1หน้าปกใน+ด้านหลังหน้าปกใน 2น...

151
คูมือการพิมพวิทยานิพนธ พิมพครั้งที7 .. 2551 สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Upload: others

Post on 03-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

คูมือการพิมพวิทยานิพนธ

พิมพคร้ังท่ี 7 พ.ศ. 2551

สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สํานักหอสมุด คูมือการพิมพวิทยานิพนธ 1. วทิยานิพนธ – คูมือ. (1) ชื่อเรือ่ง. LB 2369.ธ45 378.242 ISBN 974-571-103-9 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สงวนลิขสิทธิ์

ฉบับพิมพคร้ังที่ 7 เดือน................ 2551 จํานวนพิมพ ...........4,000 เลม จัดพิมพโดยสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ถนนพระจันทร กรุงเทพมหานคร 10200 โทร. 0-2613-3501 จัดจําหนายโดยศูนยหนงัสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อาคารอเนกประสงค ชั้นลาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ถนนพระจันทร กรุงเทพมหานคร 10200 โทร. 0-2221-0633 พมิพที่โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ราคา..............บาท

สารบญั

หนา บทท่ี 1. บทนํา.............................................................................................................. 1 2. สวนประกอบของวิทยานิพนธ ........................................................................... 2 สวนนําเร่ือง................................................................................................ 2 สวนเนื้อเร่ือง............................................................................................... 5 สวนประกอบทายเร่ือง................................................................................. 6 3. การจัดพิมพวิทยานพินธ.................................................................................... 8 เร่ืองทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับการพิมพ..................................................................... 8 การลําดับหนา............................................................................................ 10 การพิมพบทหรือภาคและหัวขอในบท........................................................... 11 อัญประภาษ............................................................................................... 12 ตาราง กราฟ แผนภูม ิและภาพประกอบตาง ๆ............................................... 13 ภาคผนวก................................................................................................... 14 เชิงอรรถ...................................................................................................... 15 4. การอางอิงและรายการอางอิง............................................................................... 17 การอางอิง................................................................................................... 17 หลักเกณฑการลงอางอิง............................................................................... 18 การอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา...................................................................... 21 1. การอางเอกสารหนึ่งเร่ืองที่มีผูแตงคนเดียว................................................ 21 2. การอางเอกสารหนึ่งเร่ืองที่มีผูแตงหลายคน............................................... 22 3. การอางเอกสารที่ผูแตงเปนนติิบคุคล........................................................ 23

(1)

4. การอางเอกสารที่ไมปรากฏชื่อผูแตง......................................................... 25 5. การอางเอกสารของผูแตงชาวตางประเทศที่มชีื่อสกลุซ้าํกัน........................ 26 6. การอางเอกสารมากกวาหนึ่งเร่ืองพรอมกนั................................................ 26 7. การอางเอกสารที่เปนงานแปล.................................................................. 27 8. การอางเอกสารที่เปนบทวิจารณ............................................................... 27 9. การอางเอกสารที่เปนงานคลาสสิก............................................................ 28 10. การอางเอกสารบางสวน......................................................................... 28 11. การอางการส่ือสารระหวางบุคคล........................................................... 29 12. การอางเอกสารที่ถูกอางในเอกสารอ่ืน.................................................... 30 13. การขยายความหรืออธิบายความไวในวงเล็บ............................................ 31 14. การอางเอกสารหรือขอมูลอิเล็กทรอนิกส.................................................. 31 รายการอางอิง.............................................................................................. 32 หลักเกณฑในการพิมพรายการอางอิง............................................................. 33 หลักเกณฑการลงรายการอางอิง.................................................................... 34 ประเภทของเอกสารหรือขอมูลในรายการอางอิง............................................. 43 1. หนังสือ................................................................................................... 43 2. บทความในวารสาร.................................................................................. 49 3. บทความในหนังสือพิมพ........................................................................... 54 4. บทความในสารานุกรม............................................................................. 55 5. บทวิจารณ.............................................................................................. 56 6. วิทยานิพนธ............................................................................................ 57 7. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ.......................................................... 61 8. เอกสารประเภทอ่ืน ๆ............................................................................... 64 9. การอางเอกสารที่ถูกอางในเอกสารอ่ืน....................................................... 68 10. ส่ือโสตทัศนวัสดุ.................................................................................... 69 11. ส่ืออิเล็กทรอนิกส................................................................................... 72 12. ส่ืออิเล็กทรอนิกสอ่ืน ๆ............................................................................ 78 การเรียงลําดับรายการอางอิง......................................................................... 81

(2)

การใชคํายอ................................................................................................ 85. การเวนระยะในการใชเคร่ืองหมายวรรคตอน................................................... 88

ภาคผนวก ก. ตัวอยางการพิมพวิทยานพินธ............................................................................. 91 ตัวอยางที่ 1 ปกนอกภาษาไทย................................................................. 93 ตัวอยางที่ 2 ปกในภาษาไทย.................................................................... 94 ตัวอยางที่ 3 ปกในภาษาอังกฤษ............................................................... 95 ตัวอยางที่ 4 สันปกวิทยานิพนธ................................................................. 96 ตัวอยางที่ 5 หนาอนุมัต.ิ............................................................................ 97 ตัวอยางที่ 6 หนาบทคัดยอภาษาไทยในเลมวิทยานิพนธ……………... 98 ตัวอยางที่ 7 หนาบทคัดยอภาษาอังกฤษในเลมวิทยานิพนธ…………… 99 ตัวอยางที่ 8 หนากิตติกรรมประกาศ ………………………………………….. 100 ตัวอยางที่ 9 หนาสารบัญในกรณทีี่วิทยานพินธไมแบงเปนภาคหรือตอน…….. 101 ตัวอยางที่ 10 หนาสารบัญในกรณทีี่วิทยานพินธแบงเปนภาคหรือตอน……….. 102 ตัวอยางที่ 11 หนาสารบัญตารางที่มจีํานวนตารางมาก……………………….. 104 ตัวอยางที่ 12 หนาสารบัญตารางที่มจีํานวนตารางนอย……………………….. 105 ตัวอยางที่ 13 หนาสารบัญภาพประกอบทีม่จีํานวนภาพมาก………………….. 106 ตัวอยางที่ 14 หนาสารบัญภาพประกอบทีม่จีํานวนภาพนอย.......................... 107 ตัวอยางที่ 15 ประวัติการศึกษา…………………………………………………. 108 ตัวอยางที่ 16 การเวนขอบของกระดาษในการพิมพวิทยานพินธ...................... 109 ตัวอยางที่ 17 หนาบอกภาคผนวก………………………………110 ตัวอยางที่ 18 หนาบอกภาคหรือตอน………………………………………….. 111 ตัวอยางที่ 19 การพิมพหนาแรกของบท และการพิมพหัวขอ………………….. 112 ตัวอยางที่ 20 การพิมพอัญประภาษส้ัน ๆ……………………………………… 113 ตัวอยางที่ 21 การพิมพอัญประภาษที่ยาวเกิน 3 บรรทัด................................. 114 ตัวอยางที่ 22 การพิมพอัญประภาษที่เปนบทรอยกรอง……………………….. 115 ตัวอยางที่ 23 การพิมพตารางซึ่งอยูในหนาเดียวกับเนื้อเร่ือง........................... 116

(3)

ตัวอยางที่ 24 การพิมพตารางที่แยกอยูในอีกหนาหนึ่งตางหาก....................... 117 ตัวอยางที่ 25 หนาแรกของภาคผนวก…………………………… 118 ตัวอยางที่ 26 การลงเชิงอรรถเสริมความ....................................................... 119 ข. รูปแบบและตัวอยางของการลงเชิงอรรถของหนังสือ บทความ ประเภทตาง ๆ และบทวิจารณหนังสือในวิทยานิพนธของคณะนิติศาสตร.................. 120 ค. รูปแบบและตัวอยางของการทําบรรณานุกรมเปนภาษาอังกฤษของบทความ ประเภทตาง ๆ และบทวิจารณหนงัสือในวิทยานพินธของคณะนิตศิาสตร.................. 126 ง. รูปแบบและตัวอยางการอางอิงในวิทยานพินธของคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา............ 128 จ. รูปแบบและตัวอยางการทําบรรณานกุรมและเชงิอรรถเปนภาษาฝร่ังเศส ของสาขาวิชาฝร่ังเศสศึกษา.................................................................................... 130 ฉ. ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรวาดวยวิทยานิพนธ พ.ศ. 2535.............................. 134 ช. ระเบยีบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรวาดวยวิทยานพินธ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549.............. 136 ซ. ขอกําหนดในการจัดทํา CD-ROM ฉบับเต็มของวิทยานพินธ / ปริญญานพินธระดบั บัณฑติศึกษาที่จะสงใหสํานกัหอสมดุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.............................. 137 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดาํเนินการปรับปรุงหนังสอืคูมือการพิมพวิทยานิพนธ...... 144 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการจัดทําคูมือการพมิพวิทยานิพนธ......................................... 145 ..

(4)

1

บทท่ี 1

บทนํา สํานักงานบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดดําเนินการปรับปรุงหนังสือคูมือการพิมพวิทยานิพนธ ฉบับป พ.ศ. 2543 ใหทันสมัย สอดคลองกับการใชงานและเพิ่มความสะดวกใหแกผูใช โดยยังยึดหลักการพิมพเอกสารทางวิชาการ ซึ่งมีมาตรฐานและเปนสากล หลักเกณฑในสวนที่เกี่ยวของกับวิธีการอางอิงเอกสารตาง ๆ นั้น ไดเขียนข้ึนตามวิธีการที่ปรากฏอยูในหนังสือ Publication Manual of the American Psychological Association, 5 th ed. (American Psychological Association, 2005) ดังนั้น รายละเอียดปลีกยอย หรือเร่ืองที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงมาก ๆ ซึ่งไมมีปรากฏอยูในคูมือเลมนี้ ทานสามารถอานเพิ่มเติมไดจากหนังสือดังกลาว เนื้อหาในหนังสือคูมือเลมนี้จะแบงออกเปนสวนนําเ ร่ือง สวนเนื้อ เ ร่ือง และสวนประกอบทายเร่ือง สวนเนื้อเร่ืองไดแบงเนื้อหาสาระออกเปนสองบท คือ บทที่ 2 เปนการอธิบายถึงสวนประกอบของวิทยานิพนธ และบทที่ 3 เปนการอธิบายถึงรายละเอียดของการจัดพิมพวิทยานิพนธ สวนประกอบทายเร่ือง มีตัวอยางภาคผนวก ซึ่งแสดงใหเห็นวิธีใชภาคผนวกในการชวยขยายความที่สําคัญแตไมสัมพันธโดยตรงกับขอความในสวนเนื้อเร่ือง ขอความในภาคผนวกเหลานี้ถาไมเขียนไวก็จะทําใหใจความในเนื้อเร่ืองไมสมบูรณและเขาใจยาก แตถาใสไวในสวนเนื้อเร่ืองก็จะทําใหขาดความรัดกุมและความตอเนื่อง

2

บทท่ี 2

สวนประกอบของวิทยานิพนธ วิทยานิพนธประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ คือ 1. สวนนําเร่ือง 2. สวนเนื้อเร่ือง 3. สวนประกอบทายเร่ือง

สวนนําเร่ือง สวนนาํเร่ืองประกอบดวยรายการตาง ๆ เรียงตามลําดบั ดงันี้คือ หัวขอวิทยานิพนธ วิทยานิพนธทุกเลมจะตองมีหัวขอเร่ือง ซึ่งไดแก ชื่อเร่ืองของวิทยานิพนธ และชื่อผูเขียนปรากฏอยูที่ปกนอกและปกในของวิทยานิพนธเลมนั้น ดังนี้ 1. ปกนอก (Cover) ลักษณะของปกนอกตองเปนปกแข็ง วิทยานิพนธมหาบัณฑิตใชสีแดงเลือดหมู วิทยานิพนธดุษฎีบัณฑิตใชสีกรมทา ตัวอักษรใชสีทองทั้งปก ชื่อเร่ืองใชตัวอักษร ขนาด 20 พอยต ตัวหนา นอกจากนั้นใชตัวอักษร ขนาด 18 พอยต ตัวหนา โดยมีรายละเอียด ตามลําดับจากบนลงลาง ดังนี้ 1.1 พิมพตรามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สีทอง ขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 นิ้ว ตรงกึ่งกลางของปกหางจากขอบบนของกระดาษ 1 ½ นิ้ว 1.2 ชื่อเร่ืองวิทยานิพนธ ใหใชภาษาตามเนื้อหาวิทยานิพนธ กรณีที่ชื่อเร่ืองมีความยาวมากกวา 48 ตัวอักษร ใหพิมพเรียงลงมาในลักษณะรูปสามเหล่ียมหัวกลับ (s) 1.3 ชื่อผูเขียนวิทยานิพนธ พิมพชื่อและชื่อสกุลพรอมคํานําหนานามไวกึ่งกลางหนากระดาษ โดยไมตองใสคุณวุฒิใด ๆ ไวทายชื่อ แตถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม หรือ สมณศักดิ์ ใหใสไวดวย

3

1.4 สวนลางของปกนอก บอกรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อปริญญา/สาขาวิชา ภาควิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย/ปที่สงเลมวิทยานิพนธ (โปรดดูตัวอยางที่ 1 หนา 93) 2. ปกใน (Title Page) ปกในของวิทยานิพนธ ใหพิมพรายละเอียดเหมือนปกนอกทุกประการ แตใหจัดพิมพเปน 2 หนา คือ หนาแรกใหพิมพขอความเปนภาษาไทย หนาที่สองใหพิมพขอความเปนภาษาอังกฤษ หรือภาษาที่ใชเขียนวิทยานิพนธ โดยใชชนิดตัวพิมพ (Font) เดียวกันกับเนื้อหาในเลม (โปรดดูตัวอยางที่ 2, 3 หนา 94, 95) 3. สันปก (Spine) พิมพตัวอักษรสีทอง เร่ิมจากชื่อเร่ืองวิทยานิพนธ ชื่อและชื่อสกุลผูเขียนวิทยานิพนธพรอมคํานําหนานาม ถามยีศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม หรือ สมณศักดิ์ ใหใสไวดวย และปที่สงเลมวิทยานิพนธ เรียงไปตามความยาวของสันปกโดยจัดระยะใหเหมาะสม ในกรณีที่ชื่อวิทยานิพนธยาว สามารถพิมพเปน 2 บรรทัดได (โปรดดูตัวอยางที่ 4 หนา 96) หนาอนุมัต ิ หนาอนุมัติ ประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ไดแก ชื่อของมหาวิทยาลัย ชื่อคณะหรือ ชื่อวิทยาลัย/สถาบัน/สํานัก ชื่อผูเขียน ชื่อหัวขอวิทยานิพนธ วันอนุมัติวิทยานิพนธ1 ซึ่งเปน วัน เดือน ป ที่สงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณใหคณะ ชื่อและลายมือชื่อกรรมการสอบวิทยานิพนธ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และคณบดี (โปรดดูตัวอยางที่ 5 หนา 97) บทคัดยอ บทคัดยอเปนสวนสรุปของวิทยานิพนธ กลาวถึงวัตถุประสงค วิธีดําเนินการวิจัย ผลของการวิจัย และขอเสนอแนะโดยยอ ความยาวไมเกิน 3 หนากระดาษพิมพ การพิมพบทคัดยอจะตองพิมพทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษหรือภาษาที่ใชเขียนวิทยานิพนธ (โปรดดูตัวอยางที่ 6, 7 หนา 98, 99)

1วันที่วิทยานพินธไดรับอนมุตัิ คือวันทีน่กัศึกษาไดสงมอบวิทยานพินธฉบับสมบรูณใหแกคณะตามระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยวิทยานพินธ พ.ศ. 2535 ขอ 9

4

คําขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธบางเลมอาจจะมีคําขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศ ซึ่งเปนสวนที่ผูเขียนแสดงความขอบคุณผูมีสวนรวมหรือชวยเหลือใหงานคนควาวิจัยนั้น ๆ บรรลุผลสําเร็จ ถาหากมีใหแยกอยูอีกหนาหนึ่งตางหาก (โปรดดูตัวอยางที่ 8 หนา 100) สารบญั สารบัญเปนรายการที่แสดงถึงสวนประกอบสําคัญทั้งหมดของวิทยานิพนธ สารบัญ ม ี2 ประเภท คือ สารบัญในกรณีที่วิทยานิพนธไมแบงเปนภาคหรือตอน และสารบัญในกรณีที่วิทยานิพนธแบงเปนภาคหรือตอน วิธีการจัดทําใหเปนไปตามตัวอยางที่ 9, 10 หนา 101, 102-103). สารบญัตารางและสารบัญภาพประกอบ สารบัญตารางและสารบัญภาพประกอบ ฯลฯ เปนรายการที่แสดงใหทราบวาวิทยานิพนธนั้นมีตาราง และ / หรือภาพประกอบ1 ฯลฯ เกี่ยวกับเร่ืองอะไรบาง อยูสวนใดของเลม สารบัญตารางและสารบัญภาพประกอบ ฯลฯ ดังกลาว ตองจัดทําแยกกันแตละสารบัญ คือ เมื่อจบสารบัญตารางแลวใหข้ึนหนาใหมสําหรับสารบัญภาพประกอบ และข้ึนหนาใหมสําหรับสารบัญอ่ืน ๆ สําหรับสารบัญตารางใหจัดเรียงตามลําดับโดยระบุเลขที่ของตาราง พรอมทั้งเลขลําดับหนาซึ่งตาราง นั้น ๆ ปรากฏอยู (โปรดดูตัวอยางที่ 11, 12 หนา 104, 105) สําหรับสารบัญภาพประกอบและสารบัญอ่ืน ๆ ก็ใหใชวิธีเดียวกันกับสารบัญตาราง (โปรดดูตัวอยางที่ 13, 14 หนา 106, 107)

1ภาพประกอบ (Figure) เปนส่ิงที่เสริมวิทยานิพนธใหมีความสมบูรณหรือเขาใจงายข้ึน ภาพประกอบ แบงออกไดเปนหลายประเภท เชน ภาพถาย แผนภูม ิแบบจําลอง แผนผัง แผนที่ ภาพลายเสน กราฟ แผนภาพและโฆษณา เปนตน

5

สวนเน้ือเร่ือง วิทยานิพนธโดยทั่วไป ควรแบงสวนเนื้อเร่ืองออกเปน 5 บท โดยมีใจความสําคัญของแตละบทดังที่ไดอธิบายไวขางลางนี้ เวนแตในกรณีที่วิทยานิพนธเร่ืองนั้นมีเนื้อหาสาระที่แบงออกเปนบทตามลําดับดังกลาวไมได ก็อาจจะมีมากหรือนอยกวา 5 บทได เชนถาเนื้อหาสาระของบทใดก็ตามมีมากเกินกวาที่จะเปนเพียงบทเดียว จะขยายออกไปเกินกวาหนึ่งบทก็ได ในทํานองเดียวกันหากสมควรที่จะรวมเนื้อหาสาระของบทใดเขาดวยกันก็ยอมเปนสิทธิ์ของผูเขียนที่จะทําตามความเหมาะสม บทท่ี 1 บทนํา (Introduction) บทนาํเปนบทแรกของวิทยานพินธ ชีใ้หเหน็ประเด็นสําคญัของเร่ืองทีจ่ะศึกษาทั้งในแงของความสําคัญของปญหาและในแงของวัตถุประสงคของผูศึกษา ในบทนี้ผูเขียนจะอธิบายถึง คําจํากัดความหรือสัญลักษณสําคัญที่ใช ตลอดจนขอจํากัดตาง ๆ ที่มผีลโดยตรงตอขอบเขต วิธีและผลของการศึกษาวิจัย บทท่ี 2 ผลงานวิจยัและงานเขยีนอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ (Review of Literature) ในบทนี้ ผูเขียนจะสรุปความเปนมาของปญหาที่ศึกษา ผลการศึกษาวิจัยในอดีตที่มีผูทําไวในหัวขอเดียวกันนี้หรือในหัวขอที่มีความสัมพันธเกี่ยวของโดยใกลชิดกับเร่ืองที่ศึกษา หากเปนเร่ืองที่มีทฤษฎีซึ่งมีลักษณะเดนขัดแยงกันอยู ก็จะตองสรุปใหเห็นขอขัดแยงดังกลาว ตลอดจนระบุใหชัดวาการศึกษาวิจัยที่จะทําตอไปนั้นเพื่อสนับสนุนขอโตแยงใด บทท่ี 3 วิธีการวิจัย (Methodology) ในบทนี้ผูเขียนจะอธิบายวิธีการตาง ๆ ตลอดจนสมมุติฐานที่ตองการศึกษาวิจัยอยางละเอียด เชน ถาเปนการวิจัยโดยใชแบบสอบถามก็ตองอธิบายถึงวิธีการทําแบบสอบถาม ลักษณะของคําถาม หลักเกณฑการสุมตัวอยาง วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการวิเคราะหขอมูล ฯลฯ ถาการวิจัยตองใชวิธีการทางสถิติ ผูเขียนจะตองอธิบายถึงข้ันตอนของการคํานวณตลอดจนการทดสอบสมมุติฐานทางสถิติใหชัดเจนดวย

6

บทท่ี 4 ผลของการวิจยั (Findings and Results) ในบทนี ้ผูเขียนจะตองแสดงผลการศึกษาวิจัยใหปรากฏชัดโดยอาจจะใชตาราง กราฟ แผนภูม ิภาพประกอบ และอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม นอกจากนี้ผูเขียนจะตองหยิบยกเอาผลงานศึกษาวิจัยของตนมาวิเคราะหใหไดคําตอบวา สมมุติฐานที่ไดตั้งข้ึนไวในบทกอนนั้นมีหลักฐานที่จะสนับสนุนหรือหักลางประการใดบางเพื่อสรุปวาจะยอมรับสมมุติฐานที่ตั้งข้ึนนั้นหรือไม ในการสรุปนี้ผูเขียนจะตองอางอิงทฤษฎีและผลการวิจัยอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของมาประกอบการวิเคราะหใหมีน้ําหนักนาเชื่อถือมากข้ึน บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษาวิจัยและขอเสนอแนะ (Conclusions and Recommendations) บทนี้เปนสวนที่กลาวโดยยอถึงเนื้อหาสาระของวิทยานิพนธโดยจะตองอางยอนไปถึงวัตถุประสงคและวิธีการศึกษาวิจัยพอเปนสังเขป ผูเขียนควรจะสรุปวาผลการศึกษาวิจัยนี้จะนําไปประยุกตไดอยางไร ตลอดจนเสนอแนะแนวทางเพื่อการศึกษาวิจัยในเร่ืองเดียวกันนี้ตอไปดวย ในบทนี้ ผู เ ขียนจะตองระบุใหชัดเจนวาผลงานของตนไปสนับสนุนหรือโตแยงผลงานวิจัยอ่ืนเพียงใด อยางไร มีความกาวหนาทางวิชาการอันเปนผลจากการศึกษาวิจัยนี้ถึงกับจะไปลบลางหรือเปล่ียนแปลงแนวคิดในเร่ืองที่ไดวิเคราะหและศึกษากันมาแลวหรือไม

สวนประกอบทายเร่ือง สวนประกอบทายเร่ือง ประกอบดวยบรรณานุกรมและประวัติการศึกษาหรืออาจจะมีภาคผนวกดวยก็ไดตามความเหมาะสม โดยเรียงตามลําดบัดังนี ้ รายการอางอิง (References) รายการอางอิง คือรายชื่อหนงัสือหรือส่ิงพิมพอ่ืน ๆ รวมทั้งส่ืออิเล็กทรอนิกสที่ใชสําหรับคนควาอางอิงประกอบการเขียนวิทยานพินธเร่ืองนัน้ ๆ

7

ภาคผนวก (Appendix) ภาคผนวก เปนสวนทีเ่พิ่มเตมิข้ึนเพื่อชวยเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระของวิทยานพินธเร่ืองนั้น ๆ อาจมีหรือไมมีก็ได ไดแก อภิธานศัพท (Glossary) รายการคํายอ (List of Abbreviations) แผนที่ ตาราง กราฟ ฯลฯ ประวัตกิารศกึษา (Vita) เปนการเสนอประวัตยิอ ๆ เกีย่วกับผูเขียนวิทยานพินธ โดยระบชุื่อ ชื่อสกลุ คํานําหนาชือ่ ยศ สังกัด วันเดือนปเกิด วุฒิการศกึษา ทนุการศึกษา ผลงานวิชาการ ตําแหนงหนาทีก่ารงาน สถานที่ทํางาน ประสบการณทํางาน (โปรดดูตัวอยางที่ 15 หนา 108)

8

บทท่ี 3

การจัดพิมพวิทยานิพนธ

เร่ืองท่ัว ๆ ไปเกี่ยวกับการพิมพ กระดาษท่ีใชพิมพ

1. ใหใชกระดาษปอนดไมมีบรรทัดชนิด 80 แกรม ขนาด A4 2. วิทยานิพนธที่มีความยาวไมเกิน 300 หนา ใหพมิพหนาเดยีว 3. วิทยานิพนธที่มีความยาวเกิน 300 หนา อนุโลมใหพิมพ 2 หนาได ยกเวนสวนนําเร่ือง

ไดแก ปกนอก ปกใน หนาอนุมัต ิ บทคัดยอ คําขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศ สารบัญ ใหพิมพเพียงหนาเดียว ตัวพิมพ ตัวอักษรที่ใชพิมพตองเปนตัวอักษรสีดํา และใชตัวพิมพแบบเดียวกันตลอดทั้งเลม ขนาดของตัวพิมพและรูปแบบตัวอักษร (Font Style) กําหนดดังนี้ 1. วิทยานิพนธภาษาไทย ใหใชชนิดตัวพิมพ (Font type) แบบ Cordia New ขนาด 16 พอยต ตัวพิมพธรรมดา (Normal) ยกเวนการพิมพในตารางหรือภาพประกอบตาง ๆ อนุโลมใหใชตัวพิมพที่เล็กลงหรือยอสวน เพื่อใหตารางหรือภาพประกอบนั้น ๆ อยูในกรอบของการวางรูปกระดาษที่กําหนด 2. วิทยานิพนธภาษาอังกฤษ ใหใชชนิดตัวพิมพ (Font type) แบบ Times New Roman ขนาด 16 พอยต ตัวพิมพธรรมดา (Normal) 3. บทที ่ชื่อบท ชื่อสวนประกอบตาง ๆ เชน หัวขอใหญ หัวขอเล็ก กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทคัดยอ บรรณานุกรม ภาคผนวก ในวิทยานิพนธภาษาไทยและวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ ใหพิมพดวยตัวอักษรเขมหนา (Bold)

9

การเวนขอบของกระดาษและการขึ้นบรรทัดใหม หวักระดาษและขอบซายมอืใหเวนที่วางไวประมาณ 1½ นิ้ว ตอนลางและขอบขวามือเวนไวประมาณ 1 นิ้ว (โปรดดูตัวอยางที่ 16 หนา 109) ถาพิมพคําสุดทายไมจบในบรรทดันัน้ ๆ ใหยกคํานั้นทั้งคําไปพมิพในบรรทัดตอไป หามตดัสวนทายของคําไปพมิพในบรรทดัใหม ตัวอยางเชน ธรรมศาสตร หามแยกบรรทัดเปน ธรรม-ศาสตร การเวนระยะระหวางบรรทัด การเวนระยะระหวางบรรทัดในการพิมพวิทยานิพนธภาษาไทยใหใชระยะบรรทดัตามปกติ หรือตาม Auto Format ใน Microsoft Word สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษใหใชระยะหางระหวางบรรทัดเปน 1.5 เทา การยอหนา ถาจะยอหนาใหเวนระยะไปจากแนวปกติ คือ เวนระยะหางจากขอบซาย 0.8 นิ้ว การขึ้นหนาใหม ถาพิมพมาถึงบรรทัดสุดทายของหนากระดาษ (โดยเวนขอบลางประมาณ 1 นิ้ว ตามเร่ืองการเวนขอบของกระดาษและการข้ึนบรรทัดใหม) และจะตองข้ึนหนาใหม แตมีขอความเหลืออีกเพียงบรรทัดเดียวก็จะจบยอหนาเดิม ใหพิมพตอไปในหนาเดิมจนจบยอหนานั้น แลวจึงข้ึนยอหนาใหมในหนาถดัไป ถาจะตองข้ึนยอหนาใหม แตมีเนื้อที่เหลือใหพิมพไดอีกเพียงบรรทัดเดียวในหนานั้นใหยกยอหนานั้นไปตั้งตนพิมพในหนาถัดไป ตัวเลข ตัวเลขที่ใชในการพิมพวิทยานิพนธ ไมวาจะอยูในเนื้อเร่ืองหรือการลําดับหนาบทและหัวขอก็ตามใหใชตัวเลขอารบิคอยางเดียวโดยตลอด

10

การลาํดบัหนา การลาํดบัหนาสวนนําเร่ือง สวนนําเร่ืองในที่นี้ หมายถึง หนาอนุมัติ บทคัดยอ คําขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตารางและสารบัญภาพประกอบ การพิมพเลขลําดับหนาของสวนนําเร่ืองใหใชตัวเลขในเคร่ืองหมายวงเล็บ เชน (1), (2), (3) … โดยพิมพไวตรงกลางของกระดาษ หางจากขอบลางของกระดาษ ½ นิ้ว การลาํดบัหนาสวนเน้ือเร่ือง การพิมพเลขลําดับหนาสวนเนื้อเร่ือง ใหพิมพตัวเลขโดยไมตองมีวงเล็บหางจากขอบบนของกระดาษ 1 นิ้ว และหางจากขอบขวา 1 นิ้ว การลาํดบัหนาสําคัญ หนาสําคัญในที่นี้หมายถึง หนาแรกของแตละบท หนาแรกของบรรณานุกรม หนาแรกของภาคผนวกและหนาบอกภาค การพิมพเลขลําดับหนาสําคัญ ใหพิมพเลขลําดับหนาไวตรงกลางกระดาษ หางจากขอบลาง ½ นิ้ว สําหรับหนาบอกภาคผนวก ใหนับจํานวนหนาแตไมตองพิมพเลขหนา (โปรดดูตัวอยางที ่17 หนา 110) อัญประภาษที่เปนบทรอยกรอง ไดแก โคลงกลอน ฯลฯ ถายกมาอางอิงมากกวา 1 บรรทัดใหพิมพข้ึนหนาใหมกลางหนากระดาษหางจากขอบซายและขอบขวาเทากัน และใหรักษารูปแบบของฉันทลักษณเดิมไว ไมตองใสเคร่ืองหมายอัญประกาศ เวนแตจะยกมาอางพรอมกันหลาย ๆ บท โดยผูแตงคนเดียวกันหรือผูแตงหลายคนใหใชเคร่ืองหมายอัญประกาศกํากับทุกบท และพิมพการอางอิงไวใตบทรอยกรอง โดยเวนหางจากบรรทัดสุดทายของบทรอยกรอง 1 บรรทัด ใหพิมพการอางอิงตัวสุดทายชิดขอบขวา ถาไมมีชื่อผูประพันธ ใหบอกชื่อวรรณคดีเร่ืองนั้น (โปรดดูตัวอยางที่ 22 หนา 115)

11

การพมิพบทหรือภาคและหัวขอในบท1 บท

เมื่อข้ึนบทใหมใหข้ึนหนาใหมทุกคร้ัง และตองมีเลขลําดับบท (บทที ่1, บทที่ 2 …) โดยพิมพ “บทที่ …” ไวตรงกลางหนากระดาษหางจากขอบบน 1 ½ นิ้ว พิมพชื่อบทในบรรทัดตอมา โดยเวนระยะหางจากบรรทัดบน 1 บรรทัด ชื่อบทที่ยาวเกิน 48 ตัวอักษร ใหแบงเปน 2-3 บรรทัดตามความเหมาะสม โดยพิมพเรียงลงมาในลักษณะสามเหล่ียมหัวกลับ (s) บทที่ และชื่อบทใหใชตัวอักษรเขมหนาตอจากชื่อบทใหเวนระยะหาง 1 บรรทัด แลวจึงพิมพเนื้อเร่ืองตอไป

ภาคหรือตอน

ในกรณีที่วิทยานิพนธมีความยาวมากและอาจแบงออกไดเปนหลายภาคหรือตอน ใหพิมพเลขลําดับภาคและชื่อของภาคไวอีกหนาหนึ่งตางหากเรียกวา หนาบอกภาค หนานี้จะอยูกอนที่จะถึงบทแรกของภาคนั้น ๆ สําหรับภาคซึ่งมีชื่อส้ันอาจจะพิมพไวบรรทัดเดียวกับเลขลําดับภาคเลยก็ได เชน (ภาคที่ 3 ราคาและตลาด) ถาชื่อยาวเกิน 48 ตัวอักษร ใหแบงเปน 2-3 บรรทัด ตามความเหมาะสม โดยพมิพเรียงลงมาในลักษณะสามเหล่ียมหัวกลับ (s) โดยจัดขอความทั้งหมดไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนและขอบลางเทากัน ทั้งหางจากขอบซายและขอบขวาเทากันดวย (โปรดดูตัวอยางที่ 18 หนา 111) การจัดสารบัญในกรณีที่วิทยานิพนธแบงออกเปนภาคหรือตอน ใหจัดบทนําไวกอนภาคและบท (โปรดดูตัวอยางที่ 10 หนา 102) หัวขอใหญ การพิมพหัวขอใหญในแตละบท ใหพิมพไวตรงกลางหางจากขอบซายและขอบขวาของกระดาษเทากัน ถาหัวขอไมไดอยูตอนบนสุดของกระดาษใหเวนระยะหางจากบรรทัดบนและบรรทัดลาง 1 บรรทัด ใชตัวอักษรเขมหนา ถาจะข้ึนหวัขอใหมแตมทีี่วางสําหรับพมิพเนื้อเร่ืองไดไม เกินหนึ่งบรรทัดในหนานัน้ ใหยกหัวขอนัน้ไปข้ึนหนาใหมเลย

1ดูวิธกีารพิมพบท หวัขอใหญและหัวขอยอย ไดจากตัวอยางที่ 19 หนา 112

12

หัวขอยอย ถาในหัวขอใหญมีหัวขอยอย ใหพิมพหัวขอยอยชิดแนวซายของกระดาษเวนหางจากบรรทัดบนและบรรทัดลาง 1 บรรทัด ในกรณีที่มีการแบงหัวขอยอยมากกวา 1 หัวขอ ใหใชตัวเลขกํากับ โดยมีวิธีพิมพแตละหัวขอยอย ดังนี้ หัวขอยอยที่ 1 ใหพิมพหัวขอยอยแรกชิดแนวซายของกระดาษ เวนหางจากบรรทัดบนและบรรทัดลาง 1 บรรทัด หัวขอยอยที่ 2 ใหพิมพหัวขอยอยไวที่ยอหนาใหม เวนหางจากขอบซาย 0.8 นิ้ว โดยพิมพตามบรรทัดพิมพปกติไมตองเวนหางจากบรรทัดบน หัวขอยอยที่ 3 เปนตนไป ใหพิมพยอหนาใหม โดยพิมพเวนระยะเพิ่มออกไปจากยอหนาเดิมอีก 0.3 นิ้ว ตอไปเร่ือย ๆ ทุกยอหนา การพิมพหัวขอยอยทุกหัวขอใหใชตัวอักษรเขมหนา

