5ifð &ggfduðpgð$pnqvufs 1sbuipngraduate.hu.ac.th/thesis/2558/med.ci/jintapat.pdf ·...

119
ผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที6 โรงเรียนบานคลองสงค The Effect of Computer-Assisted Instruction on Royal Word for Prathomsuksa 6 Students in Bankhlongsong School จิณฐภัศฌ เดชกุบ Jintapat Dachkub สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยหาดใหญ A Minor Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Education Degree in Curriculum and Instruction Hatyai University 2558

Upload: others

Post on 17-Apr-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

ผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองคําราชาศัพท ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานคลองสงค

The Effect of Computer-Assisted Instruction on Royal Word for Prathomsuksa 6 Students in Bankhlongsong School

จิณฐภัศฌ เดชกุบ

Jintapat Dachkub

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยัหาดใหญ

A Minor Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Education Degree in Curriculum and Instruction

Hatyai University 2558

ผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ืองคําราชาศัพท

ของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานคลองสงค The Effect of Computer-Assisted Instruction on Royal Word for

Prathomsuksa 6 Students in Bankhlongsong School

จิณฐภัศฌ เดชกุบ

Jintapat Dachkub

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยัหาดใหญ

A Minor Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Education Degree in Curriculum and Instruction

Hatyai University 2558

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหาดใหญ Copyright of Hatyai University

(3)

ชื่อสารนิพนธ: ผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง คําราชาศัพท ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานคลองสงค ผูวิจัย: นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ สาขาวิชา: หลักสูตรและการสอน ปการศึกษา: 2557 คําสําคัญ:

บทคัดยอ

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค 1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 6 กอนและหลังการใชคอมพิวเตอรชวยสอน และ 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนวิชาภาษาไทยของโรงเรียนบานคลองสงค ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2557 จํานวน 1 หองเรียน จํานวน 30 คน ซ่ึงไดมาโดยใชหองเรียนเปนหนวยในการสุม เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวย

สอน วิเคราะหขอมูลโดยใช คาเฉลี่ย ( ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบคา (t-test) แบบ Dependent

ผลการวิจัย พบวา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคํา

ราชาศัพท สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 2. ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชา

ศัพทโดยภาพรวม พบวา นักเรียนมีความพึงพอใจท่ีดีตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

เรื่องคําราชาศัพท อยูในระดับมากท่ีสุด ( = 4.67)

(4)

Minor Thesis Title: The Effect of Computer-Assisted Instruction on Royal Word for Prathomsuksa 6 Students in

Banklongsong School researcher: Miss Jintapat Dachkub Major Program: Curriculum and Instruction Academic Year: 2014 Keyword:

Abstract

The research aims : 1) to compare the achievement of Prathomsuksa 6 Students

before and after the use of computer-assisted instruction; and 2) to study of the student

satisfaction using the CAI. The sample used in this study were 30 students in the 6th

grade at Banklongsong school, Term 1, 2557. This group of students used the

classroom as the unit of randomization. The instruments used in this study were consists

of CAI royal word, achievement test and CAI satisfaction. The data collected were

analyzed using means ( ), standard deviation (S.D.), and dependent T-test.

The results showed that

1. the achievement of students learned about the reverence with CAI, was

significantly higher than the previous level 0.01.

2. The results of the students' opinions on the CAI's royal word in total showed

that the students had a great satisfaction about the reverence with CAI, at the highest

level.

(5)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงสมบูรณ ดวยความเมตตากรุณาชวยเหลือใหคําปรึกษาแนะนําอยางดีจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประภาศ ปานเจี้ยง ประธานกรรมการท่ีปรึกษาหลัก และ ดร.กนกวรรณ วัตกินส กรรมการท่ีปรึกษารวม รองศาสตราจารย ดร.วิชิต สังขรัตน ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประยูร เทพนวล และผูชวยศาสตราจารยวิมล เทพนวล ท่ีไดกรุณาใหคําแนะนํา เสนอแนะ และตรวจสอบแกไขขอบกพรอง ดวยความเอาใจใสอยางดีมาโดยตลอด ตั้งแตเริ่มตนจนเสร็จเรียบรอย ตลอดจนอาจารย และเจาหนาท่ีบัณฑิตวิทยาลัยทุกทานท่ีกรุณาประสิทธิ์ประสาทวิชาการความรูตางๆ ซ่ึงชวยใหผูวิจัยสามารถทํางานวิจัยนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี และขอขอบคุณ คุณเจตนสฤษฎิ์ สังขพันธและคุณสุภาวดี ธรรมรัตน ท่ีคอยติดตอประสานงานใหความสะดวกตลอดมา

ขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ผศ.ดร.ชัยรัตน จุสปาโล อาจารยฐานันท ตั้งรุจิกุล และอาจารยเจรจา บุญวรรณโณ

ขอขอบคุณผูบรหิาร คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบานคลองสงค ทุกคน ท่ีสนับสนุนเปนกําลังใจและใหความรวมมือดวยดีตลอดมา

และสุดทายนี้ขอขอบพระคุณบิดาและครอบครัวสําหรับความหวงใย กําลังใจ และการสนับสนุนทางการศึกษาเพ่ือความสําเร็จของผูวิจัยและเปนแรงใจสําคัญจนทําใหงานวิจัยครั้งนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

จิณฐภัศฌ เดชกุบ

(6)

สารบัญ

หนา บทคัดยอ ...................................................................................................................................... (3) Abstract ...................................................................................................................................... (4) กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................ (5) สารบัญ ......................................................................................................................................... (6) สารบัญตาราง ............................................................................................................................... (8) สารบัญภาพ ................................................................................................................................. (9) บทท่ี 1 บทนํา .................................................................................................................................... 1 ความเปนมาของปญหา ................................................................................................. 3 คําถามวิจัย .................................................................................................................... 3 วัตถุประสงค ................................................................................................................. 3 สมมติฐาน ..................................................................................................................... 4 ประโยชนของการวิจัย ................................................................................................... 4 ขอบเขตของการวิจัย ..................................................................................................... 4 นิยามศัพทเฉพาะ .......................................................................................................... 5 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ .................................................................................... 6 แนวคิดและทฤษฎีการสอนภาษาไทย ............................................................................ 6 มาตรฐานการเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ..................... 10 คําราชาศัพท ................................................................................................................. 12 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) .................................... 15 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับความพึงพอใจ ...................................................................... 43 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ........................................................................................................ 46 กรอบแนวคิดการวิจัย .................................................................................................... 48 3 วิธีดําเนินการวิจัย .................................................................................................................. 49 พ้ืนท่ีท่ีใชในการวิจัย ...................................................................................................... 49 ประชากร การกําหนดขนาดตัวอยาง กลุมตัวอยาง วิธีการสุมตัวอยาง ........................... 49 เครื่องมือในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ .............................................. 50 การเก็บรวบรวมขอมูล................................................................................................... 55 การวิเคราะหขอมูล วิธีการทางสถิติตางๆ ท่ีใช .............................................................. 56

(7)

สารบัญ (ตอ)

หนา 4 ผลการวิจัย ............................................................................................................................ 60 ผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................................... 60 5 สรปุ อภิปรายผลและขอเสนอแนะ......................................................................................... 63 วิธีดําเนินการวิจัย .......................................................................................................... 63 สรุปผลการวิจัย ............................................................................................................. 63 การอภิปรายผลการวิจัย ................................................................................................ 63 ขอเสนอแนะ ................................................................................................................. 65 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช................................................................... 65 ขอเสนอแนะเพ่ือการวิจัยครั้งตอไป ........................................................................ 66 บรรณานุกรม ................................................................................................................................ 67 ภาคผนวก..................................................................................................................................... 72 ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือท่ีใชในการศึกษา ...................... 73 ภาคผนวก ข เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา ............................................................................... 78 ภาคผนวก ค การหาคุณภาพของเครื่องมือท่ีใชในการศึกษา ................................................. 85 ประวัติผูวิจัย ................................................................................................................................. 118

(8)

สารบัญตาราง

หนา ตาราง 1 แบบแผนการทดลอง .......................................................................................................... 50 2 การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําราชาศัพท แบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) ชนดิเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 60 ขอ ................................ 52 3 เนื้อหาท่ีสอนกลุมสาระกาเรียนรูภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โดยใช

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ........................................................................................... 55 4 แบบแผนการวิจัย............................................................................................................... 56 5 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังเรียนดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท ............................................................................. 60 6 คาระดับเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมี ม

ตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ...................................................................................... 61 7 แสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ระหวางจุดประสงคกับเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู วิชาภาษาไทย จํานวน 5 แผน .............................................................................................. 79 8 แสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคําราชาศัพท................................................................................................................ 80 9 วิเคราะหความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ กับจุดประสงคการเรียนรู เรื่องคําราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ................................................... 83 10 แสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท................................................................ 84

(9)

สารบัญภาพ

หนา ภาพ 1 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทติวเตอร ............... 21 2 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทแบบฝกหัด ................ 22 3 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทการจําลอง ................. 22 4 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทเกม ...................... 23 5 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทแบบทดสอบ .............. 24 6 รูปแบบโปรแกรมบทเรียนเพ่ือการสอน .............................................................................. 24 7 รูปแบบโปรแกรมบทเรียนการฝกหัด .................................................................................. 25 8 รูปแบบโปรแกรมบทเรียนการจําลอง ................................................................................. 26 9 รูปแบบโปรแกรมเกมเพ่ือการสอน ..................................................................................... 26 10 ข้ันตอนการสราง CAI......................................................................................................... 30 11 แสดงลักษณะโครงสรางความรูเชิงเสนตรง ......................................................................... 37 12 แสดงลักษณะโครงสรางเนื้อหาแบบสาขา .......................................................................... 37 13 แสดงลักษณะโครงสรางเนื้อหาภายในแบบสื่อหลายมิติ ..................................................... 38 14 กรอบแนวคิดการวิจัย ........................................................................................................ 47

บทที ่1

บทนํา

ความเปนมาของปญหา

ภาษาเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมประจําชาติของประเทศตางๆ เพราะเปนสิ่งท่ีคนในสังคมหรือหมูคณะไดมีการตกลงใชรวมกันในหมูพวกของตน ดังนั้นแตละชาติแตละสังคมจึงมีภาษาแตกตางกันออกไป ภาษาจึงเปนตัวแทนท่ีแสดงเอกลักษณโดยสวนรวมของประเทศชาติ ภาษาไทยจึงเปนเอกลักษณของชาติไทย เปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพและเสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารเพ่ือสรางความเขาใจและความสัมพันธท่ีดีตอกัน ทําใหสามารถประกอบธุรกิจ การงานและดํารงชีวิตรวมกันในสังคมประชาธิปไตยไดอยางสันติสุข และเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู ประสบการณจากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ เพ่ือพัฒนาความรู กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรค ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความกาวหนาทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใชในการพัฒนาอาชีพใหมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปนสื่อแสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี สุนทรียภาพ เปนสมบัติล้ําคาควรแกการเรียนรูอนุรักษและสืบสานใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป (กระทรวงศึกษาธกิาร 2552, น.37)

กระทรวงวัฒนธรรม (2555) ไดกลาวถึงความสําคัญของภาษาไทยไววา ภาษาไทยเปนภาษาท่ีเกาเเกท่ีสุดในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีรากฐานมาจากออสโตรไทย ซ่ึงมีความคลายคลึงกับภาษาจีน มีหลายคําท่ีขอยืมมาจากภาษาจีน คนไทยเปนผูท่ีโชคดีท่ีมีภาษาของตนเอง อันเปนมรดกล้ําคาท่ีบรรพบุรุษไดสรางไว ซ่ึงเปนเครื่องเเสดงวาไทยเราเปนชาติท่ีมีวัฒนธรรมสูงสงมาเเตโบราณกาลเเละยั่งยืนมาจนปจจุบัน ภาษาเปนวัฒนธรรมท่ีสําคัญของชาติ ภาษาเปนสื่อใชติดตอกันเเละทําใหวัฒนธรรมอ่ืนๆเจริญข้ึน เเตละภาษามีระเบียบของตนเเลวเเตจะตกลงกันในหมูชนชาตินั้น ภาษาจึงเปนศูนยกลางยืดคนท้ังชาติ ดังขอความ ตอนหนึ่งในพระราชนิพนธในพระบาท สมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว เรื่องความเปนชาติโดยเเทจริง วา “ภาษาเปนเครื่องผูกพันมนุษยตอมนุษยเเนนเเฟนกวาสิ่งอ่ืน เเละไมมีสิ่งใด ท่ีจะทําใหคนรูสึกเปนพวกเดียวกันหรือเเนนอนยิ่งไปกวาภาษาเดียวกัน รัฐบาลท้ังปวงยอมรูสึกในขอนี้อยูดี เพราะฉะนั้น รัฐบาลใดท่ีตองปกครองคนตางชาติตางภาษา จึงตองพยายามตั้งโรงเรียนเเละออกบัญญัติบังคับ ใหชนตางภาษาเรียนภาษาของผูปกครอง เเตความคิดเห็นเชนนี้ จะสําเร็จตามปรารถนาของรัฐบาลเสมอก็หามิได เเตถายังจัดการเเปลงภาษาไมสําเร็จอยูตราบใด ก็เเปลวา ผูพูดภาษากับผูปกครองนั้นยังไมเชื่ออยูตราบนั้น เเละยังจะเรียกวาเปนชาติเดียวกันกับมหาชนพ้ืนเมืองไมได อยูตราบนั้น ภาษาเปนสิ่งซ่ึงฝงอยูในใจมนุษยเเนนเเฟนยิ่งกวาสิ่งอ่ืน” (http://krupiyarerk.wordpress.com, 2557) ดังนั้นภาษาก็เปรียบไดกับรั้วของชาติ ถา ชนชาติใดรักษาภาษาของตนไวไดดี ใหบริสุทธิ์ ก็จะไดชื่อวา รักษาความเปนชาติ คนไทยทุกคนใชภาษาไทยเปนสื่อความรูสึกนึกคิดเทานั้นยังไมเพียงพอ ควรจะรักษาระเบียบความงดงามของภาษา ซ่ึง เเสดงวัฒนธรรมเเละเอกลักษณประจําชาติไวอีกดวย ดังพระราชดํารัสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

1

2

สยามบรมราชกุมารี ตอนหนึ่งวา “ภาษานอกจากจะเปนเครื่องสื่อสารเเสดงความรูสึกนึกคิดของคนท่ัวโลกเเลว ยังเปนเครื่องเเสดงใหเห็นวัฒนธรรม อารยธรรมเเละเอกลักษณ ประจําชาติอีกดวย ไทยเปนประเทศซ่ึงมีขนบประเพณี ศิลปกรรมเเละภาษา ซ่ึงเจริญรุงเรืองมาแตอดีตกาล เราผูเปนอนุชนจึงควรภูมิใจ ชวยกัน ผดุงรักษามรดกทางวัฒนธรรมอันเปนทรัพยสินทางปญญาท่ีบรรพบุรุษได สรางสรรคข้ึนไวใหเจริญสืบไป” ประเทศไทยมีการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีภาษาไทยท่ีนํามาใชกับพระมหากษัตริยและบรมวงศานุวงศท่ีเรียกวา คําราชาศัพท ดังนั้นจึงจําเปนตองเรียนรูคําราชาศัพท ซ่ึงบางครั้งก็เปนเรื่องยากสําหรับนักเรียนท่ีจะเขาใจและนําไปใช ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ เก้ือกูล เสพยธรรม (2542, คํานํา) กลาวไววาการใชคําราชาศัพทเปนเรื่องยุงยาก ซ่ึงจะตองเปนคําพูดท่ีพระมหากษัตริยและบรมวงศานุวงศทรงใชกันโดยเฉพาะเสมือนเปนอีกภาษาหนึ่ง สอดคลองกับฐะปะนีย นาครทรรพ (2550, คํานํา) ไดกลาววา การพัฒนาผูเรียนใหเกิดกระบวนการเรียนรูภาษาไทย จนสามารถนําไปใชสื่อสารแสวงหาความรูดวยตัวเอง รวมท้ังเขาใจวรรณกรรม วรรณคดีเพ่ือเสริมสรางชีวทัศนและโลกทัศนของผูเรียนใหกวางขวางลุมลึกตามระดับชั้นและวัย เขากฎเกณฑการใชภาษา สามารถใชภาษาไดสละสลวยตามแบบแผนภาษาท่ีถูกตอง ท่ีสําคัญตองเปนผูมีใจรักและมุงม่ันพัฒนาการใชภาษาของตนเองอยางตอเนื่อง

วิสุทธิ์ โรจนพจนรัตน (2542, น.41) ไดทําการวิจัยเก่ียวกับการเรียนรูคําราชาศัพท พบวา การเรียนรูคําราชาศัพทเปนสิ่งจําเปนและมีความสําคัญอยางยิ่ง เด็กจะมองเห็นความสําคัญและเขาใจคําราชาศัพทลึกซ้ึงข้ึนอยูกับความสามารถของครูผูสอนถาผูสอนรูจักใช วิธีการสอนท่ีดีท่ีเหมาะสม โดยการนําเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรมาประยุกตใชกับกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนใหมีคุณภาพดียิ่งข้ึน เพราะคอมพิวเตอรชวยสอนเปนการสื่อสารสองทางท่ีผูเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนไดตลอดเวลาสอดคลองกับ กานตสินี สุวพานิช (2546, น.27) กลาวถึงการนําคอมพิวเตอรมาชวยในการเรียนการสอนโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเปนตัวเชื่อมปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับเครื่องคอมพิวเตอรซ่ึงการจัดการเรียนการสอนสามารถจัดไดในลักษณะตางๆ เปนตนวา บทเรียนสําหรับเรียนซอมเสริม บทเรียนสําหรับทบทวน ปยรัตย จิตมณี (2546, น.12) กลาวถึงการนําคอมพิวเตอรมาใชในการเรียนการสอนโดยนําอุปกรณคอมพิวเตอรตางๆ มาใชทํางานรวมกันเพ่ือนําเสนอเนื้อหาในรูปภาพกราฟก ภาพนิ่ง ตัวอักษร ซ่ึงมีลักษณะการเคลื่อนไหวและมีเสียงบรรยาย เสียงดนตรีประกอบสลับกันไป มีลักษณะการสื่อสารแบบสองทางผูใชคอมพิวเตอรสามารถมีปฏิสัมพันธตอกัน กิดานันท มลิทอง (2541, น.227) กลาววา ปจจุบันคอมพิวเตอรชวยสอนไดรับความนิยมอยางแพรหลายเพราะเปนสื่อการสอนท่ีมีประสิทธิภาพสูงกวาสื่อประเภทอ่ืนๆ เนื่องจากสามารถตอบสนองความแตกตางของผูเรียน และกระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจในการเรียนไดเปนอยางดี ซ่ึงสอดคลองกับ สุพัฒน สุกมลสันต (2541, น.1) ท่ีวาโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนเปนสื่อการสอนใหมทางการศึกษาท่ีมีคุณลักษณะดีหลายอยาง เชน ใหขอมูลยอนกลับท่ีฉับไว และผูเรียนสามารถเรียนไดตามความสามารถของแตละบุคคล เปนผูสอนสวนตัวท่ีชาญฉลาด ปลดปลอยผูเรียนใหเปนอิสระจากรูปแบบการเรียนการสอนแบบด้ังเดิมท่ีมีระเบียบกฎเกณฑเขมงวดและเปนตัวกระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจการเรียนมากข้ึน

ในปการศึกษาท่ีผานมาพบวา นักเรียนโรงเรียนบานคลองสงค มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยอยูในระดับท่ีไมนาพอใจ และสวนใหญขาดความสนใจ ขาดความ

3

เขาใจและความกระตือรือรนในการเรียน โดยเฉพาะความรูความเขาใจในหลักภาษาเก่ียวกับการใชคําราชาศัพท ทําใหการเรียนวรรณคดีไมประสบผลสําเร็จเทาท่ีควร เนื่องจากวรรณคดีมีเนื้อหาท่ีประกอบไปท้ังคําสามัญและคําท่ีเปนราชาศัพท ท้ังนี้ปญหาพอสรุปไดวา (1) พ้ืนฐานของนักเรียนทางดานภาษาไทยไมดี (2) ครูผูสอนจัดกิจกรรมไมสอดคลองกับความสนใจ ความสามารถของนักเรียน (3) ขาดสื่อการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ

จากสภาพปญหาดังกลาว ผูวิจัยจึงเห็นวาการจัดการเรียนการสอนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพและมีประโยชน เหมาะสมกับการเรียนการสอนในยุคปจจุบัน ท่ีจะชวยแกปญหาดังกลาว จึงมีความสนใจท่ีจะสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โดยสรางเปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบซอมเสริมหรือทบทวน (Tutorial) โดยผลท่ีไดจากการวิจัยดังกลาว จะมีประโยชนตอการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยและครูผูสอนวิชาภาษาไทย นําไปปรับปรุงการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ ซ่ึงเปนการสงเสริมใหนักเรียนไดรับประสบการณการเรียนรูท่ีดีและสนุกสนานในการเรียนรวมไปถึงการสรางเจตคติท่ีดีตอการเรียน ซ่ึงสิ่งเหลานี้จะสามารถชวยแกปญหาการเรียนการสอนใหเกิดผลดีและมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

ดังนั้นผูวิจัยจึงไดนําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเขามาใชในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังการใชคอมพิวเตอรชวยสอนและเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท คําถามของการวิจัย

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 กอนและหลังการใชคอมพิวเตอรชวยสอนแตกตางกันหรือไม อยางไร

2. นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพทหรือไม วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 กอนและหลังการใชคอมพิวเตอรชวยสอน

2. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท

4

สมมติฐานของการวิจัย

นักเรียนท่ีเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน ประโยชนของการวิจัย

1. เพ่ือเปนแนวทางสําหรับพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในรายวิชาอ่ืนๆ ตอไป

2. เพ่ือเปนแนวทางในการนําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมาใชในการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ขอบเขตของการวิจัย

1. ขอบเขตของเนื้อหา เนื้อหาวิชาท่ีใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เปนสวนหนึ่งของวิชาภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงมีขอบเขตเนื้อหา ดังนี้

- คํานามราชาศัพท - คํากริยาราชาศัพท - คําสรรพนามราชาศัพท - คําสุภาพ

2. ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร ประชากรท่ีใชในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนวิชา

ภาษาไทยของโรงเรียนบานคลองสงค ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2557 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานีเขต 2 จํานวน 2 หองเรียนรวมจํานวนนักเรียนท้ังหมด 78 คน

กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6/1 ท่ีเรียน

วิชาภาษาไทยของโรงเรียนบานคลองสงค ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2557 จํานวน 1 หองเรียน จํานวนนักเรียน 30 คน กลุมตัวอยางไดมาโดยวิธีการสุมแบบกลุม (Cluster Random Sampling )โดยใชโรงเรียนเปนหนวยในการสุม

5

3. ขอบเขตดานตัวแปรท่ีศึกษา ตัวแปรอิสระ ไดแก การจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคํา

ราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ตัวแปรตาม ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยดาน เรื่อง คําราชาศัพท

และความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 นิยามศัพทเฉพาะ

1. คําราชาศัพท หมายถึง คํานาม คํากริยา คําสรรพนาม ท่ีนํามาใชสําหรับพระเจาแผนดิน พระบรมวงศานุวงศ พระสงฆและสุภาพชน ท่ีระบุอยูในหลักสูตรวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

2. คํานามราชาศัพท หมายถึง คําท่ีใชเรียกแทน ชื่อคน สัตว สิ่งของ สถานท่ี นํามาใชสําหรับพระเจาแผนดิน พระบรมวงศานุวงศ พระสงฆและสุภาพชน

3. คํากริยาราชาศัพท หมายถึง คําท่ีแสดงอาการหรือการกระทํา ท่ีนํามาใชสําหรับพระเจาแผนดิน พระบรมวงศานวุงศ พระสงฆและสุภาพชน

4. คําสรรพนามราชาศัพท หมายถึง คําแทนชื่อท่ีจําแนกใชตามชั้นของบุคคล ซ่ึงถือวามีฐานันดรศักดิ์ตางกัน ตามประเพณีนิยม ท่ีนํามาใชสําหรับพระเจาแผนดิน พระบรมวงศานุวงศ พระสงฆและสุภาพชน

5. คําสุภาพ หมายถึง ถอยคําท่ีกําหนดข้ึนมาใชในการพูดคุยเพ่ือใหเกิดความไพเราะในอีกระดับหนึ่งระหวางบุคคลท่ัวไป และนําไปใชในกลุมคําราชาศัพท

6. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง บทเรียนท่ีบรรจุเนื้อหาของบทเรียนไวในคอมพิวเตอรท่ีผูวิจัยสรางข้ึน โดยมีโปรแกรมควบคุมการทํางาน มีการแสดงผลทางจอภาพ ท้ังตัวอักษร ภาพกราฟก และเสียง ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง สามารถโตตอบกับ เครื่องคอมพิวเตอรได สามารถประเมินผลการเรียน และแจงผลการเรียนใหผูเรียนทราบไดโดยผานทางจอภาพเปนบทเรียนแบบโปรแกรมติวเตอร (Tutorial) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

7. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง ผลการเรียนรูจากการเรียนดวยคอมพิวเตอรชวยสอน ตามเกณฑ 80/80

80 ตัวแรก หมายถึง รอยละของคาเฉลี่ยจากแบบฝกหัดระหวางการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

80 ตัวหลัง หมายถึง รอยละของคาเฉลี่ยจากแบบทดสอบภายหลังการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

8. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึก หรือความพอใจของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎ ีและงานวจัิยที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวของดังนี้

1. แนวคิดและทฤษฎีการสอนภาษาไทย 2. มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 3. คําราชาศัพท 4. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) 5. หลักจิตวิทยาเก่ียวของกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) 6. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับความพึงพอใจ 7. งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

แนวคิดและทฤษฎีการสอนภาษาไทย

ในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่อง คําราชา

ศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการสอนภาษาไทย เพ่ือเปนแนวทางในสรางบทเรียน ดังนี้

ทฤษฎีการเรียนรูท่ีใชในการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย การเรียนการสอนครูผูสอนตองคํานึงถึงหลักจิตวิทยาบางประการ เพ่ือนําไปใชในการ

สรางบรรยากาศ และจัดสภาพการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ทัศนีย ศุภเมธี (2542, น.10–13) ไดเสนอแนวความคิดเก่ียวกับหลักจิตวิทยาการศึกษาตางๆ ท่ีเปนปจจัยพ้ืนฐานท่ีมีอิทธิพลสําคัญในการสงเสริมการเรียนรู ซ่ึงสัมพันธและเก่ียวของกับตัวผูเรียน ดังนี้

1. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individual Difference) คนแตละคนมีความแตกตางกันท้ังความรู ความสามารถและความถนัดทางภาษา

โดยท่ัวไปแลวเด็กผูหญิงจะมีความถนัดความสามารถและทักษะทางภาษาสูงกวาเด็กชายในวัยเดียวกัน สวนเด็กผูชายจะคิดไดลึกซ้ึงกวา ไมคอยชอบพูด หรือแมแตเพศเดียวกันก็ยังมีความสามารถท่ีแตกตางกัน ข้ึนกับสภาพรางกาย สติปญญา พันธุกรรม ครอบครัวและสภาพแวดลอมท่ีอาศัย

2. ความพรอม (Readiness) ความพรอม หมายถึงระดับความเจริญเติบโต ท้ังทางรางกาย อารมณ สังคมและ

สติปญญาของผูเรียน รวมถึงความสนใจของผูเรียน ครูควรสังเกตและสํารวจความพรอมของเด็กกอนสอนทุกครั้ง ควรทดสอบกอนเรียน เลือกใชสื่อท่ีเหมาะสมและจัดกระบวนการเรียนรูท่ีหลากหลาย

6

7

3. การเรียนรู (Learning) ดานการเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีมีผลมาจากประสบการณ

ครูตองจัดกระบวนการเรียนเพ่ือใหเกิดการเรียนรู แทจริง เพ่ือใหมีความรูคงทนถาวรไมลืมงาย 4. การเรียนรูโดยการกระทํา (Learning by Doing)

การเรียนรูโดยการกระทํา คือ การลงมือปฏิบัติและฝกฝนบอยๆ โดยครูใหนักเรียนไดมีโอกาสฝกฝน คนควาดวยตนเองใหมากท่ีสุด ครูเปนผูชี้นําใหนักเรียนไดปฏิบัติเองเพ่ือใหเกิดการเรียนรูอยางแนนแฟน

5. การเรียนรูโดยมีเปาหมาย (Purposeful Learning) ในการสอนของครูทุกครั้ง ควรตั้งเปาหมายหรือจุดมุงหมายท่ีแนนอนกอนวาสอน

เรื่องนั้นๆ เพ่ืออะไร และเวลาสอนก็ดําเนินการสอนไปตามเปาหมายท่ีวางไว 6. กฎแหงแรงจูงใจ (Motivation)

แรงจูงใจ หมายถึง แรงดันท่ีทําใหบุคคลแสดงพฤติกรรมตางๆ แรงจูงใจแบงไดเปน 2 ประเภท คือ

1. แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) 2. แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation)

แรงจูงใจภายนอก เปนแรงจูงใจท่ีเกิดจากสิ่งเราภายนอกท่ีครูเปนผูจัดข้ึน เชน การสรางสถานการณตางๆ การจัดกิจกรรม และประสบการณท่ีนาสนใจ การสรางบรรยากาศใหสนุกสนาน อันเปนแรงกระตุนใหผูเรียนมีความกระตือรือรนท่ีจะเรียน ครูภาษาไทยอาจสรางแรงจูงใจภายนอกไดในการจัดการเรียน การสอน

แรงจูงใจภายใน เปนแรงจูงใจท่ีเกิดข้ึนในตัวผูเรียนเอง เชน เกิดความสนใจ ความกระตือรือรน ความอยากรูอยากเห็น ความใฝรู มีความกระตือรือรนหรือเกิดแรงบันดาลใจอยากท่ีจะศึกษาคนควาดวยตนเองและสนุกกับการเรียนภาษาไทย

7. การเสริมกําลังใจ (Reinforcement) ครูควรเสริมกําลังใจเปนระยะๆไมควรแสดงกิริยาอาการหรือใชคําพูดท่ีกระทบ

กระเทือนใจ ถึงแมวาเด็กจะตอบไมตรงจุดก็เสริมกําลังใจ และหาทางใหนักเรียนลองทําใหม การเสริมกําลังใจจะเปนหนทางชวยใหนักเรียนมีเจตคติท่ีดีตอการเรียน เชนการเสริมกําลังใจดวยวาจา เปนการเสริมกําลังใจท่ีใชไดงายท่ีสุดและดีท่ีสุด คือครูใชคําวา ดี ดีมาก เขาทาดี นาสนใจ เปนความคิดท่ีดีในกรณีท่ีนักเรียนตอบผิด หรือตอบไมตรงจุด ครูไมควรใชถอยคําท่ีทําใหเด็กเกิดความสะเทือนใจ การเสริมกําลังใจดวยทาทาง เชน การพยักหนา ยิ้ม ผงกศีรษะใชสายตาแสดงความพอใจ บางครั้งใชพรอมกันกับการเสริมกําลังใจดวยวาจา

การเสริมกําลังใจดวยการใหไดรับรางวัล เชน ใหสิ่งของ ใหบัตรเกียรติคุณ ใหดาว แตขอควรระวัง คือ อยาใหนักเรียนหวังผลทางดานวัตถุมากเกินไป

การเสริมกําลังใจดวยการใหนักเรียนมีสวนรวม เชน ใหมีสวนรวมในการทํากิจกรรมเลนเกมตางๆ ใหเกิดความรูสึกวาเขามีความสําคัญ หรือเปนสวนหนึ่งของกลุม

8

จากความรูเก่ียวกับทฤษฎีการสอนภาษาไทยของทัศนีย ศุภเมธี ผูวิจัยศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนตองโดยพิจารณาความแตกตางระหวางบุคคล ความพรอม การเรียนรู การเรียนรูโดยการกระทํา การเรียนรูโดยมีเปาหมาย กฎแหงแรงจูงใจ และการเสริมกําลังใจ เพ่ือใหการสอนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

วิธีสอนภาษาไทย

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2542, น.33–56) ไดคัดเลือกครูตนแบบภาษาไทยท่ีมีรูปแบบการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลางและเรียนรูอยางมีความสุข โดยครูตนแบบวิชาภาษาไทยไดกลั่นกรองประสบการณจากการปฏิบัติจริงในการจัดการเรียนการสอนออกมาเปนแนวทางวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือเปนแบบอยางสําหรับการนําไปใชในการพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนวิชาภาษาไทย รูปแบบการสอนวิชาภาษาไทยของครูตนแบบวิชาภาษาไทย มีดังตอไปนี้

รูปแบบการสอนท่ีเนนกระบวนการ เปนรูปแบบการสอนของ ครูประนอม เพชรภู อาจารย 3 ระดับ 8 โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ซ่ึงรูปแบบการสอนท่ีเนนกระบวนการ มีการเตรียมการสอนและข้ันตอนการสอนดังตอไปนี้

1. การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอม 1. ใหผูเรียนศึกษาจุดประสงคการเรียนรูและจุดประสงคนําทางกอนการจัด

กิจกรรมการเรยีนการสอน 2. ทําความเขาใจกับผูเรียนถึงความจําเปนท่ีตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลางและใชรูปแบบการสอนท่ีเนนกระบวนการโดยเฉพาะกระบวนการกลุมและกระบวนการปฏิบัติ

3. แนะนําวิธีการดําเนินงานโดยใชกระบวนการกลุมและกระบวนการปฏิบัติ 4. จัดเตรียมสถานท่ีใหเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอนแตละประเภท 5. ทําความเขาใจกับผูเรียนเรื่องการวัดและประเมินผล เพ่ือใหเกิดความเขาใจ

ตรงกันถึงวิธีการวัดและประเมินผลท่ีจะไมใชขอสอบอยางเดียว จะวัดจากกระบวนการทํางานกลุม กระบวนการปฏิบัติ ผลงานการนําเสนอ และประเมินโดยแฟมสะสมงาน (Portfolio)

2. การวางแผนการจัดการเรียนรู ตองยึดหลัก 3 ประการ คือ 1. สอนใหตรงจุดประสงคของรายวิชาและเนื้อหาท่ีสอน 2. คํานึงถึงธรรมชาติของรายวิชา 3. จัดกระบวนการเรียนการสอนใหสอดคลองและเปนไปตามลําดับข้ันตอน

3. ข้ันการสอน เปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการสอน ซ่ึงแตละแผนจะจัด

กิจกรรมการสอนและใชกระบวนการท่ีแตกตางกัน โดยท่ัว ๆ ไปจะมีลักษณะ ดังนี้ 1. แจงจุดประสงคการเรียนรู

9

2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใหผู เรียนลงมือปฏิบัติ อาจเปนกระบวนการกลุม หรือรายบุคคลแลวแตกรณี แลวนําเสนอผลงาน

3. การวัดและประเมินผล เปนการประเมินพฤติกรรมและประเมินผลงานโดยใหผูเรียนประเมินตนเองและใหเพ่ือนประเมิน นอกจากจะประเมินเปนคะแนนแลวใหชี้แจงขอเสนอแนะและแนวทางแกไข และสุดทายประเมินโดยแฟมสะสมงาน (Portfolio)

จากความรูเก่ียววิธีการสอนของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ไดใชรูปแบบการสอนท่ีเนนกระบวนการโดยการแบงเปนข้ันตอน จัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอม การวางแผนการจัดการเรียนรู ข้ันการสอน

หลักการสอนภาษาไทยในระดับประถมศึกษา ในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทยเรื่องคําราชาศัพท ผูวิจัยได

ศึกษาหลักการสอนภาษาไทยในระดับประถมศึกษา เพ่ือเปนแนวทางในการสรางบทเรียน ดังนี้ วรรณี โสมประยูร (2544, น.193–195) ไดใหจุดมุงหมายสําคัญในการสอน

ภาษาไทยในระดับประถมศึกษาไววา เพ่ือใหนักเรียนมีทักษะทางภาษา ซ่ึงประกอบดวยทักษะทางการฟง ทักษะการพูด ทักษะการอาน และทักษะการเขียน สามารถใชภาษาไทยเปนเครื่องมือสําหรับสื่อสารและแสวงหาความรูไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะเปนประโยชนเพ่ือการดํารงชีวิตของตนเองและสังคมประเทศชาติ ดังนั้นการสอนภาษาไทยเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวจึงควรมีหลักการท่ีสําคัญตอไปนี ้

1. ในการสอนภาษาไทยควรนําจุดประสงคท่ัวไปสอดแทรกทุกครั้งท่ีมีการเรียนการสอน 2. การสอนภาษาไทยควรคํานึงถึงความพรอมของผูเรียนซ่ึงความพรอมในการเรียน

มี 3 ลักษณะดวยกัน ดังนี้ 2.1 ความพรอมในการเรียน จัดวาเปนความพรอมกอนการเริ่มเรียน 2.2 ความพรอมกอนเริ่มวิชา จัดวาเปนความพรอมกอนท่ีเริ่มตนเรียนวิชา

ภาษาไทยโดยเฉพาะ 2.3 ความพรอมกอนเริ่มบทเรียนใหม ครูควรนําความรูพ้ืนฐานมาเตรียมให

นักเรียนเสียกอน เม่ือนักเรียนมีความพรอมในเรื่องพ้ืนฐานและพรอมท่ีจะเรียนแลว การดําเนินกิจกรรมการเรียนก็จะบรรลุผลตามท่ีมุงหมายไว

3. ทักษะทางภาษา หมายถึง ทักษะทางศิลปะภาษานั่นเอง จากความรูท่ีเก่ียวของกับการสอนภาษาไทย ซ่ึงมีหลักในการสอนคือ ควรนําจุดประสงค

ท่ัวไปสอดแทรกทุกครั้ง และการสอนควรคํานึงถึงผูเรียนเปนสําคัญ

10

มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

ในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทยเรื่องคําราชาศัพทผูวิจัยไดศึกษามาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยในระดับประถมศึกษาปท่ี 6 เพ่ือเปนแนวทางในการสรางบทเรียน ดังนี้

มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

กรมวิชาการ (2551, น.25) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ไดกําหนดมาตรฐานและโครงสรางหลักสูตรวิชาภาษาไทยไววา เม่ือจบชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ผูเรียนตองมีความรู ความสามารถดังนี้

1. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะไดถูกตอง อธิบายความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัยของคํา ประโยค ขอความ สํานวนโวหาร จากเรื่องท่ีอานเขาใจคําแนะนํา คําอธิบายในคูมือตางๆ แยกแยะขอคิดเห็นและขอเท็จจริง รวมท้ังจับใจความสําคัญของเรื่องท่ีอานและนําความรูความคิดจากเรื่องท่ีอานไปตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตไดมีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน และเห็นคุณคาสิ่งท่ีอาน

2. มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคํา แตงประโยคและเขียนขอความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใชถอยคําชัดเจนเหมาะสม ใชแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิด เพ่ือพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ยอความ จดหมายสวนตัว กรอกแบบรายการตางๆ เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอยางสรางสรรค และมีมารยาทในการเขียน

3. พูดแสดงความรู ความคิดเก่ียวกับเรื่องท่ีฟงและดู เลาเรื่องยอหรือสรุปจากเรื่องท่ีฟงและดูตั้งคําถาม ตอบคําถามจากเรื่องท่ีฟงและดู รวมท้ังประเมินความนาเชื่อถือจากการฟงและดูโฆษณาอยางมีเหตุผล พูดตามลําดับข้ันตอนเรื่องตางๆ อยางชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นคนควาจากการฟง การดู การสนทนา และพูดโนมนาวไดอยางมีเหตุผล รวมท้ังมีมารยาทในการดูและพูด

4. สะกดคําและเขาใจความหมายของคํา สํานวน คําพังเพยและสุภาษิต รูและเขาใจชนิดและหนาท่ีของคําในประโยค ชนิดของประโยค และคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ใชคําราชาศัพทและคําสุภาพไดอยางเหมาะสม แตงประโยค แตงบทรอยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพยยานี 11

5. เขาใจและเห็นคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน เลานิทานพ้ืนบาน รองเพลงพ้ืนบานของทองถ่ิน นําขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีอานไปประยุกตใชในชีวิตจริง และทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนดได

คุณภาพผูเรียน จบช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

- อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะไดถูกตอง อธิบายความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัยของคํา ประโยค ขอความ สํานวนโวหาร จากเรื่องท่ีอานเขาใจคําแนะนํา คําอธิบายในคูมือตางๆ แยกแยะขอคิดเห็นและขอเท็จจริง รวมท้ังจับใจความสําคัญ

11

ของเรื่องท่ีอานและนําความรูความคิดจากเรื่องท่ีอานไปตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตไดมีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน และเห็นคุณคาสิ่งท่ีอาน

- มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคํา แตงประโยคและเขียนขอความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใชถอยคําชัดเจนเหมาะสม ใชแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิด เพ่ือพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ยอความ จดหมายสวนตัว กรอกแบบรายการตางๆ เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอยางสรางสรรค และมีมารยาทในการเขียน

- พูดแสดงความรู ความคิดเก่ียวกับเรื่องท่ีฟงและดู เลาเรื่องยอหรือสรุปจากเรื่องท่ีฟงและดูตั้งคําถาม ตอบคําถามจากเรื่องท่ีฟงและดู รวมท้ังประเมินความนาเชื่อถือจากการฟงและดูโฆษณาอยางมีเหตุผล พูดตามลําดับข้ันตอนเรื่องตางๆ อยางชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นคนควาจากการฟง การดู การสนทนา และพูดโนมนาวไดอยางมีเหตุผล รวมท้ังมีมารยาทในการดูและพูด

- สะกดคําและเขาใจความหมายของคํา สํานวน คําพังเพยและสุภาษิต รูและเขาใจชนิดและหนาท่ีของคําในประโยค ชนิดของประโยค และคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ใชคําราชาศัพทและคําสุภาพไดอยางเหมาะสม แตงประโยค แตงบทรอยกรองประเภทกลอนสี่กลอนสุภาพ และกาพยยานี 11

- เขาใจและเห็นคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน เลานิทานพ้ืนบาน รองเพลงพ้ืนบานของทองถ่ิน นําขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีอานไปประยุกตใชในชีวิตจริง และทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนดได

สาระและมาตรฐานการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ไดกําหนดคุณภาพของผูเรียน

เม่ือเรียนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงกําหนดไวเฉพาะสวนท่ีจําเปนสําหรับเปนพ้ืนฐานในการดํารงชีวิตใหมีคุณภาพ สําหรับสาระและมาตรฐานการเรียนรูตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผูเรียน สถานศึกษาสามารถพัฒนาเพ่ิมเติมได ซ่ึงมีรายละเอียดตอไปนี้

สาระท่ี 1 การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน

สาระท่ี 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และ

เขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

สาระท่ี 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด ความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณ และ สรางสรรค

12

สาระท่ี 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง ของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามา ประยุกตใชในชีวิตจริง

จากมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

โดยเฉพาะพาสาระท่ีสาระท่ี 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ และสาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรมมาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง อันจะเปนแนวทางในการกําหนดเนื้อหาในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ของผูวิจัยตอไป คําราชาศัพท

ความหมายของคําราชาศัพท

ผูเชี่ยวชาญและนักวิชาการหลายทานไดกลาวถึงความหมายของคําราชาศัพทไวดังนี้ พระยาอุปกิตศิลปสาร (2533, น.157) ไดใหความหมายของราชาศัพทวา “คําราชา

ศัพทเปนคําสมาสระหวางคําราชา และศัพท ในภาษาบาลีสันสกฤต เม่ือแปลตามรูปศัพทแลว หมายถึง ถอยคําท่ีใชสําหรับพระเจาแผนดิน”

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525 ไดใหความหมายไวดังนี้ “ราชาศัพทคําเฉพาะท่ีใชสําหรับเพ็ดทูลพระเจาแผนดินและเจานาย ตอมาหมายรวมถึงคําท่ีใชสําหรับพระภิกษุสงฆ ขาราชการ และสุภาพชน”

ม.ล. ปย มาลากุล (2536, น.127) กลาวไวในการใชถอยคําราชาศัพทวา “ศัพทก็ดี ถอยคําก็ดี ในชั้นตนก็เพียงมุงหมายใหเปนถอยคําท่ีพระมหากษัตริยหรือพระราชวงศทรงรับฟงได ตอมาเนื่องจากความคลี่คลายของภาษา ราชาศัพทจึงไดนํามาใชสําหรับพระภิกษุ ขาราชการและกวางออกไปจนถึงคําสุภาพ”

เสนีย วิลาวรรณ (2536, น.89) ไดใหความหมายของคําราชาศัพทไววา คําราชาศัพท คือระเบียบการใชถอยคําใหถูกตองตามฐานะของบุคคล กลาวคือเปนระเบียบของภาษาท่ีใชตามฐานะของบุคคล 5 ชั้น คือ 1.พระมหากษัตริย 2.เจานาย 3.พระภิกษุ 4.ขุนนางและขาราชการ 5.สุภาพชนท่ัวไป

13

เยาวลักษณ ชาติสุขศิริเดช (2545, น.1) ไดใหความหมายของคําราชาศัพท วา คําราชาศัพทแปลตามรูปคําศัพท หมายถึง ถอยคําสําหรับพระราชา แตตามหลักภาษาไทยไดใหความหมายวา คําท่ีใชใหเหมาะสมกับบุคคลซ่ึงแบงออกเปน 3 ประเภท คือ

1. ศัพทท่ีใชสําหรับพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ 2. ศัพทท่ีใชสําหรับพระภิกษุสงฆ 3. ศัพทท่ีใชสําหรับสุภาพชน เครือรัตน เรืองแกว (2545, น.1) กลาววา คําราชาศัพท คือ คําสุภาพสําหรับใชให

เหมาะสมแกฐานะบุคคลท้ัง 5 ประเภท อันไดแก พระเจาแผนดิน พระบรมวงศานุวงศ พระสงฆ ขาราชการ สุภาพชนท่ัวไป

จากท่ีไดกลาวมา จึงสรุปความหมายของคําราชาศัพท ไดวา คําราชาศัพท หมายถึง คําท่ีใชในการกราบบังคมทูลพระเจาแผนดิน คําท่ีใชกราบทูลพระบรมวงศานุวงศ คําศัพทท่ีใชกับพระสงฆ และคําสุภาพท่ีใชกับสามัญชน ซ่ึงคําเหลานี้ขอกําหนดในการใชหรือมีวิธีใชเฉพาะกับบุคคลและโอกาสท่ีตางกัน

ความเปนมาของคําราชาศัพท

นิจพงศ ศรวีรรณ (2542, น.142) กลาววา “ในสมัยกรุงสุโขทัย พอขุนรามคําแหงไดพระราชทานพระวโรกาสใหราษฎรท่ีไดรับความเดือดรอนเขาเฝาอยางใกลชิด มีพระเมตตาพระราชทานแกไขปญหาตางๆ ใหราษฎรคลายทุกขอบอุนใจ การใชภาษาระหวางพระเจาแผนดินเปนไปอยางสุภาพเยี่ยงบิดากับบุตร ดังปรากฏในศิลาจารึก และดวยพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริยไทย ผูทรงเปนประมุขของชาติ เราจึงมีถอยคําอยูชุดหนึ่งท่ีจัดไวใชกับทานและพระราชวงศ เรียกวา ราชาศัพท”

มยุรี ศรีคะเณย (2547, น.16) กลาวถึงความเปนมาของคําราชาศัพทวา “คําราชาศัพทใชมาตั้งแตสมัยใดยังไมมีหลักฐานปรากฏ แตทราบวา ไมมีคําราชาศัพทในศิลาจารึกของพอขุนรามคําแหงมหาราช และปรากฏหลักฐานวา ใชคําราชาศัพทในสมัยพระมหาธรรมราชาลิไท จนกระท่ังในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงมีการประกาศใชคําราชาศัพทอยางเปนลายลักษณอักษรนั่นคือ คําราชาศัพท เปนคําท่ีเกิดข้ึนหลังจากการปกครองบานเมืองเปลี่ยนจากระบบพอกับลูกเปนแบบเทวราชาตามอิทธิพลของศาสนาพราหมณ-ฮินดู ทําใหมีการสรางคําข้ึนใหมเพ่ือแสดงใหเห็นความแตกตางระหวางกษัตริยท่ีปกครองอาณาจักรกับสามัญชน”

จากความเปนมาของคําราชาศัพทท่ีกลาวมาขางตนจะเห็นไดวามีความคิดเห็นท่ีแตกตางกันและยังหาขอสรุปไมไดวาคําราชาศัพทนั้นเริ่มใชมาตั้งแตสมัยใด แตสิ่งท่ีผูเชี่ยวชาญมีความเห็นตรงกัน คือ การใชคําราชาศัพท โดยเริ่มตนนั้นเปนการใชถอยคําสําหรับกราบบังคมทูลพระมหากษัตริย และกราบทูลพระบรมวงศานุวงศ

14

ประเภทของคําราชาศัพท

สนิท บุญฤทธิ์ (2544, น.31) ไดกลาวถึงประเภทของคําราชาศัพทวา “ในปจจุบันมีท่ีมาหลายทาง จึงทําใหคําบางคําสามารถใชเปนคําราชาศัพทไดเลย ในขณะท่ีบางคําตองปรุงแตงใหเปนราชาศัพทเสียกอนจึงจะใชได ดวยเหตุผลนี้ คําราชาศัพท จึงถูกแบงออกเปน 3 ประเภท คือ คําราชาศัพทสมบูรณ คําราชาศัพทไมสมบูรณ คําราชาศัพทท่ีมาจากคําสามัญ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1. คําราชาศัพทสมบูรณ เปนคําสวนหนึ่งท่ีเปนคําราชาศัพทมาแตเดิม จัดเปนคําราชาศัพทรูปแบบมีรูปคํา ความหมายและวิธีการใชคงท่ี ไมตองเปลี่ยนแปลงรูปคําประกอบหนาประกอบหลัง ถาเติมคําประกอบหนาประกอบหลังเขาไปถือวาผิด คําราชาศัพทสมบูรณ มีจํานวนไมมากนัก มีท้ังคําท่ีมาจาก ภาษาบาลี สันสกฤต เขมร ไทย และภาษาอ่ืนอีกเล็กนอย คําราชาศัพทสมบูรณ ใชไดทันที มีท้ังคํานาม และคํากริยา คํานาม เชน พลับพลา พาหุรัด ทองกร น้ําจันฑ น้ําสังข คํากริยา เชน เสด็จ เสวย บรรทม ประทาน ประชวร และรวมท้ังคําประสม เชน สรอยพระศอ ฝาพระบาท น้ําพระเนตร ลายพระหัตถ เปนตน

ขอท่ีนาสังเกตเก่ียวกับการใชคําราชาศัพทสมบูรณก็คือ ผูใชมักใชผิดดวยความไมรูหรือเขาใจผิด โดยการเติมคํา พระ นําหนาคํานามราชาศัพทสมบูรณ หรือเติมคํา ทรง นําหนากริยาราชาศัพทสมบูรณเหลานั้น ซ่ึงเปนสิ่งท่ีไมถูกตอง

2. คําราชาศัพทไมสมบูรณ เปนคําราชาศัพทรูปแบบเชนเดียวกับคําราชาศัพทสมบูรณ คําราชาศัพทไมสมบูรณเปนคําท่ีมีศักดิ์สูงกวาคําสามัญ ปกติมักจะไมใชภาษาท่ัวไป คือหากไมใชคําราชาศัพทก็มักใชเปนคําภาษาวรรณคดี หรือภาษาการประพันธ ท่ีเนนการแสดงออกถึงอารมณ และความรูสึกเปนสําคัญ คําราชาศัพทไมสมบูรณ จะนํามาใชทันทีไมไดตองนํามาปรุงแตงเสียกอน ดวยวิธีเติมคําประกอบหนาหรือประกอบหลังตามแตกรณี เชน ราชวัง พระราชวัง พระบรมมหาราชวัง วังหลวง เนตร เปน พระเนตร

3. คําราชาศัพทท่ีมาจากคําสามัญ คําราชาศัพทรูปแบบท้ังคําราชาศัพทสมบูรณ และคําราชาศัพทไมสมบูรณ มีคําอยูเพียงจํานวนหนึ่งเทานั้น แตคําราชาศัพทจําเปนตองมีคําใหมๆ เกิดข้ึนเสมอตามธรรมชาติของภาษา คําราชาศัพทท่ีจะเกิดข้ึนใหมจึงตองมาจากคําสามัญ ท้ังคําไทย และคําตางประเทศท่ีใชอยูในปจจุบันนั่นเอง คําสามัญเม่ือจะนํามาใชเปนคําราชาศัพทตองนํามาปรุงแตง โดยการเติมประกอบหนาหรือประกอบหลัง ดังตัวอยาง ลูก เปน พระลูก ลูกหลวง เรือ เปน เรื่อพระท่ีนั่ง เรือตน เรือหลวง”

จากประเภทของคําราชาศัพทสามารถสรุปไดวา คําราชาศัพทมี 3 ประเภท คือ 1. คําราชาศัพทสมบูรณ เปนคําสวนหนึ่งท่ีเปนคําราชาศัพทมาแตเดิม ใชไดทันที

มีท้ังคํานาม และคํากริยา คํานาม 2. คําราชาศัพทไมสมบูรณ เปนคําราชาศัพทรูปแบบเชนเดียวกับคําราชาศัพท

สมบูรณ ปกติมักจะไมใชภาษาท่ัวไป คําราชาศัพทไมสมบูรณ จะนํามาใชทันทีไมไดตองนํามาปรุงแตงเสียกอน ดวยวิธีเติมคําประกอบหนาหรือประกอบหลังตามแตกรณี

15

3. คําราชาศัพทท่ีมาจากคําสามัญ คําราชาศัพทท่ีจะเกิดข้ึนใหมจึงตองมาจากคําสามัญ ท้ังคําไทย และคําตางประเทศ คําสามัญเม่ือจะนํามาใชเปนคําราชาศัพทตองนํามาปรุงแตง โดยการเติมประกอบหนาหรือประกอบหลัง แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI)

ในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดเก่ียวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) เพ่ือเปนแนวทางในการสรางบทเรียน ดังนี้

ความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอน

นักวิชาการหลายทาน ไดใหความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอนไวคลายคลึงกันดังนี้ ธนิต ดอกรักกลาง (2541, น.38) กลาววา “คอมพิวเตอรชวยสอนเปนวิธีการสอนรายบุคคล

โดยอาศัยความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอรท่ีจะจัดประสบการณท่ีมีความสัมพันธกันมีการแสดงเนื้อหาตามลําดับท่ีตางกันดวยบทเรียนท่ีเตรียมไวอยางเหมาะสมคอมพิวเตอรชวยสอนจึงเปนเครื่องมือชวยสอนอยางหนึ่งท่ีนักเรียนจะเรียนดวยตนเองเปนผูท่ีจะปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ท่ีสงมาทางจอภาพ นักเรียนจะตอบคําถามจากแทนพิมพ สิ่งท่ีแสดงออกมาทางจอภาพ มีท้ังรูปภาพและตัวหนังสือ หรือบางทีอาจมีการใชรวมกับอุปกรณอ่ืน ๆ”

วุฒิชัย ประสารสอย (2543, น.55) ไดกลาวไววา “คอมพิวเตอรชวยสอนหรือบทเรียน ซีเอไอ (Computer-Assisted Instruction; Computer-Aided Instruction : CAI) คือ การจัดโปรแกรมเพ่ือการเรียนการสอนโดยใชคอมพิวเตอรเปนสื่อชวยถายโยงเนื้อหาความรูไปสูผูเรียน และปจจุบันไดมีการบัญญัติศัพทท่ีใชเรียกสื่อชนิดนี้วา“คอมพิวเตอรชวยการสอน”

พรเทพ เมืองแมน (2544, น.3)ไดใหความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไววา “คือ บทเรียนท่ีใชคอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอน โดยท่ีผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองจากบทเรียนท่ีไดมีการออกแบบไวเปนอยางดีเพ่ือใหผูเรียนสามารถโตตอบหรือมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนโดยผานทางแปนพิมพ เมาส หรือเสียงพูด เปนตน ซ่ึงบทเรียนอาจนําเสนอในลักษณะของสื่อประสมท่ีมีท้ังขอขอความกราฟก ภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว และเสียงประกอบ นอกจากนั้นยังอาจใชสื่ออยางอ่ืน ไดแก สไลด เทป หรือ วีดีทัศน รวมดวย เพ่ือชวยใหบทเรียนนาสนใจและใหผลการเรียนท่ีดียิ่งข้ึน”

มนตชัย เทียนทอง (2539, น.66) ไดใหความหมายบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไววา “เปนบทเรียนและกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีถูกจัดกระทําไวอยางเปนระบบและมีแบบแผน โดยใชคอมพิวเตอรนําเสนอและจัดการเพ่ือใหผู เรียนไดมีปฏิสัมพันธโดยตรงกับบทเรียนนั้นๆ ตามความสามารถของตนเอง โดยผูเรียนไมจําเปนตองมีทักษะและประสบการณดานการใชคอมพิวเตอรมากอน ก็สามารถเรียนรูได”

16

ยืน ภูวรวรรณ (2546, น.78) ไดใหความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง “โปรแกรมคอมพิวเตอรท่ีไดนําเนื้อหาวิชาและลําดับวิธีการสอนมาบันทึกเก็บไว คอมพิวเตอรจะชวยนําบทเรียนท่ีเตรียมไวอยางเปนระบบ มาเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสมสําหรับนักเรียนแตละคน”

ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2546, น.5) กลาวถึงความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง “โปรแกรมการเรียนการสอนท่ีใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือชวยในการเรียนการสอน ทําใหผูเรียนไดเรียนรูตามความมุงหมายของรายวิชาอยางมีประสิทธิภาพ”

กิดานันท มลิทอง (2548, น.20) ใหความหมายบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไววา “คอมพิวเตอรชวยสอนเปนการนําคอมพิวเตอรมาใชเปนสื่อในการสอน เพ่ือใหมีการโตตอบกันไดในระหวางผูเรียนกับเครื่องคอมพิวเตอร รวมถึงการตอบสนองตอขอมูลท่ีผูเรียนปอนเขาไปไดในทันทีซ่ึงเปนการชวยเสริมแรงใหแกผูเรียน”

สราญ ปริสุทธิกุล (2548, น.2) ใหความหมายคอมพิวเตอรชวยสอนไววา “การนําคอมพิวเตอรมาชวยใน กระบวนการเรียนการสอน โดยมีโปรแกรมท่ีถูกพัฒนาข้ึนสําหรับเนื้อหานั้น ๆ โดยผูพัฒนา โปรแกรม หรือผูสรางคอมพิวเตอรชวยสอนไดออกแบบวิธีการสอนท่ีเหมาะสมเขาไปในกิจกรรมการเรียน โดยนําทฤษฎีทางดานจิตวิทยาเขามาประยุกต และมีการสรางปฏิสัมพันธระหวางคอมพิวเตอรกับผูเรียน ทําใหผูเรียนสามารถเรียนไดตามความสามารถของแตละบุคคลจนบรรลุวัตถุประสงคของการเรียน”

วรวิทย นิเทศศิลป (2551, น.223) ใหความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอนวา “เปนวิธีการเรียนการสอนท่ีใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงออกแบบไวเพ่ือนําเสนอบทเรียนแทนผูสอน และผูเรียนสามารถเรียนไดดวยตนเองตามลําดับข้ันตอนการเรียนรูอยางเปนระบบ โดยมีการปฏิสัมพันธ (interaction) ระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอร และผูเรียนจะไดรับขอมูลยอนกลับทันที”

จากความหมายขางตน สามารถสรุปไดวา คอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง วิธีการเรียนการสอนท่ีใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงออกแบบไวเพ่ือนําเสนอบทเรียนแทนผูสอน และผูเรียนสามารถเรียนไดดวยตนเองตามลําดับข้ันตอนการเรียนรูอยางเปนระบบ โดยมีการปฏิสัมพันธ (Interactive) ระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอร และผูเรียนจะไดรับขอมูลยอนกลับทันที เนื้อหาสาระความรู (Information) ท่ีผูเรียนศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนั้น จะมีลักษณะท่ีสามารถกระตุนความสนใจผูเรียนใหติดตามอยางตอเนื่อง ดวยการใชขอความ ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง กราฟก เสียง ฯลฯ เม่ือผูเรียนศึกษาเนื้อเรื่องท่ีตองการเรียนรูแลวจะมีแบบฝกหัดใหผูเรียนไดฝกทบทวนและตรวจสอบตนเองดูวา มีความเขาใจมากนอยเพียงใด เม่ือ คอมพิวเตอรจะนําเสนอเนื้อหาท่ีผูเรียนจะตองเรียนรูในลําดับตอไป

กลาวโดยสรุป คอมพิวเตอรชวยสอนชวยผูเรียนใหเกิดการเรียนรูไดหลายกรณี เชน กรณีผูเรียนไมเขาใจสิ่งท่ีเรียนรูจากครูผูสอนในชั้นเรียน ก็สามารถเรียนรูเพ่ิมเติมไดจากคอมพิวเตอรชวยสอน มีโอกาสไดทบทวนความรูและทดสอบความเขาใจ จากการทํากิจกรรมหรือแบบฝกหัดดวย ตนเอง ตลอดจนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเองในเรื่องนั้นๆ ไดหรือในกรณีท่ีผูเรียนมีความสนใจท่ีจะเรียนรูเพ่ิมเติมเปนพิเศษนอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียนแลว ผูเรียนก็สามารถเรียนรูคอมพิวเตอรชวยสอน นับเปนการขยายขอบขายการเรียนรูใหกวางขวางยิ่งข้ึน คอมพิวเตอรชวยสอนจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับผูใฝรู ใฝเรียนใหไดรับโอกาสในการพัฒนาความรู และทักษะของตนได

17

เปนอยางดี สวนผูเรียนท่ีตองการฝกฝนตนเองใหเกิดความชํานาญในทักษะตางๆ ก็สามารถใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือนําทางไปสูความสําเร็จไดเชนกัน

ทฤษฎเีกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI)

ทฤษฎีหลักท่ีเก่ียวกับการเรียนรูของมนุษยและสงผลกระทบตอแนวคิดในการออกแบบโครงสรางของคอมพิวเตอรชวยสอน ไดแก ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541, น.52) ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ทฤษฎีโครงสรางความรู (Schema Theory) ทฤษฎีความยืดหยุนทางปญญา (Cognitive Flexibility)

1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) เปนแนวคิดของสกินเนอร (Skinner) เชื่อวาจิตวิทยาเปนเสมือนการศึกษาทางวิทยาศาสตรของพฤติกรรมมนุษย (Scientific Study of Human Behavior) และการเรียนรูของมนุษยเปนท่ีสามารถสังเกตไดจากพฤติกรรมภายนอกมีแนวความคิดเก่ียวกับความสัมพันธระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง (Stimuli and Response) เชื่อวาการตอบสนองกับสิ่งเราของมนุษยจะเกิดควบคูกันในชวงเวลาท่ีเหมาะสม การเรียนรูของมนุษยเปนพฤติกรรมแบบอาการกระทํา (Operant Conditioning) ซ่ึงมีการเสริมแรง (Reinforcement) เปนตัวการทฤษฎีพฤติกรรมนิยมนี้ไมพูดถึงความนึกคิดภายในของมนุษย ความทรงจําภาพ ความรูสึก โดยถือวาคําเหลานี้เปนคําตองหาม (Taboo) ทฤษฎีนี้สงผลตอการเรียนการสอนท่ีสําคัญในลักษณะท่ีการเรียนเปนชุดของพฤติกรรมซ่ึงจะตองเกิดข้ึนตามลําดับท่ีแนชัด ผูเรียนจะบรรลุวัตถุประสงคไดตองมีการเรียนตามข้ันตอนเปนวัตถุประสงคๆไป ผลท่ีไดจากการเรียนข้ันแรกนี้จะเปนพ้ืนฐานในการเรียนของข้ันตอๆ ไปในท่ีสุด คอมพิวเตอรชวยสอนท่ีออกแบบตามแนวความคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมีโครงสรางของบทเรียนในลักษณะเชิงเสนตรง (Linear) โดยจะไดรับการเสนอเนื้อหาในลําดับท่ีเหมือนกันและตายตัว ซ่ึงไดพิจารณาแลววาเปนลําดับการสอนท่ีดีและผูเรียนสามารถเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ มีการตั้งคําถามผูเรียนอยางสมํ่าเสมอ หากตอบถูกก็จะไดรับการตอบสนองในรูปผลปอนกลับทางบวกหรือรางวัล (Reward) หากผูเรียนตอบผิดจะไดรับการตอบสนองในรูปของผลปอนกลับในทางลบและคําอธิบายหรือการลงโทษ (Punishment) ซ่ึงผลปอนกลับนี้ถือเปนการเสริมแรงเพ่ือใหเกิดพฤติกรรมท่ีตองการ คอมพิวเตอรชวยสอนท่ีออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมจะบังคับใหผูเรียนผานการประเมินตามเกณฑท่ีกําหนดไวตามจุดประสงคเสียกอน จึงสามารถผานไปศึกษาเนื้อหาของวัตถุประสงคตอไปได หากไมผานเกณฑท่ีกําหนดไวผูเรียนตองกลับไปศึกษาเนื้อหาเดิมอีกครั้งจนกวาจะผานการประเมิน

