บทที่ พอลิเมอไรเซชัน (polymerization)

47
บบบบบ บบบบบ บบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบ (Polymerization) (Polymerization) บบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบ บบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบ บ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ

Upload: aren

Post on 11-Feb-2016

375 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

บทที่  พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization). (A) พอลิเมอไรเซชันแบบขั้น หรือ ควบแน่น (B) พอลิเมอไรเซชันแบบลูกโซ่แรดิคัล หรือ เพิ่มเข้า (C) พอลิเมอไรเซชันแบบไอออนิก (D) พอลิเมอไรเซชันแบบโคออร์ดิเนชัน. A. พอลิเมอไรเซชันแบบขั้น หรือ ควบแน่น (Step or Condensation Polymerization). - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

บทท่ี บทท่ี พอลิเมอไรเซชนั พอลิเมอไรเซชนั

(Polymerization)(Polymerization)(A) พอลิเมอไรเซชนัแบบขัน้ หรอื ควบแน่น(B) พอลิเมอไรเซชนัแบบลกูโซแ่รดิคัล หรอื เพิม่เขา้(C) พอลิเมอไรเซชนัแบบไอออนิก (D) พอลิเมอไรเซชนัแบบโคออรดิ์เนชนั

Page 2: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

A. พอลิเมอไรเซชนัแบบขัน้ หรอื ควบแน่น (Step or Condensation Polymerization)

(I) พอลิเมอไรเซชนัแบบขัน้ท่ีเป็นเสน้ตรง (Linear Step Polymerization)

เมื่อพจิารณาปฏิกิรยิาระหวา่งกรดเทเรพทาลิค และ เอธลิีนไกลคอล ซึง่ท้ังสองโมเลกลุมหีมูฟ่งัก์ชนันัล 2หมู ่ (difunctional compounds)

Page 3: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

เอสเทอรท่ี์เกิดจากปลายด้านหนึ่งของกรดคารบ์อกซลิิคทำาปฏิกิรยิากับปลายด้านหนึ่งของไฮดรอกซลิเรยีกวา่ ไดเมอร์

COOHHOOC HOCH2CH2OH

COOCH2CH2OHHOOC

+

+ H2O

Page 4: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

ไดเมอรส์ามารถเกิดปฏิกิรยิาต่อเป็นไตรเมอร ์ หรอืเตตระเมอร ์ ท่ีมหีมู่ฟงัก์ชนันัล 2 หมู ่และ เกิดปฏิกิรยิาต่อไปเรื่อย ๆ ได้พอลิเมอรน์ำ้าหนักโมเลกลุสงูท่ีมโีครงสรา้งเป็นเสน้ตรง ถ้าใชม้อนอเมอรท่ี์มหีมูฟ่งัก์ชนันัลมากกวา่ 2หมู ่ จะได้พอลิเมอรท่ี์มก่ิีงก้านสาขา เชน่ เมื่อใชก้รดเทเรพทาลิคทำาปฏิกิรยิากับกลีเซอรอล ซึง่มหีมูฟ่งัก์ชนันัล 3หมู ่ ผลิตภัณฑ์ท่ีได้จะเป็นพอลิเอสเทอรท่ี์ไมเ่ป็นเสน้ตรง

Page 5: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

พอลิคอนเดนเซชนั (Polycondensation)

ปฏิกิรยิาท่ีมโีมเลกลุขนาดเล็กถกูกำาจดัออกระหวา่งการเกิดปฏิกิรยิา เชน่ โมเลกลุของนำ้าถกูกำาจดัออกในระหวา่งการเตรยีมพอลิ

เอสเทอรแ์บบเสน้ตรง ดังสมการขา้งล่าง เมื่อ R1 และ R2 แทนด้วยไฮโดรคารบ์อน

HOOC R1 COOH HO R2 OH

H OOC R1 COO R2 OHn H2O+ (2n-1)

nn +

Page 6: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

นอกจากน้ีพอลิเอสเทอรย์งัสามารถเตรยีมจากมอนอเมอรช์นิดเดียวท่ีมฟีงัก์ชนันัล

สองหมูเ่ชน่ (- hydroxy carboxylic acids)

