abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย...

10
20 วารสารวิจัย ปีท่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561 http://ird.rmutto.ac.th การพัฒนาระบบฐานข้อมูลวิจัยด้านเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก Database System for Agricultural Research at Faculty of Agriculture and Natural Resources, Rajamangala University of Technology Tawan-ok วิษณุ โชโต 1 * ขัตติยะ สมดี 2 อนุวัฒน์ โชโต 2 และ สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง 1 Wisanu Choto 1 *, Khattiya Somdee 2 , Anuwat Choto 2 and Supaporn Ieamkheng 1 1 คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ 2 ส�านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จังหวัดชลบุรี 20110 1 *Faculty of Agriculture and Natural Resources, Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Chonburi *E-mail:[email protected] โทร. 095-184-8544 บทคัดย่อ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลวิจัยด้านเกษตรศาสตร์คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก คณะผู้วิจัยได้จัดท�าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารวบรวมข้อมูลงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถสนับสนุนการจัดท�าฐานข้อมูลงานวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ ของคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ให้สามารถสืบค้นงานวิจัยให้มีความสะดวกและรวดเร็ว ลดปัญหาการท�าสูญหาย จากการวิเคราะห์และออกแบบระบบผู้ใช้งานสามารถเรียนรู้ และเข้าใจระบบได้โดยง่าย ในการสืบค้นข้อมูล สามารถติดต่อข้อมูลนักวิจัยในระบบฐานข้อมูลเพื่อรับการบริการได้อย่างสะดวกมากขึ้น ส�าหรับ เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาการออกแบบนั้นใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลด้วยโปรแกรมภาษาพีเอชพี (PHP) เวอร์ชัน 5.2 ผลการประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรมจากผู้ใช้งาน จ�านวน 20 คน ผู้ประเมินมีความพึงพอใจในระดับ ดีมาก พบว่า ระบบที่พัฒนาขึ้นนี้ใช้งานได้จริงและบรรลุวัตถุประสงค์ที่ก�าหนด ค�าส�าคัญ : ระบบ ฐานข้อมูล วิจัย Abstract This study aims to systematically collect and manage the information about research and innovation, and develop the research database management system of Faculty of Agriculture and Natural Resources, Rajamangala University of Technology Tawan-ok. The instruments employed to develop the system is PHP version 5.2. The system facilitates the users to access and obtain their intended search results regarding the research and researchers, with a user friendly design. The result from the users shows the satisfaction towards the system at the very good level and indicates the authenticity and validity usage of the system. Keywords : system, database, research 1. บทน�า คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เป็นสถาบันอุดมศึกษา ที่มีการด�าเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยมีการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีระบบ กระบวนการ การจัดการบริหารการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานตามที่ส�านักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาได้ก�าหนดไว้ โดยปัญหาการด�าเนินการการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2557 ของคณะ เกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาตินั้น ขาดระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจการวิจัยท�าให้ได้ผลงานไม่ตรง

Upload: others

Post on 22-May-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

20

วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561 http://ird.rmutto.ac.th

การพัฒนาระบบฐานข้อมูลวิจัยด้านเกษตรศาสตร์

คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

Database System for Agricultural Research at Faculty of Agriculture and

Natural Resources, Rajamangala University of Technology Tawan-ok

วิษณุ โชโต1* ขัตติยะ สมดี2 อนุวัฒน์ โชโต2 และ สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง1

Wisanu Choto1*, Khattiya Somdee2, Anuwat Choto2 and Supaporn Ieamkheng1

1 คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ 2 ส�านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จังหวัดชลบุรี 201101*Faculty of Agriculture and Natural Resources, Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Chonburi

*E-mail:[email protected] โทร. 095-184-8544

บทคัดย่อ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลวิจัยด้านเกษตรศาสตร์คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก คณะผู้วิจัยได้จัดท�าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารวบรวมข้อมูลงานวิจัยหรืองาน

สร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถสนับสนุนการจัดท�าฐานข้อมูลงานวิจัยหรือ

งานสร้างสรรค์ ของคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ให้สามารถสืบค้นงานวิจัยให้มีความสะดวกและรวดเร็ว

ลดปัญหาการท�าสูญหาย จากการวิเคราะห์และออกแบบระบบผู้ใช้งานสามารถเรียนรู้ และเข้าใจระบบได้โดยง่าย