อัญประภาษ (Quotations) อัญประภาษ คือ ขอความที่ผูเขียนคัดลอกมาจากขอเขียนหรือคําพูดของผูอ่ืน เพื่อใชประกอบเนื้อเร่ืองในวิทยานพินธ อัญประภาษที่มีความยาวไมเกิน 3 บรรทัด ใหพมิพตอจากขอความในวิทยานพินธไดโดยไมตองข้ึนบรรทัดใหม และตองใสเคร่ืองหมายอัญประกาศคูไวดวย เชน “……………..” กรณีที่ตองการละเวนขอความที่คดัลอกมาบางสวน ใหพมิพเคร่ืองหมายจดุสามจุด (Ellipsis dots) โดยเวนระยะ 1 ชองตัวอักษรระหวางจดุ (. . .) (โปรดดตูัวอยางที่ 20 หนา 113) ถามีขอความอ่ืนที่คัดลอกมาซอนอยูใหใสเคร่ืองหมายอัญประกาศเดี่ยว สําหรับขอความที่ซอนอยู เชน “…….. ‘………..’ ……….” อัญประภาษที่มีความยาวเกิน 3 บรรทัด ใหพมิพข้ึนบรรทัดใหมโดยยอหนาเขามา 0.8 นิ้ว ในกรณทีี่มยีอหนาภายในอัญประภาษกใ็หยอหนาเขามาอีก 0.3 นิ้วทุกยอหนา อัญประภาษที่พิมพแบบนี้ไมตองมีเคร่ืองหมายอัญประกาศกํากับ (โปรดดูตัวอยางที่ 21 หนา 114)

13

ตาราง กราฟ แผนภูม ิและภาพประกอบตาง ๆ เลขกํากับและชื่อตาราง ตารางทุกตารางตองมีเลขกํากับเพื่อใหอางถึงไดงาย ในกรณีที่มีจํานวนตารางมากใหแยกเลขลําดับตารางไวในแตละบท โดยใชเลขลําดับตารางเหมือนเลขลําดับบท ตามดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค ( . ) และเลขบอกลําดับของตารางในบทนั้น เชน ในบทที่ 1 ใชตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.2 เรียงกันไป สําหรับบทที่ 5 ใชตารางที่ 5.1 ตารางที่ 5.2 เรียงกันไปตามลําดับ (โปรดดูตัวอยางที่ 11 หนา 104) สําหรับวิทยานิพนธที่มีจํานวนตารางไมมากนัก อาจใชวิธีลําดับเลขตารางโดยไมแยกแตละบทก็ได ในกรณีนี้ก็จะไมมีเลขลําดับบทอยูดวย มีแตเลขลําดับตาราง กลาวคือใชตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 เรียงกันไป (โปรดดูตัวอยางที่ 12 หนา 105) การพมิพตาราง การพิมพตารางซึ่งอยูในหนาเดียวกับเนื้อเร่ือง ใหพิมพคําวา ตารางพรอมเลขกํากับตอจากเนื้อเร่ือง เวนหางจากเนื้อเร่ือง 1 บรรทัด โดยพิมพไวตรงกลางหางจากขอบซายและขอบขวาของกระดาษเทากัน ในบรรทัดตอมาใหพิมพชื่อตาราง ถาชื่อยาวเกิน 48 ตัวอักษร ใหพิมพเรียงลงมาในลักษณะสามเหล่ียมหัวกลับ (s) ตอจากชื่อตารางใหพิมพตารางโดยเวนหางจากชื่อตาราง 1 บรรทัด (โปรดดูตัวอยางที่ 23 หนา 116) การพิมพตารางซึ่งแยกอยูอีกหนาหนึ่งตางหาก ใหพิมพคําวา ตารางพรอมทั้งเลขกํากับไวตรงกลางหางจากขอบบน 1½ นิ้ว โดยมีรายละเอียดการพิมพอ่ืน ๆ เชนเดียวกับตาราง ซึ่งอยูในหนาเดียวกับเนื้อเร่ือง (โปรดดูตัวอยางที่ 24 หนา 117) แหลงอางอิงและหมายเหตุของตาราง ใหลงแหลงอางอิงที่มาของตารางนั้นดวย โดยพิมพไวใตตาราง ในกรณีที่มีหมายเหตุสําหรับตารางนั้น ใหพิมพไวใตตารางถัดจากแหลงอางอิง กรณีตารางพิมพอยูในหนาดียวกับเนื้อเร่ือง ใหเวน 1 บรรทัดตอจากหมายเหตุ แลวจึงพิมพขอความตอไป

14

ขนาดของตาราง ตารางไมควรมีขนาดใหญเกินหนาวิทยานิพนธเวนแตจําเปน อาจลดขนาดของตารางลงโดยใชการถายยอสวน หรือวิธีอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม สวนตารางที่กวางเกินกวาความกวางของหนาวิทยานิพนธ ใหจัดพิมพตามแนวขวางของหนา กรณีที่ตารางมีความยาวเกินกวาหนึ่งหนา ใหพิมพตอในหนาถัดไป โดยระบุลําดับที่ของตารางตอดวยวงเล็บคําวา (ตอ) สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย หรือ (Continued) สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ โดยไมตองพิมพชื่อตารางอีก การอางถึงตาราง ในเนื้อเร่ืองหากมกีารอางถึงตารางใด ก็ใหอางถึงเลขกาํกบัตารางนัน้ดวยทุกคร้ัง กราฟ แผนภูมิและภาพประกอบอ่ืน ๆ ใหใชแนวปฏิบัติเชนเดียวกับเร่ืองตารางที่กลาวมาแลว ถาเปนภาพถายอาจจะใชภาพขาวดําหรือภาพสีก็ได ถาเปนภาพถายที่อางอิงมาจากที่อ่ืน ใหใชการถายสําเนา ถาเปนผลของการวิจัยใหใชภาพจริง อาจจะเปนภาพถาย Digital หรือ ภาพ Scan ก็ได และติดดวยดวยกาวที่มีคุณภาพดี

ภาคผนวก (Appendix) หนาบอกภาคผนวกใหข้ึนหนาใหมมคีําวา ภาคผนวก อยูกลางหนากระดาษ (โปรดดูตัวอยางที่ 17 หนา 110) หนาถัดไปใหพมิพคําวา ภาคผนวก ก ไวตรงกลางหางจากขอบบน 1 ½ นิ้ว บรรทัดตอมาใหพมิพชื่อภาคผนวกโดยเวนหางจากบรรทัดบน 1 บรรทัด ถาชื่อยาวเกิน 48 ตัวอักษร ใหพิมพเรียงลงมาในลักษณะสามเหล่ียมหวักลับ (s) ตอจากชื่อของภาคผนวก ใหเวน 1 บรรทัด แลวจึงพิมพขอความตอไป ถามีหลายภาคผนวก ใหข้ึนหนาใหมทกุภาคผนวก โดยลงหัวเร่ืองเรียงลําดับตามตัวอักษร คือ ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค เร่ือยไป (โปรดดูตัวอยางที่ 25 หนา 118) ถาภาคผนวกมเีชงิอรรถ (Footnote) ใหลําดบัหมายเลขของเชงิอรรถใหมเมื่อข้ึนหนาใหม

15

เชิงอรรถ (Footnote) เชิงอรรถ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ เชิงอรรถอางอิง เชิงอรรถโยง และเชิงอรรถเสริมความ จะอยูที่สวนลางของหนาเสมอ โดยจะมีตัวเลขยกลอยข้ึน (Superscript) กํากับอยูขางทายของเนื้อหาที่ตองการอางอิง โยง หรือ อธิบายความเพิ่มเติม ซึ่งจะตรงกันกับหมายเลขของเชิงอรรถที่อยูสวนลางของหนานั้น ๆ เชิงอรรถอางอิง เปนการระบุแหลงที่มาของขอมูลที่ใชในการอางอิงเนื้อหาสวนนั้น ๆ โดยจะตองลงรูปแบบและรายละเอียดของแหลงอางอิงใหถูกตองตามประเภทของขอมูลที่นํามาอางอิง และอยูหนาเดียวกับเนื้อหาสวนนั้น ซึ่งเปนเร่ืองที่ยุงยากซับซอนและตองระมัดระวังมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งถามีการแกไขตัดทอนหรือเพิ่มเติมเนื้อหาในหนานั้น ๆ อาจทําใหเชิงอรรถอางอิงอยูผิดที่ได ปจจุบันจึงนิยมการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหามากกวา เพราะลงแหลงอางอิงแตเพียงยอ ๆ ในวงเล็บขางทายขอความที่อางอิง เพื่อเปนเคร่ืองชี้ไปยังรายการอางอิงที่สมบูรณทายเลม ฉะนั้นคูมือการพิมพวิทยานิพนธฉบับนี้จะไมแนะนําใหใชการลงอางอิงแบบเชิงอรรถ แตจะใหใชการลงอางอิงแบบแทรกในเนื้อหาแทน เชิงอรรถโยง ในกรณีที่ตองการโยงใหไปดูเนื้อหาซึ่งอยูสวนอ่ืนของเลม สามารถระบุไวที่สวนลางของหนาเหมือนการลงเชิงอรรถอางอิงได แตส่ิงซึ่งควรระวังคือถามีการแกไขตัดทอนหรือเพิ่มเติมเนื้อหาในหนานั้น ๆ อาจทําใหเชิงอรรถอางอิงอยูผิดที่ได ผูทําวิทยานิพนธสามารถประยุกตใชวิธีการลงอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา โดยใสขอความโยงแทนที่รายการอางอิงได อยางไรก็ตามในวงเล็บเดียวกันอาจมีทั้งการอางอิงและรายการโยงได โดยคั่นดวยเคร่ืองหมายอัฒภาค (;) เชิงอรรถเสริมความ ใชกรณีตองการขยายความหรืออธิบายความสวนใด ๆ ในงานเขียน สามารถลงรายละเอียดหรือคําอธิบายไวที่สวนลางของหนานั้น ๆ โดยใชตัวเลขกํากับที่เนื้อหา และที่เชิงอรรถให

16

ตรงกัน โดยเร่ิมเชิงอรรถแรกของแตละหนาดวยเลข 1 เสมอ การพิมพเชิงอรรถ ใหพิมพเชิงอรรถไวสวนลางของแตละหนา และใหแยกจากเนื้อเร่ืองโดยขีดเสนคั่นขวางจากขอบซายของกระดาษประมาณ 4 ½ เซ็นติเมตร เวนจากบรรทัดสุดทายของเนื้อเร่ือง 1 บรรทัด และพิมพเชิงอรรถใตเสนนี ้โดยใหบรรทัดสุดทายของเชิงอรรถอยูหางจากขอบกระดาษดานลาง 1 นิ้ว ในการพิมพเชิงอรรถบรรทัดแรกใหยอหนาเขามา 2 เซ็นติเมตรกอน แลวจึงพิมพอักษรตัวแรก รายการใดยาวเกิน 1 บรรทัด บรรทัดตอมาใหพิมพชิดขอบแนวดานซายมือทุกบรรทัดจนจบรายการนั้น การเรียงลําดับเลขของเชิงอรรถ ใหเร่ิมเชิงอรรถแรกของแตละหนาดวยเลข 1 เสมอ

17

บทท่ี 4

การอางอิงและรายการอางอิง

การอางอิง (Citation in Text)

การอางอิง คือ การระบุแหลงที่มาของขอความที่จัดพิมพในวิทยานิพนธทั้งที่คัดลอกมาโดยตรงหรือประมวลความคิดมา ซึ่งจะตองระบุเลขหนาดวย นอกจากเปนการสรุปเนื้อหาหรือแนวคิดทั้งหมดของงานชิ้นนั้น ก็ไมตองระบุเลขหนา การอางอิงมี 2 รูปแบบ คือ การอางอิงแบบเชิงอรรถ และการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา ปจจุบันการอางอิงแบบเชิงอรรถไมเปนที่นิยม เนื่องจากเนื้อหาสวนที่อางอิง และรายการที่อางอิง จะตองอยูในหนาเดียวกัน โดยรายการอางอิงจะอยูทายหนา ถามีการเพิ่มเติมหรือตัดทอนเนื้อหาบางสวนในหนานั้น ก็จะมีผลกระทบตอตําแหนงของรายการอางอิง นอกจากนั้นจะตองระบุรายละเอียดและเคร่ืองหมายของรายการอางอิงแตละรายการใหครบถวนและถูกตองดวย สําหรับการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหาซึ่งเปนที่นิยมกันมากในปจจุบัน เปนวิธีการของ American Psychological Association (APA) ซึ่งจะระบุแหลงอางอิงแตเพียงยอ ๆ ไดแก ผูแตง ปพิมพ และเลขหนา อยูในวงเล็บทายขอความที่อางอิง ผูอานจะใชชื่อผูแตงที่ระบุไวนี้เปนเคร่ืองชี้นําไปยังรายการอางอิงที่สมบูรณ ซึ่งอยูในสวนของ บรรณานุกรม หรือ รายการอางอิง ทายเลม ดังนั้นการอางอิงตาง ๆ ที่แทรกอยูในเนื้อหา ตองมีรายการที่สมบูรณปรากฏอยูใน บรรณานุกรม หรือ รายการอางอิง ทายเลมเสมอ และมีการลงรายการที่สอดคลองกัน งายตอการตรวจสอบ ฉะนั้นในคูมือการพิมพวิทยานิพนธของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2550 จะใชวิธีการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหาเทานั้น รูปแบบการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา ม ี3 รูปแบบดังนี ้

1. (ผูแตง, ปพิมพ, เลขหนา) ไวทายขอความที่อางอิง (สุนีย มัลลิกะมาลย, 2549, น. 200-205) (McCartney & Phillips, 2006, pp. 498-499)

2. ผูแตง (ปพมิพ, เลขหนา) กรณมีกีารระบุชื่อผูแตงในเนื้อหาแลว ไมตองระบไุวในวงเล็บทายขอความที่อางอิงอีก

ลดาพร บุญฤทธิ ์(2539, น. 49) ไดศึกษาถึง…………….. Kanokon Boonsarngsuk (2002) studied………………….

18

In a recent study of reaction times, Walker (2000, p. 7) described the method…………………………………………………………

3. ปพิมพ ผูแตง (เลขหนา) กรณีมีการระบุปพิมพและผูแตงในเนื้อหาแลว (ปพิมพและผูแตงสามารถสลับทีก่นัได) ใหระบเุฉพาะเลขหนาที่อางอิงในวงเล็บเทานัน้ ในป 2539 ลดาพร บุญฤทธิ์ ไดศกึษาถงึ………………. In 2000 (p. 21) Walker compared reaction times………………………..

หลกัเกณฑการลงอางอิง

หลักเกณฑในการลงผูแตง 1. ผูแตงชาวไทย ใหใสชื่อตามดวยนามสกุล โดยไมตองมีเคร่ืองหมายใด ๆ คั่น ไมวางาน

เขียนจะเปนภาษาไทยหรือภาษาตางประเทศ แววรัตน โชตินิพัทธ สุชาต ิธาดาธํารงเวช สุชาต ิประสิทธิ์รัฐสินธุ Chaiwat Satha-Anand Suchart Thada-Thamrongvech Waeorath Chotripat

2. ผูแตงชาวตางประเทศ ใหใสชื่อสกลุเทานัน้ ไมวางานเขียนจะเปนภาษาตางประเทศ หรือภาษาไทย

Spencer Johnson ลง Johnson สเปนเซอร จอหนสัน ลง จอหนสัน

3. ผูแตงท่ีมีฐานันดรศกัดิ ์ บรรดาศกัดิ ์ ใหใสชื่อ คั่นดวยเคร่ืองหมายจลุภาค (,) ตามดวยฐานนัดรศักดิ์ หรือ บรรดาศักดิ์

สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุาฯ สยามบรมราชกมุารี ลง เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ

ม.ร.ว. สขุมุพันธ บริพตัร ลง สุขมุพันธ บริพัตร, ม.ร.ว. พระยาอนุมานราชธน ลง อนุมานราชธน, พระยา พระอินทปรีชา ลง อินทปรีชา, พระ หลวงวิจิตรวาทการ ลง วิจติรวาทการ, หลวง ทานผูหญิง ม.ล. มณีรัตน บุนนาค ลง มณีรัตน บุนนาค, ทานผูหญิง ม.ล. คุณหญิงอัมพร มศีขุ ลง อัมพร มีศขุ, คุณหญิง

19

His Majesty King Bhumibol Adulyadej ลง Bhumibol Adulyadej, His Majesty King Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn ลง Sirindhorn, Her

Royal Highness Princess Prince Damrong Rajanubhab ลง Damrong Rajanubhab, Prince Phraya Auman Rajadhon ลง Anuman Rajadhon, Phraya

M.L. Manich Jumsai ลง Manich Jumsai, M.L. M.R. Kukrit Pramoj ลง Kukrit Pramoj, M.R.

4. ผูแตงท่ีเปนพระภิกษุท่ัวไปและพระภิกษุท่ีมีสมณศกัดิ์ 4.1 พระภิกษุท่ัวไป ใหใสคําวา พระพระมหา นําหนาชื่อตัวตามดวยฉายานาม

(ชื่อภาษาบาลี) ถาไมทราบฉายานาม แตทราบนามสกุลใหใสนามสกุล กรณีไมทราบทั้งฉายานามและนามสกุล ใหใสขอมูลตามที่ปรากฏในงาน และหากพระภิกษุใชนามแฝงใหใสนามแฝงตามที่ปรากฏ

พระเทียน จติตฺสโุภ พระบุญแทน ขันธศรี พระสุจิตโต พระมหาเกยีรต ิสกุติตฺ ิพระมหาเกรียงไกร แกวไชยะ พทุธทาสภิกข ุBuddhadasa Bhikkhu Phra Yantra Amaro Phra Maha Somjin Sammapanno Phra Maha Boowa Nanasampanno

4.2 พระภิกษุท่ีมีสมณศักดิ ์ ใหใสชื่อสมณศักดิ์ ตามดวยชื่อตวในเคร่ืองหมายวงเล็บ ถาไมทราบชื่อตัวใหใสเฉพาะชื่อสมณศักดิ ์

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสน) สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ) พระพิมลธรรม (ชอบ) พระพรหมมุนี (ผิน) พระธรรมโกษาจารย (เซง) พระธรรมโสภณ (สนธิ)์ พระเทพกวี (ประยูร) พระเทพโมล ี(ฟน) พระครูปลดัสมัพิพัฑฒญาณาจารย (บุญชวย)

20

พระครูปลดัเมธาวัฒน Somdet Phra Yanasangwon (Charoen) Phra Kaveevorayayan Phra Kru Bhavannanuvat Phra Medhivaraganacaraya Phra Nirotrangsikhamphirapanyachan (Thet) Phra Thepwethi (Prayudh)

5. ผูแตงมียศทางทหาร ตํารวจ มีตําแหนงทางวิชาการ หรือมีคําเรียกทางวิชาชีพ เชน พลเอก ศาสตราจารย นายแพทย นายสัตวแพทย เปนตน ไมตองใสยศ ตําแหนงทางวิชาการ และคําเรียกทางวิชาชีพ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท ลง เปรม ติณสูลานนท ศาสตราจารย ดร. สุรพล นิติไกรพจน ลง สุรพล นิตไิกรพจน รองศาสตราจารย ดร. ประยงค เนตยารักษ ลง ประยงค เนตยารักษ ร.อ.นพ.ยงยุทธ มัยลาภ ลง ยงยุทธ มยัลาภ ทันตแพทยเชิดพันธุ เบญจกุล ลง เชิดพันธุ เบญจกุล Dr. Barbara Luke ลง Luke Assistant Professor Preeyachat Uttamayodhin ลง Preeyachat Uttamayodhin 6. ผูแตงใชนามแฝง ใหใสนามแฝงตามที่ปรากฏในงาน โสภาค สุวรรณ ว. วินิจฉัยกุล โรสลาเรน Idris Hunter Mishima หลกัเกณฑในการลงปพิมพ

1. ปพิมพ ใหใสปพมิพ 2. ปลิขสิทธิ์ กรณีไมมีปพิมพ ใหใสปลิขสิทธิ์ โดยไมตองใสตัวอักษร c ซึ่งหมายถึง

copyright กํากับ เชน c2007 ลง 2007 เปนตน 3. ไมปรากฏป ใหใส (ม.ป.ป.) ซึ่งหมายถงึ ไมปรากฏปพมิพ สําหรับงานทีเ่ปนภาษาไทย หรือ (n.d.) ซึ่งหมายถึง no date สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศ

21

4. งานท่ีอยูระหวางการจดัพมิพ ใหใส (กําลังจดัพมิพ) สําหรับงานที่เปนภาษาไทย หรือ (in press) สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศ หลักเกณฑในการลงเลขหนา 1. อางเฉพาะหนา 1.1 งานที่เปนภาษาไทยใช น. เชน น. 5, น. 10-21 เปนตน 1.2 งานที่เปนภาษาอังกฤษใช p. กรณีอาง 1 หนา และ pp. กรณีอางมากกวา 1 หนา เชน p. 25, pp. 31-34 เปนตน 1.3 งานที่นํามาอางมีหลายบท แตละบทข้ึนตนดวยหนา 1 เสมอ ใหระบทุั้งบทที่ และ หนา โดยคัน่ดวยเคร่ืองหมายจลุภาค (,) เชน บทท่ี 3, น. 4-18, chap. 3, pp. 4-18 เปนตน 2. อางท้ังบท

2.1 งานภาษาไทยใช บทท่ี เชน บทท่ี 2 เปนตน 2.2 งานภาษาอังกฤษใช chap. เชน chap. 2 เปนตน

3. ขอมูลอิเล็กทรอนิกส ไมระบเุลขหนา ยกเวนตนฉบับมหีมายเลขกํากับแตละยอหนา (paragraph) สามารถระบุหมายเลขของยอหนาที่ใชอางอิงได

3.1 งานที่เปนภาษาไทยใช ยอหนาท่ี เชน ยอหนาท่ี 5 เปนตน 3.2 งานที่เปนภาษาอังกฤษใช ¶ หรือ para. ซึ่งหมายถึง paragraph เชน ¶ 5 หรือ

para. 5 เปนตน ใชแบบใดกใ็หใชแบบนั้นตลอดทั้งเลมวิทยานิพนธ

การอางอิงแบบแทรกในเน้ือหา การอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา แบงออกไดดังนี้ 1. การอางเอกสารหน่ึงเร่ืองท่ีมีผูแตงคนเดียว

ทวีศักดิ์ กจิวิวัฒนาชยั (2544, น. 8) (อนชุาติ บนุนาค, 2549, น. 63) สุนีย มัลลิกะมาลย (2549) (Lachowski, 2004, p. 31) (Apgar, 2006, pp. 25-26) (Carr, 2006)

22

2. การอางเอกสารหน่ึงเร่ืองท่ีมีผูแตงหลายคน 2.1 การอางเอกสารหน่ึงเร่ืองท่ีมีผูแตง 2 คน ใช และ สําหรับงานที่เปนภาษาไทย

ใช and สําหรับงานที่เปนภาษาอังกฤษ กรณีที่ผูแตงอยูในวงเล็บ ใหใชเคร่ืองหมาย & แทนคําวา and

กมล บุษบา และ สายทอง อมรวิเชษฐ (2546, น. 45) (Teubert & Cermakova, 2007, p. 11). Elkin and Handel (1984, p. 255) (Ehrich & Sidnell, 2006, pp. 655-657)

2.2 การอางเอกสารหน่ึงเร่ืองท่ีมีผูแตง 3-5 คน 2.2.1 การอางถึงคร้ังแรก ถาผูแตงเปนชาวไทยใหระบุชื่อเต็มและนามสกุลเต็ม

ของทุกคนโดยใชเคร่ืองหมายจุลภาคคั่นแตละชื่อ ยกเวนคนสุดทายใหนําดวย , และ ถาผูแตงเปนชาวตางประเทศใหระบุเฉพาะชื่อสกุลของผูแตงทุกคนโดยใชเคร่ืองหมายจุลภาค (,) คั่นแตละชื่อ ยกเวนคนสุดทายใหนําดวย , and หรือ , &

สมพร รัตนพนัธ, สุนตุตา ตะบนูพงศ, และ พชัรียา ไชยลังกา (2542) Celce-Murcia, Brinto, & Goodwin, 1996, p. 3 (Gift, Jablonski, Stommel, & Given, 2004)

2.2.2 การอางซ้ําในยอหนาเดียวกัน ถาผูแตงเปนชาวไทยใหระบุชื่อเต็มและนามสกลุเตม็ของผูแตงคนแรก โดยไมตองมีเคร่ืองหมายใด ๆ คั่น ตามดวยคําวา และคณะ หรือ และคนอ่ืน ๆ ใชคําใดใหใชคํานั้นตลอดทั้งเลมวิทยานิพนธ ถาผูแตงเปนชาวตางประเทศ ใหระบุเฉพาะชื่อสกุลของผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา et al.

(สมพร รัตนพนัธ และคณะ, 2542) หรือ (สมพร รัตนพันธ และคนอ่ืน ๆ, 2542)

(Gift et al., 2004) 2.2.3 กรณีใช และคณะ หรือ และคนอ่ืน ๆ หรือ et al. แลว ซ้ํากับงาน

ชิ้นอ่ืน ใหลงชื่อผูแตงคนตอ ๆ มา จนสามารถแยกไดวาไมใชงานชิ้นเดียวกัน (Bradley, Ramirez, & Soo, 1994) และ (Bradley, Soo,

Ramirez, & Brown, 1994) =(Bradley et al.) และ (Bradley et al.) ใหใชดังนี ้(Bradley, Ramirez, & Soo, 1994) และ (Bradley, Soo, et al,

1994)

23

2.3 การอางเอกสารหน่ึงเร่ืองท่ีมีผูแตงมากกวา 5 คนขึ้นไป 2.3.1 การอางถึงทกุ ๆ คร้ัง ถาผูแตงเปนชาวไทยใหระบชุื่อเต็มและนามสกุลเต็ม ของผูแตงคนแรก โดยไมตองมีเคร่ืองหมายใด ๆ คั่น ตามดวยคําวา และคณะ หรือ และคนอ่ืน ๆ ใชคําใดใหใชคํานั้นตลอดทั้งเลมวิทยานิพนธ ถาผูแตงเปนชาวตางประเทศใหระบุเฉพาะชื่อสกุลของผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา et al.

(โสภา สงวนเกียรติ และคนอ่ืน ๆ, 2548) หรือ (โสภา สงวนเกียรติ และคณะ, 2548)

(Ross et al., 2006) 2.3.2 กรณีใช และคณะ หรือ et al. แลว ซ้ํากับงานชิ้นอ่ืน ใหลงชือ่ผูแตง

คนตอ ๆ มา จนสามารถแยกไดวาไมใชงานชิ้นเดียวกัน Kosslyn, Koenig, Barrett, Cave, Tang, and Gabrieli (1996) และ Kosslyn, Koenig, Gabrieli, Tang, Marsolek, and Daly (1996) =Kosslyn et al. (1996) และ Kosslyn et al. (1996) ใหใชดังนี ้

Kosslyn, Koenig, Barrett, et al. (1996) และ Kosslyn, Koenig, Gabrieli, et al. (1996) 3. การอางเอกสารท่ีผูแตงเปนนิตบิุคคล

นิติบุคคล หมายถึง หนวยงานหรือกลุมบุคคลที่มีการระบุถึงดวยชื่อเฉพาะและมกีารกระทํา หรืออาจกระทําในฐานะเปนส่ิงที่มีอยูจริง ตัวอยางนิติบุคคล เชน สมาคม (Associations) สถาบัน (Institutions) บริษัทธุรกิจ (Business firms) หนวยงานที่ไมมุงหวังกําไร (Non-profit enterprises) รัฐบาล หนวยงานรัฐบาล โครงการและแผนงาน องคกรทางศาสนา กลุมศาสนจักรประจําถิ่นซึ่งระบุดวยชื่อของศาสนจักร เปนตน

กระทรวงพลังงาน (2546) ราชบณัฑติยสถาน (2549) (มหาวิทยาลัยสุโขทยัธรรมาธริาช, สาขาวิชาศิลปศาสตร, 2545, น. 67-68) (National Bureau of Statistics of China, 2003) (Thailand, Ministry of Agriculture and Cooperatives, Cooperative Auditing

Department, 2004)

24

3.1 กรณีที่มีทั้งชื่อหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหใสเฉพาะชื่อหนวยงานยอย ยกเวนชื่อหนวยงานยอยที่ใชซ้ํากันในหลาย ๆ หนวยงาน ใหใสชื่อหนวยงานใหญที่อยูเหนือข้ึนไปกํากับ เพื่อใหทราบวาเปนหนวยงานยอยของหนวยงานใด

(โรงพยาบาลธรรมศาสตรเฉลิมพระเกยีรต,ิ 2548, น. 20) (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร, 2548, น. 42)

(มหาวิทยาลัยศิลปากร, คณะอักษรศาสตร, 2549, น. 112) (Thammasat University, 2002)

(United Nations, Centre on Transnational Corporations, 2003, p. 100) 3.2 กรณเีปนภาษาตางประเทศ ชื่อหนวยงานที่ใชอาจซ้ํากันได ใหใสชื่อประเทศนําหนาชื่อหนวยงานนั้นดวย

Spain, Ministry of Social Affairs (1996) Singapore, Ministry of the Environment, Public Affairs Department, 2001

3.3 กรณเีปนหนวยงานของรัฐบาล อยางนอยตองเร่ิมระดบักรม

(กรมประชาสงเคราะห, 2522, น. 16-17) (สํานักงานสถิติแหงชาต,ิ 2548, น. 100)

3.4 กรณเีปนชื่อคณะกรรมการที่ไดรับการจัดตั้งโดยหนวยงาน เพื่อมอบหมายหนาที ่เฉพาะให ถอืเปนสวนหนึ่งของหนวยงาน ตองใสชื่อหนวยงานหลักกอน

(กรมประชาสงเคราะห, คณะกรรมการประเมนิผลการปฏิบตังิานพฒันา ชาวเขา, 2522, น. 30-31)

3.5 คณะกรรมการหรือหนวยงานที่มสํีานักงานเปนอิสระ ใหใสชื่อคณะกรรมการ หรือหนวยงานนั้น คณะกรรมการกาชาดระหวางประเทศประจําภูมิภาคเอเชียตะวันออก (2544)

International Monetary Fund (2005) 3.6 กรณทีี่ชื่อหนวยงานยาว และชื่อยอเปนที่รูจกัและนยิมเรียกกนั ในการอางถึง คร้ังแรก ใหใสชื่อยอในวงเล็บเหล่ียมหลังชื่อเต็ม ในการอางอิงคร้ังตอ ๆ มา ใหใชชื่อยอแทนทีช่ือ่เตม็

(สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน [ก.พ.], 2546) อางคร้ังแรก (ก.พ., 2546) อางคร้ังตอ ๆ มา

(United Nations, Economic and Social Commission for Asia and the Pacific [ESCAP], 1995) อางคร้ังแรก

(ESCAP, 1995) อางคร้ังตอ ๆ มา

25

4. การอางเอกสารท่ีไมปรากฏชื่อผูแตง 4.1 ไมปรากฏชื่อผูแตง แตมีบรรณาธิการ หรือผูรวบรวม ใหใสชื่อบรรณาธิการ

หรือผูรวบรวม โดยไมตองระบุหนาที่ใด ๆ ในตําแหนงของผูแตง (เอ้ือมพร สกุลแกว, 2549) เปนบรรณาธิการ (สุชาดา ชนิะจติร, 2536) เปนผูรวบรวม (Eyferth, 2006) เปน editor (McCartney & Phillips, 2006, p. 215) เปน editor (Cole & Haag, 1988-1989) เปน compiler (Kotyk, 1999) เปน compiler

4.2 ไมปรากฏชื่อผูแตง บรรณาธิการ หรือผูรวบรวม ใหใสชื่อเร่ือง กรณีชื่อเร่ือง ยาวมาก ไมตองใสทั้งหมด ใหพิมพชื่อเร่ืองดวยตัวเอน ยกเวนเปนชื่อบทความ หรือชื่อบท เชน บทความวารสาร บทความหนังสือพิมพ บทความ หรือบทหนึ่งจากหนังสือ เปนตน ใหใสเคร่ืองหมายอัญประกาศ (“ “) หนาและหลังชื่อบทความหรือชื่อบท สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศ อักษรตัวแรกของแตละคําใหใชตัวพิมพใหญ ยกเวนคํานําหนานาม (article) คําบุพบท (preposition) และคําสันธาน (conjunction) และคํานําหนานาม (article) ที่สะกดไมเกิน 3 ตัวอักษร

(“รพ. เอกชนตองเปนหัวหอก,” 2549) ชื่อบทความไมยาวมาก ใสชื่อเตม็

(แมน้ําโขง-สาละวิน, 2549) ชื่อเตม็ของหนังสือคือ แมน้ําโขง-สาละวิน : ผูคน ผืนน้าํ และสุวรรณภูมขิองอุษาคเนย

(“ธุรกิจการประกันภัยรถยนต,“ 2543) ชื่อเต็มของบทความคือ ธรุกจิการประกันภัยรถยนต บนหนทางที่ตองเรงปรับตัว

(ISO 9000 Quality Management Systems, 1993) ชื่อเตม็ของหนงัสือคือ ISO 9000 Quality Management Systems

(“Organic Electroluminescent Devices,” 2005, pp. 437-466) ชื่อเต็มของบทความคือ Organic Electroluminescent Devices for Solid

State Lighting

26

5. การอางเอกสารของผูแตงชาวตางประเทศท่ีมีชื่อสกุลซํ้ากนั กรณงีานภาษาตางประเทศทีน่ํามาอางอิง ผูแตงมชีื่อสกลุซ้ํากัน ใหใสอักษรยอ

(initial) ของชื่อตน และชื่อกลาง (ถาม)ี ทุกคร้ังที่อางถึงงานดังกลาว แมปพมิพจะตางกนั R. D. Luce (1959) and P. A. Luce (1986) also found ………………………….. B. B. Graham (2004) and M. A. Graham and LeBaron (1994) found that…… J. M. Goldberg and Neff (1961) and M. E. Goldberg and Wurtz (1972)

studies ………………………………………………………………………………...