2. ทฤษฎีโครงสรางความรู (Schema Theory) ภายใตทฤษฎีปญญานิยมไดเกิดทฤษฎีโครงสรางความรู ซ่ึงเปนแนวคิดท่ีเชื่อวาโครงสรางภายในความรูท่ีมนุษยมีอยู มีลักษณะเปนโหมดหรือกลุมท่ีมีการเชื่อมโยงกันอยู การท่ีมนุษยเรียนรูอะไรใหมๆนั้นมนุษยจะนําความรูใหมท่ีเพ่ิงไดรับนั้นไปเชื่อมโยงกับกลุมความรูท่ีมีอยูเดิม (Pre-existing Knowledge) รูเมลฮารทและออโทนี่ Rumelhart and Ortony (1977, p.17) ใหนิยามความหมายของโครงสรางความรูวา เปนโครงสรางขอมูลภายในสมองของมนุษยซ่ึงรวบรวมความรูเก่ียวกับวัตถุ ลําดับเหตุการณ รายการกิจกรรมตางๆ เอาไว หนาท่ีโครงสรางของความรูนี้คือ การนําไปสูการรับรูขอมูล (Perception) การรับรูขอมูลนั้นจะ

18

ไมสามารถเกิดข้ึนไดหากขาดโครงสรางความรู (Schema Theory) เพราะการรับรูขอมูลนั้นเปนการสรางความหมายโดยการถายโอนความรูใหมเขากับความรูเดิม ในกรอบความรูเดิมท่ีมีอยูและจากการกระตุนโดยเหตุการณหนึ่งๆ เกิดการเชื่อมโยงความรูนั้นๆเขาดวยกัน การรับรูท่ีทําใหเกิดการเรียนรูเนื่องจากไมมีการเรียนรูใดเกิดข้ึนได โดยปราศจากการรับรู โครงสรางความรูยังชวยในการระลึก (Recall) ถึงสิ่งตางๆท่ีเราเคยเรียนรูมา Anderson (1984, p.29)

3. ทฤษฎีความยืดหยุนทางปญญา (Cognitive Flexibility) เชื่อวาความรูแตละองคความรูมีโครงสรางท่ีแนชัดและสลับซับซอนมากนอยแตกตางกันไป องคความรูบางประเภทสาขาวิชา เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตรกายภาพ ถือวาเปนองคความรูประเภทท่ีมีโครงสรางตายตัวไมสลับซับซอน (Well-Structured Knowledge Domains) เพราะตรรกะและความเปนเหตุเปนผลท่ีแนนอนของธรรมชาติขององคความรู องคความรูบางประเภทสาขาวิชา เชน จิตวิทยาถือวาเปนองคความรูท่ีไมมีโครงสรางตายตัวสลับซับซอน (Ill-structured Knowledge Domains) เพราะไมเปนเหตุเปนผลของธรรมชาติขององคความรู (West and Others, 1991) การแบงลักษณะโครงสรางขององคความรูตามประเภทสาขาวิชา ไมสามารถหมายรวมไปท้ังองคความรูในวิชาหนึ่งๆ ท้ังหมด บางสวนขององคความรูบางประเภทสาขาวิชาท่ีมีโครงสรางตายตัวก็สามารถท่ีจะเปนองคความรูประเภทท่ีไมมีโครงสรางตายตัวไดเชนกัน แนวคิดในเรื่องยืดหยุนทางปญญานี้ สงผลใหเกิดความคิดในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเพ่ือตอบสนองตอโครงสรางองคความรูท่ีแตกตางกัน ซ่ึงไดแกแนวความคิดในเรื่องการออกแบบบทเรียนแบบสื่อหลายมิตินั่นเอง

ทฤษฎีโครงสรางความรูและความยืดหยุนทางปญญา สงผลตอการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนในปจจุบันในลักษณะใกลเคียงกัน กลาวคือ ทฤษฎีท้ังสองตางสนับสนุนแนวคิดเก่ียวกับการจัดระเบียบโครงสรางการนําเสนอเนื้อหาคอมพิวเตอรชวยสอนในลักษณะสื่อหลายมิติ การจัดระเบียบโครงสรางการนําเสนอเนื้อหาบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติจะตอบสนองตอวิธีการเรียนรูของมนุษยในความพยายามท่ีจะเชื่อมโยงความรูใหมเขากับความรูท่ีมีอยูเดิมไดเปนอยางดีตรงกับแนวคิดของทฤษฎีโครงสรางความรู การนําเสนอเนื้อหาบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติยังสามารถท่ีจะตอบสนองความแตกตางของโครงสรางขององคความรูท่ีไมชัดเจนหรือมีความสลับซับซอน ซ่ึงเปนแนวคิดทฤษฎีความยืดหยุนทางปญญาไดอีกดวย การจัดระเบียบโครงสรางการนําเสนอเนื้อหาบทเรียนลักษณะสื่อหลายมิติ จะใหผูเรียนทุกคนมีอิสระในการควบคุมการเรียนของตน (Learner Control) ตามความสามารถ ความสนใจ ความถนัด และ พ้ืนฐานความรูของตน คอมพิวเตอรชวยสอนท่ีออกแบบตามแนวคิดทฤษฎีท้ังสองนี้ก็มีโครงสรางของบทเรียนแบบสื่อหลายมิติในลักษณะโยงใย โดยผูเรียนทุกคนไดรับการเสนอเนื้อหาในลําดับท่ีไมเหมือนกันและไมตายตัว โดยเนื้อหาท่ีจะไดรับการนําเสนอจะข้ึนอยูกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ความแตกตางท่ีสําคัญระหวางการออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีปญญานิยมก็คือ คอมพิวเตอรชวยสอนท่ีออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีท้ังสองนี้จะใหอิสระแกผูเรียน ในการควบคุมการเรียนของตนมากกวา เนื่องจากการออกแบบท่ีสนับสนุนโครงสรางความสัมพันธของเนื้อหาท่ีลึกซ้ึงและสลับซับซอน (Crises-Crossing Relationship)

19

รูปแบบของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

คอมพิวเตอรชวยสอนท่ีมีใชและผลิตกันอยูท่ัวไป สามารถจําแนกเปนรูปแบบตาง ๆตามลักษณะการใชงานและวัตถุประสงคของเนื้อหาวิชา ไดดังนี้ ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2546, น.9-13)

1. การฝกทักษะ หรือการฝกปฏิบัติ (Drill and Practice) ใชสําหรับฝกหัด ทบทวน เรื่องท่ีเรียนผานมาแลวเพ่ือพัฒนาทักษะเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพ่ือเพ่ิมความชํานาญ ความแมนยําในเนื้อหาโดยคอมพิวเตอรจะนําเสนอในรูปแบบของแบบฝกหัดหรือโจทยทีละขอเพ่ือเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียนกับคําตอบท่ีถูกตอง ถาผูเรียนตอบผิดในคําตอบแรก คอมพิวเตอรจะถามในคําถามเดิม ถาครั้งท่ีสองยังตอบผิด คอมพิวเตอรจะเฉลยคําตอบ แลวจึงจะเสนอแบบฝกหัดหรือโจทยในขอถัดไปหรือถามคําถามเดิม จนกวาผูเรียนจะตอบถูก จึงจะเสนอคําถามในขอถัดไป โปรแกรมการฝกทักษะจึงเปนท่ีนิยมแพรหลายท่ีสุด เพราะเปนบทเรียนท่ีสรางงายไมมีอะไรซับซอนมากนัก

2. การจําลองสถานการณ (Simulation) เปนการจําลองสถานการณใหใกลเคียงกับสถานการณจริงใหนักเรียนศึกษาอยางใกลชิด เปดโอกาสใหผูเรียนไดใชทักษะในการตัดสินใจแบบตางๆ และเห็นผลของการตัดสินใจนั้น โปรแกรมประเภทนี้ มักจะใชในการฝกปฏิบัติ สิ่งท่ีไมอาจฝกดวยของจริง เชน การทดลองท่ีเปนอันตรายหรือปรากฏการณธรรมชาติท่ีไมเกิดข้ึนบอยนัก การเสนอสถานการณจําลองของระบบสุริยะจักรวาลมีดาวเคราะหอะไรบางท่ีโคจรรอบดวงอาทิตยในโปรแกรมนี้ จะมีการหมุนรอบตัวเองของดาวเคราะหและดวงอาทิตยดวย จึงเหมาะสําหรับการสอนเนื้อหาท่ีศึกษาจากของจริงโดยตรงเปนไปไดยากสิ้นเปลืองคาใชจาย หรือเปนอันตราย

3. การสอนแบบเนื้อหา (Tutorial) มีลักษณะคลายบทเรียนโปรแกรมท่ีมีท้ังคําอธิบายและคําถามใหเลือกตอบไดในขณะเรียน ซ่ึงคําถามอาจเปนในรูปแบบของแบบเลือกตอบ หรือเติมคํา หรือแบบถูกผิด และใหผลยอนกลับสําหรับผูเรียนไดทันที โปรแกรมประเภทนี้สวนมากใชสอนในเนื้อหาท่ีเก่ียวของกับกฎเกณฑหรือมโนทัศน (Concept) ใหมๆ เปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีใชสอนแทนครูเฉพาะในเนื้อหาบางตอน โดยเสนอเนื้อหาความรูเปนเนื้อหายอยๆ แกผูเรียน นักเรียนจะไดเรียนเนื้อหาท่ีมีคําถามแทรกอยูเปนระยะๆ โดยนักเรียนจะตอบไปตามโปรแกรมท่ีตั้งไว นอกจากนี้ นักเรยีนยงัสามารถตั้งคําถามท่ีเก่ียวของกับเนื้อหาท่ีเรียนอยูโดยโปรแกรมบทเรียนจะตอบคําถามนั้นๆ และประเมินคําตอบของนักเรียนท่ีบันทึกไวในการเสนอเนื้อหาบทเรียนใหมนั้นข้ึนอยูกับวาคําตอบของนักเรียนวา มีความรูความเขาใจเพียงใด ขอดีของโปรแกรมนี้ คือ ผูเรียนสามารถเลือกเรียนเรื่องท่ีตนถนัด และตามความสามารถของผูเรียน เพราะลักษณะของบทเรียนจะแยกออกเปนตอนยอยๆ

4. การทดสอบ (Testing) เปนการนําเอาคอมพิวเตอรมาชวยในการทดสอบ โดยใหผูเรียนทําการสอบแบบมีปฏิสัมพันธกับคอมพิวเตอรเพ่ือใชในการวัดผลการเรียนการสอน ซ่ึงทําใหผูเรียนรูสึกสนุกสนานตื่นเตน และนาสนใจ โดยคอมพิวเตอรจะเสนอคําถามทีละขอซ่ึงผูเรียนสามารถเลือกตอบคําถามขอใดกอนหลังก็ได และทายท่ีสุดโปรแกรมคอมพิวเตอรจะตัดสินคําตอบท้ังหมดใหกับผูเรียน แจงผลคะแนนและจัดลําดับใหทราบทันที อีกท้ังยังสามารถบันทึกผลคะแนนเพ่ือใหทราบความกาวหนาอีกดวย ซ่ึงกําลังไดรับความนิยมอยางมาก

20

5. เกมเพ่ือการสอน (Instructional Game) เปนการใชเกมเพ่ือการสอนท่ีกําลังเปนท่ีนิยมอยูมาก เปนสิ่งท่ีชวยเสริมการเรียนรู กระตุนใหผูเรียนเกิดความอยากเรียนผูเรียนจึงไดรับความรูทักษะ และความสนุกสนานไปในตัว กระตุนใหผูเรียนเกิดความอยากเรียน ผูเรียนจึงไดรับความรู ทักษะและความสนุกสนานไปในตัว บทเรียนแบบนี้มีคุณประโยชนคลายกับแบบสถานการณจําลองตรงท่ีผูเรียนไดพัฒนาทักษะและการแกปญหาเฉพาะหนา และปญหาท่ีเสนอใหท้ังหมดบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนี้เปนบทเรียนและเครื่องมือประกอบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพซ่ึงใหความตื่นเตนสนุกสนานแตมีจุดมุงหมายชัดเจนในการเรียนรู

6. การแกปญหา (Problem-Solving) เปนการฝกใหผูเรียนไดรูจักคิด รูจักการตัดสินใจ โดยมีการกําหนดเกณฑใหผูเรียนเรียนไปตามเกณฑนั้น โปรแกรมการแกปญหานี้ แบงไดเปน 2 ชนิด คือ โปรแกรมท่ีใหผูเรียนเขียนเอง และโปรแกรมท่ีมีผูเขียนไวแลวเพ่ีอชวยผูเรียนในการแกปญหา โปรแกรมท่ีผูเรียนเขียนเองจะกําหนดปญหาและเขียนโปรแกรมสําหรับการแกปญหานั้นโดยท่ีคอมพิวเตอรจะชวยในการคิดคํานวณและหาคําตอบท่ีถูกตองได แตถาเปนการแกปญหาโดยใชโปรแกรมท่ีมีผูเขียนไวแลว คอมพิวเตอรจะทําการคํานวณขณะท่ีผูเรียนเปนผูจัดการกับปญหาเหลานั้น

ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สามารถจะแบงออกเปนประเภทตางๆ รวม 8 ประเภท ดังนี้ ถนอมพร เลาจรัสแสง อางถึงใน สกลศักดิ์ บุญไชโย (2546, น.13-16)

1. แบบการสอน (Instruction) เพ่ือใชสอนความรูใหมแทนครู ซ่ึงจะเปนการพัฒนาแบบ Self Study Package เปนรูปแบบของการศึกษาดวยตนเองจะเปนชุดการสอนท่ีจะตองใชความระมัดระวัง และทักษะในการพัฒนาท่ีสูงมาก เพราะจะยากเปนทวีคูณกวาการพัฒนาชุดการสอนแบบโมดูล หรือแบบโปรแกรมท่ีเปนตํารา ซ่ึงคาดวาจะมีบทบาทมากในอนาคตอันใกลนี้ โดยเฉพาะ IMMCAI Internet

2. แบบสอนซอมเสริมหรือทบทวน (Tutorial) เปนบทเรียนเพ่ือทบทวนการเรียนจากหองเรียนหรือจากผูสอน โดยวิธีใดๆ จากทางไกลหรือใกลก็ตาม การเรียนมักจะไมใชความรูใหมหากแตจะเปนความรูท่ีไดเคยรับมาแลวในรูปแบบอ่ืนๆ แลวใชบทเรียนซอมเสริมเพ่ือตอกย้ําความเขาใจท่ีถูกตอง และสมบูรณดีข้ึน สามารถใชท้ังในหองเรียนและนอกหองเรียน

3. แบบฝกหัด (Drill and Practice) และควรจะมีการติดตามผล (Follow up) เพ่ือประโยชนในการพัฒนาครั้งตอๆ ไป จากข้ันตอนนําไปฝกปฏิบัติ เพ่ือใหเสริมการปฏิบัติหรือเสริมทักษะการกระทําบางอยางใหเขาใจยิ่งข้ึน และเกิดทักษะท่ีตองการได เปนการเสริมประสิทธิผลการเรียนของผูเรียนสามารถใชในหองเรียนเสริมขณะท่ีสอนหรือนอกหองเรียนท่ีใดเวลาใดก็ไดสามารถใชฝกหัดท้ังทางดานทักษะการแกปญหาทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร รวมท้ังทางชางอุตสาหกรรมดวย

4. แบบสรางสถานการณจําลอง (Simulation) เพ่ือใชสําหรับการเรียนรูหรือทดลองจากสภาพการณจําลองจากสถานการณจริง ซ่ึงอาจจะหาไมไดหรืออยูไกลไมสามารถใชสาธิต

21

ประกอบการสอนใชเสริมการสอนในหองเรียน หรือใชซอมเสริมภายหลังการเรียนนอกหองเรียนท่ีใด เวลาใด ก็ได

5. แบบสรางเปนเกม (Games) การเรียนรูบางเรื่องบางระดับบางครั้งการพัฒนาเปนลักษณะเกมสามารถเสริมการเรียนรูไดดีกวาการใชเกมเพ่ือการเรียนรู สามารถใชสําหรับเรียนรู ความรูใหมหรือเสริมการเรียนในหองเรียนก็ได รวมท้ังสามารถสอนทดแทนครูในบางเรื่องไดดวยจะเปนการเรียนรูจากความเพลิดเพลินเหมาะสําหรับผูเรียนท่ีมีระยะเวลาความสนใจสั้น เชน เด็ก หรือในภาวะสภาพแวดลอมท่ีไมอํานวย เปนตน

6. แบบการแกปญหา (Problem Solving) เปนการฝกการคิดการตัดสินใจ สามารถใชกับวิชาการตางๆ ท่ีตองการใหสามารถคิดแกปญหา ใชเพ่ือเสริมการสอนในหองเรียนหรือใชในการฝกท่ัวๆ ไป นอกหองเรียนไดเปนสื่อสําหรับการฝกผูบริหารไดดี

7. แบบทดสอบ (Test) เพ่ือใชสําหรับตรวจวัดความสามารถของผูเรียนสามารถใชประกอบการสอนในหองเรียน หรือใชตามความตองการของครู หรือของผูเรียนเอง รวมท้ังสามารถใชนอกหองเรียนและสามารถใชวัดความสามารถของตนเองไดดวย

8. แบบสรางสถานการณ (Discovery) เพ่ือใหคนพบเปนการจัดทําเพ่ือใหผูเรียนสามารถเรียนรูจากประสบการณของตนเอง โดยการลองผิดลองถูกหรือเปนการจัดระบบนํารอง เพ่ือชี้นําสูการเรียนรูสามารถใชเรียนรูความรูใหม หรือเปนการทบทวนความรูเดิม และใชประกอบการสอนในหองเรียนหรือการเรียนนอกหองเรียน สถานท่ีใด เวลาใด ก็ได

ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541, น.64) ไดแบงประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปน 5 ประเภทดวยกันคือ

1. คอมพิวเตอรชวยสอนประเภทติวเตอร คือบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนซ่ึงนําเสนอเนื้อหาแกผู เรียน ไมวาจะเปนเนื้อหาใหมหรือการทบทวนเนื้อหาเดิมก็ตาม สวนใหญคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทติวเตอรจะมีแบบทดสอบหรือแบบฝกหัดเพ่ือทดสอบความเขาใจของผูเรียนอยูดวย อยางไรก็ตามผูเรียนมีอิสระพอท่ีจะเลือกตัดสินใจวาจะทําแบบทดสอบหรือแบบฝกหัดหรือไมอยางไร หรือจะเลือกเรียนเนื้อหาสวนไหน เรียงลําดับในรูปแบบใด เพราะการเรียนโดยคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นผูเรียนจะสามารถควบคุมการเรียนของตนไดตามความตองการของตนเอง

ภาพท่ี 1 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทติวเตอร ท่ีมา: ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2541, น.64

การนําเขาสบทเรียน

การนําเสนอบทเรียน

แบบฝกหดั / แบบทดสอบ

การใหผลยอนกลับ

การจบบทเรียน

22

2. คอมพิวเตอรชวยสอนประเภทแบบฝกหัด คือ บทเรียนทางคอมพิวเตอรซ่ึงมุงเนนใหผูใชทําแบบฝกหัดจนสามารถเขาใจเนื้อหาในบทเรียนนั้นๆได คอมพิวเตอรชวยสอนประเภทแบบฝกหัดเปนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทท่ีไดรับความนิยมมากโดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษา ท้ังนี้เนื่องจากเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนออน หรือเรียนไมทันคนอ่ืนๆไดมีโอกาสทําความเขาใจบทเรียนสําคัญๆ ไดโดยท่ีครูผูสอนไมตองเสียเวลาในชั้นเรียนอธิบายเนื้อหาเดิมซํ้าแลวซํ้าอีก

ภาพท่ี 2 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทแบบฝกหัด

ท่ีมา: ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2541, น.64

3. คอมพิวเตอรชวยสอนประเภทการจําลอง คือ บทเรียนทางคอมพิวเตอรท่ีมีการนําเสนอบทเรียนในรูปของการจําลองแบบ (Simulation) โดยการจําลองสถานการณท่ีเหมือนจริงข้ึนและบังคับใหผูเรียนตองตัดสินใจแกปญหา (Problem-solving) ในตัวบทเรียนจะมีคําแนะนําเพ่ือชวยในการตัดสินใจของผูเรียนและแสดงผลลัพธในการตัดสินใจนั้นๆ ขอดีของการใชคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทการจําลอง คือ การลดคาใชจายและการลดอันตรายอันอาจเกิดข้ึนจากการเรียนรูท่ีเกิดข้ึนในสถานการณจริง

การนําเขาสูบทเรียน

การนําเสนอบทเรียน

แบบฝกหดั / แบบทดสอบ

การใหผลยอนกลับ

การจบบทเรียน

การนําเขาสูบทเรียน

การนําเสนอสถานการณ

การตัดสินใจ

ผลยอนกลับ / ผลลัพธ จากการตัดสินใจ

การจบบทเรียน

ภาพท่ี 3 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทการจําลอง ท่ีมา: ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2541, น.64

23

4. คอมพิวเตอรชวยสอนประเภทเกม คือ บทเรียนทางคอมพิวเตอรท่ีทําใหผูใชมีความสนุกสนานเพลิดเพลิน จนลืมไปวากําลังเรียนอยู เกมคอมพิวเตอรทางการศึกษาเปนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทหนึ่งท่ีสําคัญ เนื่องจากเปนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีกระตุนใหเกิดความสนใจในการเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทนี้นิยมใชกับเด็กตั้งแตระดับประถมศึกษาไปจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นอกจากนี้ยังสามารถนํามาใชกับผูเรยีนในระดับอุดมศึกษาเพ่ือเปนการปูทางใหผูเรียน เกิดความรูสึกท่ีดีกับการเรียนทางคอมพิวเตอรไดอีกดวย

ภาพท่ี 4 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทเกม ท่ีมา: ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2541, น.64

5. คอมพิวเตอรชวยสอนประเภทแบบทดสอบ คือ การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใน

การสรางแบบทดสอบ การจัดการการสอบ การตรวจใหคะแนน การคํานวณผลสอบ ขอดีของการใชคอมพิวเตอรประเภทแบบทดสอบคือ การท่ีผูเรียนไดรับผลปอนกลับโดยทันที (Immediate feedback)ซ่ึงเปนขอจํากัดของการทดสอบท่ีใชกันอยู ท่ัวๆไป นอกจากนี้การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใน การคํานวณผลสอบก็ยังมีความแมนยําและรวดเร็วอีกดวย

การนําเขาสูบทเรียน

การนําเสนอสถานการณ

การตัดสินใจของผูเลน การตัดสินใจของฝายตรงขาม

การยอนกลับ / ผลลัพธจาก การตัดสินใจ

การจบบทเรียน

24

ภาพท่ี 5 โครงสรางท่ัวไปและการสืบไปในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทแบบทดสอบ ท่ีมา: ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2541, น.64

กิดานันท มลิทอง (2543, น.245 - 248) ไดแบงประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร

ชวยสอนไวดังนี้ 1. การสอน (Tutorial Instruction) บทเรียนในแบบการสอนจะเปนโปรแกรมท่ี

เสนอเนื้อหาความรูเปนเนื้อหายอยๆ แกผูเรียนในรูปแบบของขอความ ภาพ เสียง หรือทุกรูปแบบรวมกัน แลวใหผูเรียนตอบคําถาม เม่ือผูเรียนไดคําตอบแลวคําตอบนั้นจะไดรับการวิเคราะหเพ่ือใหขอมูลปอนกลับทันที แตถาผูเรียนตอบคําถามนั้นซํ้าและยังผิดอีกก็จะมีการใหเนื้อหาเพ่ือทบทวนใหมจนกวาจะตอบถูก แลวจึงใหตัดสินใจวาจะยังคงเรียนเนื้อหาในบทเรียนนั้นอีก หรือจะเรียนในบทใหมตอไป บทเรียนในการสอนแบบนี้นับวาเปนบทเรียนข้ันพ้ืนฐานของการสอน ใชคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีเสนอบทเรียน ในรูปแบบของบทเรียนโปรแกรมแบบสาขา โดยสามารถใชสอนไดในแทบทุกสาขาวิชานับต้ังแตมนุษยศาสตรไปจนถึงวิทยาศาสตร และเปนบทเรียนท่ีเหมาะสมในการเสนอเนื้อหาขอมูลท่ีเก่ียวกับขอเท็จจริง เพ่ือการเรียนรูทางดานกฎเกณฑหรือทางดานวิธีการแกปญหาตางๆ

ภาพท่ี 6 รูปแบบโปรแกรมบทเรียนเพ่ือการสอน ท่ีมา: กิดานันท มลิทอง, 2543, น.245-248

การนําเขาสูบทเรียน

การเลือกขอคําถาม

การนําเสนอขอคําถาม

การใหผลปอนกลับ

การจบบทเรียน

บทนํา เสนอเน้ือหา คําถามและคําตอบ

จบบทเรยีน ใหขอมูลปอนกลับหรือแกปญหา

ตัดสินคําตอบ

25

2. การฝกหัด (Drills and Practice) บทเรียนในการฝกหัดเปนโปรแกรมท่ีไมมีการ

เสนอเนื้อหาความรูแกผูเรียนกอน แตจะมีการใหคําถามหรือปญหาท่ีไดคัดเลือกมาจากการสุมหรือออกแบบมาโดยเฉพาะ โดยการนําเสนอขอคําถามหรือปญหานั้นซํ้าแลวซํ้าเลา เพ่ือใหผูเรียนตอบแลวมีการใหคําตอบท่ีถูกตองเพ่ือการตรวจสอบยืนยันแกไข และพรอมกับใหคําถามหรือปญหาตอไปอีกจนกวาผูเรียนจะสามารถตอบคําถามหรือแกปญหานั้นจนถึงระดับเปนท่ีนาพอใจ ดังนั้น ในการใชบทเรียนคอมพิวเตอรเพ่ือการฝกหัดนี้ผูเรียนจึงจําเปนตองมีความคิดรวบยอดและมีความรูความเขาใจในเรื่องราวและกฎเกณฑเก่ียวกับเรื่องนั้นๆ เปนอยางดีมากอนแลวจึงจะสามารถตอบคําถามหรือแกปญหาได โปรแกรมบทเรียนในการฝกหัดนี้จะสามารถใชไดในหลายสาขาวิชา ท้ังทางดานคณิตศาสตร ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วิทยาศาสตร การเรียนคําศัพท และการแปลภาษา เปนตน

ภาพท่ี 7 รูปแบบโปรแกรมบทเรียนการฝกหัด ท่ีมา: กิดานันท มลิทอง, 2543, น.245-248

3. การจําลอง (Simulation) การสรางโปรแกรมบทเรียนท่ีเปนการจําลองเพ่ือใชใน

การเรียนการสอน ซ่ึงจําลองความเปนจริงโดยตัดรายละเอียดตางๆ หรือนํากิจกรรมท่ีใกลเคียงกับความเปนจริงมาใหผูเรียนไดศึกษานั้นเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนไดพบเห็นภาพจําลองของเหตุการณ เพ่ือการฝกทักษะและการเรียนรูไดโดยไมตองเสี่ยงภัยหรือคาใชจายมากนัก รูปแบบของโปรแกรมบทเรียนการจําลองอาจจะประกอบดวยการเสนอความรูขอมูล การแนะนําผูเรียนเก่ียวกับทักษะ การฝกปฏิบัติเพ่ือเพ่ิมพูนความรูความชํานาญและความคลองแคลว และการใหเขาถึงซ่ึงการเรียนรูตางๆในบทเรียนจะประกอบดวยสิ่งเหลานี้ท้ังหมดหรือมีเพียงอยางใดอยางหนึ่งก็ได ในโปรแกรมบทเรียนการจําลองนี้จะมีโปรแกรมบทเรียนยอยแทรกอยูดวย ไดแก โปรแกรมการสาธิต โปรแกรมนี้มิใชเปนการสอนเหมือนกับโปรแกรมการสอนแบบธรรมดา ซ่ึงเปนการเสนอเนื้อหาความรูแลวจึงใหผูเรียนทํากิจกรรม แตโปรแกรมการสาธิตเปนเพียงการแสดงใหผูเรียนไดชมเทานั้น เชน ในการเสนอการจําลองของระบบสุริยะจักรวาลวามีดาวนพเคราะหอะไรบางท่ีโคจรรอบดวงอาทิตย ในโปรแกรมนี้อาจมีการสาธิตแสดงการหมุนรอบตัวเองของดาวนพเคราะหเหลานั้นและการหมุนรอบดวงอาทิตยใหชมดวยดังนี้ เปนตน

บทนํา เลือกคําถามหรือ

ปญหา คําถามและคําตอบ

จบบทเรยีน ใหขอมูลปอนกลับ

ตัดสินคําตอบ

26

ภาพท่ี 8 รูปแบบโปรแกรมบทเรียนการจําลอง ท่ีมา: กิดานันท มลิทอง, 2543, น.245-248

4. เกมเพ่ือการสอน (Instructional Games) การใชเกมเพ่ือการสอนกําลังเปนท่ี

นิยมกันมาก เนื่องจากเปนสิ่งท่ีสามารถกระตุนผูเรียนใหเกิดความอยากเรียนรูไดโดยงาย เราสามารถใชเกมในการสอนและเปนสื่อท่ีจะใหความรูแกผูเรียนไดเชนกันในเรื่องของกฎเกณฑแบบแผนของระบบ กระบวนการ ทัศนคติตลอดจนทักษะตางๆ นอกจากนี้การใชเกมยังชวยเพ่ิมบรรยากาศในการเรียนรู ใหดีข้ึน และชวยมิใหผูเรียนเกิดอาการเหมอลอยหรือฝนกลางวัน ซ่ึงเปนอุปสรรคในการเรียน เนื่องจากมีการแขงขันกันจึงทําใหผูเรียนตองมีการตื่นตัวอยูเสมอ รูปแบบโปรมแกรมบทเรียนของเกมเพ่ือการสอนคลายคลึงกับโปรแกรมบทเรียนการจําลอง แตแตกตางกันโดยการเพ่ิมบทบาทของผูแขงขันไปดวย

ภาพท่ี 9 รูปแบบโปรแกรมเกมเพ่ือการสอน ท่ีมา: กิดานันท มลิทอง, 2543, น.245-248

5. การคนพบ (Discovery) การคนพบเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถเรียนรูจากประสบการณของตนเองใหมากท่ีสุด โดยการเสนอปญหาใหผูเรียนแกไขดวยการลองผิดลองถูก

บทนํา เสนอสถานการณจําลอง

คําถามและคําตอบ

จบบทเรยีน ใหขอมูลปอนกลับหรือแกปญหา

ตัดสินคําตอบ

บทนํา เสนอสถานการณและเกม

การกระทําทีต่องการ

จบบทเรยีน ปรับระบบ

การกระทําของผูเรยีน

การกระทําของผูเรยีน

27

หรือวิธีการจัดระบบเขามาชวย โปรแกรมคอมพิวเตอรจะใหขอมูลแกผูเรียนเพ่ือชวยในการคนพบนั้นจนกวาจะไดขอสรุปท่ีดีท่ีสุด ตัวอยางเชน นักขายท่ีมีความสนใจจะขายสินคาเพ่ือเอาชนะคูแขง โปรแกรมจะจัดใหมีสินคามากมายหลายประเภทเพ่ือใหนักขายทดลองจัดแสดงเพ่ือดึงดูดความสนใจของลูกคา และเลือกวิธีการดูวาจะขายสินคาประเภทใดดวยวิธีการใดจึงจะทําใหลูกคาซ้ือสินคาของตน เพ่ือนําไปสูขอสรุปวาควรจะมีวิธีการขายอยางไรท่ีจะสามารถเอาชนะคูแขงได

6. การแกปญหา (Problem Solving) เปนการใหผูเรียนฝกการคิด การตัดสินใจ โดยมีการกําหนดเกณฑใหแลวใหผูเรียนพิจารณาไปตามเกณฑนั้น โปรแกรมเพ่ือการแกปญหาแบงไดเปน 2 ชนิด คือ โปรแกรมท่ีใหผูเรียนเขียนเอง และโปรแกรมท่ีมีผูเขียนไวแลวเพ่ือชวยผูเรียนในการแกปญหาถาเปนโปรแกรมท่ีผูเรียนเขียนเอง ผูเรียนจะเปนผูกําหนดปญหาและเขียนโปรแกรมสําหรับแกปญหานั้น โดยท่ีคอมพิวเตอรจะชวยในการคิดคํานวณและหาคําตอบท่ีถูกตองให ในกรณีนี้คอมพิวเตอรจึงเปนเครื่องชวยเพ่ือใหผูเรียนบรรลุถึงทักษะของการแกปญหา โดยการคํานวณขอมูลและจัดการสิ่งท่ียุงยากซับซอนให แตถาเปนการแกปญหาโดยใชโปรแกรมท่ีมีผูเขียนไวแลวคอมพิวเตอรจะทําการคํานวณในขณะท่ีผูเรียนเปนผูจัดการกับปญหาเหลานั้นเอง เชน ในการหาพ้ืนท่ีของท่ีดินแปลงหนึ่ง ปญหามิไดอยูท่ีวาผูเรียนจะคํานวณหาพ้ืนท่ีไดเทาไรแตข้ึนอยูกับวาจะจัดการหาพ้ืนท่ีไดอยางไรเสียกอนดังนี้ เปนตน

