วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ...

10

Upload: tuk-tuk-patiphan

Post on 01-Apr-2016

235 views

Category:

Documents


5 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

วารสารวิจัย มข. ฉบับบัณฑิตศึกษา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2556 Vol.1 No.2 M

ay - August 2013

pagecontentsEDITORIAL

RESEARCH ARTICLE

The Development of a Model for Problem-based Learning Cooperates with 1

KWL Plus Technique using Scaffoldings System to Develop Critical Thinking

Manutnit Jaidee, Dr.Charun Sanrach

Legal Problems in the Medical Liability Litigation 14

Natthanan Phuntong-on, Dr.Suthee Yusathaporn, Dr.Phaichit Puengpop

Ramsar Convention and the Change of Meaning at Kut Ting, Thailand 22

Sootharwan Intarapanich, Dr.Kaeota Janthranuson

Kongkhao: From Esan Cultural Value to its Commoditization Process 34

Patchanee Muangsri, Dr.Viyouth Chamruspanth

The Effects of Using Problem Posing Model Supplemented with Problem Solving 43

Process and Journal Writing on Mathematical Problem Solving and Writing

Abilities of Mathayomsuksa 6 Students

Parisa Wongkumpra, Dr.Somchai Vallakitkasemsakul, Srisurang Teenkul

The Effects of Teaching by Using the Historical Method on Learning Achievement 55

and Development of Analytical Thinking on the Topic of ASEAN History of

Mathayom Suksa 1 Students at Banprasat School in Sisaket

Supattra Kamsuk, Dr.Siriwan Sripahol, Somprasong Nuambunlue

Assessment of Standards Performance Inspection by a Local Administrative 63

Organization

Jiraporn Santiwesrat, Dr.Supawatanakorn Wongtanawasu

Building Management Partnership for Thapra Subdistrict Municipality, 73

Muang District, Khon Kaen Province

Prasit Tatanit, Dr.Lampang Manmart

Page 2: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา)

ISSN 2286-7910 ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2556

สารบัญหน้า

บทบรรณาธิการ

บทความวิจัย

การสร้างรูปแบบการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู แอล พลัส 1

ที่มีระบบเสริมศักยภาพเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

มนัสนิต ใจดี, ดร.จรัญ แสนราช

ปัญหาทางกฎหมายในกระบวนการพิจารณาคดีความรับผิดทางการแพทย์ 14

ณัฏฐนันท์ พันทองอ่อน, ดร.สุธี อยู่สถาพร, ดร.ไพจิตร พึ่งภพ

อนุสัญญาแรมซาร์กับการเปลี่ยนแปลงความหมายจาก กุด สู่พื้นที่ชุ่มน�้าที่มีความส�าคัญ 22

ระดับนานาชาติ กรณีศึกษา กุดทิง จ.บึงกาฬ

สุทธวรรณ อินทรพาณิช, ดร.แก้วตา จันทรานุสรณ์

ก่องข้าว : คุณค่าในวัฒนธรรมอีสานสู่กระบวนการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม 34

พัชนีย์ เมืองศรี, ดร.วิยุทธ์ จ�ารัสพันธุ์

ผลการใช้รูปแบบการสอนการตั้งปัญหาเสริมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการเขียน 43

บันทึกการเรียนรู้ต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถในการเขียน

ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ปริสา วงศ์ค�าพระ, ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล, ศรีสุรางค์ ทีนะกุล

ผลการสอนโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถ 55

ในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ประวัติศาสตร์อาเซียน ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

โรงเรียนบ้านปราสาท จังหวัดศรีสะเกษ

สุพัตรา ค�าสุข, ดร.สิริวรรณ ศรีพหล, สมประสงค์ น่วมบุญลือ

การตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 63

จิราพร สันติเวสน์รัตน์, ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ

การสร้างภาคีหุ้นส่วนในการบริหารเทศบาลต�าบลท่าพระ อ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 73

ประสิทธิ์ ตาตินิจ, ดร.ล�าปาง แม่นมาตย์

สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

Page 3: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

KKU Res J HS (GS) 1 (2) : May - August 2013 1

การสร้างรูปแบบการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู แอล พลัส ที่มีระบบเสริมศักยภาพ

เพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณThe Development of a Model for Problem-based Learning Cooperates with KWL Plus Technique using Scaffoldings

