oryza sativa l. oryza sativa¸ªารระเหย/progress report grant 05-07-05.pdfข...

84
สัญญาเลขที42/2545 โครงการ การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ 1 บทที1 บทนํา ขาวเปนพืชที่ปลูกมากและเปนอาหารหลักของคนไทยมาเปนเวลามาชานาน จัดไดวาเปนพืช เศรษฐกิจที่สําคัญมากชนิดหนึ่ง ขาวมีชื่อทางวิทยาศาสตรวา Oryza sativa L. มีความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน .. 2525 วา ชื่อไมลมลุก หลายชนิด หลายสกุลในวงศ Gramineae โดยเฉพาะ Oryza sativa Linn. ซึ่งใชเมล็ดเปนอาหารหลัก มีหลายพันธุ เชน ขาวเจา ขาวเหนียวขาวที่นิยมบริโภคกัน ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ ขาวเจา (non-glutinous rice) ซึ่งเปนขาวที่มี อะมิโลส (Amylose) สูงรอยละ 40-50 เชน ขาวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เปนตน และขาวเหนียว (glutinous rice) เปนขาวที่มีอะมิโลสต่ํา เพียงรอยละ 5-8 แตมีอะมิโลเพคติน (Amylopectin) สูงถึงรอยละ 95 เชน ขาวพันธุ กข. 8 สันปาตอง และ เขี้ยวงู เปนตน ทั้งอะมิโลสและอะมิโลเพคตินมีความสัมพันธกับคุณภาพในการหุงตมและการบริโภค ขาว เหนียวซึ่งมีอะมิโลสต่ํากวาขาวเจา ดังนั้นเมื่อผานการหุงแลว ขาวเหนียวจะเหนียวกวาขาวเจา ขาวเหนียวเปนขาวที่นิยมบริโภคกันเปนอาหารหลัก ของประชากรในทั่วประเทศโดยเฉพาะในแถบ ภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย การนําเมล็ดขาวเหนียวมาแปรรูปเปน ผลิตภัณฑตาง ยังมีนอยกวาการแปรรูปเมล็ดขาวเจา โดยทั่วไปแลวขาวเหนียวนิยมมาแปรรูปเปนอาหาร หลายชนิดเชน อาหารหวาน และอาหารคาว นอกจากนั้นขาวเหนียวยังสามารถใชเปนวัตถุดิบในการผลิต เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล (Alcoholic beverage) หรือสุรา ไดอีกดวยเชน สาโท กระแช และอุ เปนตน ในอดีตจนถึงปจจุบันอุตสาหกรรมสุราเปนอุตสาหกรรมที่ผูกขาดการดําเนินการโดยรัฐบาลมา ตลอด โดยภายหลังรัฐเปดโอกาสใหเอกชนเขามาดําเนินการในสุราบางประเภท ไดแกสุราพิเศษ สุราแช และ เบียร ในขณะที่สุราขาว สุราผสม และสุราสี ซึ่งเปนสุราที่มีปริมาณการบริโภคเปนสวนใหญนั้นยังอยูภายใต การควบคุมของรัฐโดยการกํากับดูแลของกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม ตอมาภายใต นโยบายการคาเสรีโดยอาศัยกลไกการตลาด จึงทําใหรัฐไดมีการปรับเปลี่ยนนโยบายสุราเพื่อรองรับการคา เสรีและสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ โดยการเปดเสรีสุราจะสงผลใหมีการแขงขันดานการผลิตของ ผูประกอบการและผูจัดจําหนายสุราภายในประเทศทั้งที่เปนอุตสาหกรรมขนาดใหญ กลาง และสุราพื้นบาน ทั้งนี้ผูบริโภคจะมีสุราหลากหลายใหบริโภค โดยเฉพาะสุราพื้นบานซึ่งเปนภูมิปญญาของไทยที่มีมาแต ดั้งเดิม เดิมทีนั้นการผลิตสุราพื้นบานจะผลิตขึ้นเพื่อใชในการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อและใน โอกาสพิเศษในชุมชนเทานั้นโดยอาศัยภูมิปญญาที่สืบทอดตอกันมา ความหลากหลายของวัตถุดิบ และความ แตกตางในแตละวัฒนธรรมของแตละชุมชนจึงทําใหสุราพื้นบานมีหลายชนิดและมีการผลิตในทุกภาคของ ประเทศไทย อาทิเชน สาโทที่ผลิตจากการหมักขาวเหนียวโดยพบวามีการผลิตในเกือบทุกภาคในประเทศ ในขณะที่เหลาอุซึ่งเปนการหมักขาวเหนียวและแกลบ ( รูปที1) มีการผลิตในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลาง สวนภาคใตและภาคตะวันตกผลิตหวากที่ไดจากการหมักน้ําตาลโตนด

Upload: others

Post on 05-Sep-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

1

บทท่ี 1 บทนํา

ขาวเปนพืชที่ปลูกมากและเปนอาหารหลักของคนไทยมาเปนเวลามาชานาน จัดไดวาเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญมากชนิดหนึ่ง ขาวมีช่ือทางวิทยาศาสตรวา Oryza sativa L. มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 วา “ช่ือไมลมลุก หลายชนิด หลายสกุลในวงศ Gramineae โดยเฉพาะ Oryza sativa Linn. ซ่ึงใชเมล็ดเปนอาหารหลัก มีหลายพันธุ เชน ขาวเจา ขาวเหนียว” ขาวที่นิยมบริโภคกันทั่วไปมี 2 ชนิด คือ ขาวเจา (non-glutinous rice) ซ่ึงเปนขาวที่มี อะมิโลส (Amylose) สูงรอยละ 40-50 เชนขาวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เปนตน และขาวเหนียว (glutinous rice) เปนขาวที่มีอะมิโลสต่ําเพียงรอยละ 5-8 แตมีอะมิโลเพคติน (Amylopectin) สูงถึงรอยละ 95 เชน ขาวพันธุ กข. 8 สันปาตอง และเขี้ยวงู เปนตน ทั้งอะมิโลสและอะมิโลเพคตินมีความสัมพันธกับคุณภาพในการหุงตมและการบริโภค ขาวเหนียวซ่ึงมีอะมิโลสต่ํากวาขาวเจา ดังนั้นเมื่อผานการหุงแลว ขาวเหนียวจะเหนียวกวาขาวเจา

ขาวเหนียวเปนขาวที่นิยมบริโภคกันเปนอาหารหลัก ของประชากรในทั่วประเทศโดยเฉพาะในแถบภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย การนําเมล็ดขาวเหนียวมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑตาง ๆ ยังมีนอยกวาการแปรรูปเมล็ดขาวเจา โดยท่ัวไปแลวขาวเหนียวนิยมมาแปรรูปเปนอาหารหลายชนิดเชน อาหารหวาน และอาหารคาว นอกจากนั้นขาวเหนียวยังสามารถใชเปนวัตถุดิบในการผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล (Alcoholic beverage) หรือสุรา ไดอีกดวยเชน สาโท กระแช และอุ เปนตน

ในอดีตจนถึงปจจุบันอุตสาหกรรมสุราเปนอุตสาหกรรมที่ผูกขาดการดําเนินการโดยรัฐบาลมาตลอด โดยภายหลังรัฐเปดโอกาสใหเอกชนเขามาดําเนินการในสุราบางประเภท ไดแกสุราพิเศษ สุราแช และเบียร ในขณะที่สุราขาว สุราผสม และสุราสี ซ่ึงเปนสุราที่มีปริมาณการบริโภคเปนสวนใหญนั้นยังอยูภายใตการควบคุมของรัฐโดยการกํากับดูแลของกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม ตอมาภายใตนโยบายการคาเสรีโดยอาศัยกลไกการตลาด จึงทําใหรัฐไดมีการปรับเปลี่ยนนโยบายสุราเพื่อรองรับการคาเสรีและสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ โดยการเปดเสรีสุราจะสงผลใหมีการแขงขันดานการผลิตของผูประกอบการและผูจัดจําหนายสุราภายในประเทศทั้งที่เปนอุตสาหกรรมขนาดใหญ กลาง และสุราพื้นบาน ทั้งนี้ผูบริโภคจะมีสุราหลากหลายใหบริโภค โดยเฉพาะสุราพื้นบานซึ่งเปนภูมิปญญาของไทยที่มีมาแตดั้งเดิม เดิมทีนั้นการผลิตสุราพื้นบานจะผลิตขึ้นเพื่อใชในการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อและในโอกาสพิเศษในชุมชนเทานั้นโดยอาศัยภูมิปญญาที่สืบทอดตอกันมา ความหลากหลายของวัตถุดิบ และความแตกตางในแตละวัฒนธรรมของแตละชุมชนจึงทําใหสุราพื้นบานมีหลายชนิดและมีการผลิตในทุกภาคของประเทศไทย อาทิเชน สาโทที่ผลิตจากการหมักขาวเหนียวโดยพบวามีการผลิตในเกือบทุกภาคในประเทศ ในขณะที่เหลาอุซ่ึงเปนการหมักขาวเหนียวและแกลบ (รูปที่ 1) มีการผลิตในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลาง สวนภาคใตและภาคตะวันตกผลิตหวากที่ไดจากการหมักน้ําตาลโตนด

Page 2: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

2

รูปท่ี 1 การผลิตเหลาอุ อยางไรก็ตามเปนการยากที่จะชี้ชัดไปวาภาคใดเปนตนกําเนิดของสุราพื้นบานชนิดตาง ๆ ทั้งนี้

เนื่องจากการยายถ่ินฐานของชุมชนที่เกิดขึ้นตลอดเวลาจากความหลากหลายของสุราพื้นบานจึงนาจะทําใหลักษณะปรากฎและกลิ่นรสมีความแตกตางกันไปดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานรสชาติและกลิ่นซึ่งเปนลักษณะสําคัญของสุราที่มีผลตอการตัดสินใจของผูบริโภค ดังนั้นในโครงการนี้จะทําการศึกษาสารระเหยใหกล่ินของเหลาอุ ซ่ึงจะทราบถึงองคประกอบทางเคมีทั้งในเชิงคุณภาพอันไดแก ชนิดของสารเคมีที่เกี่ยวของและปริมาณของสารระเหยใหกลิ่นในเหลาอุที่ผลิตจากแหลงตาง ๆ ในประเทศ ซึ่งจะทําใหทราบถึง

แชขาวเหนยีว (1 สวน) ในน้ํา 3 ช่ัวโมง แกลบ (1 สวน)

นึ่งใหขาวเหนยีวสุก

เกลี่ยใหทั่วบนกระดงและผึ่งใหเย็น

โรยลูกแปง

ปดทับดวยผาขาวบางชุบน้ําหมาด ๆ

หมักทิ้งไว 1 คนื

บรรจุลงไห

ปดปากไหดวยข้ีเถา และถุงพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง

หมักในที่รมเปนเวลาอยางนอย 7 วนั

เติมน้ําลงในไห

เหลาอุพรอมดืม่

Page 3: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

3

เอกลักษณของสารใหกล่ินจากเหลาอุ และจะไดนําองคความรูที่ไดไปประยุกตใชในการควบคุมคุณภาพของการผลิตเหลาอุในเชิงอุตสาหกรรม รวมไปถึงความรูที่ไดจะมีประโยชนในการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ และใชเปนแนวทางในการกําหนดมาตรฐานอุตสาหกรรม และอีกทั้งเหลาอุยังเปนสุราพื้นบานทีม่ีลักษณะเฉพาะในการบริโภคที่ตางจากสุราพื้นบานชนิดอื่น ๆ เชน สาโท กระแช และหวาก เปนตน ซ่ึงคาดวาจะไดรับความสนใจจากผูบริโภคไดเปนอยางดี

Page 4: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

4

บทท่ี 2 เนื้อหางานวิจัย

1. สารเคมี สารเคมีที่ใชในงานวิจัยนี้ส่ังซื้อจากบริษัท Merck จํากัดโดยเปน Analytical grade ยกเวนสาร

Acetronitrile ที่ใชในการวิเคราะหปริมาณน้ําตาล ใชสารที่เปน HPLC grade ซ่ึงสั่งซื้อจากบริษัท Labscan Asia จํากัด สวนสารระเหยใหกล่ินมาตรฐานสั่งซื้อจากแหลงตางๆ ดังแสดงในภาคผนวก ก 2. ตัวอยางเหลาอุ

ตัวอยางเหลาอุที่ใชในการทดลองนี้ไดซ้ือจากแหลงตาง ๆ 10 แหลงดังนี ้แหลงที ่ แหลง รหัส

1 ตําบลโคกลําพาน อําเภอเมือง จังหวดัลพบรีุ L 2 ตําบลโนนทัน อําเภอเมือง จงัหวัดอุบลราชธานี U 3 ตําบลเรณู อําเภอเรณูนครจังหวัดนครพนม แหลงที ่1 R 4 ตําบลในเมือง อําเภอพิมาย จงัหวัดนครราชสีมา P 5 ตําบลเรณู อําเภอเรณูนครจังหวัดนครพนม แหลงที่ 2 N 6 ตําบลเรณู อําเภอเรณูนครจังหวัดนครพนม (ขาวเหนียวดาํ) B 7 ตําบลสวาท อําเภอเลิงนกทา จังหวดัยโสธร Y 8 ตําบลเขาแรง อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี A 9 ตําบลวังผาง กิง่อําเภอเวียงหนองลอง จังหวัดลําพูน M 10 ตําบลสะเนียน อําเภอเมือง จงัหวัดนาน Z

*หมายเหต ุการอธิบายความหมายของ code ตัวอยางอุ เชน U1D1 หมายถงึ เหลาอุจากอบุลราชธานี เปนตัวอยางที่ 1 โดยใช deodorized water เติมเปนน้ําที่ 1 U1D2 หมายถงึ เหลาอุจากอบุลราชธานี เปนตัวอยางที่ 1 โดยใช deodorized water เติมเปนน้ําที่ 2 R2D3 หมายถึง เหลาอุจากเรณูนคร เปนตวัอยางที่ 2 โดยใช deodorized water เติมเปนน้ําที่ 3 3. การเตรียมน้ําไรกล่ิน (deodorized water)

นําน้ํากลั่นมาตมใน beaker ใหเดือดจนกระทั่งปริมาตรเหลือหนึ่งในสามของปริมาตรเริ่มตน 4. การเตรียมตัวอยางเหลาอุ 1. ทําความสะอาดไหอุดวย 70% ethanol 2. เปดปากไหจากขอ 1 ในตูปลอดเชื้อ และทําความสะอาดปากไห 3. เติมน้ําไรกล่ิน 1,000 ml ลงในไห

Page 5: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

5

4. นําหลอดไมไผที่ผานการฆาเชื้อดวยหมอนึง่ความดัน (autoclave) แลวแทงลงในไหใหทั่วแลวตั้งทิ้งไว 10 นาที 5. นําทอ silicone ที่ผานการฆาเชื้อดวยหมอนึง่ความดัน (autoclave) แลวตอเขากับหลอดไมไผ 6. ผานทอ silicone เขาไปใน peristaltic pump แลวทําการดดูออก (รูปที่ 2) 7. นําเหลาอุที่ไดทั้งหมดใสลงในขวดเก็บสารขนาด 1,000 ml ที่ผานการฆาเชื้อดวยหมอนึ่งความดัน

(autoclave) แลว เรียกเหลาอุที่ไดนีว้า น้ํา 1 8. นําน้ําไรกล่ิน 1,000 ml เติมลงในไหอกีครั้ง 9. นําหลอดไมไผอันเดิมแทงลงในไหใหทัว่แลวตั้งทิ้งไว 10 นาที 10. แลวดูดผานทอดวย peristaltic pump 11. นําเหลาอุที่ไดทั้งหมดใสลงในขวดเก็บสารขนาด1,000 ml ที่ผานการฆาเชื้อดวยหมอนึ่งความดนั

(autoclave) แลว เรียกเหลาอุที่ไดนีว้า น้ํา 2 12. ทําซ้ําขั้นตอนที่ 8 จนกระทั่งไดเหลาอุ น้ําที ่3 13. นําเหลาอุ น้ํา 1, น้ํา 2 และน้าํ 3 ที่ไดเก็บในตูแชแข็ง (-20 °C) จนกวาจะนํามาใชในการทดลอง

รูปท่ี 2 การนําเหลาอุออกจากไห

Page 6: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

6

5. การวิเคราะหปริมาณ protein ในเหลาอุ วิเคราะหปริมาณ protein ในตัวอยางโดยใชวิธี Kjeldahl’s method ตาม AOAC Official No. 981.10 โดยทําการทดลอง 3 ซํ้า หาคาเฉลี่ย (mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)

ผลการทดลอง ตารางที่ 2 ปริมาณ protein ในเหลาอุจาก 10 แหลง

Code %Protein1 %Protein2 %Protein3 Mean (%) SD %CV A1D1 0.7270 0.742796 0.7292 0.7330 0.0085 1.1664 A1D2 0.3299 0.325384 0.3267 0.3273 0.0023 0.7017 A1D3 0.1664 0.17457 0.1621 0.1677 0.0063 3.7707 A2D1 0.6786 0.682039 0.6788 0.6798 0.0019 0.2850 A2D2 0.2940 0.302208 0.2977 0.2980 0.0041 1.3801 A2D3 0.1604 0.152831 0.1610 0.1581 0.0046 2.8841 B1D1 0.9931 0.9950 0.9893 0.9925 0.0029 0.2954 B1D2 0.4023 0.3979 0.4028 0.4010 0.0027 0.6665 B1D3 0.2231 0.2402 0.2212 0.2282 0.0105 4.5878 B2D1 0.8611 0.8677 0.8586 0.8625 0.0047 0.5424 B2D2 0.4342 0.4283 0.4312 0.4312 0.0030 0.6899 B2D3 0.3180 0.3151 0.3135 0.3155 0.0023 0.7228 L1D1 0.6808 0.6814 0.7709 0.7110 0.0519 7.2964 L1D2 0.3253 0.1605 0.4086 0.2981 0.1262 42.3354 L2D1 0.8309 0.8313 0.9688 0.8770 0.0795 9.0621 L2D2 0.5121 0.5504 0.3667 0.4764 0.0969 20.3397 M1D1 0.4525 0.4493 0.4557 0.4525 0.0032 0.7144 M1D2 0.2982 0.3046 0.2970 0.3000 0.0041 1.3596 M1D3 0.1457 0.1428 0.1450 0.1445 0.0015 1.0393 M2D1 0.4716 0.4681 0.4732 0.4710 0.0026 0.5502 M2D2 0.2359 0.2355 0.2382 0.2365 0.0015 0.6137 M2D3 0.1314 0.1282 0.1404 0.1333 0.0063 4.7356

