สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4...

42

Post on 03-Apr-2016

240 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

ชื่อหนังสือ: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่พิมพ์: ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556 จำนวนหน้า(รวมปก): 40

TRANSCRIPT

Page 1: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556
Page 2: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑ สาร.. สถาบันอยุธยาศึกษา

ปท่ี ๔ ฉบับท่ี ๑ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๖ เจาของ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนปรีดีพนมยงค อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท / โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ เว็บไซต www.ayutthayastudies.aru.ac.th วัตถุประสงค

๑. เพ่ือประชาสัมพันธกิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษาสูสาธารณชนอยางตอเน่ือง ๒. เพ่ือเผยแพรความรูดานอยุธยาศึกษาท่ีถูกตองสูสาธารณชน

การเผยแพร ปละ ๔ ฉบับ (ราย ๓ เดือน) จํานวนที่พิมพ ๕๐๐ เลม ที่ปรึกษา นายจิรศักด์ิ ชุมวรานนท

รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา บรรณาธิการบริหาร ดร.จงกล เฮงสุวรรณ ผูชวยบรรณาธิการ อาจารยกันยารัตน โกมโลทก อาจารยอุมาภรณ กลาหาญ บรรณาธิการ อาจารยสุรินทร ศรีสังขงาม นายพัฑร แตงพันธ ผูชวยบรรณาธิการ นางสาวสาธิยา ลายพิกุน กองบรรณาธิการ นายปทพงษ ชื่นบุญ นายอายุวัฒน คาผล นางสาวอรอุมา โพธ์ิจิ๋ว นางสาวณัฐฐิญา แกวแหวน นางประภาพร แตงพันธ นางสาวสายรุง กล่ําเพชร นางสาวศรสีุวรรณ ชวยโสภา ศิลปกรรม นายพัฑร แตงพันธ พิมพที่ โรงพิมพเทียนวัฒนาพริ้นทต้ิง ๑๖/๗ ถ.เดชาวุธ ต.หอรัตนไชย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทร. ๐๓๕-๒๔๑-๕๗๘, ๐๓๕-๒๔๓-๓๘๖ โทรสาร ๐๓๕-๓๒๓-๓๙๖ ภาพปก พระราชวังจันทรเกษม จงัหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่ีมา: อรรถดา คอมันตร. (๒๕๕๔). กรุงเกาเม่ือกาลกอน ภาพถาย

๑๐๐ ป พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: สยาม เรเนซองส.

Page 3: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ถ�อยแถลง

สถาบันอยุธยาศึกษาเปนสถาบันทางวิชาการท่ีเปนหนวยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ภายใตปรัชญา “รอบรู เชิดชู สูสรางสรรค” เพื่อใหสถาบันฯ เปนศูนยขอมูลทางวัฒนธรรมอยุธยาท่ีมีคุณภาพ เปนสถาบันฯ ท่ีเชิดชู และสงเสริมการประยุกตใชขอมูลทางวัฒนธรรมอยุธยาเพื่อการพัฒนาสังคมอยางยั่งยืน

สาร.. สถาบันอยุธยาศึกษาฉบับนี้ ถือเปนฉบับแรกของคณะผูบริหารใหม โดย ดร.จงกล เฮงสุวรรณ ผูอํานวยการสถาบันฯ ไดมีนโยบาย และแนวทางในการพัฒนาสถาบันฯ ใหมีความเปนเลิศทางวิชาการ และการเปนศูนยกลางการจัดกิจกรรม ทางวัฒนธรรมท้ังในระดับทองถ่ิน และระดับชาติ

สาร . . สถา บันอยุ ธย า ศึกษาฉ บับนี้ มุ ง เน นข อมู ล ท่ี เกี่ ย วข อ งกั บพระนครศรีอยุธยา ในชวงสมัย “มณฑลกรุงเกา” อันเปนรอยตอสําคัญระหวางสมัยราชธานี สูการเปนจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปจจุบัน ซึ่งเช่ือวาจะนําไปสูความเขาใจในความเปนจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปจจุบันไดอยางกวางขวาง

Page 4: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓

สารบัญ หนา

ถอยแถลง

จากธุลีกรุงศรีอยุธยา สูเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา

ยานบานชองชาวกรุงเกา หลังสมัยราชธานี

๑๒

ฟนวังจันทรเกษม ดังฟนชีวาราชธานี

๑๙

กรุงเกา: ศูนยกลางการปกครองแหงมณฑล

๒๓

“ยานตลาด” ภาพบันทึกวิถีชาวกรุงเกา ในจิตรกรรมฝาผนังวัดเชิงทา จ.พระนครศรีอยุธยา

๒๗

ภาพเกาเลาอดีต

๓๑

จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา

๓๒

อยุธยาศึกษาปริทัศน

๓๕

รอบรั้วเรือนไทย

๓๘

กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๗

๔๐

Page 5: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

จากธุลกีรุงศรีอยุธยาสู�

เทศาภิบาลมณฑลกรุงเก�า0* พัฑร แตงพันธ*1*

ภายหลังสงครามเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.๒๓๑๐ เปนตนมา ใชวาเมือง

พระนครศรีอยุธยาจะรกรางไปเสียส้ิน หากแตคอย ๆ ฟนตัวอีกครั้งอยางชา ๆ และตอเนื่อง แมมิไดมีสถานะเปนราชธานีดังเดิมอีกตอไป แตก็ยังไดรับการขนานนามจากราชสํานักแหงกรุงรัตนโกสินทรวา “กรุงเกา” และยังไดรับการอุปถัมภคํ้าชู บวรพระพุทธศาสนา และบูรณะสถานท่ีสําคัญท่ีมีนัยทางการปกครองอยางพระราชวังตาง ๆ ในฐานะท่ีเปนอนุสรณสถานแหงการเปนราชธานีโบราณของ คนไทย กอปรกับปจจัยทางดานความอุดมสมบูรณของสายน้ําและแรธาตุในดิน ท่ีอาทรแกการเปนแหลงทํามาหากินของประชาราษฎรท่ีดีเยี่ยม เปนสวนสําคัญในการหนุนนําใหอยุธยาเติบโตกลายเปนชุมชนขนาบน้ําขนาดใหญ ท่ีมีศักยภาพ และศักด์ิศรีเพียบพรอมแกการถูกเลือกใชเปนเมืองศูนยกลางการปกครองของมณฑลอยุธยา ใน พ.ศ. ๒๔๓๘ ซึ่งกวาท่ีจะไปสู จุดนั้น เมืองพระนครศรีอยุธยาไดมีพัฒนาการเปนลําดับดังตอไปนี้

* บทความน้ีเปนสวนหน่ึงของการวิจัยเรื่อง ผังเมืองพระนครศรีอยุธยา และภูมิสถานทาง

ประวัติศาสตร สมัยมณฑลอยุธยา พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๔๗๖ ** นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Page 6: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๕ จากธุลีกรุงศรีอยุธยา

จากหลักฐานทางประวัติศาสตรหลายช้ิน ทําใหทราบดีวาผลของสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี ๒ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ นั้น ไดสรางความเสียหายยอยยับใหกับ พระนครกรุงศรีอยุธยาอยางนัก จนไมอาจฟนฟูบานเมืองใหกลับคืนมาเปนราชธานีดังเดิมได ดวยสถานท่ีตาง ๆ ในพระนคร ท้ังปราสาทราชวัง วัด และศาสนสถาน ตาง ๆ รวมท้ังบานเรือนของประชาราษฎร ตางไดรับความเสียหายจากการเผาผลาญ และการลุกลามตอเนื่องของเพลิงสงคราม ท่ีสงผลใหชาวเมืองตางหลบหนีเอาชีวิตรอดไปคนละทาง โดยมิอาจมีผูใดหลบซอนตัวอยูในเมืองได มิเชนนั้นก็จะถูกฆา หรือถูกกวาดตอนไปเปนเชลย ดังท่ีปรากฏรายละเอียดตาง ๆ ในจดหมายเหตุ คณะบาทหลวงฝรั่งเศสท่ีเขามาเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาสมัยสมเด็จพระเจาเอกทัศน สมัยกรุงธนบุรี และชวงตนกรุงรัตนโกสินทร ซึ่งตีพิมพในประชุมพงศาวดาร ภาค ท่ี ๓๙ 2

๑ ร วม ถึ ง บัน ทึกภาษา ดั ตช ว า ด ว ยก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ย า ถู ก ทํ าลา ย โดยผู เ ห็น เหตุการณขณะนั้น ซึ่ ง ตีพิมพในหนั ง สือการปฏิวั ติปลายแผน ดิน พระนารายณมหาราชและการลมสลายของกรุงศรีอยุธยา ของกรมศิลปากร 3

๒ ดังนั้น สภาพโดยท่ัวไปของกรุงศรีอยุธยาในชวงหลังสงครามส้ินสุดลงใหม ๆ

คงจะมีสภาพไมต า งจากนครร า ง และเ ต็มไปดวยซากอาคาร บ าน เรือน และศาสนสถานท่ีไดรับความเสียหายจากเพลิงไหม แตไมนานนักหลังจากท่ีสงครามสงบลง ก็เริ่มมี ผูคนกลับเขามาอยูอาศัย และทํามาหากินในละแวกพระนคร กรุงศรีอยุธยาตามเดิม โดยเฉพาะกลุมคนเช้ือสายไทย และจีน ท่ีกลับเขามาขุดหาทรัพยสินมีคาท่ีเหลืออยูตามวัดตาง ๆ หรือ ทรัพยสมบัติท่ีชาวกรุงศรีอยุธยาทอดท้ิง หรือซุกซอนไวดังปรากฏในจดหมายเหตุของบาทหลวงฝรั่งเศส ท่ีเดินทางมายัง

๑ หมอมเจาธํารงศิริ,มหาอํามาตยโท. (๒๔๗๐) ประชุมพงศาวดารภาคท่ี ๓๙ เรื่องจดหมาย

เหตุของคณะบาดหลวงฝรั่งเศส ซึ่งเขามาต้ังครัง้กรุงศรีอยุธยาตอนแผนดินพระเจาเอกทัศ กับครั้งกรุงธนบุรีแลกรุงรัตนโกสินทรตอนตน. พระนคร: ศรีหงส.