System to Develop Critical Thinking

มนัสนิต ใจดี (Manutnit Jaidee)* ดร.จรัญ แสนราช (Dr.Charun Sanrach)1**

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการเรียนรู้ และ 2) ประเมินรูปแบบการเรียนรู้

วิธีการด�าเนินงานวิจัยคือ1)การสร้างรูปแบบการเรียนรู้ประกอบด้วยการวิเคราะห์การออกแบบและการพัฒนา

และ 2) การประเมินรูปแบบการเรียนรู้โดยน�าเสนอรูปแบบในการสนทนากลุ่มผู้เช่ียวชาญด้านคอมพิวเตอร ์

และด้านการศึกษา ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงจ�านวน 12 คน เพื่อพิจารณาและประเมินรูปแบบการ

เรียนรู้ จากนั้นปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัยได้รูปแบบการเรียนรู ้

แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู แอล พลัส ที่มีระบบเสริมศักยภาพเพื่อพัฒนาการคิด

อย่างมีวิจารณญาณ มีองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ 1) ส่วนของระบบ ประกอบด้วย 4 โมดูล ดังน้ี Critical

Thinking TestModule Pre-Post TestModule LearningModule และ ActModule และ

2)ส่วนของผู้ใช้ประกอบด้วยผู้เรียนผู้สอนและผู้ประเมินผลการประเมินรูปแบบการเรียนรู้พบว่าผู้เชี่ยวชาญ

ทั้ง 12 คน มีฉันทามติให้การยอมรับรูปแบบการเรียนรู้ว่ามีความเหมาะสมและสอดคล้อง สามารถน�าไปใช้

ในการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

ABSTRACT Theobjectivesofthisresearchwere:1)tocreatealearningmodel,and2)toevaluate

the learningmodel. The research processeswere 1) the creating of the learningmodel

consistedoftheanalysis,thedesign,andthedevelopment,and2)theevaluationofthelearning

modelwasdonebyusing focus group technique of 12 experts in computerand education

fieldswhowereselectedbypurposive sampling,and then the learningmodelwas revised

followed the comments of the experts. The results found that the learningmodel was

1 Correspondent author: [email protected]

* นักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

** ผูช่้วยศาสตราจารย์ สาขาวชิาคอมพวิเตอร์ศกึษา คณะครศุาสตร์อตุสาหกรรม มหาวทิยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกล้าพระนครเหนอื

Page 4: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

วารสารวิจัย มข. มส. (บศ.) 1 (2) : พ.ค. - ส.ค. 255614

ปัญหาทางกฎหมายในกระบวนการพิจารณาคดีความรับผิดทางการแพทย์

Legal Problems in the Medical Liability Litigation

ณัฏฐนันท์ พันทองอ่อน (Natthanan Phuntong-on)* ดร.สุธี อยู่สถาพร (Dr.Suthee Yusathaporn)1 **

ดร.ไพจิตร พึ่งภพ (Dr.Phaichit Puengpop)***

บทคัดย่อ การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาทางกฎหมายในกระบวนการพิจารณาคดีความ

รับผิดทางการแพทย์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกและการศึกษาเอกสาร กลุ่มตัวอย่าง

ได้แก่ แพทย์ ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วย ผู้พิพากษา นักกฎหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา

โดยจ�ากัดการศึกษาเฉพาะคดีแพ่ง ผลการวิจัยพบว่า คดีความรับผิดทางการแพทย์เป็นความรับผิดตาม

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 คือ กรณีแพทย์กระท�าเวชปฏิบัติโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ

ส่งผลให้ผู้ป่วยสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย ไม่หายจากโรค ทุพพลภาพหรือเสียชีวิต และพบว่ากระบวนการพิจารณาคดี

ความรับผิดทางการแพทย์ยังมีปัญหาและอุปสรรค ดังน้ี ปัญหาพยานผู้เชี่ยวชาญ ความรู้ความเข้าใจด้านการ

วินิจฉัยและรักษาทางการแพทย์ของศาล คุณสมบัติผู้พิพากษา ปัญหาภาระการพิสูจน์ ปัญหาฟ้องเคลือบคลุม

ปัญหาค่าสินไหมทดแทน และปัญหาตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 การวิจัยนี้จึงได ้

เสนอแนวทางพัฒนาในการพิจารณาคดีความรับผิดทางการแพทย์ เช่น การก�าหนดคุณสมบัติของพยาน