Page 7: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

7

ตารางที่ 2 (ตอ) ปริมาณ protein ในเหลาอุจาก 10 แหลง Code %Protein1 %Protein2 %Protein3 Mean (%) SD %CV N1D1 0.7987 0.8103 0.7801 0.7963 0.0152 1.9142 N1D2 0.3745 0.3486 0.3746 0.3659 0.0150 4.0978 N1D3 0.1862 0.1868 0.1869 0.1866 0.0004 0.2139 N2D1 0.6787 0.6749 0.6733 0.6756 0.0027 0.4068 N2D2 0.3789 0.3758 0.3776 0.3774 0.0016 0.4186 N2D3 0.1997 0.2012 0.1970 0.1993 0.0021 1.0542 P1D1 0.6809 0.6745 0.6839 0.6798 0.0048 0.7085 P1D2 0.3405 0.3372 0.3390 0.3389 0.0017 0.4898 P1D3 0.1904 0.1942 0.1925 0.1924 0.0019 0.9802 P2D1 0.6421 0.6411 0.6461 0.6431 0.0027 0.4133 P2D2 0.3641 0.3647 0.3648 0.3645 0.0004 0.1071 P2D3 0.2116 0.2192 0.2101 0.2136 0.0049 2.2950 R1D1 0.9609 0.9742 0.9080 0.9477 0.0350 3.6950 R1D2 0.5850 0.5147 0.5488 0.5495 0.0352 6.3982 R1D3 0.3365 0.2401 0.3247 0.3004 0.0525 17.4925 R2D1 0.7269 1.0491 0.7382 0.8381 0.1829 21.8232 R2D2 0.5096 0.4791 0.5887 0.5258 0.0566 10.7580 R2D3 0.2442 0.0820 0.0815 0.1359 0.0938 69.0493 U1D1 0.8455 0.7877 0.1234 0.8014 0.0391 4.8745 U1D2 0.5741 0.4291 0.5980 0.5337 0.0914 17.1295 U1D3 0.1647 0.2385 0.2517 0.2183 0.0469 21.4809 U2D1 1.0814 1.1955 1.2347 1.1705 0.0796 6.8014 U2D2 0.5021 0.4965 0.4956 0.4981 0.0035 0.7030 U2D3 0.1673 0.2491 0.0871 0.1678 0.0810 48.2766

Page 8: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

8

ตารางที่ 2 (ตอ) ปริมาณ protein ในเหลาอุจาก 10 แหลง Code %Protein1 %Protein2 %Protein3 Mean (%) SD %CV Y1D1 0.6589 0.6640 0.6579 0.6603 0.0033 0.4975 Y1D2 0.3398 0.3414 0.3416 0.3409 0.0010 0.2959 Y1D3 0.1937 0.1966 0.1908 0.1937 0.0029 1.4983 Y2D1 0.7015 0.6965 0.6968 0.6983 0.0028 0.3982 Y2D2 0.3742 0.3768 0.3729 0.3746 0.0020 0.5346 Y2D3 0.1967 0.2005 0.1992 0.1988 0.0019 0.9694 Z1D1 0.6678 0.6580 0.6798 0.6685 0.0109 1.6333 Z1D2 0.3403 0.3409 0.3389 0.3400 0.0010 0.3019 Z1D3 0.1988 0.1937 0.1924 0.1949 0.0034 1.7357 Z2D1 0.6603 0.6756 0.6789 0.6716 0.1587 2.3636 Z2D2 0.3489 0.3414 0.3490 0.3464 0.0044 1.2658 Z2D3 0.1959 0.2061 0.2006 0.2008 0.0051 2.5424

6. การวิเคราะหปริมาณเถาในตัวอยางเหลาอุ 1. นํา crucible พรอมฝาปดไปเผาในเตาเผาอณุหภูมิสูง (furnace) ที่อุณหภูมิ 600 °C นานประมาณ 30 นาที นําออกมาตั้งไวใหเยน็ในภาชนะดดูความชื้น (desiccator) แลวช่ังน้ําหนัก 2. ช่ังตัวอยางใสใน crucible ประมาณ 2-4 g บันทึกน้ําหนักของตัวอยางและ crucible 3. นําไปอบในตูอบลมรอน (hot-air oven) ที่อุณหภูมิประมาณ 110 °C นานประมาณ 30 นาท ีหรือจนน้ําระเหยหมดจึงนําไปเผาใน furnace ที่อุณหภูมิ 600 °C จนตัวอยางเปนเถาสีขาวหรอืเทา นําออกมาตั้งทิ้งไวใหเย็นใน desiccator แลวช่ังน้ําหนกัของ crucible พรอมฝาปดและเถา

Page 9: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

9

ผลการทดลอง ตารางที่ 3 ปริมาณเถาในเหลาอุจาก 10 แหลง

Code %Ash1 %Ash2 %Ash3 Mean (%) SD %CV A1D1 0.1003 0.1000 0.1024 0.1009 0.0013 1.3067 A1D2 0.0135 0.0102 0.0133 0.0123 0.0018 14.9631 A1D3 0.0081 0.0096 0.0079 0.0085 0.0009 10.7752 A2D1 0.1113 0.1230 0.1124 0.1156 0.0064 5.5764 A2D2 0.0273 0.0293 0.0288 0.0285 0.0010 3.6498 A2D3 0.0107 0.0099 0.0100 0.0102 0.0004 4.2282 B1D1 0.2485 0.2596 0.2448 0.2510 0.0077 3.0682 B1D2 0.0971 0.1003 0.1000 0.0991 0.0018 1.7731 B1D3 0.0242 0.0210 0.0230 0.0227 0.0016 7.1136 B2D1 0.2437 0.2314 0.2513 0.2421 0.0100 4.1475 B2D2 0.1161 0.1203 0.1200 0.1188 0.0023 1.9683 B2D3 0.0636 0.0512 0.0658 0.0602 0.0079 13.0848 L1D1 0.2367 0.3897 0.1702 0.2655 0.1126 42.3973 L1D2 0.1563 0.0821 0.0396 0.0927 0.0591 63.7105 L2D1 0.1559 0.2540 0.3290 0.2463 0.0868 35.2500 L2D2 0.0448 0.2520 0.0537 0.1168 0.1171 100.2581 M1D1 0.2117 0.2117 0.2201 0.2145 0.0048 2.2571 M1D2 0.1426 0.1219 0.1321 0.1322 0.0103 7.8227 M1D3 0.0691 0.0622 0.0712 0.0675 0.0047 6.9652 M2D1 0.2310 0.2299 0.2369 0.2326 0.0038 1.6196 M2D2 0.1405 0.1359 0.1522 0.1429 0.0084 5.8805 M2D3 0.0587 0.0643 0.0625 0.0618 0.0029 4.6407

Page 10: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

10

ตารางที่ 3 (ตอ) ปริมาณเถาในเหลาอุจาก 10 แหลง Code %Ash1 %Ash2 %Ash3 Mean (%) SD %CV N1D1 0.2083 0.2003 0.2100 0.2062 0.0052 2.5160 N1D2 0.0795 0.0889 0.0768 0.0817 0.0064 7.7826 N1D3 0.0691 0.0450 0.0687 0.0609 0.0138 22.6795 N2D1 0.2077 0.2101 0.2213 0.2130 0.0073 3.4056 N2D2 0.0983 0.1012 0.0998 0.0998 0.0014 1.4392 N2D3 0.0859 0.0836 0.0775 0.0823 0.0043 5.2598 P1D1 0.2888 0.3000 0.3000 0.2963 0.0065 2.1908 P1D2 0.1405 0.1536 0.1598 0.1513 0.0098 6.4944 P1D3 0.0541 0.0772 0.0845 0.0719 0.0159 22.0904 P2D1 0.3696 0.3800 0.3758 0.3751 0.0052 1.3956 P2D2 0.1890 0.1699 0.1668 0.1752 0.0120 6.8722 P2D3 0.0968 0.0869 0.1000 0.0946 0.0068 7.2254 R1D1 0.2103 0.2199 0.2098 0.2134 0.0057 2.6728 R1D2 0.1111 0.2914 0.0984 0.1670 0.1079 64.6323 R1D3 0.0513 0.0121 0.0951 0.0528 0.0415 78.5384 R2D1 0.2093 0.5101 0.1088 0.2761 0.2088 75.6382 R2D2 0.0809 0.0947 0.0895 0.0884 0.0070 7.9236 R2D3 0.292 0.0673 0.0000 0.0322 0.0337 104.8908 U1D1 0.1735 0.4762 0.2019 0.2839 0.1672 58.8850 U1D2 0.0794 0.0803 0.0807 0.0801 0.0006 0.7861 U1D3 0.0495 0.1047 0.3489 0.1677 0.1593 95.0234 U2D1 0.1535 0.3634 0.1683 0.2284 0.1172 51.3046 U2D2 0.0860 0.2885 0.0849 0.1531 0.1172 76.5331 U2D3 0.0447 0.0500 0.0449 0.0465 0.0030 6.4024

Page 11: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

11

ตารางที่ 3 (ตอ) ปริมาณเถาในเหลาอุจาก 10 แหลง Code %Ash1 %Ash2 %Ash3 Mean (%) SD %CV Y1D1 0.3010 0.2989 0.3120 0.3040 0.0070 2.3118 Y1D2 0.1319 0.1547 0.1441 0.1436 0.0114 7.9652 Y1D3 0.0710 0.0826 0.0900 0.0812 0.0096 11.8021 Y2D1 0.2712 0.2768 0.2801 0.2760 0.0045 1.6290 Y2D2 0.1546 0.1598 0.1550 0.1565 0.0029 1.8488 Y2D3 0.0699 0.0849 0.0700 0.0749 0.0086 11.5088 Z1D1 0.3013 0.2991 0.2985 0.2996 0.0015 0.4921 Z1D2 0.1352 0.1428 0.1301 0.1360 0.0064 4.6992 Z1D3 0.0612 0.0888 0.0765 0.0755 0.0138 1.8314 Z2D1 0.3000 0.3101 0.2982 0.3027 0.0892 2.9472 Z2D2 0.1215 0.1318 0.1355 0.1296 0.0073 5.5977 Z2D3 0.0721 0.0689 0.0716 0.0708 0.0017 2.4314

7. การวิเคราะห moisture content โดยวิธี direct heating method 1. นํา aluminum dish พรอมฝาปดที่ลางใหสะอาดแลวนํามาอบใน hot-air oven ที่อุณหภูมิ 100 °C นานประมาณ 30 นาที นําออกมาทิ้งใหเย็นใน desicator แลวนําไปชั่งน้ําหนัก 2. ช่ังตัวอยางประมาณ 2 g ใสใน aluminum dish บันทกึน้ําหนักของ aluminum dish พรอมฝาปดและตัวอยาง 3. นําไปอบใน hot-air oven ที่อุณหภูมิ 100 °C โดยเปดฝา aluminum dish ไวเล็กนอย นาน 1 ช่ัวโมง ปดฝาแลวนํามาตั้งทิง้ไวใหเย็นใน desiccator ช่ังน้ําหนกัของ aluminum dish พรอมฝาปดและตัวอยางหลังอบแหงแลว 4. อบซ้ํานานครั้งละ 30 นาที จนน้ําหนักคงทีห่รือตางกันไมเกิน 0.1% (ทศนิยมตําแหนงที่ 3) โดยน้ําหนักที่นอยที่สุดถือเปนน้ําหนักของ aluminum dish และตวัอยางหลังอบแหงแลว

Page 12: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

12

ผลการทดลอง ตารางที่ 4 ปริมาณ moisture content ของเหลาอุจาก 10 แหลง

Code %Moist1 %Moist2 %Moist3 Mean (%) SD %CV A1D1 84.247 88.0482 84.6652 85.6535 2.0844 2.4335 A1D2 93.8326 94.5800 93.2436 93.8854 0.6698 0.7134 A1D3 97.2333 97.2160 97.0005 97.1499 0.1297 0.1335 A2D1 84.9133 85.7813 85.1144 85.2697 0.4544 0.5328 A2D2 94.4058 94.1979 94.9988 94.5342 0.4156 0.4396 A2D3 97.6576 98.2284 98.0025 97.9628 0.2875 0.2934 B1D1 93.9087 93.5524 93.2252 93.5621 0.3419 0.3654 B1D2 97.72 97.8444 98.0007 97.8550 0.1407 0.1437 B1D3 98.9232 98.9001 99.0001 98.9411 0.0524 0.0529 B2D1 96.137 95.9964 96.1139 96.0824 0.0754 0.0785 B2D2 98.2341 98.1299 97.1473 97.8371 0.5997 0.6129 B2D3 98.455 98.4471 99.0297 98.6439 0.3341 0.3387 L1D1 93.2373 93.2360 93.2369 93.2668 0.0525 0.0562 L1D2 97.5504 97.5000 96.9532 97.3345 0.3312 0.3403 L2D1 89.0755 93.1259 94.0100 92.0705 2.6311 2.8577 L2D2 97.6711 97.6669 98.0218 97.7866 0.2037 0.2083 M1D1 97.0182 97.6297 97.2165 97.2881 0.3120 0.3207 M1D2 98.0417 97.9754 98.3342 98.1171 0.1909 0.1946 M1D3 99.1201 99.5264 99.0277 99.2247 0.2653 0.2674 M2D1 96.3811 96.1859 96.4447 96.3372 0.1349 0.1400 M2D2 98.3343 98.3201 98.2014 98.2853 0.0730 0.0743 M2D3 99.2337 99.2833 99.4121 99.3097 0.0921 0.0927

Page 13: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

13

ตารางที่ 4 (ตอ) ปริมาณ moisture content ของเหลาอุจาก 10 แหลง Code %Moist1 %Moist2 %Moist3 Mean (%) SD %CV N1D1 98.1378 98.5491 98.1363 98.2744 0.2379 0.2421 N1D2 99.1607 99.0956 98.9980 99.0848 0.0819 0.0826 N1D3 99.686 99.5785 99.7777 99.6807 0.0997 0.1000 N2D1 97.2301 96.8768 97.1991 97.1020 0.1956 0.2015 N2D2 98.5528 98.5556 98.0000 98.3695 0.3200 0.3253 N2D3 98.548 98.0984 98.8530 98.4998 0.3796 0.3854 P1D1 92.9944 92.8447 95.4711 93.7701 1.4750 1.5730 P1D2 97.5212 97.5206 98.0048 97.6822 0.2794 0.2860 P1D3 98.9124 94.0108 99.0022 97.3085 2.8562 2.9352 P2D1 95.1855 95.1817 94.1283 94.8318 0.6093 0.6425 P2D2 98.54 98.2987 93.4694 96.7694 2.8604 2.9559 P2D3 98.995 99.0002 99.4715 99.1556 0.2736 0.2759 R1D1 92.9892 88.7065 93.4852 91.7270 2.6275 2.8645 R1D2 97.4550 97.2007 96.9890 97.2149 0.2333 0.2400 R1D3 98.6751 99.0115 99.0104 98.8990 0.1939 0.1961 R2D1 94.9983 96.0119 91.0397 94.0166 2.6274 2.7946 R2D2 98.4456 98.3334 98.8525 98.5439 0.2731 0.2772 R2D3 99.3867 89.7000 99.8451 96.3106 5.7295 5.9490 U1D1 93.9208 94.0222 94.1991 94.0474 0.1408 0.1497 U1D2 97.1142 96.9102 96.9106 96.9783 0.1177 0.1213 U1D3 93.5019 98.9575 99.0122 97.1572 3.1657 3.2583 U2D1 96.4461 96.6557 95.9914 96.3644 0.3396 0.3524 U2D2 98.1432 97.6577 98.0554 97.9521 0.2587 0.2641 U2D3 98.9689 99.0003 94.3052 97.4248 2.7017 2.7731

Page 14: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

14

ตารางที่ 4 (ตอ) ปริมาณ moisture content ของเหลาอุจาก 10 แหลง Code %Moist1 %Moist2 %Moist3 Mean (%) SD %CV Y1D1 96.4747 96.5119 96.1138 96.3668 0.2199 0.2282 Y1D2 98.1661 98.2196 98.9642 98.4500 0.4461 0.4532 Y1D3 99.6102 99.7673 99.0522 99.4766 0.3758 0.3778 Y2D1 96.7156 94.8165 94.5862 95.3728 1.1686 1.2253 Y2D2 98.1751 98.1244 98.0135 98.1043 0.0826 0.0842 Y2D3 99.4428 99.5594 99.4413 99.4812 0.0678 0.0681 Z1D1 96.3911 96.1121 96.4012 96.3014 0.1641 0.1704 Z1D2 98.3201 98.3546 98.5673 98.4140 0.1339 0.1360 Z1D3 99.2101 99.4113 99.4171 99.3345 0.1096 0.1104 Z2D1 97.3313 97.4113 97.5003 97.4143 0.0471 0.0483 Z2D2 98.9129 98.5767 98.8421 98.7772 0.1772 0.1794 Z2D3 99.5117 99.6718 99.4201 99.5345 0.1274 0.1280