๒ กรมศิลปากร. (๒๕๔๘). การปฏิวัติปลายแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช และการ

ลมสลายของกรุงศรีอยุธยา. หนา ๙๐.

Page 7: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา กรุงสยามและทองสํารวจไปตามทองท่ีตาง ๆ ในอยุธยา เมื่อ พ.ศ.๒๓๑๒ ซึ่งเปนเวลา ๒ ปหลังจากเสียกรุง 4

นอกจากนี้ยั งมีก ลุมคนตามหัวเมืองตางๆ เชน ชาวเมืองพิษณุโลก และชาวเมืองนครราชสีมา ท่ีพระเจากรุงธนบุรีไดเทครัวพาเขามาอาศัยอยูบริเวณ กรุงศรีอยุธยาเดิม เพื่อฟนฟูใหเมืองท่ีลมสลายกลับมาเปนแหลงชุมชนเมืองอีกครั้ง แตสภาพของเมืองก็นับวายังมีผูคนเบาบางอยูมาก และมีโจรผูรายชุกชุมอยูหลายพื้นท่ี ผูคนท่ีอาศัยอยูในเมือง ณ เวลานั้น ลวนมีสภาพความเปนอยูท่ีอัตคัดขาดแคลนอาหาร ดวยเหตุท่ีผูคนสวนใหญเปนเชลยท่ีพระเจากรุงธนบุรีกวาดตอนมา จึงไมคุนเคยกับสภาพภูมิประเทศ และการทํามาหาเล้ียงชีพ

ในรัชสมัยพระเจากรุงธนบุรี เปนชวงท่ีบานเมืองเพิ่งผานพนวิกฤตการณสงคราม วัดวาอารามตาง ๆ ไดรับความเสียหายเปนอันมาก และยังคงถูกท้ิงรางภายใตซากปรักหักพัง ทําใหวัดไมอาจเปนศูนยรวมจิตใจของประชาราษฎรได ซ้ํายังถูกผูรายขุดคุยหาสมบัติ และลักทรัพยสินมีคาภายในวัดอีกดวย ดังขอความ ในจดหมายของบาทหลวงฝรั่งเศสวา “บรรดาพระพุทธรูปและพระเจดียซึ่งไดปดทองกันอยางงดงาม บัดน้ีก็ไดทําลายหักพังเปนผงธุลีไปหมดแลว ตามวัดวาอารามก็รางไปหมด เพราะพวกพระสงฆไดหนีท้ิงวัดไปส้ิน ผาเหลืองเวลานี้ไมใครมีใคร จะนับถือเหมือนแตกอนแลว และถามีใครขืนครองผาเหลืองในเวลานี้ก็ตองอด”๔ สะทอนใหเห็นวาเมืองพระนครศรีอยุธยาในสมัยกรุงธนบุรีนั้นตกอยูในสภาพท่ีเรียกไดวา “บานแตกสาแหรกขาด” และปราศจากท่ีพึ่งทางจิตใจ จึงเปนโอกาสใหบาทหลวงฝรั่งเศสไดเขาไปใหการอุปถัมภดานอาหารและการรักษาโรค ทําหนาท่ีเปนท่ีพึงทางจิตใจของผูคนแทน โดยมีการชักชวนใหผูคนเขารีตนับถือคริสตศาสนาเปนการใหญ

๓ประชุมพงศาวดารภาคที ่๓๙. (๒๔๗๐). หนา ๗๑.

๔แหลงเดิม. หนา ๗๘-๗๙.

Page 8: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๗

ระยะนี้อยุธยา ถูกลดฐานะจากเมืองหลวง ลงมาเปนเมืองช้ันจัตวา ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการเปนแหลงผลิตขาวสําหรับเล้ียงชาวเมืองหลวง และเก็บสํารองไวเปนเสบียงในภาวะสงคราม โดยพระเจากรุงธนบุรี ไดทรงแตงต้ังใหพระยาอินทรอภัย เปนผูรักษาเมือง 6

สภาพเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา จากหอพิสัยศัลลักษณ พระราชวังจันทรเกษม เมื่อประมาณกอน พ.ศ.๒๔๔๐

ท่ีมา: ซอมเมอรวิลล แมกซเวล. (๒๕๔๔). สยามริมฝงเจาพระยา. หนา ๑๖๙.

ก�อร�างสร�างเมือง

เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร เปนราชธานีแหงใหม อยุธยาก็ยังคงมีฐานะเปนเมืองช้ันจัตวาตามเดิม โดยมีพระยาวิชิตสิทธิสงครามเปนผูรักษาเมือง

๕เกื้อกูล ยืนยงอนันต. (๒๕๒๗). ความเปลี่ยนแปลงภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา

ระหวาง พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๕๐๐. หนา ๘.

Page 9: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ในรัชกาลนี้มีการบูรณปฏิสังขรณพระอารามใหมีพระสงฆมาจําพรรษา ท้ังในและนอกเกาะเมือง ประกอบดวยพระอาราม ๕ แหง คือ วัดโลกสุธาศาลาปูน วัดสุวรรณดาราม วัดพนัญเชิง วัดตูม วัดศาสดาราม และยังไดมีการถวายผาพระกฐินแกพระอารามหลวงในเมืองกรุงเกาเปนประจําทุกปจนกลายเปนธรรมเนียมปฏิบัติ สืบตอมา7

๖ การบูรณะวัดวาอารามในเมืองกรุงเกานี้เปนการฟนฟูพระพุทธศาสนา

ใหกลับมาเปนสถาบันหลักของทองถ่ิน เพราะสังคมไทยเปนสังคมชาวพุทธซึ่งตองมีวัดเปนศูนยรวมทางจิตใจและเปนท่ีพึ่งพิงของประชาชน เพื่อรักษาเอกภาพของสังคมใหเปนอันหนึ่งอันเดียว หลังจากท่ีกอนหนานี้วัดและพระพุทธศาสนาในอยุธยาไดเส่ือมถอยไป ภายหลังสงครามเสียกรุงฯ พ.ศ.๒๓๑๐

การบูรณะพระอารามหลวงในกรุงเกาเหลานี้ อาจมีนัยทางการเมืองการปกครองดวย คือการอาศัยวัดเปนพื้นท่ีตัวกลางในการติดตอระหวางรัฐกับ ผูถูกปกครอง เนื่องจากวัดหลวงมีความเช่ือมโยงกับระบบเลกไพรในสังคมกึ่งศักดินา คือวัดหลวงไดรับไพรจากรัฐท่ีเรียกวา เลกวัด เปนวิธีหนึ่งท่ีจะรวบรวมเลกไพรท่ีกระจัดกระจายเขามาอยูในระบบได8 ๗

สําหรับบรรยากาศโดยท่ัวไปในเกาะเมืองกรุงเกาในระยะนี้ คงมีสภาพรกรางอยูมาก ดังท่ีสุนทรภู ไดพรรณนาถึงสภาพของอยุธยาหลังเสียกรุงในนิราศพระบาท เม่ือราว พ.ศ. ๒๓๕๐ ซึ่งตรงกับปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก (รัชกาลท่ี ๑) หรือหลังเสียกรุงแลวประมาณ ๔๐ ป มีใจความตอนหนึ่งวา

๖กรมศิลปากร. (๒๕๕๒). แนวพระราชดําริในการเสด็จประพาสในพระบาทสมเด็จพระ

จอมเกลาเจาอยูหัว. หนา ๒๖-๒๗. ๗วรสิทธ์ิ ตันตินิพันธุกุล. (๒๕๕๒). การเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการสราง และ

บูรณะปฏิสงัขรณวัดหลวงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจนถึงปจจุบัน: ขอขัดแยงในการอนุรักษโบราณสถานและวัฒนธรรมแบบชาตินิยม. ใน ประวัติศาสตรในมิติวัฒนธรรมศึกษา. หนา ๒๒๓.

Page 10: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๙

...ถึงคลองสระปทุมานาวาราย นาใจหายเห็นศรีอยุธยา ท้ังวังหลวงวังหลังก็รั้งรก เห็นนกหกซอแซบนพฤกษา ดูปราสาทราชวังเปนรังกา ดังปาชาพงชัฏสงัดคนฯ

อยางไรก็ดีในวรรณกรรมชุดนี้ ก็ยังไดใหขอมูลของชุมชนชาวอยุธยา

ท่ีเริ่มกลับเขามาอาศัยจนกลายเปนชุมชนบางแลว อยางชุมชนชาวมุสลิมในละแวกคลองตะเคียน ซึ่งเปนคลองลัดแมน้ําท่ีอยูทางใตของเกาะเมืองวา

...เขาในคลองตะเคียนใหโหยหา ระยะยานบานชองในคลองมา ลวนภาษาพวกแขกตะนีอึง ดูหนาตาก็ไมนาจะชมช่ืน พี่แข็งขืนอารมณทํากมขึง ท่ีเพื่อนเรารองหยอกมันออกอึง จนเรือถึงปากชองคลองตะเคียน...