ผู้เชี่ยวชาญให้ชัดเจน และการใช้หลักภาระการพิสูจน์ตามหลัก Res ipsa loquitur เป็นต้น

ABSTRACT This qualitative research aimed to study legal problems in medical liability litigation

procedures. Data were collected by in-depth interview and documentary research. Subjects

were doctors, patients or caregivers, judges and lawyers. Data were analyzed by using content

analysis. The scope of this study was limited to civil cases. This study found that the civil

medical liability lawsuits in Thailand are covered by section 420 of the Civil and Commercial

Code if the doctor intentional or negligent practice caused patients unnecessary charges,

immedicable from disease, disability or death. This study also found that the medical

liability litigation has the following problems: expert witness, the understanding of diagnosis

and medical treatment of the court, qualifications of the judges, burden of proof, disjunctive

1 Correspondent author: [email protected]

* นักศึกษา หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชากฎหมาย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยปทุมธานี

** อาจารย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

*** อาจารย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี

Page 5: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

วารสารวิจัย มข. มส. (บศ.) 1 (2) : พ.ค. - ส.ค. 255622

ค�าส�าคัญ: กุดทิง พื้นที่ชุ่มน�้ำที่มีควำมส�ำคัญระดับนำนำชำติ พื้นที่

Key Words: Kut Ting, Ramsar site, Thirdspace

1 Correspondent author: [email protected]

* ทุนอุดหนุนการท�าวิทยานิพนธ์จากศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน�้าโขง และ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น

** นักศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน�้าโขงศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

*** อาจารย์ ประจ�าหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน�้าโขงศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ขอนแก่น

อนุสัญญาแรมซาร์กับการเปลี่ยนแปลงความหมายจาก กุด สู่พื้นที่ชุ่มน�้าที่มีความส�าคัญระดับนานาชาติ

กรณีศึกษา กุดทิง จ.บึงกาฬ*Ramsar Convention and the Change of Meaning at Kut Ting,

Thailand

สุทธวรรณ อินทรพาณิช (Sootharwan Intarapanich)**

ดร.แก้วตา จันทรานุสรณ์ (Dr.Kaeota Janthranuson)1***

บทคัดย่อ บทควำมนี้ได้ศึกษำกำรเปล่ียนแปลงควำมหมำยพื้นที่จำก “กุด” เป็น “พื้นที่ชุ่มน�้ำที่มีควำมส�ำคัญ

ระดับนำนำชำติ” ของกุดทิง จ.บึงกำฬ ผ่ำนแนวคิด “พื้นที่” หรือ “thirdspace” ของ Henri Lefebvre

ร่วมกับมโนทัศน์เกี่ยวกับพ้ืนที่ของ Michel Foucault โดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภำพ ผลกำรศึกษำพบว่ำ

ข้อตกลงว่ำด้วยกำรจัดกำรพื้นที่ตำมอนุสัญญำแรมซำร์ ได้เปลี่ยนแปลงควำมหมำยของพื้นที่ “หำอยู่หำกิน”

กุดทิง ให้เป็น “พื้นที่ชุ ่มน�้ำที่มีควำมส�ำคัญระดับนำนำชำติ” ส่งผลให้เกิดกำรจัดกำรพื้นที่ในทำงกำยภำพ

ตำมเงื่อนไขที่ได้ระบุไว้ในอนุสัญญำแรมซำร์ ซึ่งท�ำให้คนในชุมชนรอบกุดทิงถูกจ�ำกัดสิทธิ์ในกำรเข้ำถึงพื้นที่

ABSTRACT This article is a part of a thesis named “Contested Space: Kut Ting Ramsar Site in

Beung Khan Province, Thailand”. The qualitative research employed the “thirdspace” concept

of Henri Lefebvre and Michel Foucault’s vision for contested space. This article discusses the

agreement between Thailand and the Ramsar Convention that changed the management for

the physical space according to the terms of the Ramsar Convention, resulting in the people

who live around Kut Ting Ramsar Site losing their right to use the land, and thus generated

new meaning from “living” to “preservation.”