7. การทดสอบ (Test) การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพ่ือการทดสอบมิใชเปนการใชเพียงเพ่ือปรับปรุงคุณภาพของแบบทดสอบ เพ่ือวัดความรูของผูเรียนเทานั้นแตยังชวยใหผูสอนมีความรูสึกเปนอิสระจากการถูกผูกมัดทางดานกฎเกณฑตางๆ เก่ียวกับการทดสอบไดอีกดวย เนื่องจากโปรแกรมคอมพิวเตอรจะสามารถชวยเปลี่ยนแปลงการทดสอบจากแบบแผนเกาๆ ของปรนัย หรือคําถามจากบทเรียนมาเปนการทดสอบแบบมีปฏิสัมพันธระหวางคอมพิวเตอรกับผูเรียนหรือผูท่ีไดรับการทดสอบซ่ึงเปนท่ีนาสนุกและนาสนใจกวา พรอมกันนั้นก็อาจเปนการสะทอนถึงความสามารถของผูเรียนท่ีจะนําความรูตางๆมาใชในการตอบไดอีกดวย

รัชพล คชชารุงโรจน (2546, น.2) แบงประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปน 6 ประเภทดังนี้

1. การสอนเนื้อหาโปรแกรมนี้จะนําเสนอเนื้อหาความรูเปนบทความ ภาพเสียงรวมกัน แลวใหผูเรียนตอบคําถาม

2. แบบฝกปฏิบัติ มุงปฏิบัติฝกฝนทักษะความสามารถตางๆมีการคัดเลือกคําถาม ปญหา ไมมีการกําหนดเนื้อหามาใหใชสําหรับครูสอนจบแลว

3. สถานการณจําลอง เปนโปรแกรมท่ีนํากิจกรรมใกลเคียงความจริงใหผูเรียนไดเรียนในสภาพเหมือนกับสภาพจริงๆ

4. เกมการศึกษา เปนโปรแกรมท่ีนําแนวคิดการแขงขันทางเกมการศึกษา 5. การทดสอบ การเปลี่ยนแปลงจากการสอบจากระบบเดิมท่ีเปนปรนัยมาเปนการ

ไดตอบทางคอมพิวเตอร 6. การแกปญหา เปนโปรแกรมท่ีตองใชคอมพิวเตอรแกปญหาโดยมีเง่ือนไข

กฎเกณฑ มีการตัดสินใจ

28

จากการศึกษาประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนขางตน พอสรุปไดวา บทเรียนคอมพิวเตอร สามารถแบงไดเปนประเภทตางๆ ดังนี้ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทติวเตอร บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทแบบทดสอบ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทเกม บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทสถานการณจําลอง และบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทแบบฝกหัด บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแตละประเภทนั้นก็มีรูปแบบท่ีตางกันออกไป ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไมจําเปนตองสรางโดยยึดประเภทใดประเภทหนึ่งเสมอไป ผูพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอาจจะนําลักษณะท่ีดีของแตละประเภทมาผสมผสานกัน เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพ ตรงตามวัตถุประสงคในการจัดการเรียนการสอน กอใหเกิดประโยชนและพัฒนาศักยภาพของผูเรียนมากท่ีสุด

ท้ังนี้ผูวิจัยไดนํารูปแบบการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของ กิดานันท มลิทอง(2543, น.245-248) คือ การสอน (Tutorial Instruction) ซ่ึงเปนบทเรียนในแบบการสอนจะเปนโปรแกรมท่ีเสนอเนื้อหาความรูเปนเนื้อหายอยๆ แกผูเรียนในรูปแบบของขอความ ภาพ เสียง หรือทุกรูปแบบรวมกันแลวใหผูเรียนตอบคําถาม เม่ือผูเรียนไดคําตอบแลวคําตอบนั้นจะไดรับการวิเคราะหเพ่ือใหขอมูลปอนกลับทันที แตถาผูเรียนตอบคําถามนั้นซํ้าและยังผิดอีกก็จะมีการใหเนื้อหาเพ่ือทบทวนใหมจนกวาจะตอบถูก แลวจึงใหตัดสินใจวาจะยังคงเรียนเนื้อหาในบทเรียนนั้นอีก หรือจะเรียนในบทใหมตอไป บทเรียนในการสอนแบบนี้นับวาเปนบทเรียนข้ันพ้ืนฐานของการสอน ใชคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีเสนอบทเรียน ในรูปแบบของบทเรียนโปรแกรมแบบสาขา โดยสามารถใชสอนไดในแทบทุกสาขาวิชานับตั้งแตมนุษยศาสตรไปจนถึงวิทยาศาสตร และเปนบทเรียนท่ีเหมาะสมในการเสนอเนื้อหาขอมูลท่ีเก่ียวกับขอเท็จจริง เพ่ือการเรียนรูทางดานกฎเกณฑหรือทางดานวิธีการแกปญหาตางๆ มาใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในครั้งนี้

องคประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

โดยท่ัวไป บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จะมีองคประกอบหลัก ท่ีคลายคลึงกัน คือ ประกอบไปดวย ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ วุฒิชัย ประสารสอย (2543, น.21)

ขอความ อาจเปนตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายเวนวรรค ท่ีมีแบบ (Style) หลากหลาย มีความแตกตางกันท้ังตัวพิมพ (Font) ขนาด (Size) และสี (Color) รูปแบบของตัวอักษรแตละแบบ ยังสามารถสงเสริมหรือเปนขอจํากัดในการแสดงขอความได ดังนั้น การนําเสนอเนื้อหายังไมสามารถยึดติดกับรูปแบบของตัวอักษรใดๆ เพราะตัวอักษรแบบหนึ่งอาจเหมาะสมในการใชเปนหัวเรื่อง ในขณะท่ีอีกแบบหนึ่งสามารถใชอธิบายเนื้อหาไดอยางดีเพราะมีความชัดเจน อานงายไมตองใชสายตามาก สวนขนาดของตัวอักษร จะสามารถเลือกใชเพ่ือเขียนหัวเรื่องและเนื้อหาใหมองเห็นไดอยางชัดเจน

เสียง เสียงท่ีเราใช กับเครื่องคอมพิวเตอร มี 3 ชนิด คือ เสียงพูด (Voice) เสียงดนตรี (Music) และเสียงประกอบ (Sound Effect) เสียงพูดอาจเปนเสียงการบรรยายหรือเสียงจากการสนทนาท่ีใชในบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สําหรับเสียงดนตรี จะเปนทวงทํานองของเสียง

29

เครื่องดนตรีเครื่องดนตรีตางๆ และเสียงประกอบ ก็คือ เสียงพิเศษท่ีเพ่ิมเติมเขามา เชน เสียงรถยนต เสียงรองของแมว เปนตน ในการเรียนรูจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนั้น ไดอาศัยเสียงชวยสรางความเขาใจแกผูเรียนไดมากยิ่งข้ึน อยางเชนเม่ือจะสอนเก่ียวกับลักษณะการวิ่งของเสือ ถาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีภาพเคลื่อนไหวของเสือพรอมกับคําบรรยายบนจอภาพ ผูเรียนจะไมสามารถใชสายตามองภาพเคลื่อนไหว และคําบรรยายไดในเวลาเดียวกัน แตถาปรับใหมีภาพเคลื่อนไหวของเสือ และใชเสียงบรรยายพรอมกับเสียงประกอบแทน ก็จะชวยใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาท่ีนําเสนอไดอยางรวดเร็วยิ่งข้ึน

ภาพนิ่ง หมายถึง ภาพถาย ภาพลายเสน ซ่ึงภาพนิ่งอาจเปนภาพขาวดําหรือสีอ่ืนๆ ก็ได อาจมี 2 มิติ หรือ 3 มิติ โดยข้ึนอยูกับความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอรท่ีใชอยู สวนขนาดของภาพนิ่ง ก็อาจมีขนาดใหญเต็มจอหรือมีขนาดเล็กกวานั้น ในบทเรียนเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจะมีภาพนิ่งเปนองคประกอบสําคัญ เพราะมนุษยไดรับอิทธิพลมาจากการรับรูดวยภาพเปนอยางดี เม่ือครูตองออกแบบบทเรียนดวยตนเอง ครูอาจใชเครื่องมือชวยวาดภาพในซอฟตแวรคอมพิวเตอรซ่ึงชวยประหยัดเวลา และไมจําเปนตองฝกตนเองใหมีความชํานาญเทากับชางศิลปก็สามารถวาดภาพได นอกจากนี้ในบางโปรแกรมยังมีภาพกราฟกใหเรียกใชไดอยางรวดเร็ว เนื่องจากกําหนดรูปพ้ืนฐาน แกไขรูปภาพ เคลื่อนยายภาพ และสําเนาภาพได แตขอจํากัดประการหนึ่งคือ ภาพนิ่งจะใชหนวยความจํามากกวาขอมูลท่ีเปนตัวอักษรหลายเทา

ภาพเคล่ือนไหว หมายถึง ชวยสงเสริมการเรียนรู ในเรื่องการเคลื่อนท่ี และเคลื่อนไหวท่ีไมสามารถอธิบายไดดวยตัวอักษรหรือภาพเพียงไมก่ีภาพ ภาพเคลื่อนไหวมีคุณลักษณะเดนท่ีชวยเราความสนใจของผูเรียนไดท้ังการเคลื่อนไหว (Animation) ท่ีเปลี่ยนตําแหนงและรูปทรงของภาพและการเคลื่อนท่ี (Moving) ท่ีเปลี่ยนเฉพาะตําแหนงหนาจอ แตไมไดเปลี่ยนรูปทรงของภาพ

การเช่ือมโยงแบบปฏิสัมพันธ หมายถึง การรับรูขอมูลเพ่ิมเติมเปนตัวอักษร โดยใชโปรแกรมเชื่อมโยง ท่ีเรียกวา Hypermedia สวนโปรแกรมเชื่อมโยงท่ีเรียกวา Hyper Graphic จะใหขอมูลอธิบายเพ่ิมเติมดวยภาพ วิธีการเชนนี้ ผูเรียนจะใชเมาสชี้แลวคลิกท่ีสวนใดสวนหนึ่งของหนาจอภาพ เชน ท่ีภาพปุม ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือบนตัวอักษร ขอมูลเพ่ิมเติม จะปรากฏใหเห็นนอกจากนี้ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ยังมีลักษณะเดนท่ี สามารถใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) เพ่ือตอบสนอง หรือมีปฏิสัมพันธ กับผูเรียนไดทันที แตผูออกแบบ และพัฒนาโปรแกรม ควรพิจารณาใหโอกาสผูเรียน ในการตอบผิดซํ้าๆ อยางเหมาะสม การใหโอกาสผูเรียนตอบผิดซํ้าๆ มากเกินไป จะทําใหผูเรียน ขาดแรงจูงใจ สวนการใหขอมูลยอนกลับ เพ่ือเสริมแรงแกผูเรียน อาจทําไดโดยใชคํากลาวชม เม่ือผูเรียนเลือกคําตอบไดถูกตอง แตควรอยูในระดับท่ีเหมาะสม เชนกัน

ข้ันตอนการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI)

ผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลข้ันตอนการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเพ่ือใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไว ดังนี้

ศิริชัย นามบุรี (2544, น.55) ไดอธิบายการผลิตสื่อ CAI โดยมีข้ันตอนการสรางดังนี้

30

ภาพท่ี 10 ข้ันตอนการสราง CAI ท่ีมา: ศิริชัย นามบุร,ี 2544, น.55

1. ข้ันการเตรียมการ (Preparation)

ข้ันตอนการเตรียมนี้ ผูออกแบบจะตองเตรียมพรอมในเรื่องของความชัดเจนในการ

กําหนดเปาหมาย และวัตถุประสงค เตรียมการโดยรวบรวมขอมูล เรียนรูเนื้อหาเพ่ือใหเกิดการสรางหรือระดมความคิด ข้ันตอนการเตรียมนี้เปนข้ันตอนท่ีสําคัญมากตอนหนึ่ง ท่ีผูออกแบบตองใชเวลาใหมาก เพราะการเตรียมพรอมในสวนนี้ จะทําใหข้ันตอนตอไปในการออกแบบเปนไปอยางตอเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

1.1 กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงค (Determine Goal Objectives) การกําหนดเปาหมายและวัตถุประสงคของบทเรียน คือการตั้งเปาหมายวาผูเรียนจะสามารถใชบทเรียนนี้

ข้ันการเตรียมการ (Preparation)

ข้ันการออกแบบบทเรียน (Design Instruction)

ข้ันการเขียนผังงาน (Flow-Chart Lesson Instruction)

ข้ันการสราง (Storyboard)

ข้ันการสราง/เขียนโปรแกรม (Program Lesson)

ข้ันการผลิตเอกสาร

ข้ันการประเมินและแกไขบทเรียน (Evaluation and Revise)

31

เพ่ือศึกษาในเรื่องใด และลักษณะใด คือเปนบทเรียนหลัก เปนบทเรียนเสริม เปนแบบฝกหัดเพ่ิมเติม หรือเปนแบบทดสอบ ฯลฯ รวมท้ังการกําหนดวัตถุประสงคในการเรียนวาเม่ือผูเรียนเรียนจบแลว จะสามารถทําอะไรไดบาง และพิจารณาครอบคลุมถึงวิธีการในการประเมินผลควบคูกันไป เชน รูปแบบคําถามหรือจํานวนขอคําถาม

1.2 รวบรวมขอมูล (Collect Resource) การรวบรวมขอมูล หมายถึง การเตรียมพรอมทางดานทรัพยากรสารสนเทศท้ังหมดท่ีเก่ียวของ ท้ังในสวนเนื้อหาการพัฒนาและออกแบบบทเรียน และสื่อในการเสนอบทเรียน ไดแก ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหารวมถึงตํารา หนังสือวารสารทางวิชาการ หนังสืออางอิง สไลด ภาพตางๆ หนังสือการออกแบบบทเรียนกระดาษสําหรับวาดสตอรี่บอรดสื่อสําหรับการทํากราฟก ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร คูมือตางๆ ท้ังของคอมพิวเตอร และของโปรแกรมชวยสรางคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีตองการใช และผูเชี่ยวชาญการสรางคอมพิวเตอรชวยสอน

1.3 เรียนรูเนื้อหา (Learn Content) ผูออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจําเปนตองเรียนรูเนื้อหาดวยการเรียนรูเนื้อหา อาจทําไดหลายลักษณะ เชน สัมภาษณผูเชี่ยวชาญ การอานหนังสือ หรือเอกสารอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวเนื่องกับเนื้อหาของบทเรียน การเขาใจเนื้อหาอยางถูกตองลึกซ้ึง ทําใหสามารถออกแบบบทเรียนในลักษณะท่ีทาทายผูเรียนในการสรางสรรคได

1.4 สรางความคิด (Generate Ideas) การสรางความคิด คือ การระดมสมองซ่ึง หมายถึงการกระตุนใหเกิดการใชความคิดสรางสรรค เพ่ือใหไดขอคิดเห็นตางๆ จํานวนมากจากทีมงานในระยะเวลาอันสั้น เพ่ือใหไดขอคิดเห็นตางๆ อันจะนํามาซ่ึงแนวคิดท่ีดี นาสนใจ

2. ข้ันตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction)

ข้ันตอนท่ี 2 เปนข้ันตอนท่ีสําคัญท่ีสุดข้ันตอนหนึ่งในการกําหนดวาบทเรียนจะออกมาในลักษณะใด

2.1 ทอนความคิด (Elimination of Ideals) หลังจากระดมสมองแลว นักออกแบบจะนําความคิดท้ังหมดมาประเมินดูวาขอคิดใดท่ีนาสนใจ การทอนความคิดเริ่มจากการนําขอคิดท่ีไมอาจปฏิบัติไดออกไป และรวบรวมความคิดท่ีนาสนใจท่ีเหลืออยูนั้นมาพิจารณาอีกครั้ง ซ่ึงในชวงการพิจารณาอีกครั้งอาจรวมไปถึงการซักถามอภิปรายถึงรายละเอียดและขัดเกลาขอคิดตางๆ

2.2 วิเคราะหงาน และแนวคิด (Task and Concept Analysis) การวิเคราะหงานเปนการวิเคราะหข้ันตอนเนื้อหาท่ีผูเรียนจะตองศึกษา จนทําใหเกิดการเรียนรูเพียงพอ สวนการวิเคราะหแนวคิด คือข้ันตอนในการวิเคราะหเนื้อหา ซ่ึงผูเรียนตองศึกษาอยางพินิจพิจารณา ท้ังนี้เพ่ือใหไดมาซ่ึงเนื้อหาท่ีเก่ียวของกับการเรียน และเนื้อหาท่ีมีความชัดเจนเทานั้น การคิดวิเคราะหเนื้อหาอยางละเอียดรวมไปถึงการนําเนื้อหาท้ังหมดท่ีเก่ียวของมาพิจารณาอยางละเอียด และจัดเนื้อหาในสิ่งท่ีไมเก่ียวของออกไป หรือท่ีทําใหผูเรียนสับสนไดงายออกไป การวิเคราะหงานและการวิเคราะหแนวคิดถือวาเปนการวิเคราะหท่ีมีความสําคัญมาก ท้ังนี้ เพ่ือหาลักษณะการเรียนรู (Principles of Learning) ท่ีเหมาะสมของเนื้อหานั้น ๆ และเพ่ือใหไดมาซ่ึงแผนงานสําหรับออกแบบบทเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ

32

2.3 การออกแบบบทเรียนข้ันแรก (Preliminary Lesson Description) ผูออกแบบจะตองนํางาน และแนวคิดท้ังหลายท่ีไดมานั้น มาผสมผสานใหกลมกลืนและออกแบบใหเปนบทเรียนมีประสิทธิภาพ โดยผสมผสานงานและแนวคิดเหลานี้ จะตองทําภายใตทฤษฎีการเรียนรูโดยวิเคราะหการเรียนการสอน ซ่ึงประกอบดวยการกําหนดประเภทของการเรียนรู ประเภทของคอมพิวเตอรชวยสอน การกําหนดข้ันตอน และทักษะท่ีจําเปน การกําหนดปจจัยหลักท่ีตองคํานึงถึงในการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนแตละประเภท และสุดทายคือ การจัดระบบความคิดเพ่ือใหไดมาซ่ึงการออกแบบลําดับ (Sequence) ของบทเรียนท่ีดีท่ีสุด ผูออกแบบควรใชเวลาในสวนนี้ใหมากท่ีสุด โดยเฉพาะอยางยิ่งในการสรางสรรคงาน หรือกิจกรรมตางๆ ของคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีผูเรียนตองมีปฏิสัมพันธดวย เพ่ือใหผูเรียนมีความสนใจตอการเรียนไดอยางสมํ่าเสมอ และตอเนื่องนอกจากนี้ตองใชเวลาใหมากในสวนของการออกแบบลําดับของการนําเสนอบทเรียน เพ่ือใหไดมาซ่ึง โครงสรางของคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีสามารถตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียนไดจริง

2.4 ประเมิน และแกไขการออกแบบ (Evaluation and Revision of the Design) การประเมินระหวางการออกแบบ เปนสิ่งท่ีมีความสําคัญมากในการออกแบบบทเรียนอยางมีระบบหลังจาก การออกแบบแลว ควรมีการประเมินโดยผูเชี่ยวชาญเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญการออกแบบ และโดยผูเรียน การประเมินนี้อาจหมายถึงการทดสอบวาผูเรียนจะสามารถบรรลุเปาหมายหรือไม การรวบรวมทรัพยากรทางดานขอมูลตางๆ มากข้ึน การหาความรู เก่ียวกับเนื้อหาเพ่ิมข้ึน การทอนความคิดออกไปอีก การปรับแก การวิเคราะหงาน หรือการเปลี่ยนประเภทของคอมพิวเตอรชวยสอน

3. ข้ันตอนการเขียนผังงาน (Flow-Chart Lesson)

ผังงานคือชุดของสัญลักษณตางๆ ซ่ึงอธิบายข้ันตอนการทํางานของโปรแกรม

เปนการนําเสนอลําดับข้ันตอนโครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และทําหนาท่ีเสนอขอมูลเก่ียวกับโปรแกรม เชน อะไรจะเกิดข้ึนเม่ือผูเรียนตอบคําถามผิด หรือเม่ือไรท่ีจะมีการจบบทเรียน

การเขียนผังงาน มีไดหลายระดับแตกตางกันไปแลวแตความละเอียดของแตละผังงาน การเขียนผังงานนั้นข้ึนอยูกับประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดวย เชน ประเภทติวเตอร ประเภทแบบฝกหัด แบบทดสอบ ควรใชผังงานในลักษณะธรรมดา ซ่ึงไมตองลงรายละเอียดโดยแสดงภาพรวม และลําดับของบทเรียนเทาท่ีจําเปน แตสําหรับบทเรียนท่ีมีความซับซอน เชน บทเรียนประเภทการจําลอง หรือประเภทเกม ควรมีผังงานใหละเอียด เพ่ือความชัดเจนโดยมีการแสดงข้ันตอน วิธี (Algorithm) การทวนซํ้าของโปรแกรม กฎ หรือกติกาของเกมอยางละเอียดดวย

4. ข้ันตอนการสราง สตอรี่บอรด (Create Storyboard)

การสรางสตอรี่บอรด เปนข้ันตอนของการนําเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนําเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนําเสนอดวยขอความ ภาพรวมท้ังสื่อในรูปแบบมัลติมีเดียลงบนกระดาษ กอนท่ีจะนําเสนอบนหนาจอคอมพิวเตอรตอไป ในข้ันนี้ควรมีการประเมินและทบทวนเสียกอน ผูมีสวนรวมในการประเมิน คือ ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ ผูเรียนท่ีอยู

33

ในกลุมเปาหมาย เพ่ือชวยในการตรวจสอบเนื้อหาท่ีอาจจะสับสนไมชัดเจน ตกหลน และเนื้อหาท่ีอาจจะยากหรืองายเกินไปสําหรับผูเรียน

5. ข้ันตอนการสราง/เขียนโปรแกรม (Program Lesson)

ข้ันตอนการสราง/เขียนโปรแกรมนี้ เปนกระบวนการเปลี่ยนสตอรี่บอรดใหกลายเปนคอมพิวเตอรชวยสอน การเขียนโปรแกรมนั้น อาจใชโปรแกรมภาษาตาง ๆ เชน เบสิก ปาสคาล หรือใชโปรแกรมชวยสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เชน Adobe flash, Authorware, Toolbook

ปจจัยหลัก ในการพิจารณาโปรแกรมชวยสรางคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีเหมาะสมนั้น ไดแก ฮารดแวร ท่ีใชลักษณะและประเภทของบทเรียนท่ีตองการสรางประสบการณของผูสราง(โปรแกรมเมอร) และดานงบประมาณ

6. ข้ันตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรียน (Design Instruction)

เอกสารประกอบบทเรียน อาจแบงไดเปน 4 ประเภท คือ คูมือการใชของผูเรียน คูมือการใชของผูสอน คูมือสําหรับแกปญหาเทคนิคตางๆ และเอกสารประกอบเพ่ิมเติมท่ัวๆไป (เชนใบงาน) ผูสอนอาจตองการขอมูลเก่ียวกับการติดต้ังโปรแกรม การเขาไปดูขอมูลผูเรียน และการใชคอมพิวเตอรชวยสอนในหลักสูตร ผูเรียนอาจตองการขอมูลในการจัดการกับบทเรียนและการสืบไปในบทเรียน คูมือปญหาเทคนิคก็มีความจําเปน หากการติดตั้งบทเรียนมีความสลับซับซอนหรือตองการใชเครื่องมือ อุปกรณอ่ืน ๆ เชน การติดต้ัง แลน เอกสารเพ่ิมเติมประกอบ อาจไดแก แผนภาพ ขอสอบ ภาพประกอบ

7. ข้ันตอนการประเมิน และแกไขบทเรียน (Evaluate and Revise)

ในชวงสุดทาย เปนการประเมินบทเรียน และเอกสารประกอบท้ังหมดโดยเฉพาะ การประเมินในสวนของการนําเสนอ และการทํางานของบทเรียน ในสวนของการนําเสนอนั้น ผูท่ีควรจะทําการประเมินคือ ผูท่ีเคยมีประสบการณในการออกแบบมากอน ในการประเมินการทํางานของบทเรียนนั้น สังเกตพฤติกรรมของผูเรียนท่ีเปนกลุมเปาหมาย ในขณะท่ีใชบทเรียนหรือสัมภาษณผูเรียนหลังการใชบทเรียน นอกจากนี้ยังอาจทดสอบความรูของผูเรียนหลังจากท่ีไดเรียน จากคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นๆ แลว ข้ันตอนนี้อาจครอบคลุมการทดสอบนํารองและประเมินจากผูเชี่ยวชาญ

จากข้ันตอนการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนพอสรุปข้ันตอนคือ ข้ันการเตรียมการ (Preparation) โดยเตรียมพรอมในเรื่องของความชัดเจนในการกําหนดเปาหมาย และวัตถุประสงค เตรียมการโดยรวบรวมขอมูล เรียนรูเนื้อหาเพ่ือใหเกิดการสรางหรือระดมความคิดข้ันตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction) เปนข้ันตอนท่ีสําคัญท่ีสุดข้ันตอนหนึ่งในการกําหนดวาบทเรียนจะออกมาในลักษณะใด ข้ันตอนการเขียนผังงาน (Flow-Chart Lesson) ผังงานคือชุดของ

34

สัญลักษณตางๆ ซ่ึงอธิบายข้ันตอนการทํางานของโปรแกรมเปนการนําเสนอลําดับข้ันตอนโครงสรางของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และทําหนาท่ีเสนอขอมูลเก่ียวกับโปรแกรม เชน อะไรจะเกิดข้ึนเม่ือผูเรียนตอบคําถามผิด หรือเม่ือไรท่ีจะมีการจบบทเรียน ข้ันตอนการสรางสตอรี่บอรด (Create Storyboard) เปนข้ันตอนของการนําเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนําเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนําเสนอดวยขอความ ภาพรวมท้ังสื่อในรูปแบบมัลติมีเดียลงบนกระดาษ กอนท่ีจะนําเสนอบนหนาจอคอมพิวเตอรตอไป ข้ันตอนการสราง/เขียนโปรแกรม (Program Lesson) เปนกระบวนการเปลี่ยนสตอรี่บอรดใหกลายเปนคอมพิวเตอรชวยสอน การเขียนโปรแกรมนั้น อาจใชโปรแกรมภาษาตาง ๆ ข้ันตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรียน (Design Instruction) คือ คูมือการใชของผูเรียน คูมือการใชของผูสอน คูมือสําหรับแกปญหาเทคนิคตางๆ และเอกสารประกอบเพ่ิมเติมท่ัวๆไป ข้ันตอนการประเมิน และแกไขบทเรียน (Evaluate and Revise) ในชวงสุดทาย เปนการประเมินบทเรียน และเอกสารประกอบท้ังหมดโดยเฉพาะการประเมินในสวนของการนําเสนอ และการทํางานของบทเรียน ในสวนของการนําเสนอนั้น ผูท่ีควรจะทําการประเมินคือ ผูท่ีเคยมีประสบการณในการออกแบบมากอน ในการประเมินการทํางานของบทเรียนนั้น สังเกตพฤติกรรมของผูเรียนท่ีเปนกลุมเปาหมาย ในขณะท่ีใชบทเรียนหรือสัมภาษณผูเรียนหลังการใชบทเรียน

ประโยชนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI)

ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541, น.12-13) ไดสรุปประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) ไดดังนี้

1. สรางแรงจูงใจในการเรียนรู 2. ดึงดูดความสนใจ โดยใชเทคนิคการนําเสนอดวยกราฟก ภาพเคลื่อนไหว แสง สี เสียง

สวยงามและเหมือนจริง 3. ชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และสามารถเขาใจเนื้อหาไดเร็ว ดวยวิธีท่ีงายๆ 4. ผูเรียนมีการโตตอบ ปฏิสัมพันธกับคอมพิวเตอร และบทเรียนมีโอกาสเลือก

ตัดสินใจ และไดรับการเสริมแรงจากการ ไดรับขอมูลยอนกลับทันที 5. ชวยใหผูเรียนมีความคงทนในการเรียนรูสูง เพราะมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมดวย

ตนเอง ซ่ึงจะเรียนรูไดจากข้ันตอนท่ีงายไปหายากตามลําดับ 6. ผูเรียนสามารถเรียนรูไดตามความสนใจ และความสามารถของตนเองบทเรียนมี

ความยืดหยุน สามารถเรียนซํ้าไดตามท่ีตองการ 7. สงเสริมใหผูเรียนมีความรับผิดชอบตอตนเอง ตองควบคุมการเรียนดวยตนเอง

มีการแกปญหา และฝกคิดอยางมีเหตุผล 8. สรางความพึงพอใจแกผูเรียน เกิดทัศนคติท่ีดีตอการเรียน 9. สามารถรับรูผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดอยางรวดเร็ว เปนการทาทายผูเรียนและ

เสริมแรงใหอยากเรียนตอ 10. ใหครูมีเวลามากข้ึนท่ีจะชวยเหลือผูเรียนในการเสริมความรู หรือชวยผูเรียนคน

อ่ืนท่ีเรียนกอน

35

11. ประหยัดเวลา และงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน โดยลดความจําเปนท่ีจะตองใชครูท่ีมีประสบการณสูง หรือเครื่องมือราคาแพง เครื่องมืออันตราย

12. ลดชองวางการเรียนรูระหวางโรงเรียนในเมือง และชนบท เพราะสามารถสงบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ไปยังโรงเรียนชนบทใหเรียนรูไดดวย

ภาษิต เครืองเนียม (2549, น.7) สรุปประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอนไดดังนี้ 1. ผูเรียนสามารถโตตอบ มีปฏิสัมพันธกับบทเรียนคอมพิวเตอรและไดรับขอมูล

ยอนกลับทันที 2. ผูเรียนสามารถเรียนซํ้าไดตามตองการ 3. สรางแรงจูงใจในการเรียนรู โดยการนําเสนอดวยกราฟก ภาพเคลื่อนไหว และ

เสียงใหความสวยงามสมจริง 4. ชวยใหผูเรียนสามารถเขาใจเนื้อหาไดเร็ว 5. ผูเรียนมีความคงทนในการเรียนรูสูง เนื่องจากไดปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเองจาก

ข้ันตอนท่ีงายไปตามลําดับ 6. สรางความพึงพอใจใหกับผูเรียนเกิดทัศนคติท่ีดีตอการเรียน 7. ชวยใหครูมีเวลามากข้ึน เพ่ิมพูนความรูดานอ่ืน ๆ 8. ลดชองวางระหวางการเรียนรูในโรงเรียนในเมืองและชนบท เพราะสามารถสง

บทเรียนไปยังโรงเรียนชนบทใหเรียนรูไดดวย 9. ประหยัดเวลาและงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน 10. สงเสริมใหผูเรียนมีความรับผิดชอบตอตนเอง แกปญหา และฝกคิดอยางมี

เหตุผล กลาวโดยสรุป การสรางและการนําเสนอดวยคอมพิวเตอรชวยสอนนั้น ผูสอนตอง

ศึกษารายละเอียด และลักษณะเฉพาะอยางของคอมพิวเตอรชวยสอนแตละรูปแบบใหดีวามีคุณลักษณะเดนในดานใด โดยคํานึงถึงจุดประสงคในการเรียนการสอนเปนหลัก รวมถึงลักษณะเนื้อหาวิชา และความพรอมของผูเรียนดวย คอมพิวเตอรชวยสอนไมสามารถสอนแทนครูไดท้ังหมดซ่ึงอาจเปนเพียงบางสวนเทานั้น อยางไรก็ตามการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนตองพัฒนาใหทันกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและเนื้อหาวิชาเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูท่ีเปนรูปธรรมใหมากท่ีสุด และประยุกตเอาเทคโนโลยีมาใช เพ่ือการศึกษาอยางเหมาะสมและคุมคา หลักจิตวิทยาเกี่ยวของกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI)

แนวความคิดดานจิตวิทยาพุทธิพิสัย ไดแก ความสนใจและการรับรูอยางถูกตอง การจดจํา ความเขาใจ ความกระตือรือรน แรงจูงใจ การควบคุมการเรียน การถายโอนการเรียนรู การตอบสนองความแตกตางรายบุคคล Alessi and Trollip (1991, น.45)

1. ความสนใจและการรับรูอยางถูกตอง (Attention and Perception)

36

การเรียนรูของมนุษยเกิดจากการท่ีมนุษยใหความสนใจสิ่งเรา (Stimuli) และรับรู(Perception) สิ่งเราตางๆ นั้นอยางถูกตอง หากมีสิ่งเราพรอมกันหลายตัวและมนุษยไมไดใหความสนใจกับตัวกระตุนท่ีถูกตองเต็มท่ี การรับรู ท่ีตองการก็ไมอาจเกิดข้ึนได (หรือเกิดข้ึนไดนอย)คอมพิวเตอรชวยสอนท่ีดีตองออกแบบใหเกิดการรับรูท่ีงายดายและเท่ียงตรงท่ีสุด การท่ีจะใหผูเรียนเกิดความสนใจกับสิ่งเราตางๆนั้นอยางถูกตอง ตองออกแบบบทเรียนโดยคํานึงถึงปจจัยตางๆ เชน รายละเอียดและความเหมือนจริงของบทเรียน การใชสื่อประสม และการใชเทคนิคพิเศษทางภาพ (Visual effects) เขามาเสริมบทเรียนเพ่ือกระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจ ไมวาจะเปนการใชภาพนิ่ง ใชเสียง ภาพเคลื่อนไหว นอกจากนี้ยังตองพิจารณาถึงการออกแบบหนาจอ การวางตําแหนงของสื่อตางๆ บนหนาจอ การเลือกชนิด และขนาดของตัวอักษร การเลือกสีท่ีใชในบทเรียนอีกดวย การรับรูในตัวกระตุนท่ีถูกตองเกิดข้ึนไดเม่ือผูเรียนใหความสนใจกับสิ่งเราท่ีถูกตอง ตลอดท้ังบทเรียนไมใชเพียงชวงแรกของบทเรียนเทานั้น ผูสรางยังตองคํานึงถึงปจจัยอ่ืนๆ ท่ีมีผลตอการรับรู ไดแก คุณลักษณะตางๆ ของผูเรียน ระดับผูเรียน ความสนใจ ความรูพ้ืนฐาน ความยากงายของบทเรียน ความคุนเคยกับคอมพิวเตอรชวยสอน ความเร็วชาของการเรียน ฯลฯ การรับรูและการใหความสนใจของผูเรียนมีความสําคัญมากจะเปนสิ่งท่ีชี้นําการออกแบบหนาจอ รูปแบบการปฏิสัมพันธและการสรางแรงจูงใจตางๆ