6. การอางเอกสารมากกวาหน่ึงเร่ืองพรอมกัน 6.1 การอางเอกสารมากกวาหน่ึงเร่ืองท่ีมีผูแตงซํ้ากัน แตปพิมพตางกัน ให

ระบชุื่อผูแตงเพียงคร้ังเดียว และเรียงลําดับเอกสารตามปพิมพ โดยใชเคร่ืองหมายจุลภาค (,) คั่นแตละปพิมพ สําหรับเอกสารที่อยูระหวางการจัดพิมพ ซึ่งภาษาไทยใชคําวา กําลังจัดพิมพ และภาษาอังกฤษใชคําวา in press ใหลงไวเปนลําดับสุดทาย

(บุญยงค เกศเทศ, 2516, น. 74, 2520, น. 18-20, 2523, น. 14-15) (Gogel, 1984, 1990, in press) (Edeline & Weinberger, 1991, 1993)

6.2 การอางเอกสารมากกวาหน่ึงเร่ืองท่ีมีผูแตงและปพิมพซํ้ากัน ใหระบุชื่อผูแตงเพียงคร้ังเดียว และใสตัวอักษร ก ข ค ง … สําหรับเอกสารที่เปนภาษาไทย หรือตัวอักษร a b c d … สําหรับเอกสารที่เปนภาษาตางประเทศ ทายปพิมพแตละป โดยไมตองเวนวรรค และเรียงตามลําดับอักษรกอนหลังของชื่อเร่ือง กรณีอางเอกสารที่อยูระหวางการจัดพิมพ ใหใชเคร่ืองหมายยัติภังค (-) คั่นระหวางคําวา กําลังจัดพิมพ และตัวอักษร ก ข ค ง … สําหรับเอกสารที่เปนภาษาไทย เชน กําลังจัดพิมพ-ก, กําลังจัดพิมพ-ข, กําลังจัดพิมพ-ค และคําวา in press และตัวอักษร a b c d … สําหรับเอกสารที่เปนภาษาตางประเทศ เชน in press-a, in press-b, in press-c เปนตน

(กระทรวงศกึษาธกิาร, กรมวิชาการ, 2520ก, น. 3-34, 2520ข, น. 64) (ชาญวิทย เกษตรศิริ, 2548ก, น. 55, 2548ข, น. 23) (Bruce, 1980a, p. 4, 1980b, p. 10, 1980c, p. 18) (Johnson, 1991a, 1991b, 1991c) (Singh, 1983, in press-a, in press-b)

27

6.3 การอางเอกสารมากกวาหน่ึงเร่ืองท่ีมีผูแตงตางกนั ใหเรียงแตละรายการ ตามลําดับอักษรของชื่อผูแตง โดยคั่นแตละรายการดวยเคร่ืองหมายอัฒภาค (;) กรณทีีเ่อกสารทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศถูกอางพรอมกนั ใหเร่ิมทีเ่อกสารภาษาไทยกอน

(เซเดส, 2542, น. 166-175; Guillon, 1999, pp. 101-102; Hall, 1981, p. 182) (Balda, 1980; Kamil, 1988; Pepperberg & Funk, 1990) (Barme, 1993, pp. 17-20; Thongchai Winichkul, 1994, p. 121) (Fiedler, 1967, p. 15; Kast & Rosenzweig, 1973, pp. 46-49; Thompson,

1967, p. 125; Woodward, 1965, pp. 77-78) 6.4 การอางเอกสารมากกวาหน่ึงเร่ืองท่ีมีผูแตงซํ้ากนัและตางกัน ปพิมพ

ซํ้ากนัและตางกัน (อนุชาติ บุนนาค, 2549, น. 62-63; Campbell, 2006a, 2006b; Gordon,

2003, 2004, 2006; Hay, 2002, pp. 763-764, 2003, p. 101, 2006, pp. 763-765)

7. การอางเอกสารท่ีเปนงานแปล ใสชื่อผูแตงทีเ่ปนเจาของเร่ืองตามดวยปพมิพของตนฉบับและปพมิพของฉบับแปล

โดยใชเคร่ืองหมายทับ (/) คั่น ถาไมทราบปพมิพของตนฉบบัใหใสเฉพาะปพมิพของฉบับแปล ในกรณีทีไ่มทราบชื่อผูแตงใหใสชื่อผูแปลแทนโดยไมตองระบคุําวา ผูแปล ตอทายชื่อ

(ปรามาท, 2005/2549) (ไรคเฮลด, 2003/2548) (Catherine II, 2006) (Japan Society for the Promotion of Science, 1975/1980) (Laplace, 1814/1951)

8. การอางเอกสารท่ีเปนบทวิจารณ ใหลงชื่อผูวิจารณในตําแหนงของผูแตง (ชํานาญ นาคประสบ, 2510, น. 140) Mancke (2007, p. 240) (Schatz, 2000)

28

9. การอางเอกสารท่ีเปนงานคลาสสกิ ถางานคลาสสิกทีน่ํามาอางไมมปีพิมพ ใหระบุชื่อผูแตง ตามดวยเคร่ืองหมาย จุลภาค (,) และ ม.ป.ป. (ไมปรากฏปพมิพ) สําหรับงานทีเ่ปนภาษาไทย และ n.d. (no date) สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศ งานคลาสสิกที่เกามาก ไมสามารถหาปพิมพได ใหใชปพิมพ ของงานคลาสสิกฉบับแปลที่นํามาอางอิง โดยใสคําวา trans. ไวหนาปพิมพ หรือใชปพิมพของงานคลาสสิกฉบับที่นํามาอางอิง พรอมระบุวาเปนฉบับใด (version) กรณีทราบปพิมพของตนฉบับ ใหระบุดวย

(Aristotle, trans. 1931) James (1890/1983)

รายการอางอิงนี้ไมใชกบังานคลาสสิกหลัก เชน งานสมยักรีกและโรมันโบราณ และ พระคัมภีรไบเบิล ใหลงรายการตามทีน่ํามาใชอางอิงจริง โดยอาจเปนหนังสือทั้งเลม บท ตอน (verses) ขอความในแตละบรรทัด (lines) สวน (cantos) ซึ่งจะใชตวัเลขเหมอืนกนัในทุกฉบับพิมพ ดังนัน้ถามกีารอางอิงสวนใดสวนหนึง่ ใหใชหมายเลขดงักลาวแทนเลขหนา

1 Cor. 13 :1 (Revised Standard Version)

10. การอางเอกสารบางสวน การอางเอกสารเฉพาะหนา บท ภาพ ตาราง หรือสมการ ใหระบุดังนี ้ 10.1 อางเฉพาะหนา งานที่เปนภาษาไทยใช น. งานทีเ่ปนภาษาอังกฤษใช p.

กรณีอาง 1 หนา และ pp. กรณีอางมากกวา 1 หนา (ณรงควิทย แสนทอง, 2550, น. 31)

(Enders & Sandler, 2006, p. 85) Morris and Hills (2006, pp. 42-43) กรณงีานทีน่าํมาอางมหีลายบท แตละบทข้ึนตนดวยหนา 1 เสมอ ใหระบทุัง้บทที ่และเลขหนา

(วัฒนา ศรีสัตยวาจา, 2548, บทท่ี 3, น. 4-8) Bly (2006, chap. 2, pp. 7-15)

10.2 อางท้ังบท งานทีเ่ปนภาษาไทยใช บทท่ี งานที่เปนภาษาตางประเทศใชchap. นงลักษณ ล้ิมศิริ (2549, บทท่ี 3)

(Jackson, 2006, chap. 5)

29

10.3 ขอมูลอิเลก็ทรอนิกส จะไมระบุเลขหนา แตอาจมหีมายเลขกาํกับแตละ ยอหนา (paragraph) สามารถระบหุมายเลขของยอหนาที่ใชอางอิงได งานทีเ่ปนภาษาไทยใหใชคําวา ยอหนาท่ี เชน ยอหนาท่ี 5 งานที่เปนภาษาอังกฤษใหใชสัญลักษณ ¶ หรือ para. ซึ่งหมายถึง paragraph เชน ¶ 5 หรือ para. 5 ใชแบบใดก็ใหใชแบบนัน้ตลอดทั้งเลมวิทยานพินธ

(Myers, 2000, ¶ 5) (Beutler, 2000, Conclusion section, para. 1)

11. การอางการสื่อสารระหวางบุคคล การส่ือสารระหวางบุคคลอาจเปน จดหมาย บันทกึ สัมภาษณ การสนทนาทางโทรศัพท

และอีเมล ขอมูลเหลานี้เปนขอมูลที่ไมสามารถเอาคืนมาได การส่ือสารระหวางบุคคล จึง ไมรวมไวในบรรณานุกรม หรือ รายการอางอิง แตจะระบุไวเฉพาะการอางอิงแทรกในเนื้อหาเทานั้น ถาเปนการส่ือสารในลักษณะของ electronic bulletin board, message board หรือ discussion group สามารถรวมไวในบรรณานุกรม หรือ รายการอางอิง รูปแบบการอางการสื่อสารระหวางบุคคล

ม ี3 รูปแบบดังนี ้1. (ผูใหขอมูล, ประเภทของการส่ือสาร, วันเดือนปที่ใหขอมูล) 2. ผูใหขอมูล (ประเภทของการส่ือสาร, วันเดือนปทีใ่หขอมลู) 3. ผูใหขอมูล, วันเดือนปที่ใหขอมูล (ประเภทของการส่ือสาร)

ผูใหขอมูล และวันเดือนปที่ใหขอมูลสามารถสลับที่กันได การลงชื่อผูใหขอมูล

1. ผูใหขอมูลที่เปนชาวไทย ใหลงชื่อเต็มตามดวยนามสกุลเต็ม โดยไมตองมีเคร่ืองหมาย ใด ๆ คั่น

2. ผูใหขอมูลที่เปนชาวตางประเทศ ใหลงชื่อตนตามดวยชื่อกลาง (ถาม)ี โดยใชตัวยอ (initial) จากนั้นจึงลงชื่อสกุลเต็ม การลงประเภทของการสื่อสาร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

จดหมาย letter บันทึก memo สัมภาษณ interview การสนทนาทางโทรศัพท telephone conversation อีเมล e-mail

30

การลงวันเดือนปท่ีใหขอมูล 1. ถาเปนการอางอิงที่เปนภาษาไทย ใหลง วันท่ี เดือน ป พ.ศ. โดยไมตองมีเคร่ืองหมาย ใด ๆ คั่น 2. ถาเปนการอางอิงที่เปนภาษาตางประเทศ ใหลง เดือน วันท่ี, ป ค.ศ. ตัวอยาง ชัยฤทธิ์ ยนตเปยม (สัมภาษณ, 26 กรกฎาคม 2549) T.K. Lutes (personal communication, April 18, 2001) (V.-G. Nguyen, personal communication, September 28, 1998) หมายเหต ุถาตองการระบุวิธกีารส่ือสาร ใหระบไุวในวงเล็บเหล่ียมหลังขอความ personal communication ตัวอยาง (J. Cassels, personal communication [e-mail], October 1, 2007)

12. การอางเอกสารท่ีถูกอางในเอกสารอ่ืน ขอความในเอกสารที่ผูเขียนวิทยานิพนธนํามาอาง (เอกสารปฐมภูม-ิprimary source)

ผูเขียนเอกสารไดอางมาจากเอกสารอ่ืนอีกทีหนึ่ง (เอกสารทุติยภูมิ-secondary source) ซึ่งผูเขียนวิทยานิพนธสามารถลงได 2 แบบดังนี้

12.1 อางเอกสารปฐมภูมิกอน ตามดวยเอกสารทุติยภูม ิคั่นเอกสารทั้ง 2 ประเภทโดยใชเคร่ืองหมายจลุภาค (,) เวนวรรค 1 ระยะ และคําเชื่อมเอกสารทั้งสองเขาดวยกัน 12.1.1 คําเชื่อมเอกสารทั้งสอง ใหใชคําวา

- อางถึงใน หรือ quoted in - กลาวถึงใน หรือ cited by

ใชแบบใดก็ใหใชแบบนัน้ตลอดทั้งเลมวิทยานพินธ (สุชาติ ประสิทธรัิฐสินธุ, 2534, น. 365, อางถึงใน ฤทธิชยั

เตชะมหัทธนันท, 2537, น. 3) (Steppal, 1985, p. 13, กลาวถึงใน ปรีชา สงกิตติสุนทร, 2530, น. 47) (Dybey & Harvey, 1970, pp. 601-604, quoted in Rogers, 1983, p. 266)

31

12.1.1 ถาเอกสารทุตยิภูมไิมไดระบปุพมิพ และ/หรือเลขหนาของเอกสาร ปฐมภูมกิ็ไมตองใสปพมิพ และ/หรือเลขหนาของเอกสารปฐมภูม ิ (ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา, อางถึงใน อคิน รพีพัฒน, 2521, น. 28)

12.1.2 ถากลาวถึงนามเจาของเอกสารปฐมภูมิในเนื้อหาอยูแลว ใหลง เฉพาะปพิมพและเลขหนา (ถาม)ี ของเอกสารปฐมภูมิ รวมทั้งเอกสารทุติยภูม ิโดยใสไวในวงเล็บ ในป พ.ศ. ……. สมเดจ็กรมพระยาดาํรงราชานุภาพ (น. … , อางถึงใน อคนิ รพพีฒัน, 2521, น. 28) ทรงศึกษาประวัติพระพุทธศาสนาไทย และทรงคนพบวา……..

12.2 อางเอกสารทุติยภูมิกอน ตามดวยเอกสารปฐมภูมิ คั่นเอกสารทั้ง 2 ประเภท โดยใชเคร่ืองหมายจุลภาค (,) เวนวรรค 1 ระยะ และคําเชื่อมเอกสารทั้งสองเขาดวยกัน

12.2.1 คําเชื่อมเอกสารทั้งสอง ใหใชคําวา - อางถึงใน หรือ quoted in - กลาวถึงใน หรือ cited by

ใชแบบใดก็ใหใชแบบนัน้ตลอดทั้งเลมวิทยานพินธ (ปรีชา สงกติติสุนทร, 2530, น. 47, อางจาก Steppal, 1985, p. 13) (Rogers, 1983, p. 266, quoting Dubey & Harvey, 1970, pp. 601-604)

12.2.2 กรณเีอกสารทุติยภูมไิมไดระบเุลขหนาของเอกสารปฐมภูม ิก็ไม ตองใสเลขหนาของเอกสารปฐมภูม ิ

(ปรีชา สงกิตติสุนทร, 2530, น. 47, กลาวจาก Steppal, 1985) (Rogers, 1983, p. 266, citing Dubey & Harvey, 1970)

13. การขยายความหรืออธิบายความไวในวงเล็บ (Citations in parenthetical

material) กรณีมีการขยายความหรืออธิบายความเพิ่มเติมในวงเล็บ โดยระบุใหไปดูเพิ่มเติมใน

เอกสารที่อางถึง และมีการลงรายละเอียดเพิ่มเติมตอจากเอกสารดังกลาว ใหคั่นระหวางเอกสารและรายละเอียดดังกลาวดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) และเวนวรรค 1 ระยะ

(see table 2 of Hashtroudi, Chrosniak, & Schwartz, 1991, for complete data)

14. การอางเอกสารหรือขอมลูอิเล็กทรอนิกส เอกสารหรือขอมูลอิเล็กทรอนกิสที่สืบคนจากฐานขอมูลออนไลนหรือเว็บไซตตาง ๆ

โดยผานอินเทอรเนต็ ใหใชกฏเกณฑเดียวกบัเอกสารทีเ่ปนรูปเลม

32

รายการอางอิง (References)

รายการอางอิงเปนรายละเอียดของเอกสารและขอมูลทุกรายการที่ใชประกอบการทําวิทยานิพนธ ตลอดจนการอางอิงแทรกในเนื้อหาซึ่งจะตองนํามาลงใน รายการอางอิง (References) ซึ่งอยูทายวิทยานิพนธ เอกสารและขอมูลแตละประเภทจะมีรูปแบบเฉพาะในการลงรายการ ซึ่งผูเขียนจะตองใชใหถูกตอง และลงรายละเอียดแตละรายการใหสมบูรณครบถวน การอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา (Citation in Text) ประกอบดวย 2-3 สวนหลักคือ ผูแตง ปพิมพ และ/หรือเลขหนา รายการใดที่ผูอานสนใจหรือตองการตรวจสอบ จะตองหารายละเอียดที่สมบูรณจาก รายการอางอิง (References) ได ผูแตงที่อยูเปนลําดับแรก ตามดวยปพิมพ ซึ่งอยูในลําดับถัดไป จะตองตรงกับที่ระบุในการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา (Citation in Text) รายการใดไมปรากฏผูแตง จะถูกแทนที่ดวยชื่อเอกสาร ซึ่งก็สามารถดูรายละเอียดจาก รายการอางอิง (References) ไดโดยสะดวกเชนกัน เนื่องจาก รายการอางอิง (References) จะเรียงตามลําดับอักษรของผูแตงหรือชื่อเอกสารกรณีไมมีผูแตง รายการอางอิง (References) เปนขอมูลที่สําคัญและมีประโยชนมาก แสดงใหเห็นถึงความถูกตองและนาเชื่อถือของวิทยานิพนธ เปนการแสดงความเคารพยกยองและใหเกียรติงานที่นํามาอางอิง ผูอานวิทยานิพนธสามารถนํารายการอางอิงไปตรวจสอบความถูกตอง หรือศึกษาคนควาเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ไดรับการอางอิงในวิทยานิพนธ

เอกสารหรือขอมูลในรายการอางอิง แบงออกเปนประเภทไดดังนี ้

1. หนังสือ 1.1 หนงัสือทั่วไป 1.2 หนงัสือที่พมิพในโอกาสพเิศษ 1.3 หนังสือแปล 1.4 บทความในหนงัสือ

2. บทความในวารสาร 3. บทความในหนงัสือพมิพ 4. บทความในสารานุกรม 5. บทวิจารณ

33

6. วิทยานิพนธ 6.1 วิทยานพินธปริญญามหาบณัฑติและดุษฎีบัณฑติ 6.2 บทคัดยอวิทยานิพนธที่ไดรับการตีพิมพในวารสาร

7. รายงานการประชมุทางวิชาการ 7.1 บทความในรายงานการประชุมทางวิชาการที่พิมพเผยแพร 7.2 บทความในรายงานการประชุมทางวิชาการที่จัดพิมพเปนประจําสม่ําเสมอ 7.3 เอกสารประกอบการประชุมที่เปนเอกสารซึ่งไมไดจัดพิมพเผยแพรและไมได

นําเสนอในการประชุม 7.4 เอกสารไมตีพมิพทีน่าํเสนอในการประชุม

8. เอกสารประเภทอ่ืน ๆ 8.1 จุลสาร 8.2 โปสเตอรที่จัดในงานประชุม 8.3 งานที่ไมไดตีพิมพ

9. การอางเอกสารที่ถูกอางในเอกสารอ่ืน 10. ส่ือโสตทัศนวัสด ุ11. ส่ืออิเล็กทรอนิกส

11.1 แหลงขอมลูบนอินเทอรเนต็ 11.2 บทความในวารสารหรือส่ิงพิมพตอเนื่อง 11.3 เอกสารที่ไมใชบทความในวารสารหรือส่ิงพิมพตอเนือ่ง 11.4 รายงานการวิจัยและรายงานทางวิชาการ 11.5 รายงานการประชมุ

12. ส่ืออิเล็กทรอนิกสอ่ืน ๆ 12.1 ฐานขอมูลออนไลน 12.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร 12.3 แฟมขอมูล

หลกัเกณฑในการพมิพรายการอางอิง

หลักเกณฑในการพิมพรายการอางอิง มีดังนี ้1. วิทยานิพนธภาษาไทยใหพิมพคําวา รายการอางอิง วิทยานิพนธภาษาอังกฤษให

พิมพคําวา References โดยใชชนิดตัวพิมพ (Font type) แบบ Cordia New ขนาด 16 พอยต

34

ตัวพิมพหนา (Bold) ไวตรงกลางบรรทัดบนสุดหนาแรกของรายการอางอิง โดยพิมพหางจากขอบบน 1½ นิ้ว ตอจากนั้นใหเวน 1 บรรทัด แลวจึงพิมพรายการขอมูลที่นํามาอางอิง

2. การพิมพรายการอางอิงแตละรายการ ใหพิมพชิดขอบกระดาษดานซาย โดยไมตองตั้งการพิมพกั้นขวา ถารายการใดไมจบใน 1 บรรทัด ใหพิมพบรรทัดตอ ๆ มาโดยยอหนา 0.8 นิ้ว จนจบรายการนั้น ๆ แลวจึงข้ึนรายการใหม

3. รายการที่นํามาอางอิง ใหแยกตามประเภทดังตอไปนี้ 3.1 หนังสือและบทความในหนังสือ 3.2 บทความในวารสาร หนังสือพิมพ สารานุกรม 3.3 เอกสารอ่ืน ๆ (วารสารสาระสังเขป วิทยานิพนธ เอกสารอ่ืน ๆ ที่ไมไดตีพิมพ)

ฯลฯ ในกรณีที่มีรายการอางอิงจํานวนไมมาก จะใชวิธีเรียงตามลําดับตัวอักษรชื่อผูแตงหรือ

ชื่อเร่ือง โดยไมแยกประเภทของรายการอางอิงก็ได 4. การลําดับภาษาของรายการอางอิง ถาเปนวิทยานิพนธภาษาไทยใหเรียงรายการ

อางอิงภาษาไทยพรอมแยกประเภทกอน แลวจึงพิมพรายการอางอิงภาษาตางประเทศโดยแยกตามประเภทของขอมูลที่นํามาอางอิง ถาเปนวิทยานิพนธภาษาตางประเทศใหเรียงรายการอางอิงภาษาตางประเทศกอน

หลักเกณฑการลงรายการอางอิง

หลักเกณฑในการลงรายการผูแตง มดีงันี ้

1. ผูแตงชาวไทย ใหใสชื่อ ตามดวยนามสกลุ โดยไมตองมเีคร่ืองหมายใด ๆ คั่น ไมวางานเขียนจะเปนภาษาไทยหรือภาษาตางประเทศ

แววรัตน โชตินิพัทธ สุชาต ิธาดาธํารงเวช สุชาต ิประสิทธิ์รัฐสินธุ Chaiwat Satha-Anand Suchart Thada-Thamrongvech Waeorath Chotripat

2. ผูแตงชาวตางประเทศ 2.1 ใหใสชื่อสกุล อักษรยอชื่อตน เวนวรรค 1 ระยะ และอักษรยอชื่อกลาง (ถาม)ี โดยใส

35

เคร่ืองหมายจุลภาค (,) คั่นระหวางชื่อสกลุและอักษรยอชือ่ตน ไมวางานเขียนจะเปนภาษาไทยหรือภาษาตางประเทศ เชน Graham, M. A.

Johnson, S. Palmer, J. จอหนสัน, เอส.

2.2 ถาชื่อตนของผูแตงมีเคร่ืองหมายยัติภังค (-) ประกอบดวย ใหลงเคร่ืองหมาย ดังกลาวไว แลวตามดวยอักษรยอชื่อกลาง (ถามี) โดยไมตองเวนวรรคระหวางชื่อตนและชื่อกลางอีก Laplace, P.-S.

2.3 ในกรณีผูแตงมีคําตอทายชื่อ เชน Jr. และ III เปนตน ใหใสคําดังกลาวตอทาย อักษรยอชื่อตน หรืออักษรยอชื่อกลาง (ถาม)ี โดยคั่นดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) Miller, W. T., Jr. Lerche, C. O., III

3. ผูแตงท่ีมีฐานันดรศกัดิ์ บรรดาศกัดิ ์ใหใสชื่อ คัน่ดวยเคร่ืองหมายจลุภาค (,) ตาม ดวยฐานนัดรศักดิ์ หรือ บรรดาศกัดิ์

เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ มณีรัตน บุนนาค, ทานผูหญิง ม.ล. วิจิตรวาทการ, หลวง สุขมุพันธ บริพตัร, ม.ร.ว. อนุมานราชธน, พระยา อัมพร มีศุข, คุณหญิง อินทปรีชา, พระ Bhumibol Adulyadej, His Majesty King Sirindhorn, Her Royal Highness Princess Damrong Rajanubhab, Prince Anuman Rajadhon, Phraya Kukrit Pramoj, M.R. Manich Jumsai, M.L.

36

4. ผูแตงท่ีเปนพระภิกษุท่ัวไปและพระภิกษุท่ีมีสมณศกัดิ์ 4.1 พระภิกษุท่ัวไป ใหใสคําวา พระ พระมหา นําหนาชื่อตัวตามดวยฉายานาม

(ชื่อภาษาบาลี) ถาไมทราบฉายานาม แตทราบนามสกุลใหใสนามสกุล กรณีไมทราบทั้งฉายานามและนามสกลุ ใหใสขอมลูตามที่ปรากฏในงาน และหากพระภิกษใุชนามแฝงใหใสนามแฝงตามที่ปรากฏ

พระเทียน จติตฺสโุภ พระบุญแทน ขันธศรี พระสุจิตโต พระมหาเกรียงไกร แกวไชยะ พระมหาเกยีรต ิสกุติตฺ ิพุทธทาสภิกข ุBuddhadasa Bhikkhu Phra Yantra Amaro Phra Maha Somjin Sammapanno Phra Maha Boowa Nanasampanno

4.2 พระภิกษุท่ีมีสมณศกัดิ์ ใหใสชื่อสมณศกัดิ์ ตามดวยชื่อตวในเคร่ืองหมายวงเล็บ ถาไมทราบชื่อตวัใหใสเฉพาะชื่อสมณศักดิ์

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสน) สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ) พระพิมลธรรม (ชอบ) พระพรหมมุนี (ผิน) พระธรรมโกษาจารย (เซง) พระธรรมโสภณ (สนธิ)์ พระเทพกวี (ประยูร) พระเทพโมล ี(ฟน) พระครูปลดัสัมพิพัฑฒญาณาจารย (บุญชวย) พระครูปลดัเมธาวฒัน Somdet Phra Yanasangwon (Charoen) Phra Kaveevorayayan Phra Kru Bhavannanuvat Phra Medhivaraganacaraya Phra Nirotrangsikhamphirapanyachan (Thet) Phra Thepwethi (Prayudh)

37

5. ผูแตงมียศทางทหาร ตํารวจ มีตําแหนงทางวิชาการ หรือมีคําเรียกทางวิชาชีพ เชน พลเอก ศาสตราจารย นายแพทย นายสัตวแพทย เปนตน ไมตองลงยศ ตําแหนงทางวิชาการ และคําเรียกทางวิชาชีพ

พล.อ. เปรม ตณิสลูานนท ลง เปรม ติณสูลานนท ศาสตราจารย ดร. สุรพล นิติไกรพจน ลง สุรพล นิตไิกรพจน ร.อ.นพ.ยงยุทธ มัยลาภ ลง ยงยุทธ มยัลาภ Assistant Professor Preeyachat Uttamayodhin ลง Preeyachat Uttamayodhin

Dr. Barbara Luke ลง Luke, B.

6. ผูแตงใชนามแฝง ใหลงนามแฝงตามที่ปรากฏในงาน โรสลาเรน ว. วินิจฉัยกุล โสภาค สุวรรณ Hunter Idris Mishima

7. ผูแตงท่ีเปนนิติบุคคล นิติบุคคล หมายถึง หนวยงานหรือกลุมบุคคลที่มีการระบุถึงดวยชื่อเฉพาะและมีการ

กระทําหรืออาจกระทําในฐานะเปนส่ิงที่มีอยูจริง ตัวอยางนิติบุคคล ไดแก สมาคม (Associations) สถาบัน (Institutions) บริษัทธุรกิจ (Business firms) หนวยงานที่ไมมุงหวังกําไร (Non-profit enterprises) รัฐบาล หนวยงานรัฐบาล โครงการและแผนงาน องคกรทางศาสนา กลุมศาสนจักรประจําถิ่นซึ่งระบุดวยชื่อของศาสนจักร เปนตน

กระทรวงพลังงาน ราชบณัฑิตยสถาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศลิปศาสตร National Bureau of Statistics of China Thailand, Ministry of Agriculture and Cooperatives, Cooperative Auditing Department

7.1 กรณีที่มีทั้งชื่อหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหใสเฉพาะชื่อหนวยงานยอย ยกเวนชื่อหนวยงานยอยเปนชื่อทั่วไปที่ใชซ้ํากันในหลาย ๆ หนวยงาน ใหใสชื่อหนวยงานใหญที่อยูเหนือข้ึนไปกํากับ เพื่อใหทราบวาเปนหนวยงานยอยของหนวยงานใด

38

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, คณะอักษรศาสตร United Nations, Centre on Transnational Corporations

7.2 กรณีเปนภาษาตางประเทศ ชื่อหนวยงานทีใ่ชอาจซ้ํากนัได ใหใสชื่อประเทศนํา หนาชื่อหนวยงานนั้นดวย

Spain, Ministry of Social Affairs Singapore, Ministry of the Environment, Public Affairs Department

7.3 กรณเีปนหนวยงานของรัฐบาล อยางนอยตองเร่ิมระดบักรม กรมประชาสงเคราะห สาํนักงานสถิตแิหงชาต ิ

7.4 กรณีเปนชื่อคณะกรรมการที่ไดรับการจัดตั้งโดยหนวยงาน เพื่อมอบหมายหนาที ่ เฉพาะให ถอืเปนสวนหนึ่งของหนวยงาน ตองใสชื่อหนวยงานหลักกอน

กรมประชาสงเคราะห, คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบตังิานพฒันาชาวเขา 7.5 คณะกรรมการหรือหนวยงานที่มสํีานกังานเปนอิสระ ใหใสชื่อคณะกรรมการหรือ

หนวยงานนั้น คณะกรรมการกาชาดระหวางประเทศประจําภูมิภาคเอเชียตะวันออก

International Monetary Fund

8. งานท่ีไมปรากฏชื่อผูแตง แตมบีรรณาธกิารหรือผูรวบรวม ใหใสชื่อบรรณาธกิาร หรือผูรวบรวมในตําแหนงของผูแตง

8.1 งานที่เปนภาษาไทย ใหใชคําวา บรรณาธิการ หรือ ผูรวบรวม ในเคร่ืองหมายวงเล็บ เชน

เอ้ือมพร สกุลแกว (บรรณาธิการ) บุญตา ลิ้มประดิษฐ, และ อัจฉรา รักยุติธรรม (บรรณาธิการ) สุชาดา ชินะจิตร (ผูรวบรวม) 8.2 งานที่เปนภาษาอังกฤษ ใหใชคํายอวา Ed. สําหรับบรรณาธิการ 1 คน หรือ Eds.

สําหรับบรรณาธิการมากกวา 1 คน ใชคํายอวา Comp. สําหรับผูรวบรวม 1 คน หรือ Comps. สําหรับผูรวบรวมมากกวา 1 คน เชน

Robinson, D. N. (Ed.) Gibbs, J. T., & Huang, L. N. (Eds.) Crawley, J. N., Gerfen, C. R., Rogawski, M. A., Sibley, D. R., Skolnick, P., &

Wray, S. (Eds.)

39

9. งานท่ีไมปรากฏชื่อผูแตง บรรณาธิการ หรือผูรวบรวม ใหใสชื่อเร่ืองในตําแหนงของผูแตง

แมนํ้าโขง-สาละวิน : ผูคน ผืนนํ้า และสวุรรณภูมขิองอุษาคเนย. (2549). ISO 9000 Quality Management Systems. (1993).

10. งานท่ีมีผูแตงมากกวา 1 คน

10.1 งานทีม่ีผูแตง 2-6 คน ใหใสชื่อผูแตงทุกคน โดยใสเคร่ืองหมายจุลภาค (,) คั่นผูแตงแตละคน และใชคําวา และ ตามดวยเวนวรรค 1 ระยะหนาผูแตงคนสุดทายสําหรับงานที่เปนภาษาไทย และใชเคร่ืองหมาย & แทนคําวา และ สําหรับงานภาษาตางประเทศ สังศิต พิริยะรังสรรค, และ ผาสุก พงษไพจิตร กระสินธุ หังสพฤกษ, เทพรัตน อ้ึงเศรษฐพันธ, ประจวบ ฉายบุนิวุฒ,ิ และ สุภัทรา อุไรวรรณ Dacey, J. S., & Travers, J. F. DeFusco, R. A., McLeavey, D. W., Pinto, J. E., & Runkle, D. Kandlikar, S. G., Garimella, S., Li, D., Colin S., & King, M. R.

10.2 งานที่มีผูแตงมากกวา 6 คน ใหลงชื่อผูแตง 6 คนแรก โดยใชเคร่ืองหมายจุลภาค (,) คั่นผูแตงแตละคน หลังผูแตงคนสุดทายใหเวนวรรค 1 ระยะ ตามดวย และคณะ หรือ และคนอ่ืน ๆ สําหรับงานที่เปนภาษาไทย ใชคําใดใหใชคํานั้นตลอดทั้งเลมวิทยานิพนธ สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศ ใหใชคําวา et al. แทนคําวา และคณะ หรือ และคนอ่ืน ๆ ระพีพรรณ คําหอม, อัญมณี บูรณกานนท, พิมพใจ นานรัมย, ทิพาภรณ โพธิ์ถวิล, วีระชัย วีระฉันทชาต,ิ สโรทร มวงเกลีย้ง, และคนอ่ืนๆ Wolchik, S. A., West, S. G., Sandler, I. N., tein, J., Coatsworth, D., Lengua, L., et al.

10.3 งานภาษาอังกฤษที่มีผูแตงมากกวา 1 คน และมีคําวา with หนาผูแตงรวม ใหใสชื่อผูแตงรวมพรอมคําวา with ไวในเคร่ืองหมายวงเล็บตอจากชื่อผูแตง เชน Hiam, A. (with Rastelli, L. G.)

11. ใหจบขอมูลผูแตงดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) ยกเวนขอมูลผูแตงลงทายดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) อยูแลว เชน

กมล บุษบา, และ สายทอง อมรวเิชษฐ. Graham, M. A. Mingsarn Kaosa-ard, & Pornpen Wijukprasert (Eds.).

40

หลักเกณฑในการลงปพิมพ 1. ใหใสปพมิพในเคร่ืองหมายวงเล็บ สวนงานที่ไมไดตพีมิพเผยแพรใหใชปทีผ่ลิตงานนั้นแทน ถาปพิมพใชเวลามากกวา 1 ป ใหลงปแรกและปสุดทาย คั่นดวยเคร่ืองหมายยัติภังค (-) เชน Koche, S. (Ed.). (1959-1963) เปนตน

2. กรณีไมมีปพิมพ แตมีปลิขสิทธิ ์(copyright) ใหใสปลิขสิทธิ์แทน โดยไมตองใสตัวอักษร c ซึ่งหมายถึง copyright กํากับ เชน 2007 เปนตน 3. ไมปรากฏป ใหใส (ม.ป.ป.) ซึ่งหมายถึง ไมปรากฏปพิมพ สําหรับงานที่เปนภาษาไทย หรือ (n.d.) ซึ่งหมายถึง no date สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศ 4. งานที่อยูระหวางการจัดพิมพ ใหใส (กําลังจดัพมิพ) สําหรับงานทีเ่ปนภาษาไทย หรือ (in press) สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศ

5. ใหจบขอมลูปพมิพดวยเคร่ืองหมายมหพัภาค (.)