Page 6: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

วารสารวิจัย มข. มส. (บศ.) 1 (2) : พ.ค. - ส.ค. 255634

ค�าส�าคัญ : คุณค่า กระบวนการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม

Key Words : Value, Cultural commoditization

1 Correspondent author: [email protected]

* นกัศกึษา หลกัสตูรศลิปศาสตรมหาบณัฑติ สาขาวชิาสงัคมวทิยาการพฒันา คณะมนษุยศาสตร์และสงัคมศาสตร์ มหาวทิยาลยัขอนแก่น

** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจ�าสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ก่องข้าว : คุณค่าในวัฒนธรรมอีสานสู่กระบวนการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม

Kongkhao: From Esan Cultural Value to its Commoditization Process

พัชนีย์ เมืองศรี (Patchanee Muangsri)* ดร.วิยุทธ์ จ�ารัสพันธุ์ (Dr.Viyouth Chamruspanth)1**

บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้เพื่อศึกษาถึง คุณค่าของก่องข้าวในวัฒนธรรมอีสาน และกระบวนการกลายเป็นสินค้า

ทางวัฒนธรรมของก่องข้าว โดยใช้แนวคิดการท�าวัฒนธรรมให้เป็นสินค้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช ้

แนวทางการสัมภาษณ์ แนวทางการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ผู้ให้ข้อมูลประกอบ

ด้วย ผู้อาวุโส ผู้น�าที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ สมาชิกกลุ่มจักสานก่องข้าว ชาวบ้านทั่วไป และเจ้าหน้าที่

ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า คุณค่าของก่องข้าวในวัฒนธรรมอีสาน เป็นคุณค่าด้านภูมิปัญญาท้อง

ถิ่นและด้านการสานสัมพันธ์ของคนในชุมชน ส�าหรับกระบวนการกลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมของก่องข้าว

ซึ่งมีกระบวนการผลิตภายใต้มาตรฐานเดียวกัน การแบ่งหน้าที่ตามความช�านาญ การก�าหนดราคาและการ

สร้างช่องทางการจ�าหน่าย การให้คุณค่าและความหมาย การสนับสนุนจากภาครัฐ และการเปลี่ยนแปลง

ด้านรูปลักษณ์และหน้าที่ของก่องข้าว

ABSTRACT This research investigated value of Kongkhao in Esan culture, and process of

cultural commoditization based on the concept of cultural commoditization. Interview guideline,

participatory and non-participatory observation guidelines used in data collection. Key

informants consisted of aging people, formal and informal leaders, member from Kongkhao

handicraft association, villager, and related officer. Research result found that Kongkhao

in Esan culture had highly value in term of local intelligence and people’s relationship.

The cultural commoditization of Kongkhao process, found that, the process consisted of the

standardization, duty division within the group, product pricing and distribution, meaning

creation, government supports, and also the change of its appearance and function.

Page 7: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

KKU Res J HS (GS) 1 (2) : May - August 2013 43

ผลการใช้รูปแบบการสอนการตั้งปัญหาเสริมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการเขียนบันทึกการเรียนรู้ต่อความสามารถในการแก้ปัญหา

และความสามารถในการเขียนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

The Effects of Using Problem Posing Model Supplemented with Problem Solving Process and Journal Writing on Mathematical Problem Solving and Writing Abilities

of Mathayomsuksa 6 Students

ปริสา วงศ์ค�าพระ (Parisa Wongkumpra)*

ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล (Dr.Somchai Vallakitkasemsakul)1**

ศรีสุรางค์ ทีนะกุล (Srisurang Teenkul)***

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ

ในการเขียนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการต้ังปัญหาเสริมด้วยกระบวนการ

แก้ปัญหาและการเขียนบันทึกการเรียนรู้ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ด�าเนินการวิจัยโดยใช้แบบแผน

การวิจัยแบบกลุ่มเดียว ทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการ

จัดการเรียนรู้ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และแบบวัดความสามารถในการเขียน

ทางคณิตศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนก่อนเรียน

มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 11.40 คิดเป็นร้อยละ 35.61และหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.69คิดเป็นร้อยละ 77.15

ความสามารถในการเขียนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.19 คิดเป็นร้อยละ 30.32

และหลังเรียนมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 18.91 คิดเป็นร้อยละ 70.02 เมื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา

และความสามารถในการเขียนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนพบว่าหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

ABSTRACT The purposes of this research were to study and compare mathematical problem

solving abilities and writing abilities of students before and after learning using problem

1 Correspondent author: [email protected]

* นักศึกษา หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

*** รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

Page 8: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

KKU Res J HS (GS) 1 (2) : May - August 2013 55

ผลการสอนโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะห์

เรื่อง ประวัติศาสตร์อาเซียน ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านปราสาท จังหวัดศรีสะเกษ