8. การวิเคราะหน้ําตาลในเหลาอุ การวิเคราะหน้ําตาลในเหลาอุทําโดยใชเครื่อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC) โดยใช Hypersil-NH2 และใช 80% (v/v) acetronitrile เปน mobile phase สวนการตรวจวัดใช refractive index detector การเตรียมตวัอยางเหลาอุทีจ่ะใชในการวิเคราะหปริมาณน้ําตาลทําไดโดย

1. นําเหลาอุ 1 ml centrifuge ที่ 10,000 rpm เปนเวลา 10 นาที 2. เก็บสวนใส (0.5 ml) แลวเตมิดวย 0.5 ml methanol เย็น 3. centrifuge ที่ 10,000 rpm เปนเวลา 10 นาที 4. เก็บสวนใส แลวกรองผาน cellulose acetate membrane (0.45 µm) 5. เก็บสวน filtrate แชในตูแชแข็งเพื่อรอวิเคราะห

Page 15: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

15

ผลการทดลอง

Standard curve of Glucose

y = 0.1031x + 0.1615R2 = 0.9959

0.00

1.00

2.00

3.00

4.00

5.00

6.00

7.00

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55

Glc conc (mg/ml)

Peak

hig

ht

รูปท่ี 3 กราฟมาตรฐานความเขมขนน้ําตาล glucose

Page 16: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

16

ตารางที่ 5 ปริมาณน้ําตาล glucose ในเหลาอุจาก 10 แหลง

Code Glc1(mg/ml) Glc2(mg/ml) Glc3(mg/ml) Mean(mg/ml) SD %CV A1D1 4.9355 4.7221 4.7173 4.7916 0.1246 2.6008 A1D2 3.9462 3.8007 4.2081 3.9850 0.2064 5.1804 A1D3 3.6697 3.3836 3.6891 3.5808 0.1711 4.7775 A2D1 4.4505 4.4020 4.4311 4.4279 0.0244 0.5513 A2D2 4.2323 3.8831 4.0626 4.0593 0.1746 4.3015 A2D3 2.8356 2.8501 3.0199 2.9019 0.1025 3.5307 B1D1 5.0567 4.6542 5.1343 4.9484 0.2577 5.2084 B1D2 4.5669 4.4360 4.5572 4.5200 0.0730 1.6141 B1D3 4.1014 3.9268 3.9656 3.9979 0.0917 2.2931 B2D1 5.4787 5.4011 5.3720 5.4172 0.0552 1.0181 B2D2 5.0519 4.4020 4.6445 4.6995 0.3284 6.9879 B2D3 4.3293 4.0868 4.2517 4.2226 0.1238 2.9326 L1D1 3.8522 4.3056 - 4.0789 0.3206 7.8599 L1D2 2.7019 3.1050 - 2.9035 0.2850 9.8157 L2D1 2.2327 2.3630 - 2.2978 0.0921 4.0082 L2D2 1.8559 2.0810 - 1.9685 0.1592 8.0873 M1D1 4.9452 4.5669 4.6300 4.7140 0.2027 4.2991 M1D2 3.7231 3.8007 4.0141 3.8459 0.1507 3.9178 M1D3 3.7231 3.8007 4.0141 3.8459 0.1507 3.9178 M2D1 4.2177 3.9122 3.7861 3.9720 0.2219 5.5875 M2D2 4.0044 3.8443 3.7376 3.8621 0.1343 3.4761 M2D3 3.6940 3.6940 3.2672 3.5517 0.2464 6.9373

Page 17: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

17

ตารางที่ 5 (ตอ) ปริมาณน้ําตาล glucose ในเหลาอุจาก10 แหลง Code Glc1(mg/ml) Glc2(mg/ml) Glc3(mg/ml) Mean(mg/ml) SD %CV N1D1 4.7124 4.5960 4.6348 4.6478 0.0593 1.2751 N1D2 4.1547 4.1208 4.2177 4.1644 0.0492 1.1819 N1D3 3.6212 4.1062 4.0577 3.9284 0.2671 6.7992 N2D1 4.4990 4.5475 4.6251 4.5572 0.0636 1.3956 N2D2 4.3050 4.3050 4.1984 4.2695 0.0616 1.4428 N2D3 3.6018 3.6697 3.5388 3.6035 0.0655 1.8173 P1D1 3.9559 4.5572 4.1256 4.2129 0.3100 7.3592 P1D2 3.4612 3.6018 3.4952 3.5194 0.0734 2.0853 P1D3 3.2187 3.1314 3.2624 3.2042 0.0667 2.0808 P2D1 4.1402 4.3050 4.2711 4.2388 0.0871 2.0541 P2D2 3.5388 3.6455 3.3400 3.5081 0.1551 4.4202 P2D3 2.9811 2.9471 3.2769 3.0684 0.1814 5.9117 R1D1 7.5509 8.2799 - 7.9154 0.5155 6.5146 R1D2 3.7649 4.1426 - 3.9537 0.2671 6.7557 R1D3 2.2705 2.5071 - 2.3888 0.1673 7.0035 R2D1 7.5550 8.7715 - 8.1632 0.8603 10.5388 R2D2 3.1207 3.2847 - 3.2027 0.1159 3.6188 R2D3 1.6177 1.8672 - 1.7424 0.1764 10.1240 U1D1 4.1116 4.9184 - 4.5150 0.5705 12.6357 U1D2 2.3678 2.2552 - 2.3115 0.0796 3.4437 U1D3 1.5369 1.5603 - 1.5486 0.0166 1.0719 U2D1 4.1719 3.7808 - 3.9764 0.2765 6.9753 U2D2 2.5301 2.4458 - 2.4879 0.0596 2.3956 U2D3 1.6926 1.5372 - 1.6149 0.1099 6.8053

Page 18: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

18

ตารางที่ 5 (ตอ) ปริมาณน้ําตาล glucose ในเหลาอุจาก10 แหลง Code Glc1(mg/ml) Glc2(mg/ml) Glc3(mg/ml) Mean(mg/ml) SD %CV Y1D1 4.1790 4.4166 3.8249 4.1402 0.2977 7.1913 Y1D2 3.4903 3.3788 3.2527 3.3739 0.1189 3.5238 Y1D3 3.3060 3.1993 3.2284 3.2446 0.0552 1.6998 Y2D1 3.9510 3.4321 3.4661 3.6164 0.2903 8.0271 Y2D2 3.6940 3.3400 3.4030 3.4790 0.1888 5.4282 Y2D3 3.1508 3.1266 3.1848 3.1541 0.0292 0.9268 Z1D1 4.4991 4.5475 4.6251 4.5571 0.0936 1.0213 Z1D2 4.2333 3.8831 4.0626 4.0593 0.1744 4.3015 Z1D3 3.0050 2.9965 3.0005 3.0006 0.0082 1.0696 Z2D1 4.7142 4.6590 4.6384 4.6705 0.0392 0.8392 Z2D2 4.4401 4.5410 4.4408 4.4739 0.0581 1.2976 Z2D3 3.6944 3.7037 3.7037 3.7006 0.0054 0.1451

Page 19: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

19

Standard curve of Maltose

y = 0.1416x + 0.1825R2 = 0.9955

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

1 6 11 16 21

Mal conc. (mg/ml)

Peak

hig

ht (c

m)

รูปท่ี 4 กราฟมาตรฐานความเขมขนน้ําตาล maltose

ตารางที่ 6 ปริมาณน้ําตาล maltose ในเหลาอุจาก10 แหลง Code Mal1(mg/ml) Mal2(mg/ml) Mal3(mg/ml) Mean(mg/ml) SD %CV A1D1 2.4382 2.4559 2.4417 2.4453 0.0093 0.3821 A1D2 0.9446 0.9304 0.9869 0.9540 0.0294 3.0820 A1D3 0.2419 0.2242 0.2489 0.2383 0.0127 5.3416 A2D1 2.6006 2.6254 2.5794 2.6018 0.0230 0.8830 A2D2 0.9657 0.9657 1.0152 0.9822 0.0285 2.9058 A2D3 0.2313 0.2313 0.2313 0.2313 0.0000 0.0000 B1D1 0.6374 0.6480 0.6091 0.6315 0.0201 3.1796 B1D2 0.2066 0.1924 0.1960 0.1983 0.0074 3.7062 B1D3 n.d. n.d. n.d. n.d. - - B2D1 0.1677 0.1677 0.1607 0.1654 0.0041 2.4656 B2D2 0.0124 0.0124 0.0124 0.0124 0.0000 0.0000 B2D3 n.d. n.d. n.d. n.d. - -

Page 20: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

20

ตารางที่ 6 (ตอ) ปริมาณน้ําตาล maltose ในเหลาอุจาก 10 แหลง Code Mal1(mg/ml) Mal2(mg/ml) Mal3(mg/ml) Mean(mg/ml) SD %CV L1D1 0.4720 0.4030 n.d. 0.4375 0.0487 11.1314 L1D2 0.3913 0.5673 n.d. 0.4793 0.1244 25.9545 L2D1 0.3676 0.7242 n.d. 0.5449 0.2521 46.2654 L2D2 0.3213 0.3295 n.d. 0.3254 0.0058 1.7824 M1D1 0.0583 0.0583 0.0547 0.0571 0.0020 3.5712 M1D2 n.d. n.d. n.d. n.d. - - M1D3 n.d. n.d. n.d. n.d. - - M2D1 0.1077 0.1042 0.1042 0.1053 0.0020 1.9353 M2D2 0.0441 0.0406 0.0441 0.0430 0.0020 4.7453 M2D3 n.d. n.d. n.d. n.d. - - N1D1 n.d. n.d. n.d. n.d. - - N1D2 n.d. n.d. n.d. n.d. - - N1D3 n.d. n.d. n.d. n.d. - - N2D1 0.0689 0.0724 0.0724 0.0712 0.0020 2.8629 N2D2 n.d. n.d. n.d. n.d. - - N2D3 n.d. n.d. n.d. n.d. - - P1D1 2.5547 2.5371 2.5441 2.5453 0.0089 0.3491 P1D2 0.3831 0.3937 0.3761 0.3843 0.0089 2.3124 P1D3 0.1112 0.1183 0.1148 0.1148 0.0035 3.0769 P2D1 0.9128 0.9410 0.8951 0.9163 0.0232 2.5270 P2D2 0.4255 0.4255 0.4220 0.4243 0.0020 0.4805 P2D3 0.1713 0.1607 0.1748 0.1689 0.0074 4.3519

Page 21: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

21

ตารางที่ 6 (ตอ) ปริมาณน้ําตาล maltose ในเหลาอุจาก10 แหลง Code Mal1(mg/ml) Mal2(mg/ml) Mal3(mg/ml) Mean(mg/ml) SD %CV R1D1 1.8679 1.8042 n.d. 1.8360 0.0450 24.5098 R1D2 0.7483 0.9221 n.d. 0.8352 0.1229 14.7150 R1D3 0.6192 0.7591 n.d. 0.6891 0.0989 14.3520 R2D1 1.4575 2.09671 n.d. 1.7771 0.4520 25.4347 R2D2 1.0081 0.9266 n.d. 0.9673 0.0576 5.9547 R2D3 0.4062 0.5309 n.d. 0.4685 0.0882 18.8260 U1D1 2.0829 2.2053 n.d. 2.1441 0.0865 4.0343 U1D2 1.3017 0.9481 n.d. 1.1249 0.2500 22.2242 U1D3 0.8744 0.2197 n.d. 0.5471 0.4629 84.6098 U2D1 1.6997 1.2012 n.d. 1.4505 0.3525 24.3020 U2D2 1.4514 0.4117 n.d. 0.9316 0.7352 78.9180 U2D3 1.0430 0.6941 n.d. 0.8686 0.2467 28.4020 Y1D1 0.8563 0.8598 0.8598 0.8586 0.0020 0.2374 Y1D2 0.3266 0.3372 0.3443 0.3360 0.0089 2.6444 Y1D3 0.0441 0.0441 0.0406 0.0430 0.0020 4.7453 Y2D1 0.9657 0.8951 0.9587 0.9399 0.0389 4.1384 Y2D2 0.3549 0.3796 0.3725 0.3690 0.0127 3.4503 Y2D3 n.d. n.d. n.d. n.d. - - Z1D1 0.0583 0.0584 0.0513 0.0560 0.0041 7.2690 Z1D2 n.d. n.d. n.d. n.d. - - Z1D3 n.d. n.d. n.d. n.d. - - Z2D1 n.d. n.d. n.d. n.d. - - Z2D2 n.d. n.d. n.d. n.d. - - Z2D3 n.d. n.d. n.d. n.d. - -

n.d. = not detected

Page 22: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

22

9. การวิเคราะหปริมาณ ethanol ในเหลาอุโดยวิธีเติมสารมาตรฐาน (Standard addition) 1. นําเหลาอุน้ําที่ 1 ประมาณ 50 ml มาเติม NaCl ใหมากเกินพอแลวตั้งไวใหเกลือตกตะกอน นําเฉพาะ

สวนใสไปใชในการเตรียมตัวอยางที่มีสารมาตรฐาน ethanol เติมอยู 2. นํา absolute ethanol 2 ml เติมลงใน volumetric flask ขนาด 10 ml แลวเติมเหลาอุน้ําที่ 1 ที่ไดจากขอ 1

จนไดปริมาตรครบ ซ่ึงจะไดตัวอยางที่มี ethanol มาตรฐานละลายอยูที่ความเขมขน 20% (v/v) 3. นําตัวอยางที่เติม ethanol แบงใสขวดบรรจุตัวอยาง (20 ml headspace vial, 21 mm diameter x 73 mm

height) ขวดละ 1 ml จํานวน 3 ขวดปดฝาดวย PTFE-coated rubber septum พรอม aluminum cap 4. ทํา serial dilution เพื่อใหไดตัวอยางที่มีความเขมขน 10, 5 และ 2.5 (v/v) ตามลําดับ จากนั้นแบงบรรจุ

ลงใน headspace vial ขวดละ 1 ml จํานวน 3 ขวดในทุก ๆ ความเขมขน แลวปดฝา 5. นําเหลาอุน้ําที่ 1 ที่ผานการเติมเกลือแลวจํานวน 1 ml บรรจุลงใน headspace vial จํานวน 3 ขวดแลวปด

ฝา ซ่ึงจะไดตัวอยางที่ไมมีการเติม ethanol มาตรฐาน (0%; v/v) 6. เติม 1,4-dioxane (internal standard) จํานวน 50 µl ลงในตัวอยางที่เตรียมไดทุกขวด ใหไดความเขมขน

สุดทายเทากับ 5% (v/v) โดยใช microsyringe ขนาด 100 µl แทงผาน septum ลงไปเพื่อเติมในตัวอยาง 7. นําขวดที่บรรจุตัวอยางใสลงในเครื่อง headspace sampler แลววิเคราะหปริมาณ ethanol ดวยเครื่อง Gas

Chromatography (GC) โดยใช Flame Ionization Detector (FID) เปนเครื่องตรวจวัด 8. สภาวะของเครื่อง GC เปนดังนี้

Mobile phase: Ultra high purity helium gas at 1.5 ml/min Column: HP5 capillary column (Crosslinked 5% Phenyl Methylene Siloxane, 30 m x 0.32 mm

x 0.25 µm film thickness, Agilent, US) Equilibrated sample time: 20 min Equilibrated sample temperature: 50 °C Transfer line temperature: 145 °C Injection time/ split ratio: 1 min/ 10:1 Temperature programming: The initial oven temperature was 35 °C holding for 2 min. The

oven temperature was programmed from 35 to 200 °C at a rate of 20 °C/min. Then temperature was 200 holding for 1.5 min.