หลักเกณฑในการลงชื่อเร่ือง 1. ชื่อเร่ืองในทีน่ี้ไมรวมชื่อบทความในหนงัสือ วารสาร หนังสือพิมพ และสารานุกรม 2. ใหพมิพชื่อเร่ืองตามที่ปรากฏในหนาปกในของหนังสือดวยตัวเอน

3. สําหรับงานภาษาตางประเทศ ตวัอักษรตัวแรกของคําแรกของชื่อเร่ืองหลัก และชื่อเร่ืองรอง ใหใชตัวพิมพใหญ (capital letter) กรณีเปนชื่อเฉพาะใหใชตัวอักษรพมิพใหญกบัอักษรตัวแรกของคํานั้น ๆ ดวย

4. งานที่มีทั้งชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรอง ใหคั่นชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรองดวยเคร่ืองหมายทวิภาค (:) ตามดวยเวนวรรค 1 ระยะหนาชื่อเร่ืองรอง People in organizations: An introduction to organizational behavior Discourse and reproduction: Essays in honor of Basil Bernstein การบริหารการศึกษา: นโยบายและยุทธศาสตรเพื่อการบรรลผุล

5. หนังสือชุดที่มีหลายเลมจบ แตละเลมมีชื่อเร่ืองเฉพาะ ใหลงทั้งชื่อชุดและชื่อเร่ืองเฉพาะของเลมที่นํามาอางอิง

Empirical studies of psychoanalytic theories: Vol. 4 Psychoanalytic perspectives on psychopathology

6. สําหรับงานภาษาตางประเทศที่ไมใชภาษาอังกฤษ ถาตองการใสชื่อที่แปลเปนภาษาอังกฤษ ใหใสในวงเล็บเหล่ียมตอจากชื่อเร่ืองโดยใชตัวอักษรปกต ิ

La genese de l’idee de hazard chex l’enfant [The origin of the idea of chance in the child]

41

7. ใหใสขอมูลเกี่ยวกับงาน เชน คร้ังที่พิมพ เลมที่ของหนังสือ ลําดับที่ของรายงาน เลขหนา เปนตน ไวในเคร่ืองหมายวงเล็บตอจากชื่อเร่ือง โดยไมตองมีเคร่ืองหมายใด ๆคั่น และไมใชอักษรตัวเอนกับขอมูลสวนนี ้

The new encyclopedia Britannica (Vol. 26, pp. 501-508) Strategic planning (3rd ed.) พฤติกรรมองคการ (พิมพคร้ังท่ี 5) สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน (ล. 5, น. 6)

8. ใหใสขอมูลที่ระบุรูปแบบของงานในเคร่ืองหมายวงเล็บเหล่ียมตอจากขอมูลในขอ 7 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ [จุลสาร] [pamphlet] [แผนที่] [map] [แผนพับ] [Brochure] [ภาพยนตร] [Motion picture]

[ไมโครฟลม] [Microfilm] [ไมโครฟช] [Microfiche] [ฟลมสตริป] [Filmstrip]

[รายการโทรทัศน] [Television broadcast] [รายการวิทย]ุ [Radio broadcast] [วัสดุบันทึกเสียง] [Sound recording] [วีดิทัศน] [Videorecording] [สไลด] [Slide] [โปรแกรมคอมพิวเตอร] [Computer software] [แฟมขอมูล] [Data file]

ตัวอยาง การทํางานโดยปราศจากความสญูเสยี (waste free) [วีดิทัศน] Guidelines for reporting and writing about people with disabilities (4th ed.) [Brochure] หมายเหต ุ วัสดุบันทึกเสียง (Sound recording) หมายถึง วัสดุประเภทแผนเสียง (discs) เทปบันทึกเสียง เทปมวน (open reel-to-reel) เทปกลอง (cartridge) และเทปตลับ (cassette) และเสียงที่บันทึกลงในฟลม (sound recordings on film)

42

วีดิทัศน (Videorecording) หรือที่รูจักกันแพรหลายวาเทปโทรทัศน แถบบันทึกภาพ ภาพทัศน ฯลฯ แบงไดเปน 2 ประเภท คือ แถบวีดิทัศน (Video Tape หรือ Video Cassette) และ แผนวีดิทัศน (Video Disc)1

9. ใหจบขอมูลชื่อเร่ืองดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.)

หลกัเกณฑในการลงชื่อเมืองท่ีพิมพและสาํนักพิมพ 1. ใหใสชื่อเมอืงที่พมิพตามดวยชื่อสํานักพมิพ โดยคั่นดวยเคร่ืองหมายทวิภาค (:) และ เวนวรรค 1 ระยะหลังเคร่ืองหมาย Amsterdam: Elsevier 2. กรณเีมอืงที่พมิพไมเปนที่รูจกั หรืออาจมชีื่อซ้ํากบัเมอืงในประเทศอ่ืน ใหกาํกบัชื่อรัฐหรือ ประเทศดวย Hillsdale, NJ: Erlbaum Oxford, England: Basil Blackwell 3. ถาเมอืงทีพ่มิพมมีากกวา 1 แหง ใหใชเมอืงแรกที่ปรากฏในตวัเลม

4. กรณีไมปรากฏเมืองที่พิมพในตัวเลม ใหใสคําวา (ม.ป.ท.) หมายถึง ไมปรากฏเมืองทีพ่ิมพ สําหรับงานทีเ่ปนภาษาไทย และ (n.p.) หมายถงึ no place สําหรับงานทีเ่ปนภาษาตางประเทศ 5. กรณสํีานกัพมิพเปนมหาวิทยาลัย และชื่อมหาวิทยาลัยมชีื่อรัฐรวมอยูดวย ไมตองกาํกับชื่อรัฐทีเ่มอืงที่พมิพ 6. ใหใสชื่อสํานกัพมิพโดยใชรูปแบบส้ัน ๆ และเปนที่เขาใจ โดยละคําที่ไมจําเปนออกจากชื่อสํานักพมิพ เชน Publishers, Co., Inc. หรือคําวา สํานักพิมพ บริษัท หางหุนสวน เปนตน แตใหคงคําวา Books และ Press หรือ โรงพิมพ ไว University of Toronto Press 7. ถาสํานักพิมพมีทั้งหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหลําดับหนวยงานใหญกอนหนวยงานยอย โดยคั่นดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) และเวนวรรค 1 ระยะระหวางหนวยงานใหญและหนวยงานยอย

1จาก การทําบัตรรายการโสตทัศนวัสดุ [Cataloguing of Audiovisual Materials] (พิมพคร้ังที ่2 แกไขปรับปรุง, น. 54, 84-85), บรรณาธิการโดย กัลยา จยุติรัตน, เกื้อกูล วิชชจุฑากุล, นงลักษณ สุวรรณกจิ, พรทพิย อาณาประโยชน, พิมอัจฉรา ปวนะฤทธิ,์ วนดิา คนยีพนัธุ, และคนอ่ืน ๆ, 2531, กรุงเทพฯ: หองสมดุสถาบันอุดมศกึษา, คณะทํางานกลุมโสตทัศนศึกษา.

43

8. กรณทีี่ผูแตงและสํานกัพมิพเหมอืนกนั ใหลงคําวา ผูแตง สําหรับงานทีเ่ปนภาษาไทย และ Author สําหรับงานทีเ่ปนภาษาตางประเทศในตําแหนงของสํานักพมิพ 9. กรณีไมปรากฏชื่อสํานักพิมพในตัวเลม ใหใสคําวา (ม.ป.พ.) หมายถึง ไมปรากฏสํานักพิมพ สําหรับงานทีเ่ปนภาษาไทย และ (n.p.) หมายถงึ no publisher สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศ 10. ใหจบขอมลูเกีย่วกบัการพิมพดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.)

ประเภทของเอกสารหรือขอมลูในรายการอางอิง 1. หนังสือ 1.1 หนังสือท่ัวไป รูปแบบ ผูแตง./(ปพมิพ)./ชื่อเร่ือง./สถานท่ีพมิพ:/สาํนักพิมพ. ตวัอยาง กรุงเทพมหานคร. (2548). แผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2548-2551. กรุงเทพฯ: ผูแตง. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ. (2548). วิสัยทัศนกรรมการกิจการโทรคมนาคม แหงชาต.ิ กรุงเทพฯ: ผูแตง. คอสมอส. (2548). สัตวพิสดารจากเทพนิยาย (พมิพคร้ังที่ 2, ปรับปรุงใหม). กรุงเทพฯ: เครือเถา. คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2531). เร่ืองของลัทธิและนกิาย. กรุงเทพฯ: สยามรัฐ. ชาญชยั พรศิริรุง. (2549). คูมอืปรับปรุงประสิทธภิาพเคร่ืองจักร: พรอมกรณีศึกษาและเทคนิค ปฏิบัติที ่ไดผลจริง. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาต,ิ ฝายวิจยั, แผนกประมวญ ความรู. ชาญวิทย เกษตรศิริ, และ อัครพงษ ค่ําคูณ (บรรณาธิการ). (2549). แมน้ําโขง: จากตาจ-ูลานชาง ตนเลธมถึงกิ๋วลอง. สมุทรปราการ: มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย. นรนิติ เศรษฐบุตร (บรรณาธิการ). (2544-2545). สารานุกรมการเมืองไทย (ล. 1-2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ศูนยศกึษาการพัฒนาประชาธปิไตย. พระมหาอดิศร ถิรสีโล. (2547). ประวัติศาสตรเมืองสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. พุทธทาสภิกขุ. (2536). การเมืองคือธรรมะ (พิมพคร้ังที ่3, แกไขและเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: อรุณวิทยา. รวม 299 วงจร: รวบรวมจากหนงัสือคูมอืและวารสารทางอิเลคทรอนิคสทั่วโลก. (2532). ม.ป.ท.: ม.ป.พ. ระพีพรรณ คาํหอม, อัญมณี บูรณกานนท, พิมพใจ นานรัมย, ทิพาภรณ โพธิ์ถวิล, วีระชัย วีระฉันทชาต,ิ สโรทร มวงเกล้ียง, และคนอ่ืนๆ. (2548). การสรางและพัฒนามาตรฐาน

44

เกณฑและตัวชี้วัดการพัฒนาเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพกิารและผูสูงอาย:ุ รายงาน การศึกษา. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย, สํานักงาน สงเสริมสวัสดิภาพและพทิกัษเดก็ เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพกิารและผูสูงอาย.ุ ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). ศัพทวิทยาศาสตร อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ ฉบบัราชบัณฑิตยสถาน (พิมพคร้ังที ่5, แกไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: ผูแตง. สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ). (2530). ราชธรรมกับการพัฒนาสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเล่ียงเชียง. สังศิต พิริยะรังสรรค, และ ผาสุก พงษไพจิตร. (2537). คอรัปชั่นกบัประชาธปิไตยไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, คณะเศรษฐศาสตร, ศูนยศึกษาเศรษฐศาสตร การเมือง. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2548). การศึกษาผลตอบแทนทางการเงนิในการเล้ียงโคนมป 2547/48: กรณศีกึษาฟารม (เอกสารวิจัยเศรษฐกจิการเกษตร เลขที่ 117). กรุงเทพฯ: ผูแตง. สํานกัเลขานกุารคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแหงชาติ. (2548-2549). เรียนจากแชมปเพื่อเปน แชมป (ล. 1-3). กรุงเทพฯ: ผูแตง. อัญมณ ีบูรณกานนท, และ พิมพใจ นานรัมย. (2549). คูมือมาตรฐานการสงเสริมสวัสดิภาพและ คุมครองพทิกัษสิทธเิด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย, สํานักสงเสริมสวัสดิภาพและพิทักษเด็ก เยาวชนผูดอยโอกาส คนพิการและ ผูสูงอายุ. Akin Rabibhadana, M.R. (1996). The organization of Thai society in the early Bangkok period, 1782-1873 (2nd ed.). Bangkok: Amarin Printing. American Psychiatric Association. (1994). Diagnostic and statistical manual of mental disorders (4th ed.). Washington, DC: Author. Ben-Menahem, Y. (2006). Conventionalism. New York: Cambridge University. Bunker, D. H. (2005). International aircraft financing (Vols. 1-2). Montreal: International Air Transport Association. Civilian. (2004). The Civilian’s South India: Some places and people in Madras. New Delhi: Asian Educational Services. Cooper, C. L. (Ed.). (2005). The Blackwell encyclopedia of management (2nd ed., Vols. 1-12). Malden, MA: Blackwell. Dacey, J. S., & Travers, J. F. (2004). Human development: Across the lifespan (Updated 5th ed.). New York: McGraw-Hill.

45

Goodwin, A. R. H., Marsh, K. N., & Wakeham, W. A. (Eds.). (2003). Measurement of the thermodynamic properties of single phases. Amsterdam: Elsevier. Hiam, A. (with Rastelli, L. G.). (2007). Marketing. Hoboken, NJ: Wiley. Merriam-Webster's collegiate dictionary (10th ed.). (1993). Springfield, MA: Merriam- Webster. Phra Thepwethi (Prayudh). (2005). Thai Buddhism in the Buddhist world (10th ed.). Bangkok: Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Ramroth, W. G., Jr. (2006). Project management for design professionals. Chicago: Kaplan AEC Education. Roberts, I. (Ed.). (2007). Comparative grammar (vols. 1-6). London: Routledge.

Sadie, S. (Ed.). (1980). The new Grove dictionary of music and musicians (6th ed., Vols. 1-20). London: Macmillan.

1.2 หนังสือท่ีพิมพในโอกาสพิเศษ ไดแก หนังสืออนุสรณงานศพ หนังสือที่จัดพิมพเปนที่ระลึกในงานกฐิน หรือ งานวันสถาปนาของหนวยงาน หรืออ่ืน ๆ ที่ถือเปนเอกสารอางอิงที่สําคัญ ใหลงรายการอางอิงเหมือนหนังสือทั่วไป แตใหเพิ่มเติมรายละเอียดของหนังสือดังกลาวไวในเคร่ืองหมายวงเล็บ โดยลงรายการตอทายชื่อสํานักพิมพ รูปแบบ ผูแตง./(ปพมิพ)./ชื่อเร่ือง./สถานท่ีพมิพ:/สาํนักพิมพ./(โอกาสพเิศษท่ีจดัพมิพ). ตวัอยาง ขจร สุขพานิช. (2497). เมื่อเซอรจอหนเบาริงเขามาเจริญทางพระราชไมตรี. พระนคร: โรงพิมพ มหามกฎุราชวิทยาลัย. (มหามกุฎราชวิทยาลัยพิมพถวาย ม.จ. ชัชวลิต เกษมสันต ใน มงคลสมัยมีพระชนม 5 รอบ 12 มิถุนายน 2497). ครูไทย. (2520). ใน อนสุรณงานพระราชทานเพลิงศพพระเจาวรวงศเธอพระองคเจาวิภาวดี รังสิต (หนา 96-148). กรุงเทพฯ: โรงพิมพสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (คณะรัฐมนตรีจัดพิมพถวายพระเกยีรติและสดุดีวีรกรรม). ระเบยีบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544. (2549). กรุงเทพฯ: สํานักขาว กรองแหงชาต.ิ (สํานกัขาวกรองแหงชาตจิัดพิมพเปนที่ระลึกในพธิถีวายผาพระกฐนิ พระราชทาน ประจําป 2549 ณ วัดเขาบางทราย อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี วันเสารที่ 4 พฤศจิกายน 2549).

46

ศุภัทรา อํานวยสวัสดิ์. (2550). 18 กบฏกบัโทษทางการเมอืงสมยัจอมพล ป. พิบูลสงคราม. ใน 3 ทศวรรษ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง (หนา 95-110). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง, คณะรัฐศาสตร. (มหาวิทยาลัยรามคําแหงจัดพมิพเปนที่ระลึก ในโอกาสที่คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคาํแหงครบรอบ 30 ป). สมศักดิ์ เจียมธีรกุล. (2549). คําอธิบายกรณีสวรรคตของ “ทานชิน้”: ทัศนะวิพากษ. ใน ชเูชื้อ (วลี) สิงหเสน ี(หนา 116-120). กรุงเทพฯ: อารต กราฟค. (จัดพมิพเปนที่ระลึกในงานฌาปนกิจ ศพนางชเูชื้อ (วลี) สิงหเสนี 10 มกราคม 2549).

1.3 หนังสือแปล รูปแบบ ผูแตง./(ปพมิพ)./ชื่อเร่ือง/(ชื่อผูแปล)./สถานท่ีพมิพ:/สาํนักพมิพ./(ตนฉบบัพมิพป … ). Author./(Date)./Title (Translator)./Location: Publisher./(Original work published … ). หมายเหต ุ1. ชื่อผูแปล 1.1 งานทีเ่ปนภาษาไทย ใหใสชื่อ ตามดวยนามสกุล โดยไมตองมเีคร่ืองหมายใด ๆ คัน่ หลังนามสกุลใหใสเคร่ืองหมายจลุภาค (,) ตามดวยเวนวรรค 1 ระยะ และใสคําวา ผูแปล กรณีมีผูแปล 2 คน ใหใสคําวา และ หนาผูแปลคนที่ 2 โดยไมตองมเีคร่ืองหมายใด ๆ คั่น แตใหเวนวรรค 1 ระยะหนาและหลังคําวา และ ถามผูีแปลมากกวา 2 คน ใหคั่นผูแปลแตละคนดวยเคร่ืองหมายจลุภาค (,) สําหรับผูแปลคนสุดทาย ใหนาํหนาดวยเคร่ืองหมายจลุภาค (,) เวนวรรค 1 ระยะ แลวตามดวยคําวา และ (สนุทรี เกียรตปิระจกัษ และ ลลัธริมา หลงเจริญ, ผูแปล) 1.2 งานที่เขียนเปนภาษาตางประเทศ ใหใสอักษรยอของชื่อตน ตามดวยอักษรยอของชื่อกลาง (ถาม)ี และชื่อสกุลเต็ม หลังชื่อสกุลใหใสเคร่ืองหมายจุลภาค (,) เวนวรรค 1 ระยะ และใสคําวา Trans. กรณีมีผูแปล 2 คน ใหใสเคร่ืองหมาย & หนาผูแปลคนที่ 2 โดยเวนวรรค 1 ระยะหนาและหลังเคร่ืองหมาย & ถามีผูแปลมากกวา 2 คน ใหคั่นผูแปลแตละคนดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) สําหรับผูแปลคนสุดทาย ใหนําหนาดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) และ & (F. W. Truscott & F. L. Emory, Trans.) 1.3 กรณีผูแปลทําหนาที่เปนบรรณาธิการดวย ใหใสทั้ง 2 หนาที่ไวในเคร่ืองหมายวงเล็บเดียวกัน โดยคั่นดวยคําวา และ สําหรับงานที่เปนภาษาไทย และเคร่ืองหมาย & สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศ สําหรับหนาที่บรรณาธิการ งานที่เปนภาษาไทยใหใชคําวา บรรณาธิการ สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศใช Ed. ถามีบรรณาธิการคนเดียว และ Eds. ถามีบรรณาธิการมากกวา 1 คน

47

(สุนทรี เกียรตปิระจกัษ และ ลลัธริมา หลงเจริญ, บรรณาธกิาร และ ผูแปล) (F. W. Truscott & F. L. Emory (Eds. & Trans.) 2. ตนฉบบัพมิพป … ถาไมไดระบุไวในงานกไ็มตองลง แกรริโด, เจ., และ ซามาน, เอ็ม. (2549). กระเทาะเปลือกเอดีบ:ี คูมือเพื่อความเขาใจธนาคาร พัฒนาเอเชีย (สุนทรี เกียรตปิระจกัษ และ ลัลธริมา หลงเจริญ, ผูแปล). กรุงเทพฯ: โครงการฟนฟนูเิวศวิทยาในภูมภิาคอินโดจีนและพมา ภายใตมลูนธิฟินฟชูีวิตและ ธรรมชาต.ิ ความจัดเจนทางประวัติศาสตรของเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพ (บุญศักดิ์ แสงระวี, ผูแปล). (2549). กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ. อารมสตรอง, เอ็ม. (2549). การบริหารทรัพยากรบคุคลเชงิกลยุทธ: คูมือสําหรับการนําไปปฏิบัต ิ (อรจรีย ณ ตะกั่วทุง, ผูแปล). กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็กซเปอรเน็ท จํากัด. (ตนฉบับพิมพ ป 2000). Freud, S. (1961). The ego and the id. In J. Strachey (Ed. & Trans.), The standard edition of the complete psychological works of Sigmund Freud (Vol. 19, pp. 3-66). London: Hogarth Press. (Original work published 1923). Laplace, P.-S. (1951). A philosophical essay on probabilities (F. W. Truscott & F. L. Emory, Trans.). New York: Dover. (Original work published 1814). 1.4 บทความในหนังสือ รูปแบบ ชื่อผูเขียนบทความ./(ปพมิพ)./ชือ่บทความ./ใน/ขื่อบรรณาธกิาร,/ชื่อหนังสือ/(เลขหนา)./ สถานท่ีพิมพ:/สาํนักพมิพ. Author./(Date)./Article./In/Editor(s),/Title (page(s))./Location: Publisher. หมายเหต ุ1. ชื่อบทความ 1.1 สําหรับงานภาษาตางประเทศ ตัวอักษรตัวแรกของคําแรกของชื่อเร่ืองหลัก และชื่อเร่ืองรอง ใหใชตัวพิมพใหญ (capital letter) กรณเีปนชื่อเฉพาะใหใชตวัอักษรพมิพใหญกบัอักษรตัวแรกของคํานั้น ๆ ดวย ชื่อบทความไมตองพมิพตัวเอน ตัวอยางเชน Auerbach, J. S. (in press). The origins of narcissism and narcissistic personality disorder: A theoretical and empirical reformulation. In J. M. Masling & R. F.

48

Bornstein (Eds.), Empirical studies of psychoanalytic theories: Vol. 4. Psychoanalytic perspectives on psychopathology. Washington, DC: American Psychological Association. 1.2 สําหรับงานภาษาตางประเทศที่ไมใชภาษาอังกฤษ ถาตองการใสชื่อที่แปลเปนภาษา อังกฤษ ใหใสในวงเล็บเหล่ียมตอจากชื่อเร่ืองโดยใชตัวอักษรปกติ เชน Davydov, V. V. (1972). De introductie van het begrip grootheld in de eerste klas van de basisschool: Een experimenteel onderzoek [The introduction of the concept of quantity in the first grade of the primary school: An experimental study]. In C. F. Van Parreren & J. A. M. Carpay (Eds.), Sovjetpsychologen aan het word (pp. 227-289). Groningen, The Netherlands: Wolters-Noordhoff. 2. ชื่อบรรณาธกิาร 2.1 งานที่เปนภาษาไทย ใหใสชื่อตามดวยนามสกุล โดยไมตองมีเคร่ืองหมายใด ๆ คั่น หลังนามสกุลใหเวนวรรค 1 ระยะ และใสคําวา บรรณาธิการ ในเคร่ืองหมายวงเล็บ กรณีมีบรรณาธิการ 2 คน ใหใสคําวา และ หนาบรรณาธิการคนที่ 2 โดยไมตองมีเคร่ืองหมายใด ๆ คั่น หนาและหลังคําวา และ ใหเวนวรรค 1 ระยะ ถามีบรรณาธิการมากกวา 2 คน ใหคั่นบรรณาธิการแตละคนดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) สําหรับบรรณาธิการคนสุดทาย ใหนําหนาดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) ตามดวยคําวา และ โดยเวนวรรค 1 ระยะหนาและหลังคําวา และ ตัวอยางเชน ศขุธิดา อุบล และ จันทพงษ วะสี (บรรณาธิการ) 2.2 งานที่เปนภาษาตางประเทศ ใหใสอักษรยอของชื่อตน ตามดวยอักษรยอของชื่อกลาง (ถาม)ี และชื่อสกุลเต็ม หลังชื่อสกุลใหเวนวรรค 1 ระยะ และใสคําวา Ed. ในเคร่ืองหมายวงเล็บถามีบรรณาธิการคนเดียว ถามีบรรณาธิการมากกวา 1 คน ใหใชคําวา Eds. กรณีมีบรรณาธิการ 2 คนใหใสเคร่ืองหมาย & หนาบรรณาธิการคนที่ 2 และเวนวรรค 1 ระยะหนาและหลังเคร่ืองหมาย & ถามีบรรณาธิการมากกวา 2 คน ใหคั่นบรรณาธิการแตละคนดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) สําหรับบรรณาธิการคนสุดทายใหนําหนาดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) และ & J. T. Gibbs & L. N. Huang (Eds.) R. Payne, R. B. Patt, & C. S. Hill, Jr. (Eds.) 3. เลขหนา ใหใสหมายเลขหนาแรกและหนาสุดทายของของบทความ คัน่ดวยเคร่ืองหมายยตัิภังค (-) และนําหนาหมายเลขหนาแรกดวยตัวอักษร น. ซึ่งหมายถงึ หนา สําหรับงานภาษาไทย หรือ p. ซึ่งหมายถึง page หรือหนาเดยีว หรือ pp. ซึ่งหมายถงึ pages หรือหลายหนา สําหรับงานภาษาตางประเทศ และเวนวรรค 1 ระยะ กอนใสหมายเลขหนาแรก

49

(น. 10) (น. 17-27) (p. 8) (pp. 101-130) ตวัอยาง ณรงคศักดิ์ บุญเลิศ. (2544). การบริหารการเปล่ียนแปลง. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาองคการ และ การจัดการ (ฉบับปรับปรุง, ล. 2, น. 247-303). นนทบุรี: สํานักพิมพมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. ธาน ีชัยวัฒน. (2549). การแสวงหาคาเชาทางเศรษฐกิจในประเทศไทย. ใน ผาสุก พงษไพจิตร (บรรณาธิการ), การตอสูของทุนไทย (ล. 1, น. 373-405). กรุงเทพฯ: มติชน. ประเสริฐ เอ้ือวรากุล, อรุณ ีทรัพยเจริญ, และ สุธี ยกสาน. (2549). วัคซีนเด็งกี่. ใน ศุขธดิา อุบล และ จันทพงษ วะสี (บรรณาธิการ), ไขเลือดออกเด็งกี่: ไวรัสวิทยา พยาธิกําเนิดจากกลไก ภูมคิุมกนั การวินจิฉัย การดูแลรักษา วัคซนี การปองกันและควบคุม (น. 231-247). กรุงเทพฯ: สมาคมไวรัสวิทยา (ประเทศไทย). สมคิด เลิศไพฑูรย. (2545). กฎหมายลูก. ใน นรนิติ เศรษฐบุตร (บรรณาธิการ), สารานุกรมการ เมืองไทย (ล. 2, น. 1). กรุงเทพฯ: ศูนยศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตยมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. Baker, F. M., & Lightfoot, O. B. (1993). Psychiatric care of ethnic elders. In A. C. Gaw

(Ed.), Culture, ethnicity,and mental illness (pp. 517-552). Washington, DC: American Psychiatric Press. Ferrell, B. A. (1998). Pain management amont elderly persons. In R. Payne, R. B. Patt, & C. S. Hill, Jr. (Vol. Eds.), Progress in pain research and management: Vol. 12. Assessment and treatment of cancer pain )pp. 53-65). Seattle, WA: IASP Press.

O’Connell, J. (2005). Export financing. In C. L. Cooper (Ed.), The Blackwell encyclopedia of management (2nd ed., Vol. 6, p. 136). Malden, MA: Blackwell.

2. บทความในวารสาร รูปแบบ ผูเขียน./(ปพมิพ)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร, ปท่ีหรือเลมท่ี, เลขหนา. การลงชื่อผูเขยีน ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อผูแตงหนงัสือ

50

การลงปพมิพ 1. ใหใสปพมิพของวารสาร 2. กรณมีเีดือน หรือวันที่และเดือน ใหลงดังนี ้

2.1 บทความทีเ่ปนภาษาไทย ใหลงชื่อเดือนตามดวยปพมิพ หรือวันทีเ่ดอืนและปพิมพในเคร่ืองหมายวงเล็บ

(มกราคม-มีนาคม 2549) (25 เมษายน 2549) 2.2 บทความที่เปนภาษาตางประเทศ ใหลงชื่อเดือนตอจากปพิมพในเคร่ืองหมาย

วงเล็บ โดยคั่นดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) และเวนวรรค 1 ระยะ กรณีมีวันที่ดวย ใหลงวันที่ตอจากชื่อเดือน โดยเวนวรรค 1 ระยะ และไมตองมีเคร่ืองหมายใด ๆ คั่น

(2000, November 10) (2001, Spring)

3. บทความที่อยูระหวางการจัดพิมพใหใสคําวา (กําลังจัดพิมพ) สําหรับบทความภาษาไทย หรือ (in press) สําหรับบทความภาษาตางประเทศ การลงชื่อบทความ 1. ใหลงชื่อบทความตามที่ปรากฏดวยตวัอักษรปกต ิ

2. สําหรับงานภาษาตางประเทศ ตัวอักษรตัวแรกของคําแรกของชื่อเร่ืองหลัก และชื่อเร่ืองรอง ใหใชตัวพิมพใหญ (capital letter) กรณีเปนชื่อเฉพาะอักษรตัวแรกของคํานั้น ๆ ใหใชตัวพมิพใหญดวย

3. งานที่มีทั้งชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรอง ใหคั่นชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรองดวยเคร่ืองหมายทวิภาค (:) ตามดวยเวนวรรค 1 ระยะหนาชื่อเร่ืองรอง

4. กรณทีี่บทความเขียนดวยภาษาที่ตางจากชื่อวารสาร ใหลงชื่อบทความตามภาษาทีเ่ขียน 5. กรณทีี่บทความไมใชภาษาอังกฤษ แตตองการใสชื่อแปลภาษาอังกฤษ ใหใสไวในวงเล็บ

เหล่ียมตอจากชื่อบทความ 6. ใหใสขอมลูที่ระบุรูปแบบของบทความในวงเล็บเหล่ียมตอจากชื่อบทความ

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ [จดหมายถึงบรรณาธิการ] [Letter to the editor] [ฉบับพิเศษ] [Special issue] [หนังสือ] [Monograph] [บทคัดยอ] [Abstract]

51

7. ใหจบขอมูลชื่อบทความดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) ยกเวนชื่อบทความลงทายดวยเคร่ืองหมายปรัศนี (?) และเคร่ืองหมายอัศเจรีย (!) การลงชื่อวารสาร 1. ใหลงชื่อวารสารตามที่ปรากฏในหนาปกในของวารสารดวยตัวเอน ถาไมมหีนาปกในใหใช ตามทีป่รากฏในหนาปก

2. สําหรับวารสารภาษาตางประเทศ อักษรตัวแรกของแตละคําใหใชตัวพิมพใหญ (capital letter) ยกเวนคํานําหนานาม (article) คําบุพบท (preprosition) และคําสันธาน (conjunction) ที่สะกดไมเกิน 3 ตัวอักษร ระหวางชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรองใหคั่นดวยเคร่ืองหมายทวิภาค (:) และ เวนวรรค 1 ระยะ

3. ใหจบขอมูลวารสารดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) ซึ่งพิมพดวยตัวเอนเชนเดียวกับชื่อวารสาร การลงเลมท่ีหรือปท่ี 1. ใหใสเฉพาะหมายเลขทีเ่ปนปที่หรือเลมที ่(vols.) ของวารสาร และพิมพดวยตัวเอน

American Psychologist, 54, 1040-1049. 2. วารสารที่ไมมีปที่หรือเลมที่ใหใสหมายเลขฉบับที่ (no.) แทน ถาไมมีฉบับที่ดวยก็ไมตองลงทั้งปที่หรือเลมที่และฉบับที ่ 3. วารสารที่แตละฉบับข้ึนตนดวยหนา 1 เสมอ ใหใสหมายเลขฉบับที่ในวงเล็บตอจากปที่หรือเลมทีโ่ดยไมตองเวนระยะ และพิมพดวยตัวอักษรปกติ

วารสารการศึกษาพยาบาล, 18(1), 9-15. Consulting Psychology Journal: Practice and Research, 4(2), 10-36.

4. ใหจบขอมลูเลมทีห่รือปที่ดวยเคร่ืองหมายจลุภาค (,) ซึ่งพมิพดวยตวัเอนเชนเดยีวกบัปที่ หรือเลมที ่การลงเลขหนา 1. ใหใสเฉพาะหมายเลขหนาแรกและหนาสุดทายของบทความ โดยคัน่ดวยเคร่ืองหมายยัติภังค (-) 2. กรณเีลขหนาไมตอเนื่องกนั ใหใสเลขหนาทัง้หมด โดยใชเคร่ืองหมายจลุภาค (,) ตามดวยเวนวรรค 1 ระยะคัน่แตละหนา 3. ใหจบขอมลูเลขหนาดวยเคร่ืองหมายมหพัภาค (.) ตวัอยาง กรันย สุทธิวราคม. (ตุลาคม 2004). ไขหวัดนกในเสือ. จดหมายขาวการเฝาระวังเชื้อดื้อยา, 7(1), 1-2.

52

กฤษณะ แกวมูล. (2550). การฟนฟูสมรรถภาพผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง. พุทธชินราชเวชสาร, 24(1), 5-14. ขนิษฐา สุวรรณชาต. (พฤศจกิายน 2549). มหศัจรรยงานมหกรรรมพชืสวนโลกฯ ราชพฤกษ 2549. อนุสาร อ.ส.ท., 47, 38-52. จัตวาแอนดโจนัท. (25 เมษายน 2549). ปรากฏการณการเมืองไทยเมื่อวันดอกไมบาน. แพรว, 27, 112-120. จิราภรณ เตชะอุดมเดช. (2550). ประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเร่ืองการดูแลผูปวย ขณะใสเคร่ืองชวยหายใจ [Effectiveness of computer assisted instruction lessons in nursing care for the patient with respiratory ventilator]. วารสารการศกึษาพยาบาล, 18(1), 9-15. ทองพูล แตสมบัต,ิ ศวีวรรณ ติชะพันธุ, อรทัย เขียวเจริญ, และ พรทิพย เรืองม.ี (2550). ผลการ ปองกันและดูแลผูปวยโรคเบาหวานชนิดไมพึ่งอินซูลินทีศ่นูยสุขภาพชมุชนภายใตระบบ หลักประกนัสุขภาพถวนหนา. พุทธชินราชเวชสาร, 24(1), 22-32. ปนัดดา ซิลวา, และ ภัทรวีร สรอยสังวาลย. (2550). คุณภาพการตรวจหมูเลือด ABO และ Rh(D) ของหอง ปฏิบัติการในประเทศไทย ปงบประมาณ พ.ศ.2545-2548. วารสารโลหิตวิทยา และเวชศาสตรบริการโลหิต, 17(1), 73-84. แผนแมบทชุมชนบนเสนทางสรางนโยบายสาธารณะ. (พฤศจิกายน/ธันวาคม 2549). จดหมายขาว มูลนิธสิาธารณสุขแหงชาต,ิ 5(6), 8-9. พอเพ็ญ ไกรนรา, เบญญา คุณรักษพงศ, ดวงแข รักไทย, ประไพพิศ สิงหเสม, อาภรณ ภูพัทธยากร, ปทมา แคนยกุต, และคนอ่ืน ๆ. (2550). การพัฒนาทกัษะการเรียนรูสําหรับนกัศึกษา พยาบาลวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. วารสาร การศึกษาพยาบาล, 18(1), 25-35. ลัดดา ตั้งสุภาชัย. (2550). สามัคคีและสํานึกในแผนดิน. ประชาทรรศน, 1, 58-59. มนัส พฤกษสุนันท, มันทนา บัววัฒนา, และ อุบล จันทรเพชร. (2550). การประเมนิผลหลังการ อบรมวิทยากรกระบวนการตอการสรางพลังชุมชน [Post training evaluation of facilitation on community empowerment]. วารสารการศึกษาพยาบาล, 18(1), 68-78. วรุฬกานต กฤตบุญญาลัย. (ปกษแรก เมษายน 2549). ขอกลับไปดื่มนมอีกคร้ัง. ลิปส, 7, 248- 249. วิสูตร ฟองศิริไพบูลย. (2544). สิทธิในเวชระเบียน: ที่มาและกรรมสิทธิ์ในเวชระเบยีนและตัวอยาง 1 ราย. สารศิริราช, 53(3), 175-190.