ในการสืบค้นข้อมูล สามารถติดต่อข้อมูลนักวิจัยในระบบฐานข้อมูลเพื่อรับการบริการได้อย่างสะดวกมากขึ้น ส�าหรับ

เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาการออกแบบนั้นใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลด้วยโปรแกรมภาษาพีเอชพี (PHP) เวอร์ชัน 5.2

ผลการประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรมจากผู้ใช้งาน จ�านวน 20 คน ผู้ประเมินมีความพึงพอใจในระดับ ดีมาก พบว่า

ระบบที่พัฒนาขึ้นนี้ใช้งานได้จริงและบรรลุวัตถุประสงค์ที่ก�าหนด

ค�าส�าคัญ : ระบบ ฐานข้อมูล วิจัย

Abstract This study aims to systematically collect and manage the information about research and

innovation, and develop the research database management system of Faculty of Agriculture and

Natural Resources, Rajamangala University of Technology Tawan-ok. The instruments employed to

develop the system is PHP version 5.2. The system facilitates the users to access and obtain their

intended search results regarding the research and researchers, with a user friendly design. The result

from the users shows the satisfaction towards the system at the very good level and indicates the

authenticity and validity usage of the system.

Keywords : system, database, research

1. บทน�า คณะเกษตรศาสตร์และทรพัยากรธรรมชาต ิมหาวทิยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลตะวนัออก เป็นสถาบนัอดุมศึกษา

ที่มีการด�าเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยมีการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษา

โดยมีระบบ กระบวนการ การจัดการบริหารการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานตามท่ีส�านักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษาได้ก�าหนดไว้ โดยปัญหาการด�าเนินการการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2557 ของคณะ

เกษตรศาสตร์และทรพัยากรธรรมชาตน้ัิน ขาดระบบสารสนเทศเพือ่สนบัสนนุการตัดสนิใจการวจิยัท�าให้ได้ผลงานไม่ตรง

Page 2: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

21

วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561http://ird.rmutto.ac.th

ตามเป้าหมายที่ได้ก�าหนดไว้

ฐานข้อมลู หมายถงึ แหล่งรวบรวมข้อเทจ็จรงิโดยจดัเกบ็เป็นระเบียนข้อมลูคอมพวิเตอร์อย่างเป็นระบบให้ข้อมลู

ในรูปแบบบรรณานุกรม สาระสังเขป และ หรือบทความฉบับเต็ม เพื่อให้สามารถแสวงหาหรือสืบค้นทางซีดีรอมออนไลน์

และระบบเครือข่ายได้ตามความต้องการของผู้ใช้ (Kanhanon, 2014)

งานวิจัย หมายถึง กระบวนการที่มีระเบียบแบบแผนในการค้นหาค�าตอบของปัญหา หรือการเสาะแสวงหา

ความรู้ใหม่ ตลอดจนถึงการประดิษฐ์คิดค้นท่ีผ่านกระบวนการศึกษา ค้นคว้าหรือทดลอง วิเคราะห์และตีความข้อมูล

ตลอดจนสรุปผลอย่างเป็นระบบ (Office of the Higher Education Commission, 2015)

ระบบสารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข่าว ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น หรือประสบการณ์อยู่ในรูปแบบ

ที่แตกต่างกันออกไป เช่น ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง สัญลักษณ์หรือกลิ่น ที่ถูกน�ามาผ่านกระบวนการประมวลผล

ด้วยวิธีการที่เรียกว่า กรรมวิธีจัดการข้อมูล (Data Manipulation) และผลที่ได้อาจแสดงผลออกมาในรูปแบบของสื่อ

ประเภทต่าง เช่น หนังสือ วารสารหนังสือพิมพ์ แผนที่ แผ่นใส ฯลฯ และเป็นผลลัพธ์ที่ผู้ใช้สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้

อย่างถูกต้องตรงและทันกับความต้องการ (Khownuangsri, 2015)

จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยเห็นความส�าคัญของการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านการวิจัย คือ

การพฒันาระบบจดัการฐานข้อมลูวจิยัด้านเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์และทรพัยากรธรรมชาต ิเพือ่ศึกษารวบรวม

ข้อมูลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ อย่างเป็นระบบและสมบูรณ์ เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศที่สามารถสนับสนุนการตัดสินใจ

ในการบริหาร และเพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้งานระบบ

2. วิธีการทดลอง2.1 ศึกษาวิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลการวิจัย จากการศึกษาข้อมูล วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลการวิจัยคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

มหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลตะวนัออก พบว่าขอบเขตระบบปฏบิตังิาน ประกอบด้วยระบบงาน ได้แก่ ข้อมลูผูบ้รหิาร

ระบบ (Admin) ข้อมูลผู้ใช้งาน (User) ข้อมูลคณะ ข้อมูลสาขาวิชา ข้อมูลผู้เขียนงานวิจัย ข้อมูลผู้เขียนงานวิจัยร่วม และ

ข้อมูลงานวิจัย

2.2 ออกแบบและพัฒนาระบบใหม่ ส�าหรบัการวเิคราะห์และออกแบบการพฒันาระบบจดัการฐานข้อมลูวจิยัด้านเกษตรศาสตร์คณะเกษตรศาสตร์

และทรัพยากรธรรมชาติคณะผู้วิจัยเริ่มจากการศึกษาข้อมูลระบบงานแบบเดิมการบริหารงานวิจัยของระดับคณะ และมี

แนวคิดในการพัฒนาออกแบบโครงสร้างและระบบการจัดเก็บและเผยแพร่งานวิจัยแบบใหม่ให้มีลักษณะการท�างานให้

ตรงตามที่ส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้ก�าหนด คือ จ�าเป็นต้องมีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร

งานวิจัยที่สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในการบริหารงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (Office of the Higher Education

Commission, 2015) เพื่อให้ข้อมูลที่เกี่ยวกับงานวิจัยคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ จะมีการจัดเก็บที่เป็น

ระบบ ข้อมูลมีความสมบูรณ์ เป็นประโยชน์ต่อการสืบค้นข้อมูล รวมทั้งการอ้างอิงส�าหรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ มีประโยชน์ทางด้านวิชาการ โดยเฉพาะด้านการศึกษาที่น่าสนใจ ท�าให้ผลงานไม่สูญเปล่า ยังคงเก็บรักษา

อย่างเป็นระบบ พร้อมใช้ในการค้นคว้าหรืออ้างอิง และมีประโยชน์ในการบริหารจัดการ ท�าให้ทราบข้อมูลที่รวบรวมใน

เชิงประวัติย้อนหลัง

2.3 พัฒนาระบบ จากผงัการท�างาน มาเขยีนให้อยูใ่นรปูแบบผงักระแสข้อมลู เพือ่แสดงให้เหน็ถงึทศิทางการไหลของข้อมลูทีม่อียู่

ในระบบ และการด�าเนินงาน ที่เกิดขึ้นภายในระบบ ดังผังกระแสข้อมูลระบบจัดการฐานข้อมูลวิจัยด้านเกษตรศาสตร์

คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ดังภาพที่ 1

Page 3: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

22

วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561 http://ird.rmutto.ac.th

2.4 การทดสอบและประเมินระบบ การทดสอบและการประเมินประสิทธิภาพของระบบฐานข้อมูลวิจัยด้านเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์

และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จะใช้ผู้ประเมินแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มด้วยกัน ได้แก่

1) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญซอฟต์แวร์ โดยจะเป็นโปรแกรมเมอร์ซึ่งมีประสบการณ์ในการทางานด้านการเขียนโปรแกรมมาเป็น

อย่างดี จ�านวน 4 คน และ 2) กลุ่มผู้ใช้งานระบบ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ 10 คน และอาจารย์ จ�านวน 10 คน ในคณะ

เกษตรศาสตร์ฯ เป็นจ�านวนทั้งสิ้น 20 คน เข้าร่วมทดสอบการท�างานของระบบพร้อมให้ค�าเสนอแนะในการทดสอบ

ภาพที่ 1 แผนภาพกระแสของข้อมูล (Data Flow Diagram)