9. นําเหลาอุน้ําที่ 2 และน้ําที่ 3 ที่ผานการเติมเกลือแลวมาทําการทดลองเชนเดียวกับในขอที่ 5, 6 และ 7 ตามลําดับ

10. สรางกราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ที่เติมลงไป (additional ethanol) กับ peak area ratio (ethanol:1,4-dioxane) แลวลากเสนไปตัดกบัแกน x ใน quadrant ที่ 4 (extrapolation) คํานวณคาตดัแกน x จากสมการที่ได คาสัมบูรณของคาที่ไดจากสมการคือความเขมขนจริงของ ethanol ในตวัอยางนัน้ๆ

Page 23: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

23

ผลการทดลอง ตารางที่ 7 ปริมาณเฉลี่ย ethanol ในเหลาอจุาก 10 แหลง

Code EtOH Area 1

ISD Area 1

Ratio A1

%EtOH 1

EtOH Area 2

ISD Area 2

Ratio A2

%EtOH 2

EtOH Area 3

ISD Area 3

Ratio A3

%EtOH 3

Aver %EtOH SD % CV

A1D1 1370945 3758726 0.3647 1.5614 1311121 3653455 0.3589 1.5363 1282843 3605077 0.3558 1.5233 1.5403 0.0194 1.2566

A1D2 689612 4699646 0.1467 0.6282 683312 4678398 0.1461 0.6252 683516 4720031 0.1448 0.6199 0.6244 0.0042 0.6693

A1D3 244018 4395057 0.0555 0.2377 255999 4673978 0.0548 0.2345 245090 4613318 0.0531 0.2274 0.2332 0.0052 2.2483

A2D1 1533813 5078969 0.3020 1.2928 1438970 4794376 0.3001 1.2848 1451500 4765550 0.3046 1.3039 1.2938 0.0096 0.7386

A2D2 584590 4778001 0.1224 0.5238 582404 4682290 0.1244 0.5325 586201 4567630 0.1283 0.5494 0.5352 0.0130 2.4353

A2D3 177156 4212139 0.0421 0.1800 175639 4313963 0.0407 0.1743 187396 4543539 0.0412 0.1766 0.1770 0.0029 1.6380

B1D1 7804937 3073193 2.5397 11.6499 7780794 3029488 2.5684 11.7814 7857770 3054837 2.5722 11.7993 11.7435 0.0816 0.6945

B1D2 4666802 4063167 1.1486 5.2686 4698255 4089442 1.1489 5.2701 4590670 4053555 1.1325 5.1950 5.2446 0.0429 0.8189

B1D3 1751946 4592006 0.3815 1.7501 1778481 4582225 0.3881 1.7804 1738883 4485566 0.3877 1.7783 1.7696 0.0169 0.9557

B2D1 7706952 3104873 2.4822 11.3863 7768239 3110018 2.4978 11.4579 7800997 3061990 2.5477 11.6866 11.5103 0.1569 1.3630

B2D2 4598276 3827299 1.2014 5.5112 4740457 3844882 1.2329 5.6556 4790407 3846825 1.2453 5.7123 5.6264 0.1037 1.8432

B2D3 2944826 3863563 0.7622 3.4964 2929782 3815425 0.7679 3.5224 2916362 3984711 0.7319 3.3573 3.4587 0.0888 2.5664

L1D1 6211015 2089919 2.9719 12.6841 6284767 2131585 2.9484 12.5839 6215282 2106941 2.9499 12.5903 12.6194 0.0561 0.4447

L1D2 3885435 3559606 1.0915 4.6587 3975033 3706591 1.0724 4.5771 3909599 3636674 1.0750 4.5883 4.6081 0.0442 0.9596

L2D1 7171913 3126204 2.2941 9.7914 6892232 2936007 2.3475 10.0191 6893817 2936336 2.3478 10.0203 9.9436 0.1318 1.3257

L2D2 4916240 3332962 1.4750 6.2955 5021021 3402091 1.4759 6.2990 5120430 3483639 1.4699 6.2734 6.2893 0.0139 0.2212

M1D1 4004916 3615391 1.1077 4.7665 3860827 3555256 1.0859 4.6728 3865387 3589507 1.0769 4.6336 4.6910 0.0683 1.4558

M1D2 2981084 3489241 0.8544 3.6763 2989231 3505075 0.8528 3.6697 3045352 3640520 0.8365 3.5995 3.6485 0.0426 1.1666

M1D3 1997072 4136373 0.4828 2.0775 2143923 4228952 0.5070 2.1814 2120347 4113775 0.5154 2.2178 2.1589 0.0728 3.3737

M2D1 4150854 4078848 1.0177 4.3789 4268291 4037871 1.0571 4.5485 4256680 4027902 1.0568 4.5473 4.4916 0.0976 2.1725

M2D2 3185083 3767803 0.8453 3.6374 3147733 3822181 0.8235 3.5436 3200308 3799728 0.8422 3.6241 3.6017 0.0507 1.4090

M2D3 1333790 3497270 0.3814 1.6411 1369885 3522949 0.3888 1.6732 1384118 3575755 0.3871 1.6656 1.6599 0.0168 1.0116

N1D1 7811231 3086446 2.5308 13.2227 7840661 3112690 2.5189 13.1606 7800012 3044172 2.5623 13.3870 13.2568 0.1170 0.8827

N1D2 3607189 2913532 1.2381 6.4686 3665697 3012596 1.2168 6.3573 3538089 2949631 1.1995 6.2670 6.3643 0.1010 1.5864

N1D3 2028908 4049567 0.5010 2.6177 1984088 3992027 0.4970 2.5967 1974666 3990916 0.4948 2.5851 2.5998 0.0165 0.6343

N2D1 5982616 2718640 2.2006 11.4973 5974188 2739632 2.1807 11.3932 6049087 2765513 2.1873 11.4281 11.4395 0.0530 0.4635

N2D2 3171720 3567387 0.8891 4.6452 3196979 3608178 0.8860 4.6292 3289402 3740013 0.8795 4.5952 4.6232 0.0255 0.5526

N2D3 1655949 4137471 0.4002 2.0911 1671282 4246579 0.3936 2.0562 1666076 4300726 0.3874 2.0240 2.0571 0.0335 1.6307

Page 24: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

24

ตารางที่ 7 (ตอ) ปริมาณเฉลี่ย ethanol ในเหลาอุจาก 10 แหลง

Code EtOH Area 1

ISD Area 1

Ratio A1

%EtOH 1

EtOH Area 2

ISD Area 2

Ratio A2

%EtOH 2

EtOH Area 3

ISD Area 3

Ratio A3

%EtOH 3

Aver %EtOH SD % CV

P1D1 6428382 3405254 1.8878 7.5876 6377984 3530306 1.8066 7.2614 6475807 3695129 1.7525 7.0439 7.2976 0.2736 3.7495

P1D2 2969406 4201274 0.7068 2.8408 3052553 4228956 0.7218 2.9012 3034291 4207383 0.7212 2.8986 2.8802 0.0342 1.1864

P1D3 1494509 4412004 0.3387 1.3615 1474595 4352243 0.3388 1.3618 1445737 4334360 0.3336 1.3406 1.3546 0.0121 0.8947

P2D1 4481967 3501081 1.2802 5.1454 4641290 3467608 1.3385 5.3797 4649177 3575883 1.3001 5.2257 5.2502 0.1191 2.2682

P2D2 2944394 3984731 0.7389 2.9699 2963036 4034689 0.7344 2.9517 3027486 4083049 0.7415 2.9802 2.9673 0.0144 0.4861

P2D3 1554795 4092655 0.3799 1.5269 1537611 4018217 0.3827 1.5380 1541361 4033238 0.3822 1.5360 1.5337 0.0059 0.3858

R1D1 6308447 3577127 1.7636 8.4664 6230658 3546220 1.7570 8.4349 6310350 3597294 1.7542 8.4215 8.4409 0.0231 0.2732

R1D2 2953197 3213912 0.9189 4.4113 2937192 3183408 0.9227 4.4295 2962451 3208532 0.9233 4.4326 4.4245 0.0115 0.2593

R1D3 1573514 3732346 0.4216 2.0239 1561673 3672156 0.4253 2.0416 1580273 3762090 0.4201 2.0166 2.0274 0.0129 0.6355

R2D1 5301042 3517523 1.5070 7.2349 5430379 3489898 1.5560 7.4701 5307811 3414377 1.5545 7.4630 7.3894 0.1338 1.8105

R2D2 1999240 3808121 0.5250 2.5204 1950524 3683597 0.5295 2.5421 1953394 3660094 0.5337 2.5622 2.5415 0.0209 0.8225

R2D3 772389 3859170 0.2001 0.9608 777608 3873507 0.2008 0.9638 784810 3910393 0.2007 0.9635 0.9627 0.0016 0.1677

U1D1 6033200 3748512 1.6095 7.3594 6073374 3859819 1.5735 7.1947 5955835 3787098 1.5727 7.1910 7.2484 0.0962 1.3266

U1D2 2616655 4346961 0.6020 2.7524 2613991 4351377 0.6007 2.7468 2726716 4491875 0.6070 2.7756 2.7583 0.0153 0.5543

U1D3 1081975 4619846 0.2342 1.0709 1070255 4676990 0.2288 1.0463 1070860 4708808 0.2274 1.0399 1.0524 0.0164 1.5551

U2D1 8000317 3070346 2.6057 11.9144 7895474 3042650 2.5949 11.8653 8337800 3278642 2.5431 11.6281 11.8026 0.1531 1.2971

U2D2 5346736 3668570 1.4574 6.6641 5317389 3653753 1.4553 6.6544 5569166 3794381 1.4677 6.7112 6.6766 0.0304 0.4549

U2D3 2613399 4265740 0.6126 2.8013 2604693 4249894 0.6129 2.8024 2651708 4312125 0.6149 2.8118 2.8052 0.0058 0.2057

Y1D1 8364164 3286512 2.5450 11.8427 8180408 3239293 2.5254 11.7514 8158342 3267411 2.4969 11.6188 11.7376 0.1126 0.9591

Y1D2 5131961 3587180 1.4306 6.6572 5186923 3641456 1.4244 6.6282 5447566 3731868 1.4597 6.7927 6.6927 0.0878 1.3113

Y1D3 2079913 3336381 0.6234 2.9009 2140775 3429527 0.6242 2.9047 2234517 3678364 0.6075 2.8268 2.8775 0.0439 1.5266

Y2D1 5809219 3640754 1.5956 7.4249 5743511 3604144 1.5936 7.4155 5655184 3478727 1.6256 7.5647 7.4683 0.0836 1.1188

Y2D2 2159326 3302138 0.6539 3.0429 2099158 3156340 0.6651 3.0947 2101819 3161738 0.6648 3.0934 3.0770 0.0296 0.9604

Y2D3 1006709 4412363 0.2282 1.0617 1009536 4318663 0.2338 1.0878 1041269 4495659 0.2316 1.0778 1.0757 0.0132 1.2233

Z1D1 20966067 21107963 0.9933 4.0741 21010337 21299521 0.9864 4.0460 20914691 21084466 0.9919 4.0687 4.0630 0.0149 0.3670

Z1D2 13066993 22967841 0.5689 2.3336 12454803 22714990 0.5483 2.2490 12083158 22757976 0.5309 2.1778 2.2535 0.0780 3.4611

Z1D3 4110505 20498715 0.2005 0.8225 4443477 20439428 0.2174 0.8917 4237949 21030171 0.2015 0.8266 0.8469 0.0388 4.5853

Z2D1 27868880 18510704 1.5056 6.1754 28611984 19016553 1.5046 6.1714 28081037 18472990 1.5201 6.2351 6.1939 0.0357 0.5761

Z2D2 13691832 18654086 0.7340 3.0106 15236122 20677493 0.7368 3.0223 15372055 21356863 0.7198 2.9523 2.9951 0.0375 1.2524

Z2D3 5478330 17953640 0.3051 1.2516 5384700 18358638 0.2933 1.2031 5625272 19354179 0.2906 1.1922 1.2156 0.0316 2.6026

ISD = internal standard

Page 25: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

25

Ratchaburi (A)

y = 0.2336 x + 0.3598R2 = 0.9996

0123456

0 5 10 15 20 25

%Ethanol (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 5 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงราชบุรี

Nakhon Pranom, Black rice (B)

y = 0.218 x + 2.5601R2 = 0.9966

0

2

4

6

8

0 5 10 15 20 25

%EtOH (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 6 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงนครพนมโดยใชขาวเหนียวดําเปนวัตถุดิบ

Lopburi (L)

y = 0.2343 x + 2.9567R2 = 0.9945

0123456789

0 5 10 15 20 25

%EtOH (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 7 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงลพบุรี

Page 26: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

26

Lamphoon (M)

y = 0.2324 x + 1.0902R2 = 0.9998

01234567

0 5 10 15 20 25

%EtOH (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 8 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงลําพูน

Nakhon Pranom 2 (N)

y = 0.2124 x + 2.5373R2 = 0.9993

0

2

4

6

8

0 5 10 15 20 25

%EtOH (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 9 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงนครพนม

Phimai (P)

y = 0.2488 x + 1.8156R2 = 0.9955

0

2

4

6

8

0 5 10 15 20 25

%EtOH (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 10 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงพิมาย

Page 27: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

27

Ranu Nakhon (R)

y = 0.2083 x + 1.7582R2 = 0.9996

01234567

0 5 10 15 20 25

%EtOH (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 11 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงเรณูนคร

Ubon Ratchathani (U)

y = 0.2187 x + 1.5852R2 = 0.9999

0

2

4

6

8

0 5 10 15 20 25

%EtOH (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 12 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงอุบลราชธานี

Yasothon (Y)

y = 0.2149 x + 2.5224R2 = 0.9998

0

2

4

6

8

0 5 10 15 20 25

%EtOH (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 13 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงยโสธร

Page 28: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

28

Nhan (Z)

y = 0.2438x + 1.2087R2 = 0.9905

0

2

4

6

8

0 5 10 15 20 25

% EtOH (v/v)

Peak

are

a ra

tio

รูปท่ี 14 กราฟมาตรฐานแสดงปริมาณ ethanol ในเหลาอจุากแหลงนาน

Page 29: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

29

10. การวิเคราะหสารระเหยในเหลาอุจากแหลงตาง ๆ โดยวิธี Dynamic Headspace Sampling (DHS) 1. นําเหลาอุน้ําที่ 1 ประมาณ 50 ml มาเติม NaCl ใหมากเกินพอแลวตั้งไวใหเกลือตกตะกอน นําเฉพาะ

สวนใสไปใชในการทดลองตอไป 2. นําเหลาอุที่ผานการเติมเกลือแลว 1 ml ใสลงใน dynamic headspace tube (15.2 x 1.6 cm i.d.) แลวนําไป

ประกอบกับเครื่อง Tekmar Dohrmann 3100 Purge and Trap Concentrator ซ่ึงมีสภาวะตาง ๆ ดังนี้ Purged gas: Ultra high purity helium gas Flow rate: 40 ml/min Absobent: Tenax TA Purge time: 30 min Dry purge: 2 min Sample temperature: 40 °C Desorption temperature: 220 °C Desorption time: 2 min Transfer line temperature: 220 °C 3. สารระเหยจากเหลาอุจะถูกสงผานไปยังเครื่อง Gas Chromatography - Mass Spectrometry (GC-MS)

โดยเครื่อง GC-MS มีสภาวะดังนี้ Mobile phase: Ultra high purity helium gas Flow rate: 1.5 ml/min

Column: HP-FFAP (Nitroterephthalic acid modified polyethylene glycol, 25 m x 0.32 mm i.d. x 0.50 µm film thickness)

Split ratio: 10:1 Temperature programming: The initial oven temperature was 50 °C holding for 1 min. The

oven temperature was programmed from 50 to 150 °C at a rate of 10 °C/min and then from 150 to 220 °C at rate of 20 °C/min.

Ionization energy: 70 eV Mass range: 20-350 a.m.u. Database library: Wiley275.L mass spectral database (Hewlett-Packard Co., Ltd.)

4. การทดลองนี้ใช Alkane C8 – C20 เปนสารมาตรฐานเพื่อใชในการคําณวนคา Retention Index (RI)

Page 30: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

30

5. นําคา Retention time ที่ไดมาคํานวณหาคา Retention Index (RI) ตามสมการที่ 1 RI = 100N + 100n (tRa – tRn) / (tR(N+n) – tRN) สมการที่ 1

เมื่อ N = Carbon number of the lower alkane n = The difference in carbon number of the two n-alkane that bracket the compound tRa = The retention time of analyte tRN = The retention time of lower alkane tR(N+n) = The retention time of upper alkane

6. การชี้บงชนิดของสาร (identification) ทําโดยการเปรียบเทียบ mass spectrum ที่ไดจาก mass spectrometry และคา RI ที่คําณวนได

7. นําเหลาอุน้ํา 2 และ 3 มาเติม NaCl ใหมากเกินพอแลวตั้งไวใหเกลือตกตะกอน นําเฉพาะสวนใสไปทําการทดลองตามขอ 2 ตอไป

ผลการทดลอง ตารางที่ 8 คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงราชบุรี

Retention Index (RI) Compounds A1D1 A1D2 A1D3

Acetone <906 <906 <906 Ethyl acetate 906 906 906 3-Methyl butanal 935 933 935 Ethanol 962 948 950 Diacetyl 996 996 996 Butyl acetate 1027 1027 1027 n-Propanol 1050-1054 1052 1049 Isobutyl alcohol 1103-1105 1101 1100 Isoamyl acetate 1134 1134 trace n-Butanol 1154 1151 1151 Isoamyl alcohol 1216 1215 1214

Page 31: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

31

ตารางที่ 8 (ตอ) คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงราชบุรี Retention Index (RI) Compounds

A1D1 A1D2 A1D3 2-Buten-1-ol 1225 1225 trace n-Pentanol 1254 1254 1253 Ethyl pyruvate 1283 trace nd Acetoin 1304 1303 1303 Ethyl lactate 1352 1352 1352 Acetic acid 1464 1467 1469 Furfural 1493 1493 1493 2,3-Butanediol >1493 >1493 >1493 Benzene ethanol >1493 >1493 trace

ตารางที่ 9 คา RI สารระเหยในเหลาอุจากแหลงนครพนมโดยใชขาวเหนียวดําเปนวัตถุดิบ

Retention Index (RI) Compounds B1D1 B1D2 B1D3

Acetone <900 <902 <902 Ethyl acetate 900 902 902 Ethanol 946 946 946 Propyl acetate 994 992 990 Diacetyl o/l 1000 1000 Butyl acetate 1028 1027 1027 n-Propanol 1049-1057 1049-1056 1049-1054 Isobutyl alcohol 1100-1108 1100-1108 1100-1104

Page 32: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

32

ตารางที่ 9 (ตอ) คา RI สารระเหยในเหลาอุจากแหลงนครพนมโดยใชขาวเหนียวดําเปนวัตถุดิบ Retention Index (RI) Compounds

B1D1 B1D2 B1D3 n-Butanol 1151-1157 1151-1157 1151-1154 Isoamyl alcohol 1212-1221 1214 1214 Ethyl hexanoate 1246 1244 nd n-Pentanol 1259 1258 1256 Acetoin 1306 1306 1303 Ethyl lactate 1356 1353 1352 3-Ethoxy-1-propanol 1386 trace nd Acetic acid 1457 1461 1456 Furfural 1494 1494 1493 2,3-Butanediol >1494 >1494 >1493 Isobutanoic acid >1494 >1494 >1493 Butanoic acid >1494 nd nd γ-Butyrolactone >1494 nd nd 2-Methyl butanoic acid >1494 >1494 nd Benzene ethanol >1494 >1494 trace

Page 33: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

33

ตารางที่ 10 คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงลพบุรี Retention Index (RI) Compounds

L1D1 L1D2 Acetone <904 <904 Ethyl acetate 904 904 Ethanol 946 946 2-Methyl propanoic acid ethyl ester o/l 983 Acetic acid propyl ester o/l 994 Isobutyl acetate 1028 1027 2-Butanol 1044 1043 n-Propanol 1050-1059 1050-1059 Ethyl-2-methyl butanoate 1065 1065 4-methyl-2-pentanone 1075 nd Isobutyl alcohol 1101-1112 1103 Isoamyl acetate 1136-1141 1136 n-Butanol 1153-1158 1153-1157 Isoamyl alcohol 1215 1216 Ethyl hexanoate 1247 1243 3-Methyl-3-buten-1-ol 1261 1259 Ethyl pyruvate 1283 1283 Acetoin 1306 1306 4-Methyl-1-pentanol 1320 nd 3-Methyl-2-buten-1-ol 1330 nd