53

Barlow, D. H. (Ed.). (1991). Diagnoses, dimensions, and DSM-IV: The science of classification [Special issue]. Journal of Abnormal Psychology, 100(3). (อางวารสารทั้งฉบับใหใสชื่อบรรณาธกิารในตําแหนงของผูแตง และชื่อเร่ืองของทั้งฉบบั) Borman, W. C., Hanson, M. A., Oppler, S. H., Pulakos, E. D., & White, L. A. (1993). Role of early supervisory experience in supervisor performance. Journal of Applied Psychology, 78, 443-449. Brown, L. S. (1993, Spring). Antidomination training as a central component of diversity in clinical psychology education. The Clinical Psychologist, 46, 83-87. Herman, L. M., Kuczaj, S. A., lll, & Holder, M. D. (1993).Responses to anomalous gestural sequences by a language-trained dolphin: Evidence for processing of semantic relations and syntactic information. Journal of Experimental Psychology: General, 122, 184-194. Ising, M. (2000). Intensitatsabhangigkeit evozierter Potenzial im EEG: Sind impulsive Personen Augmenter oder Reducer? [Intensity dependence in event-related EEG potentials: Are impulsive individuals augmenters or reducers?]. Zeitschrift fur Differentielle und Diagnostische Psychologie, 21, 208-217. Kandel, E. R., & Squire, L. R. (2000, November 10). Neuroscience: Breaking down scientific barriers to the study of brain and mind. Science, 290, 1113-1120. Klimoski, R., & Palmer, S. (1993). The ADA and the hiring process in organization. Consulting Psychology Journal: Practice and Research, 4(2), 10-36. Mellers, B. A. (2000). Choice and the relative pleasure of consequences. Psychological Bulletin, 126, 910-924. The new health-care lexicon. (1993, August/September). Copy Editor, 4, 1-2. Regier, A. A., Narrow, W. E., & Rae, D. S. (1990). The epidemiology of anxiety disorders: The epidemiologic catchment area (ECA) experience. Journal of Psychiatric Research, 24(Suppl. 2), 3-14. (บทความจากวารสารฉบับเพิ่มเตมิ) Stutte, H. (1972). Transcultural child psychiatry. Acta Paedopsychiatrica, 38(9), 229- 231.

54

Warangkana Pichaiwong, Asada Leelahavanichkul, & Somchai Eiam-ong. (2007). Effication of cellulose triacetate dialyzer and polysulfone synthetic hemofilter for continuous venovenous hemofiltration in acute renal failure. Journal of the Medical Association of Thailand, 89( Suppl.2), S65-S72. (บทความจากวารสารฉบับเพิ่มเตมิ) Wolchick, S. A., West, S. G., Sandler, I. N., Tein, J., Coatsworth, D., Lengua, L., et al. (2000). An experimental evaluation of theory-based mother and mother-child programs for children of divorce. Journal of Consulting and Clinical Psychology, 68, 843-856. Woolf, N. J., Young, S. L., Fanselow, M. S., & Butcher, L. L. (1991). MAP-2 expression in cholinoceptive pyramidal cells of rodent cortex and hippocampus is altered by

pavlovian conditioning [Abstract]. Society for Neuroscience Abstracts, 17, 480. Zuckerman, M., & Kieffer, S. C. (in press). Race differences in face-ism: Does facial prominence imply dominance? Journal of Personality and Social Psychology. 3. บทความในหนังสอืพมิพ รูปแบบ ผูเขียน./(วันเดือนป)./ชือ่บทความในหนังสอืพิมพ./ชื่อหนังสือพิมพ, น. … Author./(Year, Month Date)./Article./Newspaper, p. … or pp. … การลงชื่อผูเขยีน ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงวันเดือนป ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงปพมิพบทความในวารสาร การลงชื่อบทความ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อบทความในวารสาร การลงชื่อหนังสือพิมพ 1. ใหลงตามทีป่รากฏในหนงัสือพมิพ

2. หนังสือพิมพภาษาตางประเทศ อักษรตัวแรกของแตละคําใหใชตัวพิมพใหญ (capital letter) ยกเวนคํานําหนานาม (article) คําบุพบท (preprosition) และคําสันธาน (conjunction) ที่สะกดไมเกิน 3 ตัวอักษร ยกเวนเปนคําแรกของชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรอง ระหวางชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรองใหคั่นดวยเคร่ืองหมายทวิภาค (:) และเวนวรรค 1 ระยะ

55

3. ใหจบขอมูลชื่อหนังสือพิมพดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) ซึ่งพิมพดวยตัวเอนเชนเดียวกับชื่อหนังสือพิมพ การลงเลขหนา

1. ใหใสหมายเลขหนาหลังตัวอักษร น. ซึ่งหมายถึง หนา และเวนวรรค 1 ระยะ สําหรับ บทความภาษาไทย ถาเปนบทความภาษาตางประเทศใหใชตัวอักษร p. ซึ่งหมายถึง page สําหรับบทความ 1 หนา ถามีมากกวา 1 หนา ใหใช pp. ซึ่งหมายถึง pages 2. กรณีบทความมีมากกวา 1 หนา ใหใสหมายเลขหนาแรกและหนาสุดทายของบทความ โดยคั่นดวยเคร่ืองหมายยัติภังค (-) 3. กรณเีลขหนาไมตอเนื่องกนั ใหใสเลขหนาทัง้หมด โดยใชเคร่ืองหมายจลุภาค (,) ตามดวยเวนวรรค 1 ระยะคัน่แตละหนา 4. ใหจบขอมลูเลขหนาดวยเคร่ืองหมายมหพัภาค (.) ตวัอยาง ยุทธศาสตรการแกไขปญหาแรงงานตางดาว. (26 กรกฎาคม 2550). มติชน, น. 5. วนิดา เกตุประสาท. (26 กรกฎาคม 2550). ครูตชด.บานตาเอ็ม งานปดทองหลังพระ. มติชน, น. 34. Berlowitz, A. D. (2000, November 24). How to tackle the problem of student drinking [Letter to the editor]. The Chronicle of Higher Education, p. B20. New drug appears to sharply cut risk of death from heart failure. (1993, July 15). The Washington Post, p. A12. Schwartz, J. (1993, September 30). Obesity affects economic, social status. The Washigton Post, pp. A1, A4. Scott, A. O. (2007, 21 July). Open wide and say shame. Bangkok Post, p. 5. 4. บทความในสารานุกรม รูปแบบ ผูเขียนบทความ./(ปพมิพ)./ชื่อบทความ./ใน ชื่อสารานุกรม/(ล. …,/น. … ). สถานท่ีพิมพ:/ สาํนักพมิพ. Author./(Date)./Article./In/Title. /(Vol. …,/p. or pp. … ). Location:/Publisher. การลงชื่อผูเขยีนบทความ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงชื่อบทความ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อบทความในหนงัสือ

56

การลงชื่อสารานุกรมและเลมท่ี ลงชื่อสารานกุรมและเลมที่ตามที่ปรากฏในหนาปกใน ในการลงเลมทีใ่หลงตัวยอ ล. สําหรับสารานกุรมภาษาไทย และ Vol. สําหรับสารานกุรมภาษาอังกฤษ การลงเลขหนา ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงเลขหนาบทความในหนงัสือ การลงสถานท่ีพมิพ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงสถานที่พมิพของหนงัสือ การลงสาํนักพมิพ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงสํานักพมิพของหนงัสือ ตวัอยาง วิกรม เมาลานนท. (2516-2517). ทอดตลาด. ใน สารานกุรมไทยฉบบัราชบณัฑติยสถาน (ล. 13, น. 8453-8460). กรุงเทพฯ: ราชบณัฑติยสถาน. Bergmann, P. G. (1993). Relativity. In The new encyclopedia Britannica (Vol. 26, pp. 501- 508). Chicago: Encyclopedia Britannica. Lemert, E. M. (1968). Social problems. In International encyclopedia of the social sciences (Vol. 14, pp. 452-458). New York: Macmillan. 5. บทวจิารณ รูปแบบ ผูเขียนบทวิจารณ./(ปพิมพ)./ชื่อบทวิจารณ/[วิจารณหนังสือเร่ือง/ชื่อหนังสือ./ชื่อวารสาร,/ ปท่ีหรือเลมท่ี,/เลขหนา. Reviewer./(Date)./Review title/[Review of the book Title]/Journal Title,/Vol.,/page(s). การลงชื่อผูเขยีนบทวิจารณ 1. ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อผูแตงหนงัสือ 2. กรณไีมมชีื่อผูเขียน ใหนาํชื่อบทวิจารณมาไวแทนที ่การลงปพมิพ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงปพมิพบทความในวารสาร การลงชื่อบทวิจารณ 1. ใหพมิพชื่อบทวิจารณ 2. สําหรับงานภาษาตางประเทศ ตัวอักษรตัวแรกของคําแรกของชื่อเร่ืองหลัก และชื่อเร่ืองรอง ใหใชตัวพมิพใหญ (capital letter) กรณีเปนชื่อเฉพาะใหใชตัวอักษรพมิพใหญกบัอักษรตัวแรกของคํานั้น ๆ ดวย

57

3. งานที่มีทั้งชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรอง ใหคั่นชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรองดวยเคร่ืองหมาย ทวิภาค (:) ตามดวยเวนวรรค 1 ระยะหนาชื่อเร่ืองรอง 4. กรณไีมมชีื่อบทวิจารณใหขามสวนนี้ไป การลงชื่อหนังสือ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อหนงัสือ หมายเหต ุ กรณทีีเ่ปนการวิจารณภาพยนตร รายการโทรทัศน หรืออ่ืน ๆ ใหเปล่ียนจาก วจิารณหนังสือ เปน วจิารณภาพยนตร วิจารณรายการโทรทัศน เปนตน และเปล่ียน Review of the book เปน Review of the motion picture, Review of the television program เปนตน การลงชื่อวารสาร ปท่ีหรือเลมท่ี เลขหนา ใชหลักเกณฑเดยีวกับการลงชื่อ ปทีห่รือเลมที ่และเลขหนาของวารสาร ตวัอยาง ชํานาญ นาคประสบ. (มถิุนายน-สิงหาคม 2510). [วิจารณหนังสือเร่ือง ลายสือสยาม]. สังคมศาสตรปริทัศน, 5, 139-141. Kraus, S. J. (1992). Visions of psychology: A videotext of classic studies [Review of the motion picture Discovering Psychology]. Contemporary Psychology, 37, 1146- 1147. Mancke, E. (2007). [Review of the book The Atlantic economy during the seventeenth

and eighteenth centuries: Organization, operation, practice, and personnel]. Journal of World History, 18, 237-240.

Schatz, B. R. (2000). Learning by text or context? [Review of the book The social life of information]. Science, 290, 1304.

6. วิทยานิพนธ 6.1 วิทยานิพนธปริญญามหาบณัฑิตและดษุฎบีณัฑิต รูปแบบ ผูเขียนวิทยานพินธ./(ปพิมพ)./ชื่อวิทยานพินธ./วิทยานพินธปริญญามหาบณัฑติ,/ชื่อมหาวิทยาลัย,/

ชื่อคณะ,/ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา. ผูเขียนวิทยานพินธ./(ปพิมพ)./ชื่อวิทยานพินธ./วิทยานพินธปริญญาดษุฎีบัณฑติ,/ชื่อมหาวิทยาลัย,/

ชื่อคณะ,/ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา. Author./(Date)./Thesis title./Unpublished master’s thesis,/University name,/ Faculty name,/Department name.

58

Author./(Date)./Dissertation title./Unpublished doctoral dissertation,/University name,/ Faculty name,/Department name.

การลงชื่อผูเขยีนวิทยานิพนธ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อผูแตงหนงัสือ การลงปพมิพ ใหลงปพิมพตามที่ปรากฏในหนาปกใน การลงชื่อวิทยานิพนธ ใชหลักเกณฑเดยีวกับการลงชื่อหนงัสือ การลงชื่อมหาวิทยาลยั ชือ่คณะ และชื่อสาขาวิชาหรือภาควชิา 1. ใหลงตามที่ปรากฏในหนาปกใน 2. ใหลงชื่อมหาวิทยาลัยกอน ตามดวยชื่อคณะ และชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา โดยใสเคร่ืองหมายจุลภาค (,) และเวนวรรค 1 ระยะทายชื่อมหาวิทยาลัย และชื่อคณะ 3. กรณคีณะนัน้ ๆ ไมมสีาขาวิชาหรือภาควิชาใหขามสวนนี้ไป 4. ใหจบขอมลูการลงชื่อมหาวิทยาลัย ชื่อคณะ และชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชาดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) ตวัอยาง นฤมล นิราทร. (2548). หาบเรแผงลอยอาหาร: ความสําเร็จและตัวบงชี้. วิทยานพินธปริญญา ดุษฎีบัณฑติ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะบณัฑติวิทยาลัย, สาขาวิชาสหวิทยาการ. อุดม จันทิมา. (2549). การใชหลักพทุธธรรมเร่ือง “ทมะ” เพื่อพัฒนาเยาวชนไทยในปจจุบัน. วิทยานพินธปริญญามหาบณัฑติ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะศิลปศาสตร, สาขาวิชา พทุธศาสนศกึษา. Jannate Tungcharoen. (2004). Analysis of metal dialkyldithiophosphate additives in lubricating oil by MALDI mass spectrometry. Unpublished master’s thesis, Chulalongkorn University, Faculty of Science. Thitiroj Rergsumran. (2006). Alternative energy: An analysis of natural gas utilization policy implementation. Unpublished doctoral dissertation, National Institute of Development Administration, School of Public Administration. 6.2 วิทยานิพนธท่ีมีการจัดพิมพจําหนาย สวนใหญเปนวิทยานิพนธภาษาตางประเทศ และไดรับการจัดพิมพและจําหนายโดย University Microfilms International

59

รูปแบบ ผูเขียนวิทยานพินธ./(ปพิมพเผยแพร)./ชื่อวิทยานิพนธ/(วิทยานพินธปริญญามหาบณัฑติ,/ชื่อ

มหาวิทยาลัย,/ชื่อคณะ,/ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา, ปอนุมัติวิทยานิพนธ). สถานที่พิมพ: สํานักพิมพ.

ผูเขียนวิทยานพินธ./(ปพิมพเผยแพร)./ชื่อวิทยานิพนธ/(วิทยานพินธปริญญาดุษฎีบณัฑติ,/ชื่อ มหาวิทยาลัย,/ ชื่อคณะ,/ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา, ปพิมพของวิทยานิพนธ).

สถานที่พมิพ: สํานักพิมพ. Author./(Date)./Thesis title./(Master’s thesis,/University name,/Faculty name,/Department

name, Approval date). Place of Publication: Publisher. Author./(Date)./Dissertation title./(Doctoral dissertation,/University name,/Faculty name,/

Department name, Approval date). Place of Publication: Publisher. การลงชื่อผูเขยีนวิทยานิพนธ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อผูแตงหนงัสือ การลงปพมิพเผยแพร ใหลงปตามที่ปรากฏในหนาปกใน การลงชื่อวิทยานิพนธ ใชหลักเกณฑเดยีวกับการลงชื่อหนงัสือ การลงชื่อมหาวิทยาลยั ชือ่คณะ และชื่อสาขาวิชาหรือภาควชิา 1. ใหลงตามที่ปรากฏในหนาปกใน 2. ใหลงชื่อมหาวิทยาลัยกอน ตามดวยชื่อคณะ และชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา โดยใสเคร่ืองหมายจุลภาค (,) และเวนวรรค 1 ระยะทายชื่อมหาวิทยาลัย และชื่อคณะ 3. กรณคีณะนัน้ ๆ ไมมสีาขาวิชาหรือภาควิชาใหขามสวนนี้ไป 4. ใหจบขอมลูการลงชื่อมหาวิทยาลัย ชื่อคณะ และชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชาดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) การลงปพมิพของวิทยานิพนธ ใหลงปพมิพของวิทยานพินธ การลงสถานท่ีพมิพ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงสถานที่พมิพของหนงัสือ การลงสาํนักพมิพ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงสํานักพมิพของหนงัสือ

60

ตวัอยาง Smith, P. B. (1987). Stock index options: Analysis, valuation and empirical tests (Doctoral dissertation, New York University, Graduate School of Business Administration, 1987). Ann Arbor, MI: University Microfilms International. Sudweeks, B. L. (1987). Equity market development in developing countries: General principles, case studies, portfolio implications, and relevance for the People’s Republic of China (Doctoral dissertation, The George Washington University, School of Government and Business Administration, 1987). Ann Arbor, MI: University Microfilms International. 6.3 บทคัดยอวิทยานิพนธท่ีไดรับการจดัพมิพในวารสาร รูปแบบ ผูเขียนวิทยานิพนธ./(ปพิมพวารสาร)./ชื่อวิทยานิพนธ/(ระดับปริญญา,/ชื่อมหาวิทยาลัย,/คณะ,/

สาขาวิชาหรือภาควิชา,/ปพิมพ)./ชื่อวารสาร,/ปที,่/เลขหนา. การลงชื่อผูเขยีนวิทยานิพนธ ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงปพมิพวารสาร ใชหลักเกณฑเดยีวกับการลงปพมิพบทความวารสาร การลงชื่อวิทยานิพนธ ใชหลักเกณฑเดยีวกับการลงชื่อหนงัสือ การลงระดับปริญญา วิทยานพินธปริญญาโทภาษาไทยใชคําวา วิทยานพินธปริญญามหาบณัฑติ ภาษาอังกฤษใชคําวา Unpublished master’s thesis กรณทีีเ่ปนฉบบัพมิพเผยแพรใหใช Master’s thesis วิทยานพินธปริญญาเอกภาษาไทยใชคําวา วิทยานพินธปริญญาดุษฎีบัณฑติ ภาษาอังกฤษใชคําวา Unpublished doctoral dissertation กรณทีีเ่ปนฉบบัพมิพเผยแพรใหใช Doctoral dissertation การลงชื่อมหาวทิยาลยั ชือ่คณะ และชื่อสาขาวิชาหรือภาควชิา 1. ใหลงตามที่ปรากฏในหนาปกใน 2. ใหลงชื่อมหาวิทยาลัยกอน ตามดวยชื่อคณะ และชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา โดยใสเคร่ืองหมายจุลภาค (,) และเวนวรรค 1 ระยะทายชื่อมหาวิทยาลัย และชื่อคณะ 3. กรณคีณะนัน้ ๆ ไมมสีาขาวิชาหรือภาควิชาใหขามสวนนี้ไป

61

4. ใหจบขอมลูการลงชื่อมหาวิทยาลัย ชื่อคณะ และชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชาดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) การลงปพมิพของวิทยานิพนธ ใหลงปพมิพของวิทยานพินธ การลงชื่อวารสาร ใชหลักเกณฑเดยีวกับการลงชื่อวารสารในการลงรายการอางอิงบทความวารสาร การลงปท่ีและเลขหนา ใหลงปทีห่รือเลมที่ของวารสารและเลขหนาที่มขีอมลูเกีย่วกบัวิทยานพินธ ตวัอยาง อัมพร ยะวรรณ. (2546). แสกเตนสาก: กระบวนการขัดเกลาทางสังคม: ศึกษากรณีแสกเตนสาก

บานอาจสามารถ อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม (วิทยานพินธปริญญามหาบณัฑติ,มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, คณะมนษุยศาสตรและสังคมศาสตร, สาขาวิชาไทยคดีศึกษา, 2543). ขาวสารการวิจัย, 4(26), 14-15.

หมายเหต ุแสกเตนสาก: กระบวนการขดัเกลาทางสงัคม เปนชื่อเร่ืองหลัก ศึกษากรณีแสกเตนสากบานอาจสามารถ อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม เปนชื่อเร่ืองรอง Schoenly, L. C. (1997). The effect of the value analysis teaching method on the

assimilation of professional nursing values (Doctoral dissertation, Widener University, School of Nursing, 1997). Dissertation Abstracts International, 57, 7455.

7 เอกสารประกอบการประชมุวิชาการ 7.1 บทความในเอกสารประกอบการประชมุวิชาการท่ีพมิพเผยแพร รูปแบบ ใชรูปแบบเดยีวกับการลงรายการอางอิงบทความในหนงัสือ ตวัอยาง สมประวิณ มันประเสริฐ. (2550). การศึกษาผลกระทบจากขอตกลงเขตการคาเสรีตอกจิกรรมทาง

เศรษฐกิจรายพื้นที่ของประเทศไทย. ใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, คณะเศรษฐศาสตร, ปรัญชาเศรษฐกจิพอเพยีงเพื่อการพัฒนาทีย่ัง่ยืน: การประชุมวิชาการระดบัชาติของ นักเศรษฐศาสตร คร้ังที่ 3 (น. 207-239). กรุงเทพฯ: ผูแตง.

62

Deci, E. L., & Ryan, R. M. (1991). A motivational approach to self: Integration in personality. In R. Dienstbier (Ed.), Nebraska Symposium on Motivation: Vol. 38.

Perspectives on motivation (pp. 237-288). Lincoln: University of Nebraska Press. หมายเหตุ ชื่อการประชุมที่เปนภาษาตางประเทศ อักษรตัวแรกของแตละคําใหใชตัวพิมพใหญ (capital letter) ยกเวนคําบุพบท (preprosition) คําสันธาน (conjunction) และคํานําหนานาม (article) ที่สะกดไมเกิน 3 ตัวอักษร ยกเวนเปนคําแรกของชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรอง ระหวางชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรองใหคั่นดวยเคร่ืองหมายทวิภาค (:) และเวนวรรค 1 ระยะ 7.2 บทความในเอกสารประกอบการประชมุวิชาการท่ีจดัพมิพเปนประจาํสม่ําเสมอ รูปแบบ ใชรูปแบบเดยีวกับการลงรายการอางอิงบทความในวารสาร การลงชื่อบทความ กรณีเปนบทคัดยอ (abstract) ใหเวนวรรค 1 ระยะ และใสคําวา [บทคัดยอ] สําหรับงานภาษาไทย และใสคําวา [Abstract] สําหรับงานภาษาตางประเทศ ตอจากชื่อบทความ และตามดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) ตวัอยาง Cynx, J., Williams, H., & Nottebohm, F. (1992). Hemispheric differences in avian song discrimination. Proceedings of the National Academy of Sciences, USA, 89, 1372-1375. หมายเหตุ ชื่อการประชุมที่เปนภาษาตางประเทศ อักษรตัวแรกของแตละคําใหใชตัวพิมพใหญ (capital letter) ยกเวนคําบุพบท (preprosition) คําสันธาน (conjunction) และคํานําหนานาม (article) ที่สะกดไมเกิน 3 ตัวอักษร ยกเวนเปนคําแรกของชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรอง ระหวางชื่อเร่ืองหลักและชื่อเร่ืองรองใหคั่นดวยเคร่ืองหมายทวิภาค (:) และเวนวรรค 1 ระยะ 7.3 เอกสารประกอบการประชมุเปนเอกสารซ่ึงไมไดจดัพมิพเผยแพร และไมไดนําเสนอในการประชมุ รูปแบบ ผูเขียน./(เดือน ปท่ีจัดประชุม)./ชือ่เอกสาร./ใน/ชื่อผูจัดประชุม/(หนาท่ี),/หัวขอการประชุม./

รายละเอียดเกีย่วกบัการประชมุ,/สถานท่ีจัดประชุม. การลงชื่อผูเขียน ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนังสือ

63

การลงเดือน ปท่ีจดัประชมุ ถาเปนเอกสารภาษาไทย ใหลง เดือน ปท่ีจดัประชมุ ถาเปนเอกสารภาษาตางประเทศ ใหลง ป, เดือนท่ีจดัประชมุ โดยเวนวรรค 1 ระยะหลังเคร่ืองหมายจุลภาค (,) การลงชื่อเอกสาร ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อบทความในหนังสือ การลงชื่อผูจดัประชมุ ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูรวบรวม/ชื่อบรรณาธกิารหนงัสือ โดยใหใสหนาที่ของผูจัดประชุมในวงเล็บตอจากชื่อผูจดัประชุม การลงหัวขอการประชมุ ใช หลักเกณฑเดยีวกับการลงชื่อหนงัสือ การลงรายละเอียดเกี่ยวกบัการประชมุ ใหลงรายละเอียดเกี่ยวกับการประชุม การลงสถานท่ีจัดประชุม ใหลงสถานทีท่ีใ่ชในการจัดประชุม และสามารถลงรายละเอียดอ่ืนเพิ่มเติมเพื่อใหชัดเจนข้ึน ไดแก ชื่อประเทศ ชื่อรัฐ เปนตน ตวัอยาง Lichstein, K. L., Johnson, R. S., Womack, T. D., Dean, J. E., & Childers, C. K. (1990, June). Relaxation therapy for polypharmacy use in elderly insomniacs and noninsomniacs. In T. L. Rosenthal (Chair), Reducing medication in geriatric populations. Symposium conducted at the meeting of the First International Congress of Behavioral Medicine, Uppsala, Sweden. 7.4 เอกสารไมตพีมิพท่ีนําเสนอในการประชมุ รูปแบบ ผูเขียน./(เดือน ปท่ีจัดประชุม)./ชื่อเอกสาร./รายละเอียดเกี่ยวกับการประชุม,/สถานท่ีจัด

ประชุม. การลงชื่อผูเขียน ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงเดือน ปท่ีจดัประชมุ ถาเปนเอกสารภาษาไทย ใหลง เดือน ปท่ีจดัประชมุ ถาเปนเอกสารภาษาตางประเทศ ใหลง ป, เดือนท่ีจดัประชมุ โดยเวนวรรค 1 ระยะหลังเคร่ืองหมายจุลภาค (,)

64

การลงชื่อเอกสาร ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อบทความในหนังสือ การลงรายละเอียดเกี่ยวกบัการประชมุ ใหลงรายละเอียดเกี่ยวกับการประชุม การลงสถานท่ีจัดประชุม ใหลงสถานทีท่ีใ่ชในการจัดประชุม และสามารถลงรายละเอียดอ่ืนเพิ่มเติมเพื่อใหชัดเจนข้ึน ไดแก ชื่อประเทศ ชื่อรัฐ เปนตน ตวัอยาง Lanktree, C., & Briere, J. (1991, January). Early data on the Trauma Symptom Checklist for Children (TSC-C). Paper presented at the meeting of the American Professional Society on the Abuse of Children, San Diego, CA. 8. เอกสารประเภทอ่ืน ๆ 8.1 จุลสารและ แผนพับ (pamphlet and brochure) รูปแบบ ผูเขียน./(ปพิมพ)./ชื่อเร่ือง./[จุลสาร หรือ แผนพับ]./สถานท่ีพิมพ:/สํานักพิมพ. การลงชื่อผูเขียน ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงปพมิพ ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงปพิมพหนังสือ การลงชื่อเร่ือง ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อหนังสือ แตใหใสคําวา [จุลสาร] สําหรับจุลสารภาษาไทย และ [pamphlet] สําหรับจุลสารภาษาตางประเทศ โดยเวนวรรค 1 ระยะหนาคําดังกลาว กรณีเปนแผนพับ ใหใสคําวา [แผนพับ] สําหรับแผนพับภาษาไทย และ [brochure] สําหรับแผนพับภาษาตางประเทศ โดยเวนวรรค 1 ระยะหนาคําดังกลาว การลงสถานท่ีพิมพ ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงสถานที่พิมพของหนังสือ การลงสํานักพิมพ ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงสํานักพิมพของหนังสือ

65

ตัวอยาง วไลพร สวัสดิมงคล, เชาวรัตน จติตวองไว, นาตยา เกรียงชยัพฤกษ, ดวงนภา ปานเพช็ร,

ตอโชติ โสตถิกุล, และคนอ่ืน .ๆ (ม.ป.ป.). ลางมอืใหสะอาด สูภัยไขหวัดนก [จุลสาร]. นนทบุรี: กรมสนบัสนนุบริการสุขภาพ, กองสุขศึกษา.

Research and Traning Center on Independent Living. (1993). Guidelines for reporting and writing about people with disabilities (4th ed.) [Brochure]. Lawrence, KS: Author. 8.2 โปสเตอรท่ีจดัในงานประชมุ รูปแบบ ผูจัด./(เดือน ปท่ีจัดประชุม)./ชื่อโปสเตอร./รายละเอียดเกี่ยวกับการประชุม,/สถานท่ีจัด. การลงชื่อผูจัด ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงเดือน ปท่ีจัดโปสเตอร ถาเปนเอกสารภาษาไทย ใหลง เดือน ป ถาเปนเอกสารภาษาตางประเทศ ใหลง ป, เดือน โดย เวนวรรค 1 ระยะหลังเคร่ืองหมายจุลภาค (,) การลงชื่อโปสเตอร ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อหนังสือ การลงรายละเอียดเกี่ยวกับการประชุม ใหลงรายละเอียดเกี่ยวกับการประชุม การลงสถานท่ีจัดประชุม ใหลงสถานทีท่ีใ่ชในการจัดประชุม และสามารถลงรายละเอียดอ่ืนเพิ่มเติมเพื่อใหชัดเจนข้ึน ไดแก ชื่อประเทศ ชื่อรัฐ เปนตน ตวัอยาง Ruby, J., & Fulton, C. (1993, June). Beyond redlining: Editing software that works.

Poster session presented at the annual meeting of the Society for Scholarly Publishing, Washington, DC.

8.3 งานท่ีไมไดตพีมิพ 8.3.1 งานท่ีไมไดตพีิมพเผยแพร และไมไดนําเสนอสาํนักพมิพใหตพีมิพ รูปแบบ ผูเขียน./(ปท่ีเขียน)./ชื่อเร่ือง./เอกสารไมตพีิมพ.

66

การลงชื่อผูเขียน ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงปท่ีเขียน ใหลงปทีเ่ขียนผลงาน การลงชื่อเร่ือง ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อหนังสือ การลงคําวาเอกสารไมตพีมิพ กรณีเปนงานภาษาไทย ใหใชคําวา เอกสารไมตพีมิพ ถาเปนงานภาษาตางประเทศ ใหใชคําวา Unpublished manuscript ตวัอยาง Stinson, C., Milbrath, C., Reidbord, S., & Bucci, W. (1992). Thematic segmentation of psychotherapy transcripts for convergent analyses. Unpublished manuscript. 8.3.2 งานท่ีไมไดตพีิมพของมหาวิทยาลยั รูปแบบ ผูเขียน./(ปท่ีเขียน)./ชื่อเร่ือง./เอกสารไมตพีิมพ,/ชื่อมหาวิทยาลัย. การลงชื่อผูเขียน ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงปท่ีเขียน ใหลงปทีเ่ขียนผลงาน การลงชื่อเร่ือง ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อหนังสือ การลงคําวาเอกสารไมตพีมิพ กรณีเปนงานภาษาไทย ใหใชคําวา เอกสารไมตพีมิพ ถาเปนงานภาษาตางประเทศ ใหใชคําวา Unpublished manuscript การลงชื่อมหาวิทยาลยั 1. สามารถใสชื่อเมอืง ชื่อรัฐ ชื่อจังหวัด หรือชื่อประเทศตอทายชื่อมหาวิทยาลัยกรณจีําเปน หรือชื่อมหาวิทยาลัยไมเปนที่รูจัก โดยใชเคร่ืองหมายจลุภาค (,) และเวนวรรค 1 ระยะคั่นระหวางชื่อมหาวิทยาลัยและสวนขยายดงักลาว 2. ถาชื่อมหาวิทยาลัยมชีื่อเมอืง ชื่อรัฐ ชื่อจงัหวัด หรือชื่อประเทศอยูดวย ก็ไมจาํเปนตองมีสวนขยายที่ไดกลาวไปขางตน

67

ตวัอยาง Depret, E. F., & Fiske, S. T. (1993). Perceiving the powerful: Intriguing individuals versus threatening groups. Unpublished manuscript, University of Massachusetts at Amherst. 8.3.3 งานท่ีอยูระหวางจดัทําหรือเสนอเพื่อจดัพมิพแลว แตสาํนักพิมพยังไมไดพิจารณาวาจะรับหรือไม รูปแบบ ผูเขียน./(ปท่ีเขียน)./ชื่อเร่ือง./เอกสารอยูระหวางจัดทํา. ผูเขียน./(ปท่ีเขียน)./ชื่อเร่ือง./เอกสารเสนอเพื่อจดัพมิพ. การลงชื่อผูเขียน ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงปท่ีเขียน ใหลงปทีเ่ขียนผลงานเสร็จ การลงชื่อเร่ือง ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อหนังสือ การลงรายการท่ีระบุสถานภาพของเอกสาร 1. เอกสารที่อยูระหวางจดัทาํ ใหใสคาํวา เอกสารอยูระหวางจดัทํา สําหรับงานภาษาไทย และคําวา Manuscript in preparation สําหรับงานภาษาตางประเทศ 2. เอกสารที่อยูระหวางเสนอเพื่อจัดพิมพ ใหใสคําวา เอกสารเสนอเพื่อจัดพิมพ สําหรับงานภาษาไทย และคําวา Manuscript submitted for publication สําหรับงานภาษาตางประเทศ ตัวอยาง McIntosh, D. N. (1993). Religion as schema, with implications for the relation between religion and coping. Manuscript submitted for publication. 8.3.4 ขอมลูดบิท่ีไดจากการศกึษา ไมมชีื่อของงาน รูปแบบ ผูเขียน./(ปท่ีศึกษาเสร็จ)./[หัวขอท่ีตั้งขึ้นเอง]./ขอมูลดบิ. การลงชื่อผูเขียน ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงปท่ีศึกษาเสร็จ ใหลงปที่ศกึษาเสร็จ

68

การลงหัวขอท่ีตั้งขึ้นเอง ใหตั้งชื่อหัวขอเอง และไมตองพิมพตัวเอน การลงคําวาขอมลูดบิ ใหใชคําวา ขอมลูดบิ สําหรับงานภาษาไทย และคําวา Unpublished raw data สําหรับงานภาษาตางประเทศ ตัวอยาง Bordi, F., & LeDoux, J. E. (1993). [Auditory response latencies in rat auditory cortex]. Unpublished raw data. 8.3.5 สิ่งพมิพท่ีจาํกัดการเผยแพร รูปแบบ ผูเขียน./(เดือน ป)./ชื่อเร่ือง./(ไดจาก ชื่อและท่ีอยูท่ีหาสิ่งพิมพได) การลงชื่อผูเขียน ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนังสือ การลงเดือนป

ถาเปนเอกสารภาษาไทย ใหลง เดือน ป ถาเปนงานภาษาตางประเทศ ใหลง ป, เดือน โดย เวนวรรค 1 ระยะหลังเคร่ืองหมายจุลภาค (,)

การลงชือ่เร่ือง ใชหลักเกณฑเดียวกับการลงชื่อหนังสือ การลงชื่อและท่ีอยูท่ีไดสิ่งพมิพมา 1. ใหใชคําวา ไดจาก สําหรับงานภาษาไทย และคําวา Available from สําหรับงานภาษาตางประเทศ หนาชื่อและที่อยูทีห่าส่ิงพิมพมาได 2. กรณส่ิีงพิมพดังกลาวไดจากเว็บไซต ใหใส URL แทนทีท่ี่อยูหรือเพิ่มเติมจากที่อยู ตวัอยาง Klombers, N. (Ed.). (1993, Spring). ADAA reporter. (Available from the Anxiety Disorders Association of America, 6000 Executive Boulevard, Suite 513, Rockville, MD 20852) 9. การอางเอกสารท่ีถูกอางในเอกสารอ่ืน ผูเขียนวิทยานิพนธอางเอกสาร (อาจเรียกวา เอกสารปฐมภูม ิ(primary source)) ที่ถูกอางในเอกสารอ่ืนอีกทีหนึ่ง (อาจเรียกวา เอกสารทุติยภูมิ (secondary source)) โดยไมไดอานเอกสารนั้นโดยตรง

69

รูปแบบ ม ี2 รูปแบบดงันี ้1. เอกสารปฐมภูม,ิ/อางถึงใน/เอกสารทุตยิภูมิ. Primary source,/quoted in/Secondary source. เอกสารปฐมภูม,ิ/กลาวถึงใน/เอกสารทุติยภูม.ิ

Primary source,/cited by/Secondary source. 2. เอกสารทุตยิภูม,ิ,/อางจาก/เอกสารปฐมภูมิ. Secondary source,/quoting/Primary source. เอกสารทุตยิภูม,ิ/กลาวจาก/เอกสารปฐมภูมิ.