ตารางที่ 1 ข้อมูลสถานะผู้ใช้งานระบบ (admin_st_tb)ชื่อตาราง

วัตถุประสงค์

คีย์หลัก

admin_st_tb

ข้อมูลสถานะผู้ใช้งานระบบ

st_id

ล�าดับ ชื่อคอลัมน์ ชนิด ขนาด ก�าหนดค่า รายละเอียด

1 st_id Integer PK รหัสสถานะผู้ใช้งานระบบ

2 st_name Varchar 20 Not Null ชื่อสถานะผู้ใช้งานระบบ

ตารางที่ 2 ข้อมูลสถานะผู้ใช้งานระบบ (admin_tb)ชื่อตาราง

วัตถุประสงค์

คีย์หลัก

admin_tb

ข้อมูลรายละเอียดผู้ใช้งานระบบ

id

ล�าดับ ชื่อคอลัมน์ ชนิด ขนาด ก�าหนดค่า รายละเอียด

1 id Integer PK รหัสผู้ใช้งานระบบ

2 username Varchar 20 Not Null ชื่อเข้าใช้งานระบบ

3 password Varchar 8 Not Null รหัสผ่านผู้ใช้งานระบบ

4 name Varchar 20 Not Null ชื่อผู้ใช้งานระบบ

5 St_id Integer FK รหัสสถานะผู้ใช้งานระบบ

ผูเช่ียวชาญซอฟตแวร โดยจะเปนโปรแกรมเมอรซ่ึงมีประสบการณในการทางานดานการเขียนโปรแกรมมาเปคน และ 2) กลุมผูใชงานระบบ ไดแก เจาหนาท่ี คน เขารวมทดสอบการทํางานของระบบพรอมใหคําเสนอแนะในการทดสอบ

ภาพท่ี 1 แผนภาพกระแสของขอมูล ตารางท่ี 1 ขอมูลสถานะผูใชงานระบบ

ตารางท่ี 2 ขอมูลสถานะผูใชงานระบบ

ชื่อตาราง วัตถุประสงค คียหลัก ลําดับ ชื่อคอลัมน

1 st_id 2 st_name

ชื่อตาราง วัตถุประสงค คียหลัก ลําดับ ชื่อคอลัมน

1 id 2 username 3 password 4 name 5 St_id

ผูเช่ียวชาญซอฟตแวร โดยจะเปนโปรแกรมเมอรซ่ึงมีประสบการณในการทางานดานการเขียนโปรแกรมมาเปกลุมผูใชงานระบบ ไดแก เจาหนาท่ี 10 คน และอาจารย จํานวน 10 คน ในคณะเกษตรศาสตรฯ เปนจํานวนท้ังสิ้น

คน เขารวมทดสอบการทํางานของระบบพรอมใหคําเสนอแนะในการทดสอบ

แผนภาพกระแสของขอมูล (Data Flow Diagram)

ขอมูลสถานะผูใชงานระบบ (admin_st_tb)

ขอมูลสถานะผูใชงานระบบ (admin_tb)

admin_st_tb ขอมูลสถานะผูใชงานระบบ st_id

ชนิด ขนาด กําหนดคา Integer PK รหัสสถานะผูใชงานระบบVarchar 20 Not Null ช่ือสถานะผูใชงานระบบ

admin_tb ขอมูลรายละเอยีดผูใชงานระบบ id

ชนิด ขนาด กําหนดคา Integer PK รหัสผูใชงานระบบVarchar 20 Not Null ช่ือเขาใชงานระบบVarchar 8 Not Null รหัสผานผูใชงานระบบVarchar 20 Not Null ช่ือผูใชงานระบบInteger FK รหัสสถานะผูใชงานระบบ

ผูเช่ียวชาญซอฟตแวร โดยจะเปนโปรแกรมเมอรซ่ึงมีประสบการณในการทางานดานการเขียนโปรแกรมมาเปนอยางดี จํานวน 4 คน ในคณะเกษตรศาสตรฯ เปนจํานวนท้ังสิ้น 20

ata Flow Diagram)

รายละเอียด รหัสสถานะผูใชงานระบบ ช่ือสถานะผูใชงานระบบ

รายละเอียด รหัสผูใชงานระบบ ช่ือเขาใชงานระบบ รหัสผานผูใชงานระบบ ช่ือผูใชงานระบบ รหัสสถานะผูใชงานระบบ