Page 34: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

34

ตารางที่ 10 (ตอ) คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงลพบุรี

Retention Index (RI) Compounds L1D1 L1D2

Ethyl lactate 1353 1353 n-Hexanol 1358 1357 3-Ethoxy-1-propanol 1386 1386 4-Methyl-3-penten-1-ol 1397 1396 Ethyl octanoate 1447 1447 1-Octen-3-ol 1457 1457 Acetic acid 1464 1465 Furfural 1493 1494 n-Decanal >1493 nd 2,3-Butandiol >1493 >1494 2-Hydroxy-4-methyl pentanoic acid ethyl ester >1493 >1494 Unknown >1493 >1494 Isobutanoic acid >1493 >1494 n-Butanoic acid >1493 >1494 γ-Butyrolactone >1493 nd Furfuryl alcohol >1493 nd 2-Methyl butanoic acid >1493 >1494 Butanedioic acid diethyl ester >1493 >1494 3-Methyl thiol propanol >1493 nd Benzene acetic acid ethyl ester >1493 nd Benzene ethanol >1493 >1494

Page 35: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

35

ตารางที่ 11 คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงลําพูน Retention Index (RI) Compounds

M1D1 M1D2 M1D3 Acetone <904 <902 <904 Ethyl acetate 904 902 904 Ethanol 962 964 960 Isobutyl acetate 1028 1027 1027 n-Propanol 1049-1057 1049-1056 1049-1053 2-Methyl-1,3-dioxane 1084 1084 1082 Isobutyl alcohol 1100-1108 1100-1107 1100 Isoamyl acetate 1136 1136 1134 n-Butanol 1153-1157 1151-1155 1151 Isoamyl alcohol 1214 1214 1214 2-Beten-1-ol o/l o/l 1225 Ethyl hexanoate o/l 1242 1241 n-Pentanol 1257 1256 1254 Ethyl pyruvate 1283 trace nd Acetoin 1306 1304 1303 Ethyl lactate 1354-1367 1353 1352 2-Pentanol 1394 nd nd Isobutyric acid 1435 nd nd Acetic acid 1460 1463 1466 Furfural 1494 trace trace n-Decanal >1494 nd nd

Page 36: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

36

ตารางที่ 11 (ตอ) คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงลําพูน Retention Index (RI) Compounds

M1D1 M1D2 M1D3 2,3-Butanediol >1494 >1463 >1466 2-Methyl propanoic acid >1494 nd nd Pentanoic acid >1494 nd nd Butanoic acid >1494 nd nd 3-Methyl butanoic acid >1494 >1463 nd Benzene ethanol >1494 trace nd 2-methoxy-4-methyl phenol >1494 nd nd

ตารางที่ 12 คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงนครพนม

Retention Index (RI) Compounds N1D1 N1D2 N1D3

Acetone <904 <904 <906 Ethyl acetate 904 904 906 Ethanol 946 948 960 Isobutyl acetate 1028 1027 1000 n-Propanol 1057 1057 1054 Isobutyl alcohol 1101-1111 1101-1111 1101-1105 Isoamyl acetate 1136-1141 1136-1141 1134 n-Butanol 1153-1158 1153-1158 1153 Isoamyl alcohol 1227 1226 1215 Ethyl hexanoate 1243 1242 1242

Page 37: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

37

ตารางที่ 12 (ตอ) คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงนครพนม Retention Index (RI) Compounds

N1D1 N1D2 N1D3 Ethyl hexanoate 1246 trace trace n-Pentanol 1258 1257 1256 Acetoin 1306 1306 trace Ethyl lactate 1353 1353 1352 n-Hexanol 1358 1358 1358 3-Ethoxy-1-propanol 1386 trace nd Ethyl octanoate 1448 nd nd Acetic acid 1463 1466 1470 2,3-Butanediol >1463 >1466 >1470 2-Hydroxy-4-methyl pentanoic acid ethyl ester

>1463 >1466 nd

Isobutanoic acid >1463 >1466 nd 3-Methyl pentanoic acid >1463 >1466 nd Benzene ethanol >1463 >1466 >1470

ตารางที่ 13 คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงเรณูนคร

Retention Index (RI) Compounds R1D1 R1D2 R1D3

Acetone <908 <908 <906 Ethyl acetate 908 908 906 3-Methyl butanal o/l o/l 935 Ethanol 960 960 964 Diacetyl 1002 1000 1000 Isobutyl acetate 1028 1028 1027 n-Propanol 1050 1050 1050

Page 38: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

38

ตารางที่ 13 (ตอ) คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงเรณูนคร Retention Index (RI) Compounds

R1D1 R1D2 R1D3 n-Propanol 1059 1059 1056 Isobutyl alcohol 1103 1103 1103 Isoamyl acetate 1136-1142 1136-1141 1136 n-Butanol 1153-1158 1153-1158 1153-1155 Isoamyl alcohol 1215-1231 1215-1231 1216 Ethyl hexanoate 1246 1246 trace n-Pentanol 1258 1258 1256 Ethyl pyruvate 1283 trace nd Ethyl lactate 1353 1353 1352 n-Hexanol 1357 1357 1357 3-Ethoxy-1-propanol 1386 1386 nd Ethyl octanoate 1448 trace nd 1-Octen-3-ol 1457 trace nd Acetic acid 1465 1469 1470 Furfural 1494 1493 1493 2,3-Butanediol >1494 >1493 >1493 2-Methyl propanoic acid >1494 >1493 trace Butanoic acid >1494 >1493 trace 2-Methyl butanoic acid >1494 >1493 nd Benzene ethanol >1494 >1493 >1493

Page 39: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

39

ตารางที่ 14 คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงพิมาย Retention Index (RI) Compounds

P1D1 P1D2 P1D3 Ethyl acetate 930 929 926 Ethanol 991 991 974 n-Propanol 1071 1064 1058 Isobutyl alcohol 1097-1119 1095-1114 1095 Isoamyl acetate 1142 1124 1123 n-Butanol 1157 1141 1140 Isoamyl alcohol 1205 1206 1205 2-Buten-1-ol o/l 1222 nd n-Pentanol o/l 1242 1241 3-methyl-3-buten-1-ol 1253 trace nd Ethyl pyruvate 1268 1267 trace Acetoin 1284-1290 1283-1287 1282 Ethyl lactate 1342-1349 1341-1345 1341 n-Hexanol 1358 1350-1373 1348 3-Ethoxy-1-propanol 1386 1378 nd Diethyl acetal 1396 nd nd Acetic acid 1461 1465 1465 Furfural 1489 1488 1487 Benzaldehyde 1555 1553 1553

Page 40: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

40

ตารางที่ 14 (ตอ) คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงพิมาย Retention Index (RI) Compounds

P1D1 P1D2 P1D3 2,3-Butanediol 1562 1561 1560 Isobutyric acid 1589 nd 1590 Butanoic acid 1652 nd nd γ-Butyrolactone 1671 nd nd Furfuryl alcohol 1690 nd nd Butanedioic acid diethyl ester 1702 1701 1701 Benzeneethanol >1702 1945 1947

ตารางที่ 15 คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงอุบลราชธานี

Retention Index (RI) Compounds U1D1 U1D2 U1D3

Acetone <901 <902 <903 Ethyl acetate 901 902 903 3-Methyl butanal o/l 935 934 Ethanol 947 949 960 Diacetyl 1001 1000 998 Isobutyl acetate 1028 1027 1027 n-Propanol 1050-1057 1049-1056 1049-1053 2-Methyl butanoic acid ethyl ester 1065-1082 1064-1082 1064 Isobutyl alcohol 1102 1102 1102 Isoamyl acetate 1136 1136 1135

Page 41: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

41

ตารางที่ 15 (ตอ) คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงอุบลราชธานี Retention Index (RI) Compounds

U1D1 U1D2 U1D3 n-Butanol 1153-1158 1152-1157 1152 Isoamyl alcohol 1227 1215 1215 2-Propen-1-ol 1230 nd nd 3-Methyl-3-buten-1-ol 1260 1258 1257 Acetoin 1306 1304 1303 Ethyl lactate 1354 1353 1352 3-Ethoxy-1-propanol 1387 1387 nd 4-Methyl-1-hexanol 1460 1437 nd Acetic acid 1460 1466 1471 Furfural 1494 1494 1493 2,3-Butanediol >1494 >1494 >1493 Isobutyric acid >1494 >1494 nd Propylene glycol >1494 nd nd 4-hydroxy methyl-2-methyl-1,3-dioxolane o/l >1494 nd γ-Butyrolactone >1494 nd nd Furfuryl alcohol >1494 >1494 trace Pentanoic acid >1494 >1494 nd Butanedioic acid diethyl ester >1494 nd nd Phenethyl acetate >1494 nd nd Guaiacol >1494 >1494 nd Benzeneethanol >1494 >1494 >1493 Phenol >1494 nd >1493

Page 42: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

42

ตารางที่ 16 คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงยโสธร Retention Index (RI) Compounds

Y1D1 Y1D2 Y1D3 Acetone <909 <908 <906 Ethyl acetate 909 908 906 3-Methyl butanal o/l o/l 934 Ethanol 959 964 959 Isobutyl acetate 1028 1027 1027 n-Propanol 1049-1056 1049-1056 1049-1053 Isobutyl alcohol 1100-1112 1101-1108 1101 Isoamyl acetate 1141 trace nd n-Butanol 1152-1157 1140-1155 1154 Isoamyl alcohol 1214 1215 1215 3-Methyl-3-buten-1-ol 1258 1256 1256 Acetoin 1304 trace nd Ethyl lactate 1352 1351 1351 3-Ethoxy-1-propanol 1385 nd nd Ethyl octanoate 1447 trace nd Acetic acid 1464 1465 1465 Furfural 1492 1492 1492 2,3-Butanediol >1492 >1492 >1492 Isobutyric acid >1492 >1492 nd γ-Butyrolactone >1492 nd nd 2-Methyl butyric acid >1492 nd nd Benzeneethanol >1492 >1492 >1492

Page 43: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

43

ตารางที่ 17 คา Retention Index (RI) สารระเหยในเหลาอุจากแหลงนาน Retention Index (RI) Compounds

Z1D1 Z1D2 Z1D3 Acetone <905 <905 <905 Ethyl acetate 905 905 905 Ethanol 952 948 950 Diacetyl 997 997 996 Butyl acetate 1027 1027 1027 n-Propanol 1050-1054 1052-1054 1049-1054 Isobutyl alcohol 1103-1105 1101-1105 1101 Isoamyl acetate 1134 1134 trace n-Butanol 1154 1154 1153 Isoamyl alcohol 1211 1211 1210 2-Buten-1-ol 1225 1225 trace Ethyl pyruvate 1283 1282 trace Acetoin 1308 1308 1307 Ethyl lactate 1349 1350 1349 Acetic acid 1464 1462 1462 Furfural 1493 1493 1493 2,3-Butanediol >1493 >1493 >1493 Benzene ethanol >1493 >1493 trace หมายเหตุ: o/l คือ peak ของสารนั้นถูกซอนทับโดย peak อ่ืน

trace คือ ตรวจพบในปริมาณเล็กนอย nd คือ ตรวจไมพบ

Page 44: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

44

11. การวิเคราะหสารระเหยในเหลาอุจากแหลงตาง ๆ โดยวิธี Dynamic Headspace Sampling (DHS) ด วยเคร่ือง Gas Chromatography-Olfractometry (GC-O) เพื่อศึกษาสารระเหยใหกล่ินในอ ุ1. นําเหลาอุน้ําที่ 1 ประมาณ 50 ml มาเติม NaCl ใหมากเกินพอแลวตั้งไวใหเกลือตกตะกอน นําเฉพาะ

สวนใสไปใชในการทดลองตอไป 2. เหลาอุที่ผานการเติมเกลือแลว 1 ml ใสลงใน dynamic headspace tube (15.2 x 1.6 cm i.d.) แลวนําไป

ประกอบกับเครื่อง Tekmar Dohrmann 3100 Purge and Trap Concentrator ซ่ึงมีสภาวะตาง ๆ ดังนี้ 2.1 Purged gas: Ultra high purity helium gas 2.2 Flow rate: 40 ml/min 2.3 Absobent: Tenax TA 2.4 Purge time: 30, 6, 1.2, 0.24 min 2.5 Dry purge: 2 min 2.6 Sample temperature: 40 °C 2.7 Desorption temperature: 220 °C 2.8 Desorption time: 2 min 2.9 Transfer line temperature: 220 °C

3. สารระเหยจากเหลาอุจะถูกสงผานไปยังเครื่อง Gas Chromatography (GC) โดยเครื่อง GC มีสภาวะดังนี้ Mobile phase: Ultra high purity helium gas Flow rate: 1.5 ml/min Column: HP-FFAP (Nitroterephthalic acid modified polyethylene glycol, 25 m x 0.32 mm i.d. x 0.50 µm film thickness) Split ratio: 10:1 Temperature programming: The initial oven temperature was 50 °C holding for 1 min. The oven temperature was programmed from 50 to 150 °C at a rate of 10 °C/min and then from 150 to 220 °C at rate of 20 °C/min. Detector: FID and Sniff Port (สําหรับดมกลิ่น) Total flow rate of FID: 35.5 ml/min Total flow rate of Sniff port: 28.51ml/min

Page 45: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

45

ผลการทดลอง ตารางที่ 18 สารระเหยใหกล่ินที่สามารถดมไดในเหลาอ ุCompounds Isoamyl acetate

(RI = 1136) Ethyl pyruvate

(RI = 1283) Ethyl lactate (RI = 1353)

Furfural (RI = 1493)

Descriptive Sample code

Friuty, banana, sweet Sweet, caramel Fruity, buttery, butterscotch

Sweet, woody, almond

Purge Time (min.)

30 6 1.2 0.24 30 6 1.2 0.24 30 6 1.2 0.24 30 6 1.2 0.24

A1D1 n.d. n.d. n.d. B1D1 n.d. L1D1 M1D1 n.d. n.d. n.d. n.d. N1D1 P1D1 R1D1 U1D1 Y1D1 Z1D1 n.d. n.d. n.d.

ผลการทดลองแสดงใหเห็นวากลิ่นหลักใน อุ คือ

1. กล่ินหอมหวานแบบผลไม-กลวยหอม เกิดจากสาร isoamyl acetate 2. กล่ินหอมหวานแบบคาราเมล เกิดจากสาร ethyl pyruvate 3. กล่ินหอมหวานแบบเนย-บัตเตอรสกอตช เกิดจากสาร ethyl lactate 4. กล่ินไม-แอลมอนด เกิดจากสาร furfural

Page 46: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

46

12. การวิเคราะหปริมาณสารระเหยในเหลาอุจากแหลงตาง ๆ โดยวิธี Direct Injection 1. นําเหลาอุน้ําที่ 1 ปริมาตร 1 ml มา centrifuge ที่ 12,000 rpm เปนเวลา 20 นาที 2. นําสวนใสของเหลาอุที่ผานการ centrifuge แลว 500 µl ใสลงในขวดเก็บสาร ขนาด 1.5 ml แลวเติม 10

µl 1,4-dioxane เพื่อเปน internal standard 3. ผสมใหเขากัน แลวฉีด 1 µl เขาเครื่อง GC-MS ซ่ึงมีสภาวะตาง ๆ ดังนี้ Mobile phase: Ultra high purity helium gas Flow rate: 2.0 ml/min Column: HP-FFAP (Nitroterephthalic acid modified polyethylene glycol, 25 m x 0.32 mm i.d. x 0.50 µm film thickness) Split ratio: 10:1 Temperature programming: The initial oven temperature was 50 °C holding for 1 min. The oven temperature was programmed from 50 to 120 °C at a rate of 20 °C/min and then from 120 to 220 °C at rate of 20 °C/min. Ionization energy: 70 eV Mass range: 20-350 a.m.u. Database library: Wiley275.L mass spectral database (Hewlett-Packard Co., Ltd.) 4. เตรียม 1,4-dioxane internal standard โดยนํา 50 µl 1,4-dioxane เติมลงใน 1 ml absolute ethanol 5. เตรียมสารละลายมาตรฐาน 14 ชนิด ตามความเขมขนดังตารางที่ 19 โดยมี 1,4-dioxane เปน internal

standard ความเขมขนดังกลาวผสมอยู 6. ฉีด 1µl standard compound เขาไปในเครื่อง GC-MS 7. ทําการฉีด 4 คร้ังในทุกการทดลอง

Page 47: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

47

ตารางที่ 19 ความเขมขนสุดทายของ standard และ internal standard Standard Final concentration

(µg/ml) Internal standard

concentration (µg/ml) n-Propanol 400.00 516.50 Isobutyl alcohol (IBA) 401.50 516.50 Isoamyl alcohol (IAA) 404.50 516.50 Furfuryl alcohol (FAA) 283.75 516.50 Benzene ethanol (BeEt) 255.75 516.50 Acetol 541.00 516.50 2,3-Butanediol (2,3-B) 501.00 516.50 Glycerol 613.00 516.50 Acetoin 265.20 103.30 Ethyl lactate 103.40 516.50 Furfural 116.00 103.30 5-Methyl Furfural (5-MF) 110.70 103.30 5-Hydroxymethyl-2-furfural (5-HMF) 1160.00 103.30 Acetic acid 525.00 516.50

วิธีการคํานวณ การคํานวณปริมาณความเขมขนของสารระเหยในเหลาอุ สามารถคํานวณไดจากสมการที่ 2

Ai / Aa = K(Mi / Ma) สมการที่ 2

เมื่อ Ai คือ คา peak area ของ 1,4-dioxane internal standard Aa คือ คา peak area ของ Analyte