Secondary source,/citing/Primary source. หมายเหต ุ

1. รูปแบบการลงรายการอางอิงเอกสารปฐมภูมิและเอกสารทุติยภูมิ ใหลงตามประเภทของเอกสารนั้น ๆ

2. ใชแบบใดใหใชแบบนั้นตลอดทั้งเลมวิทยานิพนธ ตวัอยาง สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2534). ระเบยีบวิธกีารวิจยัทางสังคมศาสตร (พิมพคร้ังที ่7 แกไขและ เพิ่มเตมิ). กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ. อางถึงใน ฤทธชิัย เตชะมหัทธนนัท. (2537). ปญหาการใชคูมอืการทําปริญญานพินธของนิสิตบณัฑติศกึษามหาวิทยาลัยของรัฐในเขต กรุงเทพมหานคร. วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑติ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, บัณฑติวิทยาลัย. (แบบที่ 1) ฤทธิชยั เตชะมหทัธนนัท. (2537). ปญหาการใชคูมอืการทาํปริญญานพินธของนิสิตบัณฑติศึกษา มหาวิทยาลัยของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑติ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, บัณฑติวิทยาลัย. อางจาก สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2534). ระเบยีบวิธกีารวิจยัทางสังคมศาสตร (พิมพคร้ังที ่7 แกไขและเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ. (แบบที่ 2) 10. สื่อโสตทัศนวัสด ุรูปแบบ ชื่อผูจัดทํา (หนาท่ี)./(ปท่ีผลติ)./ชื่อเร่ือง/[ประเภทของโสตทัศนวัสด]ุ./สถานท่ีผลติ:/ หนวยงานท่ีเผยแพร. การลงชื่อผูจดัทํา ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อผูแตงหนังสือ

70

การลงหนาท่ี ลงหนาทีท่ี่รับผิดชอบในส่ือนัน้ ๆ การลงปท่ีผลติ ลงปที่ส่ือนั้นไดรับการผลิตเสร็จ การลงชื่อเร่ือง ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงชื่อหนังสือ การลงประเภทของโสตทัศนวสัด ุ ลงประเภทของโสตทัศนวัสดุทีน่ํามาอางอิง เชน แผนที่ (Map) สไลด (Slide) ภาพยนตร (Motion picture) รายการโทรทัศน (Television broadcast) วัสดุบันทกึเสียง (Sound recording) วีดิทัศน (Videorecording) เปนตน การลงสถานท่ีผลติ ใหลงชื่อเมืองหรือชื่อจังหวัดสําหรับงานภาษาตางประเทศ ถาชื่อเมืองไมเปนที่รูจักหรือตองการใหชัดเจนข้ึน ใหใสชื่อรัฐหรือชื่อประเทศตามหลังชื่อเมือง โดยคั่นดวยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) และเวนวรรค 1 ระยะ การลงหนวยงานท่ีเผยแพร ใชหลักเกณฑเดยีวกบัการลงสํานักพมิพของหนงัสือ ตวัอยาง 1. ภาพยนตร (Motion picture) อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ (ผูกํากับ). (2544). โหมโรง [ภาพยนตร]. กรุงเทพฯ: สหมงคลฟลม อินเตอรเนชั่นแนล. อุดมศักดิ์ ศรีบญุนาค (ผูอํานวยการสราง), และ กญัชลีกร (ผูสรางบท, ผูกํากบัการแสดง). (2526). ลูบคมพยัคฆ [ภาพยนตร]. กรุงเทพฯ: อุดมศกัดิ์ภาพยนตร. Maas, J. B. (Producer), & Gluck, D. H. (Director). (1979). Deeper into hypnosis [Motion picture]. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall. 2. วีดิทัศน บริษัท เจริญโภคภัณฑ จํากดั. (2525). การเล้ียงไกไข [วีดิทัศน]. กรุงเทพฯ: ผูแตง. มลูนธิศินูยส่ือเพื่อการพัฒนา (ผูจดัทํา). (ม.ป.ป.). ผลิตภัณฑน้ํามนัหอมระเหย [วีดิทัศน]. กรุงเทพฯ: Nation Talk. สํานักงานพลังงานปรมาณเูพื่อสันติ. (2544). พลังนิวเคลียร พลังที่ขับเคล่ือนเอกภพ [วีดิทัศน]. กรุงเทพฯ: ผูแตง.

71

Lynn, S. S. (Producer), & Getchell, F. (Writer). (1987). AIDS epidemic: The physician’s role [Videorecording]. Cleveland, OH: Academy of Medicine of Cleveland.

3. รายการวิทย ุวิทยา ดํารงเกียรติศักดิ์ (ผูจัดรายการ). (20 กันยายน 2547). การประกาศทําสงครามคอรัปชั่นของ รัฐบาลทําไดจริงหรือเปนลิเกแกบน [รายการวิทยุ]. เชียงใหม: สถานีวิทยุกระจายเสียงแหง ประเทศไทย.

4. รายการโทรทัศน สรยุทธ สุทศันะจนิดา (ผูดําเนินรายการ). (25 เมษายน 2548). รายการถึงลูกถงึคน: คณะกรรมการสมานฉันทลงใต [รายการโทรทศัน]. กรุงเทพฯ: บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน). Crystal, L. (Executive Producer). (1993, Ocotber 11). The MacNeil/Lehrer news hour [Television broadcast]. New York: Public Broadcast Service. 5. วัสดุบันทึกเสยีง นิติพงษ หอนาค. (2537). [รองโดย สุรสีห อิทธิกุล]. ใน อัลบัม้ รวมงานคนเขียนเพลง [วัสดุ บันทึกเสียง]. กรุงเทพฯ: บริษัท จเีอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน). อภิสิทธิ ์ เวชชาชวีะ (ผูบรรยาย). (2541). แนวทางการจดัการคณุภาพมหาวิทยาลัยในทศวรรษหนา [วัสดุบันทึกเสียง]. กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัย. Costa, P. T., Jr. (Speaker). (1988). Personality, continuity, and changes of adult life (Cassette Recording No. 207-433-88A-B). Washington, DC: American Psychological Association. Goodenough, J. B. (1982). Tails and trotters [Recorded by G. Bok, A. Mayo, & E. Trickett]. On and so will we yet [CD]. Sharon, CT: Folk-Legacy Records. (1990) Liz. (1998). New headway English course: Upper–intermediate [Sound recording]. Oxford: Oxford University Press.

6. แผนท่ี ศูนยแผนที่พรานนกวิทยา. (2548). แผนที่ภาคเหนือ [แผนที่]. กรุงเทพฯ: ผูแตง. Africa [Map]. (1972). Chicago: Denoyer Geppert.

72

7. สไลด ชิษณุสรร สวัสดิวัตน, ม.ร.ว., และ พะงา วิริยะพานิช (ผูจดัทํา). (2526). Zone electrophoresis [สไลด]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหดิล, คณะวิทยาศาสตร, ภาควิชาชีวเคม.ี Alan, W. B. (Compiler). (1984). Using the oscilloscope [Slide]. London: The Slide Centre. 8. ไมโครฟลม Bao, J. (1994). Marriage among ethnic Chinese in Bangkok: An ethnography of gender, sexuality, and ethnicity over two generations [Microfilm]. Unpublished doctoral dissertation, University of California at Berkeley. 9. ไมโครฟช Thompson, K. W., & Fogel, B. R. (1976). Higher education and social change: promising experiments in developing countries [Microfiche]. New York: International Council for Education Development. 10. ฟลมสตริป อภัย ประกอบผล. (2518). สารานุกรม: เทคนิคการใช [ฟลมสตริป]. ม.ป.ท.: ไลบราร่ี ฟลมสตริป เซนเตอร. 11. สื่ออิเลก็ทรอนิกส แบงออกเปนประเภทตาง ๆ ไดดังนี ้ 11.1 บทความในวารสารหรือส่ิงพมิพตอเนื่อง 11.2 เอกสารที่ไมใชบทความในวารสารหรือส่ิงพมิพตอเนื่อง 11.3 รายงานการวิจยัและรายงานทางวิชาการ 11.4 รายงานการประชุม 11.5 การส่ือสารกับบุคคลจํานวนมาก โดยการใชรูปแบบตาง ๆ ไดแก Newsgroup กลุมขาว, Online forum การแสดงความคิดเห็นหรืออภิปรายทางออนไลน, Discussion group กลุมแลกเปล่ียนความรูความคิดเห็นในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง และ Electronic mailing list การติดตอส่ือสารไปยังผูใชจํานวนมากโดยทางอีเมล โปรแกรมซึ่งเปนที่ รูจักและนิยมใชกันคือ LISTSERV

73

รูปแบบ สื่ออิเลก็ทรอนิกส. สบืคนเมื่อวัน เดือน ป, จาก URL Electronic media. Retrieved month date, year, from URL การลงสื่ออิเลก็ทรอนิกส ใหใชหลักเกณฑการลงรายการอางอิงของส่ือประเภทนัน้ ๆ การลงวันเดือนปท่ีสบืคนขอมูลและ URL

1. งานที่เปนภาษาไทยใหใชคําวา สืบคนเมื่อวันท่ี เดือน ป, จาก URL ตัวอยางเชน สืบคนเมื่อวันท่ี 20 มกราคม 2543, จาก http://www.chaipat.or.th/journal /aug99/Thai/self.html หนาคําวา จาก ใหเวนวรรค 1 ระยะ 2. งานที่เปนภาษาอังกฤษ ใหใชคําวา Retrieved เดือน, วันท่ี ป, from URL ตัวอยางเชน

Retrieved January 20, 2000, from http://www.lib.msu.edu/hi-tech/lht16.2htm หนาคําวา Retrieved ใหเวนวรรค 1 ระยะ 3. ไมตองใสเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) หลัง URL หรือเว็บไซต 4. ไมตองขีดเสนใต URL หรือเว็บไซต 5. กรณ ีURL หรือเว็บไซตยาวมาก ใหพิมพตอบรรทัดใหม ทั้งนี้ควรเปนขอความที่อยูหลัง

เคร่ืองหมายทับ (/) หรือกอนเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) 6. ขอมูลใน URL หรือเว็บไซตที่นํามาอางอิงนี้ควรเปนขอมูลวิชาการ และอยูใน URL หรือ

เว็บไซตที่ถาวร ถาไมสามารถสืบคนกลับไปดูขอมูลที่นํามาอางอิงไดเนื่องจากไมมี URL หรือเว็บไซตดังกลาวแลว และไมมีขอมูลฉบับพิมพที่จะนํามาอางอิงเปนหลักฐานได ผูเขียนวิทยานิพนธอาจตองนําขอมูลสวนนี้ออกจากงาน

7. ใหใส URL หรือเว็บไซตที่เชื่อมโยงไปยังขอมูลที่นํามาอางอิงโดยตรง ตัวอยาง เศรษฐกจิพอเพยีง. (สิงหาคม 2542). วารสารมลูนธิชิยัพฒันา. สืบคนเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2543, จาก http://www.chaipat.or.th/journal /aug99/Thai/self.html สุรนันท นอยมณ.ี (2542). ปญหา ค.ศ. 2000 คืออะไร. สืบคนเมื่อวันที ่30 ตุลาคม 2542, จาก http://www.digital.eng.com Prizker, T. J. (n.d.). An early fragment from central Nepal. Retrieved June 8, 1995, from http://www.ingress.com/-astanart/pritzker/pritzker.html

74

Seadle, M. (1999). The University of Michigan School of Information-Library training for the 21st century. Library Hi Tech, 16(20. Retrieved January 20, 2000, from http://www.lib.msu.edu/hi-tech/lht16.2htm

11.1 บทความในวารสารหรือสิ่งพิมพตอเน่ือง 1. เปนบทความที่ตีพมิพในวารสารซึ่งมทีั้งทีจ่ัดพมิพเปนรูปเลมและที่เปนขอมลูอิเล็กทรอนกิส ใหลงรายการเชนเดียวกับบทความในวารสารทกุประการ แตใหระบุลักษณะของขอมลูในเคร่ืองหมายวงเล็บเหล่ียมวา [ขอมูลอิเล็กทรอนิกส] สําหรับงานภาษาไทย ถาเปนงานภาษาตางประเทศใหใชคําวา [Electronic version] หลังชื่อบทความ โดยใหเวนวรรค 1 ระยะหนาและหลังวงเล็บเหล่ียม แลวจึงตามดวยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) พทิยา เดนงาม. (2548). นครวัดมรดกโลกทีน่าคนหา [ขอมลูอิเล็กทรอนกิส]. วารสารเมืองโบราณ, 31(5), 20-25. Siegel, J. J. (2007, October). How to end global warming [Electronic version]. Kiplinger’s Personal Finance, 61(10), 61-62. VandenBos, G., Knapp, S., & Doe, J. (2001). Role of reference elements in the selection of resources by psychology undergraduates [Electronic version]. Journal of Bibliographic Research, 5,117-123.

2. เปนบทความในวารสารอิเล็กทรอนกิส ซึ่งไมมกีารจัดพมิพเปนรูปเลม ใหลงรายการ เชนเดียวกับบทความในวารสารทุกประการ แตใหระบุวันเดือนปที่สืบคน และ URL หรือแหลงที่ไดขอมูลมาขางทายรายการ Fredrickson, B. L. (2000, March 7). Cultivating positive emotions to optimize health and well-being. Prevention & Treatment, 3. Article 0001a. Retrieved November 20, 2000, from http://journals.apa.org/prevention/volume3/pre0030001a.html 3. เปนบทความในวารสารอิเล็กทรอนิกส ซึ่งไมมีการจัดพิมพเปนรูปเลมเชนเดียวกับขอ 2 แตสืบคนผาน ftp (file transfer protocol) Crow, T. J. (2000). Did Homo sapiens speciate on the y chromosome? Psycoloquy, 11. Retrieved March 25, 2001, from ftp://ftp.princeton.edu/harnad/Psycholquy/2000 .volume.11/psyc.00.11.001.language-sex-chromosomes.1.crow

75

4. เปนบทความในจดหมายขาวอิเล็กทรอนกิส พัชรศรี เดชอุดม. (22 กรกฎาคม 2547). 100 ป ธนาคารไทยพาณชิย อดตี ปจจุบัน และอนาคต. SCB E-Newsletter, 2(2). สืบคนเมื่อวันที ่6 ตุลาคม 2548, จาก http://www.server2.scb.co .th/e-newsletter Glueckauf, R. L., Whitton, J., Baxter, J., Kain, J., Vogelgesang, S., Hudson, M., et al. (1998, July). Videocounseling for families of rural teens with epilepsy—Project update. Telehealth News, 2(2). Retrieved June 6, 2000, from http://www .telehealth.net/subscribe/newslettr_4a.html#1 11.2 เอกสารท่ีไมใชบทความในวารสารหรือสิ่งพมิพตอเน่ือง 1. เปนเอกสารที่มเีนื้อหาหลายสวน และแตละสวนม ีURL แตกตางกนั ใหระบุ URL ทีเ่ปนhome page ของเอกสารนัน้ Greater New Milford (Ct) Area Healthy Community 2000, Task Force on Teen and Adolescent Issues. (n.d.). Who has time for a family meal? You do! Retrieved October 5, 2000, from http://www.familymealtime.org หมายเหต ุกรณไีมมปีพมิพ ใหใช n.d. ซึ่งหมายถงึ no date หรือไมปรากฏปพมิพ

2. เปนเอกสารที่ไดจากเว็บไซตของโครงการ สาขาวิชาหรือภาควิชาในมหาวิทยาลัย หรือ หนวยงานรัฐบาล ซึ่งเปนเว็บไซตที่มีขนาดใหญและซับซอน ใหระบุชื่อมหาวิทยาลัย หรือหนวยงานรัฐบาล และหนวยงานยอยที่เปนเจาของเอกสารกอนระบุ URL หรือเว็บไซต Chou, L., McClintock, R., Moretti, F., & Nix, D. H. (1993). Technology and education: New wine in new bottles: Choosing pasts and imagining educational futures. Retrieved August 24, 2000, from Columbia University, Institute for Learning Technologies Web site: http://www.ilt.columbia.edu/publications/papers/newwine1.html 3. เปนบทหนึ่งหรือสวนหนึ่งในเอกสาร ลงรายการคลายบทความในหนังสือ Benton Foundation. (1998, July 7). Barriers to closing the gap. In Losing ground bit by bit: Low-income communities in the information age (chap. 2). Retrieved August 18,

2001, from http://www.benton.org/Library/Low-Income/two.html

76

หมายเหต ุในสวนที่ตองใสเลขหนา ใหระบุบทที ่(chap.) หรืออ่ืน ๆ ทีท่ําใหทราบตาํแหนงของขอมลูในเอกสารทีน่ํามาอางอิง เนื่องจากขอมลูอิเล็กทรอนิกสไมมเีลขหนาใหใชอางอิงไดถูกตองแนนอนเหมอืนขอมูลที่จัดพิมพเปนเลม 11.3 รายงานการวิจัยและรายงานทางวิชาการ 1. ลงรายการเชนเดียวกับการลงรายการอางอิงรายงานการวิจัยและรายงานทางวิชาการ ตามดวยวันที่สืบคนขอมลู และ URL หรือเว็บไซตที่ไดขอมลูมา Canarie, Inc. (1997, September 27). Towards a Canadian health IWAY: ision, opportunities and future steps. Retrieved November 8, 2000, from http://www.canarie.ca/press/publications/pdf/health/healthvision.doc 2. ถาเปนงานของมหาวิทยาลัย แตสืบคนไดจาก URL หรือเว็บไซตขององคกรเอกชน ใหระบุชื่อองคกรนัน้กอนชื่อ URL หรือเว็บไซต ดงัรูปแบบและตวัอยางตอไปนี ้University of California, San Francisco, Institute for Health and Aging. (1996, November). Chronic care in America: A 21st century challenge. Retrieved September 9, 2000, from the Robert Wood Johnson Foundation Web site: http://www.rwjf.org/ library/chracare

3. กรณีขอมูลที่ไดเปนบทคดัยอ ไมใชเนื้อหาฉบบัเต็ม (full text) ใหใชขอความ สืบคน บทคัดยอเมื่อวันท่ี….. แทนขอความ สืบคนเมื่อวันท่ี….. สําหรับงานภาษาไทย และใหใชขอความ Abstract retrieved….. แทนคําวา Retrieved….. สําหรับงานภาษาตางประเทศ Kruschke, J. K., & Bradley, A. L. (1995). Extensions to the delta rule of associative learning (Indiana University Cognitive Science Research Report No. 14). Abstract retrieved October 21, 2000, from http://www.indiana.edu/~kruschke/deltarule_ abstract.html 11.4 เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (proceedings of meetings and symposia) 1. ลงรายการเชนเดียวกับการลงรายการอางอิงเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (proceedings) รวมถึงเอกสาร (paper) ที่นําเสนอในการประชุม ตามดวยวันที่สืบคนขอมูล และ URL หรือเว็บไซตที่ไดขอมลูมา

77

Braaksma, B., McLean, C., & Tittenberger, P. (2006, August 20). Tools for information literacy. Paper presented at the Woorld Library and Information Congress: 72nd IFLA General Conference and Council, Seoul, Korea. Retrieved November 12, 2007, from http://www.ifla.org/IV/ifla72/paper/072-Braaksma_McLean_ Tittenberger-en.pdf

2. สําหรับเอกสารทีน่ําเสนอในที่ประชุม ซึ่งสามารถสืบคนบทคัดยอไดจากเว็บไซตของหนวยงาน ใหใชขอความ สบืคนบทคัดยอเมื่อวันท่ี….. แทนขอความ สืบคนเมื่อวันท่ี….. สําหรับงานภาษาไทย และใหใชขอความ Abstract retrieved….. แทนคําวา Retrieved….. สําหรับงานภาษาตางประเทศ ดังตัวอยางตอไปนี ้ประภาส ชางเหล็ก, วิจารณ วิชชกุุล, เอ็จ สโรบล, สุเมธ ทบัเงนิ, สุดประสงค สุวรรณเลิศ, และ ปรีชา เพช็รประไพ. (2550). ผลของยปิซัม่ ปุยมลูไก และปุยเคม ีทีม่ตีอผลผลิตหัวสดและปริมาณ แปงของมนัสําปะหลังพนัธุหวยบง 60 และพนัธุระยอง 72 ทีป่ลูกในชวงปลายฤดูฝน. ใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, การประชมุทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คร้ังที ่ 45: สาขาพืช (น. 46-54). กรุงเทพฯ: ผูแตง. สืบคนบทคัดยอเมื่อวันที่ 12 พฤศจกิายน 2550, จาก http://kucon.lib.ku.ac.th/kucon/index.htm Cutler, L. D., Frolich, B., & Hanrahan, P. (1997, January 16). Two-handed direct manipulation on the responsive workbench. Paper presented at the 1997 Symposium on Interactive 3D Graphics. Abstract retrieved June 12, 2000, from http://www.graphics .stanford.edu/papers/twohanded 3. เอกสารที่นําเสนอในการประชุมแบบออนไลน ใหลงรายการเชนเดียวกับการลงรายการอางอิงเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (proceedings) รวมถึงเอกสาร (paper) ที่นําเสนอในการประชุม ตามดวยวันที่สืบคนขอมูล และ URL หรือเว็บไซตที่ไดขอมูลมา แตไมมีสถานที่ประชุม Tan, G., & Lewandowsky, S. (1996). A comparison of operator trust in humans versus machines. Paper presented at the CybErg 96 virtual conference. Retrieved May 16, 2000, from http://www.curtin.edu.au/conference/cyberg/centre/outline.cgi/

frame?dir=tan

11.5 การสื่อสารกับบุคคลจํานวนมาก การติดตอส่ือสารกับบุคคลจํานวนมาก โดยการใชรูปแบบตาง ๆ ไดแก Newsgroup กลุมขาว, Online forum การแสดงความคิดเห็นหรืออภิปรายทางออนไลน, Discussion group

78

กลุมแลกเปล่ียนความรูความคดิเห็นในเร่ืองใดเร่ืองหนึง่ และ Electronic mailing list การติดตอ ส่ือสารไปยังผูใชจํานวนมากโดยทางอีเมล โปรแกรมซึ่งเปนที่รูจกัและนิยมใชกันคือ LISTSERV การติดตอดังกลาวสามารถลงในรายการอางอิงได แตเนื้อหาจะตองเปนวิชาการ และสามารถสืบคนได ถาไมสามารถทําได ใหลงในลักษณะของการส่ือสารระหวางบุคคล ซึ่งจะมเีฉพาะการอางอิงแทรกในเนื้อหาเทานัน้ Newsgroup Chalmers, D. (2000, November 17). Seeing with sound [Msg 1]. Message posted to news://sci.psychology.consciousness Discussion group Simons, D. J. (2000, July 14). New resources for visual cognition [Msg 31]. Message posted to http://groups.yahoo.com/group/visualcognition/message/31 Electronic mailing list Hammond, T. (2000, November 20). YAHC: Handle Parameters, DOI Genres, etc.

Message posted to Ref-Links electronic mailing list, archived at http://www.doi .org/mail-archive/ref-link/msg00088.html

12. สื่ออิเลก็ทรอนิกสอ่ืน ๆ แบงออกเปนประเภทตาง ๆ ไดดังนี ้ 12.1 ฐานขอมูลออนไลน แบงออกเปน 2 ประเภท ดงันี ้ 12.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร 12.3 แฟมขอมูล 12.1 ฐานขอมูลออนไลน 1. ใหลงรายการอางอิงตามประเภทของขอมูลนั้น ๆ เชน หนังสือ บทความในวารสาร บทความในหนังสือพิมพ วิทยานิพนธ เปนตน ตามดวยวันที่สืบคนขอมูล และฐานขอมูลที่สืบคน ดังรูปแบบและตัวอยางตอไปนี้ ติดชิพจดหมายกนัสงผิด. (12 ตุลาคม 2550). คม ชดั ลึก, น. 10. สืบคนเมื่อวันที ่22 ตุลาคม 2550, จากฐานขอมูล Matichon e-Library.

79

มารตี ถิรธนกุล. (2548). ความตองการ การใชประโยชน และความพึงพอใจรายการวิทยุกระจายเสียง [Need, uses and gratifications regarding radio programs for elderly]. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะวารสารศาสตรและส่ือสารมวลชน. สืบคนเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2550, จากฐานขอมูลจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส. Borman, W. C., Hanson, M. A., Oppler, S. H., Pulakos, E. D., & White, L. A. (1993). Role of early supervisory experience in supervisor performance. Journal of Applied Psychology, 78, 443-449. Retrieved October 23, 2000, from PsycARTICLES database. Willingness to communicate in a second language. (2003, June). Journal of Language & Social Psychology, 22(2), 190-209. Retrieved August 12, 2006, from Communication & Mass Media Complete database. 2. กรณสืีบคนบทคดัยอ ใหใชขอความ สบืคนบทคัดยอเมือ่วันท่ี ดังรูปแบบและตัวอยางตอไปนี ้สุรพงษ ดาราม. (2549). ผลกระทบของน้ําสลัดจจากโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จที่มตีอคอนกรีตผสม สารผสมเพิม่ [Effects of sludge water from ready mixed concrete plant on concrete containing admixtures]. วิทยานพินธปริญญามหาบณัฑติ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะวิศวกรรมศาสตร. สืบคนบทคดัยอเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2550, จากฐานขอมูล เอกสารอิเล็กทรอนิกส. Corfee-Morlot, J., Maslin, M., & Burgess, J. (2007, November). Global warming in the public sphere. Philosophical Transactions: Mathematical, Physical & Engineering Sciences, 365, 2741-2776. Abstract retrieved October 22, 2007, from Academic Search Complete database. Fournier, M., de Ridder, D., & Bensing, J. (1999). Optimism and adaptation to multiple sclerosis: What does optimism mean? Journal of Behavioral Medicine, 22, 303-326. Abstract retrieved October 23, 2000, from PsycINFO database. 12.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร รูปแบบ ชื่อผูรับผิดชอบหลัก./(ปที่จดัทํา)./ชื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร/[ประเภทของส่ือ]./สถานที่ผลิต:/ชื่อ ผูผลิตหรือผูเผยแพร.

80

การลงผูรับผิดชอบหลกั ใชหลักการเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนงัสือ การลงปท่ีจดัทํา ใหลงปที่สรางโปรแกรมคอมพวิเตอรเสร็จ การลงชื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร

1. ใหใสชื่อโปรแกรมคอมพวิเตอรในลักษณะเดยีวกับการลงชือ่เร่ืองของหนังสือ 2. ใหใชตัวพมิพปกติ ไมใชตัวเอน

การลงประเภทของสื่อ ใหใสประเภทของส่ือในเคร่ืองหมายวงเล็บเหล่ียมตอทายชื่อโปรแกรม โดยเวนวรรค 1 ระยะ และไมตองมเีคร่ืองหมายใด ๆ คัน่ ตวัอยางเชน [แฟมคอมพิวเตอร], [โปรแกรมคอมพวิเตอร], [โปรแกรมคอมพวิเตอรและคูมือ] สําหรับงานภาษาไทย และใหใชคําวา [Computer file], [Computer software], [Computer software and manual] เปนตน สําหรับงานภาษาตางประเทศ การลงสถานท่ีผลิต ใหใสสถานที่ผลิตโปรแกรมคอมพวิเตอรในลักษณะเดยีวกบัการลงสถานที่พมิพหนงัสือ การลงชื่อผูผลิตหรือเผยแพร ใหใสชื่อผูผลิตหรือเผยแพร ซึ่งสวนใหญเปนชื่อองคกรหรือหนวยงานที่จัดทําโปรแกรมคอมพิวเตอรในลักษณะเดียวกับการลงสํานักพิมพของหนังสือ หมายเหตุ ถาโปรแกรมคอมพิวเตอร หรือโปรแกรมคอมพิวเตอรและคูมือ ไดจากการสืบคนผานเครือขายอินเทอรเน็ต ใหระบุวันเดือนปที่สืบคน ตามดวย URL หรือเว็บไซตตอจากชื่อผูผลิตหรือเผยแพร ในลักษณะเดียวกับการลงแหลงขอมูลบนอินเทอรเน็ต กรณีไมปรากฏชื่อสถานที่ผลิต และชื่อผูผลิตหรือผูเผยแพร ใหลงตอจากประเภทของส่ือ ตัวอยาง Miller, M. E. (1993). The Interactive Tester (Version 4.0) [Computer software]. Westminster, CA: Psytek Services. Schwarzer, R. (1989). Statistics software for meta-analysis [Computer software and manual]. Retrieved March 23, 2001, from http://www.yorku.ca/faculty/ academic/schwarze/meta_e.htm 12.3 แฟมขอมูล รูปแบบ ชื่อผูรับผิดชอบหลัก./(ปที่จดัทํา)./ชื่อแฟมขอมูล/[ประเภทของส่ือ]./สถานที่ผลิต:/ชื่อผูผลิตหรือ

ผูเผยแพร.

81

การลงผูรับผิดชอบหลกั ใชหลักการเดียวกับการลงชื่อผูแตงหนงัสือ การลงปท่ีจดัทํา ใหลงปที่สรางแฟมขอมลูเสร็จ การลงชื่อแฟมขอมลู ใหใสชื่อแฟมขอมลูในลักษณะเดยีวกับการลงชื่อเร่ืองของหนังสือ การลงประเภทของสื่อ ใหใสประเภทของส่ือในเคร่ืองหมายวงเล็บเหล่ียมตอทายชื่อโปรแกรม โดยเวนวรรค 1 ระยะ และไมตองมีเคร่ืองหมายใด ๆ คั่น ตัวอยางเชน [แฟมขอมูล] สําหรับงานภาษาไทย และใหใชคําวา [Data file] สําหรับงานภาษาตางประเทศ การลงสถานท่ีผลิต ใหใสสถานที่ผลิตแฟมขอมลูในลักษณะเดยีวกบัการลงสถานที่พมิพหนงัสือ การลงชื่อผูผลิตหรือผูเผยแพร ใหใสชื่อผูผลิตหรือผูเผยแพร ซึ่งสวนใหญเปนชื่อองคกรหรือหนวยงานที่จัดทําแฟมขอมูลในลักษณะเดียวกับการลงสํานักพิมพของหนังสือ Department of Health and Human Services, National Center for Health Statistics. (1991).

National Health Provider Inventory: Home health agencies and hospices, 1991 [Data file]. Available from National Technical Information Service Web site, http://www.ntis.gov National Health Interview Survey—Current health topics: 1991—Longitudinal study of aging (Version 4) [Data file]. Hyattsville, MD: National Center for Health Statistics. หมายเหต ุถาแฟมขอมลูไดจากการสืบคนผานเครือขายอินเทอรเน็ต ใหระบคุําวา สบืคนจาก สําหรับงานภาษาไทย และ Available from สําหรับงานภาษาตางประเทศ หนา URL หรือเว็บไซต โดยไมตองระบวัุนเดือนปที่สืบคน การใชคําวา สบืคนจาก หรือ Available from เพื่อแสดงวา URL หรือเว็บไซตนีบ้อกวิธทีีจ่ะไดขอมลูมา ไมใชไดขอมลูมาโดยตรง

การเรียงลาํดบัรายการอางอิง

สําหรับวิทยานิพนธซึ่งมีรายการอางอิงเปนจํานวนมาก ใหแยกประเภทของขอมูลที่นํามาอางอิง เชน หนังสือ วารสารและหนังสือพิมพ วิทยานิพนธ ขอมูลอิเล็กทรอนิกส เปนตน และแตละ

82

ประเภทใหแยกตามภาษา โดยเร่ิมดวยภาษาไทย ตามดวยภาษาตางประเทศ กรณีที่รายการอางอิงมีไมมาก ไมตองแยกประเภทของขอมูลที่นํามาอางอิง ใหแยกตามภาษา โดยเร่ิมดวยภาษาไทย และตามดวยภาษาตางประเทศ การเรียงลําดับรายการอางอิง มหีลักการเรียงดงัตอไปนี ้

1. เรียงทีละตัวอักษรของคํา บุญรอด โมราเรือง บุนนาค พยัคฆเดช Brown, J. R. Browning, J. R.