2. การจดจํา (Memory) สิ่งท่ีมนุษยรับรูจะถูกเก็บเอาไวและเรียกกลับมาใชภายหลัง มนุษยจะสามารถจดจํา

เรื่องนั้นๆ ไดมาก แตการท่ีจะแนใจวาสิ่งตางๆท่ีรับรูไดถูกจัดเก็บไวเปนระเบียบและพรอมท่ีจะนํามาใชภายหลังนั้นเปนสิ่งท่ียากจะควบคุม โดยเฉพาะอยางยิ่งเม่ือสิ่งท่ีรับรูนั้นมีอยูเปนจํานวนมาก ดังนั้นเทคนิคการเรียนท่ีจะชวยในการจัดเก็บหรือจดจําสิ่งตางๆ นั้นจึงเปนสิ่งจําเปน ผูสรางบทเรียนตองออกแบบบทเรียนโดยคํานึงถึงหลักเกณฑสําคัญท่ีชวยในการจดจําไดดี 2 ประการ คือ หลักในการจัดระเบียบหรือโครงสรางเนื้อหา (Organization) หลักในการทําซํ้า (Repetition) วิธีการจัดโครงสรางเนื้อหาใหเปนระเบียบและแสดงใหผูเรียนดูเปนสิ่งท่ีงายและมีประสิทธิภาพมากกวาวิธีการใหผูเรียนทําซํ้าๆ เพราะการจัดโครงสรางเนื้อหาใหเปนระเบียบจะชวยในการดึงขอมูลความรูนั้นกลับมาใชภายหลังหรือเรียกวาการระลึกได การจัดระบบเนื้อหาแบงออกเปน 3 ลักษณะคือ ลักษณะเชิงเสนตรง ลักษณะสาขา และลักษณะสื่อหลายมิติ

2.1 ลักษณะเชิงเสนตรง เปนแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมและเปนการนําเสนอเนื้อหาในลําดับท่ีตายตัว เชน ก ไป ข, ข ไป ค, และ ค ไป ง ตามลําดับไปเรื่อยๆ ซ่ึงการจัดโครงสรางเนื้อหาในลักษณะนี้จะเปนไปตามลําดับท่ีผูสอนไดพิจารณาแลววาเปนลําดับการสอนท่ีดีท่ีสุด การออกแบบบทเรียนท่ีเก่ียวกับความรูในลักษณะเชิงเสนตรง ผูออกแบบควรเลือกนําเสนอเนื้อหาในลักษณะเชิงเสนตรงนี้ใหเหมาะกับลักษณะของเนื้อหานั้น

37

ฉ ต ด ณ ญ ฌ ซ ช จ

ง ข

ภาพท่ี 11 แสดงลักษณะโครงสรางความรูเชิงเสนตรง ท่ีมา: Alessi and Trollip, 1991, น.45

2.2 ลักษณะสาขา (Branching) เปนแนวคิดทฤษฎีปญญานิยมและเปนการ

นําเสนอเนื้อหาในลักษณะท่ีแตกก่ิงกานสาขาออกไป จากจุดหนึ่งแตกก่ิงกานสาขาออกไปเปนจุดยอยจากจุดยอยแตละจุดก็แตกออกไปเปนจุดยอยๆ ไปอีกเรื่อยๆ การจัดโครงสรางเนื้อหาในลักษณะสาขานี้เหมาะสมกับความรูในลักษณะเปนการอธิบายและความรูลักษณะเปนเง่ือนไข ซ่ึงเปนความรูประเภทท่ีไมตองการลําดับการเรียนรูท่ีตายตัว การจัดระเบียบเนื้อหาในลักษณะสาขาเกิดจากแนวคิดเก่ียวกับความแตกตางภายในมนุษย จะทําใหผูเรียนมีอิสระในการควบคุมการเรียนเลือกลําดับการนําเสนอเนื้อหา แบบฝกหัด แบบทดสอบ ตามความสามารถความสนใจของตน

ภาพท่ี 12 แสดงลักษณะโครงสรางเนื้อหาแบบสาขา ท่ีมา: Alessi and Trollip, 1991, น.45

2.3 ลักษณะสื่อหลายมิติ (Hypertext or Hypermedia) เปนแนวคิดท่ีเกิดจากความเชื่อเก่ียวกับทฤษฎีความยืดหยุนทางปญญา เชื่อวาความรูแตละองคความรูนั้นมีโครงสรางท่ีแนชัดและสลับซับซอนมากนอยแตกตางกันไป และทฤษฎีโครงสรางความรู ซ่ึงเชื่อวาโครงสรางภายในของความรูท่ีมนุษยมีลักษณะเปนโหมดหรือกลุมท่ีมีการเชื่อมโยงกันอยู และโหมดขอมูลความรูนี้จะนําไปสูการรับรูขอมูล (Perception) โดยการสรางความหมายดวยการถายโอนความรูใหมเขากับความรูเดิมภายในกรอบความรูเดิมท่ีมีอยูการจัดโครงสรางขอมูลในลักษณะสื่อหลายมิติเปนการวางระเบียบเนื้อหาแบบใยแมงมุม ซ่ึงแสดงใหเห็นโครงสรางความสัมพันธท่ีสลับซับซอน(Crossing

38

Relationship) เชื่อมโยงกันอยู อาจเปนโครงสรางหลักโดยรวมหรือเปนเพียงโครงสรางภายใน ซ่ึงมีโครงสรางหลักภายนอกในลักษณะของเชิงเสนตรงหรือสาขาก็ได ก ข ค ง

จ ฉ ช ซ ฌ ญ ณ ด ต

ภาพท่ี 13 แสดงลักษณะโครงสรางเนื้อหาภายในแบบสื่อหลายมิติ

ท่ีมา: Alessi and Trollip, 1991, น.45

นอกจากการจัดระเบียบเนื้อหาในลักษณะตางๆ กันแลว การใหผูเรียนมีโอกาสฝกปฏิบัติซํ้าๆ (Repetition) ถือวาเปนอีกวิธีหนึ่งท่ีชวยในการจดจําไดดี การฝกปฏิบัติซํ้าๆนั้นเหมาะสําหรับเนื้อหาความรูซ่ึงเราไมสามารถจัดลําดับเนื้อหาได นอกจากนี้การออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอน ท่ีชวยในการจดจําของผูเรียนนั้นยังตองคํานึงถึงความสามารถในการจดจําของผูเรียนอีกดวย

3. ความเขาใจ (Comprehension) การจะนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันไดมนุษยตองผานข้ันตอนในการนําสิ่งท่ีมนุษยรับรูนั้นมาตีความและบูรณาการใหเขากับประสบการณและความรูในโลกปจจุบันของมนุษยเอง การเรียนท่ีถูกตองนั้นใชเพียงแตการจําและการเรียกสิ่งท่ีเราจํานั้นกลับคืนมา หากรวมไปถึงความสามารถท่ีจะอธิบาย เปรียบเทียบ แยกแยะ และประยุกตใชความรูนั้นในสถานการณท่ีเหมาะสม เปนตน หลักการเก่ียวกับการไดมาซ่ึงแนวความคิด (Concept Acquisition) และการประยุกตใชกฎตางๆ (Rule application) ซ่ึงเก่ียวของโดยตรงกับแนวคิดในการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอน เก่ียวกับการประเมินความรูกอนการใชบทเรียน การใหคํานิยามตางๆการแทรกตัวอยาง การประยุกตกฎ และการใหผูเรียนเขียนอธิบาย โดยใชความคิดของตน โดยมีวัตถุประสงคของการเรียนเปนตัวกําหนดรูปแบบการนําเสนอของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และกิจกรรมตางๆ ในบทเรียน

4. ความกระตือรือรนในการเรียน (Active Learning) การเรียนรูของมนุษยไมใชเพียงแคการสังเกตหากรวมไปถึงการปฏิบัติดวย การมีปฏิสัมพันธไมเพียงแตคงความสนใจไดเทานั้น หากยังชวยทําใหเกิดความรูและทักษะใหมๆในผูเรียน ขอไดเปรียบสําคัญของคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีมีเหนือสื่อการสอนอ่ืนๆ ก็คือ ความสามารถในเชิงโตตอบกับผูเรียน แมวาจะมีการเนนความสําคัญในสวนของปฏิสัมพันธมาก พบวา คอมพิวเตอรชวยสอนท่ีผลิตออกมานั้นมีปฏิสัมพันธภายในบทเรียนนอย ทําใหเกิดบทเรียนท่ีนาเบื่อหนาย บทเรียนท่ีทําใหเกิดความกระตือรือรนในการเรียนจะตองออกแบบใหผูเรียนใชปฏิสัมพันธกับบทเรียนอยางสมํ่าเสมอ และปฏิสัมพันธนั้นๆ ตองเก่ียวของกับเนื้อหาและเอ้ืออํานวยตอการเรียนรูของผูเรียน

5. แรงจูงใจ (Motivation) แรงจูงใจท่ีเหมาะสมเปนสิ่งสําคัญตอการเรียนรูคอมพิวเตอรชวยสอนประเภทการจําลองและเกม เปนบทเรียนท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการสรางแรงจูงใจ มีทฤษฎีท่ี

39

เก่ียวกับแรงจูงใจท่ีไดอธิบายเทคนิคตางๆในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีทําใหเกิดแรงจูงใจในการเรียน ไดแก ทฤษฎีแรงจูงใจภายใน และแรงจูงใจภายนอก (Intrinsic and Motivation) เลปเปอร (Lepper, 1985) เชื่อวาแรงจูงใจท่ีใชในบทเรียนควรท่ีจะเปนแรงจูงใจภายในหรือแรงจูงใจท่ีเก่ียวเนื่องกับบทเรียนมากกวาแรงจูงใจภายนอก ซ่ึงเปนแรงจูงใจท่ีไมเก่ียวเนื่องกับบทเรียนแตเปนสิ่งท่ีผูเรียนตองการ เชน การเลนเกมสนุกๆหลังจากการเรียนหรือการไดคาจางตอบแทน แรงจูงใจภายนอกอาจทําใหผูเรียนมีความสนใจในการเรียนนอยลงเนื่องจากเปาหมายการเรียนนั้นไดแกรางวัลท่ีจะไดรับมากกวาการเรียนรู ในทางตรงกันขามแรงจูงใจท่ีเก่ียวเนื่องกับบทเรียนเปนแรงจูงใจท่ีดีตอการเรียนรูของผูเรียนหรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การสอนท่ีทําใหเกิดแรงจูงใจภายใน นั้นคือ การสอนท่ีผูเรียนรูสึกสนุกสนาน เลปเปอรไดเสนอเทคนิคในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีทําใหเกิดแรงจูงใจภายในไวดังนี้ ใชเทคนิคของเกมในบทเรียน ใชเทคนิคพิเศษในการนําเสนอภาพ (Visual Techniques) จัดบรรยากาศการเรียนรูใหผูเรียนมีอิสระในการเลือกเรียนหรือสํารวจสิ่งตางๆรอบตัว ใหโอกาสผูเรียนในการควบคุมการเรียนของตน มีกิจกรรมท่ีทาทายผูเรียน ทําใหผูเรียนเกิดความอยากรูอยากเห็น ใหกําลังใจในการเรียนแมวาผูเรียนทําผิด การสรางแรงจูงใจสามารถทําไดท้ังในระดับมหัพภาค (Macro Level) และจุลภาค (Micro Level) คือ ท้ังในระดับของการพัฒนาบทเรียนโดยรวม เชน เปาหมายของการเรียน รูปแบบการสอน ประเภทของปญหา ความยากงายของปญหา เปนตน และในระดับการออกแบบคุณลักษณะตางๆของบทเรียน เชน เทคนิคการนําเขาสูบทเรียน เทคนิคการใหผลปอนกลับหรือการใชสื่อรูปแบบตางๆเปนตนทฤษฎีแบบจําลองของอารคส (ARCS Model) ไดแก การเราความสนใจ ความรูสึกเก่ียวพันกับเนื้อหา ความม่ันใจ และความพึงพอใจของผูเรียน การเราความสนใจ (Arouse) การเราความสนใจไมจํากัดเฉพาะในชวงแรกของบทเรียนเทานั้น ตองพยายามทําใหผูเรียนเกิดความสนใจตลอดท้ังบทเรียน วิธีเรียกความสนใจจากผูเรียนไดดี คือ การทําใหผูเรียนเกิดความอยากรูอยากเห็น ความรูสึกเก่ียวพันกับเนื้อหา (Relevant) การทําใหผูเรียนรูสึกวาสิ่งท่ีกําลังเรียนอยูนั้นมีความหมายหรือประโยชนตอตัวผูเรียนเอง ตรงกับความสนใจและสาขาของผูเรียน ความม่ันใจ (Confidence) การใหผูเรียนทราบถึงสิ่งท่ีตนเองควรคาดหวังในการเรียนและโอกาสในการทําใหสําเร็จตามความคาดหวัง พรอมท้ังคําแนะนําท่ีมีประโยชน เปนการสรางความม่ันใจใหแกผูเรียน ควรใหผูเรียนไดควบคุมการเรียนของตนเองดวยความพึงพอใจของผูเรียน (Satisfaction) ทําไดโดยการจัดหากิจกรรม ซ่ึงเปดโอกาสใหผูเรียนไดประยุกตใชสิ่งท่ีตนเรียนมาในสถานการณจริง และจัดหาผลปอนกลับในทางบวกหลังจากท่ีผูเรียนไดแสดงความกาวหนา และใหคําปลอบใจเม่ือผูเรียนทําผิดพลาด ท้ังนี้จะตองอยูบนฐานของความยุติธรรมดวย

สรุปไดวา การสรางแรงจูงใจเปนปจจัยสําคัญมากในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผูจัดทําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสามารถท่ีจะประยุกตใชทฤษฎีท่ีไดอางถึงในบทเรียนควรท่ีจะมีการนําไปใชอยางเหมาะสมและในระดับท่ีพอดี เพ่ือท่ีจะไดไมเกิดผลเสียกับตัวผู เรียน ตัวอยางเชน การใหผูเรียนมีโอกาสในการควบคุมบทเรียนนั้นสามารถจูงใจผูเรียนได แตหากมากเกินไปจะทําใหเกิดผลเสียแทน

6. การควบคุมบทเรียน (Learner Control) การออกแบบการควบคุมบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ไดแก การควบคุมระดับการเรียน เนื้อหา ประเภทของบทเรียน ฯลฯ การควบคุมบทเรียนมีอยู 3 ลักษณะดวยกัน คือ การใหโปรแกรมเปนผูควบคุม (Program Control) การให

40

ผูเรียนเปนผูควบคุม และการผสมผสานระหวางโปรแกรมและผูเรียน (Combination) การใหผูเรียนเปนผูควบคุมบทเรียนนั้นไมจําเปนตองทําใหเกิดผลท่ีดีเสมอไป การใหผูใชเปนผูควบคุมบทเรียน มีอํานาจในการเลือกท่ีจะเรียนโดยอิสระ เชน เลือกท่ีจะเรียนเนื้อหาใดกอนหรือหลัง ออกจากบทเรียนเม่ือใด ทําแบบฝกหัดมากนอยเพียงใด ผานเกณฑเทาใดนั้นจะทําใหเกิดผลดีภายใตเง่ือนไข (Milheim Martin, 1991) ดังตอไปนี้

6.1 เม่ือผูใชเปนผูใหญ 6.2 เม่ือผูใชเปนผูท่ีมีผลการเรียนดี 6.3 เม่ือมีเนื้อหาเก่ียวเนื่องกับทักษะท่ีสูง (เปรียบเทียบกับเนื้อหาท่ีเปนลักษณะ

การนําเสนอความจริงธรรมดา) 6.4 เม่ือเนื้อหาเปนเนื้อหาท่ีผูเรียนคุนเคย 6.5 เม่ือมีการเสริมคําแนะนําไวในบทเรียน เชน คําแนะนําในการตัดสินใจตาง ๆ 6.6 เม่ือมีการใหโอกาสการควบคุมบทเรียนอยางสมํ่าเสมอ 6.7 เม่ือมีการใหผูใชเลือกท่ีจะเปลี่ยนไปใหโปรแกรมควบคุมเองได 6.8 เม่ือมีการเสริมการประเมินไวทายบท เพ่ือประเมินวาผูใชควบคุมการเรียน

ไดมีประสิทธิภาพหรือไม ในการออกแบบนั้นควรพิจารณาการผสมผสาน (Combination) ระหวางการใหผูเรียนและโปรแกรมเปนผูควบคุมบทเรียน และบทเรียนจะมีประสิทธิภาพอยางไรนั้นข้ึนอยูกับความเหมาะสมในการออกแบบการควบคุมของท้ัง 2 ฝาย

7. การถายโอนความรู (Transfer of Learning) การเรียนรูจากคอมพิวเตอรชวยสอน เปนการเรียนรูในข้ันแรกกอนนําไปประยุกตใชจริง การนําความรูจากการเรียนในบทเรียน และการขัดเกลาแลวไปประยุกตใชจริงก็คือ การถายโอนการเรียนรูนั่นเอง สิ่งท่ีมีอิทธิพลตอความสามารถของมนุษยในการถายโอนการเรียนรู ไดแก ความเหมือนจริง (Fidelity) ของบทเรียน ประเภท ปริมาณและความหลากหลายของปฏิสัมพันธ และประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในการฝกอบรมใดๆ การถายโอนการเรียนรูถือเปนผลการเรียนรูท่ีพึงปรารถนาท่ีสุด

8. ความแตกตางรายบุคคล (Individual Difference) ผูเรียนมีความเร็วชาในการเรียนรูท่ีแตกตางกันไป ผูเรียนบางคนจะเรียนไดดีจากประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน การออกแบบใหบทเรียนมีความยืดหยุน เพ่ือท่ีจะตอบสนองความสามารถทางการเรียนของผูเรียนแตละคนไดเปนสิ่งสําคัญ แมวาการตอบสนองความแตกตางรายบุคคลถือเปนขอไดเปรียบของคอมพิวเตอรชวยสอน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีไดรับการพัฒนาออกมาเปนจํานวนมากกลับไมไดคํานึงถึงขอไดเปรียบนี้เทาท่ีควร ในสวนท่ีเก่ียวของกับการเรียนรูนั้นมนุษยมีความแตกตางกันไปท้ังในดานบุคลิกภาพ สติปญญา วิธีการเรียนรูและลําดับของการเรียนรู ดังนั้นการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นผูออกแบบตองคํานึงถึงความแตกตางเหลานี้ และออกแบบใหตอบสนองความแตกตางของแตละบุคคลใหมากท่ีสุดรวมถึงการจัดใหมีการประเมินกอนเรียน ท้ังนี้จะไดทราบวาผูเรียนคนใดท่ีจัดเปนนักเรียนท่ีเรียนออนและจะไดจัดหาการใหคําแนะนําในการเรียนอยางสมํ่าเสมอ เปนตน

สรุปไดวา ในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหมีประสิทธิภาพ ตองคํานึงถึงหลักเกณฑการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนหลายอยาง ท้ังทฤษฎีการเรียนรูของมนุษยไมวาจะเปนทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ทฤษฎีโครงสรางความรู (Schema Theory) ทฤษฎีความยืดหยุน

41

ทางปญญา (Cognitive Flexibility) และหลักจิตวิทยาการเรียนรูของมนุษย เชน ความสนใจและการรับรูอยางถูกตอง การจดจํา ความเขาใจ ความกระตือรือรน แรงจูงใจ การควบคุม การเรียน การถายโอน การเรียนรู เปนตน โดยผูท่ีออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจะตองมีการผสมผสานหลายรูปแบบเขาดวยกัน เพ่ือใหผูเรียนไดบรรลุวัตถุประสงคตามท่ีผูออกแบบวางไว ท้ังนี้ผูวิจัยไดนํารูปแบบการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของ กิดานันท มลิทอง คือ การสอนแบบติวเตอร (Tutorial Instruction) ซ่ึงเปนบทเรียนในแบบการสอนจะเปนโปรแกรมท่ีเสนอเนื้อหาความรูเปนเนื้อหายอยๆ แกผูเรียนในรูปแบบของขอความ ภาพ เสียง แลวใหผูเรียนตอบคําถาม โดยใหกระบวนการจัดการเรียนรูโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอนของ บุญเก้ือ ควรหาเวช (2543, น.70 – 71) ไดเสนอข้ันตอน ไวดังนี้ 1. ข้ันนําเขาสูบทเรียน ข้ันตอนนี้จะเริ่มตั้งแตการทักทายผูเรียน บอกวิธีการเรียนและบอกจุดประสงคของการเรียน เพ่ือท่ีจะใหผูเรียนไดทราบวาเม่ือเรียนจบบทเรียนนี้แลวเขาจะสามารถทําอะไรไดบาง คอมพิวเตอรชวยสอนสามารถเสนอวิธีการในรูปแบบท่ีนาสนใจได ไมวาจะเปนลักษณะภาพเคลื่อนไหว เสียงหรือผสมผสานหลาย ๆ อยางเขาดวยกัน เพ่ือเราความสนใจของผูเรียน ใหมุงความสนใจเขาสูบทเรียน บางโปรแกรมอาจจะมีแบบทดสอบวัดความพรอมของผูเรียนกอนหรือมีรายการ (Menu) เพ่ือใหผูเรียนเลือกเรียนไดตามความสนใจ และผูเรียนสามารถจัดลําดับการเรียนกอนหลังไดดวยตนเอง 2. ข้ันการเสนอเนื้อหา เม่ือผูเรียนเลือกเรียนในเรื่องใดแลว คอมพิวเตอรชวยสอนก็จะเสนอเนื้อหานั้นออกมาเปนกรอบ ๆ (Frame) ในรูปแบบท่ีเปน ตัวอักษร ภาพ เสียง ภาพกราฟฟกและภาพเคลื่อนไหว เพ่ือเราความสนใจในการเรียน และสรางความเขาใจในความคิดรวบยอดตาง ๆ แตละกรอบ หรือเสนอเนื้อหาเรียงลําดับไปทีละอยางทีละประเด็น โดยเริ่มจากงายไปหายาก ผูเรียนจะควบคุมความเร็วในการเรียนดวยตนเอง เพ่ือท่ีจะใหไดเรียนรูไดมากท่ีสุด ตามความสามารถ และมีการชี้แนะหรือการจัดเนื้อหาสําหรับการชวยเหลือผูเรียนใหเกิดการเรียนท่ีดีข้ึน 3. ข้ันคําถามและคําตอบ หลังจากเสนอเนื้อหาของบทเรียนไปแลว เพ่ือท่ีจะวัดผูเรียนวามีความรูความเขาใจเนื้อหาท่ีเรียนผานมาแลวเพียงใดก็จะมีการทบทวนโดยการใหทําแบบฝกหัด และชวยเพ่ิมพูนความรูความชํานาญ เชน ใหทําแบบฝกหัดชนิดคําถาม แบบเลือกตอบ แบบถูกผิด แบบจับคูและแบบเติมคํา เปนตน ซ่ึงคอมพิวเตอรชวยสอนสามารถเสนอแบบฝกหัดแกผูเรียนไดนาสนใจมากกวาแบบทดสอบธรรมดาและผูเรียนตอบคําถามผานทางแปนพิมพหรือเมาท (Mouse) นอกจากนี้ คอมพิวเตอรชวยสอนยังสามารถจับเวลาในการตอบคําถามของผูเรียนไดดวย ถาผูเรียนไมสามารถตอบคําถามไดในเวลาท่ีกําหนดไว คอมพิวเตอรชวยสอนก็จะเสนอความชวยเหลือให 4. ข้ันการตรวจคําตอบ เม่ือระบบคอมพิวเตอรชวยสอนไดรับคําตอบจากผูเรียนแลว คอมพิวเตอรชวยสอนก็จะตรวจคําตอบและแจงผลใหผูเรียนไดทราบ การแจงผลอาจแจงเปนแบบขอความ กราฟฟกหรือเสียง ถาผูเรียนตอบถูกก็จะไดรับการเสริมแรง (Reinforcement) เชน การใหคําชมเชย เสียงเพลง หรือใหภาพกราฟฟกสวย ๆ และถาผูเรียนตอบผิด คอมพิวเตอรชวยสอนก็จะบอกใบใหหรือใหการซอมเสริมเนื้อหาแลวใหคําถามนั้นใหม เม่ือตอบไดถูกตอง จึงกาวไปสูหัวเรื่องใหมตอไป ซ่ึงจะหมุนเวียนเปนวงจรอยูจนกวาจะหมดบทเรยีนในหนวยนั้น ๆ

42

5. ข้ันการปดบทเรียน เม่ือผูเรียนเรียนจนจบบทเรียนแลว คอมพิวเตอรชวยสอนจะทําการประเมินผล ผูเรียนโดยการทําแบบทดสอบ ซ่ึงจุดเดนของคอมพิวเตอรชวยสอน คือ สามารถสุมขอสอบออกมาจากคลังขอสอบท่ีไดสรางไวและเสนอใหผูเรียนแตละคนโดยไมเหมือนกัน จึงทําใหผูเรียนไมสามารถจดจําคําตอบจากการท่ีทําในครั้งแรก ๆ นั้นได หรือแบบไมรูคําตอบนั้นมากอนเอามาใชประโยชน เม่ือทําแบบทดสอบนั้นเสร็จแลวผูเรียนจะไดรับทราบคะแนนการทําแบบทดสอบของตนเองวาผานตามเกณฑท่ีไดกําหนดไวตั้งแตแรก อีกท้ังคอมพิวเตอรชวยสอนจะบอกเวลาท่ีใชในการเรียนในหนวยนั้น ๆ ไดดวย เปนตน แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ผูวิจัยไดทําการประเมินความพึงพอใจนักเรียนท่ีมีตอบทเรียน โดยไดนําแนวคิดเก่ียวกับความพึงพอใจมาสรางแบบประเมิน ดังนี้

ความหมายของความพึงพอใจ

นักวิชาการไดใหความหมายของความพึงพอใจตางๆ พอสรุปไดดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542, น.775) ไดใหความหมายของความพึง

พอใจ หมายถึง “พอใจ ชอบใจพฤติกรรมเก่ียวกับความพึงพอใจของมนุษยคือความพยายามท่ีจะขจัดความตึงเครียด หรือ ความกระวนกระวาย หรือภาวะไมไดดุลยภาพในรางกาย ซ่ึงเม่ือมนุษยสามารถขจัดสิ่งตาง ๆ ดังกลาว ไดแลว มนุษยยอมไดรับความพึงพอใจในสิ่งท่ีตนตองการ”

กูด (Good, 1973, p.320) ใหความหมายของความพึงพอใจไววา ความพึงพอใจ หมายถึง คุณภาพ สภาพ หรือระดับความพึงพอใจ ซ่ึงเปนผลมาจากความสนใจตางๆ และทัศนคติของบุคคลท่ีมีตองาน

โวลแมน (Wolman, 1973, p.384) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึก (Feeling) มีความสุขเม่ือไดรับผลสําเร็จตามความมุงหมาย ความตองการหรือแรงจูงใจ

เดวิส (Davis, 1981, p.83) กลาววา ความพึงพอใจในการเรียนการสอนหมายถึง ความพอใจหรือความไมพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนการสอน ซ่ึงแสดงใหเห็นความสอดคลองระหวางความคาดหวังของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนการสอน

ออสแคมป (Auscamp, 1987, อางใน ประนอ วรวุฒิ, 2539, น.7) พบวาความพึงพอใจมีความหมายอยู 3 นัย คือ

1. ความพึงพอใจ หมายถึง สถานการณท่ีผลการปฏิบัติจริงไดเปนไปตามท่ีบุคคลคาดหวังไว

2. ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับของความสําเร็จท่ีเปนไปตามความตองการ 3. ความพึงพอใจ หมายถึง การท่ีงานไดเปนไปตามหรือตอบสนองตอคุณคาของบุคคล

43

จากความหมายท่ีกลาวมาท้ังหมด สรปุความหมายของความพึงพอใจไดวา เปนความรูสึกของบุคคลในทางบวก ความชอบ ความสบายใจ ความสุขใจตอสภาพแวดลอมในดานตางๆ หรือเปนความรูสึกท่ีพอใจตอสิ่งท่ีทําใหเกิดความชอบ ความสบายใจ และเปนความรูสึกท่ีบรรลุถึงความตองการ ซ่ึงทําใหบุคคลเกิดความพึงพอใจในการเรียนการสอนจนประสบผลสําเร็จในการเรียนได

ทฤษฎเีกี่ยวของกับความพึงพอใจ

การท่ีบุคคลจะเกิดความพึงพอใจในการเรียนไดมากนอยเพียงใดข้ึนอยูกับสิ่งจูงใจ

ดังนั้นเพ่ือใหผูเรียนเกิดความพึงพอใจตอบทเรียนมากท่ีสุดผูวิจัยไดศึกษาทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับความพึงพอใจดังนี้

นักวิชาการไดพัฒนาทฤษฎีท่ีอธิบายองคประกอบของความพึงพอใจ และอธิบายความสัมพันธระหวางความพึงพอใจกับปจจัยอ่ืน ๆ ไวหลายทฤษฎี

โครแมน (Korman, 1977, อางอิงใน สมศักดิ์ คงเท่ียง และอัญชลี โพธิ์ทอง, 2542, น.161-162) ไดจําแนกทฤษฎีความพึงพอใจในงานออกเปน 2 กลุมคือ

1. ทฤษฎีการสนองความตองการ กลุมนี้ถือวาความพึงพอใจ ในงานเกิดจากความตองการสวนบุคคลท่ีมีความสัมพันธตอผลท่ีไดรับจากงานกับการประสบความสําเร็จตามเปาหมายสวนบุคคล

2. ทฤษฎีการอางอิงกลุม ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธในทางบวกกับคุณลักษณะของงานตามความปรารถนาของกลุม ซ่ึงสมาชิกใหกลุมเปนแนวทางในการประเมินผลการทํางาน

ทฤษฎีสองปจจัย (Two Factor Theory) เปนทฤษฎีท่ี Frederick K. Herzberg ไดศึกษาทําการวิจัยเก่ียวกับแรงจูงใจในการทํางานของบุคคล เขาไดศึกษาถึงความตองการของคนในองคการหรือการจูงใจจากการทํางานโดยเฉพาะเจาะจง โดยศึกษาวาคนเราตองการอะไรจากงานคําตอบก็คือ บุคคลตองการความสุขจากการทํางาน ซ่ึงสรุปไดวา ความสุขจากการทํางานนั้น เกิดมาจากความพึงพอใจ หรือไมพึงพอใจในงานท่ีทํา โดยความพึงพอใจหรือความไมพึงพอใจในงานท่ีทํานั้น ไมไดมาจากกลุมเดียวกัน แตมีสาเหตุมาจากปจจัยสองกลุม คือ ปจจัยจูงใจ (Motivational Factors) และปจจัยคํ้าจุนหรือปจจัยสุขศาสตร (Maintenance or Hygiene Factors)

1. ปจจัยจูงใจ (Motivational Factors) เปนปจจัยท่ีเก่ียวของกับงานโดยตรง เพ่ือจูงใจใหคนชอบและรักงานท่ีปฏิบัติเปนตัวกระตุน ทําใหเกิดความพึงพอใจใหแกบุคคลในองคการใหปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน เพราะเปนปจจัยท่ีสามารถตอบสนองความตองการภายในของบุคคลไดดวย อันไดแก

1.1 ความสําเร็จในงานท่ีทําของบุคคล (Achievement) หมายถึงการท่ีบุคคลสามารถทํางานไดเสร็จสิ้นและประสบความสําเร็จอยางดี เปนความสามารถในการแกปญหาตางๆ การรูจักปองกันปญหาท่ีจะเกิดข้ึน เม่ือผลงานสําเร็จจึงเกิดความรูสึกพอใจและปลาบปลื้มในผลสําเร็จของงานนั้นๆ