HO R COOH HO R COO Hn H2On (n-1)+

Page 7: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

พอลิเอไมด์สามารถเตรยีมจากปฏิกิรยิาควบแน่นระหวา่งมอนอเมอรท่ี์มหีมูฟ่งัก์ชนั

นัล 2 หมูเ่ชน่ เอมนี และ คารบ์อกซลิ

R1 NH2H2Nn HOOC R2 COOHn+

H2O(n-1)+H N R1 NHOC R2 C OHn

H O

H2N R COOH H N R C

H

OH

O

n H2O(n-1)+

Page 8: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

พอลิแอดดิชนั (Polyaddition)เป็นพอลิเมอไรเซชนัระหวา่งมอนอเมอรท่ี์มี

หมูฟ่งัก์ชนันัล 2 หมู ่ แต่ไมม่กีารขจดัโมเลกลุขนาดเล็กออกระหวา่งการเกิด

ปฏิกิรยิา เชน่ พอลิยูรเีทนท่ีเตรยีมจากปฏิกิรยิาระหวา่ง

ไดไอโซไซยาเนต และ ไดออล (diol)O C N R1 N C O HO R2 OHn+

C NH R1 NH C

O

O R2 O n

O

Page 9: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

พอลิยูเรยี เป็นปฏิกิรยิาของไดไอโซไซยาเนต กับไดเอมนี

การนำาปฏิกิรยิา - Diels Alder มาประยุกต์ใช้เพื่อเตรยีมพอลิเมอร ์เชน่

พอลิเมอไรเซชนัของไซโคล - เพนตะไดอีน ดังสมการ

+n O C N R1 N C O H2N R2 RN2n

C

O

NH R1 NH C

O

NH R2 NH n

++(n+1)

nn

Page 10: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

(II) พอลิเมอไรเซชนัแบบขัน้ท่ีไม่เป็นเสน้ตรง - (Non Linear

Step Polymerization)เป็นปฏิกิรยิาระหวา่งมอนอเมอรซ์ึง่มหีมู่

ฟงัก์ชนันัลมากกวา่ 2 หมู ่ ขัน้แรกจะได้โครงสรา้งของพอลิเมอรท่ี์มก่ิีงก้าน หลัง

จากนัน้จะมกีารเพิม่ขนาดหรอืนำ้าหนักโมเลกลุอยา่งรวดเรว็ ในท่ีสดุได้พอลิเมอร์โครงสรา้งแบบรา่งแห ซึง่มสีมบติัแตกต่างจากพอลิเมอรแ์บบเสน้ตรง ตัวอยา่ง

เชน่ ปฏิกิรยิาระหวา่งไดคารบ์อกซลิิกแอซคิ และ ไตรออล ซึง่มหีมูฟ่งัก์ชนันัล 3หมูไ่ด้พอลิเมอรโ์ครงสรา้งแบบรา่งแหดังนี้

Page 11: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

O R/ O C

OO

R C

O

O R/ O

O

C

C

O

R

O

R

C

C

O

O

O

O

RO

O

R/

O

OC

C

O

O

R

R

C

C

O

O

O

O R/ O

O

Page 12: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

พอลิเมอรโ์ครงสรา้งแบบรา่งแห (Network Polymers)

ฟอรม์าลดีไฮด์เป็นพอลิเมอรแ์บบรา่งแหชนิดแรกซึง่เตรยีมขึน้โดยพอลิเมอไรเซชนัแบบขัน้ เริม่จากเตรยีมพอลิเมอรน์ำ้าหนักโมเลกลุตำ่า หลังจากนัน้พอลิเมอรจ์ะถกูทำาให้ไหลภายใต้ความดันและความรอ้นในแมพ่มิพ ์เพื่อขึน้รูปเป็นพอลิเมอร์โครงสรา้งแบบรา่งแห

เนื่องจากฟอรม์าลดีไฮด์มหีมู่ฟงัก์ชนั 2 หมู ่ เมื่อต้องการทำาให้เกิดโครงสรา้งแบบรา่งแหจงึต้องใชส้ารต้ังต้นรว่มอ่ืน ๆ ท่ีมจีำานวน