Page 4: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

23

วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561http://ird.rmutto.ac.th

ตารางที่ 3 ข้อมูลคณะ (faculty_tb)ชื่อตาราง

วัตถุประสงค์

คีย์หลัก

faculty_tb

ข้อมูลคณะ

faculty_id

ล�าดับ ชื่อคอลัมน์ ชนิด ขนาด ก�าหนดค่า รายละเอียด

1 faculty_id Integer PK รหัสคณะ

2 faculty_name Varchar 50 Not Null ชื่อคณะ

ตารางที่ 4 ข้อมูลสาขา (program_tb)ชื่อตาราง

วัตถุประสงค์

คีย์หลัก

program_tb

ข้อมูลสาขา

faculty_id

ล�าดับ ชื่อคอลัมน์ ชนิด ขนาด ก�าหนดค่า รายละเอียด

1 program_id Integer PK รหัสสาขา

2 program_name Varchar 50 Not Null ชื่อสาชา

3 faculty_id Integer FK รหัสคณะ

ตารางที่ 5 ข้อมูลผู้เขียนงานวิจัย (author_tb)ชื่อตาราง

วัตถุประสงค์

คีย์หลัก

author_tb

ข้อมูลผู้เขียนงานวิจัย

author_id

ล�าดับ ชื่อคอลัมน์ ชนิด ขนาด ก�าหนดค่า รายละเอียด

1 author_id Integer PK รหัสผู้เขียนงานวิจัย

2 title_name_th Varchar 5 Not Null ค�าน�าหน้าชื่อ

3 title_name_en Varchar 5 Not Null ค�าน�าหน้าชื่อ EN

4 name_th Varchar 50 Not Null ชื่อผู้เขียนงานวิจัย

5 name_en Varchar 50 Not Null ชื่อผู้เขียนงานวิจัย EN

6 sname_th Varchar 50 Not Null นามสกุลผู้เขียนงานวิจัย

7 sname_en Varchar 50 Not Null นามสกุลผู้เขียนงานวิจัย EN

8 program_id Integer 20 FK รหัสสาขา

9 address Text Not Null ที่อยู่

10 private_tell Integer Not Null เบอร์โทรศัพท์ที่ท�างาน

11 tell Integer Not Null เบอร์โทรศัพท์ส่วนตัว

12 fax Integer Not Null เบอร์ FAX

13 email Varchar 50 Not Null Email

14 picture Varchar 50 Not Null รูปผู้เขียนงานวิจัย

Page 5: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

24

วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561 http://ird.rmutto.ac.th

ตารางที่ 6 ข้อมูลงานวิจัย (research_tb)ชื่อตาราง

วัตถุประสงค์

คีย์หลัก

research_tb

ข้อมูลงานวิจัย

research_id

ล�าดับ ชื่อคอลัมน์ ชนิด ขนาด ก�าหนดค่า รายละเอียด

1 research_id Integer PK รหัสงานวิจัย

2 research_name_th Varchar 50 Not Null ชื่องานวิจัย

3 research_name_en Varchar 50 Not Null ชื่องานวิจัย EN

4 author_id Integer Not Null รหัสผู้เขียนงานวิจัย

5 research_title Varchar 200 Not Null หัวข้องานวิจัย

6 research_note Varchar 200 Not Null รายละเอียดงานวิจัย

7 language Varchar 2 Not Null ภาษา

8 file_abstract Varchar 200 FK ไฟล์เอกสาร abstract

9 file_fulltext Varchar 200 Not Null ไฟล์เอกสาร ตัวเต็ม

10 date Date Not Null วันที่ที่เขียน

ตารางที่ 7 ข้อมูลผู้เขียนงานวิจัยร่วม (author_join_tb)ชื่อตาราง

วัตถุประสงค์

คีย์หลัก

author_join_tb

ข้อมูลผู้เขียนงานวิจัยร่วม

faculty_id

ล�าดับ ชื่อคอลัมน์ ชนิด ขนาด ก�าหนดค่า รายละเอียด

1 author_join_id Integer PK รหัสผู้เขียนงานวิจัยร่วม

2 research_id Integer FK รหัสงานวิจัย

3 author_id Integer FK รหัสผู้เขียนงานวิจัย

3. ผลการทดลองและวิจารณ์ผล3.1 ผลการทดลอง 3.1.1 หน้าจอหลักแสดงภาพรวมเมนูการจัดการฐานข้อมูลงานวิจัยสามารถเพิ่ม แก้ไข ลบ นักวิจัยและผู้ดูแล

ระบบได้ เพิ่มข้อมูลประวัตินักวิจัย ฝาก ลบไฟล์ที่แสดงผลเป็น PDF ได้ ดังภาพ

ภาพท่ี 2 แสดงหนาจอหลักผูดูแลระบบ

3.1.2 หนาจอหลักhttp://research.rmutto.ac.th/agri-eResearch/แสดงผลงานวิจัย และงานสรางสรรคสามารถสืบคนไดอยางรวดเร็ว เชน เลือกปปฏิทิน ช่ือนักวิจัย คําสําคัญ และสามารถดาวนโหลดไฟลเปน PDF ไดดังภาพ

ภาพท่ี 3 แสดงหนาจอหลักระบบฐานขอมูลงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส

ภาพที่ 2 แสดงหน้าจอหลักผู้ดูแลระบบ

Page 6: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

25

วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561http://ird.rmutto.ac.th

3.1.2 หน้าจอหลักhttp://research.rmutto.ac.th/agri-eResearch/แสดงผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์

สามารถสืบค้นได้อย่างรวดเร็ว เช่น เลือกปีปฏิทิน ชื่อนักวิจัย ค�าส�าคัญ และสามารถดาวน์โหลดไฟล์เป็น PDF ได้ดังภาพ

ภาพที่ 3 แสดงหน้าจอหลักระบบฐานข้อมูลงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์

3.2 วิจารณ์ผล การประเมนิประสทิธิภาพของระบบฐานข้อมลูวิจยัด้านเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์และทรพัยากรธรรมชาติ

มหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลตะวนัออก จะใช้ผูป้ระเมนิแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ด้วยกนั ได้แก่ 1) กลุม่ผูเ้ชีย่วชาญซอฟต์แวร์

โดยจะเป็นโปรแกรมเมอร์ซึ่งมีประสบการณ์ในการทางานด้านการเขียนโปรแกรมมาเป็นอย่างดี จ�านวน 4 คน และ

2) กลุม่ผูใ้ช้งานระบบ ได้แก่ เจ้าหน้าที ่10 คน และอาจารย์ จ�านวน 10 คน ในคณะเกษตรศาสตร์และทรพัยากรธรรมชาติ

เป็นจ�านวนทั้งสิ้น 20 คน ซึ่งสรุปผลการประเมินได้ ดังนี้

ผลการประเมนิประสทิธภิาพระบบของผูเ้ชีย่วชาญด้านซอฟต์แวร์ พบว่าประสิทธภิาพโดยรวมอยูใ่นระดบัดมีาก

(X̄ = 4.59, S.D. = 0.49) โดยมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก 3 ข้อ คือ การประเมินด้านประสิทธิภาพ (X̄ = 4.90,

S.D. = 0.20) การประเมินด้านความง่ายต่อการใช้งาน (X̄ = 4.65, S.D. = 0.42) การประเมินด้านการรักษาความปลอดภัย

ของข้อมูล (X̄ = 4.65, S.D. = 0.45) มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี 2 ข้อ คือ การประเมินด้านสามารถท�างานได้ตามหน้าที่

(X̄ = 4.40, S.D. = 0.55) การประเมินด้านตรงตามความต้องตรงความต้องการ (X̄ = 4.35, S.D. = 0.45) ตามล�าดับ

ดังตารางที่ 8

ตารางที่ 8 ผลการประเมินประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญซอฟต์แวร์รายการประเมิน X̄ S.D. ระดับ

1. การประเมินด้านตรงตามความต้องตรงความต้องการ

2. การประเมินด้านสามารถท�างานได้ตามหน้าที่

3. การประเมินด้านความง่ายต่อการใช้งาน

4. การประเมินด้านประสิทธิภาพ

5. การประเมินด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

4.35

4.40

4.65

4.90

4.65

0.45

0.55

0.42

0.20

0.45

มาก

มาก

มากที่สุด

มากที่สุด

มากที่สุด

สรุปประเมินประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญซอฟต์แวร์ 4.59 0.49 มากที่สุด

ภาพท่ี 2 แสดงหนาจอหลักผูดูแลระบบ

3.1.2 หนาจอหลักhttp://research.rmutto.ac.th/agri-eResearch/แสดงผลงานวิจัย และงานสรางสรรคสามารถสืบคนไดอยางรวดเร็ว เชน เลือกปปฏิทิน ช่ือนักวิจัย คําสําคัญ และสามารถดาวนโหลดไฟลเปน PDF ไดดังภาพ

ภาพท่ี 3 แสดงหนาจอหลักระบบฐานขอมูลงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส

Page 7: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

26

วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561 http://ird.rmutto.ac.th

การประเมินประสิทธิภาพระบบของผู้ใช้งานระบบ พบว่าประสิทธิภาพโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (X̄ = 4.55,

S.D. = 0.51) โดยมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก 2 ข้อ ได้แก่ การประเมินด้านประสิทธิภาพ (X̄ = 4.73, S.D. = 0.44)

การประเมินด้านความง่ายต่อการใช้งาน (X̄ = 4.70, S.D. = 0.45) มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี 3 ข้อ คือ การประเมิน

ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล (X̄ = 4.49, S.D. = 0.47) การประเมินด้านตรงตามความต้องตรงความต้องการ