The Effects of Teaching by Using the Historical Method on Learning Achievement and Development of Analytical Thinking on the Topic of ASEAN History of Mathayom Suksa 1 Students

at Banprasat School in Sisaket

สุพัตรา ค�าสุข (Supattra Kamsuk)* ดร.สิริวรรณ ศรีพหล (Dr.Siriwan Sripahol)1**

สมประสงค์ น่วมบุญลือ (Somprasong Nuambunlue)***

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของ

นักเรียนที่สอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และ (2) เปรียบเทียบพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียน

และหลังเรียนของนักเรียนที่สอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

โรงเรียนบ้านปราสาทอ�าเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษปีการศึกษา2555จ�านวน45คนที่ได้โดยการสุ่ม

อย่างง่ายเครือ่งมอืทีใ่ช้ในการวจิยัได้แก่แผนการจดัการเรยีนรูท้ีส่อนด้วยวธิกีารทางประวตัศิาสตร์แบบทดสอบ

ผลสัมฤทธิ์ และแบบทดสอบความคิดวิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า

(1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง

มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05และ (2)นักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์มีพัฒนาการด้านการคิด

วิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ.05

ABSTRACT The purposes of this researchwere (1) to compare the pre-learning and post-

learningachievementsofstudentstaughtwiththehistoricalmethod;and(2)tocomparethe

developmenteffectsonanalyticalthinkingabilityofstudentstaughtwiththehistoricalmethod.

1 Correspondent author: [email protected]

* นิสิต หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน (สังคมศึกษา) คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

** ศาสตราจารย์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

*** รองศาสตราจารย์ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 9: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

KKU Res J HS (GS) 1 (2) : May - August 2013 63

การตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Assessment of Standards Performance Inspection by a Local Administrative Organization

จิราพร สันติเวสน์รัตน์ (Jiraporn Santiwesrat)*

ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ (Dr.Supawatanakorn Wongtanawasu)1**

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้ น�าเสนอกระบวนการตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติราชการ โดยการสังเกตและ

วิเคราะห์เปรียบเทียบกับหลักเกณฑ์การตรวจประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า มีการปฏิบัติ

แตกต่างจากแนวทางและหลักเกณฑ์โดยทั่วไป กล่าวคือผู้ตรวจประเมินไม่มีการประสานงานอย่างต่อเน่ือง

เพื่อศึกษาเอกสารข้อมูลล่วงหน้าหรือสร้างความเข้าใจร่วมกับผู้รับการประเมิน ในระหว่างประเมินขาดวิธีการ

เก็บรวบรวมข้อมูลที่รอบคอบ ไม่ตรวจสอบที่มาของข้อมูล ไม่ตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมจากบุคคลหรือสถานที่

ที่เกี่ยวข้อง หลังการประเมินไม่ชี้แจงสรุปผลให้เห็นข้อบกพร่อง จุดอ่อนที่ควรปรับปรุง นอกจากนี้ยังพบว่า

มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายเพื่อการประเมินอีกด้วย ด้านผู้รับการประเมินไม่น�ามาตรฐานมาเป็นแนวทาง

ในการปฏิบัติงาน ขาดความรู้ความเข้าใจในการประเมิน ขาดทักษะการน�าเสนอข้อมูล ใช้ผลการประเมิน

เพื่อเงินรางวัลมากกว่าการพัฒนางาน แนวทางการปรับปรุงที่ส�าคัญคือ ควรให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วม

ในการประเมินพร้อมรายงานการด�าเนินงานทุกขั้นตอน ควรจัดท�าคู่มือแนวทางการตรวจรับรองมาตรฐาน

ส�าหรับผู้ตรวจและผู้รับการตรวจประเมิน

ABSTRACT This research had the objective to assess standards performance inspections by

a local administrative organization. Data were collected by observation and comparative

analysis of the standards criteria as applied through an inspection of quality of performance

of personnel. This study found that there was deviation from the standards in performance.

