทฤษฎีไปสูการปฏิบัติจริง

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

16.การจัดการเรียนการสอบแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนมีผลใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธระหวางกัน

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

17.การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนทําใหผู เรียนมีโอกาสไดแลกเปลี่ยนประสบการณและความคิดเห็นระหวางกัน

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

18.เครื่องมือออนไลนเปนสวนหน่ึงที่ชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามที่ต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

19.สื่อประกอบการเรียนแบบออนไลนเปนสวนหน่ึงที่ชวยสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามที่ต้ังใจในการเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลน

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

20.การเรียนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนช วยให ผู เ รี ยนได เ รี ยนรู ผ านสื่ อ /แหล งการ เรี ยนรู ที่หลากหลาย

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

21.การทํากิจกรรมกลุมในหองเรียนกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

22.การสนทนาแบบออนไลนกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรู 1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

23.การทํางานรายบุคคล (individual work) สงผลใหผูเรียนเกิดความพยายามในการเรียนรู

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

24.การทําแบบทดสอบหลังเรียนสงผลใหผูเรียนเกิดความ 1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

Page 257: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

241

รายการประเมิน

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) คาIOC สรุปผล

1 2 3

พยายามในการเรียน

25.ผูสอนใหผลปอนกลับผานการสื่อสารทางอินเทอรเน็ตกับผูเรียน

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

26.ผูสอนใหผลปอนกลับกับผูเรียนในหองเรียน 1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

27.ผูสอนใหผลปอนกลับกับผูเรียนเม่ือผูเรียนสงผลงานหรือแสดงความคิดเห็น

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

28.ผู เรียนทราบเกณฑการประเมินผลทั้งกิจกรรมในหองเรียนและออนไลน

1.00 1.00 0 0.67 ใชได

29.การมีสวนรวมในการเรียนออนไลน เชน การสังเกต การเขียนบันทึกหลังเรียนจุดเปนรูปแบบการวัดและการเมินผลอยางหน่ึง

1.00 1.00 0 0.67 ใชได

30.แบบทดสอบเปนรูปแบบการประเมินผลการเรียนรูที่วัดความเขาใจในการรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหวางหองเรียนกับออนไลนไดจริง

1.00 1.00 1.00 1.00 ใชได

31.การแลกเปลี่ยนประสบการณผานการนําเสนอผลงานเปนการประเมินผลที่สามารถวัดความสามารถแทจริงของผูเรียน

1.00 1.00 0 0.67 ใชได

Page 258: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

242

ภาคผนวก ง

ขอมูลจากการทดลอง

- ผลการเปรียบเทียบคะแนนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสาน

- ผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสาน

- ผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนท่ีเรียนแบบปกติ

Page 259: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

243

ตารางท่ี 28 ผลการเปรียบเทียบคะแนนกอนและหลังเรียน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เร่ืองการสรางงานนําเสนอของนักเรียนทีเ่รียนแบบผสมผสาน

นักเรียนคนที ่ คะแนนกอนเรียน (30) คะแนนหลังเรียน (30) คะแนนความกาวหนา

1 10 17 +7

2 15 23 +8

3 14 17 +3

4 9 15 +6

5 10 19 +9

6 4 15 +9

7 20 24 +4

8 15 20 +5

9 8 18 +10

10 15 20 +5

11 7 16 +9

12 12 17 +5

13 13 20 +7

14 13 17 +4

15 17 23 +6

Page 260: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

244

นักเรียนคนที ่ คะแนนกอนเรียน (30) คะแนนหลังเรียน (30) คะแนนความกาวหนา

16 17 25 +8

17 14 22 +8

18 17 21 +4

19 14 18 +4

20 10 16 +6

21 4 15 +9

22 16 17 +1

23 9 18 +9

24 21 23 +2

25 10 16 +6

26 8 17 +9

27 11 22 +11

28 11 23 +12

29 11 19 +8

30 22 26 +8

31 15 21 +6

32 9 18 +9

33 19 24 +5

Page 261: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

245

นักเรียนคนที ่ คะแนนกอนเรียน (30) คะแนนหลังเรียน (30) คะแนนความกาวหนา

34 13 18 +5

35 13 16 +3

36 16 23 +7

37 18 19 +1

38 16 21 +5

39 9 16 +7

40 19 20 +1

41 16 24 +8

42 16 20 +4

43 14 21 +7

44 19 21 +2

Page 262: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

246

ตารางท่ี 29 ผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เร่ืองการสรางงานนําเสนอของนักเรียนที่เรียนแบบผสมผสาน