หมูฟ่งัก์ชนันัลมากกวา่ 2 หมู ่ โดยท่ัวไปนิยมใช ้ฟนีอล ยู

เรยี และเมลามนี

Page 13: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

CH

O

H

Formaldehyde

H 2N C NH 2

O

Urea

OH

Phenol

N

N

NNH 2

NH 2

NH 2

Melamine

Page 14: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

(B) พอลิเมอไรเซชนัแบบลกูโซแ่รดิคัลหรอืเพิม่เขา้

(Radical Chain or Addition Polymerization)

การเพิม่นำ้าหนักโมเลกลุของพอลิเมอร์เกิดขึน้โดย การเพิม่มอนอเมอรเ์ขา้ท่ีปลายสายโซโ่มเลกลุท่ีมแีรดิคัลเป็น

ตำาแหน่งท่ีวอ่งไวต่อการเกิดปฏิกิรยิา มอนอเมอรท่ี์

สามารถเกิดพอลิเมอไรเซชนัประเภทนี้เป็น

ประเภทไวนิลมอนอเมอร์กลไกของพอลิเมอไรเซชนัแบง่เป็น 3 ขัน้ คือ อินนิทิเอชนั โปรปาเกชนั และเทอรม์เินชนั

Page 15: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

1) อินนิทิเอชนั เก่ียวขอ้งกับการสรา้งแรดิคัลซึง่เป็น

ตำาแหน่งท่ีวอ่งไวต่อการ เกิดปฏิกิรยิา ประกอบด้วย 2 ขัน้ คือ ขัน้แรกตัวรเิริม่ (I) แตกตัวให้แรดิคัล (R• ) และขัน้ท่ีสองแรดิคัลเขา้ทำาปฏิกิรยิา กับมอนอเมอร์

(i) การแตกตัวของตัวรเิริม่ การแตกพนัธะเด่ียวในโมเลกลุของตัว

รเิริม่ อาจเกิดขึน้โดย การให้ความรอ้นในชว่ง

- 50100 o C มกัใชกั้บตัวรเิริม่ประเภท สารประกอบเปอรอ์อกไซด์ซึง่มพีนัธะ -(

- - O O ) หรอื สารประกอบเอโซซึง่มพีนัธะ - - ( N=N )ในโครงสรา้งโมเลกลุ

Page 16: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

Hydroxyl radical

t - Butyl hydroperoxide t-Butoxy radical

Azobisisobutyronitrile 2-Cyanopropyl radicals

Benzoyl peroxide Benzoyloxy radicals

(CH3)3C O OH (CH3)3C O HO+

(CH3)2C N

CN

N C(CH3)2

CNC(CH3)2

CNN2+

C O

O

O C

O

C O

O

2

Page 17: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

การยา้ยอิเลคตรอนเด่ียวระหวา่งไอออน หรอืโมเลกลุ เชน่

การเกิดปฏิกิรยิารดีอกซ ์ มกันิยมใชเ้มื่อต้องการให้

พอลิเมอไรเซชนัเกิดท่ีอุณหภมูติำ่า ดังสมการ

C

CH3

CH3

O OH Fe2++ C

CH3

OCH3

OH+ Fe3++

O SO

OO O S O

O

OHO S O

O+ S O

OO S O

OO S O

OOH+ +

Page 18: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

(ii) แรดิคัลเขา้ทำาปฏิกิรยิากับมอนอเมอร์ ตำาแหน่งท่ีวอ่งไวต่อการเกิดปฏิกิรยิาเกิดเมื่อฟรีแรดิคัล (R) ทำาปฏิกิรยิาผ่านพนัธะไพ (¶-bond

) ของมอนอเมอร ์ซึง่กลไกการเกิดปฏิกิรยิาสามารถเกิดได้ 2 แบบ

โอกาสท่ีจะเกิดแบบ (I) เป็นไปได้มากกวา่เนื่องจากเมธลีินคารบ์อนมคีวามเกะกะน้อยกวา่ และ แรดิคัล

ใหมท่ี่เกิดขึน้มคีวามเสถียรมากกวา่

R CH2 CHX

+

R CH2 CHX

R CHX

CH2

( I )