2. คํานําหนาชื่อ เชน M’, Mc, Mac ใหเรียงตามรูปที่ปรากฏ โดยไมตองสนใจเคร่ืองหมาย ‘ (apostrophe)

MacArthur MacNeil McAlister M’Carthy

3. ชื่อสกุลผูแตงที่มีคํานําหนานาม (article) และคําบุพบท เชน de, la, du, von เปนตน ใหเรียงตามกฎของภาษานัน้ ถาคํานําหนา (prefix) นัน้เปนสวนหนึ่งของชื่อสกลุ ใหเรียงตามลําดับอักษรของคํานําหนาดงักลาว ถาไมใชใหถอืเสมอืนเปนชื่อกลาง และไมนาํมานบัในการเรียงลําดบัอักษรตามชื่อสกุลของผูแตง

DeBase De Vries Helmholtz, H. L. F. von หมายเหต ุ สามารถตรวจสอบคํานําหนา (prefix) วาเปนสวนหนึ่งของชื่อสกลุหรือไม

จาก Merriam-Webster’s Collegiate Dictionary ในสวนที่เปนภาคชีวประวัต ิ4. การเรียงรายการอางอิงที่มตีัวเลข ซึ่งไมใชปพมิพ ใหเรียงตามการออกเสียงตัวเลขนัน้

80 วันรอบโลก 5 วันอันตราย 1,001 days

5. การเรียงงานหลายเร่ืองที่มีชื่อผูแตงคนแรกเหมือนกัน 5.1 กรณทีี่มผูีแตงคนเดียว ใหเรียงตามปพมิพจากปเกาไปหาปปจจบุัน ชาญวิทย เกษตรศิริ (2549)

83

ชาญวิทย เกษตรศิริ (2550) Hewlett, L. S. (1996) Hewlett, L. S. (1999)

5.2 กรณทีี่มทีั้งผูแตงคนเดียวและหลายคน ใหเรียงงานที่มผูีแตงคนเดียวกอนผูแตง หลายคน

รังสรรค ธนะพรพันธ (2550) รังสรรค ธนะพรพันธ, และ ศุภณัฏฐ ศศิวุฒิวัฒน (2550)

Alleyne, R. L. (2001) Alleyne, R. L., & Evans, A. J. (1999)

5.3 งานที่มีผูแตงหลายคน โดยผูแตงคนแรกเหมือนกัน ใหเรียงตามลําดับอักษรของผูแตงคนที่ 2 ถายังซ้ํากันอีก ใหเรียงตามลําดับอักษรของผูแตงคนที่ 3 หรือคนถัด ๆ ไปที่ไมซ้ํากัน

นรนิติ เศรษฐบุตร, สมคิด เลิศไพฑูรย, และ สังศิต ไสววรรณ (2546) นรนิติ เศรษฐบุตร, สมคิด เลิศไพฑูรย, และ สายทิพย สุคติพันธ (2541) สมคิด เลิศไพฑูรย, และ นครินทร เมฆไตรรัตน (2548) สมคิด เลิศไพฑูรย, พินัย ณ นคร, และ มุนินทร พงศาปาน (2549) Gosling, J. R., Jerald, K., & Belfar, S. F. (2000) Gosling, J. R., & Tevlin, D. F. (1996) Hayward, D., Firsching, A., & Brown, J. (1999) Hayward, d., Firsching, A., & Smigel, J. (1999) 5.4 งานที่มีผูแตงหลายคน และผูแตงซ้ํากันทุกเร่ือง ใหเรียงตามปพิมพจากปเกาไปหา

ปปจจุบัน ชาญวิทย เกษตรศิริ, และ ธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต (2543) ชาญวิทย เกษตรศิริ, และ ธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต (2544) Cobading, J. R., & Wright, K. (2000) Cobading, J. R., & Wright, K. (2001) 5.5 งานที่มีผูแตงเหมือนกัน ไมวาจะเปนผูแตงคนเดียวหรือหลายคน และปพิมพซ้ํา

กัน ใหเรียงตามลําดับอักษรของชื่อเร่ือง ถาชื่อเร่ืองข้ึนตนดวยคํานําหนานาม (article) ใหเรียงตามคําถัดไป ในสวนของปพิมพถาเปนงานภาษาไทย ใหใสตัวอักษร ก, ข, ค, … ตอทายปพิมพและอยูในวงเล็บเดียวกัน โดยไมตองเวนวรรคหรือมีเคร่ืองหมายใด ๆ ตามลําดับอักษรของชื่อเร่ือง ถาเปนงานภาษาตางประเทศ ใหใสตัวอักษร a, b, c, … แทนตัวอักษร ก, ข, ค, …

84

อเนก นาวิกมูล. (2547ก). บางกอกกับหัวเมือง อเนก นาวิกมูล. (2547ข). ประเพณีวิถีไทย Baheti, J. R. (2001a). Control… Baheti, J. R. (2001b). Roles of…

6. การเรียงงานภาษาตางประเทศหลายเร่ืองที่ผูแตงตางกนั แตชื่อสกลุซ้ํากนั ใหเรียงตามอักษรยอของชื่อตน ถายังซ้ํากนัอีก ใหเรียงตามอักษรยอของชื่อกลาง ทั้งนีใ้นการอางอิงแบบแทรกไปในเนื้อหา ใหใสอักษรยอชื่อตนและชื่อกลางทกุคร้ังที่มกีารอางถึง

Mathur, A. L. (1999) Mathur, A. L., & Wallston, J. (1999) (ในการอางอิงแบบแทรกไปในเนื้อหาใหลง (A. L. Mathur & Wallston, 1999) Mathur, S. E. (1998) Mathur, S. E., & Ahlers, R. J. (1998) (ในการอางอิงแบบแทรกไปในเนื้อหาใหลง (S. E. Mathur & Ahlers, 1998)

7. การเรียงงานที่ผูแตงเปนนิติบุคคล เชน สถาบัน สมาคม หรือหนวยราชการ เปนตน ใหเรียงตามลําดับอักษรชื่อเต็มของผูแตง สําหรับงานที่เปนภาษาตางประเทศถาชื่อผูแตงข้ึนตนดวยคํานําหนานาม (article) ใหเรียงตามคําถัดไป การลงรายการอางอิงผูแตงที่เปนนติิบคุคลจะไมใชชือ่ยอ กรณีชื่อนิติบุคคลของงาน 1 เร่ืองมีทั้งหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหลงชื่อหนวยงานใหญกอนหนวยงานยอย โดยมีเคร่ืองหมายจุลภาค (,) ตามดวยเวนวรรค 1 ระยะคั่น กรณีหนวยงานใหญซ้ํากัน ใหเรียงตามหนวยงานยอย

กระทรวงพลังงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะศิลปศาสตร, ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะศิลปศาสตร, ภาควิชาภาษาไทย University of Michigan, Department of Astronomy University of Michigan, Department of Psychology University of Michigan, School of Information

8. การเรียงงานที่ไมมีผูแตง 8.1 งานที่ไมมีผูแตง ชื่อเร่ืองจะถูกนํามาไวแทนที่ชื่อผูแตง ใหเรียงรายการอางอิง

ตามลําดับอักษรของชื่อเร่ือง สําหรับงานภาษาตางประเทศที่ชื่อเร่ืองข้ึนตนดวยคํานําหนานาม (article) ใหเรียงตามคําถัดไป

85

ประยงค เนตยารักษ ปญญาชนขบถ น้ําผ้ึงหยดเดียว: บทสัมภาษณ ส.ศิวรักษ กรณีทอกาซพมา

ละเมิดสิทธิมนุษยชนไทย American Public Health Association, International Health Program

The art of leadership A history of world pottery India and South Asia

8.2 สําหรับงานภาษาตางประเทศที่ไมมีผูแตง แตมีคําวา Anonymous ระบุอยูในงานแทน ใหถือเสมือนคํานี้เปนชื่อผูแตง และเรียงงานตามลําดับอักษรของคําวา Anonymous

การใชคํายอ

คํายอที่ใชในการลงรายการอางอิงภาษาตางประเทศ ไดแก คํายอ คําเต็ม chap. chapter ed. Edition Rev. ed. Revised edition (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง Rev. และ ed.) 2nd ed. Second edition (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง 2nd และ ed.) Ed., Eds. Editor, Editors Trans. Translator, translators n.p. no place n.d. no date p., pp. page, pages

Vol. Volume เชน Vol. 4 (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง Vol. และ 4)

vols. volumes เชน 4 vols. (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง 4 และ vols.)

No. Number Pt. Part

86

คํายอ คําเต็ม Tech. Rep. Technical Report (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง Tech. และ Rep.) Suppl. Supplement

para. paragraph ถาเปนงานภาษาไทยใหใชคําตอไปนี ้ บทที ่ แกไขเพิ่มเติม พิมพคร้ังที ่2 (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง พมิพคร้ังที ่และ 2)

บรรณาธิการ ผูแปล ม.ป.ป. หมายถึง ไมปรากฏปพิมพ ม.ป.ท. หมายถึง ไมปรากฏสถานที่พิมพ น. 5 หมายถึง หนา 5 (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง น. และ 5)

ล. 4 หมายถึง เลมที ่4 (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง ล. และ 4) 4 ล. หมายถึง 4 เลม (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง 4 และ ล.) ฉ. 5 หมายถงึ ฉบบัที่ 5 (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง ฉ. และ 5)

ต. 3 หมายถึง ตอนที่ 3 (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง ต. และ 3) รายงานวิชาการ

ฉบับเพิ่มเติม ยอหนาที ่2 (เวนวรรค 1 ระยะระหวาง ยอหนาที ่และ 2)

87

คํายอชื่อรัฐในสหรัฐอเมริกากรณีใชประกอบกบัชื่อเมืองหรือสถานท่ีพิมพเพื่อใหชดัเจนขึ้นวาอยูท่ีใด

คําเต็ม คํายอ คําเต็ม คํายอ Alabama AL Missouri MO Alaska AK Montana MT American Samoa AS Nebraska NE Arizona AZ Nevada NV Arkansas AR New Hampshire NH California CA New Jersey NJ Canal Zone CZ New Mexico NM Colorado CO New York NY Connecticut CT North Carolina NC Delaware DE North Dakota ND District of Columbia DC Ohio OH Florida FL Oklahoma OK Georgia GA Oregon OR Guam GU Pennsylvania PA Hawaii HI Puerto Rico PR Idaho ID Rhode Island RI Illinois IL South Carolina SC Indiana IN South Dakota SD Iowa IA Tennessee TN Kansas KS Texas TX Kentucky Ky Utah UT Louisiana LA Vermont VT Maine ME Virginia VA Maryland MD Virgin Islands VI Massachusetts MA Washington WA Michigan MI West Virginia WV Minnesota MN Wisconsin WI Mississipi MS Wyoming WY

88

การเวนระยะในการใชเคร่ืองหมายวรรคตอน

1. เวน 1 ระยะหลังเคร่ืองหมายตอไปนี ้ เคร่ืองหมายมหัพภาค (.) เคร่ืองหมายจุลภาค (,) เคร่ืองหมายอัฒภาค (;) เคร่ืองหมายทวิภาค (:) เคร่ืองหมายปรัศนี (?) เคร่ืองหมายอัศเจรีย (!)

ยกเวน เคร่ืองหมายมหัพภาค (.) หลังคํายอตอไปนี้ ไมตองเวนระยะใด ๆ ม.ป.ป. หมายถึง ไมปรากฏปพิมพ ม.ป.ท. หมายถึง ไมปรากฏสถานที่พิมพ n.p. หมายถึง no place n.d. หมายถึง no date

2. เวน 1 ระยะหนาและหลังเคร่ืองหมายตอไปนี ้ เคร่ืองหมาย ampersand (&) เคร่ืองหมายวงเล็บ ( ) เคร่ืองหมายวงเล็บเหล่ียม [ ] เคร่ืองหมายอัญประกาศ “ “ เคร่ืองหมายอัญประกาศเดี่ยว ‘ ‘ ตัวอยาง Deci,/E./L.,/&/Ryan,/R./M./(1991)./A motivational approach to self:/Integration in

personality./In R. /Dienstbier/(Ed.),/Nebraska Symposium on Motivation/Vol./38./ ol. 38. Perspectives on motivation/(pp./237-288)./Lincoln:/University of Nebraska Press.

Employee Benefit Research Institute./(1992,/February)./Sources of health insurance and characteristics of the uninsured/(Issue Brief No./123)./Washington,/DC:/Author.

Greater New Milford/(Ct)/Area Healthy community 2000,/Task Force on Teen and Adolescent Issues./(n.d.)./Who has time for a family meal?/You do!/Retrieved October 5,/2000,/from http://www.familymealtime.org

89

Lichstein,/K./L.,/Johnson,/R./S.,/Womack,/T./D.,/Dean,/J./E.,/&/Childers,/C./K./(1990,/June)./ Relaxation therapy for polypharmacy use in elderly insomniacs and noninsomniacs./In T./L./Rosenthal/(Chair),/Reducing medication in geriatric populations./Symposium conducted at the meeting of the First International Congress of Behavioral Medicine,/Uppsala,/Sweden.

Shuker,/R.,/Openshaw,/R.,/&/oler,/J./(Eds.)./(1990)./Youth,/media,/and moral panic in New Zealand:/From hooligans to video nasties/(Delta Research Monograph No./11)./Palmerston North,/New Zealand:/Massey University,/Department of Education.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

ตัวอยางการพิมพวิทยานิพนธ ในภาคผนวก ก นี้ จะแสดงใหเหน็การพิมพหนาสาํคัญ ๆ ของวิทยานิพนธ ประกอบดวยตวัอยางหนาตาง ๆ ดังนี ้ ตัวอยางที่ 1 ปกนอกภาษาไทย ตัวอยางที่ 2 ปกในภาษาไทย ตัวอยางที่ 3 ปกในภาษาอังกฤษ ตัวอยางที่ 4 สันปกวิทยานิพนธ ตัวอยางที่ 5 หนาอนุมัติ ตัวอยางที่ 6 หนาบทคัดยอภาษาไทยในเลมวทิยานพินธ ตัวอยางที่ 7 หนาบทคัดยอภาษาองักฤษในเลมวิทยานิพนธ ตัวอยางที่ 8 หนากติตกิรรมประกาศ ตัวอยางที่ 9 หนาสารบัญในกรณทีีว่ทิยานิพนธไมแบงเปนภาคหรอืตอน ตัวอยางที่ 10 หนาสารบัญในกรณทีีว่ทิยานิพนธแบงเปนภาคหรอืตอน ตัวอยางที่ 11 หนาสารบัญตารางที่มีจาํนวนตารางมาก ตัวอยางที่ 12 หนาสารบัญตารางที่มีจาํนวนตารางนอย ตัวอยางที่ 13 หนาสารบัญภาพประกอบที่มีจํานวนภาพมาก ตัวอยางที่ 14 หนาสารบัญภาพประกอบที่มีจํานวนภาพนอย ตัวอยางที่ 15 ประวัตกิารศึกษา ตัวอยางที่ 16 การเวนขอบของกระดาษในการพิมพวิทยานพินธ ตัวอยางที่ 17 หนาบอกภาคผนวก ตัวอยางที่ 18 หนาบอกภาคหรอืตอน ตัวอยางที่ 19 การพิมพหนาแรกของบท และการพิมพหัวขอ ตัวอยางที่ 20 การพิมพอญัประภาษส้ัน ๆ ตัวอยางที่ 21 การพิมพอญัประภาษทีย่าวเกนิ 3 บรรทัด ตัวอยางที่ 22 การพิมพอญัประภาษที่เปนบทรอยกรอง

91

ตัวอยางที่ 23 การพิมพตารางซึ่งอยูในหนาเดยีวกับเนือ้เรือ่ง ตัวอยางที่ 24 การพิมพตารางที่แยกอยูในอกีหนาหนึ่งตางหาก ตัวอยางที่ 25 หนาแรกของภาคผนวก ตัวอยางที่ 26 การลงเชงิอรรถเสริมความ

92

93

(ตวัอยางที่ 1 ปกนอกภาษาไทย)

กระบวนการเขาสูการเปนครอบครัวแมคนเดียว

โดย

นางสาวมาลี จิรวัฒนานนท

วิทยานิพนธน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตร สังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาสังคมสงเคราะหทางการศึกษา ภาควิชาสังคมสงเคราะหศาสตร คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

พ.ศ. 2545

ตัวอักษร ขนาด 20 ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด

1 ½ นิ้ว

เวน 1 บรรทัด

ตัวอักษร ขนาด 18 ตัวหนา

ตัวอักษร ขนาด 18 ตัวหนา

1 นิ้ว

(ตัวอยางที่ 2 ปกในภาษาไทย)

94

กระบวนการเขาสูการเปนครอบครัวแมคนเดียว

โดย

นางสาวมาลี จิรวัฒนานนท

วิทยานิพนธน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตร สังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาสังคมสงเคราะหทางการศึกษา ภาควิชาสังคมสงเคราะหศาสตร คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

พ.ศ. 2545

ตัวอักษร ขนาด 20 ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด ขนาด 18 ตัวหนา

ขนาด 18 ตัวหนา ท้ังหมด

เวน 2 บรรทัด

1 นิ้ว

(ตัวอยางที่ 3 ปกในภาษาอังกฤษ)

95

The Process of Becoming a Single-Mother Family

By

Miss Malee Jirawattananon

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Social Work in Education

Department of Social Work Faculty of Social Administration

Thammasat University 2002

เวน 2 บรรทัด

ตัวอักษร ขนาด 20 ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด ขนาด 18 ตัวหนา

1 นิ้ว

ขนาด 18 ตัวหนา ท้ังหมด

(ตัวอยางที่ 4 สันปกวิทยานิพนธ)

96

สันปกภาษาไทย สันปกภาษาอังกฤษ

(ตัวอยางที่ 5 หนาอนุมัต)ิ

97

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะสังคมสงเคราะหศาสตร

วิทยานิพนธ

ของ

นางสาวมาลี จิรวัฒนานนท

เร่ือง

กระบวนการเขาสูการเปนครอบครัวแมคนเดยีว

ไดรับการตรวจสอบและอนุมัติ ใหเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

สังคมสงเคราะหศาสตรมหาบณัฑติ

เมื่อ วันที ่ 19 เมษายน พ.ศ. 2545 ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ ( ) กรรมการและอาจารยทีป่รึกษาวิทยานิพนธ ( ) กรรมการสอบวิทยานิพนธ ( ) กรรมการสอบวิทยานิพนธ ( ) คณบด ี ( )

วันที่สงมอบวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ ซ่ึงเย็บเลมเรียบรอยแลวใหคณะ

(ตัวอยางที่ 6 หนาบทคัดยอภาษาไทยในเลมวิทยานิพนธ)

98

บทคัดยอ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..

(ตัวอยางที่ 7 หนาบทคัดยอภาษาอังกฤษในเลมวิทยานิพนธ)

Abstract ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..

99

(ตัวอยางที่ 8 หนากิตติกรรมประกาศ)

100

กิตติกรรมประกาศ การปรับปรุงหนังสือคูมือการพิมพวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จเรียบรอยไดดวยความรวมมืออยางดียิ่งจากสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่อนุญาตให นางสาวพูลสุข ปริวัตรวรวุฒิ บรรณารักษชํานาญการ 8 ประจําสํานักหอสมุด มาใหคําปรึกษา รวมทั้งสํานักทะเบียนและประมวลผลที่อนุญาต ใหนายเกษม สีดากูด และนางวิมล สุทธิกุล มาเปนกรรมการในการปรับปรุงแกไขหนังสือคร้ังนี้ใหสําเร็จลุลวงไปดวยความเรียบรอย สํานักงานบัณฑิตศึกษา จึงขอแสดงความขอบคุณไว ณ ที่นี ้ สํานกังานบณัฑติศกึษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2549

(ตัวอยางที่ 9 หนาสารบัญในกรณทีี่วิทยานพินธไมแบงเปนภาคหรือตอน)

101

สารบญั

หนา บทคัดยอ ................................................................................................................... (.) กิตติกรรมประกาศ ...................................................................................................... (.) สารบัญตาราง ............................................................................................................ (.) สารบัญภาพประกอบ .................................................................................................. (.) บทที ่ 1. บทนํา .............................................................................................................. . ความสําคัญของปญหา ................................................................................ . วัตถุประสงคและขอบเขตของการวิจัย ........................................................... . 2. ........................................................................................................................ ..

3. ..................................................................................................................... . .. 4. ........................................................................................................................ .. 5. สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ .................................................................... .. บรรณานุกรม ............................................................................................................. .. ภาคผนวก .................................................................................................................. .. ประวัติการศึกษา ........................................................................................................ ..

(ตัวอยางที่ 10 หนาสารบัญในกรณทีี่วิทยานพินธแบงเปนภาคหรือตอน)

สารบญั

หนา บทคัดยอ ................................................................................................................... (1) สารบัญตาราง ............................................................................................................ (5) บทนํา ........................................................................................................................ 1

ภาค 1. บุคคลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับหม ู บทที ่ 1. ประเภทบคุคลทีเ่กีย่วของ .................................................................................. 11 ผูเล้ียง ......................................................................................................... 11 ผูคา ............................................................................................................ 17 ผูบริโภค ...................................................................................................... 21 2. ......................................................................................................................... 25 3. ......................................................................................................................... 25

ภาค 2. อุปทานและอุปสงคหม ู 4. อุปทานผูเล้ียงหม ู............................................................................................. 40 5. อุปทานผูฆาและพอคาหมชูําแหละขายสง .......................................................... 49 6. ความตองการซื้อในตลาดตาง ๆ ........................................................................ 59

102

(ตัวอยางที่ 10 หนาสารบัญในกรณทีี่วิทยานพินธแบงเปนภาคหรือตอน)

ภาค 3. ราคาและตลาด 7. ราคาขายสง ..................................................................................................... 40 8. ราคาขายปลีก .................................................................................................. 71 9. สรุปวิจารณและขอเสนอแนะ ............................................................................. 95 บรรณานุกรม ............................................................................................................. 109 ภาคผนวก ก. …………………………………………………………………………….. ........... 102 ข. …………………………………………………………………………….. ............ 105 ประวัติการศึกษา ........................................................................................................ 115

103

(ตัวอยางที่ 11 หนาสารบัญตารางที่มีจํานวนตารางมาก)

104

สารบญัตาราง ตารางที่ หนา 1.1 ลักษณะการจางงาน ....................................................................................... 31 1.2 แรงงานหญิงในกิจการกอสรางจําแนกตามหมวดอาย ุ....................................... 33 2.1 ระดับการศึกษาของแรงงานกอสรางหญิง ......................................................... 38 2.2 ภูมลํิาเนาเดิมของแรงงานหญงิจําแนกตามภาคตาง ๆ ในประเทศไทย ................ 41

(ตัวอยางที่ 12 หนาสารบัญตารางที่มีจํานวนตารางนอย)

สารบญัตาราง ตารางที่ หนา 1. ลักษณะการจางงาน ......................................................................................... 31 2. แรงงานหญิงในกิจการกอสรางจําแนกตามหมวดอาย.ุ......................................... 33 3. ระดับการศึกษาของแรงงานกอสรางหญิง ........................................................... 38 4. ภูมลํิาเนาเดมิของแรงงานหญิงจําแนกตามภาคตาง ๆ ในประเทศไทย .................. 41

105

(ตัวอยางที่ 13 หนาสารบัญภาพประกอบที่มีจํานวนภาพมาก)

สารบญัภาพประกอบ ภาพที ่ หนา 1. ........................................................................................................................ 2 2. ........................................................................................................................ 43

106

(ตัวอยางที่ 14 หนาสารบัญภาพประกอบที่มีจํานวนภาพนอย)

สารบญัภาพประกอบ ภาพที ่ หนา 1.1 .......................................................................................................................... 2 1.2 .......................................................................................................................... 43

107

(ตัวอยางที่ 15 ประวัติการศึกษา)

ประวัตกิารศกึษา ชื่อ ……………………………………………………………….….. วันเดือนปเกดิ …………………………………………………………………... วุฒิการศึกษา …………………………………………………………………... (ตั้งแตระดับปริญญาตรี) …………………………………………………………………... ตําแหนง …………………………………………………………………... ทนุการศกึษา (ถาม)ี …………………………………………………………………... …………………………………………………………………... ผลงานทางวิชาการ …………………………………………………………………... …………………………………………………………………... ประสบการณทาํงาน …………………………………………………………………... …………………………………………………………………...

108

(ตัวอยางที่ 16 การเวนขอบของกระดาษในการพิมพวิทยานิพนธ)

1 1/2 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1 1/2 นิ้ว

(ตัวอยางที่ 17 หนาบอกภาคผนวก)

ภาคผนวก

(ตัวอยางที่ 18 หนาบอกภาคหรือตอน)

ภาคที ่ 3 ราคาและตลาด

111

(ตัวอยางที่ 19 การพิมพหนาแรกของบทและการพิมพหวัขอ)

บทท่ี 2

หลักสูตรใหมและหลักสูตรปรับปรุงใหมตามเกณฑของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..

หลกัการและวธิกีารในการวางหลกัสูตร

………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. 1. หลกัการและวิธกีารกําหนดความมุงหมาย

………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. 1.1 ความมุงหมายกับความตองการของสังคม 1. หลักการและวัตถปุระสงค ……………………………………………………….…………………………… …………………………………………………………………………….…………………………. 1.1 วิธีการนําเสนอ 1.1.1 ผลที่ไดจากการนําเสนอ……………………….........…………….... ……………………………………………………………………………………………………….. 1.1.1.1 สรุปปญหา…………………………………………….…… ……………………………………………………………………………………………………….. 1.1.1.2 ขอเสนอแนะ………………………………..…………….... ……………………………………………………………………………………………………….

(ตัวอยางที่ 20 การพิมพอัญประภาษส้ัน ๆ) ครอบครัวเปนหนวยสังคมที่มีความสัมพันธใกลชิดกับเด็กมากที่สุด โดยเปนผูใหกําเนิดเด็กข้ึนมา และใหการอบรมเล้ียงดูตั้งแตอยูในวัยทารก ไมสามารถชวยตัวเองไดจนกระทั่งเจริญเติบโตเปนผูใหญเต็มที่ ดังที่มีนักวิชาการอธิบายความสําคัญของครอบครัวไววา “ระบบครอบครัวเปนสถาบันแหงสังคมสถาบันหนึ่งที่ เกาแกที่สุด และเปนรากฐานของระบบสังคมทั้งหลาย . . . ครอบครัวเปนแหงแรกที่ทําใหเด็กมีพัฒนาการในทางสังคมกรณ (Socialization) และสรางบุคลิกภาพแหงความเปนมนุษยข้ึนมา” (อุทัย หิรัญโต, 2519, น. 267) ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..

113

(ตัวอยางที่ 21 การพิมพอัญประภาษทีย่าวเกนิ 3 บรรทัด)

ในการเปล่ียนแปลงกําหนดระยะเวลาและความยดืหยุนในการใชสิทธยิกเวนภาษีเงนิไดบุคคลนี…้…………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………….. ตามขอเท็จจริงนัน้ โครงการที่ขอรับการสงเสริมมีความจําเปนที่ตองการความชวยเหลือ จากรัฐในดานภาษีอากรไมเทากนั การกําหนดใหไดรับสิทธแิละประโยชนในดานภาษีอากร เทากนัหมดทุกราย จะมผีลเสียทั้งสองดาน คือ ผูไดรับการสงเสริมอาจไดรับสิทธแิละ ประโยชนจากรัฐมากเกนิกวาที่จะเปนและควรไดรับ ปจจุบันรัฐไดปรับปรุงระบบการเสียภาษีของบุคคลธรรมดา โดยผูมรีายไดต่ํากวา 10,000 บาท จะยกเวนการเสียภาษี และผูที่อุปการะเลี้ยงดูบิดา - มารดา สามารถนํามา ยกเวนการเสียภาษีไดดวย (สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน, 2515, น.17) ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..

114

(ตัวอยางที่ 22 การพิมพอัญประภาษทีเ่ปนบทรอยกรอง)

ทรงภพอุปถัมภก ทรงยอยกเปนยอดยิ่ง เผาไทยไดพักพิง จึงผองแผวจากภัยพาล รมผากาสาวพัตร เฉกรมฉัตรรุงเรืองฉาน เปนถิ่นแหงศีลทาน ทกุหยอมยานจงึรมเยน็ ดินแดนแหงกาสาว คือสมญาโลกยอมเห็น ศีลธรรมที่บําเพญ็ ชวยดับเข็ญทุกคราวครัน บัวบุญจงึเบงบาน อยูกลางธารหทัยธรรม รอยยิ้มยอมยืนยัน ถึงน้ําใจและไมตรี (ทองยอย แสงสินชัย, 2539, น. 499-500)

115

(ตัวอยางที่ 23 การพิมพตารางซึ่งอยูในหนาเดยีวกับเนื้อเร่ือง)

ตารางที่ 1.1

ตนทนุคาแรงของผูใหบริการทาฟลูออไรดวารนชิ

รายการคาแรง เฉล่ีย ตอเดือน 13,478.25 ตอวัน 616.64 ตอชั่วโมง 87.52 ตอนาท ี 1.45 ตอการทาฟลูออไรด 1 คร้ัง (ใชเวลารวม 6.5 นาท)ี 9.48 ที่มา: “ตนทนุทางตรงของการทาฟลูออไรดวารนชิในเด็กปฐมวัย,” โดย อมราภรณ สุพรรณวิวัฒน, สุภาวดี พรหมมา, และ ศรีสุดา ลีละศิธร, 2550, วิทยาสารทันตสาธารณสุข, 12(2), น. 64. ตนทุนการดําเนินการตอหนวยในการทาฟลูออไรดวารนิชเพื่อการปองกันฟนผุสําหรับเด็กอายุ 0-3 ป ที่ไดจากการศึกษาคร้ังนีค้ิดเปนทนุวัสดุ 35-49 บาท ตนทนุคาแรง 9.48 บาท รวมเปนตนทนุดําเนินการ 44.97 บาท ตนทุนที่ไดจากการศึกษาคร้ังนี้ สามารถนําไปใชเปนขอมูลในการจัดทําแผนงบประมาณในการจดับริการสําหรับการปองกันฟนผุในเด็ก 0-3 ป ในคลินกิเด็กดีของสถานริการสาธารณสุข หรือนาํไปปรับใชในการจัดบริการตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ไดตอไป…………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..

116

TABLE 2 BOM RELATED DATA AND JOB SCHEDULE

Year Total Lead Time

(days) Release Time Due Time Work Center

A 2 15 17 Non-bottleneck work center B 3 13 16 Bottleneck work center C 1 14 15 Non-bottleneck work center D 3 10 13 Non-bottleneck work center E 1 12 13 Non-bottleneck work center F 1 12 14 Bottleneck work center G 1 13 14 Non-bottleneck work center X 5 7 12 Non-bottleneck work center Y 5 7 12 Non-bottleneck work center Z 5 8 13 Non-bottleneck work center W 5 8 13 Non-bottleneck work center

Source: “A New Approach for a Finite Capacity Material Requirement Planning System,” by Teeradej Wuttipornpun and Pisal Yenrudee, 2007, Thammasat Int. J. Sc. Tech., 12(20, p. 28.

(ตวัอยางที่ 24 การพิมพตารางทีแ่ยกอยูในอีกหนาหนึง่ตางหาก)

(ตัวอยางที่ 25 หนาแรกของภาคผนวก)

ภาคผนวก ก

แบบขอทราบความคิดเห็นเกี่ยวกับเงินทดแทน ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………..

118

(ตัวอยางที่ 26 การลงเชิงอรรถเสริมความ) ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 1Buy – and – Hold Investment หมายถึง การซื้อขายหลักทรัพยที่ราคาตลาดเทาหรือต่ํากวามูลคาที่แทจริงที่คาดคะเนไว และถือหลักทรัพยนั้นไวรอใหราคาสูงข้ึนในอนาคต ซึ่งเปนการลงทุนระยะยาวและไดรับผลตอบแทนในรูปเงินปนผล 2Charles H. Dow ผูสรางทฤษฎี Dow และเปนผูกอตั้งบริษัท Dow Jones Company

และเปนผูเผยแพรทฤษฎีในหนังสือพิมพ The Wall Street Journal 3Bar Charts เปนแผนภูมิที่แสดงการเคล่ือนไหวของราคาหุนในลักษณะเปนแทง โดยแสดงราคาสูงสุด ต่ําสุด และราคาปดเปนรายวัน รายสัปดาห รายเดือน แลวแตกรณี

119

ภาคผนวก ข

รูปแบบและตัวอยางของการลงเชิงอรรถของหนังสือ บทความประเภทตาง ๆ และบทวิจารณหนงัสือในวิทยานพินธของคณะนิติศาสตร

ในกรณทีีเ่ปนวิทยานพินธของคณะนติศิาสตร การลงเชิงอรรถของหนังสือ, บทความ

ประเภทตาง ๆ และบทวิจารณหนงัสือ ใหดูรูปแบบและตัวอยางดังนี ้ หนังสือ รูปแบบ ผูแตง, ชื่อเร่ือง, ชื่อชุดและลําดบัที่ (ถาม)ี, คร้ังทีพ่มิพ (กรณีพิมพมากกวา 1 คร้ัง), จํานวนเลม (กรณีมีหลายเลมจบ) (สถานทีพ่ิมพ: สํานักพมิพหรือโรงพิมพ, ปพิมพ), เลมที ่(ถาม ีหลายเลม):หนาหรือจํานวนหนาที่อางถึง. ตัวอยาง จิตติ ติงศภัทิย, คําอธิบายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย วาดวยบุคคล, พิมพคร้ังที ่5 (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2526), น. 63-66. ตัวอยาง Herbert S. Gershman, The Surrealist Revolution in France (Ann Arbor: University of Michigan Press, 1969), p. 47. Bernard C. Raffer, Richard Friedman, and Robert Baron, New York in Crisis (New York: Harper and Row, 1971), pp. 93-97. Jacquetta Hawkes, ed., The World of the Past (New York: Alfred A. Knopf, 1963), p. 171. หนังสือแปล รูปแบบ ผูแตง, ชื่อเร่ือง, แปลโดย ผูแปล, ชื่อชดุและลําดับที่ (ถาม)ี, คร้ังที่พิมพ (ในกรณีพิมพ มากกวา 1 คร้ัง), จํานวนเลม (กรณีหลายเลมจบ) (สถานที่พิมพ: สํานกัพมิพหรือโรงพิมพ, ปพิมพ), เลมที ่(ถามีหลายเลมจบ):หนาหรือจํานวนหนาที่อางถึง. ตัวอยาง แอลแลน เนวินส และ เฮนร่ีสติล คอมแมเจอร, ประวัติศาสตรสังเขปสหรัฐอเมริกา, แปลโดย ไพฑรูย พงศะบตุร และ วิลาสวงศ นพรัตน, พิมพคร้ังที่ 3, 3 เลม (กรุงเทพมหานคร: แพรวิทยา, 2519), เลม 2:น. 53.