44

1.2 การไดรับการยอมรับนับถือ (Recognition) หมายถึง การไดรับการยอมรับนับถือไมวาจากผูบังคับบัญชา จากเพ่ือน จากผูมาขอรับคําปรึกษาหรือ จากบุคคลในหนวยงานการยอมรับนี้อาจจะอยูในรูปของการยกยองชมเชยแสดงความยินดี การใหกําลังใจ หรือการแสดงออกอ่ืนใดท่ีกอใหเห็นถึงการยอมรับในความสามารถ เม่ือไดทํางานอยางหนึ่งอยางใดบรรลุผลสําเร็จ การยอมรับ นับถือจะแฝงอยูกับความสําเร็จในงานดวย

1.3 ลักษณะของงานท่ีปฏิบัติ (The Work Itself) หมายถึงงานท่ีนาสนใจ งานท่ีตองอาศัยความคิดริเริ่มสรางสรรคทาทายใหลงมือทํา หรือเปนงานท่ีมีลักษณะสามารถกระทําไดตั้งแตตนจนจบโดยลําพังแตผูเดียว

1.4 ความรับผิดชอบ (Responsibility) หมายถึง ความพึงพอใจท่ีเกิดข้ึนจากการไดรับมอบหมาย ใหรับผิดชอบงานใหมๆ และมีอํานาจในการรับผิดชอบไดอยางเต็มท่ีไมมีการตรวจ หรือควบคุมอยางใกลชิด

1.5 ความกาวหนา (Advancement) หมายถึง ไดรับเลื่อนข้ันเลื่อนตําแหนงใหสูงข้ึนของบุคคลในองคการ การมีโอกาสไดศึกษาเพ่ือหาความรูเพ่ิมหรือไดรับการฝกอบรม

2. ปจจัยคํ้าจุนหรือปจจัยสุขศาสตร (Maintenance or Hygiene Factors) หมายถึง ปจจัยท่ีจะคํ้าจุนใหแรงจูงใจ ในการทํางานของบุคคลมีอยูตลอดเวลา ถาไมมีหรือมีในลักษณะท่ีไมสอดคลองกับบุคคลในองคการบุคคลในองคการจะเกิดความไมชอบงานข้ึน และเปนปจจัยท่ีมาจากภายนอกตัวบุคคล ปจจัยเหลานี้ไดแก

2.1 เงินเดือน (Salary) หมายถึง เงินเดือนและการเลื่อนข้ันเงินเดือนในหนวยงานนัน้ ๆ เปนท่ีพอใจของบุคลากรท่ีทํางาน

2.2 โอกาสไดรับความกาวหนาในอนาคต (Possibility of Growth) หมายถึง การท่ีบุคคลไดรับการแตงตั้งเลื่อนตําแหนงภายในหนวยงานแลว ยังหมายถึงสถานการณท่ีบุคคลสามารถไดรับความกาวหนาในทักษะวิชาชีพดวย

2.3 ความสัมพันธ กับผูบั งคับบัญชา ผู ใตบั งคับบัญชาและเพ่ือนรวมงาน (Interpersonal Relation Superior, Subordinate and Peers) หมายถึง การติดตอไมวาจะเปนกิริยาหรือวาจา ท่ีแสดงถึงความสัมพันธอันดีตอกัน สามารถทํางานรวมกัน มีความเขาใจซ่ึงกันและกันอยางดี

2.4 สถานะทางอาชีพ (Status) หมายถึง อาชีพนั้นเปนท่ียอมรับนับถือของสังคมท่ีมีเกียรติและศักดิ์ศรี

2.5 นโยบายและการบริการ (Company Policy and Administration) หมายถึงการจัดการและการบริหารขององคการ การติดตอสื่อสารภายในองคการ

2.6 สภาพการทํางาน (Working Conditions) หมายถึง สภาพทางกายภาพของงาน เชน แสงเสียง อากาศ ชั่วโมงการทํางาน รวมท้ังลักษณะของสิ่งแวดลอมอ่ืนๆ เชน อุปกรณ เครื่องมือเครื่องใช

2.7 ความเปนอยูสวนตัว (Personal Life) ความรูสึกท่ีดีหรือไมดี อันเปนผลท่ีไดรับจากงานในหนาท่ี เชน การท่ีบุคคลถูกยายไปทํางานในท่ีแหงใหม ซ่ึงหางไกลจากครอบครัว ทําใหไมมีความสุข และไมพอใจกับการทํางานในท่ีแหงใหม

45

2.8 ความม่ันคงในการทํางาน (Security) หมายถึง ความรูสึกของบุคคลท่ีมีตอความม่ันคงในการทํางาน ความยั่งยืนของอาชีพ หรือความม่ันคงขององคการ

2.9 วิธีการปกครองบังคับบัญชา (Supervision-Technical) หมายถึง ความสามารถของผูบังคับบัญชาในการทํางาน หรือความยุติธรรมในการบริหาร

จากทฤษฎีสองปจจัย สรุปไดวาปจจัยท้ัง 2 ดานนี้ เปนสิ่งท่ีคนตองการ เพราะเปนแรงจูงใจในการทํางาน องคประกอบท่ีเปนปจจัยจูงใจเปนองคประกอบท่ีสําคัญ ทําใหคนเกิดความสุขในการทํางาน โดยมีความสัมพันธกับกรอบแนวคิดท่ีวา เม่ือคนไดรับการตอบสนองดวยปจจัยชนิดนี้ จะชวยเพ่ิมแรงจูงใจในการทํางาน ผลท่ีตามมาก็คือ คนจะเกิดความพึงพอใจในงาน สามารถทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพ สวนปจจัยคํ้าจุน หรือสุขศาสตรทําหนาท่ีเปนตัวปองกันมิใหคนเกิดความไมเปนสุข หรือ ไมพึงพอใจในงานข้ึน ชวยทําใหคนเปลี่ยนเจตคติจากการ ไมอยากทํางานมาสูความพรอมท่ีจะทํางานนอกจากนี้ Herzberg ยังไดอธิบายเพ่ิมเติมอีกวา องคประกอบทางดานการจูงใจจะตองมีคาเปนบวกเทานั้น จึงจะทําใหบุคคลมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานข้ึนมาได แตถาหากวามีคาเปนลบ จะทําใหบุคคลไมพึงพอใจในงาน สวนองคประกอบทางดานการคํ้าจุน ถาหากวามีคาเปนลบ บุคคลจะไมมีความรูสึก ไมพึงพอใจในงานแตอยางใดเนื่องจากองคประกอบทางดานปจจัยนี้ มีหนาท่ีคํ้าจุนหรือบํารุงรักษาบุคคลใหมีความพึงพอใจในงานอยูแลว สรุปไดวา ปจจัยท้ังสองนี้ ควรจะตองมีในทางบวก จึงจะทําใหความพึงพอใจในการทํางานของบุคคลเพ่ิมข้ึน จากทฤษฎีสองปจจัยของ Herzberg เปนทฤษฎีท่ีศึกษาเก่ียวกับขวัญโดยขวัญจะมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับความพึงพอใจและการจูงใจ ซ่ึงเกิดจากปจจัยจูงใจและปจจัยคํ้าจุนนั่นเอง

การวัดความพึงพอใจ

การวัดความพึงพอใจตามแนวคิดของ ภณิดา ชัยปญญา (2541, น.11) ไดกลาวไววา

การวัดความพึงพอใจนั้น สามารถทําไดหลายวิธีดังตอไปนี้ 1. การใชแบบสอบถาม โดยผูออกแบบสอบถามตองการทราบความคิดเห็นซ่ึงสามารถ

กระทําไดในลักษณะกําหนดคําตอบใหเลือก หรือตอบคําถามอิสระ คําถามดังกลาว อาจถามความพอใจในดานตางๆ

2. การสัมภาษณ เปนวิธีการวัดความพึงพอใจทางตรง ซ่ึงตองอาศัยเทคนิคและวิธีการท่ีดีจะไดขอมูลท่ีเปนจริง

3. การสังเกต เปนวิธีวัดความพึงพอใจ โดยการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลเปาหมาย ไมวาจะแสดงออกจากการพูดจา กริยา ทาทาง วิธีนี้ตองอาศัยการกระทําอยางจริงจัง และสังเกตอยางมีระเบียบแบบแผน

46

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

งานวิจัยในประเทศ

งานวิจัยท่ีเก่ียวของในประเทศนับวันจะมีเพ่ิมมากข้ึนเรื่อย ๆ เพราะวาทุกวันนี้มีการนําสื่อคอมพิวเตอรเขามาใชในการเรียนการสอนมากข้ึน ดังมีผูวิจัยเก่ียวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนซ่ึงมีหลากหลาย ไวดังนี้

เสาวลักษณ มโนภิรมย (2544, น.102) ไดสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่องคูอันดับและกราฟ อัตราสวนและรอยละ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 พบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคณิตศาสตรเรื่อง คูอันดับและกราฟ อัตราสวนและรอยละมีประสิทธิภาพเทากับ 86.22 / 84.00 ซ่ึงสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดไว คือ 80 / 80 ซ่ึงบทเรียนคอมพิวเตอรทําใหผูเรียนมีประสิทธิผลทางการเรียนเพ่ิมข้ึน สามารถนําไปใชในการเรียนการสอนได

ปยนารถ เกษมสุข (2546, บทคัดยอ) ไดศึกษาผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องสารสังเคราะห ในวิชาวิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 ผลการศึกษาพบวา โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพ 86.26/86.12 สูงกวาเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนดไวคือ 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรกายภาพของนักเรียนหลังไดรับการสอนโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง สารสังเคราะหสูงกวากอนไดรับการสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

นิตยา เกษามูล (2547, บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเรื่อง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทย เรื่องการสะกดคํา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนอนุบาลวัชรชัย ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2546 จํานวน 30 คน พบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีผูวิจัยสรางข้ึนมีประสิทธิภาพเทากับ 85.28/81.47 ซ่ึงเปนไปตามเกณฑท่ีกําหนดไวคือ 80/80 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ความพึงพอใจของผู เรียนโดยรวมมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก และความพึงพอใจของผูสอนโดยรวมมีความ พึงพอใจในระดับมาก ความคงทนในการเรียนรูของนักเรียนหลังจากเรียนผานไปแลวเปนเวลา 14 วัน พบวาผูเรียนมีความคงทนในการเรียนรูถึงรอยละ 87.53

จากการงานวิจัยท่ีเก่ียวของ จะเห็นไดวา การใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนการรวมสื่อหลาย ๆ รูปแบบซ่ึงไดท้ังการอาน การฟง การเห็นภาพ ทําใหจดจําไดงายกวาการเรียนการสอนโดยวิธีอ่ืน และทําใหไดผลดียิ่งข้ึน จึงนับไดวาสื่อมัลติมีเดียเปนสื่อการเรียนการสอนท่ีดีและมีประสิทธิภาพตอการเรียนการสอนเปนอยางมาก

47

งานวิจัยตางประเทศ

มีผูวิจัยเก่ียวกับคอมพิวเตอรมัลติมีเดียในตางประเทศ ไวดังนี้ Clayton (1993) ไดศึกษาผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนพบวา บทเรียน

คอมพิวเตอรชวยสอนสามารถพัฒนาการอานในนักเรียนเกรด 4 และเพ่ิมทัศนคติท่ีดีตอการอานในนักเรียนเกรด 3 และ 4 ท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจต่ํา และพบวาวบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสามารถเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนเกรด 2, 4 และ 5 อยางมีนัยสําคัญ และสามารถเพ่ิมทัศนคติทางบวกตอวิชาคณิตศาสตรในนักเรียนเกรด 3 และ 4

Yalcinaip, G (1995) ไดศึกษาผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง โมเลกุลในวิชาเคมี สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ผลการศึกษาพบวา นักเรียนท่ีเรียนโดยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมท่ีเรียนปกติอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .05 และมีเจตคติท่ีดีตอวิชาเคมี

Chang, C. (2002) ไดศึกษาผลการสํารวจระหวางการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยมีครูเปนศูนยกลางกับมีนักเรียนเปนศูนยกลาง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 วิชาวิทยาศาสตรในประเทศไตหวัน ผลการวิเคราะหความสัมพันธจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนแสดงใหเห็นวา การใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยมีครูเปนศูนยกลางใหประสิทธิภาพในผลสัมฤทธิ์วิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนมากกวาการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีมีนักเรียนเปนศูนยกลาง

จากการศึกษางานวิจัยเก่ียวกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในตาง ประเทศ พบวาคอมพิวเตอรชวยสอนไดนํามาใชประโยชนในวงการตาง ๆ ไมเพียงแตวงการศึกษา ซ่ึงในตางประเทศคอมพิวเตอรชวยสอนไดแพรหลายในทุก ๆ วงการ ท้ังในดานธุรกิจเอกชนและมีการนําคอมพิวเตอรชวยสอนมาพัฒนาเพ่ือหาประสิทธิภาพของงานดานตาง ๆ

สรุปเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จะเห็นไดวางานวิจัยท่ีเก่ียวของกับบทเรียนคอมพิวเตอรสวนใหญจะชวยเสริมประสิทธิภาพในการเรียน การสอนชวยใหเกิดการเรียนรูไดดีข้ึน ข้ันตอนการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนเปนข้ันตอนท่ีตองมีการวางแผน มีการทํางานอยางเปนระบบ เริ่มตั้งแตการวิเคราะหหลักสูตร เนื้อหา การออกแบบ การสรางบทเรียน การทดลองใชและข้ันสุดทายคือการประเมินผล สามารถตรวจสอบปรับปรุงแกไขไดทุกข้ันตอน เพ่ือท่ีจะใหไดบทเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ

จากท่ีกลาวมา จะเห็นไดวาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสวนใหญจะชวยเสริมประสิทธิภาพในการเรียนการสอนชวยใหเกิดการเรียนรู ไดดี ข้ึน ข้ันตอนการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอนเปนข้ันตอนท่ีตองมีการวางแผน มีการทํางานอยางเปนระบบ เริ่มตั้งแตการวิเคราะหหลักสูตร เนื้อหา การออกแบบ การสรางบทเรียน การทดลองใชและข้ันตอนสุดทายคือ การประเมินผล สามารถตรวจสอบปรับปรุงแกไขไดทุกข้ันตอน เพ่ือท่ีจะใหไดบทเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ จึงทําใหผูวิจัยสนใจท่ีจะสรางบทเรยีนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง คําราชาศัพท กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาป ท่ี 6 เพ่ือใชในการเรียนรูและทบทวนคําราชาศัพท ซ่ึงจะชวยให การเรียนรูคําราชาศัพทเปนไปอยางสนุกสนาน

48

กรอบแนวคิดการวิจัย

การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานคลองสงค ซ่ึงผูวิจัยกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยดังตอไปนี้

ตัวแปรอิสระ

1. การจัดการเรียนรูโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท ไดกําหนดขอบเขตของเนื้อหาไว 4 เรื่องดังนี้

- คํานามราชาศัพท

- คํากริยาราชาศัพท - คําสรรพนามราชาศัพท

- คําสุภาพ 2. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง

คําราชาศัพท

ตัวแปรตาม

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคําราชาศัพท

2. ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง คําราชาศัพท

ภาพท่ี 14 กรอบแนวคิดในการวิจัย

บทที ่3

วิธีดําเนินการวิจัย

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานคลองสงค ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ โดยการศึกษารวบรวมขอมูลจากเอกสารตํารา เอกสารงานวิจัยและขอมูลตางๆ ไดนําเสนอวิธีดําเนินการวิจัยดังนี้

1. พ้ืนท่ีท่ีใชในการวิจัย 2. ประชากร และกลุมตัวอยาง 3. เครื่องมือในการวิจัย และการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล และสถิติท่ีใช

พ้ืนท่ีท่ีใชในการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้กําหนดพ้ืนท่ีท่ีใชในการวิจัยคือ โรงเรียนบานคลองสงค อําเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฎรธานี สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานีเขต 2 ประชากร การกําหนดขนาดตัวอยาง กลุมตัวอยาง วิธีการสุมตัวอยาง

ประชากร ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนวิชา

ภาษาไทยของโรงเรียนบานคลองสงค ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2557 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานีเขต 2 จํานวน 2 หองเรียน รวมจํานวนนักเรียนท้ังหมด 78 คน

กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6/1 ท่ี

เรียนวิชาภาษาไทยของโรงเรียนบานคลองสงค ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2557 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานีเขต 2 จํานวน 1 หองเรียนซ่ึงมีนักเรียนจํานวน 30 คนไดมาโดยการสุมแบบกลุม (Cluster Random Sampling) โดยใชโรงเรียนเปนหนวยในการสุม

49

50

แบบแผนการวิจัย การศึกษาคนควาครั้งนี้เปนการวิจัยก่ึงทดลอง ซ่ึงทําการทดลองตามแบบแผนการ

วิจยัแบบ Quasi – Experimental Design ตารางท่ี 1 แบบแผนการทดลอง

ประชากรกลุมตัวอยาง ทดสอบกอนเรียน ทดลอง ทดสอบหลังเรียน E T1 X T2

สัญลักษณท่ีใชในแบบแผนการทดลอง

E แทน ประชากรกลุมตัวอยาง X แทน การทดลองโดยใชบทเรียน T1 แทน การทดสอบกอนเรียน T2 แทน การทดสอบหลังเรียน เครื่องมือในการวิจัย และการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

เครื่องมือท่ีใชในการทดลองประกอบดวย

1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทท่ีผูวิจัยสรางข้ึน 2. แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย จํานวน 5 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง จํานวน 10

ชั่วโมง สัปดาหละ 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 60 นาที 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําราชาศัพท เปนขอสอบแบบ

เลือกตอบ (Multiple Choice Test ) จํานวน 30 ขอประกอบดวยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

4. แบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเปนแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั จํานวน 9 ขอ

วิธีสรางเครื่องมือและหาคุณภาพเครื่องมือในการวิจัย

1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง คําราชาศัพท มีข้ันตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้

1.1 ศึกษารายละเอียดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 เพ่ือทําความเขาใจจุดประสงคของเนื้อหา วิธีการสอน การวัด และประเมินผลการเรียน

1.2 วิเคราะหผูเรียนในเรื่องประสบการณและพ้ืนฐานความรูเดิม เพ่ือเปนขอมูลในการกําหนดจุดมุงหมายและการออกแบบบทเรียนชวยสอน เพ่ือความเหมาะสม

51

1.3 วิเคราะหเนื้อหา ดังนี้

- คํานามราชาศัพท - คํากริยาราชาศัพท

- คําสรรพนามราชาศัพท

- คําสุภาพ 1.4 การเขียนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม จากจุดประสงคการเรียนรูตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ท่ีตองการใหเกิดการเรียนรู คําราชาศัพท เม่ือจบบทเรียนแลวนักเรียนตองมีความสามารถ ดังตอไปนี้

1.4.1 ใชคําราชาศัพทไดถูกตอง 1.4.2 มีความเขาใจท่ีถูกตอง จากการอานวรรณกรรมท่ัวไป วรรณคดี

1.5 จัดลําดับเนื้อหาและการออกแบบการนําเสนอบทเรียน เพ่ือใหผูเรียนไดบรรลุจุดมุงหมายโดยอาศัยวิธีการสรางบทเรียนแบบพรอมท้ังใหอาจารยท่ีปรึกษา และผูเชี่ยวชาญพิจารณาเนื้อหาและความถูกตองของบทเรียน พรอมรับคําแนะนําเพ่ือมาปรับปรุงและแกไข

1.6 นําเนื้อหาของบทเรียนท่ีไดจัดลําดับไวเขียนเปนผังเรื่องราวเพ่ือนํามาเปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

1.7 นําบทเรียนท่ีไดเขียนเปนผังเรื่องราวใหอาจารยท่ีปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและดานเทคโนโลยี ตรวจสอบดานเนื้อหา และวิธีการเขียนบท พรอมรับคําแนะนําเพ่ือนํามาปรับปรุงแกไข

1.8 นําบทเรียนท่ีไดเขียนเปนผังเรื่องราวท่ีไดรับการปรับปรุงและแกไขท่ีสมบูรณแลวมาจัดทําเปนบทเรียนคอมพิวเตอร โดยเขียนตาม ผังเรื่องราว ของบทเรียนใหอาจารยท่ีปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานสื่อตรวจสอบเทคนิคในการสรางรูปแบบการนําเสนอ พรอมรับคําแนะนําเพ่ือมาปรับปรุงและแกไขใหบทเรียนมีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีวางไว 80/80

1.9 หลังจากท่ีไดรับการปรับปรุง และแกไขบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรียบรอยแลวสามารถท่ีจะนําบทเรียนท่ีสรางเสร็จแลวไปทําการทดลองเพ่ือหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําหรับท่ีจะใชในการทดลองกับกลุมทดลองจริงๆ

2. การสรางและการหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผูวิจัยไดดําเนินข้ันตอนการสรางและหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนใหมีความเหมาะสมกับกลุมตัวอยางท่ีใชในการทดลอง มีข้ันตอนดังนี้ 2.1 ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลักการสราง

แบบทดสอบ การสรางขอสอบแบบเลือกตอบตาง ๆ 2.2 วิเคราะหเนื้อหาและจุดประสงคเชิงพฤติกรรมท่ีกําหนดไว เพ่ือเปนแนวทาง

ในการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 2.3 เขียนขอสอบชนิดคําตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 60 ขอ โดยใหครอบคลุม

เนื้อหาจุดประสงคเชิงพฤติกรรมในเนื้อหาท้ังหมด เพ่ือใชเปนแบบทดสอบหลังเรียน

52

ตารางท่ี 2 การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําราชาศัพท แบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test) ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 60 ขอ

ขอท่ี เรื่อง จุดประสงคการเรียนรู จํานวนขอสอบ

ระหวางขอท่ี

1. เรียนรูราชาศัพท 1. ใชคําราชาศัพทและคําสุภาพตางๆ

ไดถูกตองตามฐานะของบุคคล 14 ขอ 1-14

2. นําคําราชาศัพทและคําสุภาพไปใชแตงประโยคชนิดตาง ๆ ไดถูกตอง

8 ขอ 15-22

2. นามราชาศัพท 1. ใชคํานามราชาศัพทไดถูกตองตามฐานของบุคคล

13 ขอ 23-35

3. กริยาราชาศัพท 1. ใชกริยาราชาศัพทไดถูกตองตามฐานของบุคคล

8 ขอ 36-43

4. สรรพนามราชาศัพท 1. ใชสรรพนามราชาศัพทไดถูกตองตามฐานของบุคคล

6 ขอ 44-49

5. คําสุภาพ 1.ใชคําสุภาพไดถูกตองตามฐานของบุคคล

11 ขอ 50-60

2.4 นําแบบทดสอบท่ีสรางข้ึนไปใหผูเชี่ยวชาญท่ีมีประสบการณในการสอนภาษาไทยจํานวน 3 ทานเพ่ือตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหากับจุดประสงคการเรียนรูรับขอเสนอแนะจากผูเชี่ยวชาญ และผูเชี่ยวชาญประเมินความสอดคลองระหวางแบบทดสอบกับจุดประสงคการเรียนรูโดยมีเกณฑใหคะแนนดังนี้ (บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ, 2547, น.69)

ใหคะแนน +1 เม่ือแนใจวาขอสอบขอนั้นวัดตามจุดประสงคการเรียนรู ใหคะแนน 0 เม่ือไมแนใจวาขอสอบขอนั้นไดวัดตามจุดประสงคการเรียนรู ใหคะแนน -1 เม่ือแนใจวาขอสอบขอนั้นไมไดวัดตามจุดประสงคการเรียนรู

2.5 นําแบบทดสอบท่ีปรับปรุงแกไขแลวเสนอคณะกรรมการควบคุมสารนิพนธ

ตรวจสอบเพ่ือพิจารณาอีกครั้ง

2.6 นําคะแนนการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญไปแตละขอไปหาคาดัชนีความ

สอดคลองระหวางแบบทดสอบกับจุดประสงคการเรียนรูโดยใชความสอดคลองระหวางขอคําถามกับ

จุดประสงคการเรียนรูมีคาอยูระหวาง 1 ถึง -1 ขอคําถามท่ีมีความตรงตามเนื้อหาจะมีคา IOC เขาใกล

1.00 ถาขอใดมีคา IOC ต่ํากวา 0.5 ควรจะปรับปรุงขอคําถามใหมใหสอดคลองกับจุดประสงคการ

เรียนรูท่ีตองการวัด (ลวนสายยศ และอังคณา สายยศ. 2539, น. 249) ผลการพิจารณาของ

ผูเชี่ยวชาญลงความเห็นในแตละขอมีคาดัชนีความสอดคลองตั้งแต 0.67 - 1.00 แสดงวา ขอคําถาม

53

นั้นสามารถนําไปใชได ซ่ึงพบวาแบบทดสอบกอนเรียนมีจํานวน 60 ขอท่ีนําไปใชได และแบบทดสอบ

หลังเรียนมีจํานวน 60 ขอท่ีนําไปใชได ผูวิจัยไดคัดเลือกแบบทดสอบจากจุดประสงคการเรียนรู

จํานวน 30 ขอ เพ่ือนําไปเปนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน (ดังภาคผนวก ข ตารางท่ี 8 หนา

80)

2.7 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคําราชาศัพทไปทดลองใช

กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานคลองสงค ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน

2.8 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําราชาศัพท ของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ทําแลว มาวิเคราะหแบบรายขอโดยการตรวจขอท่ีตอบถูก 1 คะแนน สวนขอท่ี

ตอบผิดให 0 คะแนน เม่ือตรวจสอบ และรวมคะแนนแบบทดสอบเรียบรอยแลวจึงทําการวิเคราะห

ความยากงาย (P) และหาคาอํานาจจําแนก (r) ของขอสอบแตละขอผลการพิจารณาไดคาความยาก

งายอยูระหวาง ตั้งแต 0.20 – 0.77 และไดคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.36-0.94 ซ่ึงผานเกณฑ

การประเมิน (ดังภาคผนวก ก ตารางท่ี 8 หนา 80)

2.9 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคําราชาศัพท ชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีทําแลวมาหาคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ KR-20 ของ Kuder Richardson

ผลการพิจารณาไดคาความเชื่อม่ันเทากับ 0.93

3.0 จัดพิมพแบบทดสอบแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับจริงท่ีผานการ

ตรวจคุณภาพแลวใหสมบูรณเพ่ือไปใชเปนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและแบบทดสอบวัดผล

สัมฤทธิ์หลังเรียนเพ่ือนําไปใชกับกลุมตัวอยางตอไป

3. แบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

3.1 ผูวิจัยไดรวบรวมงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเพ่ือศึกษาการสรางแบบประเมินคุณภาพโปรแกรมบทเรียนของ วาทินี ธีรภาวะ (2534, น.83-84) และมนตชัย เทียนทอง (2539, น.160-162) ปรับปรุงใหสอดคลองกับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีสรางข้ึน โดยแบงประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนออกเปน 2 ฉบับ คือ

1. แบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ฉบับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ผูศึกษาคนควาไดดําเนินการสรางโดยจัดแบงการประเมินออกเปนดานตาง ๆ ดังนี้

1.1 นักเรียนมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับคําราชาศัพท 1.2 นักเรียนสามารถนําความรูเก่ียวกับคําราชาศัพทไปใชไดถูกตอง

2. แบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ฉบับผูเชี่ยวชาญดานสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ผูศึกษาคนควาไดจัดแบงการประเมินออกเปน 2 ดาน ดังนี้

2.1 การประเมินการออกแบบกระบวนการสอน

54

2.2 การประเมินการออกแบบหนาจอ

โดยแบบประเมินคุณภาพท้ัง 2 ฉบับ ใชลักษณะการประเมินเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ซ่ึงกําหนดคาระดับความคิดเห็นออกเปน ดังนี้

ระดับ 5 หมายถึง ดีมาก ระดับ 4 หมายถึง ดี ระดับ 3 หมายถึง พอใช ระดับ 2 หมายถึง ควรปรับปรุง ระดับ 1 หมายถึง ใชไมได

การพิจารณาคาเฉลี่ยจะใชเกณฑ ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง ดีมาก คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ดี คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง พอใช คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2. 50 หมายถึง ควรปรับปรุง คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง ใชไมได

ผลการประเมินจากผูเชี่ยวชาญท่ียอมรับได คือ ตองมีคาตั้งแต 3.51 ข้ึนไป ซ่ึงถือวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีคุณภาพในระดับดีถึงดีมาก

3.2 ผูวิจัยนําแบบประเมินคุณภาพ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท้ัง 2 ฉบับ เสนอตอประธานท่ีปรึกษา เพ่ือตรวจสอบและปรับปรุงแกไข

4. แบบประเมินความพึงพอใจท่ีมีตอการใชการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผูวิจัยใชแบบประเมินความพึงพอใจท่ีมีตอการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของ

นักศึกษากลุมทดลอง เพ่ือทราบถึงระดับความพึงพอใจท่ีมีตอการใชคอมพิวเตอรชวยสอน เปนแบบวัดมาตราสวนประเมินประมาณคา 5 ระดับดังนี้

ระดับความเหมาะสม คะแนน มากท่ีสุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 นอย 2 นอยท่ีสุด 1

การแปลความหมาย ความหมาย ชวงคะแนน ระดับความรูมากท่ีสุด 4.21 – 5.00 ระดับความรูมาก 3.41 – 4.20 ระดับความรูปานกลาง 2.61 - 3.40

55

ระดับความรูนอย 1.81 – 2.60 ระดับความรูนอยท่ีสุด 1.00 – 1.80

การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยไดดําเนินการทดลอง โดยนําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีผานการปรับปรุงแกไขและนําไปทดลองใชในการเรียนการสอน เพ่ือหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตามลําดับข้ันตอนดังนี้

นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีแกไขเรียบรอยแลวไปดําเนินการทดลองกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีกําลังศึกษาในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2557 โรงเรียนบานคลองสงค อําเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 1 หองเรียน คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6/1 จํานวน 30 คน โดยดําเนินการดังนี้

1. ใหคําแนะนําในการใชเครื่องคอมพิวเตอรและบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกอนการทดลอง โดยใชเวลาใหคําแนะนําและใหทดลองใชคอมพิวเตอร 30 นาที

2. ทดสอบกอนเรียน (Pre-test) กับนักเรียนกลุมตัวอยางดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เรื่องคําราชาศัพท จํานวน 30 ขอ ท่ีผานการตรวจสอบคุณภาพแลว และตรวจใหคะแนนท่ีไดจากการทําแบบทดสอบไวเพ่ือทําการวิเคราะหตอไป

3. ดําเนินการสอน โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โดยตามแผนการจัดการเรียนรูใชเวลาสอน 10 คาบ ตามเนื้อหา ดังตาราง 2 ตารางท่ี 3 เนื้อหาท่ีสอนกลุมสาระกาเรียนรูภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โดย

ใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

4. ทดสอบหลังเรียน (Post-test) เม่ือสิ้นสุดการสอนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร

ชวยสอนครบทุกหนวยการเรียนรู จึงใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง โดยเปนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดียวกับแบบทดสอบกอนเรียน แลวตรวจใหคะแนน นําคะแนนท่ีไดท้ังสองครั้งไปวิเคราะหทางสถิติตอไป

เรื่อง จํานวนช่ัวโมง นามราชาศัพท 3 ชั่วโมง กริยาราชาศัพท 2 ชั่วโมง สรรพนามราชาศัพท 2 ชั่วโมง คําสุภาพ 3 ชั่วโมง

รวม 10 ช่ัวโมง

56

5. ใหนักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 จํานวน 9 ขอ การวิเคราะหขอมูล วิธีการทางสถิติตางๆ ท่ีใช

1. การศึกษาในครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงทดลอง (Experimcntal Research) ใชรูปแบบการทดลองแบบ หนึ่งกลุมสอบกอนและหลัง (One - Group Pretest - Posttest Design) ซ่ึงมีแบบแผนการทดลองดังนี้ (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538, น.249) ดังตาราง ตารางท่ี 4 แบบแผนการวิจัย

สัญลักษณท่ีใชในการวิจัย T1 แทน การสอบกอนท่ีจะจัดระทําการทดลอง X แทน การใชบทเรียนแบบโปรแกรม T2 แทน การสอบหลังจากท่ีไดจัดกระทําการทดลอง

ในการศึกษาในครั้งนี้ ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดังนี้ 1.1 จัดสงหนังสือขออนุญาตทําการศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลไปยัง

ผูอํานวยการโรงเรียนบานคลองสงค 1.2 ทดสอบกอนเรียนกลุมตัวอยางโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนจํานวน 30 ขอ แบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1.3 นําผลไปวิเคราะหขอมูลทางสถิติเพ่ือตรวจสอบประสิทธิภาพของบทเรียน

คา E1/E2 และตรวจสอบความมีนัยสําคัญแหงความแตกตางของคาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ใชสูตร (t-test)

2. ในการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาไดดําเนินการวิเคราะหโดยใชสถิติดังตอไปนี้ 2.1 หาคุณภาพแบบทดสอบกอน - หลังเรียน โดยหาคา IOC 2.2 หาประสิทธิภาพของบทเรียนแบบโปรแกรมตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 2.3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน

T1 x T2

57

3. สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 3.1 หาคาเฉลี่ย ( X ) คํานวณจากสูตร