กวีบทนี้เปนตัวอยางท่ีชวยใหทราบขอมูลวาในชวงหลังเสียกรุงไปแลว

ประมาณ ๔๐ ป ไดมีผูคนกลับเขามาอาศัยอยูในละแวกเกาะเมืองกรุงเกาบางแลว เชนกลุมแขกตานี ท่ีกลับเขามาอาศัยอยูตามถ่ินฐานท่ีเคยอาศัยมาเมื่อครั้ง ท่ี กรุงศรีอยุธยาเปนราชการธานีอีกครั้ง

ชุมชนเมืองกรุงเกา เปนชุมชนริมลําน้ําท่ีคอย ๆ เติบโตข้ึนอยางตอเนื่อง จากภูมิประเทศท่ีอํานวยตอการทํามาหาเล้ียงชีพของราษฎร เนื่องจากเปนท่ีราบลุมประกอบดวยลําน้ํานอยใหญหลายสาย ไหลมาบรรจบกันบริเวณตัวเมืองกรุงเกา ทําใหยานนี้เปนเสนทางคมนาคมท่ีสําคัญของประเทศ ท่ีสามารถสัญจรผานข้ึนไปทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือได เปนแหลงพบปะคาขาย ท้ังภายในเมือง และระหวางเมือง โดยมีตลาดแหงใหญต้ังอยูในยานหัวรอ

ดวยสภาพภูมิประเทศท่ีเอื้ออํานวยเชนนี้ บริเวณกรุงเกาจึงเปนชัยภูมิ ท่ีเหมาะแกการต้ังถ่ินฐานท่ีอยูอาศัย และทํามาหากิน อันเปนปจจัยประการหนึ่งท่ีสงเสริมใหเมืองอยุธยา ฟนตัวจากภาวะสงครามจนกลายเปนแหลงชุมชนของผูคนไดอีกครั้งหนึ่ง

Page 11: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๑๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ยานท่ีอยูอาศัยของชาวกรุงเกาในคลองเมืองอยุธยา

ท่ีมา: คลองเมืองอยุธยา. (๒๕๕๓). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

สู�เทศาภิบาลมณฑลกรุงเก�า

ศูนยกลางของ ชุมชนเมืองกรุ ง เก า เริ่ มมีห ลักมีฐานชัดเจน ข้ึนเมื่ อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี ๔) ทรงเสด็จประพาสกรุงเกา และโปรดฯ ใหมีการสถาปนาพระราชวังจันทรเกษมข้ึนเปนท่ีประทับแรมสําหรับเสด็จแปรพระราชฐาน โดยมีพระบรมราชโองการฯ ใหเจาเมืองกรุงเกายายจวนจากบริ เวณคลองเมือง มาอยูทางดานตะวันออกของเกาะเมือง เพื่อดูแลรักษา ความปลอดภัยแกพระราชวัง อันสงผลใหดานตะวันออกของเกาะเมืองอันเปนท่ีต้ังชุมชนและยานการคาท่ีสําคัญอยางตลาดหัวรอ กลายเปนยานสถานท่ีสําคัญ ทางราชการ ท่ีเปรียบดังการคืนชีวิตและศักด์ิศรีความเปนราชธานีใหแกอยุธยาอีกครั้งหนึ่ง เปนดังการลงเสาเอกแหงเมืองกรุงเกา ท่ีกอรางจาก เถาธุลีแหงกรุงศรีอยุธยา จนกลายเปนชุมชนเมืองข้ึนมาอีกครั้ง และพรอมท่ีจะผงาดข้ึนมาเปนเมืองศูนยกลางแหงการปกครองของมณฑลกรุงเกา ในระยะเวลาตอจากนี้ไป

Page 12: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๑ บรรณานุกรม

กรมศิลปากร. (๒๕๔๘). การปฏิวัติปลายแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช และการลมสลายของกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมฯ.

________. (๒๕๕๒). แนวพระราชดําริในการเสด็จประพาสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว. กรุงเทพฯ: กรมฯ.

เกื้ อกูล ยืนยงอนันต . (๒๕๒๗) . ความเปลี่ ยนแปลงภายใน เกาะเ มือ งพระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘ – ๒๕๐๐. พระนครศรีอยุธยา: วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา

ประชุมพงศาวดารภาคท่ี ๓๙. (๒๔๗๐). กรุงเทพฯ: ศรีหงส. วรสิทธิ์ ตันตินิพันธุกุล. (๒๕๕๒). การเปล่ียนแปลงแนวคิดในการสราง และ

บูรณะปฏิสังขรณวัดหลวงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจนถึงปจจุบัน: ขอขัดแยงในการอนุรักษโบราณสถานและวัฒนธรรมแบบชาตินิยม. ใน ประวัติศาสตรในมิติวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร

หมอมเจาธํารงศิริ,มหาอํามาตยโท. (๒๔๗๐) ประชุมพงศาวดารภาคท่ี ๓๙ เร่ืองจดหมายเหตุของคณะบาดหลวงฝร่ังเศส ซ่ึงเขามาต้ังคร้ังกรุงศรีอยุธยาตอนแผนดินพระเจา เอกทัศ กับคร้ังกรุงธนบุ รีแลกรุงรัตนโกสินทรตอนตน. พระนคร: ศรีหงส.

Page 13: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๑๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ย�านบ�านช�องชาวกรุงเก�า

หลังสมัยราชธานี พัฑร แตงพันธ9*

สถานการณบานเมืองในชวงตนกรุงรัตนโกสินทร นับวาคอนขางมีความเปนปกแผนม่ันคงมากข้ึนกวาในสมัยกรุงธนบุรี ผูคนท่ีเหลือรอดจากภัยสงคราม และความอดอยากขาดแคลนตามถ่ินฐานตาง ๆ ไดเขามาต้ังถ่ินท่ีอยูอาศัยตาม ริมลําน้ํารอบๆเกาะเมืองอยุธยาบางแลว บานเรือนของผูคนต้ังเรียงรายตามลําน้ํา และตอเนื่องไปอีกในระยะทางไมไกลจากเกาะเมืองมากนัก ประกอบดวยผูคนหลากหลายเช้ือชาติอาศัยรวมกัน ไดแก คนสยาม(ไทย) จีน ลาว และ มลายู มอญ เวียดนาม10*

ในสมัยนี้มีบรรดานักทัศนาจรชาวตางชาติ เดินทางสํารวจไปตามลําน้ํา ผานเกาะเมืองกรุงเกา ข้ึนไปยังหัวเมืองตาง ๆ บางมีการจดบันทึกสภาพของบานเมือง ลักษณะท่ีอยูอาศัยของผูคนไวพอสมควร นักทัศนาจรบางคนไดถายภาพทิวทัศนตาง ๆ ท่ีพบเห็น บางคนไดคัดลอกภาพลายเสนจากภาพถาย ตามเทคโนโลยีการบันทึกภาพในเวลานั้น ซึ่ ง เปนประโยชนตอการศึกษาสภาพบานเรือน

* นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา * ดูใน “เลาเรื่องเมืองไทย” ของปาลเลกัวซ และราชอาณาจักรและราษฎรสยามของ

เซอร จอหน เบาวริง

Page 14: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๓ การต้ังถ่ินฐานของผูคนท่ีอาศัยอยูในละแวกเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาในชวงสมัยตนกรุงรัตนโกสินทรไดเปนอยางดี

คารล บ็อค นักธรรมชาติวิทยาชาวนอรเวย ท่ีเดินทางสํารวจภูมิศาสตรในดินแดนตาง ๆ ของไทย เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๔ ไดกลาวไวในบันทึกการเดินทางของเขาวา “จังหวัดอยุธยาในปจจุบันพึ่งบูรณะกันใหมเมื่อ ๖๐ ป ท่ีแลว ตองนั่งเรือทวนกระแสน้ําท่ีไหลเช่ียวไปราว ๗ ช่ัวโมงจึงจะถึง...”๘ ถาเปนตามท่ี คารล บ็อค บรรยายไวเมืองพระนครศรีอยุธยานาจะเติบโตเปนชุมชนเมืองใหญมีผูคนอาศัยอยู คับค่ังในราวปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย (รัชกาลท่ี ๒) แตกอนหนานั้น ก็คงมีผูคนอาศัยอยูบริเวณเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาเรื่อยมาต้ังแตสมัยกรุงธนบุรีบางแลว

ลักษณะการต้ังถ่ินฐานของผูคนท่ีอาศัยอยูตามลําน้ํ าเหนือกรุงเทพฯ ข้ึนไปนั้น เซอรจอหน เบาวริง นักการทูตชาวอังกฤษ ท่ีเขามาทําสนธิสัญญาทางไมตรีกับสยาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว สนธิสัญญาอันเปนท่ีรูจักดี คื อ " สน ธิ สั ญ ญ า เ บ า ว ริ ง ” ไ ด เ ขี ย น ห นั ง สื อ เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ เ ทศสย า ม เรื่อง The Kingdom and people of siam (ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม) กลาววา “นักเดินทางไดรายงานไววา ทางตอนเหนือของกรุงเทพฯ มีเมือง และหมูบานจํานวนมากเรียงรายตลอดท้ัง ๒ ฟากฝงแมน้ําเจาพระยา และบรรดาท่ีราบท่ีอยูใกลชิดกันนั้นสวนใหญใชปลูกขาว ในบริเวณตางๆ ท่ีต้ังมีการต้ังบานเรือนนั้นราษฎรผสมผสานกันหลายเช้ือชาติ... 1 2

๙ แสดงใหเห็นวาผูคนสมัยนั้นมีวิถีชีวิตท่ีพึ่งพิงกับสายน้ําในหลาย ๆ ดาน จึงเปนเหตุใหผูคนนิยมสรางเรือนอยูริมแมน้ํา เพื่ออาศัยคุณประโยชนตาง ๆ จากลําน้ํา ต้ังแตการทํามาหากินดวยการจับสัตวน้ํามาบริ โภคเปนอาหาร รวมท้ังการนําไปค าขายแลกเปล่ียน ใช ในการอุปโภค

๘เสถียร พันธรังษ;ี และ อัมพร ทีขะระ. (๒๕๕๐). ทองถ่ินสยามยุคพระพุทธเจาหลวง.

หนา ๖๑. ๙ชาญวิทย เกษตรศิริ; และกัณฐิกา ศรีอุดม, บรรณาธิการ. (๒๕๔๗). ราชอาณาจักรและ

ราษฎรสยาม. หนา ๔๙.

Page 15: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๑๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา บริโภค นอกจากนี้ยังสะดวกตอการคมนาคม ไปมาหาสูกันระหวางบาน หมูบาน และหัวเมืองอื่น ๆ อีกท้ังเปนแหลงพบปะคาขายกันตามจุดนัดหมายตาง ๆ สวนพื้นท่ีท่ีหางไกลจากลําน้ําซึ่งเปนท่ีลุมน้ําทวมถึงไดถูกใชสําหรับการเพาะปลูก โดยเฉพาะการปลูกขาวนั้นเปนผลผลิตทางการเกษตรหลักของผูคนในภูมิภาคนี้

ซอมเมอรวิลล แมกซเวล นักเดินทางชาวตางชาติท่ีเขามาอยุธยาในสมัยรัชกาลท่ี ๕ ไดบันทึกเกี่ยวกับวิถีชีวิตความเปนอยูของผูคนท่ีอาศัยอยูตามลําน้ํา มีขอความตอนหนึ่งวา “. ..เรือนอยูอาศัยสวนใหญเปนเรือนแพท่ีลอยอยูในน้ํา เนื่องจากชาวสยามเห็นวาจะทําใหพวกเขามีสุขภาพดีกวาบานท่ีอยูบนบก”๑๐ ซึ่งในขณะนั้นผูคนมีความเช่ือวาการอาศัยอยูบนฝงอยางหนาแนน มีสวนทําใหเกิดการระบาดของอหิวาตกโรคข้ึนได และทางการก็ไดมีการประกาศใหราษฎรยายถ่ินฐานบานเรือนจากบนบกลงไปอาศัยอยูตามเรือนแพและในเรืออีกดวย14

๑๑ ลักษณะเรือนแพท่ีอยูอาศัยของประชาชน โดยท่ัวไปมักจะปลูกสรางดวยไม

ไผและไม ท่ีมีน้ําหนักเบา หลังคามุงจาก ภายในเรือนแพมีหองไมเกิน ๒ หอง ดานหนาเรือนแพสวนใหญมักจะเปดโลง และมีระเบียง ๒ ดาน ดานหนึ่งอยูติดกับ ตัวบาน สวนอีกดานสรางเปนนอกชานไวสําหรับเปนทาข้ึนลงเรือ เรือนแพจะผูกติดไวกับหลักไมไผท่ีปกอยูในแมน้ําหรือคลอง นอกจากนี้เรือนแพสามารถเคล่ือนยายไป ต้ังหลักแหลงท่ีอื่นๆ ตามความประสงคของผูอยูอาศัยได

๑๐

ชาญวิทย เกษตรศิริ; และกัณฐิกา ศรีอุดม, บรรณาธิการ. (๒๕๔๗). ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม. หนา ๕๑.

๑๑ซอมเมอรวิลล แมกซเวล. (๒๕๔๔). สยามริมฝงเจาพระยา. หนา ๑๒๕.

Page 16: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๕

วิถีชีวิตและความเปนอยูชาวสยาม สมัยรัชกาลท่ี ๕ ถายโดยซอมเมอรวิลล แมกซเวล

ท่ีมา: ซอมเมอรวิลล แมกซเวล. (๒๕๔๔). สยามริมฝงเจาพระยา. หนา ๑๒๗.

บริเวณยานตัวเมืองกรุงเกา สมัยรัชกาลท่ี ๕ ถายโดยซอมเมอรวิลล แมกซเวล

ท่ีมา: ซอมเมอรวิลล แมกซเวล. (๒๕๔๔). สยามริมฝงเจาพระยา. หนา ๑๖๓.

Page 17: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๑๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

สําหรับท่ีพระนครศรีอยุธยานั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ไดปรากฏรูปวาดลายเสนเมืองกรุงเกา 1 5 * ตีพิมพอยูในหนังสือพิมพ Le Monde Illustré ของฝรั่งเศส ฉบับวันท่ี ๒๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๐๕ (ค.ศ.๑๘๖๒) ซึ่งมีคําอธิบายใตภาพกลาวถึง อยุธยาเมืองหลวงเกาของสยาม

รูปวาดลายเสนเมืองพระนครศรีอยุธยาสมัยรัชกาลท่ี ๔ (ตีพิมพ พ.ศ.๒๔๐๕)

ท่ีมา: ไกรฤกษ นานา. (๒๕๕๒). สมุดภาพรัชกาลท่ี ๔ วิกฤติและโอกาสของรัตนโกสินทรในรอบ ๑๕๐ ป. หนา ๙๓.

*ในสมัยรัชกาลท่ี ๔ เริ่มมีรูปวาดลายเสนเกี่ยวกับเมืองไทยหลายภาพท่ีชางภาพชาวตะวันตก

ใชวิธีการคัดลอกจากภาพถายตนฉบับท่ีถายลงบนแผนโลหะหรือแผนกระจก ซึ่งนํามาเขียนลายเสนใหภาพมีความชัดเจนข้ึน เพ่ือนําไปตีพิมพลงในสิ่งพิมพตางๆ รูปวาดลายเสนท่ีคัดลอกจากภาพถายมีปรากฏในสิ่งพิมพรวมสมัยอยาง Description du Royaume Thai ou Siam (เลาเรื่องเมืองสยามของสังฆราช ปาลเลกัวซ) และ The Kingdom and people of siam (ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม ของ เซอร จอหน เบาวริง) เปนตน ดูเพ่ิมเติมใน เอนก นาวิกมูล. (๒๕๓๐). ถายรูปเมืองไทยสมัยแรก. กรงุเทพฯ: แสงแดด.

Page 18: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๗

ในภาพนั้นไดแสดงใหเห็นสภาพการต้ังบานเรือนท่ีอยูอาศัยไดอยางชัดเจน คือตลอดสองฝงลําน้ําจะมีเรือนแพของราษฎรผูกไวกับหลักไมไผท่ีปกอยูริมตล่ิง เปนแถวยาวติดตอกันไปตามลําน้ํา มีไมไผพาดเปนสะพานขามไปสูแพ ผูคนตางใชเรือเปนพาหนะในการสัญจร บางก็ใชเรือเปนท้ังท่ีอยูอาศัยและเปนท้ังพาหนะเดินทาง ในละแวกชุมชนริมน้ําจะมีวัดต้ังรวมอยูดวยซึ่งวัดจะมีบทบาทเปนศูนยรวมจิตใจของผูคนในชุมชน

นอกจากราษฎรชาวกรุงเกาจะนิยมอยูอาศัยในแพริมแมน้ําเปนสวนมากแลว ยังมีผูคนอีกสวนหนึ่งต้ังบานเรือนอาศัยอยูบนบก รอบ ๆ เกาะเมืองอีกดวย ลักษณะบานเรือนโดยท่ัวไปตามสมัยนิยมมีลักษณะเปนเรือนไมช้ันเดียวมุงจาก ยกพื้นเรือนข้ึนจากระดับพื้นดิน ช้ันลางจึงโลงเปนใตถุน มีบันไดไมไผพาดข้ึนตัวเรือน ภายในเรือนแบงเปนหอง บางเรือนมี ๒ หอง บางมี ๓ หอง ซึ่ง ณ บริเวณกรุงเกา ปรากฏขอมูลวามีเรือนไมของราษฎรต้ังอยูริมฝงแมน้ําจํานวนไมนอย ดังปรากฏในจดหมายเหตุรัชกาลท่ี ๔ จ.ศ.๑๒๒๘ (พ.ศ.๒๔๐๙) เรื่องท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทานท่ีดินใหพระไชยวิชิตผูรักษากรุงเกาสําหรับปลูกเรือนอยูหนาวัดฝาง ซึ่งมีเรือนราษฎรอาศัยอยูบริเวณนั้นกอนแลว ในเอกสารดังกลาวทําใหทราบวาลักษณะบานเรือนพื้นถ่ินของผูคนในอยุธยาประกอบดวยเรือน ๓ ลักษณะ คือ เรือนเครื่องสับขนาด ๓ หอง เรือนเครื่องผูกขนาด ๒-๓ หอง และเรือนเสาไมไผขนาด ๒ หอง ต้ังอยูรวมกันอยางหนาแนน16

๑๒ ดังนั้น ลักษณะบานเรือนของชาวกรุงเกาในระยะนี้ ประกอบไปดวยผูคนท่ี

อาศัยอยูในเรือ และเรือนแพ กับอีกสวนหนึ่งผูกเรือนอาศัยอยูริมสองฟากฝงลําน้ําละแวกเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ดังท่ีเซอร จอหน เบาวริง ไดใหขอมูลเกี่ยวกับสภาพท่ีอยูอาศัยในละแวกกรุงเกาไววา ยิ่งไกลออกไปทางดานเหนือของเกาะเมืองอยุธยาเทาไร จํานวนบานเรือนของราษฎรยิ่งเบาบางลงจนหมดส้ิน

๑๒

จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔ จ.ศ.๑๒๒๘ เลขท่ี ๑๐๕ เรื่องใหพระยาไชยวิชิตต้ังบานเรือน.

Page 19: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๑๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

ยิ่งสะทอนใหเห็นวา ในชวงตนกรุงรัตนโกสินทร ไดมีผูคนเขามาต้ังถ่ินฐานอาศัยอยูเปนชุมชนขนาบน้ํารอบ ๆ เกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา กระท่ังอดีตราชธานีท่ีลมสลายแหงนี้ ฟนคืนมาเปนแหลงชุมชนเมืองอีกคร้ังหนึ่ง

บรรณานุกรม

ไกรฤกษ นานา. (๒๕๕๒). สมุดภาพรัชกาลท่ี ๔ วิกฤติและโอกาสของรัตนโกสินทรในรอบ ๑๕๐ ป. กรุงเทพฯ: มติชน.

คลองเมืองอยุธยา. (๒๕๕๓). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: หอจดหมายเหตุแหงชาติ. จดหมายเหตุรัชกาลท่ี ๔ จ.ศ.๑๒๒๘ เลขท่ี ๑๐๕ เรื่องใหพระยาไชยวิชิตต้ัง

บานเรือน. ชาญวิทย เกษตรศิริ; และกัณฐิกา ศรีอุดม, บรรณาธิการ. (๒๕๔๗). ราชอาณาจักร

และราษฎรสยาม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย. ปาลเลอกัวซ, ฌอง แบปติสต, (๒๕๐๖). เลาเร่ืองเมืองไทย. แปลโดย สันต ท.

โกมลบุตร. พิมพครั้งท่ี ๒. พระนคร: กาวหนา. เสถียร พันธรังษี; และ อัมพร ทีขะระ. (๒๕๕๐). ทองถ่ินสยามยุคพระพุทธเจา

หลวง. กรุงเทพฯ: มติชน.

Page 20: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๙

ฟ��นวังจันทรเกษม ดังฟ��นชีวาราชธานี

พัฑร แตงพันธ17*

พระราชวังจันทรเกษม พระนครศรีอยุธยา

ท่ีมา: อรรถดา คอมันตร. (๒๕๕๔). กรุงเกาเม่ือกาลกอน ภาพถาย ๑๐๐ ป พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: สยาม เรเนซองส.

พระราชวั ง จันทร เกษม ต้ั ง อยูทางด านตะวันออกเ ฉียง เหนื อของ

เกาะเมืองกรุง เกา เดิมคือ พระราชวังบวรสถานมงคล หรือวังหนา ในสมัย กรุงศรีอยุธยา อันเปนท่ีประทับของอุปราชหลายพระองค นับแตสมเด็จพระนเรศวรเปนตนมา ภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยา พระราชวังบวรสถานมงคลไดรับความเสียหาย

* นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Page 21: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๒๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา หนัก และถูกท้ิงรางเนิ่นนานมา จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดฯ ใหบูรณปฏิสังขรณใหกลับคืนเปนท่ีประทับของพระเจาแผนดินตามเดิม

พระราชวังแหงนี้เอง ไดกลายเปนสถานท่ีสําคัญอยางยิ่งของเมืองกรุงเกา ดวยในรัชสมัยตอมาสถานท่ีแหงนี้ถูกใชเปนท่ีทําการของมณฑลกรุงเกา และทําใหยานนี้กลายเปนศูนยกลางแหงใหมของชุมชนเมืองกรุงเกาไปดวย อันเปนท่ีต้ังของสถานท่ีราชการ สถานศึกษา และเปนยานท่ีอยูอาศัยเกาแก เปนรากเหงาแทจริงของชุมชนเมืองพระนครศรีอยุธยาในปจจุบัน

ฟ��นวังจันทรเกษม

ชวงตนกรุงรัตนโกสินทรนั้น เมืองกรุงเกายังไมมีศูนยกลางการปกครอง ท่ีชัดเจน ยังอาศัยจวนเจาเมืองเปนสถานท่ีวาราชการ และชุมชนเมืองกรุงเกายังมีลักษณะกระจายไปตามลําน้ําตางๆ รอบเกาะเมือง

จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเสด็จพระราชดําเนินบําเพ็ญพระราชกุศลบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชแหงกรุงศรีอยุธยา ณ พระราชวังเดิม และวัดสุวรรณดารารามท่ีเมืองกรุงเกา โดยเสด็จทางชลมารคมาประทับพักแรม ณ พลับพลาท่ีปอมเพชร ก็ทรงมีพระราชดําริจะสรางพระราชวังสําหรับเปนท่ีประทับแรมบริเวณหลังปอมเพชร อันเปนบริเวณนิวาสสถานเดิมของพระมหาชนกนาถในราชวงศจักรี และมีพระราชดําริท่ีจะใหวัดสุวรรณดารารามซึ่งอยูในบริเวณเดียวกัน เปนพระอารามประจําพระราชวัง

แตเมื่อทรงเสด็จทอดพระเนตรเห็นพื้นท่ีพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงพบวาสถานท่ีนั้นมีระดับพื้นท่ีสูงกวาบริเวณปอมเพชร จึงทรงเปล่ียนพระทัยใหสรางพระราชวังข้ึนท่ีบริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลแทน และขนานนามวา “พระราชวังจันทรเกษม” หรือบางครั้งเรียกโดยยอวา “วังจันทรเกษม”

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชประสงคจะสรางใหพระราชวังจันทรเกษมเพื่อเปนท่ีประทับในเวลาเสด็จมาประพาสเมืองกรุงเกา ทรงโปรดฯ ใหกรมหลวงวงศาธิราชสนิทเปนแมกอง กรมขุนราชสีหวิกรมเปนนายชาง ในการสรางพระราชวังจันทรเกษม โดยจะสรางพระท่ีนั่งพิมานรัถยา ท่ียังปรากฏรอย

Page 22: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๑ รอยปรักหักพังอยู ข้ึนเปนท่ีประทับ รวมท้ังปฏิสังขรณซากหอสูงท่ีสันนิษฐานวา สร าง ข้ึนในสมัยสมเด็จพระนารายณ ข้ึนมาใหม แลวพระราชทานนามว า พระท่ีนั่งพิไสยศัลลักษณ และวางแนวกําแพงเขตพระราชวังใหมีบริเวณพอสมควร โดยมีประตูซุม ๔ ประตู

นอกจากนั้นยังทรงโปรดฯ ใหปลูกพลับพลาจัตุรมุขเปนท่ีประทับ ระหวางท่ียังสรางพระท่ีนั่งพิมานรัถยาไมแลวเสร็จ และยังโปรดเกลาใหบูรณะวัดเสนาสนารามซึ่งอยูไมไกลจากพระราชวังจันทรเกษมใหเปนพระอารามประจําพระราชวัง

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเสด็จมาประทับท่ีพระราชวังจันทรเกษมเปนครั้งคราว แมวาการกอสรางพระท่ีนั่งพิมานรัถยาจะไมเสร็จสมบูรณกระท่ังส้ินรัชกาลก็ตาม

ดังฟ��นชีวาราชธาน ี

การปฏิสังขรณพระราชวังบวรสถานมงคลจากซากปรักหักพัง จนฟนข้ึนมาเปนพระราชวังจันทรเกษมนั้น เปรียบด่ังการคืนลมหายใจใหกับเมืองกรุงเกาท่ี มลายลงใหกลับคืนมามีชีวิตชีวาเหมือนเมื่อครั้งท่ีเปนราชธานีอีกครั้ง ดังความ ปลาบปล้ืมท่ีถูกสะทอนในนิราศกรุงเกาของหลวงจักรปาณี ขาราชสํานักชาวกรุงเกาท่ีกลาวไวดังนี้

บุญพระจอมเจาหาก ปรุงเปรม

สฤษดิวังจันทรเกษม กอสราง

สนุกนิปลุกใจเอม อกราษฎร แลพอ

เทียรผดุงกรุงมลาง ลมแลวลอยคืน

หลวงจักรปาณี (ฤกษ) เปรียญ

Page 23: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๒๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

การท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยู หัวไดโปรดฯ ใหบูรณะพระราชวังจันทรเกษมข้ึนใหม ยังเปรียบไดกับการปกเสาหลักของชุมชนเมืองอยุธยาไว ณ พื้นท่ีแหงนี้ เนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชวังจันทรเกษมไดถูกปรับใชเปนท่ีทําการมณฑลกรุงเกา อันเปนศูนยกลางทางราชการท่ีสําคัญในการปกครองทองถ่ินแบบมณฑลเทศาภิบาล ของมณฑลกรุงเกา ท่ีจะมีความสําคัญอยางยิ่งตอการเติบโตของชุมชนเมืองในสมัยมณฑลกรุงเกา และตอ ๆ มานั่นเอง

บรรณานุกรม

เกื้ อกูล ยืนยงอนันต . (๒๕๒๗) . ความเปลี่ ยนแปลงภายใน เกาะเ มืองพระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘ – ๒๕๐๐. พระนครศรีอยุธยา: วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา

โบราณราชธานินทร (พร เดชะคุปต), พระยา. (๒๕๒๗). เ ร่ืองเก่ียวกับพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๕. (๒๕๔๒). กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร.

Page 24: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๓

กรุงเก�า: ศูนย�กลางการปกครองแห�งมณฑล

พัฑร แตงพันธ18*

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว นับเปนสมัยแหงการ

ปฏิรูปประเทศใหเจริญมีความทันสมัยในทุก ๆ ดาน อยางชาติท่ีไดช่ือวามีอารยะ หรือท่ีเรียกทับศัพทกันในขณะนั้นวา “ความศิวิไลซ” มิใชชาติท่ีลาหลังและปาเถ่ือนอยางท่ีชาติมหาอํานาจตะวันตกคอยปรามาส เพื่อหาขออางในการรุกรานอธิปไตยของชาติ เชนเดียวกับท่ีกระทําตอประเทศเพื่อนบานของสยามในเวลาเดียวกันนั้น

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเลือกระบบการปกครอง ในสวนภูมิภาคแบบเทศาภิบาลมณฑล ซึ่งเปนแบบแผนของการปกครองท่ีอังกฤษกําลังใชในประเทศพมาและมลายูในขณะนั้น นํามาซึ่งการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญของสยามใน พ.ศ.๒๔๓๕ และมีการจัดระบบการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลข้ึนครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๗ นอกจากจะเปนการปรับปรุงระบบการปกครองใหเปนระบบแบบสากลใหเจริญ เพื่อรอดพนจากภัยคุกคามของชาติมหาอํานาจแลว ยังมีความมุงหมายเพื่อสรางเอกภาพทางการปกครองใหกิจการท้ังปวงในดานการปกครองเปนไปอยางมีระเบียบแบบแผนเปนมาตรฐานเดียวกัน

* นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Page 25: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๒๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา และแกปญหาเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของราษฎร รวมท้ังปญหาเกี่ยวกับคดีความตางๆท่ีค่ังคางมานานอีกดวย 19

๑๓ การจัดระบบการปกครองแบบเทศาภิบาล เปนการปกครองโดยจัดใหมี

หนวยบริหารราชการ อันประกอบดวยตําแหนงขาราชการตางพระเนตรพระกรรณของพระบาทสมเด็จพระเจาอยู หัว และเปนท่ีไว ใจของรัฐบาล แบงรับภาระ ของรัฐบาลกลางออกไปปกครองในสวนภูมิภาค เปนการปกครองอาณาประชาราษฎรอยางใกลชิด เพื่อบําบัดทุกขบํารุงสุขอยางท่ัวถึง ในขณะเดียวกันตองใหเกิดคุณประโยชนแกประเทศชาติดวย ซึ่งมีการแบงการปกครองเปนลําดับช้ันลงมา คือ มณฑล จังหวัด อําเภอ ตําบล และหมูบาน

สําหรับการปกครองแบบเทศาภิบาลในมณฑลกรุงเกานั้น ไดจัดต้ังข้ึนเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.๒๔๓๘ (ร.ศ.๑๑๔) โดยในระยะแรกไดรวม ๘ หัวเมืองเขาดวยกัน ประกอบดวย กรุงเกา อางทอง สระบุรี ลพบุรี พระพุทธบาท พรหมบุรี อินทรบุรี และสิงหบุรี ภายหลังไดรวมเมืองพระพุทธบาทเขากับเมืองสระบุรี และรวมเมืองพรหมบุรี อินทรบุรีเขากับเมืองสิงหบุรี ทําให ท่ีสุดมณฑลกรุงเกาประกอบดวย ๕ เมือง คือ กรุงเกา หรือพระนครศรีอยุธยา อางทอง สระบุรี ลพบุรี และสิงหบุรี

เมื่อรัฐบาลสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดเลือกสรรใหเมืองกรุงเกา เปนศูนยกลางการปกครองของมณฑล จึงไดเลือกพระราชวังจันทรเกษมท่ีมีการบูรณปฏิสังขรณ คางมาต้ังแตสมัยรัชกาลท่ี ๔ สําหรับใชเปนท่ีทําการมณฑล ดวยเหตุท่ีในเวลานั้น พระราชวังจันทรเกษมเปนสถานท่ีของทางราชการท่ีสําคัญท่ีสุดในเมือง มีพื้นท่ีใชสอยกวางพอสมควรแกการปฏิบัติงานบริหารราชการ มีอาคารหลายหลัง และมีรั้วรอบแข็งแรงพรอมเปนทุนอยูแลว จึงไมจําเปนตองหาหรือจัดสรางสถานท่ีแหงใหมเพื่อใชเปนท่ีทําการมณฑลอีกแตอยางใด โดยไดปรับปรุงสถาน ท่ีภ าย ในพร ะ ร าชวั ง จั นทร เ กษม ให เ ป น ท่ี ทํ าก ารมณฑลกรุ ง เ ก า เชน การปฏิสังขรณพระท่ีนั่งพิมานรัตยาซึ่งทําคางไวและถูกทอดท้ิงใหทรุดโทรมอยูใน

๑๓

กมล มั่นภักดี, บรรณาธิการ. (๒๕๒๖). ประวัติมหาดไทยสวนภูมิภาค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. หนา ๔๒.

Page 26: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๕ รัชกาลกอน เพื่อใชศาลารัฐบาลมณฑลกรุงเกา คือเปนสถานท่ีบริหารราชการของขาหลวงเทศาภิบาล ปรับปรุงพลับพลาจัตุรมุข ใหเปนศาลาวาการเมือง สวนอาคารหลังใหญท่ีมุมกําแพงดานเหนือปรับใชเปนศาลาวาการอําเภอรอบกรุง เปนตน

แผนท่ีแสดงอาณาเขตมณฑลกรุงเกา

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเสด็จมาทําพิธีเปดท่ีทําการมณฑลกรุงเกาอยางเปนทางการ ในวันท่ี ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ (ร.ศ.๑๑๕) หรือ ปถัดจากการจัดต้ังมณฑลกรุง เกาแลว นับเปนจุดเริ่มตนของชวงเวลาประวัติศาสตรท่ีสําคัญอยางยิ่งชวงเวลาหนึ่งของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ชวงเวลาท่ีอยุธยากลับมาโดดเดนเปนศูนยกลางการปกครองระดับมณฑล ชวงเวลาส้ัน ๆ ท่ีเมืองซึ่งถูกทําลายจนยอยยับแหงนี้ ไดรับการฟนฟูจน

กลายเปนชุมชนขนาดใหญอยางรวดเร็วและตอเนื่อง มีสถานท่ีราชการระดับมณฑลหลายแห ง สถานศึกษาตัวอย างประจํามณฑล และโรง เรียนทุกระ ดับ ช้ัน

อางทอง

สิงหบุรี ลพบุรี

สระบุรี

กรุงเกา / อยุธยา

Page 27: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๒๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา สถานพยาบาล ยานการคาขายแหงใหญ ศูนยกลางการคมนาคมทางน้ําแหงภาคกลาง พรอมท้ังมีการขนสงระบบรางท่ีสะดวก รวดเร็วและทันสมัย

รวมถึงเปนชวงเวลาแหงการรื้อฟนประวัติศาสตร และการสงวนรักษารองรอยความรุงเรืองแหงกรุงศรีอยุธยา

อันเปนชวงเวลาท่ีเรียกวา “สมัยมณฑลกรุงเกา”

บรรณานุกรม

กมล มั่นภักดี, บรรณาธิการ. (๒๕๒๖). ประวัติมหาดไทยสวนภูมิภาค จังหวัดพระนครศ รีอยุ ธยา . พระนครศรี อยุ ธยา : สํ านั ก ง าน จังหวั ดพระนครศรีอยุธยา.

การเปดทางรถไฟนครราชสีหมาระหวางกรุงเทพฯ กับกรุงเกาแลเปดท่ีวาการขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐ ๔ เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลมท่ี ๑๔ ตอนท่ี ๑. หนาท่ี ๑๑-๑๔.

รายงานขาหลวงเทศาภิบาล มณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๒, ๕ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลมท่ี ๑๕ ตอนท่ี ๔๙ หนาท่ี ๕๒๖ – ๕๓๖.

Page 28: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๗

“ย�านตลาด” ภาพบันทึกวิถีชาวกรุงเก�า ในจิตรกรรมฝาผนัง

วัดเชิงท�า จ.พระนครศรีอยุธยา สุรินทร ศรีสังขงาม20*

ต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน พระนครศรีอยุธยาไดเปน แหลงรวมศิลปวัฒนธรรม ท่ีส่ังสมสืบเนื่อง อยางยาวนาน นับแตสมัยราชธานี สูมณฑลกรุงเกา และจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปจจุบัน ยังคงปรากฏงานศิลปกรรมช้ันเยี่ยมอีกมากมายท้ังท่ีคนพบ เผยแพร และยังคงเปนเพชรน้ําเอกท่ียังธํารงอยูในทองถ่ินจวบจนปจจุบัน

*รองผูอํานวยการฝายวิชาการ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Page 29: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๒๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

แนวคิดแบบ “สัจนิยม” ปรากฏอิทธิพลตอจิตกรรมไทยอยางชัดเจนชวงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งลักษณะ “สัจนิยม” นี้เอง ไมไดมีความหมายแตเพียงการพัฒนา “รูปแบบ” การเขียนจิตรกรรมไทย ในลักษณะทัศนียภาพ อยางตะวันตกเทานั้น แตยังหมายถึงความพยายามในการแสดง “เนื้อหา” ท่ีเปนจริงและเกิดข้ึนในชวงเวลานั้นๆ ลงในภาพจิตกรรมอยางนาสนใจ จึงเปนเหตุผลสําคัญท่ีทําใหจิตรกรรมไทย โดยเฉพาะจิตรกรรมฝาผนัง มิไดเปนเพียงงานทัศนศิลปเพื่อความงามเทานั้น แตหากยังเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีสําคัญในเวลาเดียวกันดวย ดังตัวอยางท่ีสําคัญยิ่ง ปรากฏสวนหนึ่งของภาพจิตรกรรมฝาผนัง ในศาลาการเปรียญ วัดเชิงทา จ.พระนครศรีอยุธยา ท่ีไดบรรยายลักษณะ ของ”ยานตลาด” ในสมัยรัตนโกสินทร โดยเฉพาะในเมืองกรุงเกาไดอยางนาสนใจ

จิตรกรรมฝาผนังวัดเชิงทา เขียนอยูภายในศาลาการเปรียญ เปนอาคารท่ีสรางข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี๔ แหงกรุงรัตนโกสินทร ปรากฏหลักฐานการสรางวา “โยมแดง” เปนผูบริจาคทรัพย โดยให “ขุนกล่ันทิพย “ เปนแมงานดําเนินงานกอสราง โดยลักษณะทางสถาปตยกรรม เปนอาคารกออิฐถือปูน ขนาดกวางประมาณ ๑๑ เมตร ยาวประมาณ ๓๗ เมตร กอสองช้ัน ปูพื้นไม หันหนาดานทิศตะวันออก ติดริมฝงแมน้ําลพบุรี ภายในปรากฏภาพจิตรกรรมฝาผนัง เรื่อง ทศชาติชาดก พุทธประวัติและเทพชุมนุม บริเวณเสาภายในอาคารมีการจารึกช่ือชางเขียน ทําใหเช่ือไดวา ชางเขียนจิตรกรรมฝาผนังในศาลาการเปรียญ สวนหนึ่งเปนคนพื้นเพชาวกรุงเกาเองดวย

ภาพ”ยานตลาด” เปนสวนหนึ่งของจิตรกรรมฝาผนัง ท่ีบริเวณ “ระหวางหอง” ของผนังสกัดดานหนาฝงทิศตะวันออก ภาพจิตรกรรมบรรยายลักษณะของตลาดสดเรียบฝงกําแพงเมือง มีผูคนขวักไขว จับจายใชสอยในตลาด ลักษณะของชาวบานชายหญิง แตงกายดวยผานุงโจงกระเบนแบบผาพื้น สีเขียวบาง ครามบาง หรือสีน้ําตาล ผูชายมักเปลือยทอนบนมีผาขาดเอว สวนผูหญิงหมคลุมผาทอนบน มีท้ังหมแบบสไบเฉียง รัดแบบผาแถบ หรือ คลองบาปลอยชายท้ังสองขาง จับจายของในตลาดโดยถือกระบุงและตะกราท่ีทําจากไผหรือตอกสาน