นักเรียนคนที ่ คะแนน (30) รอยละ ระดับคุณภาพ

1 17 56.67 พอใช

2 23 76.67 ดี

3 17 56.67 พอใช

4 15 50.00 พอใช

5 19 63.33 ปานกลาง

6 15 50.00 พอใช

7 24 80.00 ดี

8 20 66.67 ปานกลาง

9 18 60.00 ปานกลาง

10 20 66.67 ปานกลาง

11 16 53.33 พอใช

12 17 56.67 พอใช

13 20 66.67 ปานกลาง

14 17 56.67 พอใช

15 23 76.67 ดี

Page 263: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

247

นักเรียนคนที ่ คะแนน (30) รอยละ ระดับคุณภาพ

16 25 83.33 ดี

17 22 73.33 ดี

18 21 70.00 ปานกลาง

19 18 60.00 ปานกลาง

20 16 53.33 พอใช

21 15 50.00 พอใช

22 17 56.67 พอใช

23 18 60.00 ปานกลาง

24 23 76.67 ดี

25 16 53.33 พอใช

26 17 56.67 พอใช

27 22 73.33 ดี

28 23 76.67 ดี

29 19 63.33 ปานกลาง

30 26 86.67 ดีมาก

31 21 70.00 ปานกลาง

32 18 60.00 ปานกลาง

33 24 80.00 ดี

Page 264: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

248

นักเรียนคนที ่ คะแนน (30) รอยละ ระดับคุณภาพ

34 18 60.00 ปานกลาง

35 16 53.33 พอใช

36 23 76.67 ดี

37 19 63.33 ปานกลาง

38 21 70.00 ปานกลาง

39 16 53.33 พอใช

40 20 66.67 ปานกลาง

41 24 80.00 ดี

42 20 66.67 ปานกลาง

43 21 70.00 ปานกลาง

44 21 70.00 ปานกลาง

คาเฉล่ีย 19.57 65.23 ปานกลาง

Page 265: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

249

โดยใชเกณฑการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนท่ีเรียนแบบผสมผสาน แบงเปน 5 ระดับ ดังนี ้

26.00 – 30.00 ระดับดีมาก

22.00 – 25.99 ระดับดี

18.00 – 21.99 ระดับปานกลาง

14.00 – 17.99 ระดับพอใช

นอยกวา 14.00 ระดับปรับปรุง

Page 266: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

250

ตารางท่ี 30 ผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เร่ืองการสรางงานนําเสนอของนักเรียนที่เรียนแบบปกติ

นักเรียนคนที ่ คะแนน (30) รอยละ ระดับคุณภาพ

1 17 56.67 พอใช

2 14 46.67 พอใช

3 17 56.67 พอใช

4 18 60.00 ปานกลาง

5 12 40.00 ปรับปรุง

6 19 63.33 ปานกลาง

7 20 66.67 ปานกลาง

8 18 60.00 ปานกลาง

9 21 70.00 ปานกลาง

10 23 76.67 ดี

11 20 66.67 ปานกลาง

12 22 73.33 ดี

13 23 76.67 ดี

14 18 60.00 ปานกลาง

15 18 60.00 ปานกลาง

Page 267: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

251

นักเรียนคนที ่ คะแนน (30) รอยละ ระดับคุณภาพ

16 24 80.00 ดี

17 13 43.33 ปรับปรุง

18 22 73.33 ดี

19 17 56.67 พอใช

20 18 60.00 ปานกลาง

21 11 36.67 ปรับปรุง

22 18 60.00 พอใช

23 19 63.33 ปานกลาง

24 18 60.00 ปานกลาง

25 11 36.67 ปรับปรุง

26 22 73.33 ดี

27 12 40.00 ปรับปรุง

28 20 66.67 ปานกลาง

29 17 56.67 พอใช

30 20 66.67 ปานกลาง

31 17 56.67 พอใช

32 19 63.33 ปานกลาง

33 7 23.33 ปรับปรุง

Page 268: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

252

นักเรียนคนที ่ คะแนน (30) รอยละ ระดับคุณภาพ

34 15 50.00 พอใช

35 12 40.00 ปรับปรุง

36 22 73.33 ดี

37 18 60.00 ปานกลาง

38 15 50.00 พอใช

39 15 50.00 พอใช

40 18 60.00 ปานกลาง

41 20 66.67 ปานกลาง

42 19 63.33 ปานกลาง

43 23 76.67 ดี

44 23 76.67 ดี

คาเฉล่ีย 17.84 59.47 พอใช

Page 269: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

253

โดยใชเกณฑการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องการสรางงานนําเสนอของนักเรียนท่ีเรียนแบบปกติ แบงเปน 5 ระดับ ดังนี ้