สูตร n

XX ∑=

เม่ือ X แทน คาเฉลี่ย

∑ X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด

n แทน จํานวนคะแนนในกลุม

3.2 หาคาความสอดคลอง (IOC) ของแบบสอบถามความคิดเห็นตอบทเรียนสําเร็จรูป โดยใชดัชนีความสอดคลอง จากสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543, น.249)

สูตร IOC = ∑RN

เม่ือ IOC แทน คาดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามกับ ความคิดเห็น

∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญท้ังหมด N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญ

3.3 ทดสอบสมมุติฐานเพ่ือหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูปตามเกณฑมาตรฐาน 80/80

จากสูตรท่ี 1

1001 ×= ∑

An

XE

เม่ือ E1 แทน คาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบระหวางเรียน ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ∑X แทน คะแนนรวมของนักเรยีนหลังจากทํา

แบบทดสอบระหวางเรียน A แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบระหวางเรียน

n แทน กลุมตัวอยาง

58

3.4 วิเคราะหประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 / 80 จากสูตร E1 / E2 (ชัยยงค พรหมวงศ, 2537, น.294 - 296)

จากสูตรท่ี 2 1002 ×= ∑

Bn

FE

เม่ือ E2 แทน คาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

หลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

∑F แทน คะแนนรวมของนักเรียนหลังจากทําแบบทดสอบวัดผล

สัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

หลังเรียน

n แทน กลุมตัวอยาง

3.5 วิเคราะหเปรียบเทียบหาความแตกตางระหวางคะแนนการทดสอบกอน

เรียนและหลังเรียนโดยใช t-test (t-Dependent) (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543, น.104)

สูตร

( )1)( 22

−=

∑ ∑∑

nDDn

Dt

เม่ือ t แทน คา t-test

n แทน จํานวนผูเรียนในกลุมตัวอยาง

∑D แทน ผลรวมของผลตางของคะแนนของนักเรียนแตละคน

∑𝐷2 แทน ผลรวมของผลตางของคะแนนของนกัเรียนยกกําลัง

2)(∑D แทน ผลรวมของผลตางของคะแนนของนักเรียน

ท้ังหมดยกกําลัง

59

3.6 วิเคราะหแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรียนเปนรายขอเพ่ือหาคาความยากงาย (p) และหาคาอํานาจจําแนก (r) (พวงรัตน ทวีรัตน. 2543: 129) สูตรการหาคาระดับความยาก (Difficulty)

สูตร P = NR

เม่ือ P แทน คาความยากของคําถามแตละขอ

R แทน จํานวนผูตอบถูกในแตละขอ

N แทน จํานวนผูเขาสอบท้ังหมด

3.7 การวิเคราะหคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบดวยการหาคาอํานาจจําแนกโดยใชสูตร (พวงรัตนทวีรัตน. 2543: 130) ดังนี้

สูตรการวิเคราะหหาอํานาจจําแนก (Discrimination)

สูตร r= N

RR LU −

เม่ือ r แทน คาอํานาจจําแนก RU แทน จํานวนนักเรียนในกลุมสูงท่ีตอบถูก

RL แทน จํานวนนักเรียนในกลุมต่ําท่ีตอบถูก

N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยางท้ังหมด

3.8 การหาคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ โดยใชสูตร KR - 20 ของคูเดอร ริชารด

สัน (Kuder and Richardson) (พวงรัตน ทวีรัตน, 2540, น.65)

สูตร r = n

n−1�1−∑pqS2

เม่ือ r แทน คาอํานาจจําแนกเปนรายขอ n แทน จํานวนคนท่ีตอบถูกในกลุมสูง p แทน จํานวนคนท่ีตอบถูกในกลุมต่ํา q แทน สัดสวนของผูตอบผิดตอผูเขาสอบท้ังหมด (n) หรือ =1-p

𝑠2 แทน คะแนนความแปรปรวนของแบบทดสอบท้ังฉบับ

บทที่ 4

ผลการวิจัย

การวิจัยเรื่อง ผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานคลองสงค โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีเปนกลุมตัวอยางจํานวน 30 คนซ่ึงผูวิจัยไดดําเนินการทดลองดวยตนเองไดเสนอลําดับข้ันการวิเคราะหขอมูล และผลการวิเคราะหขอมูล ดังนี้

1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 กอนและหลังการใชคอมพิวเตอรชวยสอน

2. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท

ผลการวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยขอเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 กอน

และหลังการใชคอมพิวเตอรชวยสอน

ตารางท่ี 5 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลงัเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท

คะแนน n �̅� S.D. t

คะแนนกอนเรียน 30 9.53 1.57 34.87** คะแนนหลังเรียน 30 23.83 2.11

** มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

จากตาราง 5 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 มีคะแนนกอนเรียนเฉลี่ยเทากับ 9.53 คะแนน คาความเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.57 และมีคะแนนหลังเรียนเทากับ 23.83 คะแนนคาความเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 2.11 เม่ือเปรียบเทียบระหวางคะแนนท้ังสองครั้ง พบวา คะแนนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสูงกวาคะแนนกอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

60

61

2. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท

ผูวิจัยไดใหกลุมตัวอยางท้ัง 30 คนทําแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนจํานวน 9 ขอ หลังการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน จากนั้นนําคาระดับท่ี

ไดมาหาคาเฉลี่ย (�̅�) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) แลวนําไปแปรความหมายคาระดับตามเกณฑท่ีกําหนดไว ปรากฏดังตารางท่ี 6

ตารางท่ี 6 คาระดับเฉลี่ย (�̅�) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมี ม ตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ท่ี รายการประเมิน 𝒙� SD การแปล

ความหมาย 1 นักเรียนภาคภูมิใจท่ีไดเรียนรูดวยตนเอง 4.67 0.47 มากท่ีสุด 2 นักเรียนสนกุสนานกับการใชบทเรียน

คอมพิวเตอรชวยสอน 4.73 0.45 มากท่ีสุด

3 นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนมากข้ึนเม่ือเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

4.77 0.43 มากท่ีสุด

4 นักเรียนมีความรูเพ่ิมข้ึนหลังการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

4.57 0.50 มากท่ีสุด

5 นักเรียนไดเรียนรูตามความถนัดและความสามารถของตนเอง

4.60 0.49 มากท่ีสุด

6 การเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนงายกวาการเรียนดวยวิธีอ่ืนๆ

4.70 0.46 มากท่ีสุด

7 นักเรียนไมรูสึกอายเพ่ือนเม่ือตอบคําถามผิด 4.60 0.49 มากท่ีสุด

8 เสียงดนตรีและเสียงประกอบทําใหบทเรียนนาสนใจ

4.63 0.49 มากท่ีสุด

9 นักเรียนทราบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของตนเองไดทันทีหลังการเรียนรู

4.60 0.49 มากท่ีสุด

ผลเฉล่ียรวม 4.65 0.47 มากท่ีสุด

จากตารางท่ี 6 ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง

คําราชาศัพทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ในภาพรวมท้ังหมดนักเรียนมีความพึงพอใจตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ผลการวิเคราะหพบวา นักเรียนมีความพึงพอใจอยูในระดับมากท่ีสุด

( �̅� = 4.65, SD = 0.47) นักเรียนมีความพึงพอใจท่ีดีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานนอกจากนี้จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและการสอบถามนักเรียนซ่ึงเปนไปตาม

62

สมมติฐานมีความพึงพอใจท่ีดีตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนรูสึกมีอิสระท่ีไดเรียนรูดวยตนเอง และมีความสุขในการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง ผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานคลองสงค เปนการวิจัยรูปแบบจําลองการทดลอง (Pre- Experimental Designs or Nondesigns) แบบกลุมเดียวมีการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน (One - group pretest - posttest design) มีลําดับการดําเนินงานดังนี้

วิธีดําเนินการวิจัย

วัตถุประสงคของการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค (1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 กอนและหลังการใชคอมพิวเตอรชวยสอน (2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนวิชาภาษาไทยของโรงเรียนบานคลองสงค ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2557 จํานวน 1 หองเรียน จํานวนนักเรียน 30 คนซ่ึงไดมาโดยใชหองเรียนเปนหนวยในการสุม เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท ท่ีมีประสิทธิภาพ 84.28 / 89.00 ซ่ึงเปนไปตามเกณฑ 80/80 ท่ีกําหนดไว แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คําราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีมีคาความยากงาย (P) อยูระหวาง 0.20 - 0.77 และคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.36 - 0.94 และมีคาความเชื่อม่ันเทากับ 0.93 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 สรุปผลการวิจัย

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .01 ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานการวิจัยท่ีกําหนดไว

2. ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทโดยภาพรวม พบวา นักเรียนมีความพึงพอใจท่ีดีตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท อยูในระดับ มากท่ีสุด การอภิปรายผลการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัย เรื่อง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 สามารถอธิบายผลการวิจัยในดังนี้

63

64

1. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

จากการวิจัย พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .01 ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานการวิจัยท่ีกําหนดไว และการเรียนดวยบทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เปนไปตาม

สมมติฐานท่ีตั้งไว คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนเรียนมีคาเทากับ (�̅� = 9.53, S.D. =

1.57) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนมีคาเทากับ (�̅� = 25.97, S.D. = 2.12) เปนไปตามเกณฑท่ีกําหนดไว นักเรียนมีความรูความเขาใจกอนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแตกตางอยางมีนัยสําคัญ .01 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ท้ังนี้เนื่องมาจากบทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไดพัฒนาข้ึนในดานเนื้อหาและดานสื่อและเทคโนโลยผีูวิจัยไดทําการศึกษา และวิเคราะหหลักสูตรในบทเรียนเพ่ือทําความเขาใจเก่ียวกับการเรียนรูของเนื้อหา การวัดและประเมินผลอยางเปนระบบเพ่ือนํามากําหนดจุดประสงคการเรียนรูในบทเรียน นอกจากนี้บทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนท่ีพัฒนาข้ึนไดผานการประเมินคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญ ท้ังทางดานเนื้อหา ดานภาษา ภาพและเสียง ตลอดจนเทคนิคในการนําเสนอ ซ่ึงผลในการประเมินมีความเห็นโดยรวมในแนวเดียวกันอยูในระดับดีมาก อีกท้ังบทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไดผานการหาประสิทธิภาพเปนไปตามเกณฑ 80 / 80 แลวนํามาปรับปรุงแกไขใหถูกตองเหมาะสมกับนักเรียนทําใหผลการเรียนรูทางการเรียนของนักเรียนสูงข้ึน สอดคลองกับงานวิจัยของ อาวีมาศ เครือมาศ (2548, น. 39 - 43) ไดศึกษาเพ่ือการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย เรื่อง องคประกอบศิลปกับงานจิตรกรรม สําหรับนักเรียนชวงชั้นท่ี 4 ผลการศึกษาพบวา ภายหลังจากการศึกษาคนควาไดบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียท่ีมีคุณภาพท้ังดานเนื้อหาและดานสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาอยูในระดับดี และมีประสิทธิภาพโดยรวมเปน 87.09 / 86.85 เปนไปตามเกณฑท่ีกําหนดไว นักเรียนมีความรูความเขาใจกอนและหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดียแตกตางอยางมีนัยสําคัญ .01 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน และเอกภูมิ ชูนิตย (2553, น. 121)ไดศึกษาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง ทวีปเอเชียท่ีสรุปบทเรียนดวยแผนท่ีความคิด สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ผลการศึกษาพบวา ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง ทวีปเอเชียท่ีสรุปบทเรียนดวยแผนท่ีความคิดสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 มีประสิทธิภาพเทากับ 81.60 / 82.82 นักเรียนท่ีเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 รวมท้ังนักเรียนมีความคิดเห็นตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง ทวีปเอเชียในระดับ เห็นดวยมากท่ีสุด ใ

นอกจากนี้บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในแตละหนวยยอยๆจะมีแบบฝกหัดระหวางเรียนใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติ ฝกทักษะและตรวจสอบความเขาใจในเรื่องนั้นๆดวยซ่ึงเม่ือพบวาไมเขาใจในเรื่องใดสามารถกลับไปศึกษาใหมใหเขาใจไดอยางรวดเร็ว และจะก่ีครั้งก็ได จึงทําใหนักเรียนไดตรวจสอบดวยตัวเองในเรื่องท่ีเรียนไป สอดคลองกับคํากลาวของโรเบิรต กาเย ท่ีกลาววา

65

การแสดงการเรียนรูกลับไปยังผูเรียน หรือผูเรียนไดรับทราบผลการเรียนรูทันทีซ่ึงจะทําใหนักเรียนมีความเขาใจยิ่งข้ึน

2. ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โดยภาพรวมพบวา นักเรียนมีความพึงพอใจท่ีดีตอการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 อยูในระดับ มากท่ีสุด หากเม่ือพิจารณาความพึงพอใจสามารถอธิบายไดดังนี้ ผลการวิเคราะหพบวา

นักเรียนมีความพึงพอใจอยูในระดับ มากท่ีสุด (�̅�=4.67, S.D. = 0.19) นักเรียนมีความคิดเห็นท่ีดีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนซ่ึงเปนไปตามสมมติฐาน

นอกจากนี้จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและการสอบถามนักเรียนซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานมีความพึงพอใจในการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน รูสึกมีอิสระท่ีไดเรียนรูดวยตนเอง และมีความสุขในการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ขอเสนอแนะ

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยแบงขอเสนอแนะเปน 2 สวนดังนี้ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช

1.1 จากการวิจัยพบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท ทําใหนักเรียนเกิดความสนใจ มีความกระตือรือรนท่ีจะศึกษา ตื่นเตน เราใจ เม่ือไดศึกษาดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท จึงควรไดรับการสนับสนุนและสงเสริมใหมีการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระดับชั้นอ่ืนๆตอไป

1.2 จากผลการทดลอง พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนท่ีเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีแตกตางกันข้ึนอยูกับระดับการเรียนรูตนเอง การรับขอมูลและความสามารถของตัวนักเรียนเอง ดังนั้นคุณครูจึงควรคํานึงถึงเนื้อหาท่ีมีความยากงายของบทเรียนดวย

1.3 ควรนํารูปแบบการสอนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนมาบูรณาการกับการสอนตามคูมือครู เพ่ือประโยชนตอครูผูสอนในดานการสอนโดยครูผูสอนพิจารณาขอดีของแตละแบบและปรับขอดอยใหเปนประโยชนตอนักเรียน

1.4 เวลาท่ีใชในการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนคุณครูอาจยืดหยุนไดตามความเหมาะสมตามระดับความสามารถของนักเรียน แตไมควรมากเกินไปอาจจะทําใหนักเรียนเกิดความเบื่อหนายได

66

2. ขอเสนอแนะเพ่ือการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในระดับชวงชั้นอ่ืนๆ โดยปรับ

เนื้อหาและกิจกรรมใหมีความยากงายและเหมาะสมกับชวงชั้นของนักเรียน 2.2 ควรมีการศึกษาผลการเรียนรูดานความรู จากการทําแผนท่ีความคิด เพ่ือ

สงเสริมใหนักเรียนพัฒนาทักษะในการคิด และการจัดระเบียบทางความคิด สงเสริมอิสระในทางความคิดของนักเรียน

2.3 ควรสงเสริมใหกลุมสาระการเรียนรู ท้ัง 8 กลุมสาระการเรียนรู ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเพ่ือใชเปนสื่อประกอบการเรียนการสอนเพ่ือจะสงผลใหผูเรียนมีความรู ความสามารถเพ่ิมมากข้ึน และนําความรูท่ีไดรับไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันตลอดจนถึงอนาคต

2.4 ควรพัฒนาเปนบทเรียนอิเล็กทรอนิกสท่ีสามารถใชงานผานเว็บไซต หรืออุปกรณเคลื่อนท่ี แท็บเล็ต สมารทโฟน เพ่ือใหสามารถใชงานไดสะดวก และเขาถึงผูใชท่ีทุก ทุกเวลา

67

บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

พุทธศักราช 2544 คูมือการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ.

___________. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.

กระทรวงวัฒนธรรม. (2555). ความสําคัญของภาษาไทย. คนเม่ือวันท่ี 3 กันยายน 2555, จาก: http://www.multure.go.th/ ilovethaiculture/index.php/tolkrahmeam-woman-ubon-ratana-kanya-king-siriwattana- species-wadi-3.

กานตสินี สุวพานิช. (2546). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาวิทยาศาสตร ว 305 ชั้นมัธยมศึกษาป ท่ี 3 เรื่องพลังงานกับชีวิต. วิทยานิพนธ การบริหารการศึกษาบัณฑิตมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ.

กิดานันท มลิทอง. (2541). เทคโนโลยีทางการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.

___________. (2543). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพ่ือการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอรุณ การพิมพ.

___________. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพ่ือการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอรุณ การพิมพ.

เก้ือกูล เสพยธรรม. (2542). ราชาศัพท การใช การอาน การเขียน. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒน. เครือรัตน เรืองแกว. (2545). หนังสือชุดรักภาษาไทย คําคลองจอง. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. ชัยยงค พรหมวงศ. (2537). “การทดสอบประสิทธิภาพชุดการสอน”. เอกสารการสอนชุดวิชา

เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา หนวยท่ี 1 – 5. นนทบุร:ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2546). การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร และบทเรียนเครือขาย.

(พิมพครั้งท่ี 6). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ฐะปะนีย นาครทรรพ. (2550). การสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2541). คอมพิวเตอรชวยสอน. กรุงเทพฯ: วงกมลโพดักชั่น. ทัศนีย ศุภเมธี. (2542). การสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏธนบุรี. ธนิต ดอกรักกลาง. (2541). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษดวย

คอมพิวเตอรชวยสอนระหวางภาพการตูนประกอบคําบรรยายดวยตัวหนังสือกับการตูนประกอบคําบรรยายดวยเสียง. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง, กรุงเทพฯ.

68

บรรณานุกรม (ตอ) นิจพงศ ศรีวรรณ. (2542). หลักภาษาไทย. เพชรบุรี: สถาบันราชภัฎเพชรบุรี. นิตยา เกษามูล. (2547). บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การสะกดคําของนักเรียน

ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานชวงชั้นท่ี 1. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. บุญเก้ือ ควรหาเวช. (2543). นวัตกรรมการศึกษา. พิมพครั้งท่ี 5. กรุงเทพฯ : RS Printing บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. (2547). การพัฒนาโครงการครูนักวิจัยและการประเมินแนวใหม: รายงาน

วิจัย กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปยนารถ เกษมสุข. (2546). ผลการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง สารสังเคราะหในวิชา วิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ ศึกษา

ศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ปยรัตน จิตมณี. (2546). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย เรื่องเศษสวน สําหรับนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาป ท่ี 5. สารนิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ.

ปย มาลากุล. (2536). การใชถอยคํา. กรุงเทพฯ: มหารัชตะการพิมพ. พรเทพ เมืองแมน. (2544). การออกแบบและพัฒนา CAI MULTIMEDIA ดวย Authorware.

กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. พวงรัตน ทวีรัตน. (2540). วธิีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. (พิมพครั้งท่ี 7).

กรุงเทพมหานคร : สํานักทดสอบทางการศึกษาจิตวิทยา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ภณิดา ชัยปญญา. (2541). ความพึงพอใจของเกษตรกรตอกิจการไรนาสวนผสมภายใตโครงการปรับโครงสรางและระบบการผลิตการเกษตรของจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม,เชียงใหม.

มนตชัย เทียนทอง. (2539). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนระบบมัลติมีเดียสําหรับ ฝกอบรมครู-อาจารยและนักฝกอบรมเรื่องการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรม ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, กรุงเทพฯ.

มยุรี ศรีคะเณย. (2547). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการเรียนและความพึงพอใจในการเรียนแบบรวมมือดวยบทเรียนคอมพิวเตอรวิชาภาษาไทย เรื่องรามเกียรติ์และคําราชาศัพท นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 ท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตางกัน. วิทยานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

ยืน ภูวรวรรณ. (2546). ไอซีทีเพ่ือการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. เยาวลักษณ ชาติสุขศิริเดช. (2541). ภาษาไทย1. กรุงเทพมหานคร: JW จิตรวัฒน.

69

บรรณานุกรม (ตอ) รัชพล คชชารุงโรจน. (2546). คิดทําหลากหลายกลยุทธการบริหารจัดการ โรงเรียนทันสมัย.

ดานสุทธาการพิมพ. กรุงเทพฯ. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรม ฉบบัราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร :

นานมีบุคสพับลิเคชั่นส. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). การวัดดานจิตพิสัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. วรรณี โสมประยูร. (2544). การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

ไทยวัฒนาพานิช. วรวิทย นิเทศศิลป. (2551). สื่อและนวัตกรรมแหงการเรียนรู. กรุงเทพฯ : สกายบุกส. วาทินี ธีระภาวะ. (2534). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคงทนในการ

เรียนรูโจทยคณิตศาสตรในการสอนซอมเสริมจุดบกพรองเรื่องเวลาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 โดยใชชุดการสอนซอมเสริมตามปกติ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

วิสุทธิ ์โรจนพจนรัตน. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: พัฒนศึกษา.

วุฒิชัย ประสารสอย. (2543). บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน : นวัตกรรมเพ่ือการศึกษา. กรุงเทพฯ: วี.เจ.พริ้นติ้ง.

ศิริชัย นามบุร.ี (2544). การสรางบทเรียนสําเร็จรูปชวยสอน วิชาความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับคอมพิวเตอร. วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, กรุงเทพฯ.

สนิท บุญฤทธิ์. (2544). ราชาศัพท. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก. สราญ ปริสุทธิกุล. (2548). สราง CAI แล E-Learning ดวย Authorware. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด

ยูเคชั่น. สุพัฒน สุกมลสันต. (2541). การสรางและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนแบบสื่อ

หลากหลายเพ่ือสอนภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เสนีย วิลาวรรณ. (2536). คําราชาศัพท. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวานกราฟก จํากัด. เสาวลักษณ มโนภิรมย. (2544). การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่องคู

อันดับและกราฟ อัตราสวนและรอยละ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

70

บรรณานุกรม (ตอ) อาวีมาศ เครือมาศ. (2548). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรมัลติมีเดีย เรื่อง องคประกอบศิลปกับ

งานจิตรกรรม สําหรับนักเรียนชวงชั้นท่ี 4. สารนิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อุปกิตศิลปะสาร, พระยา. (2533). หลักภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช. เอกภูมิ ชูนิตย. (2553). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง ทวีปเอเชียท่ีสรุปบทเรียน

ดวยแผนท่ีความคิด สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Alessi, S.M. and S.R. Trollip. (1991). Computer-based-based-instruction,Methods and Development. Englewood Cliffs. Ne Jersey : Prentice Hall.

Anderson,R.C.,P. (1984). A schema theories view of reading comprehension. New York: Longman.

Auscamp, Steward. (1987). Applied Social Psychology. New Jersey : Prentice – Hall Inc. Chang, C. (2002). The Impact of Different Forms of Multimedia CAI on Student’s

Science Achievement [Online]. Available : http://www.eric.ed.gov/...[2007,March 21].

Clayton,I.L. (1993). The relationship between computer-assisted instruction in reading and Mathematics achievement and selected student variables.Ph.D. The University of Southern. Mississippi. Dissertation Abstracts International, 53 (8), 2777-A.

Davis, Keith. (1981). Hunan Behavior at Work : Organization Behavior. New York : McGraw Hill Book.

Good, Cartar V. (1973). Dictionary of Education. New YorK : McGraw-Hill Book. Korman, A.K. (1977). Organizational behavior, Englewoo Cliffs. New Jwrsey : Prentice Hall. Kuder. (1993). การหาความเชื่อม่ันโดยใชวิธีการของคูเดอร ริชารดสัน (Kuder Richardson

Method). คนเม่ือ 5 สิงหาคม 2555, จาก: http://phep.ph.mahidol.ac.th/ Academics/CAI_SPSS_PHEP626/SP_Final/c6fset.htm. Lepper and Chabay. (1985). One on one tutoring by humans and computers. [Online].

Available : http://www.edu.nu.ac.th/...[2007, August 5].

71

บรรณานุกรม (ตอ)

Milheim, & Martin. (1991). The Impact of Multimedia Instruction upon Strdent Attitude and Achievement and Relationship with Learning Style. Lincoln : The University of Nebraska.

Rumelhart, D,. and A, Ortony, (1997). Toward and Interactive Model of Reading: Attention and Performance. New Jersey : Erlbaum Associates.

West,S.G. & Aiken,L.S.(1991). Multiple regression: Testing and interpretiong interactions. Newbury Park: Sage.

Wolman, Benjamin B. (1973). Dictionary of Behavioral Science. New York: Von Nonstrand Reinhold.

Yalcinaip, G. (1995). Effectiveness of using Computer-Assisted Instruction for Teaching the mole comcept. Journal of Research in Science Teaching, 32 (10),

1083-1095.

ภาคผนวก

72

73

ภาคผนวก ก

รายช่ือผูเช่ียวชาญตรวจสอบเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

74

รายช่ือผูเช่ียวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือในการวิจัย 1. ผศ.ดร.ชัยรัตน จุสปาโล คณบดีคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ 2. อาจารยฐานันท ตั้งรุจิกุล หัวหนาสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ 3. อาจารยเจรจา บุญวรรณโณ หัวหนาสาขาวิชาภาษาไทยเพ่ือการสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหาดใหญ

75

76

77

78

ภาคผนวก ข การหาคุณภาพของเครื่องมือท่ีใชในการศึกษา

78

79

ตารางท่ี 7 แสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ระหวางจุดประสงคกับเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย จํานวน 5 แผน

แผนการ

จัดการเรียนรู คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ∑R IOC ผลการพิจารณา คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3

1 1 0 1 2 0.67 สอดคลองใชได 2 1 1 1 3 1.00 สอดคลองใชได 3 1 1 1 3 1.00 สอดคลองใชได 4 1 1 1 3 1.00 สอดคลองใชได 5 1 1 1 3 1.00 สอดคลองใชได รวม 4.67

* คาความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย

= N

R∑

= = 0.93

4.67

5

80

ตารางท่ี 8 แสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คําราชาศัพท

ขอ คะแนนของผูเชี่ยวชาญ

ผลรวมของคะแนน IOC =

NR∑

ผลการพิจารณา

คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 ∑ R

1 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 2 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 3 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 4 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 5 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 6 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 7 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 8 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 9 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 10 +1 0 +1 2 0.67 ใชได 11 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 12 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 13 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 14 0 +1 +1 2 0.67 ใชได 15 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 16 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 17 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 18 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 19 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 20 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 21 +1 +1 0 2 0.67 ใชได 22 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 23 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 24 0 +1 +1 2 0.67 ใชได 25 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 26 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 27 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 28 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได

81

ตารางท่ี 8 (ตอ)

ขอ คะแนนของผูเชี่ยวชาญ

ผลรวมของคะแนน IOC =

NR∑

ผลการพิจารณา

คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 ∑ R

29 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 30 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 31 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 32 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 33 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 34 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได .35 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 36 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 37 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 38 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 39 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 40 +1 0 +1 2 0.67 ใชได 41 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 42 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 43 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 44 0 +1 +1 2 0.67 ใชได 45 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 46 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 47 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 48 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 49 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 50 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 51 +1 +1 0 2 0.67 ใชได 52 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 53 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 54 0 +1 +1 2 0.67 ใชได 55 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 56 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 57 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได

82

ตารางท่ี 8 (ตอ)

ขอ คะแนนของผูเชี่ยวชาญ

ผลรวมของคะแนน IOC =

NR∑

ผลการพิจารณา

คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 ∑ R

58 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 59 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 60 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได

รวม 57.36

* คาความสอดคลองของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คําราชาศัพท

= 60

57.36

= 0.96

83

ตารางท่ี 9 วิเคราะหความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ กับจุดประสงคการเรียนรู

เรื่องคําราชาศัพท สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ขอท่ี P R ขอท่ี P R ผลการพิจารณา 1 0.72 0.54 31 0.57 0.47 คัดเลือกไว 2 0.39 0.36 32 0.43 0.36 คัดเลือกไว 3 0.61 0.71 33 0.50 0.36 คัดเลือกไว 4 0.50 0.55 34 0.40 0.40 คัดเลือกไว 5 0.48 0.65 35 0.67 0.40 คัดเลือกไว 6 0.36 0.36 36 0.43 0.36 คัดเลือกไว 7 0.75 0.49 37 0.30 0.36 คัดเลือกไว 8 0.59 0.64 38 0.77 0.94 คัดเลือกไว 9 0.29 0.36 39 0.53 0.92 คัดเลือกไว 10 0.30 0.49 40 0.57 0.94 คัดเลือกไว 11 0.31 0.36 41 0.53 0.92 คัดเลือกไว 12 0.68 0.40 42 0.57 0.36 คัดเลือกไว 13 0.72 0.38 43 0.67 0.36 คัดเลือกไว 14 0.72 0.36 44 0.60 0.36 คัดเลือกไว 15 0.28 0.36 45 0.60 0.40 คัดเลือกไว 16 0.50 0.55 46 0.37 0.47 คัดเลือกไว 17 0.55 0.36 47 0.67 0.40 คัดเลือกไว 18 0.77 0.36 48 0.73 0.53 คัดเลือกไว 19 0.73 0.42 49 0.73 0.40 คัดเลือกไว 20 0.72 0.54 50 0.50 0.60 คัดเลือกไว 21 0.75 0.36 51 0.60 0.40 คัดเลือกไว 22 0.72 0.36 52 0.67 0.40 คัดเลือกไว 23 0.73 0.36 53 0.33 0.40 คัดเลือกไว 24 0.69 0.36 54 0.73 0.36 คัดเลือกไว 25 0.55 0.36 55 0.40 0.40 คัดเลือกไว 26 0.72 0.36 56 0.67 0.53 คัดเลือกไว 27 0.72 0.37 57 0.67 0.40 คัดเลือกไว 28 0.47 0.46 58 0.67 0.40 คัดเลือกไว 29 0.76 0.36 59 0.67 0.40 คัดเลือกไว 30 0.65 0.36 60 0.53 0.51 คัดเลือกไว

คาความเชื่อม่ัน 0.93

84

ตารางท่ี 10 แสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท

ขอ คะแนนของผูเชี่ยวชาญ

ผลรวมของคะแนน IOC =

NR∑

ผลการพิจารณา

คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 ∑ R

1 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 2 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 3 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 4 +1 0 +1 2 0.67 ใชได 5 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 6 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 7 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 8 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได 9 +1 +1 +1 3 1.00 ใชได รวม 8.67

* คาความสอดคลองของแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องคําราชาศัพท

= 9

8.67

= 0.96

85

ภาคผนวก ค เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา

85

86

แผนการจัดการเรียนรูรายวิชาภาษาไทย เรื่องคําราชาศัพท โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ประจําปการศึกษา 2557

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 หนวยท่ี 7 เรื่อง กลอนกานทจากบานสวน เวลา 10 ช่ัวโมง แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1 เรื่อง เรียนรูราชาศัพท เวลา 2 ช่ัวโมง ผูสอน นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ โรงเรียนบานคลองสงค วันท่ี.............................

1. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวช้ีวัด

มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรู และคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสราง

วิสัยในการดํารงชีวิต และมีนิสัยรักการอาน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ เขียนยอความ และ เขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา

และพลังของภาษาภูมิปญญาทางภาษาและรักภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน ขอท่ี 3 สามารถใชภาษาในการสนทนา เชื้อเชิญ ชักชวน ปฏิเสธ ชีแ้จงดวยถอยคํา สุภาพและใชคําราชาศัพทไดถูกตอง รูจักคิดไตรตรองกอนพูดและเขียน 2. สาระสําคัญ

การรูจักเขาใจความหมายของคํา ชวยใหเลือกใชคําไดถูกตองตามหลักภาษา ใชคําไดสุภาพเหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ สื่อสารไดตรงตามความมุงหมายเพ่ือเปนการรักษาศิลปวัฒนธรรมทางภาษา

3. จุดประสงคการเรียนรู

1. ใชคําราชาศัพทและคําสุภาพตาง ๆ ไดถูกตองตามฐานะของบุคคล 2. นําคําราชาศัพทและคําสุภาพไปใชแตงประโยคชนิดตาง ๆ ไดถูกตอง 3. เลือกใชคําสุภาพไดถูกตอง

4. สาระการเรียนรู คําราชาศัพทและคําสุภาพ

87

5. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู (ช่ัวโมงท่ี 1) ข้ันนํา 5.1 ครูชี้แจงใหนักเรียนทราบเก่ียวกับบทบาทของนักเรียนในการทํากิจกรรมการเรียนรู

เชน นักเรียนนั่งเรียนโดยใชคอมพิวเตอร 1 คน ตอ 1 เครื่อง 5.2 กอนทําการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ครูแนะนําใหนักเรียนศึกษาคํา

ชี้แจงในการใชบทเรียนใหเขาใจกอนเนื่องจากแตละหนวยการเรียนจะมีรายการเลือกยอยๆ ใหนักเรียนศึกษา

5.3 นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง คําราชาศัพท จํานวน 30 ขอ ใชเวลา 30 นาที จากนั้นบันทึกคะแนนการทําแบบทดสอบกอนเรียน

ข้ันสอน 5.4 นักเรียนศึกษาดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดวยตนเองจากนั้นใหนักเรียนทํา

แบบฝกหัดทายบทเรื่อง นามราชาศัพท 5.5 ระหวางการเรียน ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเรียนรูดวยตนเองใหมากท่ีสุด ข้ันสรุป 5.6 ขณะท่ีนักเรียนเรียนรู ครูสังเกต และเดินดูการเรียนรูของนักเรียนอยางใกลชิด หาก

นักเรียนคนใดมีปญหาครูใหการชวยเหลือ 5.7 สรุปผลท่ีไดจากการเรียนรูควรเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการแสดง

ความคิดเห็นและแสดงออกมากท่ีสุด 5.8 เม่ือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนเรียบรอยแลวใหนักเรียนตรวจสอบ และเก็บวัสดุ

อุปกรณใหเรียบรอย 5.9 ทําแบบทดสอบกอนเรียน

6. ส่ือการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท 7. การวัดผลและประเมินผล

7.1 วิธีการ 7.1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

- ความซ่ือสัตย - ความรับผิดชอบ - การมีสวนรวม - การยอมรับฟงความคิดเห็น

7.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล 7.2.1 แบบทดสอบกอนเรียน 7.2.2 แบบฝกหัดระหวางเรียน

88

7.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจ 7.3 เกณฑการวัดและประเมินผล

7.3.1 เกณฑการประเมิน 26-30 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม 21-25 คะแนน หมายถึง ดี 15-20 คะแนน หมายถึง พอใช 0-14 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 8. คุณธรรม จริยธรรมท่ีควรเนน

8.1 ความมีระเบียบวินัยในตนเอง 8.2 การตรงตอเวลา 8.3 ความรับผิดชอบ 8.4 ความซ่ือสัตย

9. บันทึกผลหลังการสอน (แผนการเรียนรูท่ี………)

ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................................... (นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ)

ตําแหนง ครู

89

10. บันทึกขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ...............................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................... (นายธวัธ เฮาหนู)

ผูอํานวยการโรงเรียนบานคลองสงค

90

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2 เรื่อง นามราชาศัพท เวลา 2 ช่ัวโมง ผูสอน นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ โรงเรียนบานคลองสงค วันท่ี.............................

1. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวช้ีวัด

มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรู และคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสราง

วิสัยในการดํารงชีวิต และมีนิสัยรักการอาน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ เขียนยอความ และ เขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา

และพลังของภาษาภูมิปญญาทางภาษาและรักภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน ขอท่ี 3 สามารถใชภาษาในการสนทนา เชื้อเชิญ ชักชวน ปฏิเสธ ชีแ้จงดวยถอยคํา สุภาพและใชคําราชาศัพทไดถูกตอง รูจักคิดไตรตรองกอนพูดและเขียน 2. สาระสําคัญ

การรูจักเขาใจความหมายของคํา ชวยใหเลือกใชคําไดถูกตองตามหลักภาษา ใชคําไดสุภาพเหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ สื่อสารไดตรงตามความมุงหมายเพ่ือเปนการรักษาศิลปวัฒนธรรมทางภาษา

3. จุดประสงคการเรียนรู

ใชคํานามราชาศัพทและคําสุภาพตาง ๆ ไดถูกตองตามฐานะของบุคคล 4. สาระการเรียนรู

คํานามราชาศัพท 5. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู

(ช่ัวโมงท่ี 1) ข้ันนํา 5.1 ครูชี้แจงใหนักเรียนทราบเก่ียวกับบทบาทนักเรียนในการทํากิจกรรมการเรียนรูเชน

นักเรียน นั่งเรียนโดยใชคอมพิวเตอร 1 คน ตอ 1 เครื่อง

91

5.2 กอนทําการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ครูแนะนําใหนักเรียนศึกษาคําชี้แจงในการใชบทเรียนใหเขาใจกอน ซ่ึงในหนวยการเรียนจะมีรายการเลือกยอย ๆใหนักเรียนศึกษา

ข้ันสอน 5.3 นักเรียนศึกษาดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดวยตนเองจากนั้นใหนักเรียนทํา

แบบฝกหัดทายบท เรื่องนามราชาศัพท 5.4 ระหวางการเรียน ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนเรียนรูดวยตนเองใหมากท่ีสุด ข้ันสรุป 5.5 ขณะท่ีนักเรียนเรียนรู ครูสังเกต และเดินดูการเรียนรูของนักเรียนอยางใกลชิดหาก

นักเรียนคนใดมีปญหาครูใหการชวยเหลือ 5.6 สรุปผลท่ีไดจากการเรียนรูควรเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการแสดง

ความคิดเห็นและแสดงออกมากท่ีสุด 5.7 เม่ือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนเรียบรอยแลวใหนักเรียนตรวจสอบและเก็บวัสดุ

อุปกรณใหเรียบรอย 6. ส่ือการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท 7. การวัดผลและประเมินผล

7.1 วิธีการ 7.1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

- ความซ่ือสัตย - ความรับผิดชอบ - การมีสวนรวม - การยอมรับฟงความคิดเห็น

7.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล 7.2.1 แบบทดสอบกอนเรียน 7.2.2 แบบฝกหัดระหวางเรียน 7.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจ

7.3 เกณฑการวัดและประเมินผล 7.3.1 เกณฑการประเมิน

26-30 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม 21-25 คะแนน หมายถึง ดี 15-20 คะแนน หมายถึง พอใช

0-14 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

92

8. คุณธรรม จริยธรรมท่ีควรเนน 8.1 ความมีระเบียบวินัยในตนเอง 8.2 การตรงตอเวลา 8.3 ความรับผิดชอบ 8.4 ความซ่ือสัตย

9. บันทึกผลหลังการสอน (แผนการเรียนรูท่ี………)

ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................................... (นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ)

ตําแหนง ครู

10. บันทึกขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ...............................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................... (นายธวัธ เฮาหนู)

ผูอํานวยการโรงเรียนบานคลองสงค

93

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 3 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 3 เรื่อง กริยาราชาศัพท เวลา 2 ช่ัวโมง ผูสอน นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ โรงเรียนบานคลองสงค วันท่ี.............................

1. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวช้ีวัด

มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรู และคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสราง

วิสัยในการดํารงชีวิต และมีนิสัยรักการอาน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ เขียนยอความ และ เขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา

และพลังของภาษาภูมิปญญาทางภาษาและรักภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน ขอท่ี 3 สามารถใชภาษาในการสนทนา เชื้อเชิญ ชักชวน ปฏิเสธ ชีแ้จงดวยถอยคํา สุภาพและใชคําราชาศัพทไดถูกตอง รูจักคิดไตรตรองกอนพูดและเขียน 2. สาระสําคัญ

การรูจักเขาใจความหมายของคํา ชวยใหเลือกใชคําไดถูกตองตามหลักภาษา ใชคําไดสุภาพเหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ สื่อสารไดตรงตามความมุงหมายและเปนการรักษาศิลปวัฒนธรรมทางภาษา 3. จุดประสงคการเรียนรู

ใชคํากริยาราชาศัพท ไดถูกตองตามฐานะของบุคคล 4. สาระการเรียนรู

คํากริยาราชาศัพท 5. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู

(ช่ัวโมงท่ี 1) ข้ันนํา 5.1 ครูชี้แจงใหนักเรียนทราบเก่ียวกับบทบาทนักเรียนในการทํากิจกรรมการเรียนรูเชน

นักเรียนนั่งเรียนโดยใชคอมพิวเตอร 1 คน ตอ 1 เครื่อง

94

5.2 กอนทําการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ครูแนะนําใหนักเรียนศึกษาคําชี้แจงในการใชบทเรียนใหเขาใจกอนซ่ึงในหนวยการเรียนจะมีรายการเลือกยอยๆ ใหนักเรียนศึกษา

ข้ันสอน 5.3 นักเรียนศึกษาดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดวยตนเองจากนั้นใหนักเรียนทํา

แบบฝกหัดทายบท เรื่อง กริยาราชาศัพท 5.4 ระหวางการเรียน ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเรียนรูดวยตนเองใหมากท่ีสุด ข้ันสรุป 5.5 ขณะท่ีนักเรียนเรียนรู ครูสังเกต และเดินดูการเรียนรูของนักเรียนอยางใกลชิด หาก

นักเรียนคนใดมีปญหาครูใหการชวยเหลือ 5.6 สรุปผลท่ีไดจากการเรียนรูควรเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการแสดง

ความคิดเห็นและแสดงออกมากท่ีสุด 5.7 เม่ือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนเรียบรอยแลวใหนักเรียนตรวจสอบและเก็บวัสดุ

อุปกรณใหเรียบรอย 6. ส่ือการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท 7. การวัดผลและประเมินผล

7.1 วิธีการ 7.1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล

- ความซ่ือสัตย - ความรับผิดชอบ - การมีสวนรวม - การยอมรับฟงความคิดเห็น

7.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล 7.2.1 แบบทดสอบกอนเรียน 7.2.2 แบบฝกหัดระหวางเรียน 7.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจ

7.3 เกณฑการวัดและประเมินผล 7.3.1 เกณฑการประเมิน

26-30 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม 21-25 คะแนน หมายถึง ดี 15-20 คะแนน หมายถึง พอใช

0-14 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

95

8. คุณธรรม จริยธรรมท่ีควรเนน 8.1 ความมีระเบียบวินัยในตนเอง 8.2 การตรงตอเวลา 8.3 ความรับผิดชอบ 8.4 ความซ่ือสัตย

9. บันทึกผลหลังการสอน (แผนการเรียนรูท่ี………)

ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................................... (นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ)

ตําแหนง ครู

10. บันทึกขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ...............................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................... (นายธวัธ เฮาหนู)

ผูอํานวยการโรงเรียนบานคลองสงค

96

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4 เรื่อง สรรพนามราชาศัพท เวลา 2 ช่ัวโมง ผูสอน นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ โรงเรียนบานคลองสงค วันท่ี.............................

1. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวช้ีวัด

มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรู และคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสราง

วิสัยในการดํารงชีวิต และมีนิสัยรักการอาน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ เขียนยอความ และ เขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา

และพลังของภาษาภูมิปญญาทางภาษาและรักภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน ขอท่ี 3 สามารถใชภาษาในการสนทนา เชื้อเชิญ ชักชวน ปฏิเสธ ชีแ้จงดวยถอยคํา สุภาพและใชคําราชาศัพทไดถูกตอง รูจักคิดไตรตรองกอนพูดและเขียน 2. สาระสําคัญ

การรูจักเขาใจความหมายของคํา ชวยใหเลือกใชคําไดถูกตองตามหลักภาษา ใชคําไดสุภาพเหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ สื่อสารไดตรงตามความมุงหมายและเปนการรักษาศิลปวัฒนธรรมทางภาษา 3. จุดประสงคการเรียนรู

ใชคําสรรพนามราชาศัพท ไดถูกตองตามฐานะของบุคคล 4. สาระการเรียนรู

คําสรรพนามราชาศัพท 5. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู

(ช่ัวโมงท่ี 1) ข้ันนํา 5.1 ครูชี้แจงใหนักเรียนทราบเก่ียวกับบทบาทนักเรียนในการทํากิจกรรมการเรียนรูเชน

นักเรียนนั่งเรียนโดยใชคอมพิวเตอร 1 คน ตอ 1 เครื่อง

97

5.2 กอนทําการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ครูแนะนําใหนักเรียนศึกษาคําชี้แจงในการใชบทเรียนใหเขาใจกอนซ่ึงในหนวยการเรียนจะมีรายการเลือกยอยๆ ใหนักเรียนศึกษา

ข้ันสอน 5.3 นักเรียนศึกษาดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดวยตนเองจากนั้นใหนักเรียนทํา

แบบฝกหัดทายบทเรื่อง สรรพนามราชาศัพท 5.4 ระหวางการเรียน ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเรียนรูดวยตนเองใหมากท่ีสุด ข้ันสรุป 5.5 ขณะท่ีนักเรียนเรียนรู ครูสังเกต และเดินดูการเรียนรูของนักเรียนอยางใกลชิด หาก

นักเรียนคนใดมีปญหาครูใหการชวยเหลือ 5.6 สรุปผลท่ีไดจากการเรียนรูควรเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการแสดง

ความคิดเห็นและแสดงออกมากท่ีสุด 5.7 เม่ือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนเรียบรอยแลวใหนักเรียนตรวจสอบ และเก็บวัสดุ

อุปกรณใหเรียบรอย 6. ส่ือการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท

7. การวัดผลและประเมินผล 7.1 วิธีการ

7.1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล - ความซ่ือสัตย - ความรับผิดชอบ - การมีสวนรวม - การยอมรับฟงความคิดเห็น

7.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล 7.2.1 แบบทดสอบกอนเรียน 7.2.2 แบบฝกหัดระหวางเรียน 7.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจ

7.3 เกณฑการวัดและประเมินผล 7.3.1 เกณฑการประเมิน

26-30 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม 21-25 คะแนน หมายถึง ดี 15-20 คะแนน หมายถึง พอใช

0-14 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

98

8. คุณธรรม จริยธรรมท่ีควรเนน 8.1 ความมีระเบียบวินัยในตนเอง 8.2 การตรงตอเวลา 8.3 ความรับผิดชอบ 8.4 ความซ่ือสัตย

9. บันทึกผลหลังการสอน (แผนการเรียนรูท่ี………)

ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................................... (นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ)

ตําแหนง ครู

10. บันทึกขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ...............................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................... (นายธวัธ เฮาหนู)

ผูอํานวยการโรงเรียนบานคลองสงค

99

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 5 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 5 เรื่อง คําสุภาพ เวลา 2 ช่ัวโมง ผูสอน นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ โรงเรียนบานคลองสงค วันท่ี.............................

1. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวช้ีวัด มาตรฐานการเรียนรู

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรู และคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสราง วิสัยในการดํารงชีวิต และมีนิสัยรักการอาน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ เขียนยอความ และ เขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา

และพลังของภาษาภูมิปญญาทางภาษาและรักภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน ขอท่ี 3 สามารถใชภาษาในการสนทนา เชื้อเชิญ ชักชวน ปฏิเสธ ชีแ้จงดวยถอยคํา สุภาพและใชคําราชาศัพทไดถูกตอง รูจักคิดไตรตรองกอนพูดและเขียน 2. สาระสําคัญ

การรูจักเขาใจความหมายของคํา ชวยใหเลือกใชคําไดถูกตองตามหลักภาษา ใชคําไดสุภาพเหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ สื่อสารไดตรงตามความมุงหมายและเปนการรักษาศิลปวัฒนธรรมทางภาษา 3. จุดประสงคการเรียนรู

ใชคําสุภาพตางๆ ไดถูกตองตามฐานะของบุคคล 4. สาระการเรียนรู

คําสุภาพ 5. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู

(ช่ัวโมงท่ี 1) ข้ันนํา 5.1 ครูชี้แจงใหนักเรียนทราบเก่ียวกับบทบาทนักเรียนในการทํากิจกรรมการเรียนรู เชน

นักเรียนนั่งเรียนโดยใชคอมพิวเตอร 1 คน ตอ 1 เครื่อง

100

5.2 กอนทําการเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ครูแนะนําใหนักเรียนศึกษาคําชี้แจงในการใชบทเรียนใหเขาใจกอนซ่ึงในหนวยการเรียนจะมีรายการเลือกยอยๆใหนักเรียนศึกษา

ข้ันสอน 5.3 นักเรียนศึกษาดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดวยตนเองจากนั้นใหนักเรียนทํา

แบบฝกหัดทายบท เรื่อง คําสุภาพ 5.4 ระหวางการเรียน ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเรียนรูดวยตนเองใหมากท่ีสุด ข้ันสรุป 5.5 ขณะท่ีนักเรียนเรียนรู ครูสังเกต และเดินดูการเรียนรูของนักเรียนอยางใกลชิด หาก

นักเรียนคนใดมีปญหาครูใหการชวยเหลือ 5.6 สรุปผลท่ีไดจากการเรียนรูควรเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการแสดง

ความคิดเห็นและแสดงออกมากท่ีสุด 5.7 เม่ือปฏบิัติกิจกรรมการเรียนการสอนเรียบรอยแลวใหนักเรียนตรวจสอบ และเก็บวัสดุ

อุปกรณใหเรียบรอย 5.8 ทําแบบทดสอบหลังเรียน

6. ส่ือการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องคําราชาศัพท

7. การวัดผลและประเมินผล 7.1 วิธีการ

7.1.1 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล - ความซ่ือสัตย - ความรับผิดชอบ - การมีสวนรวม - การยอมรับฟงความคิดเห็น

7.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล 7.2.1 แบบทดสอบกอนเรียน 7.2.2 แบบฝกหัดระหวางเรียน 7.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจ

7.3 เกณฑการวัดและประเมินผล 7.3.1 เกณฑการประเมิน

26-30 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม 21-25 คะแนน หมายถึง ดี 15-20 คะแนน หมายถึง พอใช

0-14 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง

101

8. คุณธรรม จริยธรรมท่ีควรเนน 8.1 ความมีระเบียบวินัยในตนเอง 8.2 การตรงตอเวลา 8.3 ความรับผิดชอบ 8.4 ความซ่ือสัตย

9. บันทึกผลหลังการสอน (แผนการเรียนรูท่ี………)

ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ………………………………………………………………………………………………………………….……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.......................................................................... (นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ)

ตําแหนง ครู

10. บันทึกขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ...............................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................... (นายธวัธ เฮาหนู)

ผูอํานวยการโรงเรียนบานคลองสงค

102

แบบทดสอบกอนเรียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่อง คําราชาศัพท ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2557 จํานวน 60 ขอ คะแนน 60 คะแนน เวลา 1.30 นาที

คําส่ัง ใหนักเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกท่ีสุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดกลาวถึงคําราชาศัพทถูกตองท่ีสุด ก. ถอยคําท่ีใชกับพระมหากษัตริย ข. ขอความท่ีใชกับพระราชวงศ ค. ภาษาท่ีใชใหเหมาะสมกับฐานะของบุคคล ง. คําสุภาพท่ีใชยกยองบุคคลในสังคม 2. คําวา “ปู” หรือ “ตา” ใชคําราชาศัพท วาอยางไร ก. พระปตุลา ข. พระอัยกา ค. พระนัดดา ง. พระอัยยิกา 3. คําวา “หลาน” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระสุนิสา ข. พระชามาดา ค. พระนัดดา ง. พระราชปนัดดา 4. “พระมาตุจฉา” มีความหมายตรงกับขอใด ก. พ่ีสาว ข. ปา ค. เหลน ง. ลูกสะใภ 5. คําวา “พ่ีชาย” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระเชษฐา ข. พระปตุลา ค. พระอัยกา ง. พระมาตุจฉา 6. คําวา “ลูกสาว” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระสุณิสา ข. พระนัดดา ค. พระปนัดดา ง. พระราชธิดา 7. คําวา “ลูกเขย” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระชามาดา ข. พระเชษฐภาดา ค. พระปนัดดา ง. พระนัดดา

103

8. “พระสุณิสา” มีความหมายตรงกับขอใด ก. พ่ีสาวคนโต ข. ลูกสะใภ ค. ปา-อา ง. ลูกพ่ีลูกนองหญิง 9. คําราชาศัพทขอใด ไมใช คําราชาศัพทหมวดรางกาย ก. พระโอษฐ ข. พระเนตร ค. พระชงฆ ง. พระกุญชร 10. คําราชาศัพทขอใด ไมถูกตอง ก. พระนาภี – สะดือ ข. พระทนต – ฟน ค. พระหฤทัย – ใจ ง. พระหัตถ – แขน 11. “หนาผาก” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระนาสา ข. พระอุณาโลม ค. พระนลาฎ ง. พระหนุ 12. “ดวงตา” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระจักษุ ข. พระทนต ค. พระหนุ ง. พระศอ 13. “ปอด” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระหัตถ ข. พระโลมา ค. พระปปผาสะ ง. พระอัฐิ 14. “จมูก” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระกรรณ ข. พระศอ ค. พระปราง ง. พระนาสิก 15. “พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาหทัยเปรมปรีดประชวรปวดท่ี ตะโพก ชวงขา และ เลือด

ประจําเดือนมา มากผิดปกติ” คําท่ีขีดเสนใตควรเปลี่ยนเปนคําราชาศัพทใด ก. พระเขนย พระบังคมหนัก พระเสโท ข. พระชิวหา พระมัสสุ พระโลหิต ค. พระโสณี พระเพลา พระอุหลบ ง. พระนาภี พระอุกร พระบุพโพ

104

16. “ยาถาย” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระโอสถ ข. พระโอสถถาย ค. พระโอสถมวน ง. พระโอสถประจุ 17. ขอใด ไมได หมายถึง “หนาตาง” ก. พระแกล ข. พระบัญชร ค. สีหบัญชร ง. พระทวาร 18. คําราชาศัพทในขอใดหมายถึง “ตุมหู” ก. พระบรรจถรณ ข. พระกุณฑล ค. พระฉาย ง. พระทวาร 19. “สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณทรงใช ชอน เสวยพระกระยาหาร” คําท่ีขีด

เสนใตใชคําราชาศัพทใด ก. นารายณพระหัตถ ข. ฉลองพระหัตถ ค. ธารพระกร ง. พระแสงกัสสะ 20. “อาหาร” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. เครื่องหวาน ข. เครื่องตน ค. เครื่องวาง ง. เครื่องเสวย 21. “พระสุธารส” หมายถึงขอใด ก. น้ําชา ข. น้ําดื่ม ค. น้ําหวาน ง. น้ําผลไม 22. “พระวิสูตร” หมายถึงขอใด ก. มุง ข. รม ค. หว ี ง. ผานุง 23. คําวา “เขียนจดหมาย” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระนิพนธ ข. พระราชนิพนธ ค. ทรงพระอักษร ง. ทรงพระราชหัตถเลขา 24. ขอใดใช “ทรง” ไมถูกตอง ก. ทรงชาง ข. ทรงพระอักษร ค. ทรงดนตรี ง. ทรงโปรด

105

25. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว.......พระราชดําเนินเปน......ประธาน......จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ควรเติมคําราชาศัพทวาอยางไร

ก. เสด็จ องค พิธี ข. เสด็จ องค พระราชพิธี ค. ทรงเสด็จ องค พิธี ง. ทรงเสด็จ องค พระราชพิธี 26. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว “ถายรูป” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. ทรงภาพ ข. ทรงรูป ค. ทรงถายรูป ง. ทรงถายภาพ 27. ขอใดเปนคําราชาศัพทของคําวา “กิน” ก. เสวย ข. รับประทาน ค. พระกระยาหาร ง. ทรงเครื่องตน 28. ขอใดใชคําราชาศัพทท่ีมีความหมายแตกตางจากขออ่ืน ก. ทรงรถ ข. ทรงมา ค. ทรงชาง ง. ทรงกีฬา 29. คําวา “นอน” ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. บรรทม ข. เสวย ค. ประทับ ง. เสด็จ 30. คําในขอใด ไมใช คําราชาศัพท สําหรับพระมหากษัตริย ก. เสด็จ ข. บรรทม ค. ประสูติ ง. อาตมา 31. ขอใด ไมใช คําราชาศัพท สําหรับพระมหากษัตริย ก. เสวย ข. ทรงบาตร ค. อาราธนา ง. พระนาสิก 32. ขอใดใชคําราชาศัพทถูกตอง ก. ทรงตรัส ข. ทรงผนวช ค. ทรงเสด็จ ง. ทรงบรรทม

106

33. ขอใดใชราชาศัพทไดถูกตอง ก. ผาเช็ดหนา : ผาซับพระพักตร ข. หมาก : พานพระศรี ค. โกรธ : ทรงกริ้ว ง. ปวย : ทรงประชวร 34. ขอใดเปนคําราชาศัพทท่ีใชกับพระราชวงศในฐานันดรศักดิ์ท่ีต่ํากวาขออ่ืน ก. พระราชบัญชา ข. พระราชบัณฑูร ค. พระราชเสาวนีย ง. พระราชโองการ 35. ขอใดมีคําสามัญรวมอยู ก. ทรงกราบ ประทับ ผนวช ข. กราบทูล พระศรี พระยอด ค. ตื่นบรรทม สรงน้ํา เกศากันต ง. พระสังวาล ทวาร น้ําจัณฑ 36. “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เสด็จแปรพระราชฐาน พระตําหนักภูพานราชนิเวศน” คําท่ี

ขีดเสนใตหมายความวาอยางไร ก. ไปพักผอน ข. ทองเท่ียว ค. ยายไปช่ัวคราว ง. เปลี่ยนภูมิลําเนา 37. “ทิวงคต” เปนราชาศัพทตามลําดับชั้นบุคคลในขอใด ก. พระมหากษัตริย,พระบรมราชินี ข. หมอมเจา ค. พระองคเจาหรือเจานายชั้นสูง ง. พระยุพราชหรือเทียบเทา 38. ขอใดใชราชาศัพทไมถูกตอง

ก. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปนคีตกวีและนักดนตรีท่ีชาวโลกยกยอง ทรงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรี ทรงพระราชนิพนธเพลงและทรงเรียบเรียงเสียงประสาน

ข. สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถทรงพระดําเนินทอดพระเนตรผลงานของ ศูนยการพัฒนาพ้ืนท่ีทายอางเก็บน้ําลําปลายมาศอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

ค. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินไปทรงบําเพ็ญ พระราชกุศลเนื่องในวันคลายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ณ วชิราวุธวิทยาลัย

ง. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีจะประทานทรัพยสวนพระองคเพ่ือนํามาใชเปนเงินเดือนของครูประจําศูนยการเรียนชุมชนของกรมการศึกษานอกโรงเรียน

39. คํากริยาท่ีเปนคําราชาศัพทอยูแลวจะไมใช “ทรง” นําหนา ยกเวนคํากริยาราชาศัพทในขอใด ก. รับสั่ง ข. ผนวช ค. สรง ง. โปรด

107

40. ขอใดมีคํากริยาราชาศัพทท้ังหมด ก. บรรทม เครื่องตนหวาน ผาซับพระองค ข. หองทรงพระอักษร ถุงพระบาท เครื่องพระสําอาง ค. ฉลองพระองค รัดพระองค พระสุธารสชา ง. ทรงพระสรวล ทรงพระครรภ ทรงเครื่อง

41. ระดับของคําใดท่ีใชกับบุคคลท่ัวไป ก. โปรดเกลาโปรดกระหมอม ข. ทรงพระเกศา ค. รับประทาน ง. อาพาธ 42. การขานรับพระมหากษัตริย ใชคําราชาศัพทวาอยางไร ก. พระพุทธเจาขา ข. ขาพระพุทธเจา ค. คะ ง. ครับ 43. ถานักเรียนกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวนักเรียนจะใชสรรพนามบุรุษท่ี ๑ แทน

ตัวนักเรียนตามขอใด ก. หมอมฉัน ข. กระหมอมฉัน ค. ขาพระพุทธเจา ง. เกลากระหมอมฉัน 44. ถานักเรียนกราบบังคมทูลสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ นักเรียนจะใชสรรพนามบุรุษท่ี

๒ แทนตัวนักเรียนตามขอใด ก. ฝาพระบาท ข. ใตฝาพระบาท ค. ใตฝาละอองพระบาท ง. ใตฝาละอองธุลีพระบาท 45. เม่ือพูดกับพระมหากษัตริย ชายใชสรรพนามบุรุษท่ี 1 ตามขอใด ก. กระหมอม ข. ขาพระพุทธเจา ค. เกลากระหมอม ง. เกลากระหมอมฉัน 46. ขอใดไมมีคําราชาศัพทประเภทคําสรรพนามขานรับ ก. ขาพระพุทธเจาเปนผูดําเนินการเอง พระพุทธเจาขา ข. ใตฝาพระบาทจะเสด็จตลาดนัดยามเชาวันไหนกระหมอม ค. ขอเดชะ ขาพระพระพุทธเจาขอเบิกตัวผูทูลเกลาฯ ถวายเงินดังนี้ ง. พระอาญาไมพนเกลาฯ ขาพระพุทธเจาจําตองกราบทูลในสิ่งท่ีไมบังควร พระพุทธเจาขา

108

47. ขอใดมีคําสรรพนามราชาศัพทครบท้ัง 3 ชนิด คือสรรพนามบุรุษท่ี 1 , 2 และคําขานรับ ก. เกลากระหมอม หมอมฉัน เพคะ ข. กระหมอม เกลากระหมอม เพคะ ค. ใตฝาพระบาท หมอมเจา ขาพระพุทธเจา ง. ขาพระพุทธเจา พระพุทธเจาขา ฝาพระบาท 48. นักเรียนใชสรรพนามเรียกแทนกษัตริยวาอยางไร ก. ใตฝาละอองพระบาท ข. ใตฝาละอองธุลีพระบาท ค. ใตฝาพระบาท ง. ใตฝาธุลีพระบาท 49. สวนใดในขอความตอไปนี้ใชราชาศัพท ไมถูกตอง (1) ครอบครัวใหมท่ียังไมเคยเปนสมาชิกโครงการศิลปาชีพ เม่ือสัมภาษณแลวก็จะไดรับพระราชทานเงินไปเปนทุนใหทํางานหัตถกรรมตามถนัดมาสงในคราวเสด็จฯ ครั้งตอไป (2) เงินท่ีพระราชทานไปนี้สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถทรงมีพระราชดําริวานาจะพอเพียงแกการยังชีพไดตลอดชวงเวลาท่ีจะทํางานอันเปนเสมือนการบานนั้นจนแลวเสร็จ (3) แลวนํามาสงเม่ือพระองคเสด็จฯ มาใหมในคราวหนา (4) พระองคจะมีพระราชบัญชาใหเจาหนาท่ีตรวจและประเมินตีตรารับซ้ือของเหลานั้นไวแลวทรงมอบหมายการบานชิ้นใหมใหตอไป ก. สวนท่ี (1) และ (3) ข. สวนท่ี (1) และ (4) ค. สวนท่ี (2) และ (3) ง. สวนท่ี (2) และ (4) 50. ขอความตอนใดใชราชาศัพทผิด (1) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดําเนินไปทรงประกอบพิธียกชอฟา ณ วัดสีมาราม (2) หลังจากเสด็จพระดําเนินกลับจากการแปรพระราชฐาน ณ พระราชวังไกลกังวล (3) จากนั้นเสด็จออกใหลูกเสือชาวบานจากท่ัวประเทศเฝาฯ (4) และทรงพระดําเนินชมนิทรรศการ "หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ" ก. ตอนท่ี (1) ข. ตอนท่ี (2) ค. ตอนท่ี (3) ง. ตอนท่ี (4) 51. ขอใดเปนคําสุภาพ ก. ถ่ัวงอก ข. ดอกสลิด ค. ผักกระเฉด ง. ตนอเนกคุณ 52. ขอใดใชคําสุภาพไดถูกตอง ก. ใสความ ข. ใสกุญแจ ค. ใสกางเกง ง. ใสหองขัง

109

53. คําสุภาพขอใดใช ไมถูกตอง ก. กระบือ ใชคําวา วัว ข. วานร ใชคําวา ลิง ค. วิฬาร ใชคําวา แมว ง. ปลายาว ใชคําวา ปลาไหล 54. ขอใดเปนคําสุภาพของ “ผักกระเฉด” ก. ผักทอดยอด ข. ผักรูนอน ค. ผกัไห ง. ผักสามหาว 55. ขอใดเปนคําสุภาพของ “เตา” ก. มูสิกะ ข. ชัลลุกา ค. จิตรจุล ง. รากดิน 56. ขอใดเปนคําสุภาพของ “วัว” ก. นางเห็น ข. วิฬาร ค. นางเลิ้ง ง. โค 57. ขอใดเปนคําสุภาพของ “ปลาชอน” ก. ปลาหาง ข. ปลายาว ค. ปลาใบไม ง. ปลามัจฉะ 58. ขอใดเปนคําสุภาพของ “ขนมจีน” ก. ขนมใสไส ข. ขนมบัวสาว ค. ขนมทองฟู ง. ขนมเสน 59. ขอใดเปนคําสุภาพของ “มา” ก. สีดอ ข. พาชี ค. วานร ง. วิฬาร 60. ขอใดเปนคําสุภาพท้ังหมด ก. ขนมใสไส ปลาชอน ปลาหาง ข. ขนมบัวสาว ขนมเสน ขนมทองฟู ค. จิตรจุล กระบือ วัว ง. หอยนางรม คลอดลูก กลวยบวชช ี

********************ขอใหนักเรียนทุกคนโชคดี************************

118

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-สกุล นางสาวจิณฐภัศฌ เดชกุบ รหัสประจําตัวนักศึกษา 5319350022 วัน เดือน ปเกิด 02 พฤศจิกายน 2527 สถานท่ีเกิด สงขลา วุฒิการศึกษา ช่ือปริญญา ช่ือสถาบัน ปท่ีสําเร็จการศึกษา ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยหาดใหญ 2551 (คอมพิวเตอรธุรกิจ) ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยหาดใหญ 2553 ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหาดใหญ 2558 (หลักสูตรและการสอน) สถานท่ีทํางาน โรงเรียนบานคลองสงค สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษา สุราษฎรธานี เขต 2 ตําแหนงปจจุบัน ขาราชการครู ตําแหนง ครูผูชวย