mrp case study-3

7
การพัฒนาต้นแบบ MRP โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel ในโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ : กรณีศึกษา นายฉมาธร กุยศรีกุล บัณฑิตศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530 โทร 0-2988-3655 โทรสาร 0-29884040 E-mail [email protected] บทคัดย่อ สารนิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรม MRP ต้นแบบสาหรับบริษัทกรณีศึกษา โดยใช้ โปรแกรม Microsoft Excel โดยบริษัทกรณีศึกษาเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์แห่งหนึ่ง ในการพัฒนาโปรแกรม MRP เริ่มจากการศึกษาปัญหาและการดาเนินงานในปัจจุบัน ด้านการวางแผนความต้องการวัสดุจากแผนก ต่างๆ เช่น ฝ่ายขาย ฝ่ายวางแผน ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายจัดซื้อ และฝ่ายผลิต เป็นต้น หลังจากนั้นจึงได้หาแนว ทางการแก้ปัญหาการดาเนินงานในปัจจุบันและพัฒนาโปรแกรม MRP เมื่อโปรแกรมแล้วเสร็จจึงได้ทดสอบ และทดลองใช้โปรแกรม และทาการสารวจผลการใช้งาน โดยเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการใช้ โปรแกรม MRP พบว่า โปรแกรม MRP ที่พัฒนาขึ้นทาให้เกิดความสะดวกและสามารถตอบสนองการทางานได้ อย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้เวลาที่ใช้ในการทางานตั้งแต่รับคาสั่งซื้อจากลูกค้าจนเสร็จสิ้นการสั่งซื้อวัตถุดิบจาก ฝ่ายจัดซื้อ ลดลงจาก 255 นาที เป็น 60 นาที หรือคิดเป็น 76.47 เปอร์เซ็นต์ 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา กรณีศึกษา บริษัท ABC เป็นโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ซึ่งได้เปิดดาเนินกิจการในเดือน เมษายน พ.ศ. 2556 และในปัจจุบันทางบริษัทยังไม่มีระบบที่นามาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลที่เป็นรูปธรรม ทาให้เมื่อมีความจาเป็นที่จะต้องเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานในองค์กร หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่ต้องการ ข้อมูล จึงต้องทาการขอข้อมูลทางการพูดคุย และส่งเอกสารทาง E-mail ทาให้เกิดความล่าช้า หรืออาจเกิด ความคลาดเคลื่อนของข้อมูล ทางผู้จัดทาจึงมีแนวความคิดที่จะทาการเชื่อมโยงข้อมูล เพื่อให้การทางาน เป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยการนาหลักการของการวางแผนความต้องการวัสดุ ( Material Requirement Planning : MRP) มาจัดทาระบบ MRP เบื้องต้น

Upload: tonny-danny

Post on 27-Dec-2015

36 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

test

TRANSCRIPT

Page 1: MRP Case Study-3

การพัฒนาต้นแบบ MRP โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel

ในโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ : กรณีศึกษา

นายฉมาธร กุยศรีกุล

บัณฑิตศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530

โทร 0-2988-3655 โทรสาร 0-29884040 E-mail [email protected]

บทคัดย่อ

สารนิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาโปรแกรม MRP ต้นแบบส าหรับบริษัทกรณีศึกษา โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel โดยบริษัทกรณีศึกษาเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์แห่งหนึ่ง ในการพัฒนาโปรแกรม MRP เริ่มจากการศึกษาปัญหาและการด าเนินงานในปัจจุบัน ด้านการวางแผนความต้องการวัสดุจากแผนกต่างๆ เช่น ฝ่ายขาย ฝ่ายวางแผน ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายจัดซื้อ และฝ่ายผลิต เป็นต้น หลังจากนั้นจึงได้หาแนวทางการแก้ปัญหาการด าเนินงานในปัจจุบันและพัฒนาโปรแกรม MRP เมื่อโปรแกรมแล้วเสร็จจึงได้ทดสอบและทดลองใช้โปรแกรม และท าการส ารวจผลการใช้งาน โดยเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการใช้โปรแกรม MRP พบว่า โปรแกรม MRP ที่พัฒนาขึ้นท าให้เกิดความสะดวกและสามารถตอบสนองการท างานได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้เวลาที่ใช้ในการท างานตั้งแต่รับค าสั่งซื้อจากลูกค้าจนเสร็จสิ้นการสั่งซื้อวัตถุดิบจากฝ่ายจัดซื้อ ลดลงจาก 255 นาที เป็น 60 นาที หรือคิดเป็น 76.47 เปอร์เซ็นต์ 1. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

กรณีศึกษา บริษัท ABC เป็นโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ซึ่งได้เปิดด าเนินกิจการในเดือน เมษายน พ.ศ. 2556 และในปัจจุบันทางบริษัทยังไม่มีระบบที่น ามาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลที่เป็นรูปธรรม ท าให้เมื่อมีความจ าเป็นที่จะต้องเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานในองค์กร หรือหน่วยงานอ่ืนๆ ที่ต้องการข้อมูล จึงต้องท าการขอข้อมูลทางการพูดคุย และส่งเอกสารทาง E-mail ท าให้เกิดความล่าช้า หรืออาจเกิดความคลาดเคลื่อนของข้อมูล ทางผู้จัดท าจึงมีแนวความคิดที่จะท าการเชื่อมโยงข้อมูล เพ่ือให้การท างานเป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยการน าหลักการของการวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning : MRP) มาจัดท าระบบ MRP เบื้องต้น

Page 2: MRP Case Study-3

2. ทฤษฎีและผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning : MRP) หมายถึง วิธีการค านวณ