(X̄ = 4.47, S.D. = 0.54) การประเมนิด้านสามารถท�างานได้ตามหน้าที ่(X̄ = 4.38, S.D.= 0.48) ตามล�าดับ ดังตารางที่ 9

ตารางที่ 9 ผลการประเมินประสิทธิภาพโดยผู้ใช้งานระบบรายการประเมิน X̄ S.D. ระดับ

1. การประเมินด้านตรงตามความต้องตรงความต้องการ

2. การประเมินด้านสามารถท�างานได้ตามหน้าที่

3. การประเมินด้านความง่ายต่อการใช้งาน

4. การประเมินด้านประสิทธิภาพ

5. การประเมินด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

4.47

4.38

4.70

4.73

4.49

0.54

0.48

0.45

0.44

0.47

มาก

มาก

มากที่สุด

มากที่สุด

มาก

สรุปประเมินประสิทธิภาพโดยผู้ใช้งานระบบ 4.55 0.51 มากที่สุด

การพัฒนาระบบฐานข้อมูลวิจัยด้านเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารวบรวมข้อมูลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ อย่างเป็นระบบและ

สมบูรณ์ เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศท่ีสามารถสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารงาน โดยใช้โปรแกรมภาษาพีเอชพี

(PHP) เวอร์ชัน 5.2 ในการพัฒนาระบบในส่วนการเขียนเว็บแอพพลิเคชั่น และใช้โปรแกรม MySQL เป็นเครื่องมือจัดการ

ฐานข้อมูล ผลการประเมินประสิทธิภาพ พบว่าผู้เช่ียวชาญมีพึงพอใจในระดับดีมากมีค่าเฉล่ียรวมเท่ากับ 4.59 และ

ผลการประเมินจากผู้ใช้งานระบบอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.55 และมีการก�าหนดสิทธ์ิในการเข้าใช้งาน

อย่างชัดเจน ระบบมีการรักษาความปลอดภัย แสดงให้เห็นว่าระบบที่พัฒนาขึ้นด้วยความเหมาะสม สามารถน�าไปใช้งาน

ได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

4. สรุปและอภิปลายผล การพัฒนาระบบฐานข้อมูลวิจัยด้านเกษตรศาสตร์คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก คณะผู้วิจัยได้จัดท�าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารวบรวมข้อมูลงานวิจัยหรืองาน

สร้างสรรค์ อย่างเป็นระบบและสมบูรณ์ และเพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถสนับสนุนการจัดท�า

ฐานข้อมลูงานวจิยัหรอืงานสร้างสรรค์ คณะเกษตรศาสตร์และทรพัยากรธรรมชาต ิสามารถสืบค้นงานวิจยัให้มคีวามสะดวก

และรวดเร็ว ลดปัญหาการท�าสูญหาย จากการวิเคราะห์และออกแบบระบบผู้ใช้งานสามารถเรียนรู้ และเข้าใจระบบได้

โดยง่ายในการสืบค้นข้อมูล สามารถติดต่อข้อมูลนักวิจัยในระบบฐานข้อมูลเพื่อรับการบริการได้อย่างสะดวกมากขึ้น

ส�าหรับเครื่องมือท่ีใช้ในการพัฒนาระบบคือ โปรแกรมภาษาพีเอชพี (PHP) เวอร์ชัน 5.2 ในการพัฒนาระบบ

ในส่วนการเขียนเว็บแอพพลิเคชั่น และใช้โปรแกรม MySQL เป็นเครื่องมือจัดการฐานข้อมูล ผลการพัฒนาพบว่าระบบนี้

ช่วยให้สามารถจัดเก็บรวบรวมข้อมูลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ อย่างเป็นระบบและสมบูรณ์ มีระบบสารสนเทศที่สามารถ

สนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารงาน ความสะดวกและรวดเร็วอย่างทันสมัย ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย (Saikamnor,

2014; Kaewsong, 2009; Akarapiboon, 2008) ที่พบว่าการน�าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการท�างานสามารถ

สนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารงาน ความซ�้าซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล มีความถูกต้อง สะดวกรวดเร็ว และ

ความปลอดภัยของข้อมูลอย่างเหมาะสมในการจัดเก็บข้อมูลและแสดงผลข้อมูลของระบบฐานข้อมูลงานวิจัยได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ

Page 8: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

27

วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561http://ird.rmutto.ac.th

5. เอกสารอ้างอิงAkaraphiboon, S. 2008. Astronomical Research Database System of National Astronomical Research

Institute of Thailand. MD. Thesis. Department ofInformation Technology and Management,

Chiang Mai University, Chiang Mai. (in Thai).