120

ตัวอยาง Marc Ferro, The Russian Revolution of February 1917, trans. J. L. Richards (Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall, 1972), p. 144. วิทยานิพนธ รูปแบบ ชื่อผูเขียนวิทยานพินธ, “ชื่อวิทยานิพนธ,” (ระดับของวิทยานิพนธ ชื่อแผนกวิชาหรือ คณะ มหาวิทยาลัย, ปพิมพ), หนาที่อางถึง. ตัวอยาง สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล, “ความรับผิดทางอาญาของนิตบิุคคล: การศึกษาทาง กฎหมายเปรียบเทียบโดยเฉพาะทีเ่กีย่วกบัประเทศไทย,” (วิทยานพินธมหาบณัฑติ คณะนติศิาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2527), น. 130-133. ตัวอยาง R.C. Samson, “The Influence of Economic Deprivation on Academic Achievement,” (Ph.D. dissertation, New York University, 1973), p. 27. บทความในวารสารทางกฎหมาย รูปแบบ ชื่อตัวของผูเขียน ชื่อสกุลของผูเขียน, “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร หนาแรกของ บทความ, เลมที,่ ปที่(ถาม)ีของวารสาร, หนาในบทความโดยเฉพาะที่ตองการอาง (ปพิมพ). ตัวอยาง หยุด แสงอุทัย, “การไดทรัพยสิทธใินสังหาริมทรัพย,” วารสารนิติศาสตร, เลม 10, ปที ่15, น. 21, 23 (ตุลาคม 2485). ตัวอยาง Robert Brogdon, “Religious Freedom and School Holidays,” Phi delta Kappan 58, p. 700 (May 1977). บทความจากหนังสือรวบรวมบทความ รูปแบบ ชื่อตัวของผูเขียน ชื่อสกุลของผูเขียน, “ชื่อบทความ,” ใน ชื่อเร่ือง, รวบรวมโดยผูรวบรวม, ชื่อชุด, (ถาม)ี คร้ังทีพ่มิพ, (กรณีที่พิมพมากกวา 1 คร้ัง) จาํนวนเลม (กรณมีหีลายเลมจบ) (สถานที ่พิมพ: สํานักพิมพหรือโรงพิมพ, ปพมิพ), เลมที:่(กรณีมีหลายเลมจบ) หนาหรือจํานวนหนาที่อางถึง.

121

ตัวอยาง สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล, “ขอสังเกตบางประการเกีย่วกบัการคุมครองสิทธขิองจําเลย ตามกฎหมายรัฐธรรมนญูและกฎหมายวิธพีจิารณาความอาญาของไทย,” ใน หนงัสือรวมบทความ ทางวิชาการเพื่อเปนอนุสรณแด ศาสตราจารยไพโรจน ชัยนาม, จัดพิมพโดยคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (กรุงเทพมหานคร: สํานักพมิพวิญชูน, 2538), น. 454-455. ตัวอยาง Bruce F. Johnson and Peter Kilby, ”Interrelations Between Agricultural and Industrial Growth,” In Agricultural Policy in Developing Countries, ed. Nural Islam (New York: Wiley, 1974), p. 45. บทความในวารสารท่ัวไป รูปแบบ ชื่อตัวของผูเขียน ชื่อสกุลของผูเขียน, “ชื่อบทความ,” เลมที่ของวารสาร ชื่อวารสาร หนาแรกของบทความ, หนาในบทความโดยเฉพาะที่ตองการอาง (ถาม)ี (เดือน ปพิมพ). ตัวอยาง เข็มชัย ชุติวงศ, “รายงานการไปศึกษาดูงาน ฝกอบรม ประชุมและสัมมนา ณ ตางประเทศ เร่ืองอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ผลกระทบตอสังคมและมาตรการปองกันที่ไดผล,” เลมที ่49 อัยการนิเทศ น. 391-392 (2530). ตัวอยาง Douglas Lewis, “Some Problems of Perception,” 37 Philosophy of Science 102, 105 (March 1970). บทความในหนังสือพิมพ รูปแบบ ชื่อตัวของผูเขียน ชื่อสกุลของผูเขียน, “ชื่อบทความ,” ชื่อหนังสือพิมพ (วัน เดือน ป): หนา. ตัวอยาง ประเสริฐ โลหะวณิชย, “รายงาน, ลิเบยีขูเลิกสงออกน้ํามนัโตมาตรการแซงชั่น ตะวันตก,” มติชน (5 เมษายน 2535):น. 4. ตัวอยาง Caroline Baron, “Southern Africa: Trade Feeds on Growth,” Business Week (14 February 1997):pp. 66-67.

122

บทความในสารานุกรม รูปแบบ ชื่อตัวของผูเขียน ชื่อสกุลของผูเขียน, “ชื่อบทความ,” ชื่อสารานุกรม หนาแรกของ บทความ, เลมที่ของสารานกุรม, หนาในบทความโดยเฉพาะที่ตองการอาง (ถาม)ี (ปพิมพ), ตัวอยาง วิกรม เมาลานนท, “ทอดตลาด,” สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลมที ่13, น. 8453-8460 (2516-17). ตัวอยาง Richard Smith, “Color and Light,” Encyclopedia Britannica, 1978 ed. 250 (1998). บทวิจารณหนังสือ รูปแบบ ชื่อตัวของผูเขียนบทวิจารณ ชื่อสกลุของผูเขียนบทวิจารณ, วิจารณเร่ือง ชื่อหนังสือที ่วิจารณ, โดยผูแตงหนังสือที่วิจารณ, เลมที่ของวารสาร ชื่อวารสาร หนาแรกของบทวิจารณ, หนาในบทวิจารณโดยเฉพาะทีต่องการอาง (ถาม)ี (เดือน ปพิมพ). ตัวอยาง ชํานาญ นาคประสบ, วิจารณเร่ือง ลายสือสยาม, โดย สุลักษณ ศิวรักษ, 5 สังคมศาสตรปริทัศน น. 139-141 (มิถุนายน-สิงหาคม 2510). ตัวอยาง Alan James, Review of The United Nations in a Changing World, by Leland M. Goodrich, 51 International Affairs pp. 554-555 (October 1975). สัมภาษณ รูปแบบ สัมภาษณ ชื่อผูใหสัมภาษณ, ตําแหนง (ถาม)ี, สถานที่, วัน เดือน ป. ตัวอยาง สัมภาษณ ศุภชัย พศิิษฐวานชิ, อธิบดีกรมศุลกากร, ทําเนียบรัฐบาล, 5 มิถุนายน 2538. ตัวอยาง Interview with Richard Katz, Director, N.B.C. Television, New York, 13 August 1971.

123

การอางอิงเชงิอรรถ 1. Ibid = เพิง่อาง ใชในกรณไีมมเีชิงอรรถอ่ืนมาคัน่ 2. supra note = อางแลว เชิงอรรถท่ี ...ใชในกรณีการอางอิง ใหใชตัวเอน ที่มมีากอนและมเีชงิอรรถมาคัน่ หรือขีดเสนใต 3. infra note = อางไว เชิงอรรถที่...ใชในกรณกีารอางอิง ที่จะมใีนภายหลัง

เชน 14G.P. Fletcher, “Rethinking Criminal Law,” (Boston: Little, Brown and Co., 1978) p. 590. 15Ibid. p. 363, see also G. Williams, Infra note 18, p. 360, และดู เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์, อางไว เชิงอรรถที่ 20 น. 450. 16G.P. Fletcher, Ibid. p. 590. 17Ibid. p. 600. 18G. Williams, “Textbook of Criminal Law,” (London, Stevens & Sons, 1983) p. 378. 19G.P. Fletcher, supra note 14, p. 600. 20เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ,์ คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1, พิมพคร้ังที ่4 (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2538) น. 45. 21เพิ่งอาง, น. 62 และดู บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, อางไว เชิงอรรถที ่24, น. 18. 22เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ,์ เพิง่อาง น. 100. 23เพิ่งอาง, น. 102. 24บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, กฎหมายมหาชน, (กรุงเทพมหานคร: สํานกัพมิพนติธิรรม, 2536) น. 18. 25เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ,์ อางแลว เชิงอรรถที ่20 น. 115, see also G. Williams, supra note 18, p. 400. 4. การอางคําพพิากษาฎีกา ใหใสเลขที่ พรอมทั้งตัวยอของผูที่จัดทํา เชน คําพิพากษาฎีกาที่ 5616/2539 (เนติ.) น. 1296 หมายถึง คําพิพากษาฎีกาที่จัดพิมพ โดยเนติบัณฑิตยสภา หนา 1296 คําพิพากษาฎีกาที ่4323/2538 (สงเสริม.) น. 12 หมายถึง คําพิพากษาฎีกาที่จัดพิมพโดยสํานักงานสงเสริมงานตุลาการ หนา 12

124

คําพพิากษาฎีกาที่ 2860/2516 (มธ.) น. 1308 หมายถงึ คําพพิากษาฎีกาที่จดัพมิพ โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา 1308 ถาเปนคําพิพากษาที่ไมไดตีพิมพ ใหแสดงวามาจากตําราเลมใด หากเอามาจากสําเนา คําพิพากษาโดยตรงก็ใหยอไวในภาคผนวกของวิทยานิพนธเพื่อใชอางอิงตอไป

125

ภาคผนวก ค

รูปแบบและตัวอยางของการทําบรรณานกุรมเปนภาษาอังกฤษ ของบทความประเภทตาง ๆ และบทวิจารณหนงัสือ ในวิทยานพินธของคณะนติศิาสตร

ในกรณทีี่เปนวิทยานิพนธของคณะนิติศาสตร การทําบรรณานุกรมเปนภาษาอังกฤษ ของบทความประเภทตาง ๆ และบทวิจารณหนงัสือใหดูรูปแบบและตัวอยางดังนี ้ บทความในวารสารทางกฎหมาย รูปแบบ ชื่อสกุลของผูเขียน, ชื่อตัวของผูเขียน. ชื่อบทความ. เลมทีข่องวารสาร ชื่อวารสาร หนาแรกของ บทความ (ปพิมพ). ตัวอยาง Oaks, Dallin H. Studying the Exclusionary Rule in Search and Seizure. 37 U. Chicago L. Rev. 665 (1970). บทความจากหนังสือรวบรวมบทความ รูปแบบ ชื่อสกุลของผูเขียน, ชื่อตัวของผูเขียน. ชื่อบทความ. ใน ชือ่เร่ือง, หนา. ชื่อบรรณาธิการหรือ ผูรวบรวม. สถานที่พิมพ: สํานักพิมพ, ปพิมพ. ตัวอยาง Johnson, Bruce F., and Kilby, Peter. Interrelations Between Agricultural and Industrial Growth. In Agricultural Policy in Developing Countries, pp. 41-57. Edited by Nural Islam. New York: Wiley, 1974. บทความในวารสารท่ัว ๆ ไป รูปแบบ ชื่อสกุลผูเขียน, ชื่อตัวผูเขียน. ชื่อบทความ. เลมที่ของวารสาร ชื่อวารสาร หนาแรกของบทความ (เดือน ปพมิพ). ตัวอยาง Lewis, Douglas. Some Problems of Perception. 37 Philosophy of Science 102 (March 1970).

126

บทความในหนังสือพิมพ รูปแบบ ชื่อสกุลผูเขียน, ชื่อตัวผูเขียน. ชื่อบทความ. ชื่อหนงัสือพมิพ (วัน เดือน ป):หนา. ตัวอยาง Lean, Geoffrey. Asian Nations Continue to Neglect Their Growing Urban Problems. Asian Wall Street Journal (6 April 1978):4. บทความในสารานุกรม รูปแบบ ชื่อสกุลของผูเขียน, ชื่อตัวผูเขียน. ชื่อบทความ. เลมที่ของสารานุกรม ชื่อสารานุกรม หนาแรกของ บทความ (ปพิมพ). ตัวอยาง Lemert, Ewin M. Social Problems. 14 International Encyclopedia of the Social Sciences 452 (1968). บทวิจารณหนงัสือ รูปแบบ ชื่อสกลุของผูเขียนบทวิจารณ, ชื่อตัวของผูเขียนบทวิจารณ. วิจารณเร่ือง ชื่อหนงัสือที่วิจารณ, โดยผูแตงหนังสือที่วิจารณ. เลมที่ของวารสาร ชื่อวารสาร หนาแรกของบทวิจารณ (เดือน ปพมิพ). ตัวอยาง James, Alan. Review of The United Nations in a Changing World, by Leland M. Goodrich. 51 International Affairs 554 (October 1975).

127

ภาคผนวก ง

รูปแบบและตัวอยางการอางอิงในวิทยานิพนธ ของคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ในกรณทีี่เปนวิทยานิพนธของคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถใชรูปแบบ การอางอิงแบบวงเล็บ และรูปแบบบรรณานุกรมที่แตกตางจากคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย ดังนี ้

รูปแบบการอางอิงแบบวงเล็บแทรกในเนื้อหา

ใชใกลเคียงกับรูปแบบของวารสาร American Ethnologist และปรับปรุงบางสวนเพื่อใชกับภาษาไทย วิธีการระบุชื่อผูแตงใหเปนไปตามคูมือการพิมพวิทยานิพนธ แตการพิมพป และ เลขหนา ใชเคร่ืองหมายตางออกไป ดังนี้ (1) รูปแบบการอางอิงโดยทั่วไป (ยศ สันตสมบตัิ 2534:15) (Phillips 1987:11) (2) ในกรณีที่อางหลายหนา (ยศ สันตสมบตัิ 2534:20-25) (3) การอางอิงงานเกนิหนึ่งชิน้ ในวงเล็บเดียวกัน ใชเคร่ืองหมาย ; แยกแตละชิ้น (ยศ สันตสมบตัิ 2534:15 ; เสมอชัย พูลสุวรรณ 2539:30) (4) ในกรณทีี่ไมไดอางจากงานของผูเขียนโดยตรง แตอางจากงานของผูอ่ืน (ชยันต วรรธนะภูต,ิ อางถึงใน ยศ สันตสมบตัิ 2530:290) รายละเอียดนอกจากนี้ โปรดติดตอสอบถามไดที่โครงการบณัฑติศึกษา คณะสังคมวิทยาฯ

รูปแบบการพิมพบรรณานุกรม

รูปแบบที่ใชนีป้รับมาจากที่ใชในวารสาร American Ethnologist ดังนี ้ ตวัอยางภาษาไทย กาญจนา แกวเทพ 2527 จิตสํานึกของชาวนา : ทฤษฎีและแนวการวิเคราะหแบบเศรษฐศาสตรการเมือง. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย.

128

กุหลาบ สายประดษิฐ 2519 ปรัชญาของลัทธิมารกซิสม. (จัดพิมพคร้ังที ่3). กรุงเทพฯ: ชมรมหนังสือบัวแดง.

สิริลักษณ ศักดิ์เกรียงไกร 2524 “ตนกาํเนดิของชนชั้นนายทนุในประเทศไทย (พ.ศ. 2398-2453),” ใน จาก เศรษฐศาสตรการเมืองถึงสังคมไทย. กนกศักดิ์ แกวเทพ และ สมเกยีรต ิ วันทะนะ, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพวลี. ตัวอยางภาษาอังกฤษ

Anderson, Benedict 1983 Imagined Communities : Reflections on the Origin and Spread of Nationalism. New York: Verso. Benjamin, Walter 1969 Illuminations. H. Arendt, ed. New York: Schocken Books.

Silverstein, Michael 1979 “Language Structure and Linguistic Ideology,” in The Elements : A Parasession on Linguistic Units and Levels. P. Clyne, W. Hanks, and C. Hofbauer, eds. pp. 193-247. Chicago: Chicago Linguistic Society. รายละเอียดนอกจากนี้ โปรดตดิตอสอบถามไดที่โครงการบณัฑติศึกษา คณะสังคมวิทยาฯ

129

ภาคผนวก จ

รูปแบบและตัวอยางการทําบรรณานกุรมและเชงิอรรถเปนภาษาฝร่ังเศส ของสาขาวิชาฝร่ังเศสศึกษา

รูปแบบและตัวอยางของการทําบรรณานุกรมเปนภาษาฝร่ังเศสในวิทยานพินธของนกัศึกษา โครงการปริญญาโท สาขาวิชาฝร่ังเศสศกึษา 1. หนังสือ

1.1 ในกรณทีี่มีผูแตงคนเดียว มีรูปแบบดังนี ้

ชื่อสกุลของผูเขียน (ชื่อตัวของผูเขียน), ชื่อหนังสือ. เมืองที่ตั้งของสํานักพิมพ, ชื่อสํานักพิมพ, ปที่พมิพ.

ตัวอยาง : MARTINET (André), Langue et fonction. Paris, Denoël, 1970.

1.2 ในกรณีที่มีผูแตงสองคน ใหใชตามตัวอยางตอไปนี ้

ตัวอยาง : DUBOIS (Jean) et Roger LAGANE, La Nouvelle Grammaire du français. Paris, Larousse, 1973.

1.3 ในกรณทีี่มผูีแตงมากกวาสองคน ใหใชตามตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง : CHEVALIER (Jean-Claude), Claire BLANCHE-BENVÉNISTE, Michel ARRIVÉ et Jean PEYTARD, Grammaire Larousse du français contemporain. Paris, Larousse, 1964.

1.4 ในกรณทีีเ่ปนหนงัสือซึง่จัดพมิพโดยบรรณาธกิาร ใหใชตามตัวอยางตอไปนี ้

ตัวอยาง : NIOBEY (sous la direction de Georges), Nouveau Dictionnaire analogique. Paris, Larousse, 1980.

130

1.5 ในกรณทีี่เปนพจนานกุรมหรือสารานุกรม ใหใชตามตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง : Grand Dictionnaire encyclopédique Larousse. Paris, Larousse, 1982-85, 10 vol. 1.6 ในกรณทีี่ชื่อหนงัสือม ีsubtitle ใหใชตามตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง : MAHMOUDIAN (sous la direction de M.), Pour enseigner le français. Essai de grammaire fonctionnelle. Paris, P.U.F., 1976.

1.7 ในกรณทีีเ่ปนหนงัสือแปล ใหใชตามตัวอยางตอไปนี ้

ตัวอยาง : JAKOBSON (Roman), Essai de linguistique générale, trad. de Nicolas Ruwet. Paris, Editions de Minuit, 1963-73, 2 vol.

1.8 ในกรณทีี่มกีารระบจุํานวนคร้ังที่พมิพ ใหใชตามตัวอยางตอไปนี ้

ตัวอยาง : BALLY (Charles), Linguistique générale et linguistique française. 3e éd., Berne, Francke, 1950.

1.9 ในกรณทีี่มกีารระบจุํานวนเลมและปที่พมิพแตละเลมของชดุหนงัสือ ใหใชตาม ตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง : Grand Dictionnaire encyclopédique Larousse. Paris, Larousse, 1982-85, 10 vol.

2. วิทยานิพนธ

มีรูปแบบดังนี ้ ชื่อสกุลของผูเขียน (ชื่อตัวของผูเขียน), ชื่อวิทยานิพนธ, วิทยานพินธระดับใด. ชื่อมหาวิทยาลัย, ปที่พมิพ.

131

ตัวอยาง : LEENUTAPONG (Siriporn), La Création romanesque en Thailande, thèse pour le doctorat de troisiéme cycle. Université de PARIS VII, 1982.

3. บทความ

มีรูปแบบดังนี ้ ชื่อสกุลของผูเขียน (ชื่อตัวของผูเขียน), <<ชื่อบทความ>>, ใน : ชื่อวารสาร. เลมที,่ สํานักพิมพ, ปทีพ่มิพ, หนา.

ตัวอยาง : LOMBARD (Denis), « De la signification du film silar », in : Archipel. Nº 5, SECMI, 1973, pp. 213-229. รูปแบบและตัวอยางของการลงเชิงอรรถเปนภาษาฝร่ังเศสในวิทยานพินธของนกัศกึษาโครงการ ปริญญาโท สาขาวิชาฝร่ังเศสศึกษา

1. เมื่อลงเชิงอรรถอางถึงหนังสือเลมใดเปนคร้ังแรก มีรูปแบบดังนี ้

ชื่อสกุลของผูเขียน (ชื่อตัวของผูเขียน), ชื่อหนงัสือ. เมืองที่พิมพ, ชื่อสํานักพิมพ, ปที่พิมพ, เลมที่ (ถาม)ี, หนา.

ตัวอยาง : JAKOBSON (Roman), Essai de linguistique générale, trad. de Nicolas Ruwet. Paris, Editions de Minuit, 1963-73, vol.1, pp. 311-317.

2. เมื่อลงเชิงอรรถอางถึงหนังสือเลมเดียวกันอีกคร้ัง โดยไมมีเชิงอรรถอ่ืนมาคั่น ใหใช ตามตัวอยางตอไปนี ้

ตัวอยาง : Ibid., vol. 2, pp. 50-83.

3. เมื่อลงเชิงอรรถอางถึงหนังสือเลมเดียวกันอีกคร้ัง หลังจากลงเชงิอรรถอางถึงหนังสือเลมอ่ืนไปแลว ใหใชตามตัวอยางตอไปนี ้

132

ตัวอยาง : JAKOBSON (Roman), op.cit., vol. 1, p. 71.

4. หากเปนการอางอิงจากเอกสารทตุิยภูม ิใหใชตามตัวอยางตอไปนี ้

ตัวอยาง : Cité par LEENUTAPONG (Siriporn), La Création Romanesque en Thailande, thèse pour le doctorat de troisième cycle. Université de PARIS VII, 1982, p. 156.

133

ภาคผนวก ฉ

ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรวาดวยวิทยานิพนธ พ.ศ. 2535

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุง แกไขระเบียบเกี่ยวกับวิทยานิพนธสําหรับการศึกษาใน ระดับบัณฑิตศึกษา อาศยัอํานาจตามความใน มาตรา 25 (1) แหงพระราชบญัญตัิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2531 อธิการบดีจึงตราระเบียบไวดังตอไปนี ้ ขอ 1 ระเบยีบนีเ้รียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยวิทยานิพนธ พ.ศ. 2535” ขอ 2 ระเบยีบนีใ้หใชบังคับแกนักศึกษาซึ่งข้ึนทะเบยีนเปนนกัศึกษาระดบับัณฑติศกึษา ทุกคณะ ตั้งแตปการศกึษา 2535 เปนตนไป ขอ 3 บรรดาระเบียบ คําส่ัง มต ิหรือประกาศอ่ืนใดในสวนที่มีกําหนดไวแลวใน ระเบยีบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกบัระเบยีบนี้ ใหใชระเบียบนีแ้ทน ขอ 4 ใหนกัศกึษาซึ่งจดทะเบยีนทําวิทยานพินธแลว จัดทําขอเสนอและเคาโครง วิทยานิพนธ จํานวน 5 ฉบับ ยื่นตอคณะที่สังกดัโดยผานความเหน็ชอบจากอาจารยทีป่รึกษา วิทยานพินธ ซึ่งคณบดีแตงตั้ง ใหคณะจัดสงขอเสนอและเคาโครงวิทยานิพนธตามวรรคแรกตอคณะกรรมการกล่ันกรองขอเสนอและเคาโครงวิทยานิพนธ ขอ 5 ในการประชมุพจิารณากล่ันกรองขอเสนอและเคาโครงวิทยานพินธใหนกัศกึษา เขาชี้แจงขอเสนอและเคาโครงวิทยานพินธตอคณะกรรมการกล่ันกรองฯ ดวย ในกรณทีี่เห็นสมควร คณะกรรมการกล่ันกรองฯ อาจใหนกัศึกษา ปรับปรุง แกไข เปล่ียนแปลงขอเสนอและเคาโครงวิทยานิพนธเสนอตอคณะกรรมการกล่ันกรองฯ เพื่อพจิารณาใหม ขอ 6 เมื่อคณะกรรมการกล่ันกรองฯ อนมุตัิขอเสนอและเคาโครงวิทยานพินธแลว ใหนกัศึกษาคนควาและเขียนวิทยานิพนธโดยปรึกษากบัอาจารยทีป่รึกษาวิทยานพินธโดยสม่ําเสมอ เปนเวลาไมนอยกวา 4 เดือน นบัจากวันที่ไดรับอนมุตัิ จึงจะมสิีทธเิสนอวิทยานพินธเพื่อการสอบ ตอคณะที่สังกัดได

134

ขอ 7 เมื่ออาจารยทีป่รึกษาวิทยานพินธเห็นวานักศึกษาพรอมที่จะเสนอวิทยานพินธ เพื่อการสอบ ใหนักศึกษาแจงความจํานงสอบ พรอมทั้งสงรางวิทยานิพนธ จํานวน 5 ฉบับ ตอ คณะที่สังกัด ขอ 8 ในกรณทีีเ่ปนภาคสุดทายที่จะหมดสภาพการเปนนกัศกึษา นกัศึกษาจะตองแจง ความจํานงสอบวิทยานพินธพรอมทั้งสงรางวิทยานิพนธ จํานวน 5 ฉบับ เพื่อการสอบลวงหนา อยางนอย 60 วัน กอนหมดสภาพการเปนนกัศึกษา หากพนกาํหนดนี้แลวคณะจะไมรับพจิารณา ขอ 9 ในกรณีที่คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธเห็นวาสมควรใหไดระดับ S (ใชได) ใหถือ วันทีน่ักศึกษาไดสงมอบวิทยานพินธฉบับสมบูรณใหแกคณะเปนวันสอบผานและใหคณะรายงาน สํานักทะเบยีนและประมวลผลเพื่อบันทกึไวในระเบียบ ขอ 10 การพิมพวิทยานิพนธใหใชรูปแบบตามหนังสือคูมือการพิมพวิทยานิพนธของ บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ขอ 11 ใหนักศึกษาสงมอบวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ จํานวน 10 ฉบับ ซึ่งเย็บเลม เรียบรอยแลว และบทคัดยออีก 3 ชุด ตอคณะ เพื่อนําสงสํานักหอสมุด คณะ และบัณฑิตวิทยาลัย ตอไป ขอ 12 นักศึกษาตองมีสถานภาพเปนนักศึกษาอยูในวันที่สงมอบวิทยานิพนธฉบับ สมบูรณ ประกาศ ณ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2535

(ลงนาม) นรนิติ เศรษฐบุตร

(นายนรนติิ เศรษฐบุตร) อธิการบดี

135

ภาคผนวก ช

ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยวิทยานิพนธ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549

136

ภาคผนวก ซ

ขอกาํหนดในการจดัทํา CD-ROM ฉบับเต็มของวิทยานิพนธ / ปริญญานพินธระดบับัณฑติศกึษา* ที่จะสงใหสํานกัหอสมดุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1. การจัดทํา CD-ROM ฉบับเต็มของวิทยานิพนธ / ปริญญานิพนธระดับบัณฑิตศึกษาให

จัดทําเนื้อหาเหมือนตัวเลมทุกประการ โดยจัดทําเปนไฟล .pdf 2. การแบงเนื้อหาและการตั้งชื่อไฟลในการบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ / ปริญญานิพนธ ให

ใชตัวสะกด การจัดเรียงลําดับ เนื้อหา และชื่อไฟลตามที่ปรากฏในตัวเลมและ / หรือในสารบาญ เปนหลัก

3. ในการพิมพชื่อไฟลใหพิมพติดกันไมตองเวนระยะ เชน 10บทที1่ 15ภาคผนวกก 16ภาคผนวกข เปนตน กรณีที่ชื่อไฟลเปนภาษาตางประเทศใหใชตัวพิมพใหญ และถาตองการเวนระยะชื่อไฟลให ใชเคร่ืองหมาย _ (underscore) ชวยใหพิมพติดกัน เชน 08CHAPTER1 08CHAPTER_ONE 08CHAPTER_I 15APPENDIX_A เปนตน

4. แตละไฟลไมใหเกิน 5 MB ( 5,120 KB) ถาเกินใหแบงยอยเปนหนา เชน 13บทที่4หนา91-178 14บทที4่หนา179-256 เปนตน

5. การสงแผนซีดีบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ / ปริญญานิพนธระดับบัณฑิตศึกษา ใหนักศึกษาบันทึกขอมูลดวยโปรแกรมที่เปนไฟล .pdf เทานั้น โดยจัดสงแผนซีดี แบบ CD-R700MB / 80 MIN ขนาดเสนผาศูนยกลาง 12 เซนติเมตร ความเร็วในการเขียนแผนไมเกิน 32X จํานวน 3 ชุด และแผนซีดีที่นําสงสํานักหอสมุด ตองดําเนินการใหเรียบรอย ดังนี้

5.1 ผานการตรวจสอบความถกูตอง และการจดัเรียงลําดับของเนื้อหาเรียบรอยแลว 5.2 ผานการตรวจสอบและกําจัดไวรัสเรียบรอยแลว 5.3 บรรจุในกลองซีดี พรอมทั้งปกซีดทีี่มขีอมลู ดังนี ้

ชื่อนักศึกษา………………………………………………………………. รหัสประจําตัว……………………………………………………………..

*ปริญญานิพนธระดับบัณฑิตศึกษา หมายถึง สารนิพนธ งานวิจัยเฉพาะกรณี งานวิจัยเฉพาะเร่ือง รายงานโครงการเฉพาะบุคคล เปนตน

137

ชื่อวิทยานิพนธ / ปริญญานิพนธ.......................................................... ชื่อปริญญา …………………………สาขาวิชา/โครงการ……………….. คณะ………………………………………………………………………. ปการศึกษาที่สําเร็จการศึกษา …………………………………………....

หมายเหต ุรายละเอียดนอกจากนี ้สามารถติดตอสอบถาม หัวหนาฝายสงวนรักษาวัสดุสารนิเทศ สํานักหอสมุด โทรศัพท 02-6133552 โทรสาร 02-6235173 อีเมล [email protected]

138

ตัวอยาง การแบงเน้ือหาและการตั้งชื่อไฟลในการบนัทึกขอมลูวิทยานิพนธ / ปริญญานิพนธระดบับัณฑิตศกึษา

ใหแบงเน้ือหาสาํหรับการบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ / ปริญญานิพนธระดบับณัฑิตศกึษา ดังน้ี:

ลาํดบัการแบงเน้ือหา

การตั้งชื่อไฟล .pdf (ตัวสะกด ลาํดบัเน้ือหาและชื่อไฟลใหใชตามท่ีปรากฏ

ในตวัเลมและ/หรือสารบาญเปนหลัก) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส

ช่ือเร่ือง 01ช่ือเร่ือง 01TITLE 01TITLE

หนาอนุมัติวิทยานิพนธ / สารนิพนธ / งานวิจัยเฉพาะเร่ือง / รายงานโครงการเฉพาะบุคคล

02หนาอนุมัติวิทยานิพนธ 02 หนาอนุมัติงานวิจัยเฉพาะเร่ือง

02APPROVAL_OF_THESIS 02APPROVAL_OF_RESEARCH_PAPER

02APPROVAL_OF_THESIS

ขอสรุป (มีเฉพาะภาษาฝร่ังเศส) - - 03RESUME

บทคัดยอ (กรณีที่มี 1 ภาษา) 03บทคัดยอ 03ABSTRACT 04ABSTRACT

บทคัดยอ (กรณีที่มี 2 ภาษา) 03บทคัดยอภาษาไทย 03THAI_ABSTRACT -

04บทคัดยอภาษาอังกฤษ 04ENGLISH_ABSTRACT -

140

ลาํดบัการแบงเน้ือหา

การตั้งชื่อไฟล .pdf (ตัวสะกด ลาํดบัเน้ือหาและชื่อไฟลใหใชตามท่ีปรากฏ

ในตวัเลมและ/หรือสารบาญเปนหลัก) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส

กิตติกรรมประกาศ 05กิตติกรรมประกาศ 05ACKNOWLEDGEMENT

05ACKNOWLEDGEMENTS

05REMERCIEMENTS

สารบาญ / สารบัญ (สะกดตามที่ปรากฏในตัวเลม) 06สารบาญ 06TABLE_OF_CONTENTS 06TABLE_DES_MATIERES

สารบาญตาราง 07สารบาญตาราง 07LIST_OF_TABLES 07TABLE_DES_ TABLEAUX

สารบาญภาพประกอบ / สารบาญภาพ/ สารบาญรูปภาพ (ใชตามที่ปรากฏในตัวเลม)

08สารบาญภาพประกอบ 08สารบาญภาพ

08สารบาญรูปภาพ

08LIST_OF_ILLUSTRATIONS

08LIST_OF_FIGURES

08TABLE_DES_ILLUSTRATIONS

141

ลาํดบัการแบงเน้ือหา การตั้งชื่อไฟล .pdf

( ตัวสะกด ลําดบัเน้ือหาและชื่อไฟลใหใชตามท่ีปรากฏในตวัเลมและ/หรือสารบาญเปนหลัก) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส

คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (ถามี) 09คําอธิบายคํายอ 09คําอธิบายสัญลักษณ

09LIST_OF_ABBREVIATIONS 09LIST_OF_SYMBOLS

09LIST_DES_ABBREVIATIONS

บทที ่1 10บทที1่ 10CHAPTER_1 10CHAPITRE_1

บทที ่2 11บทที2่ 11CHAPTER_2 11CHAPITRE_2

บทที ่3 กําหนดช่ือไฟลตามจํานวนบทที่มี เรียงตามลําดับ ถาไฟลหนึ่งเกิน 5 MB

12บทที3่ 12CHAPTER_3 12CHAPITRE_3

บทที ่4 ใหแบงยอยเปนหนา 13บทที4่หนา91-178 13CHAPTER_4PAGE91-178 13CHAPITRE_4PAGE91-178

14บทที4่หนา179-256 14CHAPTER_4PAGE179-256 14CHAPITRE_4PAGE179-256

บทที ่5 15บทที5่ 15CHAPTER_5 15CHAPITRE_5

142

ลาํดบัการแบงเน้ือหา

การตั้งชื่อไฟล .pdf ( ตัวสะกด ลาํดบัเน้ือหาและชื่อไฟลใหใชตามท่ีปรากฏในตวัเลมและ/หรือสารบาญเปนหลัก) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส

ภาคผนวก ( กรณีที่มีภาคผนวกเดียว หรือเปนหนานําภาคผนวก) 16ภาคผนวก 16APPENDIX 16ANNEXE

ภาคผนวก (กรณีที่มีภาคผนวกมากกวา 1 ภาค ใหแบงเปน ภาคผนวกก ภาคผนวกข…)

17ภาคผนวกก 18ภาคผนวกข

17APPENDIX_1 17APPENDIX_A 18APPENDIX_2 18APPENDIX_B

17ANNEXE_1 17ANNEXE_A 18ANNEXE_2 18ANNEXE_B

บรรณานุกรม หรือเอกสารอางอิง (ใชตามที่ปรากฏในตัวเลม) 19บรรณานุกรม 19BIBLIOGRAPHY 19BIBLIOGRAPHIE

19เอกสารอางอิง 19REFERENCES 19REFERENCES

143

ลาํดบัการแบงเน้ือหา

การตั้งชื่อไฟล .pdf ( ตัวสะกด ลาํดบัเน้ือหาและชื่อไฟลใหใชตามท่ีปรากฏในตวัเลมและ/หรือสารบาญเปนหลัก) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส

ประวัติผูเขียน หรือ ประวัติการศึกษา 20ประวัติผูเขียน 20BIOGRAPHY 20BIOGRAPHIE

20ประวัติการศึกษา

144

145