( II )

Page 19: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

แรดิคัลท่ีเกิดขึน้ทกุตัวอาจไมไ่ด้เขา้ทำาปฏิกิรยิากับมอนอเมอร ์ อาจเกิดการสญูเสยีโดยปฏิกิรยิาขา้งเคียงดัง เชน่ ในกรณีของเบนโซอิลเปอรอ์อกไซด์

CO

O2 C O

O O

O

C+

2

C OO

OOC + C O

OC OO

+

Page 20: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

2) โปรปาเกชนั

R CH2 CHX

CH2 CHX

n R CH2 CH CH2X

CHX

เก่ียวขอ้งกับการเจรญิเติบโต หรอื การเพิม่ขนาดของสายโซโ่มเลกลุพอลิเมอรอ์ยา่งรวดเรว็ โดยมอ

นอเมอรแ์รดิคัลท่ีเกิดจากขัน้อินนิทิเอชนัเขา้ทำาปฏิกิรยิากับมอนอเมอร ์เกิดเป็นสายโซโ่มเลกลุท่ีมีแรดิคัลติดอยูท่ี่ปลาย และจะเกิดการเพิม่เขา้ของ

มอนอเมอรท่ี์ปลายสายโซอ่ยา่งต่อเน่ือง

Page 21: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

ซึง่กลไกของปฎิกิรยิาการเพิม่เขา้สามารถเกิดได้ 2 แบบ

โอกาสท่ีจะเกิดแบบ (I) เป็นไปได้มากกวา่ด้วยเหตผุลเดียวกับกลไกในขัน้อินนิทิเอชนั

R CH2 CHX

CH2 CH

X+

R CH2 CH CH2X

CHX

R CH2 CH CHX

CH2X

Head-to-tail addition

Head-to-head addition

( I )

( II )

Page 22: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

3) เทอรม์เินชนั

ขัน้สิน้สดุการเจรญิเติบโตของพอลิเมอร ์มกีลไกการเกิดปฏิกิรยิา 2 แบบ

เทอรม์เินชนัแบบรวมตัว (Combination)

เกิดเมื่อแรดิคัลท่ีปลายของ 2 สายโซโ่มเลกลุมารวมกัน (coupling) ทำาให้

2 สายโซโ่มเลกลุท่ีกำาลังเจรญิเติบโตรวมเป็น 1 โมเลกลุท่ีมนีำ้าหนัก

โมเลกลุสงูขึน้ และการรวมกันเป็นแบบ -head-to headCH2 CH

XCHX

CH2+ CH2 CHX

CHX

CH2

Page 23: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

เทอรม์เินชนัแบบแตกตัว (Disproportionation)

CH2 CHX

CHX

CH2+ CH2 CH2

XCHX

CH+

เกิดเมื่อมกีารยา้ยไฮโดรเจนอะตอมระหวา่ง 2สายโซโ่มเลกลุท่ีมแีรดิคัล ทำาให้ได้พอลิเมอร์

สองโมเลกลุท่ีมคีวามยาวเท่าเดิม โดยปลายของโมเลกลุท่ีถกูยา้ยไฮโดรเจนอะตอมออกไปมี

พนัธะคู่ติดอยู ่ และอีกโมเลกลุมเีฉพาะพนัธะเด่ียวในโครงสรา้ง

Page 24: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

โดยทัว่ไปแล้วเทอรม์เินชนัเกิดขึ้นทัง้ 2แบบ แต่โอกาสท่ีจะเกิดแบบใดมากกวา่

นัน้ขึ้นกับธรรมชาติของมอนอเมอร ์ และสภาวะของพอลิเมอไรเซชนั เชน่ ในกรณีพอลิเมอไรเซชนัของสไตรนีมอนอเมอร์

มกัเกิดเทอรม์เินชนัแบบรวมตัวมากกวา่ แต่เมธลิเมธาไครเลตมอนอเมอรม์กัเกิด

เทอรม์เินชนัแบบแตกตัวมากกวา่โดยเฉพาะ

เมื่อปฏิกิรยิาเกิดท่ี 60 o C

Page 25: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

(C) พอลิเมอไรเซชนัแบบไอออนิก (Ionic

Polymerization) (I) แคทไอออนิกพอลิเมอไรเซชนั (cationic polymerization)

ซึง่ตำาแหน่งท่ีวอ่งไวต่อการเกิดปฏิกิรยิาเป็นประจุบวก

(carbonium ion : ) เมื่อ X เป็นหมู่

แทนท่ี ท่ีให้อิเล็กตรอน สามารถเกิดเรโซ

แนนซ ์หรอื ดีโลคัลไลซป์ระจุบวกได้

CH2 CHX

สามารถแบง่ออกได้เป็น 2 ชนิดคือ

Page 26: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

(II) แอนไอออนิกพอลิเมอไรเซชนั (anionic polymerization)

ด้วยเหตนุี้จงึทำาให้ไอออนิกพอลิเมอไรเซชนัมลีักษณะเฉพาะมากกวา่แรดิคัลพอลิเมอไรเซชนั มอนอเมอรส์ว่นมากไมส่ามารถถกูพอลิเมอไรซไ์ด้ด้วยทั้งระบบแคทไอออนิก

และแอนไอออนิก เวน้แต่วา่จะมหีมูแ่ทนท่ีท่ีสามารถดีโลคัล

ไลซท้ั์งไออนบวกและไอออนลบได้ เชน่ สไตรนี (styrene) และ -13ไดอีน (1,3-

dienes)

CH2 CHX

มตีำาแหน่งท่ีวอ่งไวต่อการเกิด ปฏิกิรยิาเป็นประจุลบ (carbanion : )เมื่อ X เป็นหมูแ่ทนท่ี ท่ีสามารถดึงอิเล็กตรอนหรอืดีโลคัลไลซป์ระจุลบได้

Page 27: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

นอกจากนี้ยงัมคีวามแตกต่างอ่ืน ๆ อีก เชน่ อัตราในการเกิดไอออนิกพอลิเมอไรเซชนัเรว็กวา่อัตราการเกิดแรดิคัลพอลิเมอไรเซชนั เนื่องจากมคีวามเขม้ขน้ของตำาแหน่งท่ีวอ่งไว

ต่อการเกิดปฏิกิรยิาสงูกวา่ และตำาแหน่งท่ีวอ่งไวต่อการเกิดปฏิกิรยิาของไอออนิกพอลิเมอไรเซชนัจะมเีคาน์เตอรไ์อออน ท่ีมปีระจุ

ตรงขา้มเกาะอยูด้่วยเสมอ สภาพขัว้ของตัวทำาละลายและลักษณะการละลายของ

เคาน์เตอรไ์อออนในตัวทำาละลายก็มอิีทธพิลต่อการเกิดปฏิกิรยิาอยา่งมาก นอกจากนี้ขัน้สิน้สดุปฏิกิรยิา จะไมเ่กิดการรวมตัวกันของสายโซเ่หมอืนกรณีของแรดิคัลเพราะจะเกิด

การผลักกันเนื่องจากประจุท่ีปลายของสายโซ่เป็นชนิดเดียวกัน

Page 28: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

พอลิเมอไรเซชนัแบบแคทไอออนิก (Cationic Polymerization) ไอออนบวกเกิดจากปฏิกิรยิาของมอนอ

เมอรกั์บอิเล็กโตรไฟล์ (R+ ) กรดโปรโตนิก เชน่ กรดซลัฟุรกิ และกรดเปอรค์ลอรกิ สามารถใช้

เป็นตัวรเิริม่ และทำาหน้าท่ีให้โปรตอน กับมอนอเมอร ์แต่กรดไฮโดรเจนเฮไลด์ ไมเ่หมาะท่ีจะเป็น

ตัวรเิริม่ เพราะเฮไลด์เคาน์เตอรไ์อออน สามารถรวมตัวกับคารโ์บแคทไอออนได้อยา่ง

รวดเรว็และเกิดพนัธะ โคเวเลนต์ท่ีเสถียร กรดลิวอีส เชน่ โบรอนไตรฟลอูอไรด์

อะลมูเินียมคลอไรด์ และทินเตตระคลอไรด์ เป็นตัวรเิริม่ท่ีนิยมแต่ต้องใชกั้บตัวเรง่รว่ม ซึง่สว่นมากเป็นนำ้า แต่ก็สามารถใชก้รดหรอืออรก์านิก

เฮไลด์ได้

อินนิทิเอชนั

Page 29: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

สำาหรบัระบบ BF3 / H2 O ขัน้ท่ีสองของอินนิทิเอชนัคือ

ในขัน้ท่ีสองสามารถแสดงสมการในรูปทั่วไป คือ

เมื่อ R+ คืออิเล็กโตรไฟล์ และ A-- คือเคาน์เตอรไ์อออน

BF3 H2O H (BF3OH)+

AlCl3 RCl+ R (AlCl4)

H(BF3OH) CH2 CR1R2+ CH3 CR1R2(BF3OH)

R A CH2 CR1R2+ R CH2 CR1R2A

Page 30: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

โปรปาเกชนั

CH2 CR1R2A CH2 CR1R2+ CH2 CR1R2 CH2 CR1R2A

เชน่เดียวกับแรดิคัลพอลิเมอไรเซชนั การรวมมอนอเมอรเ์ขา้ไปยงัตำาแหน่งท่ีวอ่งไวต่อการเกิดปฏิกิรยิาในสายโซพ่อลิเมอรท์ี่กำาลังเจรญิเติบโตเป็นแบบหัวกับหาง (head to tail)

Page 31: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

เทอรม์เินชนั

หรอืเกิดการยา้ยโซ ่เชน่ การยา้ยโซไ่ปท่ีมอนอเมอร์

CH2 CR1R2A CH CR1R2 H A+

CH2 CR1R2A CH2 CR1R2+ CH CR1R2 CH3 CR1R2A+

มกัเกิดการจดัเรยีงตัวใหมแ่บบโมเลกลุเดียว ของคู่ไอออน เชน่

Page 32: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

นอกจากน้ียงัมกีารยา้ยโซไ่ปท่ีตัวทำาละลาย หรอื สารปนเปื้ อนท่ีอยูใ่นปฏิกิรยิา เชน่ นำ้า ซึง่ทำาให้พอลิเมอรท่ี์เกิดขึน้เป็นแบบก่ิงก้านสาขา กลไกของการเกิดปฏิกิรยิาสามารถเขยีนเป็นสมการในรูปท่ัวไปได้คือ

อินนิทิเอชนั : โปรปาเกชนั : เทอรม์เินชนั : การยา้ยโซ ่ :

R A M+ RM1 Aki

RM n A M+ RM n+1 Akp

RM n A RM n H A+kt

RM n A M+ RM n RM1 A+ktr,M

Page 33: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

พอลิเมอไรเซชนัแบบแอนไอออนิก

(Anionic

Polymerization)

ลักษณะสำาคัญของแอนไอออนิกพอลิเมอไรเซชนั คือไมม่ขีัน้เทอร ์ มเินชนัท่ีเกิดโดยการจดัตัวใหมข่องคู่ไอออนเน่ืองจากการกำาจดัไฮไดรด์ไอออนออกจากสายโซท่ี่มหีมูท่ี่วอ่งไวต่อการเกิดปฏิกิรยิาเกิดขึน้ได้ยาก นอกจากนี้โลหะหมูห่น่ึงหรอืโลหะหมู่สองท่ีเป็นเคาน์เตอรไ์อออนก็ไมม่แีนวโน้มท่ีจะรวม

กับหมูว่อ่งไวต่อการเกิดปฏิกิรยิาท่ีเป็นคารแ์บนไอออน ดังนัน้ถ้าไมม่กีารยา้ยสายโซเ่กิดขึน้จะยงัคงมคีารแ์บนไอออนติดอยูท่ี่ปลายสายโซข่องพอลิเมอร ์ ถ้ามกีารเติมมอนอเมอรล์งไปในปฏิกิรยิาจะสามารถเกิดการเจรญิเติบโตของสายโซพ่อลิเมอรต่์อไปเรื่อย ๆ จนกวา่มอนอเมอรจ์ะหมด โดยท่ีปลายสายโซพ่อลิเมอรย์งัคงมหีมูท่ี่วอ่งไวต่อการเกิดปฏิกิรยิาติดอยู ่ ลักษณะเชน่น้ีเรยีกวา่ ลีฟวิง่

พอลิเมอร์

Page 34: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

พอลิเมอไรเซชนัแบบแอนไอออนิกของสไตรนีโดยมีโพแทสเซยีมเอไมด์

เป็นตัวเรง่ปฏิกิรยิาในตัวกลางของแอมโมเนียเหลว สามารถเขยีนสมการแสดงปฏิกิรยิาได้ดังนี้

KNH2 K NH2

NH2

+

CH2 CHPh+ki H2NCH2 CHPh

อินนิทิเอชนั :

H2N CH2 CHPh CH2 CHPhn-1CH2 CHPh+

H2N CH2 CHPh CH2 CHPhn

kp

โปรปาเกชนั :

H2N CH2 CHPh CH2 CHPhn NH3+

H2N CH2 CHPh CH2 CH2Phn NH2+

ktr

การยา้ยโซ ่ :

Page 35: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

พอลิเมอไรเซชนัแบบโคออรดิ์เนชนั

(CoordinationPolymerization)

ในปี ค.ศ . 1955 ซเีกลอร ์ (Ziegler) และแนตตา (Natta) ได้ค้นพบตัวเรง่ปฏิกิรยิาท่ีสามารถใช้

สงัเคราะห์พอลิเมอรท่ี์มลีักษณะเฉพาะทางสเตอรโิอเคมไีด้ และเรยีกตัวเรง่ท่ีใชว้า่ตัวเรง่ซี

เกลอร-์แนตตา - (Ziegler Natta catalyst)

พอลิเมอไรเซชนัท่ีใชตั้วเรง่น้ีมชีื่อเรยีกอีกอยา่งหนึ่งวา่ พอลิอินเซอชนั เน่ืองจากในขัน้โปรปาเกชนั

กลไกของปฏิกิรยิาเกิดโดยการแทรกของมอนอเมอรเ์ขา้ไประหวา่งตัวเรง่และสายโซท่ี่กำาลัง

เจรญิเติบโต สว่นชื่อพอลิเมอไรเซชนัแบบโคออรดิ์เนชนั ซึง่เป็นท่ีนิยม

ใชม้ากกวา่แสดงให้เห็นถึงกลไกการทำางานของตัวเรง่ปฏิกิรยิาแบบ

โคออรดิ์เนชนั

Page 36: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

ตัวเรง่ปฏิกิรยิาซเีกลอร-์แนตตา - (Ziegler Natta Catalysts)

ไอโซแทคติก

ซนิดิโอแทคติก

CC

C

R

C

H HHHC

H RHC

H H

RH

CC

RC

H H

R

C

HH

H H

CR H

CC

H R

H H

สามารถพอลิเมอไรซม์อนอเมอรไ์ด้หลายชนิด และใชส้งัเคราะห์พอลิเมอร์

ท่ีมโีครงสรา้งเป็นเสน้ตรง และมลีักษณะเฉพาะทางสเตอรโิอได้ เชน่

ใชส้งัเคราะห์พอลิโพรพลิีนโครงสรา้งแบบไอโซแทคติก หรอื

แบบซนิดิโอแทคติก ซึง่โดยปกติแล้วพอลิเอทีลีนท่ีเตรยีม

โดยแรดิคัลพอลิเมอไรเซชนัจะมก่ิีก้านสาขา

Page 37: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

ตัวเรง่ปฏิกิรยิาซเีกลอร-์แนตตาเป็นสารเชงิซอ้นระหวา่งอัลคิล ของโลหะหมู ่ - I III หรอื

สารประกอบออรก์าโนเมทัลลิก และเฮไลด์ หรอื อนุพนัธอ่ื์นของโลหะทรานซชินัหมู ่ -IV V

IIIซึ่งทำาหน้าที่เป็นศูนยก์ลางของตัวเรง่

สารเชงิซอ้นท่ีเกิดขึ้นนี้มตีำาแหน่งโคออรด์ิเนชนั วา่งอยูห่นึ่งตำาแหน่งสำาหรบัการเกิด

ปฏิกิรยิากับสายโซพ่อลิเมอร ์แสดงโดยกล่องสีเ่หล่ียมดังโครงสรา้งของ

ตัวเรง่ปฏิกิรยิาประเภท monometallic

Page 38: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

หรอื เมื่อมตัีวเรง่ปฏิกิรยิาท่ีมอีะตอมของโลหะมากกวา่หนึ่งอะตอม

TiClR

Cl

Cl

Cl

TiR

ClCl

ClAl R

R

Page 39: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

การดดูซบัโลหะอัลคิลบนโลหะทรานสชินั

พอลิเมอไรเซชนัซึง่เป็นระบบเน้ือผสม เมื่อกำาหนดให้ผิวหน้าของโลหะทรานสชินัแทนด้วย โลหะอัลคิลแทนด้วย AR และ มอนอเมอรแ์ทนด้วย M กลไกของพอลิเมอไรเซชนัเขยีนได้ดังน้ี

การดดูซบัโลหะอัลคิลและมอนอเมอรบ์นโลหะทรานสชินั

AR AR

+M M+ การดดูซบัมอนอเมอรบ์นโลหะ

ทรานสชินั

k1

k2

Page 40: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

อินนิทิเอชนั

โปรปาเกชนั RM M

x

A Mx

+1

A Rkp

M AR MRA

การยา้ยโซใ่ห้มอนอเมอร์ เมื่อMx คือ พอลิเมอร์ MR+M

x

M A Mx

R ktr

Page 41: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

แบบฝึกหัด

Page 42: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

ตอนท่ี 1 : ทำาสมการพอลิเมอไรเซชนัต่อไปน้ีให้สมบูรณ์

1) Polycarbonate (PC)

CCH3

CH3OHnHO

O

nClCCl (2n-1)HCl+ A +

2)

nClOC(CH2)8COCln A +

BH NH(CH2)6NHOC(CH2)8CO Cln + (2n-1)

Polyamide

Page 43: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

nCH3 O CO

CO

OCH3 nHO CH2 CH2 OH+3)

A B+

ตอนท่ี 2 : เขยีนสมการแสดงขัน้ตอนท่ีสำาคัญของพอลิเมอไรเซชนัแบบลกูโซแ่รดิคัลของไวนิลคลอไรด์มอนอเมอรท่ี์มเีบนโซอิลเปอรอ์อกไซด์เป็นตัวรเิริม่

Page 44: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

เฉลยแบบฝึกหัด

Page 45: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

ตอนท่ี 1 : ทำาสมการพอลิเมอไรเซชนัให้สมบูรณ์

O CCH3

O CO

nA =

1)

CH3

H2N(CH2)6NH2

HCl

A =B =

2)

CH3 O CO

C OO

CH2CH2 OHn

(2n-1)CH3OH

A =B =

3)

Page 46: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

ตอนท่ี 2 : เขยีนสมการแสดงขัน้ตอนท่ีสำาคัญของพอลิเมอไรเซชนัแบบลกูโซแ่รดิ

คัลของไวนิล คลอไรด์มอนอเมอรท่ี์มเีบนโซอิลเปอรอ์อกไซด์เป็นตัวรเิริม่กลไกการเกิด

ปฏิกิรยิาประกอบด้วย 3 ขัน้อินนิทิเอชนั

C OO

O CO

2 C OO

C OO

CHCl

CH2+ C OO

CH2 CHCl

Page 47: บทที่    พอลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

C OO

CH2 CHCl

CHCl

CH2+ CH2C OO

CH2 CHCl

CHCl

CH2C OO

CH2 CHCl

CHCl

CHCl

nCH2+ CH2C OO

CH2 CHCl

CHCln+1

โปรปาเกชนั

CH2 CHCl

CH2 CHCl

+ CH2 CHCl

CHCl

CH2

CH2 CHX

CHX

CH2+ CH2 CH2X

CHX

CH+

เทอรม์เินชนั เกิดขึน้ได้ 2 แบบ