Kaewsong, A. 2009. Research Database in Support of the Operation of the Thailand Research Fund

Regional Office (I-saan). MD. Thesis. Department of Information Technology, Faculty of Science,

UbonRatchathani University, UbonRatchathani. (in Thai).

Kanhanon, J. 2014. Uses of Online Database of RambhaiBarniRajabhat University by Faculty Members

and Students. MD. Thesis. Department ofLibrarianship and Information Sciences, Faculty of

Humanities and Social Sciences, Burapha University, Chonburi. (in Thai).

Khownuangsri, A. 2015. The Information System for Internal Quality Assurance Management

InscienceFactulty, ChandrakasemRajabhat University. Ph.D. Dissertation. Department of

Educational Administration, Faculty of Education, Burapha University, Chonburi. (in Thai).

Office of the Higher Education Commission. 2015. The 2014 Internal Quality Assurance Manual for

Higher Education. Pharbphim, Bangkok. (in Thai).

Rajamangala University of Technology Tawan-ok. 2014. The 2014 Self-Assessment Report of

Faculty of Agriculture and Natural Resources. RajamangalaUniversity ofTechnology Tawan-ok,

Chonburi. (in Thai).

Saikamnor, E. 2014. A Development Research Database System to Assist of Decision for Manager.

Research. PhetchabunRajabhat University, Phetchabun. (in Thai).

Page 9: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน
Page 10: Abstractresearch.rmutto.ac.th/file/168abstract.pdf · 22 วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

171

วารสารวิจัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561http://ird.rmutto.ac.th

สารบัญ หน้า

ประสิทธิภาพการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสและแอลฟาอะไมเลสของสารสกัดจากใบชาขลู่

ในหลอดทดลอง ............................................................................................................................................................1

รวินิภา ศรีมูล พิริยาภรณ์ อันอาตม์งาม และ วิทยา คณาวงษ์

ความผันแปรเชิงพื้นที่และฤดูกาลต่อความชุกชุมของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน

ในอ่างเก็บน�้าเขื่อนน�้าอูน จังหวัดสกลนคร ....................................................................................................................9

สมศักดิ์ ระยัน บุญทิวา ชาติช�านิ อมรรัตน์ รังสิวิวัฒน์ สุกัญญา ค�าหล้า

และ สายฝน แก้วดอนรี

การพัฒนาระบบฐานข้อมูลวิจัยด้านเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก................................................................................................................20

วิษณุ โชโต ขัตติยะ สมดี อนุวัฒน์ โชโต และ สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง

การคัดเลือกสายพันธุ์มันส�าปะหลังเพื่อใช้ใบเป็นอาหารสัตว.์.......................................................................................28

ธีระ สมหวัง สกล ฉายศรี และ สุเมศ ทับเงิน

การแยกและคัดเลือกแบคทีเรียแลคติกผลิตกรดแลคติกสูงในโยเกิร์ตถั่วเหลือง

ด้วยสารอาหารที่คัดเลือก .............................................................................................................................................34

วรรณภา ทาบโลกา

การหาค่าที่เหมาะสมในการท�าแห้งมะละกอแบบออสโมซิสด้วยวิธีการค้นหาแบบนกกาเหว่า

และอัลกอริทึมผสมผสาน CSGA..................................................................................................................................42

วีระ พุ่มเกิด พูลพงศ์ สุขสว่าง และ เสรี ชัดแช้ม

การน�ากลับคืนเมทิลเมทาคริเลตมอนอเมอร์ด้วยการแตกตัวเชิงเร่งปฏิกิริยาของอะคริลิก

โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์ Ultrastable Y ..............................................................................................................53

สุภาภรณ์ คางค�า สมโภช ภู่พีระสุพงษ์ และ สมศักดิ์ ด�ารงค์เลิศ

Effects of Silicanite Levels and Fermented Periods on Growth and Yield of Radish

(Paphanussativus var. longipinnatus) ................................................................................................................64

Rusama Marubodee Preuk Chutimanukul and Somchai Chakhatrakan

การพัฒนาศักยภาพในการจัดท�าฉลากและความเข้าใจฉลากตามระบบสากล GHS

ของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ใช้ในบ้านเรือนของจังหวัดนนทบุร.ี.....................................................................73

ศริศักดิ์ สุนทรไชย