K คือ คาสัมประสิทธิ์ของ Analyte นั้น ๆ เทียบกับ 1,4-dioxane ซ่ึงเปน internal standard

Mi คือ คาความเขมขนของ 1,4-dioxane Ma คือ คาความเขมขนของ Analyte

Page 48: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

48

ผลการทดลอง

ตารางที่ 20 ปริมาณสารระเหย n-Propanol, Isobutyl alcohol, Isoamyl alcohol, Furfuryl alcohol และ Benzene ethanolในเหลาอจุากแหลงตาง ๆ Compounds n-Propanol Isobutyl alcohol Isoamyl alcohol Furfuryl alcohol Benzene ethanol

code Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV

A1D1 23.5238 0.3301 1.4031 25.4198 0.3260 1.2826 35.7093 0.4612 1.2916 286.1526 6.6965 2.3402 27.5885 0.8415 3.0501 B1D1 34.9614 0.1424 0.4073 56.4124 1.4139 2.5064 126.8609 2.1793 1.7179 223.9627 5.7422 2.5639 44.0755 1.4704 3.3362 L1D1 63.1720 2.3470 3.7152 103.5584 0.9812 0.9475 226.9165 3.0279 1.3344 169.1650 2.9337 1.7342 61.9855 2.0089 3.2410 M1D1 17.0873 0.0982 0.5745 21.1246 0.3695 1.7493 50.4800 1.3732 2.7203 82.9219 1.4419 1.7388 13.7041 0.3718 2.7131 N1D1 58.1132 0.9069 1.5606 94.0633 2.8040 2.9810 147.8488 5.3357 3.6089 4.3364 0.0253 0.5836 47.5958 1.0465 2.1988 P1D1 70.6833 0.8097 1.1455 102.4605 1.3011 1.2699 174.3475 0.2476 0.1420 990.5066 6.2138 0.6273 94.8428 2.6294 2.7723 R1D1 79.7942 0.5558 0.6966 78.8508 0.6742 0.8550 141.8176 2.2494 1.5861 466.8742 3.7047 0.7935 59.0217 1.0642 1.8031 U1D1 33.0130 0.3711 1.1240 43.7114 1.0999 2.5162 133.2310 1.4201 1.0659 159.4352 6.4980 4.0756 46.7052 0.9368 2.0058 Y1D1 80.5082 0.2382 0.2958 144.4940 2.7632 1.9123 267.3484 8.3596 3.1268 137.0060 6.0178 4.3924 80.7423 0.6864 0.8501 Z1D1 100.9702 2.7985 2.7716 44.1261 1.4446 3.2738 83.4119 1.8513 2.2194 277.5195 1.3885 0.5003 33.2661 0.4050 1.2173

ตารางที่ 20 (ตอ) ปริมาณสารระเหย Acetol, 2,3-Butane diol, Glycerol, Ethyl lactate และ Methyl pyruvate ในเหลาอุจากแหลงตาง ๆ Compounds Acetol 2,3-Butane diol Glycerol Ethyl lactate Methyl pyruvate

code Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV

A1D1 41.0713 0.8645 2.1049 228.6446 2.8775 1.2585 928.3781 9.9928 1.0764 60.2095 4.1664 6.9199 14.6253 0.1118 0.7647 B1D1 25.3014 0.4904 1.9382 872.8400 19.8188 2.2706 2403.5009 126.3829 5.2583 182.0717 4.6188 2.5368 8.6101 0.5942 6.9012 L1D1 25.0584 1.0753 4.2913 821.7710 22.9975 2.7985 1993.2202 72.9306 3.6589 41.1771 1.7810 4.3252 7.5762 0.3019 3.9854 M1D1 9.7694 0.2411 2.4683 849.3773 29.1570 3.4327 879.9234 25.9007 2.9435 70.3671 3.9004 5.5429 4.1865 0.2970 7.0944 N1D1 1.3200 0.0381 2.8842 647.1517 4.6361 0.7164 1816.4236 40.8551 2.2492 30.2496 1.6525 5.4629 n.d. - - P1D1 88.8863 1.7305 1.9469 752.5654 22.5692 2.9990 2366.9928 97.1639 4.1050 111.0048 2.3882 2.1514 20.2890 0.4114 2.0279 R1D1 26.4120 1.1999 4.5430 853.9906 16.7360 1.9597 2154.5616 7.0365 0.3266 37.1066 1.8026 4.8580 10.0326 0.1586 1.5804 U1D1 19.8046 0.3044 1.5372 2035.0322 5.2256 0.2568 1752.2470 6.7997 0.3881 25.5100 2.0313 7.9628 5.8575 0.3942 6.7305 Y1D1 20.6720 1.0126 4.8985 554.1541 6.3707 1.1496 1527.5272 4.6423 0.3039 88.3783 5.3863 6.0946 4.8955 0.3447 7.0406 Z1D1 28.4629 0.4562 1.6027 743.9445 9.3342 1.2547 1469.5010 8.4069 0.5721 170.5585 4.9061 2.8765 21.7033 0.4066 1.8736

Page 49: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

49

ตารางที่ 20 (ตอ) ปริมาณสารระเหย Acetoin, Acetic acid, Furfural, 5-Methylfurfural และ 5-Hydroxymethyl-2-furfural ในเหลาอุจากแหลงตาง ๆ Compounds Acetoin Acetic acid Furfural 5-Methyl furfural 5-Hydroxymethyl-2-furfural

code Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV Conc. (µg/ml)

SD %CV

A1D1 33.7880 0.7069 2.0923 2147.9965 26.7627 1.2459 330.3991 7.6252 2.3079 178.9607 2.6477 1.4795 3781.5073 22.4174 0.5928 B1D1 7.8288 0.1742 2.2254 4200.2029 36.5359 0.8699 92.2968 3.2740 3.5472 66.7183 1.1321 1.6968 467.8389 15.2629 3.2624 L1D1 15.6131 0.8815 5.6460 2359.7804 43.9336 1.8618 62.9641 1.4843 2.3574 70.6837 3.2529 4.6020 314.7903 6.5300 2.0744 M1D1 117.0215 1.5422 1.3178 2112.1432 50.9443 2.4120 13.9016 1.6658 11.9827 28.3191 1.0969 3.8733 69.2380 2.3592 3.4073 N1D1 3.8768 0.1554 4.0092 1878.0115 91.5445 4.8745 n.d. - - n.d. - - n.d. - - P1D1 33.5200 1.4709 4.3881 5661.6560 112.0968 1.9799 567.6233 14.3019 2.5196 177.4242 8.8570 4.9920 2399.1557 49.9936 2.0838 R1D1 31.8804 0.8658 2.7157 2448.0552 67.0417 2.7386 586.0907 4.3800 0.7473 181.3251 3.6801 2.0296 2469.0617 5.6207 0.2276 U1D1 32.3846 1.4860 4.5887 2616.8725 36.9469 1.4119 84.5228 2.6269 3.1079 165.6918 5.4475 3.2877 518.2662 9.3898 1.8118 Y1D1 5.1369 0.2718 5.2909 1414.0307 41.6669 2.9467 117.9313 2.1543 1.8267 98.6381 1.4008 1.4202 706.8097 0.7113 0.1006 Z1D1 12.2031 0.3022 2.4765 3026.7119 39.5886 1.3080 391.8950 2.2793 0.5816 78.4251 5.8052 7.4022 1499.5696 8.9789 0.5988

*หมายเหต ุn.d. คือ not detected

Page 50: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

50

13. การวิเคราะหปริมาณสารระเหยในเหลาอุจากแหลงพมิายในชวงเวลาการหมัก 7 วัน โดยวิธี Direct Injection 1. นําตัวอยางเหลาอุจากแหลงพิมายที่ผลิตในวันเดียวกันมา 21 ไห โดยในแตละวันจะนําตัวอยางเหลาอุมา

3 ไหเพื่อเติมน้ําไรกล่ิน 1 ลิตร จนครบ 7 วัน 2. นําเหลาอุน้ําที่ 1 ปริมาตร 1 ml ในระหวางการหมัก 1-7 วันมา centrifuge ที่ 12,000 rpm เปนเวลา 20

นาที 3. นําสวนใสของเหลาอุที่ผานการ centrifuge แลว 500 µl ใสลงในขวดเก็บสาร ขนาด 1.5 ml แลวเติม 10

µl 1,4-dioxane internal standard 4. ผสมใหเขากัน แลวฉีด 1 µl เขาเครื่อง GC ซ่ึงมีสภาวะตาง ๆ ดังนี้

Mobile phase: Ultra high purity helium gas Flow rate: 2.0 ml/min Column: HP-FFAP (Nitroterephthalic acid modified polyethylene glycol, 25 m x 0.32 mm i.d. x

0.50 µm film thickness) Split ratio: 10:1 Temperature programming: The initial oven temperature was 50 °C holding for 1 min. The oven

temperature was programmed from 50 to 120 °C at a rate of 20 °C/min and then from 120 to 220 °C at rate of 20 °C/min.

Ionization energy: 70 eV Mass range: 20-350 a.m.u. Database library: Wiley275.L mass spectral database (Hewlett-Packard Co., Ltd.)

5. ทําการฉีด 3 คร้ังในทุกการทดลอง วิธีการคํานวณ การคํานวณปริมาณความเขมขนของสารระเหยในเหลาอุจากแหลงพิมายในระหวางการหมักในชวงเวลา 1-7 วัน สามารถคํานวณไดจากสมการที่ 2 ในการทดลองการวิเคราะหปริมาณสารระเหยในเหลาอุจากแหลงตาง ๆ โดยวิธี Direct Injection

Page 51: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

51

ผลการทดลอง ตารางที่ 21 ปริมาณความเขมขนของสารระเหยในเหลาอจุากแหลงพิมายระหวางการหมักในชวงเวลา 1- 45 วัน

หมายเหตุ n.d. คือ not detected, IBA คือ Isobutyl alcohol, IAA คือ Isoamyl alcohol, 2,3-B คือ 2,3-Butanediol, 5-MF คือ 5-Methyl furfural, FFA คือ Furfuryl alcohol,

Be Et คือ Benzene ethanol, 5-HMF คือ 5-Hydroxymethyl-2-furfural

Days 1 2 3 4 5 6 7 Compounds Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc. SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV

n-Propanol 24.4697 0.1022 0.4178 25.9131 0.3310 1.2772 28.3060 0.1475 0.5211 26.1889 0.1669 0.6371 24.8355 0.7999 3.2207 25.6328 0.3696 1.4419 36.4631 1.9232 5.2743 IBA 18.7153 1.6849 9.0030 40.9909 1.8365 4.4803 22.3666 0.5607 2.5070 34.4520 1.5911 4.6182 26.2391 0.3945 1.5035 26.5368 0.5375 2.0256 48.0350 1.6027 3.3365 IAA 45.8417 1.0337 2.2550 60.1147 4.5635 7.5913 71.9795 1.5932 2.2134 92.2375 0.2021 0.2191 75.3176 1.2216 1.6220 116.4600 1.0314 0.8857 150.9229 7.3086 4.8426 Acetoin 10.0908 0.1078 1.0686 18.2455 0.4445 2.4363 20.7638 0.2156 1.0382 20.9532 0.2270 1.0836 21.3481 0.2284 1.0698 20.8167 0.0489 0.2351 24.0727 0.1774 0.7369 Acetol 15.4101 0.6831 4.4330 8.8584 2.8930 32.6583 7.5215 0.2094 2.7846 10.2341 0.0492 0.4805 7.8292 0.0806 1.0295 9.6848 0.0731 0.7546 2.2844 0.0347 1.5205 Et lac n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - Acetic acid 30.8917 1.0233 3.3126 245.0905 3.1411 1.2816 253.5902 1.8920 0.7461 400.6650 8.0511 2.0094 443.4727 13.5955 3.0657 489.9398 3.5574 0.7261 523.2661 4.8987 0.9362 Me Py n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - Furfural n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - n.d. - - 2,3 -B 1183.5451 11.0069 0.9300 913.5383 14.2193 1.5565 653.1422 12.9125 1.9770 649.4356 26.4093 4.0665 513.6324 5.2536 1.0228 485.0918 26.5916 5.4818 506.8327 18.6643 3.6825 5-MF 9.8574 0.3700 3.7540 15.3828 0.2672 1.7369 19.8617 1.0678 5.3763 24.8917 0.4563 1.8332 25.0421 0.1494 0.5967 16.1922 0.2909 1.7968 16.7826 1.5523 9.2493 FFA 416.0897 3.3629 0.8082 281.9167 3.6628 1.2992 121.0755 11.1426 9.2030 161.4534 2.9590 1.8327 209.1537 3.5454 1.6951 278.3934 6.2695 2.2520 271.0201 2.1685 0.8001 BeEt 11.5870 0.1600 1.3806 14.5775 0.1152 0.7906 16.8311 0.2303 1.3681 19.3299 0.2208 1.1420 15.9786 0.4594 2.8751 21.7021 1.2729 5.8652 26.5403 1.8991 7.1557 Glycerol 63.4216 3.5464 5.5918 141.2351 1.0190 0.7215 162.6867 1.6312 1.0027 185.7174 1.6542 0.8907 161.9855 1.6418 1.0136 204.3029 3.0400 1.4880 337.4280 54.3427 16.1050 5-HMF 10.8875 0.1979 1.8177 28.6402 0.4839 1.6897 28.3873 0.0697 0.2456 28.4824 0.5582 1.9596 28.5137 1.8922 6.6361 29.0138 0.6599 2.2744 28.1316 0.6308 2.2425

Days 9 11 13 15 25 35 45 Compounds Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV Conc.

(µg/ml) SD %CV

n-Propanol 37.8471 0.7092 1.8739 35.5538 1.9219 5.4055 35.8354 2.0923 5.8386 49.6552 3.3425 6.7315 38.0276 0.2130 0.5602 44.5352 1.1930 2.6787 40.0623 0.2050 0.5117 IBA 50.9402 0.4096 0.8041 57.1256 1.7660 3.0914 65.1941 2.1382 3.2798 69.9677 1.6412 2.3457 87.6421 0.9721 1.1092 100.3006 1.2755 1.2717 101.7300 1.0647 1.0466 IAA 147.7952 1.9734 1.3352 152.6886 2.1362 1.3991 159.8676 0.5502 0.3441 166.7810 3.2051 1.9218 178.6177 2.0415 1.1429 175.8237 4.3620 2.4809 182.6916 5.6090 3.0702 Acetoin 30.9106 1.7087 5.5278 31.6754 0.3917 1.2367 34.0912 0.8267 2.4248 35.8838 0.9102 2.5365 33.7464 0.9431 2.7947 38.7627 0.6262 1.6155 36.5133 1.6366 4.4822 Acetol 13.4077 0.5239 3.9076 25.6521 1.0515 4.0992 37.4556 1.6514 4.4088 50.2147 0.9093 1.8108 59.9474 0.8353 1.3935 85.6248 3.7891 4.4252 90.5251 2.6583 2.9365 Et lac 21.3173 0.4289 2.0119 32.5371 0.4196 1.2896 37.7697 0.4416 1.1692 54.8387 2.1948 4.0023 67.9698 1.4335 2.1090 95.8444 1.5180 1.5838 102.8629 6.5811 6.3979 Acetic acid 664.5626 11.4971 1.7300 869.7677 15.3259 1.7621 1086.6548 23.7674 2.1872 1834.0145 43.1980 2.3554 3156.9672 124.0473 3.9293 4416.9190 91.5199 2.0720 5782.8296 70.9593 1.2271 Furfural 20.4407 0.5547 2.7136 33.6357 1.4077 4.1852 55.1490 2.8585 5.1833 86.9151 1.3714 1.5779 109.0829 1.6695 1.5305 157.7109 4.3641 2.7672 188.1553 5.8616 3.1153 2,3 -B 601.7734 7.9107 1.3146 738.0490 12.8689 1.7436 784.9261 13.6284 1.7363 797.3794 44.3639 5.5637 851.7222 32.6987 3.8391 890.0013 47.0366 5.2850 1251.5480 19.2905 1.5413 5-MF 16.7262 0.6640 3.9699 21.9096 0.1409 0.6430 18.4867 1.3387 7.2415 26.9342 0.8329 3.0922 27.6338 0.8283 2.9974 32.7885 1.3548 4.1319 31.3863 0.9281 2.9571 FFA 298.8536 11.4873 3.8438 489.7831 24.3758 4.9769 703.9863 18.1575 2.5792 870.8738 15.2641 1.7527 947.4599 8.8920 0.9385 991.3214 12.7082 1.2819 1017.2813 15.4274 1.5165 BeEt 30.2411 1.5845 5.2397 43.3580 1.0092 2.3276 55.3479 0.4285 0.7741 59.5241 0.9307 1.5636 79.1190 1.2976 1.6400 86.5544 0.8462 0.9777 88.3556 2.1904 2.4791 Glycerol 513.6412 25.1215 4.8909 633.4271 13.9595 2.2038 833.4271 13.9595 1.6750 1259.7636 47.9397 3.8055 1567.7520 25.1937 1.6070 2012.7489 79.8815 3.9688 2279.2557 47.5670 2.0870 5-HMF 138.3893 1.8337 1.3251 286.1249 9.5751 3.3465 555.6851 13.5915 2.4459 1070.5289 28.7087 2.6817 1465.7699 28.5445 1.9474 2219.9254 64.4486 2.9032 2514.2955 33.7830 1.3436

Page 52: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

52

14. การวิเคราะหปริมาณ ethanol ในเหลาอุจากแหลงพิมายในชวงเวลาการหมัก 45 วัน ทําการทดลองเชนเดยีวกันกบัการทดลองที่ 8 การวิเคราะหปริมาณ ethanol ในเหลาอุ แตตัวอยางที่ใชจะ

ไดจากเหลาอนุ้ํา 1 ที่เก็บในแตละวนัเปนเวลา 45 วันตดิตอกัน โดยทําการฉีด 3 คร้ังในทุก ๆ ตวัอยาง ผลการทดลอง

0.00

1.00

2.00

3.00

4.00

5.00

6.00

7.00

8.00

0 10 20 30 40 50

Time (days)

%E

tOH

(v/v

)

รูปท่ี 15 ปริมาณ Ethanol ในเหลาอุระหวางการหมัก 1-45 วัน

Page 53: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

53

บทท่ี 3 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

จากการศึกษาตัวอยางอุทั้ง 10 ชนิด จากแหลงผลิตตางๆ พบวามีคุณสมบัติทางเคมีพื้นฐาน รวมทั้งปริมาณน้ําตาลตางๆ และแอลกอฮอล ดังนี้ ตารางที่ 22 คุณสมบัติทางเคมีพื้นฐานโดยสรุปของตัวอยางอุที่ทําการวิเคราะห

คุณสมบัต ิ คาท่ีวิเคราะหได 1. ปริมาณโปรตีน 0.4 - 1.2 % 2. ปริมาณเถา 0.1 - 0.3 % 3. ปริมาณของแข็งทั้งหมด 4.6 - 14.4 % 4. ปริมาณน้ําตาลกลูโคส 2.0 - 8.2 mg/ml 5. ปริมาณน้ําตาลมอลโตส 0 - 2.6 mg/ml 6. ปริมาณแอลกอฮอล 1.5 - 13.2 % พบวาคาที่วดัไดมีชวงกวาง โดยเฉพาะปริมาณของแข็งทั้งหมดและปริมาณแอลกอฮอล อยางไรก็ตามปริมาณแอลกอฮอลนั้นไมเกนิมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน และเมื่อเปรยีบเทียบกันระหวางอุน้ําแรก น้ําที่ 2 และน้ําที่ 3 ปริมาณคาตางๆ ก็จะลดลงเมื่อมีการเพิ่มจํานวนครั้งที่ชะ จากการศึกษาสารระเหยใหกล่ินในตวัอยางอุ สารที่ตรวจวัดไดเปนสารพวก ketone, aldehyde, alcohol, organic acid และ ester ตางๆ หากพิจารณาจากจํานวนชนิดของสารระเหยแลว พบวาตัวอยางอุที่มาจาก ลําพนู อุบล เรณูนคร และ พิมาย นั้นมชีนิดของสารระเหยมากที่สุด ซ่ึงเคาโครงลักษณะของสารระเหยนี้อาจเกี่ยวของกบัเคาโครงลักษณะของกลิ่น และเมื่อศึกษาเคาโครงลักษณะของกลิ่นดวยวิธีการดมสารที่ตรวจจับไดผาน olfactometer port ที่อยูบนระบบ GC โดยใชจมกู พบวาตัวอยางอมุีเคาโครงลักษณะกลิ่นที่สําคัญ ดังนี้

• กล่ินหอมหวานแบบผลไม-กลวยหอม เกดิจากสาร isoamyl acetate • กล่ินหอมหวานแบบเนย-บัตเตอรสกอตช เกิดจากสาร ethyl lactate • กล่ินไม-แอลมอนด เกดิจากสาร furfural

ซ่ึงนอกเหนือจากกลิ่นที่เปนกลิ่นหลักเหลานี้ สารอื่นๆ เชน พวก alcohol ตางๆ ใหกล่ิน solvent – หอมหวาน; กรดอนิทรียตางๆ ใหกล่ินฉุน – เปรี้ยว; aldehyde ตางๆ ก็ใหกล่ินเชนกนั และเมื่อพิจารณาถึงปริมาณของสารระเหยตางๆ บางชนิด พบวาสามารถจําแนกตวัอยางอุเหลานี้ไดเปน 2 พวก ดัง ตารางที่ 23 สวนตัวอยางอื่นๆ ที่ไมไดกลาวถึง คือไมสามารถนํามาจัดกลุมรวมกันได

Page 54: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

54

ตารางที่ 23 การจําแนกกลุมตวัอยางอุจากระดับปริมาณสารระเหย สารระเหย/ระดับปริมาณ กลุม 1 กลุม 2

n-Propanol ต่ํา – ปานกลาง ปานกลาง – สูง Furfuryl alcohol ต่ํา – ปานกลาง ปานกลาง – สูงมาก Benzene ethanol ปานกลาง ปานกลาง – สูงมาก 2,3-Butanediol สูง – สูงมาก ปานกลาง – สูงมาก Furfural ไมมี – ต่ํา สูง – สูงมาก 5-Methyl furfural ไมมี – สูง สูงมาก 5-Hydroxymethyl-2-furfural ไมมี – ปานกลาง สูงมาก กลุม 1 : ตัวอยางอุจาก ตําบลโคกลําพาน อําเภอเมือง จังหวดัลพบรีุ ตัวอยางอุจาก ตําบลโนนทัน อําเภอเมือง จงัหวัดอุบลราชธานี

ตัวอยางอุจาก ตําบลเรณู อําเภอเรณูนครจังหวัดนครพนม (ตัวอยาง N) ตัวอยางอุจาก ตําบลเรณู อําเภอเรณูนครจังหวัดนครพนม (อุขาวเหนียวดํา) ตัวอยางอุจาก ตําบลวังผาง กิง่อําเภอเวียงหนองลอง จังหวัดลําพูน

กลุม 2 : ตัวอยางอุจาก ตําบลเรณู อําเภอเรณูนครจังหวัดนครพนม (ตัวอยาง R) ตัวอยางอุจาก ตําบลในเมือง อําเภอพิมาย จงัหวัดนครราชสีมา ตัวอยางอุจาก ตําบลเขาแรง อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

หากนําปริมาณสารระเหยตาง ๆ มาทดสอบหาคาความถดถอย (Regression analysis) แลวพบวา isobutyl alcohol และ isoamyl alcohol ใหคา r2 = 0.9456; acetic acid และ acetol ใหคา r2 = 0.7933; furfural และ 5-methyl furfural ใหคา r2 = 0.7760 คาดวาสารที่มี regression ตอกันนาจะมีความสัมพันธในเชิง pathway ในการเกิดสารเหลานั้น

จากการติดตามปริมาณ ethanol และสารระเหยใหกล่ินระหวางกระบวนการหมักอุทีเ่ก็บตัวอยางจากแหลงพิมาย พบวาในชวงเวลาหมัก 45 วัน ปริมาณ ethanol จะเพิ่มขึ้นเปน 6.6% สวนสารระเหยใหกล่ินอื่นๆ นั้น มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ในการติดตามปริมาณสารครั้งนี้ ตรวจไมพบ ethyl lactate และ furfural อาจเปนไดวาในกระบวนการหมักแตละครั้ง ชาวบานผูผลิตไมสามารถควบคุมคุณภาพดานกลิ่นไดดีเทาที่ควร แตอยางไรก็ตาม ปริมาณของ ethanol ก็ยังเปนไปตามมาตรฐานผลิตภณัฑชุมชน ซ่ึงในสวนนี้นาจะมีการทําวิจัยในระดับลึกถึงปจจัยทีเ่ปนตัวทําใหคุณภาพในเชิงสารระเหยใหกล่ินคงที่ ตอไป

Page 55: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

55

บรรณานุกรม

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. มาตรฐานผลิตภัณฑชมุชน อุ มาตรฐานเลขที่ มผช. ๓๓/๒๕๔๖. ๒๕๔๖. กรุงเทพฯ.

AOAC 1984. Officail Methods of Analysis of the Association of Official Analysis Chemists, 14th Ed. (W. Sydney, ed.) Association of Official Analysis Chemists, Washington DC.

Charoenlap, N., Dharmsthiti, S., Sirisansaneeyakul, S. and Lertsiri, S. 2004. Optimization of cyclodextrin production from sago starch. Bioresource Technol. 92, 49-54.

Wanakhachornkrai, P. and Lertsiri, S. 2003. Comparison of determination method for volatile compounds in Thai soy souce. Food Chem. 83, 649-629.

Firor, R. L., Wylei, P. L., Cobelli, L. and Bergna, M. 1993. Perfroming USP method <467> using the HP 7694 headspace sampler. Application Note Hewlett-Packard. Company

Publication No. 5091-7757E, 228-237.

Page 56: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

56

ภาคผนวก ก สารระเหยใหกล่ินมาตรฐาน

ตารางที่ 1 สารระเหยใหกล่ินมาตรฐาน และโครงสรางทางเคมี

Standard Supplier Structure n-Propanol Aldrich

OH Isobutyl alcohol Aldrich OH Isoamyl alcohol Aldrich OH Furfuryl alcohol Aldrich O

OH

Benzene ethanol Aldrich OH

Acetol Aldrich

OHO

2,3-Butanediol Fluka OH

OH Glycerol Fluka OH OH

OH

Acetoin Fluka

OH

O

Ethyl lactate Fluka

OOH

O

Furfural Aldrich O

H

O

5-Methyl Furfural Aldrich O

H

O

5-Hydroxymethyl-2-furfural Fluka O

HOH

O

Acetic acid Merck OH

O

Page 57: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

57

ภาคผนวก ข บทความวิจัย

การประชุมวิชาการประจําปของสมาคมเทคโนโลยชีีวภาพแหงประเทศไทย คร้ังท่ี 16 ณ คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่แวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก ระหวางวันท่ี 12-15 ธันวาคม 2547

Characterization of Volatile Flavor Components in Ou

Pumnat Chuenchomrat and Sittiwat Lertsiri Abstract Ou samples were purchased from 10 different producers. Two samples were from the Northern and the Central and 6 samples were from the North Eastern part of Thailand. Proximate analysis was conducted to determine protein, ash and moisture contents. Glucose and maltose contents of Ou samples were analyzed by HPLC. Static Headspace Sample (SHS) technique was used to determine ethanol concentration of Ou. All Ou samples showed the same profiles of volatile flavor compounds (VFC) by Dynamic Headspace Sample (DHS). Introduction

Thai rice wines are mostly produced by submerge fermentation. However, Ou is uniquely produced by solid-state fermentation with a mixture of rice husk and glutanious rice as the raw materials. To drink Ou, water is filled into an earthen jar containing fermented substrate to elute Ou. The volatile flavor compounds are important characteristics of Ou products, and this is the first report of volatile flavor compounds of this Thai rice wine. Materials and Methods 1. Sources of Ou samples Ou samples were purchased from 10 different producers as shown in Table 1. Table 1 Sources of Ou samples

Source Address Code 1 Khok Lam Phan, Muang, Lop Buri L 2 Non Than, Muang, Ubon Ratchatani U 3 Ranu Nakhon, Ranu Nakhon, Nakhon Phanom (1) R 4 Muang, Phimai, Nakhon Ratchasima P 5 Ranu Nakhon, Ranu Nakhon, Nakhon Phanom (2) N 6 Ranu Nakhon, Nakhon Phanom (3), using black rice as substrate B 7 Sawart, Reung Nok Ta, Yasothorn Y 8 Khao Rank, Muang, Ratchaburi A 9 Wang Pha, Weang Nong Long, Lamphoon M

10 Sanion, Muang, Nhan Z 2. Ou elution

A thousand milliliter of deodorized water was added into an earthen jar. Ou was collected into a bottle by a peristaltic pump and kept at –20 °C for further analysis. 3. Proximate analysis of Ou

Protein content of Ou sample was determined by following AOAC Official No. 981.10 with Kjeldahl’s method. Moisture content was determined by direct heating technique. Ou sample was determined ash content by furnace burner.

Page 58: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

58

4. Quantitative analysis of glucose and maltose of Ou by HPLC One milliliter of Ou sample was centrifuged at 10,000 rpm for 10 minutes to precipitate

particles. Supernatant (0.5 ml) was collected, and then added 0.5 ml of cold methanol to precipitate proteins. Particles were separated from mixture by centrifugation at 10,000 rpm for 10 minutes. Supernatant was filtered through 0.45 µm cellulose acetate membrane, and then was analyzed by HPLC.

4.1 Column: Hypersil® APS2 (250 × 4.6 mm, 5 µm) 4.2 Mobile phase: 80% Acetronitrile 4.3 Flow rate: 1 ml/min with Refactive Index (RI) detector

5. Quantitative analysis of ethanol of Ou by SHS technique Each one milliliter of sodium chloride saturated Ou sample was placed into headspace

vials for triplicates and individually added 50 µl 1,4-dioxane. The vials were sealed by aluminum cap with PTFE-coated rubber septum. Standard curve was obtained by serially absolute ethanol dilution; 2.5, 5, 10 and 20% (v/v). 1,4-Dioxane was used as internal standard with 5% (v/v) concentration. Samples were analyzed by GC-FID as following.

5.1 Mobile phase: Ultra high-purity (UHP) helium gas with 1.5 ml/min flow rate 5.2 Column: HP5 capillary column (Crosslinked 5% Phenyl Methylene Siloxane, 30 m ×

0.32 mm × 0.25 µm film thickness) 5.3 Equilibrated sample time/ temperature: 20 min/ 50 °C 5.4 Transfer line temperature: 145 °C 5.5 Injection time/ temperature/ split ratio: 1 min/ 220 °C/ 10:1 5.7 Temperature programming: The initial oven temperature was 35 °C holding for 2 min.

The oven temperature was programmed from 35 to 200 °C at a rate of 20 °C/min. Then temperature was 200 holding for 1.5 min.

6. Analysis of volatile flavor profile of Ou by DHS technique One milliliter of sodium chloride saturated Ou sample was placed in a dynamic headspace

tube and then installed onto a Tekmar Dohrmann 3100 purge and trap concentrator. The UHP helium gas (40 ml/min) was purged over the headspace for 30 min to a Tenax ® TA trap. The volatiles trapped were desorbed at temperature of 220 °C for 2 min and then directly introduced onto GC-MS with split ratio of 10:1.

6.1 Mobile phase: UHP helium gas with 1.5 ml/min flow rate 6.2 Column: HP-FFAP column (Nitroterephthalic acid modified polyethylene glycol, 25

m × 0.32 mm i.d. × 0.50 µm film thickness) 6.3 The initial oven temperature was 50 °C holding for 1 min. The oven temperature was

programmed from 50 to 100 °C at a rate of 20 °C/min. 6.4 Detector: Mass Spectrometer (MS)

Results and discussion Table 2 Proximate analysis, glucose, maltose and ethanol concentrations

Analysis Results Protein 0.45-1 % (w/w) Ash 0.1-0.3 % (w/w) Moisture 85-98 % (w/w) Glucose 4.1-7.9 mg/ml Maltose trace-2.5 mg/ml Ethanol 1.5-13 % (v/v)

Page 59: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

59

Figure 1 Chromatograms of volatile flavor compounds of Ou; a, b, c, d, e, f, g, h, i, and j are A, B, L, M, N, P, R, U, Y, and Z, respectively. Conclusions 1. Proximate analysis was conducted to determine protein, ash and moisture contents. 2. Ou samples contained low maltose concentration. 3. Ethanol concentration was not higher than the Thai Community Product Standard (15%;

v/v). 4. All Ou samples showed the same profiles of volatile flavor compounds by DHS technique.

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

3000000

3500000

4000000

4500000

5000000

5500000

6000000

6500000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC135.D

0.84 1.32

1.53

1.68

1.82

2.00

2.20

2.36

2.39

2.71

2.96 3.12

3.58

3.91

4.31

4.74

5.74

6.00 6.64

6.92

7.56

7.99

10.23

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

3000000

3500000

4000000

4500000

5000000

5500000

6000000

6500000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC157.D

0.83 1.31

1.50 1.74

2.21

2.35

2.41

2.70

2.76

2.97 3.01

3.13

3.56

3.63

3.83 3.94 4.32

4.77

5.68

6.01

6.64

6.93

7.01

7.19 8.00 10.22

Abundance

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

1000000

2000000

3000000

4000000

5000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC148.D

0.88 1.08

1.52 1.74

2.21 2.32

2.36

2.42

2.46

2.71

2.79

2.97 3.01 3.10

3.14

3.58

3.84 3.95 4.32

4.75

4.79 5.04 5.59

5.74 6.64

6.68 6.93

7.01

8.10

10.22

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

3000000

3500000

4000000

4500000

5000000

5500000

6000000

6500000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC151.D

0.87 1.08

1.52 1.74

2.03

2.21

2.35

2.41

2.59

2.70

2.76

2.97

3.10

3.13

3.57

3.62

3.92

4.32

4.76

4.87

5.12 5.48

5.70 6.63

6.92 7.01 7.31 7.99

10.22

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

3000000

3500000

4000000

4500000

5000000

5500000

6000000

6500000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC154.D

0.88 0.93 1.32

1.52 1.74

2.21

2.36

2.41

2.71

2.78

2.97

3.01 3.10

3.14

3.58

3.81 3.83 3.93 4.32

4.75

4.79

5.73

6.63

6.69 6.93 7.01

8.00

10.22

e

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

1000000

2000000

3000000

4000000

5000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC136.D

0.88 0.93 1.31

1.53 1.74

2.21

2.36

2.42

2.72

2.79

2.97 3.01 3.10

3.14

3.58

3.94 4.32

4.76

4.79 5.04

5.78 6.64

6.93 7.01 7.56

7.81 7.99 8.10

10.22

a

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

1000000

2000000

3000000

4000000

5000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC142.D

1.08 1.32

1.54 1.74

2.03

2.21

2.36

2.42

2.72

2.79

2.97 3.02 3.10

3.14

3.58

3.71 3.93

4.32 4.75 4.78

5.04

5.75

6.01

6.64

6.93 7.01

7.56 8.00

10.22

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

1000000

2000000

3000000

4000000

5000000

6000000

7000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC128.D

0.86

1.32

1.51 1.75

2.03

2.21 2.36

2.41

2.46 2.57

2.71

2.77

2.97

3.01 3.10

3.14

3.21 3.25

3.58

3.71 3.95

4.32 4.76

4.79 5.05 5.51

5.70

6.01

6.68

6.93

7.05

7.21 7.81 7.95

8.00

8.09 9.49 9.86 10.22

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

1000000

2000000

3000000

4000000

5000000

6000000

7000000

8000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC185.D

1.26

1.46

1.70

1.91 2.12

2.26

2.31

2.36

2.61

2.66

2.87 2.90 2.99

3.02

3.10 3.14

3.47

3.69 3.80 4.01 4.18

4.62

4.89

5.57 5.84

6.47

6.83 7.41

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

3000000

3500000

4000000

4500000

5000000

5500000

6000000

6500000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC180.D

1.55

1.81

2.21

2.35

2.40

2.70

2.79

2.97 3.01 3.09

3.13

3.57

3.93 4.31

4.74

5.03 5.59

5.74

5.99

6.61

6.90 6.98

7.78 7.96

10.20

h

i

d

f

j

c

b

g

Page 60: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

60

ภาคผนวก ค

บทความสําหรับเผยแพร

Page 61: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

61

Page 62: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

62

ภาคผนวก ง Chromatogram สารระเหยใหกล่ิน

1. Chromatogram เพื่อใชหาคา Retention Index (RI) ของสารระเหยใหกล่ิน

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

4000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC135.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

4000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC160.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

4000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC161.D

รูปท่ี 1 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงราชบรีุ (A); a) น้ําที่ 1 , b) น้ําที่ 2 และ c) น้ําที่ 3

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

4000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC157.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

10000002000000

3000000

40000005000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC158.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

2000000

30000004000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC159.D

รูปท่ี 2 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงเรณูนครโดยใชขาวเหนียวดํา (B); a) น้ําที่ 1 , b) น้ําที่ 2 และ c) น้ําที่ 3

a

b

c

a

b

c

Page 63: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

63

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

10000002000000

30000004000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC148.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

10000002000000

30000004000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC149.D

รูปท่ี 3 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงลพบรีุ (L); a) น้ําที่ 1 และ b) น้ําที่ 2

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

10000002000000

3000000

40000005000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC151.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

4000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC152.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

40000005000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC153.D

รูปท่ี 4 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงลําพนู (M); a) น้ําที่ 1, b) น้ําที่ 2 และ c) น้ําที ่3

a

b

a

b

c

Page 64: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

64

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

10000002000000

3000000

40000005000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC154.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

10000002000000

30000004000000

5000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC155.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

4000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC156.D

รูปท่ี 5 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงเรณูนครแหลงที่ 2 (N); a) น้ําที่ 1, b) น้ําที่ 2 และ c) น้ําที่ 3

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.0010.0011.0012.0013.0014.000

1000000

2000000

3000000

4000000

5000000

6000000

7000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC163.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.0010.0011.0012.0013.0014.000

1000000

2000000

3000000

4000000

5000000

6000000

7000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC172.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.0010.0011.0012.0013.0014.000

1000000

2000000

3000000

4000000

5000000

6000000

7000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC173.D

รูปท่ี 6 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงพิมาย (P); a) น้ําที่ 1, b) น้ําที่ 2 และ c) น้ําที่ 3

a

b

c

a

b

c

Page 65: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

65

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

10000002000000

3000000

40000005000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC142.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

10000002000000

30000004000000

5000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC143.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

4000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC144.D

รูปท่ี 7 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงเรณูนครแหลงที่ 1 (R); a) น้ําที่ 1, b) น้ําที่ 2 และ c) น้ําที่ 3

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

2000000400000060000008000000 1e+07

Time-->

Abundance

TIC: SLPC128.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

2000000400000060000008000000 1e+07

Time-->

Abundance

TIC: SLPC130.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

2000000400000060000008000000 1e+07

Time-->

Abundance

TIC: SLPC131.D

รูปท่ี 8 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงอุบลราชธานี (U); a) น้ําที่ 1, b) น้าํที่ 2 และ c) น้ําที่ 3

a

b

c

a

b

c

Page 66: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

66

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

10000002000000

3000000

40000005000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC180.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

4000000

50000006000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC178.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

1000000

20000003000000

40000005000000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC179.D

รูปท่ี 9 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงยโสธร (Y); a) น้ําที ่1, b) น้ําที่ 2 และ c) น้ําที่ 3

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

2000000

4000000

6000000

8000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC185.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

2000000

4000000

6000000

8000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC186.D

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.000

2000000

4000000

6000000

8000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC187.D

รูปท่ี 10 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงนาน (Z); a) น้ําที ่1, b) น้ําที่ 2 และ c) น้ําที่ 3

a

b

c

a

b

c

Page 67: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

67

1.00 2.00 3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

3000000

3500000

4000000

4500000

5000000

5500000

6000000

Time-->

Abundance

TIC: SLPC162.D

รูปท่ี 11 Chromatogram ของ Standard Alkane

Page 68: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

68

2. Chromatogram เพื่อใชวิเคราะหปริมาณสารระเหยใหกล่ินในเหลาอุโดยวิธี Direct injection

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000 1e+07 1.2e+07

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ103.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000 1e+07 1.2e+07

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ104.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000 1e+07 1.2e+07

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ105.D

รูปท่ี 12 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงราชบุรี (A)

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ107.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ108.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ109.D

รูปท่ี 13 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงเรณูนครใชขาวเหนียวดําเปนวตัถุดิบ (B)

Page 69: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

69

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

1000000200000030000004000000500000060000007000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ111.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

1000000200000030000004000000500000060000007000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ112.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

1000000200000030000004000000500000060000007000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ113.D

รูปท่ี 14 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงลพบุรี (L)

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

5000001000000150000020000002500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ120.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

5000001000000150000020000002500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ121.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

5000001000000150000020000002500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ122.D

รูปท่ี 15 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงลําพูน (M)

Page 70: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

70

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

100000020000003000000400000050000006000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ124.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

100000020000003000000400000050000006000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ125.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

100000020000003000000400000050000006000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ126.D

รูปท่ี 16 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงเรณูนครแหลงที่ 2 (N)

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ128.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ129.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ130.D

รูปท่ี 17 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงพมิาย (P)

Page 71: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

71

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000 1e+07

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ137.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000 1e+07

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ138.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

2000000400000060000008000000 1e+07

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ139.D

รูปท่ี 18 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงเรณูนครแหลงที่ 1 (R)

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

1000000200000030000004000000500000060000007000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ141.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

1000000200000030000004000000500000060000007000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ142.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

1000000200000030000004000000500000060000007000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ143.D

รูปท่ี 19 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงอบุลราชธานี (U)

Page 72: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

72

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

100000020000003000000400000050000006000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ145.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

100000020000003000000400000050000006000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ146.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

100000020000003000000400000050000006000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ147.D

รูปท่ี 20 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงยโสธร (Y)

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

1000000200000030000004000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ258.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

1000000200000030000004000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ259.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

1000000200000030000004000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ260.D

รูปท่ี 21 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินจากแหลงนาน (Z)

Page 73: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

73

3. Chromatogram เพื่อใชวิเคราะหปริมาณสารระเหยใหกล่ินในเหลาอุจากแหลงพิมายในระหวางการหมักเปนเวลา 7 วัน โดยวิธี Direct injection

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

1500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ283.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

1500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ285.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

1500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ286.D

รูปท่ี 22 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 1

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

1000000

Time-->

AbundanceTIC: DIMSQ287.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

1000000

Time-->

AbundanceTIC: DIMSQ288.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

1000000

Time-->

AbundanceTIC: DIMSQ289.D

รูปท่ี 23 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 2

Page 74: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

74

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ290.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ291.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ292.D

รูปท่ี 24 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 3

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000400000600000800000

1000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ293.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000400000600000800000

1000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ294.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000400000600000800000

1000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ295.D

รูปท่ี 25 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 4

Page 75: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

75

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

1000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ296.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

1000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ297.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

1000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ298.D

รูปท่ี 26 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 5

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ299.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ303.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ304.D

รูปท่ี 27 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 6

Page 76: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

76

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ284.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ305.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000

400000

600000

800000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ306.D

รูปท่ี 28 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 7

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

5000001000000150000020000002500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ342.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

5000001000000150000020000002500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ343.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

5000001000000150000020000002500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ344.D

รูปท่ี 29 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 9

Page 77: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

77

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000100000015000002000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ351.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000100000015000002000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ352.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000100000015000002000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ353.D

รูปท่ี 30 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 11

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000400000600000800000

10000001200000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ360.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000400000600000800000

10000001200000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ361.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

200000400000600000800000

10000001200000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ362.D

รูปท่ี 31 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 13

Page 78: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

78

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

1500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ369.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

1500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ370.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

1500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ371.D

รูปท่ี 32 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 15

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000100000015000002000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ378.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000100000015000002000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ379.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000100000015000002000000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ380.D

รูปท่ี 33 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 25

Page 79: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

79

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

5000001000000150000020000002500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ387.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

5000001000000150000020000002500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ388.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

5000001000000150000020000002500000

Time-->

Abundance

TIC: DIMSQ389.D

รูปท่ี 34 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 35

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

1500000

2000000

Time-->

AbundanceTIC: DIMSQ396.D

3.00 4.00 5.00 6.00 7.00 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.000

500000

1000000

1500000

2000000

Time-->

AbundanceTIC: DIMSQ397.D

3 00 4 00 5 00 6 00 7 00 8 00 9 00 10 00 11 00 12 00 13 00 14 000

500000

1000000

1500000

2000000

Time-->

AbundanceTIC: DIMSQ398.D

รูปท่ี 35 Chromatogram สารระเหยใหกล่ินในวันที่ 45

Page 80: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

80

ภาคผนวก จ ตารางเปรียบเทียบกิจกรรมที่ทําและสรุปรายงานการเงิน

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบวตัถุประสงคและกิจกรรมที่วางแผนไว

วัตถุประสงคโครงการ กิจกรรมที่วางแผน 1. ศึกษาองคประกอบของสารระเหยใหกล่ินจากเหลาอุ ใชเทคนิค DHS, SHS และ GC-O ในการ

วิเคราะห 2. ศึกษาการเกดิสารระเหยใหกล่ินที่เกิดขึน้ในระหวางหมักเลาอุ

ใชเทคนิค direct injection ในการวิเคราะห

ตารางที่ 2 กิจกรรมที่ดําเนินการมาและผลที่ไดรับตลอดโครงการ

กิจกรรมที่ดําเนินการมา ผลสําเร็จ ผลท่ีไดรับตลอดโครงการ 1. เก็บตัวอยางเหลาอุ 100% ตามแผน ตัวอยางเหลาอุจาก 10 แหลงผลิต 2. การวิเคราะห Proximate และ ethanol 100% ตามแผน ทราบปริมาณโปรตีน ความชื้น

เถา และ ethanol ในเหลาอุจากแหลงตาง ๆ

3. การวิเคราะหสารระเหยใหกล่ินจากเหลาอุและสาร Impact compound

100% ตามแผน ทราบชนิดของสารและ Impact compound ในเหลาอุ

4. การวิเคราะหปริมาณสารระเหยใหกล่ินจากเหลาอ ุ 100% ตามแผน ทราบปริมาณสารระเหยใหกล่ิน 14 ชนิด

5. ศึกษาความสัมพันธของระยะเวลาการหมักกับ การเกิด ethanol ที่เกิดขึ้นใน ระหวางการหมักเหลาอ ุ

100% ตามแผน ทราบความสัมพันธของการเกิด ethanol ในระหวางการหมัก

6. ศึกษาความสัมพันธของระยะเวลาการหมักกับ การเกิดสาร Impact compound ที่เกิดขึ้นใน ระหวางการหมักเหลาอ ุ

100% ตามแผน ทราบปริมาณของสาร 14 ชนิดที่เกิดขึ้นในระหวางการหมกั

Page 81: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

81

ตารางที่ 3 แผนและความกาวหนา ไตรมาสที ่ขั้นตอนการดาํเนินงาน

1 2 3 4 ผลสําเร็จ (%) และหมายเหตุ

1. ศึกษาและเก็บขอมูลวิธีการผลิตเหลาอุและแหลงผลิตเหลาอุ

2. เก็บตัวอยางเหลาอุ

****** +++++ ****** +++++

*** +++

100% ตามแผน 100% ตามแผน

3. วิเคราะหหาความเขมขนของน้ําตาล, โปรตีน, ปริมาณรวมของของแข็ง และเถา

4. วิเคราะหหาความเขมขนของ ethanol ในเหลาอุ

****** +++++

*** +++ ****** +++++

100% ตามแผน 100% ตามแผน

5. ศึกษาการสกดัสารระเหยใหกล่ินจากเหลาอุ 6. วิเคราะหองคประกอบของสารระเหยใหกล่ินจากเหลาอุและหาสาร Impact compound ของเหลาอุ

****** +++++

*** +++ ****** +++++

****** +++++

100% ตามแผน 100% ตามแผน

7. ศึกษาความสัมพันธของระยะเวลาการหมกักับ การเกิดสาร Impact compound ที่เกิดขึ้นใน ระหวางการหมักเหลาอ ุ

**** +++

**** +++

100% ตามแผน

8. รวบรวมสรุปขอมูล และจัดทํารายงานผล การวิจยัฉบับสมบูรณ

9. จัดทํา Manuscript เพื่อเผยแพรตีพิมพใน วารสารนานาชาติ

****** +++++ ****** +++++

100% ตามแผน อยูระหวางการดําเนินการ

******* หมายถึง แผนงานที่วางไว ++++++ หมายถึง งานที่ทําได ลงนาม (ผศ. ดร. สิทธิวัฒน เลิศศริิ) หัวหนาโครงการ

Page 82: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

82

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกล่ินจากอุ”

รายงานสรุปการเงินฉบับสดุทาย (ฉบับท่ี 3 และ 4) ช่ือหัวหนาโครงการ นาย สิทธิวัฒน เลิศศิริ รายงานในชวงตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2546 ถึง 31 กรกฎาคม 2547

รายจาย หมวด รายจายสะสมจาก

รายงานครั้งกอน คาใชจายงวดปจจุบัน

รวมรายจายสะสมจนถึงงวดปจจุบัน

งบประมาณที่ต้ังไวรวมสะสมจนปจจุบัน

คงเหลือ (หรือเกิน)

1. คาจางตอบแทน 30,000 20,000 50,000 50,000 - 2. คาบํารุงรักษา 4,686.60 1,177 5,863.60 10,000 4,136.40 3. คา overhead - 18,000 18,000 18,000 - 4. คาวัตถุดิบและคาเดินทาง 10,060 5,490 15,550 20,000 4,450 5. คาสารเคมีและวัสดุสิ้นเปลือง 40,050.95 28,352.43 68,403.38 64,500 (3,903.38) 6. คาเครื่องแกว 28,230.53 - 28,230.53 22,000 (6,230.53) 7. คาใชสอย อุปกรณสํานักงาน 3,599 359 3,958 5,500 1,542 รวม 116,627.08 73,378.43 190,005.51 190,000 (5.51)

จํานวนเงินท่ีไดรับและจํานวนเงินคงเหลือ จํานวนเงินท่ีไดรับ งวดที่ 1 57,250.00 บาท เมื่อ 13 กุมภาพนัธ 2546 งวดที่ 2 57,250.00 บาท เมื่อ 9 ตุลาคม 2546 งวดที่ 3 และ 4 75,500.00 บาท เมื่อ 11 พฤษภาคม 2547

รวม 190,000.00 บาท คาใชจาย งวดที่ 1 เปนเงิน 55,372.40 บาท งวดที่ 2 เปนเงิน 61,254.68 บาท งวดที่ 3 เปนเงิน 73,378.43 บาท

รวม 190,005.51 บาท จํานวนเงินเกนิ (5.51) บาท (2) หมายเหตุ คณะผูดําเนนิการวิจัยไมขอรับเงินจํานวนเงนิที่เกิน 5.51 บาท

Page 83: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

83

จํานวนเงินที่เหลือในโครงการ 0.00 บาท มีดอกเบี้ยจากธนาคาร (31 ธันวาคม 2546) 53.54 บาท (30 มิถุนายน 2547) 60.53 บาท รวมเงินท่ีตองทําการสงคืน 114.07 บาท ซ่ึงเงินจํานวนนี้จะดําเนินการสงคืนกองทุน ฯ ตอไป ลงนาม ลงนาม (นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ) (นายภูมินาท ช่ืนชมรัตน) หัวหนาโครงการ เจาหนาที่การเงินโครงการ

Page 84: Oryza sativa L. Oryza sativa¸ªารระเหย/Progress report grant 05-07-05.pdfข าวพันธุ กข.1 กข. 7 และหอมมะลิ 105 เป นต

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกลิ่นจากอุ”

โดย นายสิทธิวัฒน เลิศศิริ และ คณะ

84

สัญญาเลขที่ 42/2545 โครงการ “การศึกษาสารระเหยใหกล่ินจากอุ”

ประมาณคาใชจายในงวดตอไป

ช่ือหัวหนาโครงการ ผศ.ดร. สิทธิวัฒน เลิศศิริ

งบประมาณที่เสนอสําหรับงวดที่ 5 (งวดสดุทาย) หมวด ตั้งไวเดิม

(ในสัญญา) เสนอใหม

(1) แตกตาง % หมายเหต ุ

1.คาจางตอบแทน 10,000.00 0.00 0.00 0.00 - 2. คาบํารุงรักษา 0.00 0.00 0.00 0.00 - 3. คา overhead 0.00 0.00 0.00 0.00 - 4. คาวัตถุดิบและคาเดินทาง 0.00 0.00 0.00 0.00 - 5. คาสารเคมีและวัสดุส้ินเปลือง 0.00 0.00 0.00 0.00 - 6. คาเครื่องแกว 0.00 0.00 0.00 0.00 - 7. คาใชสอยและอุปกรณสํานักงาน 0.00 0.00 0.00 0.00 -

รวม 10,000.00 0.00 0.00 0.00 -

เงินท่ีควรสงใหในงวดนี ้ 10,000.00 บาท ลงนาม ............................................. ลงนาม ...................................................

(ผศ.ดร. สิทธิวัฒน เลิศศิริ) (นายภมูินาท ช่ืนชมรัตน) หวัหนาโครงการ เจาหนาทีก่ารเงินโครงการ