textile tomorrow เป นยิ่งกว า สิ่งทอ...กรกฎาคม - ก...

3
ในชวง 2-3 ทศวรรษที่ผานมา ความรุดหนา ของเทคโนโลยีในดานตางๆ เชน เทคโนโลยีวัสดุ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีสารสนเทศ ผนวกกับการใชองคความรูแบบสหวิทยาการ ในการพัฒนาวัสดุไดกอใหเกิดผลิตภัณฑที่เปน นวัตกรรมมากมาย วัสดุอัจฉริยะ (intelligent materials) ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนและตอบสนองตอสิ่งเรา ภายนอกได เปนตัวอยางหนึ่งของนวัตกรรมที่เกิดจาก การผสมผสานเทคโนโลยีตางๆ เหลานี้เขาดวยกัน วัสดุเหลานี้นอกจากจะเพิ่มคุณภาพหรือสราง ผลิตภัณฑใหมแลว ยังชวยกระตุนหรือขยายโอกาส ใหนักออกแบบสามารถใชจินตนาการไดอยางเต็มทีในการออกแบบและสรางผลิตภัณฑที่ใชงานได ในชีวิตประจําวัน ผลิตภัณฑสิ่งทอซึ่งเกี่ยวของ อยางมากกับการออกแบบจึงมีศักยภาพสูงในการ สรางนวัตกรรมจากจินตนาการของนักออกแบบ โดยในปจจุบันเราก็เริ่มไดเห็นความแปลกใหมของ ผลิตภัณฑสิ่งทอซึ่งมีรูปลักษณและสมบัติที่เปน ยิ่งกวาสิ่งทอ ดร.จุรีรัตน ประสาร ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ extile Tomorrow T T เปนยิ่งกวาสิ่งทอ ภาพที่ 1 หมอนอิงที่มีการตอบสนองตอสัมผัสคลายกับพฤติกรรมของสัตวเลี้ยง ภาพจาก http://www.gzespace.com/gzenew/im/books/responsive_textile_environments.pdf จากคําถามเลนๆ ที่วา เราสามารถทําให ผลิตภัณฑสิ่งทอเลียนแบบธรรมชาติกลายเปนสัตว เลี้ยงในบานไดไหม? นักออกแบบชื่อ ดินา เอลซาบาฮี (Dina Elsabahi) และ Yun Ding ไดออกแบบ คอลเลกชันของสิ่งทอเคหะ ในป 2007 [1] ผลิตภัณฑ หนึ่งที่ออกแบบคือ หมอนอิงที่มีการตอบสนอง ตอสัมผัสคลายกับพฤติกรรมของสัตวเลี้ยงในบาน อยางแมว จากการศึกษาพฤติกรรมของผูเลี้ยง และแมว นําไปสูการออกแบบหมอนอิงที่มีการตอบ สนองตอสัมผัสในรูปแบบตางๆ เชน พูของหมอนอิง สามารถกระดิกไปมาไดคลายการแกวงหางของ แมวและมีเสียงเบาๆ เมื่อหมอนถูกสัมผัสและกอด ทําใหผูใชมีความเพลิดเพลินและผอนคลายเสมือน กําลังเลนอยูกับสัตวเลี้ยง การออกแบบหมอนอิงนีอาศัยเทคโนโลยีของหัวตรวจวัด (sensors) สิ่งทอ นําไฟฟา (conductive textiles) และโลหะผสมจํารูป (shape memory alloys)

Upload: others

Post on 28-Aug-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Textile Tomorrow เป นยิ่งกว า สิ่งทอ...กรกฎาคม - ก นยายน 2556 14 Touch Me Wallpaper เป นแผ นป ดผน ง

ในชวง 2-3 ทศวรรษท่ีผานมา ความรุดหนา

ของเทคโนโลยีในดานตางๆ เชน เทคโนโลยีวัสดุ

เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผนวกกับการใช องค ความรู แบบสหวิทยาการ

ในการพัฒนาวัสดุไดก อใหเกิดผลิตภัณฑท่ีเป น

นวัตกรรมมากมาย วัสดอุจัฉริยะ (intelligent materials)

ซ่ึงสามารถปรับเปลี่ยนและตอบสนองตอส่ิงเรา

ภายนอกได เปนตวัอยางหนึง่ของนวัตกรรมทีเ่กิดจาก

การผสมผสานเทคโนโลยีตางๆ เหลานี้เขาดวยกัน

วัสดุเหล านี้นอกจากจะเพ่ิมคุณภาพหรือสร าง

ผลิตภัณฑใหมแลว ยังชวยกระตุนหรือขยายโอกาส

ใหนักออกแบบสามารถใชจินตนาการไดอยางเต็มที่

ในการออกแบบและสรางผลิตภัณฑที่ใชงานได

ในชีวิตประจําวัน ผลิตภัณฑส่ิงทอซ่ึงเก่ียวของ

อยางมากกับการออกแบบจึงมีศักยภาพสูงในการ

สรางนวัตกรรมจากจินตนาการของนักออกแบบ

โดยในปจจุบันเราก็เร่ิมไดเห็นความแปลกใหมของ

ผลิตภัณฑส่ิงทอซ่ึงมีรูปลักษณและสมบัติที่เป น

ยิ่งกวาสิ่งทอ

ดร.จุรีรัตน ประสาร

ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ

extile TomorrowTT

เปนยิ่งกวาสิ่งทอ

ภาพที่ 1 หมอนอิงที่มีการตอบสนองตอสัมผัสคลายกับพฤติกรรมของสัตวเลี้ยง

ภาพจาก http://www.gzespace.com/gzenew/im/books/responsive_textile_environments.pdf

จากคําถามเลนๆ ที่วา เราสามารถทําให

ผลิตภัณฑส่ิงทอเลียนแบบธรรมชาติกลายเปนสัตว

เลีย้งในบานไดไหม? นกัออกแบบช่ือ ดนิา เอลซาบาฮี

(Dina Elsabahi) และ Yun Ding ไดออกแบบ

คอลเลกชันของสิง่ทอเคหะ ในป 2007 [1] ผลติภณัฑ

หนึ่งที่ออกแบบคือ หมอนอิงที่มีการตอบสนอง

ตอสัมผัสคลายกับพฤติกรรมของสัตวเลี้ยงในบาน

อยางแมว จากการศึกษาพฤติกรรมของผู เลี้ยง

และแมว นําไปสูการออกแบบหมอนอิงที่มีการตอบ

สนองตอสัมผัสในรูปแบบตางๆ เชน พูของหมอนอิง

สามารถกระดิกไปมาไดคลายการแกวงหางของ

แมวและมีเสียงเบาๆ เมื่อหมอนถูกสัมผัสและกอด

ทําใหผูใชมีความเพลิดเพลินและผอนคลายเสมือน

กําลังเลนอยูกับสัตวเลี้ยง การออกแบบหมอนอิงนี้

อาศัยเทคโนโลยีของหัวตรวจวัด (sensors) ส่ิงทอ

นาํไฟฟา (conductive textiles) และโลหะผสมจาํรูป

(shape memory alloys)

Page 2: Textile Tomorrow เป นยิ่งกว า สิ่งทอ...กรกฎาคม - ก นยายน 2556 14 Touch Me Wallpaper เป นแผ นป ดผน ง

กรกฎาคม - กันยายน 2556

13

นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑอื่นๆ ที่ไดรับการ

ออกแบบใหสามารถปรับเปลี่ยนและตอบสนอง

ตอสิ่งเราภายนอกได เชน

D i g i t a lDawn เ ป นม า นบั งแสงที่

ตอบสนองตอสภาวะแสงแวดลอมได (reactive

window b l ind) การออกแบบผลิตภัณฑ นี้

ไดแรงบันดาลใจจากการสังเคราะหแสงของตนไม

พ้ืนผิวของวัสดุม านจะถูกพิมพ ลวดลายด วย

สารเรืองแสงอิเล็กทรอนิกส (electroluminescent)

ในสภาวะแวดลอมที่มีแสงเขม พลังงานแสงจะถูก

กักเ ก็บไว ใน รูปของพลังงานไฟฟ า เ พ่ือใช ใน

การเรืองแสง ซึ่งในสภาวะที่มีแสงนอยมานบังแสงนี้

จะเกิดการเรืองแสงมากข้ึนเพ่ือรักษาสมดุลของ

กําลังสองสวาง (luminosity) ใหคงที่ โดยตัว

ตรวจจับแสง (light sensor) ที่อยูบนมานจะตรวจจับ

ระดับความเขมของแสงที่เปลี่ยนไปและกระตุ น

ใหเกิดการเรืองแสงของลวดลายบนมานเพ่ิมข้ึน

ทําใหมองดูคลายพุมไมที่กําลังเติบโต (ภาพที่ 2)

ชวยสรางบรรยากาศที่รื่นรมยภายในหองได

ภาพที่ 3 Ice-fern ทําหนาที่เปนทั้งมานบังแสง

และศิลปะบนผนังหนาตางของบาน [4-6]

ภาพที่ 2 การเรืองแสงของมาน DigitalDawn

ที่เปลี่ยนแปลงตามสภาวะแสงแวดลอม [1-2]

Ice-fern เปนผลงานจากความรวมมือ

ระหวางนักออกแบบสิ่งทอช่ือ Aur’elie Mosse’

และสถาปนิ ก ช่ื อ Me t t e Thomsen [ 3 ]

โดยในการออกแบบไดแรงบันดาลใจจากการเกิด

ฟรอสตนํ้าแข็ง (frost) Ice-fern เปนแผนแกะสลัก

ที่สามารถปรับเปลี่ยนรูปรางได (reconfigurable

sculpture) ทําหนาที่เปนทั้งมานบังและกรองแสง

จากภายนอก (ภาพที่ 3) ซึ่ง Ice-fern ถูกออกแบบ

ใหมีรูปรางเปน 2 หรือ 3 มิติ ดานหลังเปนวัสดุสิ่งทอ

ที่เลียนแบบการเกาะพ้ืนผิวของเทาจิ้งจก (Gecko

texti le) ซ่ึงผิวของวัสดุ ส่ิงทอนี้จะเคลือบดวย

สารซิลิโคนที่สามารถติดบนผิวกระจกและลอกติด

ใหมซ้ําๆ ได ผูทีอ่าศัยในบานสามารถเคลือ่นยายแผน

Ice-fern นี้ใหมีรูปแบบตามที่ตองการ ซ่ึงนอกจาก

จะสรางความสวยงามบนหนาตางและเปนมานกรองแสง

แลว ยังทําใหผูอยูอาศัยมีปฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอม

ในบานและสามารถปรับเปลีย่นบรรยากาศภายในบาน

ตามตองการไดอีกดวย

Page 3: Textile Tomorrow เป นยิ่งกว า สิ่งทอ...กรกฎาคม - ก นยายน 2556 14 Touch Me Wallpaper เป นแผ นป ดผน ง

กรกฎาคม - กันยายน 255614

Touch Me Wallpaper เปนแผนปดผนัง

ที่สามารถตอบสนองตอสัมผัสได [7] แผนผนัง

บางกลุมตอบสนองตอความรอนจากรางกายผูทีสั่มผสั

โดยการเปลี่ยนสี ทําใหมองเห็นเปนรอยสัมผัสบน

ผนงัแลวจงึคอยๆ จางกลบัไปเปนสีเดมิของผนงั (ภาพ

ที่ 4) เปนการสรางปฏิสัมพันธระหวางคนและ

ผนงัหอง กลไกของการเปลีย่นสนีีเ้กิดจากการเคลอืบผวิ

ของวัสดุโพลิเมอร ที่ เป นแผนผนังด วยหมึกที่มี

สมบตัเิปลีย่นสีดวยความรอน (thermochromic ink)

นอกจากการตอบสนองโดยการเปลี่ยนแปลงสีแลว

แผนผนังบางกลุ มมีการตอบสนองตอสัมผัสดวย

รูปแบบอื่นๆ เชน ปลอยกลิ่นหอม ซึ่งสารหอมระเหย

(aromatherapeutic fragrances) จะบรรจุใน

แคปซูลจิ๋ว (microcapsules) แลวเคลือบบนผิววัสดุ

ผาหรอืโพลิเมอรที่เปนแผนผนัง กลิ่นหอมที่ถกูปลอย

ออกมาจากผนังเมื่อถูกสัมผัส ชวยใหผูที่อยูอาศัย

ในบานรูสึกผอนคลาย แนวความคดิผนงัทีต่อบสนอง

ตอสัมผัสนี้สามารถนํามาใชในประโยชนในรูปแบบ

อื่นๆ เชน สรางสภาพแวดลอมสําหรับประสบการณ

การเรียนรูที่แปลกใหมใหกับเด็กๆ หรือใชกลิ่นที่

แตกตางกันในแตละสวนของบานเพ่ือใหผู พิการ

ทางสายตาสามารถใชประสาทสัมผัสทางกลิ่นชวย

จดจําพื้นที่ตางๆ ไดดีขึ้น เปนตน

ภาพที่ 4 ผนัง Touch Me Wallpaper

ที่เปลี่ยนสีไดตามสัมผัส [7]

ตวัอยางทีย่กมาในทีน่ีเ้ปนเพยีงบางสวนของ

การผสมผสานเทคโนโลยใีนแขนงตางๆ รวมทัง้การใช

จินตนาการของนักออกแบบในการสรางผลิตภัณฑ

สิ่งทอ ซึ่งนอกจากจะทําหนาที่ตามการใชงานแลวยัง

มสีวนในการสรางคณุคาทางอารมณตอผูทีใ่ชผลติภณัฑ

สิ่งทอนั้นๆ อีกดวย ผลิตภัณฑสิ่งทอในอนาคตจึงจะ

ไมเปนเพียงปจจัยส่ีเทานั้น หากแตทําหนาที่ได

หลากหลายขึ้นกับความคิดสรางสรรคของมนุษย

เอกสารอางอิง

1. Responsive Textile Environments, Bonnemaison, S., and Macy, Editors, C Tuns Press/Riverside Architectural

Press, 2007.

2. http://loop.ph/bin/view/Loop/DigitalDawn

3. Aurelie Mosse’, “Energy-harvesting & Self-Actuated Textiles for the home: Designing with New Materials

& Technologies” http://cita.karch.dk/globalsite.aspx?Preview=True&ObjectId=2D93A5DB-D7F6-47C0-8477-

445FA420C93F

4. http://pure.imm-cologne.de/2011/10/geckos-von-creation-baumann-erhalten-zuwachs/#more-688

5. http://cita.karch.dk/Menu/Projects/Behaving+Architectures/IceFern+(2009)

6. http://mocoloco.com/archives/011747.php

7. Berzina, Z., “Designing for Future Textiles- Challenges for Hybrid Practices”, http://digitalcommons.unl.

edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1335&context=tsaconf