There is no coordination among inspectors on a regular basis, or an attempt to review

documents in advance, or creating understanding among the persons being evaluated. The

inspection did not conduct comprehensive data collection, did not inspect the sources of

data, and did not inspect additional data from the related personnel or work site. After the

1 Correspondent author: [email protected]

* นกัศกึษา หลกัสตูรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิาการปกครองท้องถิน่ วทิยาลยัการปกครองท้องถิน่ มหาวทิยาลยัขอนแก่น

** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณบดีวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Page 10: วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์ฯ (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2

KKU Res J HS (GS) 1 (2) : May - August 2013 73

การสร้างภาคีหุ้นส่วนในการบริหารเทศบาลต�าบลท่าพระ อ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

Building Management Partnership for Thapra Subdistrict Municipality, Muang District, Khon Kaen Province

ประสิทธิ์ ตาตินิจ (Prasit Tatanit)* ดร.ล�าปาง แม่นมาตย์ (Dr.Lampang Manmart)1**

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทของหน่วยงานในพื้นที่ และศึกษาความคิดเห็น

ของผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่อการบริหารงานเทศบาลแบบภาคีหุ้นส่วนและหาแนวทางในการ

สร้างภาคีหุ้นส่วนของผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ในเทศบาลต�าบลท่าพระ จากการสัมภาษณ์ผู้วิจัย

ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู ้บริหารหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน 13 แห่ง

จ�านวน 17 คน ที่ตั้งอยู ่ในเขตความรับผิดชอบของเทศบาลท่าพระ ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์น�ามา

วิเคราะห์สังเคราะห์จัดกลุ่มสรุปมาเป็นผลวิจัย

ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานภาคเอกชน มีบทบาทในการพัฒนา

พื้นที่เทศบาลตามภารกิจประจ�าที่หน่วยงานได้ด�าเนินการอยู่แล้ว ดังนั้นรูปแบบของภาคีหุ้นส่วนในการบริหาร

เทศบาลต�าบลท่าพระจงึเป็นในรปูแบบการบรหิารไม่เตม็รปูแบบ(Half)มกีระบวนการท�างานเพยีงบางกจิกรรม

ที่เป็นกิจกรรมร่วมกันในพ้ืนที่ การริเริ่มแนวคิด เพื่อสร้างรูปแบบภาคีหุ ้นส่วนในการบริหารเทศบาล

ทุกหน่วยงานเห็นว่าควรให้เทศบาลต�าบลท่าพระเป็นหน่วยงานกลาง เพื่อเป็นผู้ประสานและริเริ่มกระบวนการ

สร้างภาคีหุ้นส่วน ซึ่งสมาชิกภาคีหุ้นส่วนต้องมีส่วนร่วมในการผลักดัน กระตุ้น ส่งเสริม ช่วยเหลือ สนับสนุน

งบประมาณ และก�าลังคน ในการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งวางแผน ติดตามตรวจสอบและประชุมร่วมกัน โดยม ี

เป้าหมายร่วมกันคือ พัฒนาพ้ืนที่เทศบาลต�าบลท่าพระและคุณภาพชีวิตของประชาชน 6 ด้าน ดังน้ี

1) ด้านสนับสนุนและส่งเสริมอาชีพ ภาคีหุ้นส่วนคือ บริษัท ซีพีค้าปลีกและการตลาด บริษัท โออิชิฟู๊ด จ�ากัด

และศูนย์วิจัยและบ�ารุงพันธุ ์สัตว์ 2) ด้านสุขภาพ ภาคีหุ ้นส่วนคือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล

3) ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ภาคีหุ ้นส่วนคือ สถานีต�ารวจภูธรเมือง สาขาย่อยท่าพระ

4) ด้านการศึกษาอาชีพ ภาคีหุ้นส่วนคือ วิทยาลัยสารพัดช่างขอนแก่น 5) ด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม ภาคีหุ้นส่วนคือ ส�านักงานพลังงานจังหวัดขอนแก่น ร่วมกับบริษัทไทยน�้าทิพย์ จ�ากัด และ

6) ด้านการสนับสนุนการกีฬา ภาคีหุ้นส่วนคือ บริษัทขอนแก่น บริวเวอรี่ จ�ากัด เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่

เทศบาลต�าบลท่าพระ มีอาชีพ มีรายได้ มีสุขภาพที่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และร่วมอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่

1 Correspondent author: [email protected]

* นกัศกึษา หลกัสตูรรฐัประศาสนศาสตรมหาบณัฑติ สาขาวชิาการปกครองท้องถิน่ วทิยาลยัการปกครองท้องถิน่ มหาวทิยาลยัขอนแก่น

** รองศาสตราจารย์ กลุม่สาขาวชิาการจัดการสารสนเทศและการสือ่สาร คณะมนษุยศาสตร์และสงัคมศาสตร์ มหาวทิยาลยัขอนแก่น