26.00 – 30.00 ระดับดีมาก

22.00 – 25.99 ระดับดี

18.00 – 21.99 ระดับปานกลาง

14.00 – 17.99 ระดับพอใช

นอยกวา 14.00 ระดับปรับปรุง

Page 270: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

254

ภาคผนวก จ

ตัวอยางบทเรียนอีเลิรนนิง

Page 271: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

255

ตัวอยางบทเรียนอีเลิรนนิง

1. การเขาใชบทเรียนท่ี http://www.krujeabtechno.com จะปรากฎหนาจอดังรูป

ภาพท่ี 9

2. หนาจอหลักของ http://www.krujeabtechno.com จะปรากฎหนาจอดังรูป

ภาพท่ี 10

Page 272: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

256

3.นักเรียนจะตองสมัครเปนสมาชิกเพื่อยืนยันการเขาใชบทเรียนอีเลิรนนิง ซึ่งจะมีคําอธิบายข้ันตอนการสมัครเปนสมาชิก ซึ่งนักเรียนสามารถสมัครไดดวยตนเอง

ภาพท่ี 11

4. นักเรียนกรอกขอมูลสวนตัวเพื่อสมัครเปนสมาชิก โดย Username คือ เลขประจําตัวของนักเรียนซึ่งนําหนาดวย St-xxxxx และ Password คือ วันเดือนปเกิดของนักเรียน (8 หลัก) เมื่อนักเรียนกรอกขอมูลในทุกชองวางและยืนยันการสมัครเปนสมาชิกเรียบรอยแลวนักเรียนจึงจะสามารถเขาใชบทเรียนอีเลิรนนิงได

ภาพท่ี 12

Page 273: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

257

5. นักเรียนลงช่ือเขาสูระบบเพื่อใชบทเรียนอีเลิรนนิง

ภาพท่ี 13

6. เมื่อนักเรียนลงช่ือเขาระบบเพ่ือใชบทเรียนแลว จะมีบทเรียนและกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละสัปดาห ท้ัง 6 สัปดาห

ภาพท่ี 14

Page 274: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

258

7. การสงงานของนักเรียน ซึ่งจะมีหัวขอในการสงงานของแตละสัปดาห

ภาพท่ี 15

8. นักเรียนและครูผูสอนสามารถต้ังกระทูแลกเปล่ียนความคิดเห็นไดท่ีกระดานถาม – ตอบ

ภาพท่ี 16

Page 275: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

259

9. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นตอช้ินงานของเพื่อนๆ ไดท่ีกระดานถาม – ตอบ

ภาพท่ี17

10. กระดานสนทนา ครูและนักเรียนรวมสนทนาประเด็นตางๆ จากบทเรียน

ภาพท่ี 18

Page 276: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

260

11. แสดงเกี่ยวกับขอมูลของนักเรียนท่ีเปนสมาชิก

ภาพท่ี19

12. แสดงรายช่ือและขอมูลการเขาใชบทเรียนอีเลิรนนงิของสมาชิก

ภาพท่ี 20

Page 277: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

261

13. การเพิ่มสมาชิกเขาสูระบบบัญชีผูใช

ภาพท่ี 21

Page 278: ด ียนวยวิธีการเรียนแบบผสมผสานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 โรงเ ... · ใกล

262

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ – สกุล นางสาวยุรนันท พลายละหาร

วัน เดือน ปเกิด วันพฤหัสบดีที่ 13 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2524

สถานที่อยูปจจุบัน บานเลขท่ี 18/23 ถนนหนาสถานีรถไฟ ตําบลบานโปง อําเภอบานโปง

จังหวัดราชบุรี 70110

สถานที่ทํางานปจจุบัน โรงเรียนดุสิตวิทยา ถนนหลังสถานีรถไฟ ตําบลบานโปง อําเภอบานโปง

จังหวัดราชบุรี 70110

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2536 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

โรงเรียนวัดละหาร อําเภอศรีประจันต จังหวัดสุพรรณบรุี

พ.ศ. 2539 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3

โรงเรียนสงวนหญิง อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุร ี

พ.ศ. 2542 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

โรงเรียนสงวนหญิง อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุร ี

พ.ศ. 2543 ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา

สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จังหวัดกรุงเทพมหานคร

ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2547 – 2548 ครูผูสอนวิชาคอมพิวเตอร

โรงเรียนอนุบาลดอนเจดีย อําเภอดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุร ี

พ.ศ. 2548 – 2553 ครูผูสอนวิชาคอมพิวเตอร

โรงเรียนดุสิตวิทยา อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี

พ.ศ. 2554 – ปจจุบัน ผูชวยผูอํานวยการฝายวิชาการ

หัวหนากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีและครูผูสอน

โรงเรียนดุสิตวิทยา อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี