· web viewที่ รายการ ปฏิบัติ ไม่...

61
- - เเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ

Upload: others

Post on 09-Jan-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

-- เครื่องมือนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

แบบนิเทศ ติดตาม และกำกับดูแลงานแนะแนว

โรงเรียน..................................................เครือข่าย...................................อำเภอ.......................................

ชุดที่ 1เครื่องมือในการประเมินการปฏิบัติงาน

จุดประสงค์

1. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน

2. เพื่อนำผลการประเมินไปวางแผนและปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ได้มาตรฐาน

คำชี้แจง

1. การประเมินผลนี้เพื่อทราบคุณภาพการปฏิบัติงานทั้งระบบของโรงเรียน และใช้เป็นแนวทางการนิเทศและพัฒนาการดำเนินงานให้ได้มาตรฐานต่อไป

2. วิธีการประเมิน ใช้ การสัมภาษณ์ การศึกษาร่องรอยการปฏิบัติงาน การตรวจผลงาน เอกสาร สมุดบันทึกการประชุม และอื่น ๆ

3. เพื่อเป็นการปรับปรุงเครื่องมือให้มีประสิทธิภาพ โปรดเสนอแนะ

4. การลงความเห็น ให้พิจารณาความเหมาะสม โดยคำนึงถึงเหตุผลที่ว่า “ ข้อมูลที่ได้นี้จะนำมาเป็นพื้นฐานในการนิเทศงานแนะแนวในโรงเรียนให้สมบูรณ์และส่งผลต่อการพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพชีวิตโดยทั่วถ้วนทุกคน”

5. โปรดกาเครื่องหมาย / ในช่องผลประเมินด้านขวามือ โดยพิจารณาให้คะแนน ดังนี้

5หมายถึง

ปฏิบัติในระดับดีมาก

4หมายถึง

ปฏิบัติในระดับดี

3หมายถึง

ปฏิบัติในระดับปานกลาง พอใช้

2หมายถึง

ปฏิบัติในระดับต้องปรับปรุง

1หมายถึง

ปฏิบัติในระดับที่ต้องปรับปรุงอย่างยิ่ง

งานแนะแนวชุด 1 หน้า 1

รายการประเมิน

ผลการประเมิน /ระดับความเหมาะสม

5

4

3

2

1

1.การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมห้องแนะแนวเกื้อกูลปฏิบัติงาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1 มีสถานที่ ห้อง หรือมุมเป็นสัดส่วน เงียบ สะอาด

ร่มรื่น สบายตา

ตัวบ่งชี้ที่ 2 มีวัสดุ ครุภัณฑ์ จำเป็นพอเพียงต่อหารปฏิบัติงาน

จัดเป็นระเบียบ เหมาะสม

ตัวบ่งชี้ที่ 3 มีเอกสารความรู้ ข่าวสารที่จะให้บริการด้านการศึกษา

อาชีพ บุคลิกภาพ ตามความต้องการเพียงพอ

และจัดเป็นระเบียบสวยงาม

ตัวบ่งชี้ที่ 4 มีแผนภูมิแสดงการบริหารงานแนะแนว

การจัดบุคลากร และความรู้ข่าวสาร จัดเป็นระเบียบ

สวยงาม

ตัวบ่งชี้ที่ 5 มีสถิติข้อมูลผู้มาใช้บริการในห้องแนะแนวชัดเจน

เป็นปัจจุบัน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน /ระดับความเหมาะสม

5

4

3

2

1

ตัวบ่งชี้ที่ 7 มีครูประสานงานแนะแนวที่มีความรู้ ความสามารถ

มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ

ตัวบ่งชี้ที่ 8 มีคณะทำงานรับผิดชอบแต่ละบริการ

อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ 9 มีการเพิ่มพูนความรู้แก่คณะทำงานอยู่เสมอ

ตัวบ่งชี้ที่ 10 สร้างศรัทธา ความภาคภูมิใจ ด้วยการยกย่องชมเชย

เผยแพร่ผลงาน สนับสนุนให้มีความก้าวหน้า

แก่คณะทำงานอย่างสม่ำเสมอ

3.ดำเนินงานแนะแนวเป็นระบบ

ตัวบ่งชี้ที่ 11 มีแฟ้มระบบข้อมูลแสดงความต้องการ จำเป็น ปัญหา

ของนักเรียน โรงเรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 12 มีโครงการ แผนปฏิบัติงานแนะแนว ปฏิทิน

ปฏิบัติงานที่กำหนดเวลา และผู้รับผิดชอบชัดเจน

ตังบ่งชี้ที่ 13 มีการประชุมคณะกรรมการแนะแนวอย่างน้อยภาคเรียนละครั้ง และมีการบันทึกทุกครั้ง

ตัวบ่งชี้ที่ 14 มีการนิเทศ ติดตาม และกำกับดูแลงานแนะแนวให้

ความช่วยเหลือระหว่างปฏิบัติงาน และรวบรวม

หลักฐานการดำเนินงานเป็นระบบ

ตัวบ่งชี้ที่ 15 มีการประสานงานกับหน่วยงานหรือผู้เกี่ยวข้อง

นอกโรงเรียนเพื่อให้เกิดความร่วมมืออันดี

ในการช่วยเหลือนักเรียนอย่างได้ผล

4.การจัดบริการและกิจกรรมแนะแนวพื้นฐานเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนโดยทั่วถึงกัน บริการศึกษาและรวบรวมข้อมูล

ตัวบ่งชี้ที่ 16 มีเครื่องมือรวบรวมข้อมูลทีหลากหลาย ครอบคลุมด้านการศึกษา อาชีพและบุคลิกภาพ จัดเป็นระบบ

ตัวบ่งชี้ที่ 17 มีการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล ช่วยให้ทราบความต้องการและปัญหาของนักเรียน โรงเรียน ชุมชน

ตัวบ่งชี้ที่ 18 มีการเก็บบันทึกข้อมูลเป็นระบบ ค้นหาสะดวก

ตัวบ่งชี้ที่ 19 มีกรนำข้อมูลไปใช้ในการให้บริการอื่น ๆ และบันทึกไว้เป็นหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 20 มีการให้บริการข้อมูลแก่ผู้ปกครอง หน่วยงานอื่นเป็นที่พึงพอใจและบันทึกเป็นหลักฐาน

บริการสนเทศ

ตัวบ่งชี้ที่ 21 มีสถานที่ บริเวณ มุม หรือห้องบริการข่าวสารด้านการศึกษา อาชีพ และบุคลิกภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ 22 มีการศึกษาข้อมูลเพื่อให้บริการตรงตามความต้องการ จำเป็นและจัดเป็นแฟ้มสะดวกต่อการใช้ประโยชน์

ตัวบ่งชี้ที่ 23 มีเอกสารข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ทันสมัยหลากหลายเพียงพอต่อความต้องการ

งานแนะแนวชุด 1 หน้า 3

รายการประเมิน

ผลการประเมิน /ระดับความเหมาะสม

5

4

3

2

1

ตัวบ่งชี้ที่ 24 มีการจัดป้ายนิเทศ นิทรรศการ เสียงตามสาย ตลอดจนวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้แก่นักเรียนอย่างต่อเนื่องและบันทึกผลเป็นระบบ

ตัวบ่งชี้ที่ 25 มีการประเมินผลการจัดกิจกรรม มีรายงานผลงานและพัฒนางานเสมอ

บริการให้คำปรึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 26 มีข้อมูลพื้นฐานสำหรับนักเรียนที่จะขอคำปรึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 27 มีการให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลพร้อมบันทึกเป็นระบบ

ตัวบ่งชี้ที่ 28 มีการให้คำปรึกษาเป็นกลุ่มพร้อมบันทึกเป็นระบบ

ตัวบ่งชี้ที่ 29 มีการส่งนักเรียนพบผู้เชี่ยวชาญในกรณีที่จำเป็น

ตัวบ่งชี้ที่ 30 มีหลักฐานการติดตามผลเพื่อทราบความก้าวหน้าของนักเรียน

บริการส่งเสริม ป้องกันแก้ไขปัญหา( จัดวางตัวบุคคล)

ตัวบ่งชี้ที่ 31 มีเครื่องมือรวบรวมความสนใจ ความต้องการของนักเรียนที่หลากหลาย จัดเป็นระบบ สะดวกใช้

ตัวบ่งชี้ที่ 32 มีแฟ้มข้อมูลด้านความสนใจ ความต้องการของนักเรียน เก็บบันทึกเป็นระบบ

ตัวบ่งชี้ที่ 33 มีกิจกรรมสอนซ่อมเสริม ให้ทุนการศึกษา จัดประสบการณ์ ระหว่างเรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 34 มีสถิติการให้การช่วยเหลือนักเรียนเป็นระบบ

ตัวบ่งชี้ที่ 35 มีการติดตาม ประเมินผล และพัฒนางานต่อเนื่อง

บริการติดตามผล

ตัวบ่งชี้ที่ 36 มีเครื่องมือติดตามและประเมินผลการจัดบริการทุกบริการ

ตัวบ่งชี้ที่ 37 มีหลักฐานการรวบรวม การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการใช้

ตัวบ่งชี้ที่ 38 มีการติดตามผลนักเรียนที่ออกกลางคัน ขาดเรียนบ่อย ศึกษาต่อ เลือกประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนแล้ว

ตัวบ่งชี้ที่ 39 มีการสรุปประเมินผลการดำเนินงาน

ตัวบ่งชี้ที่ 40 มีการนำผลการประเมินไปวางแผนและดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

บันทึกเพิ่มเติมข้อคิดเห็นหรือข้อสังเกตของผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศ...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

แบบติดตามการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดซื้อหนังสือแบบเรียนและแบบฝึกหัด

โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3

โรงเรียน..................................................เครือข่าย...................................อำเภอ.......................................

คำชี้แจงให้คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดซื้อหนังสือและแบบฝึกหัด

ของสถานศึกษาในสังกัด โดยกาเครื่องหมาย ( ในช่องมี หรือ ( ช่องไม่มี แล้วแต่กรณี พร้อมตรวจสอบเอกสาร/หลักฐานเร่งรอย

โรงเรียน ..........................................................ตำบล.......................อำเภอ.................................................

แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดซื้อหนังสือและแบบฝึกหัด

มี

ไม่มี

เอกสาร/หลักฐานร่องรอย

1. การแต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการ และคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทนกรรมการนักเรียน) พิจารณาหนังสือแบบเรียนและแบบฝึกหัด

( คำสั่งแต่งตั้ง( บันทึกรายงานการประชุม

( อื่น ๆ ....................................................

2. การตรวจสอบรายชื่อหนังสือ และการพิจารณาเลือกหนังสือตามบัญชีกำหนดสื่อการเรียนรู้ สำหรับเลือกใช้ในสถานศึกษา ปีการศึกษา2557 จากเว๊ปไซด์ของสำนักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษาหรือเว๊ปไซด์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

( คำสั่งมอบหมายงาน( บันทึกข้อความ( อื่น ๆ ...................................................

3. โรงเรียนจัดซื้อหนังสือเสริมประสบการณ์เพื่อใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายและเพียงพอต่อการจัดประสบการณ์ในห้องเรียนปฐมวัย

( บันทึกข้อความ( รายงานการการจัดซื้อ( อื่น ๆ ...................................................

4. ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนได้จัดซื้อหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้ครบ 100 % ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด

( บันทึกข้อความ( รายงานการจัดซื้อหนังสือ( อื่น ๆ ...................................................

5. กรณีได้รับจัดสรรงบประมาณเบื้องต้นไม่ครบตามจำนวนนักเรียนจริง โรงเรียนได้แก้ปัญหาโดยการยืมเงินจากรายการค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่ากิจกรรมการเรียนการสอนตามลำดับ มาใช้ในการจัดซื้อหนังสือแบบเรียนเพื่อให้นักเรียนได้หนังสือครบทุกคน

( บันทึกยืมเงิน( รายงานการประชุม( อื่น ๆ ...................................................

6. การจัดซื้อแบบฝึกหัดเฉพาะรายวิชาพื้นฐานที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดในระดับประถมศึกษา ครบถ้วนทั้ง 3 กลุ่มสาระ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ โดยจัดซื้อครบ 100 % ของจำนวนนักเรียน

( รายงานการจัดซื้อ( หลักฐานการรับแบบฝึกหัด( อื่น ๆ ...................................................

7. สถานศึกษาจัดซื้อหนังสือเรียนแจกให้นักเรียนครบทุกคน โดยไม่มีการเรียกหนังสือคืนจากนักเรียน

( หลักฐานการรับหนังสือแบบเรียน( ทะเบียนคุมหนังสือแบบเรียน( อื่น ๆ ...................................................

8. สถานศึกษาจัดซื้อหนังสือเรียนถูกต้อง เป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

( เอกสารการจัดซื้อหนังสือแบบเรียน( อื่น ๆ ...................................................

9. สถานศึกษาสามารถดำเนินการจัดซื้อหนังสือแบบเรียนเพื่อแจกจ่ายให้นักเรียนครบทุกคนได้ทันในวันเปิดภาคเรียน (ภาคเรียนที่ 1/2557)

( หลักฐานการรับหนังสือแบบเรียน( เอกสารการตรวจรับหนังสือ( อื่น ๆ ...................................................

ปัญหาและอุปสรรค

.................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ

...................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ............................................... คณะติดตามระดับเขตพื้นที่

(................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

แบบนิเทศ ติดตาม และกำกับดูแลงานแนะแนว

โรงเรียน..................................................เครือข่าย...................................อำเภอ.......................................

ชุดที่ 2เครื่องมือประเมินการจัดกิจกรรมแนะแนวในโรงเรียน

จุดประสงค์

1. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว

2. เพื่อนำผลการประเมินไปวางแผนและปรับปรุงการปฏิบัติงาน

คำชี้แจง

1. ผู้ประเมินเป็นผู้ใช้เครื่องมือแบบประเมินชุดนี้

2. วิธีการประเมิน ใช้ การสัมภาษณ์ การศึกษาร่องรอยการปฏิบัติงานจากบันทึกภาพถ่ายและอื่น

3. การลงความเห็น ให้พิจารณาความเหมาะสม โดยคำนึงถึงเหตุผลที่ว่า “ ข้อมูลที่ได้นี้จะนำมาเป็นพื้นฐานในการนิเทศงานแนะแนวในโรงเรียนให้สมบูรณ์และส่งผลต่อการพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพชีวิตโดยทั่วถ้วนทุกคน”

4. โปรดกาเครื่องหมาย / ในช่องผลประเมินด้านขวามือ โดยพิจารณาให้คะแนน ดังนี้

5หมายถึง

ปฏิบัติในระดับดีมาก

4หมายถึง

ปฏิบัติในระดับดี

3หมายถึง

ปฏิบัติในระดับปานกลาง พอใช้

2หมายถึง

ปฏิบัติในระดับต้องปรับปรุง

1หมายถึง

ปฏิบัติในระดับที่ต้องปรับปรุงอย่างยิ่ง

งานแนะแนวชุด 2 หน้า 1

รายการประเมิน

ผลการประเมิน /ระดับความเหมาะสม

5

4

3

2

1

1.สำรวจข้อมูลพื้นฐานนักเรียน โรงเรียนและชุมชน ด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม จัดเป็นระบบและทำให้ทราบชุดพัฒนา

2.สำรวจข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลด้วยเครื่องมือที่เหมาะสมและจัดเป็นระบบและทำให้นักเรียนรู้จักตนเอง โรงเรียนรู้จุดพัฒนา

3.สำรวจและวิเคราะห์ปัญหาของนักเรียนด้านการศึกษา อาชีพ และบุคลิดภาพด้วนเครื่องมือที่หลากหลาย จัดเก็บเป็นระบบสะดวกต่อการนำไปใช้

4สำรวจความสนใจของนักเรียนด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม จัดเป็นระบบและทำให้นักเรียนรู้จักตนเอง โรงเรียนรู้จุดพัฒนา

5.ประชุมวางแผนแนะแนวของโรงเรียนอย่างมียุทธศาสตร์ และสอดคล้องกับสภาพความต้องการ จำเป็นสำหรับการดำเนินงาน

6.จัดทำระเบียนสะสมเป็นปัจจุบัน วิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม

7.เยี่ยมบ้านเด็กทุกคนและนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม

8.ศึกษาเด็กเป็นรายกรณีด้วยวิธีการที่ถูกต้อง ทำความเข้าใจปัญหาเด็กอย่างลึกซึ้งและเป็นประโยชน์ต่อการให้คำปรึกษาช่วยเหลือ

9.จัดปฐมนิเทศนักเรียนและผู้ปกครองอย่างมีคุณค่า เป็นที่พึงพอใจและได้รับความร่วมมืออย่างดี

รายการประเมิน

ผลการประเมิน /ระดับความเหมาะสม

5

4

3

2

1

10.จัดปัจฉิมนิเทศนักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ทำให้มีความรู้ มีความมั่นใจและมีเจตคติที่ดีในการดำเนินชีวิตและศึกษาต่อ

11.จัดนิทรรศการแนะแนวด้วยวิธีการที่หลากหลาย ทำให้ได้ความรู้ข่าวสาร ที่เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนชีวิตของนักเรียน

12.จัดทำจุลสาร วารสาร แผ่นพับให้ข่าวสารทางด้านการศึกษาอาชีพและบุคลิกภาพ ทำให้นักเรียนได้รับความรู้กว้างขวาง กระตุ้นเร้าความสนใจ ให้ชวนศึกษาและติดตาม

13.จัดบริการเสียงตามสายตามปฏิทินสม่ำเสมอ ครอบคลุมข่าวสาร ด้านการศึกษา อาชีพและบุคลิกภาพ ทำให้นักเรียนได้รับความรู้ ความบันเทิง ได้แสดงความคิดเห็น และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้านการฟัง

14.จัดบริการให้คำปรึกษาในกรณีที่นักเรียนมีปัญหาทางอารมณ์หรือปัญหาซับซ้อนด้วยกลวิธี เครื่องมือที่ถูกต้อง และบันทึกผลการให้บริการเป็นระบบ

15. จัดกิจกรรมกลุ่มสนใจ สอดคล้องกับวามสนใจของนักเรียน ทำให้นักเรียนเพิ่มพูนประสบการณ์ตรงตามความถนัดและความสนใจ

16. จัดกิจกรรมประสบการณ์ให้แก่นักเรียนทุกคนอย่างมีแผน

17. ส่งเสริมนักเรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ ทำอย่างมีแผน มีระบบข้อมูล แหล่งงาน ระบบข้อมูลนักเรียนและนักเรียนได้รับการช่วยเหลือเป็นที่พึงพอใจ

18. ติดตามผลนักเรียนในโรงเรียนที่ได้รับบริการแนะแนวไปแล้วอย่างเป็นระบบ ทำให้นักเรียนได้รับการช่วยเหลือจนประสบความสำเร็จ

19. ติดตามผลนักเรียนที่สำเร็จออกจากโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง ด้วยวิธีการที่เหมาะสม สะดวก ทำให้โรงเรียนมีข้อมูลในการปรับปรุงกิจกรรมให้เกิดคุณค่ามากยิ่งขึ้น

20. ประเมินผลการจัดบริการแนะแนวของโรงเรียนด้วยวิธีการเครื่องมือที่หลากหลาย ทุกสิ้นปีการศึกษา ทำให้มีข้อมูลในการวางแผนและพัฒนาการดำเนินงานแนะแนวให้มีคุณภาพ

บันทึกเพิ่มเติมข้อคิดเห็นหรือข้อสังเกตของผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศ.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

แบบนิเทศ ติดตาม และกำกับดูแลงานแนะแนว

โรงเรียน..................................................เครือข่าย...................................อำเภอ.......................................

ชุดที่ 3 เครื่องมือประเมินการจัดกิจกรรมแนะแนวในห้องเรียน ( กิจกรรมโฮมรูมหรือกิจกรรมคาบแนะแนว)

จุดประสงค์

1. เพื่อประเมินการจัดกิจกรรมแนะแนวในห้องเรียน

2. เพื่อนำผลการประเมินไปวางแผนเพ่อการนิเทศ

คำชี้แจง

1. ผู้ประเมินเป็นผู้ใช้เครื่องมือแบบประเมินชุดนี้

2. วิธีการประเมิน ใช้ การสัมภาษณ์ สังเกตการณ์จัดกิจกรรมในห้องเรียน ศึกษาร่องรอย จากการบันทึกการจัดกิจกรรม สื่อ ใบงาน ผลงานนักเรียน ภาพถ่าย และอื่น ๆ

3. การลงความเห็น ให้พิจารณาความเหมาะสม โดยคำนึงถึงเหตุผลที่ว่า “ ผลการประเมินจะนำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการนิเทศงานแนะแนวโดยเฉพาะกิจกรรมแนะแนวในห้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ

4. โปรดกาเครื่องหมาย / ในช่องผลประเมินด้านขวามือ โดยพิจารณาให้คะแนน ดังนี้

5 หมายถึง

ปฏิบัติในระดับดีมาก

4 หมายถึง

ปฏิบัติในระดับดี

3 หมายถึง

ปฏิบัติในระดับปานกลาง พอใช้

2 หมายถึง

ปฏิบัติในระดับต้องปรับปรุง

1 หมายถึง

ปฏิบัติในระดับที่ต้องปรับปรุงอย่างยิ่ง

งานแนะแนวชุด 3 หน้า 1

รายการประเมิน

ผลการประเมิน /ระดับความเหมาะสม

5

4

3

2

1

1.มีแฟ้มข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลเป็นรายชั้นและรายบุคคล แสดงจุดพัฒนาด้านการศึกษา และบุคลิกภาพ

2.มีแผนการจัดกิจกรรมแนะแนวในห้องเรียนโดยบูรณาการกับการเรียนการสอนหรือจัดเวลาเป็นพิเศษ หรือจัดในคาบแนะแนวสอดคล้องกับสภาพความต้องการของนักเรียน ครบขั้นตอน ครบทุกกิจกรรมและครบทุกด้าน

3.ดำเนินการจัดกิจกรรมแนะแนวในห้องเรียนทุกสัปดาห์

4.ดำเนินการจัดกิจกรรมแนะแนวในห้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนได้รับการพัฒนาและมีเจตคติที่ดีต่อกิจกรรม มีแฟ้มแสดงผลงานของนักเรียนจัดเป็นระบบ

5.มีความรู้ ความสามารถ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมในคู่มือให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

6.มีสื่อ เอกสาร ประกอบการจัดกิจกรรมตามคู่มือ และหรือจัดทำเพิ่มเติมอย่างพอเพียงและมีคุณภาพ

7มีการบันทึกผลการจัดกิจกรรมทุกครั้งอย่างเป็นระบบชัดเจน

8.มีการบันทึกผลเป็นระยะต่อเนื่อง และบันทึกไว้อย่างเป็นระบบทำให้ทราบความสำเร็จและข้อควรแก้ไขปรับปรุงชัดเจน

รายการประเมิน

ผลการประเมิน /ระดับความเหมาะสม

5

4

3

2

1

9.มีวิธีการประเมินที่หลากหลาย มีเครื่องมือที่เหมาะสมและจัดเก็บเป็นระบบ

10. มีการนำผลการประเมินมาปรับปรุง แก้ไข วิธีการจัดกิจกรรมให้น่าสนใจและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

บันทึกเพิ่มเติมข้อคิดเห็นหรือข้อสังเกตของผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศ

................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

แบบนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินการปฏิบัติงาน

เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗

โรงเรียน.............................................เครือข่าย............................................อำเภอ..........................................

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต3

ผู้นิเทศ ( รองผอ.สพป.สฎ3 (...........................................) ( ศึกษานิเทศก์ (..................................................)

( อื่นๆ1. ..................................................................... ๒..........................................................................

ผู้รับการนิเทศ (ผู้บริหารสถานศึกษา (ครู(นักเรียน ( อื่นๆ ...........................................................

โรงเรียน.................................................เครือข่าย.....................................อำเภอ ........................................

คำชี้แจง

1. เครื่องมือนี้มุ่งพัฒนากระบวนการนิเทศด้วยกัลยาณมิตรเพื่อการจัดระบบบริหารและสารสนเทศซึ่งเป็นร่องรอยการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องที่คาดหวังว่าจะส่งผลให้ระดับผลสัมฤทธิ์ทาง

การเรียนปีการศึกษา 2557 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ5

๒. ขอบข่ายและรายการนิเทศ คือ ข้อมูลและสารสนเทศจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET/NT)ปีการศึกษา 2555 - ๒๕๕๖ กิจกรรม โครงการ แนวทาง มาตรการ ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปีการศึกษา ๒๕๕๗

๓. เกณฑ์การประเมินตามรายการที่กำหนดในตารางที่ ๒.๑.๒ (การปฏิบัติงานการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในมิติผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียน) จำแนกเป็น ๓ ระดับคุณภาพ คือ

ระดับ 3 หมายถึง ดำเนินการได้ระดับดี

ระดับ 2 หมายถึง ดำเนินการได้ระดับปานกลาง

ระดับ 1 หมายถึง ดำเนินการได้ระดับพอใช้

1.ข้อมูล/สารสนเทศ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

กลุ่มสาระการเรียนรู้

คะแนนเฉลี่ย

ค่าเป้าหมาย

หมายเหตุ

ปี 2555

ปี 2556

ผลการพัฒนา

พื้นที่สี

ปี 2557

ภาษาไทย

สังคมศึกษาฯ

ภาษาอังกฤษ

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สุขศึกษาฯ

ศิลปะ

การงานอาชีพฯ

รวม

2. แบบสัมภาษณ์ ผู้บริหาร ครู นักเรียน อื่นๆ(ระบุ) .......................................................................................

2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ กิจกรรม โครงการ แนวทาง มาตรการ การส่งเสริมในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2557 ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ข้อมูล/สารสนเทศ

กิจกรรม โครงการ แนวทาง มาตรการ

เอกสารอ้างอิง

ไม่มี

มี

ภาษาไทย

สังคมศึกษาฯ

ภาษาอังกฤษ

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สุขศึกษาฯ

ศิลปะ

การงานอาชีพฯ

2.2 การปฏิบัติงานการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในมิติผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียน

ที่

รายงาน

ไม่ปฏิบัติ

(ปฏิบัติ) ระดับคุณภาพ

ข้อเสนอแนะ/หลักฐาน

1

2

3

มีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู/โรงเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและนำผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน

ใช้ข้อมูลและสารสนเทศจากผลการสอบ(O-NET) เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

มีรายงานผลความก้าวหน้าในการพัฒนาผู้เรียนรายคน /กลุ่ม /ห้องเรียน

มีการสร้างเครือข่าย/แลกเปลี่ยนเรียนรู้

มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียน

มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

มีแบบทดสอบวินิจฉัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนรายบุคคล

มีเครื่องมือวัดและประเมินผลระหว่างเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียน

มีการยกย่องเชิดชูเกียรติผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์สูง

๑๐

มีการนิเทศภายใน (โดยผู้บริหาร/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย) เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

๑๑

ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข

๑๒

มีการกำหนดค่าเป้าหมาย(คะแนนเฉลี่ย)สอดคล้องกับนโยบายเขตพื้นที่/สพฐ.

๑๓

มีการประชาสัมพันธ์ค่าเป้าหมาย(คะแนนเฉลี่ย) ให้ครูผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ

๑๔

มีกิจกรรมสอนซ่อมเสริมผู้เรียน นอกเหนือจากเวลาเรียนตามปกติ

๑๕

มีข้อสอบให้นักเรียนได้ฝึกทำข้อสอบอย่างเพียงพอ/หลากหลาย

๑๖

การให้ผู้ปกครอง ชุมชน เข้ามามีส่วนในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

2.3. ข้อมูล/สารสนเทศ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน (NT)

ความสามารถผู้เรียน

คะแนนเฉลี่ย

ค่าเป้าหมายปี2557

กิจกรรม /มาตรการ ในการยกระดับผลการสอบ NT ปีการศึกษา2557

ปี2555

ปี2556

ผลการพัฒนา

ด้านภาษา

(Literacy)

ด้านคำนวณ(Numeracy)

ด้านเหตุผล(Reasoning)

๓. ข้อสรุปและหรือองค์ความรู้ที่ได้รับจากการนิเทศ

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

๔. ผลการปฏิบัติงานที่ประสบผลสำเร็จของสถานศึกษา(ที่สะท้อนถึงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน)

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

๕. สภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการอื่นๆเพิ่มเติม

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

๖. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................ผู้นิเทศ ลงชื่อ.................................ผู้นิเทศ ลงชื่อ.........................................ผู้นิเทศ

( ) ( ) ( )

ตำแหน่ง........................................ ตำแหน่ง...................................... ตำแหน่ง...........................................

วันที่..........เดือน.......................พ.ศ. ......................

เครื่องมือการนิเทศติดตามการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (NT) ด้านความสามารถทางการคิดคำนวณ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

โรงเรียน.......................................................เครือข่าย.....................................................อำเภอ...............................

************************************************

คำชี้แจง เครื่องมือนี้ใช้ติดตามผลการพัฒนาคุณภาพด้านความสามารถการคิดคำนวณ ชั้น ป.3 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น ดังนั้น

1. โรงเรียนมีการดำเนินงานตามที่เขตพื้นที่กำหนดแนวทาง ดังนี้

( 1.1 การตั้งเป้าหมายในการยกผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 5

( 1.2 การจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางด้านความสามารถการคิดคำนวณ

( 1.3 การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสามารถการคิดคำนวณ

( 1.4 การจัดทำสื่อ/นวัตกรรมที่เน้นความสามารถการคิดคำนวณ

2. การดำเนินงานของโรงเรียน (กรณีดำเนินการข้อ 1.1 และข้อ 1.2 ทุกโรงเรียน)

ที่

รายการ

ปฏิบัติ

ไม่

ระดับปฏิบัติ

แหล่งข้อมูล

ปฏิบัติ

มาก

พอใช้

น้อย

1

มีการวิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมินความสามารถด้านคิดคำนวณ

2

มีการตั้งค่าเป้าหมายในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางความสามารถการคิดคำนวณ

3

มีการจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางด้านความสามารถการคิดคำนวณ

4

มีการดำเนินการตามแผน

5

มีการนิเทศติดตามและการควบคุมกำกับ

6

มีการตรวจสอบคุณภาพการจัดการเรียนการสอน

7

มีการตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน

8

มีการนำผลการตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนและคุณภาพผู้เรียนมาใช้ในการแก้ไขปรับปรุง

3. การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (เฉพาะร.ร.ในกลุ่มเป้าหมาย 72 โรงเรียนที่ได้รับการพัฒนา ข้อ 1.3 ศึกษาข้อมูลจากครูผู้สอน)

ที่

รายการ

ปฏิบัติ

ไม่

ระดับปฏิบัติ

แหล่งข้อมูล

ปฏิบัติ

มาก

พอใช้

น้อย

1

มีการวิเคราะห์ข้อสอบสู่การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้

2

มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสามารถด้านคิดคำนวณ

3

มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สภาพแวดล้อม/ของจริงที่เน้นการคิดที่หลากหลาย

4

มีกิจกรรมการแก้ไขปัญหานักเรียน

4. การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมที่เน้นความสามารถด้านคิดคำนวณ (เฉพาะดณ.ฌณ๊ญฯในกลุ่มเป้าหมาย 20 โรงเรียนที่ได้รับการพัฒนา ข้อ 1.4)

ชื่อสื่อ/นวัตกรรม

ที่

รายการ

ปฏิบัติ

ไม่

ระดับปฏิบัติ

แหล่งข้อมูล

ปฏิบัติ

มาก

พอใช้

น้อย

1

มีเอกสารประกอบสื่อ/นวัตกรรม

2

มีนำสื่อ/นวัตกรรมไปใช้กับนักเรียน

3

มีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการนำสื่อ/นวัตกรรมไปใช้

4

มีนำข้อมูลไปปรับปรุงพัฒนาสื่อ/นวัตกรรม

5

เกิดผลดีต่อนักเรียน

5. แนวโน้มคุณภาพของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

( เพิ่มขึ้น ( เท่าเดิม ( ลดลง

สาเหตุ..............................................................................................................................................................................

6. ปัญหาในการดำเนินงาน

.........................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

7. ความต้องการช่วยเหลือ

........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

8. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)....................................................ผู้นิเทศ (ลงชื่อ)....................................................ผู้นิเทศ

(.....................................................) (.....................................................)

(ลงชื่อ)...................................................ผู้นิเทศ (ลงชื่อ)...................................................ผู้นิเทศ

(...................................................) (...................................................)

นิเทศ วันที่..........เดือน...............................พ.ศ. ...............

เครื่องมือการนิเทศติดตามโรงเรียนเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม

โรงเรียน..............................................................อำเภอ..............................................

************************************************

คำชี้แจงเครื่องมือนี้ใช้ติดตามผลการดำเนินงานของโรงเรียน เพื่อรองรับการประเมินภายนอก ดังนี้

ด้านการบริหารจัดการ

ที่

รายการ

ปฏิบัติ

ไม่

ระดับปฏิบัติ

แหล่งข้อมูล

ปฏิบัติ

มาก

พอใช้

น้อย

การดำเนินงานภายในโรงเรียน

1.

มีการจัดทำมาตรฐานสถานศึกษา

2.

มีการกำหนดเอกลักษณ์อัตลักษณ์ของโรงเรียน

3.

มีการประกาศค่าเป้าหมายตามมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

4.

มีการนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการจัดทำแผน

5.

มีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานสถานศึกษา

6.

มีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพ

7.

มีการจัดทำปฏิทินในการดำเนินงาน

8.

มีการรายงานความก้าวหน้าตามแผนงาน/โครงการ

9.

มีการนิเทศติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ

10.

มีการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน

11.

มีการรายงานประจำปีและนำผลไปใช้ในการวางแผนพัฒนา

ที่

รายการ

ปฏิบัติ

ไม่

ระดับปฏิบัติ

แหล่งข้อมูล

ปฏิบัติ

มาก

พอใช้

น้อย

การดำเนินงานเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

1.

มีการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกให้กับบุคลากรในโรงเรียน

2.

มีการวิเคราะห์ระหว่างเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกกับเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายใน

3.

มีการวางแผนและมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

4.

มีวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศที่จะใช้ในการประเมินคุณภาพภายนอก

5.

มีวิเคราะห์เอกสารหลักฐานที่จะใช้ในการประเมินคุณภาพนอก

6.

มีการนิเทศติดตามงานในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

7.

มีการจำลองการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ของสมศ.

8.

มีการนำจากการจำลองการการประเมินตามเกณฑ์ สมศ.มาใช้ในการปรับปรุงแก้ไข

ด้านการจัดการเรียนรู้

ครูผู้สอน ดำเนินการครบทุกรายการ ดังต่อไปนี้ ระดับขั้นพื้นฐาน

จำนวน.............คน คิดเป็นร้อยละ.................

ระดับปฐมวัย

จำนวน.............คน คิดเป็นร้อยละ................

ขั้นพื้นฐาน

ปฐมวัย

1. การวิเคราะห์หลักสูตร

2. การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล

3. การจัดบรรยากาศห้องเรียน

4. การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้

5. การจัดทำสื่อ/นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้

6. การใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

7. การวัดและประเมินตามแผนการจัดการเรียนรู้

8. มีการบันทึกหลังสอน

9. การสอนซ่อมเสริม

10. การวิจัยในชั้นเรียน

1. การวิเคราะห์หลักสูตร

2. การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล

3. การจัดบรรยากาศห้องเรียน

4. การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์

5. การจัดทำสื่อ/นวัตกรรมในการจัดประสบการณ์

6. การใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

7. การวัดและประเมินตามแผนการจัดประสบการณ์

8. มีการบันทึกหลังสอน

9. การสอนซ่อมเสริม

10. การวิจัยในชั้นเรียน

ด้านผู้เรียนผลการประเมินระดับชาติ (O-NET)

กลุ่ม

ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนมากกว่าขีดจำกัดล่าง

คะแนน

พัฒนาการ

สาระการเรียนรู้

ชั้น ป.6

ชั้น ม.3

รวม

เฉลี่ย

ที่ได้

เพิ่มขึ้น

เท่าเดิม

ลดลง

ภาษาไทย

สังคมฯ

ภาษาอังกฤษ

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

สุขศึกษาฯ

ศิลปะ

การงานฯ

รวม

แนวโน้มการรับรองคุณภาพภายนอก รอบสาม

( ได้รับรอง ( ไม่ได้รับรอง สาเหตุ..............................................................................................................................................................ปัญหาในการดำเนินงานการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ความต้องการช่วยเหลือ ........................................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................................ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)....................................................ผู้นิเทศ (.....................................................) (ลงชื่อ)....................................................ผู้นิเทศ (.....................................................) (ลงชื่อ)...................................................ผู้นิเทศ (...................................................) (ลงชื่อ)...................................................ผู้นิเทศ (...................................................)

นิเทศ วันที่..........เดือน...............................พ.ศ. ...............

แบบนิเทศ ติดตาม

การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

โรงเรียน.....................................................เครือข่าย...............................................อำเภอ................................

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3

………………………………………………………………………………………….

คำชี้แจง

เครื่องมือนี้ใช้ติดตามผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนภาษอังกฤษ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น ดังนี้

1. ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ข้อมูล ปี 57

สอน

ชั้น

จำนวนผู้สอน

จำนวนครูที่จบวิชาเอกภาษาอังกฤษ

จำนวนครูที่จบเอกอื่น

ประกาศนียบัตร

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

คิดเป็นร้อยละ

ได้รับการพัฒนา

ร้อยละ

ป.1-6

ม1-3

2. การปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เกณฑ์การประเมินตามรายการที่กำหนด จำแนกเป็น ระดับคุณภาพ คือ

ระดับ 5 หมายถึง ดำเนินการ ดีมาก

ระดับ 4 หมายถึง ดำเนินการ ดี

ระดับ 3 หมายถึง ดำเนินการ ปานกลาง

ระดับ 2 หมายถึง ดำเนินการ พอใช้

ระดับ 1 หมายถึง ดำเนินการ ปรับปรุง

ที่

รายการ

ปฏิบัติ

ไม่

ระดับคุณภาพ

ปฏิบัติ

5

4

3

2

1

ด้านการบริหารจัดการ

1.

มีการประสานกับ สพท. หรือเครือข่ายเพื่อจัดหาอาสาสมัครหรือครูเจ้าของภาษามาช่วยจัดการเรียนการสอนตามโอกาส

2.

จัดชั่วโมงเรียนตามหลักสูตร และ/หรือเพิ่มชั่วโมงเรียนภาษาอังกฤษ หรือ Conversation Class ตามความพร้อม

3.

จัดห้องเรียน EBE / EIS เพื่อเพิ่มเวลาในการเรียนรู้ผ่านภาษาอังกฤษ

4.

จัดสภาพแวดล้อม / บรรยากาศที่ส่งเสริม / กระตุ้นการฝึกทักษะการสื่อสาร เช่น English Song , English Zone, English Corner

5.

จัดค่ายภาษาอังกฤษเข้มช่วงปิดภาคเรียน ระยะเวลา 1 เดือน

ที่

รายการ

ปฏิบัติ

ไม่

ระดับคุณภาพ

ปฏิบัติ

5

4

3

2

1

ด้านหลักสูตร (จัดหลักสูตรในลักษณะ)

6.

หลักสูตรคละชั้น ป. 1 – 3 ในกรณีที่มีนักเรียนแต่ละห้องน้อย

7.

จัดกิจกรรมสร้างเจตคติและฝึกทักษะการฟัง – พูดพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม Conversation Class

8.

ใช้หลักสูตร EBE ที่สถาบันภาษาอังกฤษพัฒนาไว้แล้ว

9.

จัดหลักสูตรค่ายภาษาอังกฤษแบบเข้ม โดยพัฒนาหลักสูตรให้ครอบคลุมมาตรฐานและสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อเสริมการเรียนในห้องเรียน

ด้านการจัดการเรียนการสอน

10.

จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร ใช้ภาพ เกม เพลง นิทาน การ์ตูน ฝึกฝนการฟังและพูดใช้สื่อเสียงเจ้าของภาษา

11.

เน้นการสอน การฝึกทักษะตามธรรมชาติการเรียนรู้ภาษาโดยเริ่มจากการฟัง – พูดเป็นหลัก

ด้านสื่อ

12.

เลือกใช้สื่อ / แบบเรียน / แบบฝึกที่เหมาะสมและพัฒนาทักษะตามระดับ CEFR

13.

ใช้สื่อ Digital / e-book / learning application / website ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ประโยชน์จาก Tablet

14.

ใช้ประโยชน์ ETV / การสอนทางไกล

ด้านการวัดและประเมิน

15.

เน้นการจัดทักษะและสื่อสาร ฟัง – พูดเบื้องต้นในลักษณะการประเมินตามสภาพจริง หรือประเมินรวบยอดปลายปี

แบบนิเทศการสร้างความเข้มแข็งในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2557

โรงเรียน..................................................เครือข่าย...................................อำเภอ.......................................สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3

คำชี้แจงเครื่องมือนี้เพื่อติดตามผลการดำเนินงานในการสร้างความเข้มแข็งในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน โดยวิธีการสัมภาษณ์ สอบถาม หรือตรวจสอบผลการปฏิบัติงานของโรงเรียน ดังนี้

1.ผู้บริหารแจ้งนโยบายแก่ครูนักเรียนและบุคลากรของสถานศึกษา

แจ้ง ไม่แจ้ง

2.วันที่ สถานที่ ที่โรงเรียนเลือกเป็นวันพูดสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษ

คือวัน........................................ของทุกสัปดาห์

3.โรงเรียนมีกิจกรรม/โครงการ

จัดค่ายภาษาอังกฤษครู จัดวันที่.........เดือน...........................พ.ศ.............. ไม่จัด

จัดค่ายภาษาอังกฤษนักเรียน จัดวันที่...........เดือน .....................พ.ศ......... ไม่จัด

4.โรงเรียนจัดพื้นที่สำหรับพูดสื่อสารภาษาอังกฤษ ทุกวัน

คือบริเวณ..............................................................ของโรงเรียนทุกวัน

5.โรงเรียนจัดมุม/ห้องสื่อภาษาอังกฤษ

มี ไม่มี รายละเอียดที่จัด

6.โรงเรียนจัดกิจกรรมเสียงตามสายเป็นภาษาอังกฤษ

มี ไม่มี

จัดเวลา..........................จำนวน............ซม/วัน

7.โรงเรียนจัดทำเอกสาร แผ่นพับ โปสเตอร์ เพื่อนำเสนอเรื่องราวเป็นภาษาอังกฤษ

มี ไม่มี จัดอย่างไร.............................................................................................

8.โรงเรียนจัดกิจกรรมประกวด แข่งขันทักษะภาษาอังกฤษ

มี ไม่มี

ถ้ามี การพูด

ฟัง

ละคร

การอ่าน เล่านิทาน

การเขียน การนำเสนอโครงการเป็นภาษาอังกฤษ

9.โรงเรียนจัดอบรม การใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน และภาษาอังกฤษในการสอนแก่ครูทุกกลุ่มสาระ

จัด ไม่จัด

ครู.....................คน

วันที่..............เดือน..............................พ.ศ................เวลา.................ซม.

10.ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาอังกฤษตลอดชั่วโมงโรงเรียน

ส่งเสริม ไม่ส่งเสริม

ส่งเสริมอย่างไร..................................................................................................................

ผลการส่งเสริม....................................................................................................................

11.ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูผู้สอนกลุ่มสาระอื่น ทักทาย ใช้คำสั่ง คำศัพท์ หรือการอธิบายง่าย รวมทั้งการใช้สื่อเป็นภาษาอังกฤษ

ส่งเสริม ไม่ส่งเสริม

ส่งเสริมอย่างไร................................................................................................................

.........................................................................................................................................

12.ผู้บริหารสถานศึกษาได้ศึกษา หรือส่งเสริมให้ครูได้ศึกษามาตรฐานคุณภาพการพัฒนาโรงเรียนสู่ประชาคมอาเซียน

ส่งเสริม ไม่ส