Page 30: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๙

ในตลาด ชางเขียนไดถายทอดออกมาอยางสมจริง พอคาแมคาขายสินคาบนแครและบนเส่ือ สินคาสวนใหญเปนของสด ภาพจิตรกรรมแสดงอยางชัดเจนวามีการขาย เนื้อสัตว ประเภทสัตว เทากีบ (วัว,ควาย,เกง,สุกร ฯลฯ) แบบ “ชําแหละ” ขาย มีปลาสด และผลไม เชน มะมวง กลวย เงาะ มังคุด ซึ่งเหลานี้ คงเปนสินคาพื้นฐาน ในยานตลาดสมัยรัตนโกสินทร(แตเนื่องจากขอจํากัดจากความเสียหายของงานจิตรกรรมทําใหภาพบางสวนไมสามารถตีความไดอยางชัดเจนนัก)

นอกจากภาพ “ยานตลาด” แลวยังคงปรากฏภาพดานทายตลาดมี “บอนไกชน” ท่ีมีการบรรยายลักษณะองคประกอบ และเนื้อหาไดอยางสมบูรณ ภาพผูคนท่ีสวนใหญเปนผูชายชุลมุนเปรียบไกชน ในจิตรกรรมไดแสดงใหเห็นวา การพักยกเพื่อใหน้ําไกท่ีเรียกวา “หมดหนึ่งอัน” ปรากฏอยางนอยไมชาไปกวา สมัยรัชการท่ี ๔ ซึ่งรวมสมัยกับจิตรกรรมนั้นเอง นอกจากนั้นยังปรากฏภาพ “ มวย” และส่ิงละอันพันละนอยเปนรายละเอียดอีกอยางมากมายในจิตรกรรมท่ีอยูในสภาพเสียหายมากแหงนี้

Page 31: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๓๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

จากหลักฐานท่ีปรากฏช่ือชางเขียน ท่ีเปนชาวกรุงเกา จึงมีความเปนไปได

อยางยิ่งท่ีภาพเหลานี้จะไดสะทอนวิถีชีวิตท่ีเปนอยูจริงของผูคนรวมสมัย โดยเฉพาะในถ่ินท่ีเมืองกรุงเกาไดอยางชัดเจน

อยางไรก็ตาม ปจจุบันภาพจิตกรรมฝาผนังของวัดเชิงทา อยูในสภาพเสียหายเปนอยางมากดวยมีปจจัยของอายุเวลา ภัยจากน้ําทวมใหญ ป พ.ศ. ๒๕๕๔ และยังพบความเสียหายเชิงคุณคาท่ีเกิดจากงานบูรณะ ท่ี “ไมไดมาตรฐาน” อีกดวย จึงเปนความจําเปนอยางยิ่ง ในการใหความสําคัญ ตระหนักถึงคุณคาและการมีสวนรวม ท้ังการเผยแพร และอนุรักษ เพื่อใหจิตรกรรมฝาผนังของวัดเชิงทาแหงนี้ ยังคงเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ท่ีทรงคุณคายิ่ง ในฐานะมรดกทางประวัติศาสตร โดยมิใหเหลือแตเปนเพียงคําบอกเลากลาวขานในอนาคต

บรรณานุกรม

บรรจบ เทียมทัด. “วัดเชิงทา” ศิลปากร ๒, ๕ (มกราคม ๒๕๐๒) : ๖๖

Page 32: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๑

ภาพเก�าเล�าอดีต

กรุงเก�าในมุมมองจากยอดหอพิสัยศัลลักษณ�

วัดเสนาสนาราม มลฑลกรุงเกา ในมุมมองท่ีถายภาพจากยอดหอ พิสัยศัลลักษณ ภายในพระราชวังจันทรเกษม ภาพดังกลาวถายโดย ศาสตราจารยซอมเมอรวิลล แมกซเวล เมื่อราวปพุทธศักราช ๒๔๔๐ แสดงใหเห็นสภาพของวัดเสนาสนารามกอนท่ีจะมีการบูรณะครั้งใหญในสมัยรัชกาลท่ี ๕ นอกจากนี้จะเห็นไดวาบรรยากาศภายในเกาะเมืองกรุงเกา ยังคงหนาแนนรกครึ้มไปดวยตนไม มองเห็นยอดเจดียและพระอุโบสถของวัดเสนาสนารามในระยะใกล สวนท่ีไกลออกไปทางดาน ซายสุดในภาพ จะมองเห็นยอดปรางคของวัดมหาธาตุในสภาพท่ีสมบูรณ กอนท่ีจะพังทลายมาลงในรัชกาลท่ี ๖ ลําดับถัดมาจะเห็นยอดปรางคของวัดพระรามในระยะไกล และยอดปรางคของวัดราชบูรณะ สวนมุมขวาบนในภาพจะเห็นยอดเจดียทรงระฆังท้ัง ๓ องคของวัดพระศรีสรรเพชญในระนะท่ีไกลออกไป

Page 33: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๓๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

จดหมายเหตุอยุธยาศกึษา

ตุลาคม รวมพลช�างท่ีอยุธยา เตรียมบุกทําเนียบรัฐบาล

๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ คนเล้ียงชางจากท่ัวประเทศ เดินทางมาจากจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร

กาญจนบุรี และบุรีรัมย มารวมตัวกันท่ีเพนียดคลองชาง อําเภอพระนครศรีอยุธยา เพื่อเตรียมขนชางข้ึนรถบรรทุกเกือบ ๑๐๐ เชือก เดินเทาเขาทําเนียบรัฐบาล เนื่องจากไมพอใจกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ออกพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา ทําใหเกิดผลกระทบตอคนเล้ียงชางท่ัวประเทศและเปนการริดรอนสิทธิ์เจาของชาง พรอมถูกกลาวหาวานําชางปาเขามาสวมเปนชางบาน โดยระบุวาตามขอเท็จจริงเปนชางท่ีชาวชางเล้ียงข้ึนเอง ซึ่งมีเพียงกลุมคนบางกลุมท่ีมีพฤติกรรมทําผิดกฎหมายนําชางปาเขามาสวมสิทธิ์ โดยตามกฎหมายสามารถตรวจสอบไดอยูแลว ดังนั้น การออกพระราชบัญญัติดังกลาวจึงสรางผลกระทบตอชาวชางโดยตรง รวมถึงยังครอบคลุมไปถึงการคาช้ินสวนอวัยวะของชางและงาชางดวย

พฤศจิกายน นิทรรศการ "สร�างอนาคตไทย ๒๐๒๐”

วันท่ี ๘-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดนิทรรศการ "สรางอนาคตไทย ๒๐๒๐” ท่ีศูนย

สงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ อําเภอบางไทร เพื่อนําเสนอแผนงานของรัฐบาลในเรื่องของโครงสรางพื้นฐานท้ังระบบการขนสง ทางน้ํา ทางบก และทางราง ท้ังนี้ใน

Page 34: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๓ ดานความพรอม ทางจังหวัดไดปรับยุทธศาสตรจังหวัดใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล เพื่อใหเปนศูนยกลางการขนสงของประเทศ ท้ังนี้จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนจุดจอดแรกของรถไฟความเร็วสูง สายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ ยังมีโครงการรถไฟทางคู มีมอเตอรเวยสายใหม เริ่มตนจากวังนอยไปส้ินสุดท่ี จังหวัดนครราชสีมา รวมถึงโครงการพัฒนาระบบขนสงทางน้ําท่ีจะชวยในเรื่องการลดตนทุนการขนสง อีกท้ังยังสามารถลดปริมาณรถบรรทุกไดถึง ๒๐ เทา

ภายในงานมีการนําเสนอนิทรรศการท่ีอัดแนนไปดวยขอมูลความรูท่ีเขาใจงาย เชน ทดลองนั่งรถไฟความเร็วสูงจําลอง รูจักแผนท่ีเสนทางคมนาคมใหม ท้ังถนน รถไฟทางคู รถไฟความเร็วสูง ตลอดจนโครงการขายคมนาคมในอนาคต สินคาโอทอปจากท่ัวประเทศและสินคาธงฟา ซึ่งมีประชาชน นักเรียน นักศึกษา เขารวมชมงานจํานวนมาก

ธันวาคม งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ�าอยู�หัว

วันท่ี ๒-๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ

เจาอยูหัว ระหวางวันท่ี ๒-๕ ธันวาคม โดยตกแตงประดับไฟน้ําหยด และไฟราว สีเหลืองสลับสีฟา บนตนมะขามท่ีปลูกเรียงรายริมถนนคลองมะขามเรียง สวยสดงดงาม

สําหรับการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยู หัว ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดจัดทําบุญตักบาตรขาวสารอาหารแหงท่ีวัดพนัญเชิงวรวิหาร ขาราชการถวายราชสดุดีปฏิญาณตนเปนขาราชการท่ีดี ท่ีสนามกีฬากลางจังหวัดฯ และเวลา ๑๙.๒๙ น. รวมจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล ท่ีเวทีกลางเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยาอยางยิ่งใหญและสมพระเกียรติฯ

Page 35: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๓๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา ยอยศยิง่ฟ�าอยุธยามรดกโลก

วันท่ี ๑๓ – ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ นายวิทยา ผิวผอง ผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนประธานเปด

งานยอยศยิ่งฟาอยุธยามรดกโลก ประจําป ๒๕๕๖ ท่ีบริเวณวัดมหาธาตุ อยางยิ่งใหญตระการตา ในบรรยากาศการแสดงแสง เสียง ๕ องค ประกอบดวย มรดกแหงกาลเวลา อยุธยานานาชาติ อยุธยาพุทธรักษา อยุธยาแสนยานุภาพ และอยุธยาอาเซียน มีผูเขาชมกวา ๓,๐๐๐ คน และท่ีสําคัญปนี้มีการถายทอดสดทางสถานีวิทยุโทรทัศนแหงประเทศไทย ท้ังนี้ การจัดงานดังกลาวจะมีไปถึงวันท่ี ๒๒ ธันวาคม

การชุมนุมคัดค�านไม�ยอมย�ายศพตามข�อเสนอของวัดพนัญเชิง

วันท่ี ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ กลุมญาติของบรรพบุรุษท่ีฝงศพไวท่ีสุสานวัดพนัญเชิงวรวิหาร กวา ๕๐๐

คน ชุมนุมเรียกรองไมยอมเคล่ือนยายศพท่ีฝงไวในสุสานเกือบ ๒,๐๐๐ หลุม ตามท่ีทางวัดระบุวาจะนําพื้นท่ีไปสรางอาคารปฏิบัติธรรมและสรางอาคารอาพาธสงฆ และขอใหญาติแสดงความจํานงนํารางไปฌาปนกิจจนถึงเดือนสิงหาคม ๒๕๕๗ โดยวัดเปนผูรับผิดชอบ ปรากฏวามีญาติท่ีไมเห็นดวยมาชุมนุมคัดคาน

Page 36: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๕

อยุธยาศึกษาปริทัศน� ตราสัญลักษณ�สถาบันอยุธยาศึกษา

เปนตราสัญลักษณท่ีส่ือถึงความเปนสถาบันทางวิชาการ โดยเปนศูนยกลางของการศึกษาเรื่องอยุธยา ซึ่งมุงแสดงใหเห็นถึงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร ศาสนา และภูมิปญญาทองถ่ิน ในรูปแบบเอกลักษณไทยรวมสมัย รวมท้ังแสดงถึงการดํารงอยูอยางมั่นคงท้ังในอดีต ปจจุบันและอนาคต

“ซุมหนาบัน”เปนสัญลักษณแสดงถึง ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร ศาสนา และการศึกษาประวัติศาสตรพงศาวดารอยุธยา

“ปลาตะเพียน”เปนสัญลักษณแสดงถึง ศิลปะพื้นบานแบบภูมิปญญาทองถ่ินท่ีผสานอยูในวิถีชิวิตท้ังในอดีตและปจจุบัน แสดงถึง วัฒนธรรมลุมน้ํา ดวยปลาเปนเครื่องหมายของความอุดมสมบูรณโดยเฉพาะในเขตลุมน้ําเจาพระยา และแสดงถึง งานศิลปหัตถกรรมท่ีเปนเอกลักษณของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

“โครงสรางรูปทรงสามเหล่ียม” เปนสัญลักษณแสดงถึง ปญญาการศึกษา และคนควาวิจัย โดยเฉพาะอยางยิ่งรูปแบบหนาบันท่ีปรากฏในตราสัญลักษณไดจําลองมาจากแบบหนาบันของ “วัดบรมพุทธาราม” ซึ่งเปนวัดท่ีอยูภายในมหาวิทยาลัย จึงเปนสัญลักษณของความเปนสถาบันทางวิชาการ ท่ีอยูภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาอยางชัดเจน

Page 37: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๓๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

คณะผู�บริหารสถาบันอยุธยาศึกษา

สถา บันอยุ ธ ย า ศึกษา หน ว ย ง า น ใน สั ง กั ดมหาวิ ทย า ลัย ร าชภั ฏพระนครศรีอยุธยาไดมีคณะผูบริหารชุดใหม ตามคําส่ังสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ท่ี ๓๒ / ๒๕๕๖ เรื่อง แตงต้ังผูอํานวยการสถาบัน ผูอํานวยการสํานัก ลงวันท่ี ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๖ ไดแตงต้ังให ดร.จงกล เฮงสุวรรณ เปนผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา และมีอาจารย กันยารัตน โกมโกทก เปนรองผูอํานวยการฝายบริหาร อาจารยสุรินทร ศรีสังขงาม เปนรองผูอํานวยการฝายวิชาการ และอาจารยอุมาภรณ กลาหาญ เปนรองผูอํานวยการฝายสงเสริมและเผยแพรวิชาการ

โดยบริหารบุคลากรดวยแนวทางการมุงเสริมสรางขวัญและกําลังใจใหบุคลากรของสถาบันอยุธยาศึกษา โดยยึดหลัก “คนสําราญ งานสําเร็จ” เพื่อใหบุคลากรไดทํางานอยางมีความสุข และไดผลงานท่ีมีคุณภาพภายใตหลักธรรมาภิบาล

Page 38: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๗ ปรัชญา วิสัยทัศน� พันธกิจ

ปรัชญา รอบรู เชิดชู สูสรางสรรค

วัฒนธรรมอยธุยา

วิสัยทัศน สถาบันอยุธยาศึกษา เปนศูนยขอมูลดานวัฒนธรรมอยุธยาท่ีมีคุณภาพเปน

สถาบันท่ีเชิดชู และสงเสริมการประยุกตใชขอมูลทางวัฒนธรรมอยุธยาเพื่อการพัฒนาสังคมอยางยั่งยืน

พันธกิจ ๑. รวบรวม ศึกษา คนควา วิจัยและเผยแพรองคความรูดานวัฒนธรรม

อยุธยา ๒. อนุรักษ สืบสาน สงเสริมและเผยแพรวัฒนธรรมอยุธยา ๓. สงเสริม และสนับสนุนการนําแนวทางพระราชดําริ และขอมูลทาง

วัฒนธรรมอยุธยา มาประยุกตใชในการพัฒนาสังคมปจจุบันอยางยั่งยืน

Page 39: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

๓๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

รอบร้ัวเรือนไทย

ร�วมงานสัมมนาวิชาการ เร่ือง “อีสาน-ลาว-แขมร�ศึกษา

เมื่อวันท่ี ๒๘-๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ อาจารยสุรินทร ศรีสังขงาม รองผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา พรอมดวย นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา ไดเขารวมงานสัมมนาวิชาการ เรื่อง “อีสาน-ลาว-แขมรศึกษา ในกรอบประชาคมอาเซียน” ณ หองแกรนดบอลรูม โรงแรม U-Place อาคารเทพรัตนสริปภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งภายในงานมีการเสวนาองคความรูเกี่ยวกับ อีสาน-ลาว-แขมรศึกษาในมิติตางๆ ท้ังทางดานประวัติศาสตร การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม

กิจกรรมลานวัฒนธรรมย�อนรอยตลาดกรุงเก�า

สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดกิจกรรมลานวัฒนธรรมยอนรอยตลาดกรุงเกาข้ึน ณ บริเวณสนามหญา สถาบันอยุธยาศึกษา ระหวางวันท่ี ๑๓-๑๕ และ ๒๐-๒๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เพื่อเปนการสนับสนุนการจัดงานมรดกโลกของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รวมไปถึงบทบาทการเปนสถาบันทางวิชาการและศูนยการจัดกิจกรรมระดับจังหวัด ซึ่งในพิธีเปดเมื่อวันศุกรท่ี ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ไดรับเกียรติจากอาจารยจิรศักด์ิ ชุมวรานนทรักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เปนประธานในพิธีเปดงาน

Page 40: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๙

โดยภายในงานตลาดยอนยุค ไดจําลองบรรยากาศในสมัยมณฑลกรุงเกา ประกอบดวย วิถีชีวิตชาวบาน การคาขาย และการแสดงมหรสพ และในการนี้สถาบันฯขอเชิญชวนทุกทานรวมเยี่ยมชมตลาดมณฑลกรุงเกา ณ สถาบันอยุธยาศึกษา

กิจกรรมอบรมเศรษฐกิจพอเพียงในกระแสการเปล่ียนแปลง

เมื่อวันท่ี ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดกิจกรรมอบรมเศรษฐกิจพอเพียงในกระแสการเปล่ียนแปลง ณ พิพิธภัณฑเกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จังหวัดปทุมธานี เพื่อใหเยาวชนท่ีผานการอบรมไดรับความรู และมีความเขาใจท่ีถูกตองเกี่ยวกับหลักปรัชญาแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนําแนวคิดนี้มาปรับใชกับการดํารงชีวิตอยางถูกตอง ตลอดจนสามารถนํามาใชแกปญหาของตนเองและชุมชนไดโดยใชหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะส้ันงานศิลป�ถ่ินกรุงเก�า

เร่ือง ศาสตร�ศิลป�ภูมิป�ญญาจากตู�พระธรรมลายรดน้ํา

เมื่อวันท่ี ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดกิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะส้ันงานศิลปถ่ินกรุงเกา เรื่อง ศาสตรศิลปภูมิปญญาจากตูพระธรรมลายรดน้ํ า ณ สถาบันอยุ ธยาศึกษา และหองปฏิ บั ติการ วิทยาลัยอาชีวะ พระนครศรีอยุธยา เพื่อใหผูเขารับการอบรมสามารถผลิตช้ินงานลายรดน้ําปดทองไดดวยตนเอง ตามกรรมวิธีแบบโบราณ การรูจักแนวทางการในการแกไขปญหาตางๆ การอนุรักษลายรดน้ําโบราณ ผูอบรมสามารถท่ีจะนําไปประกอบอาชีพอิสระและยังนําไปประยุกตกับงานอื่นๆได

Page 41: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556

40 I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา

กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา

มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๗

วันที่ กิจกรรม สถานที ่

๙-๑๐ มกราคม ๒๕๕๗

กิจกรรมคายเยาวชนอาสานําเท่ียวทางวัฒนธรรม

สถาบันอยุธยาศึกษา และออกภาคสนาม

๘-๙ กุมภาพันธ

๒๕๕๗

กิจกรรมอบรมการวิจัยทางประวัติศาสตรทองถ่ิน

สถาบันอยุธยาศึกษา และออกภาคสนาม ณ ตลาดหัวรอ – เกาะลอย

๑ มีนาคม ๒๕๕๗

กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลปถ่ินกรุงเกา เรื่อง แทงหยวก

สถาบันอยุธยาศึกษา

๑๙-๒๐มีนาคม ๒๕๕๗

กิจกรรมการสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม หองประชุมตนโมก สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗

กิจกรรมยกยองเชิดชูเกียรติบุคคลผูมีผลงานดีเดนทางการศึกษาและศลิปวัฒนธรรม

หองประชุมอาคาร ๑๐๐ ป

Page 42: สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ตุลาคม-ธันวาคม 2556