เพ่ือช่วยในการควบคุมวัสดุและการวางแผนการผลิต ระบบวางแผนความต้องการวัสดุจะพิจารณาความต้องการวัสดุจนถึงระดับผลิตภัณฑ์ โดยค านวณความต้องการส่วนประกอบ ของผลิตภัณฑ์ในแต่ละช่วงเวลา เพ่ือจัดการสั่งผลิตหรือสั่งซื้อส่วนประกอบนั้นๆ โดยปัจจัยน าเข้าที่ส าคัญของระบบ MRP คือ ตารางการผลิตหลัก โครงสร้างของผลิตภัณฑ์หรือใบรายการวัสดุ และข้อมูลสถานะของการคงคลัง โดยตารางการผลิตหลักจะแสดงถึงแผนการผลิตของผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายทั้งหมด และใช้โครงสร้างผลิตภัณฑ์ และข้อมูลสถานการณ์คงคลังในการค านวณหาจ านวนวัสดุหรือชิ้นส่วนประกอบย่อย โดยมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้

ค าสั่งซื้อของลูกค้า (Customer Order)

ตารางการผลิตหลัก (Master Production Schedule : MPS)

รายการโครงสร้างผลิตภัณฑ์ (Bill of Material : BOM)

วัสดุคงคลังคงเหลือ (Inventory on Hand)

การท างานของระบบ MRP แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนน าเข้า (Input) ส่วนประมวลผล (Processing)

และส่วนผลได้ (Output)

ส่วนน าเข้า (Input) ของระบบ MRP จะประกอบด้วย

- ตารางการผลิตหลัก

- ใบรายการวัสดุ (Bill of Material)

- ข้อมูลบันทึกการรับจ่ายของคงคลัง

ส่วนประมวลผล (Processing) ประกอบด้วยการน าผลิตภัณฑ์ที่ต้องการผลิต ซึ่งก าหนดจากตาราง

การผลิตหลัก มาแจกแจงถึงรายละเอียดของจ านวนชิ้นส่วนต่างๆ ที่ต้องการ ณ เวลาต่างๆ

ส่วนผลได้ (Output) จากระบบ MRP จะประกอบด้วยรายงานต่างๆ

- แผนการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต

- ใบสั่งซื้อหรือสั่งผลิต

- รายการเปลี่ยนแปลง

3. วิธีการด าเนินงานวิจัย

บริษัทตัวอย่างเป็นบริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ในหลากหลายชิ้นส่วน และหลายยี่ห้อ ตั้งอยู่ในพ้ืนที่ จังหวังระยอง มีพ้ืนที่บริษัท 23,580 ตารางเมตร แบ่งเป็นพ้ืนที่โรงงานผลิต 7,560 ตารางเมตร พ้ืนที่ส านักงาน 540 ตารางเมตร การผลิตหลักของบริษัทเป็นการผลิตด้วยเครื่องจักรปั๊มขึ้นรูป (Stamping) และเครื่องเชื่อมจุด (Spot) โดยการผลิตเป็นแบบผลิตตามค าสั่งซื้อของลูกค้า ส าหรับลูกค้าส่วนใหญ่เป็นลูกค้า

Page 3: MRP Case Study-3

ภายในประเทศ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ Original Equipment Manufacturer (OEM) และ Aftermarket (AM) ดังรูป

การรวบรวมข้อมูลที่น ามาใช้ในการวางแผนความต้องการวัสดุ โดยการน าข้อมูลของแต่ละฝ่ายที่มี

ความเกี่ยวข้องกับการไหลของการวางแผนความต้องการวัสดุ ซึ่งพิจารณา 5 ฝ่าย ดังนี้ 1. ฝ่ายขาย 2. ฝ่าย

วางแผน 3. ฝ่ายคลังสินค้า 4. ฝ่ายจัดซื้อ 5. ฝ่ายผลิต

โดยโปรแกรมท่ีท าการพัฒนาต้นแบบจะเข้ามาช่วยในการวางแผนความต้องการวัสดุในส่วนต่างๆ ดังนี้

1. การเก็บบันทึกข้อมูลวัสดุ 2. การเก็บบันทึกข้อมูลผลิตภัณฑ์ 3. การเก็บบันทึกข้อมูลการรับจ่ายวัสดุคงคลัง 4. การเก็บบันทึกข้อมูลโครงสร้างผลิตภัณฑ์ 5. ก าหนดช่วงเวลาความต้องการผลิตภัณฑ์และค านวณความต้องการวัสดุส าหรับแต่ละช่วงเวลา

จากผังงาน (Flowchart) ระบบการวางแผนความต้องการวัตถุดิบใน Basic MRP Structure Flow

Chart สามารถน ามาอธิบายขั้นตอนการท างานได้ดังนี้

1. ลูกค้าเปิดใบ Purchase Order มายังฝ่าย Sale

2. ฝ่าย Sale รับใบ Purchase Order จากลูกค้า

3. ฝ่าย Sale เปิด Sale Order ตามใบ Purchase Order

4. ฝ่าย Planning รับ Sale Order

5. ฝ่าย Planning เช็คสินค้าส าเร็จรูปกับฝ่าย Warehouse ว่า “มี” หรือ “ไม่มี”

- “มี” สินค้า ประสานงานกับฝ่าย Sale นัดวันส่งสินค้า (Lead Time) และเปิด Invoice

พร้อมส่งใบ Packing Slip และ Delivery Order ให้กับลูกค้าเป็นที่เรียบร้อยถือว่าเป็นการเสร็จสิ้นการท างาน

Page 4: MRP Case Study-3

- “ไม่มี” สินค้า ให้ท าการตรวจเช็ควัตถุดิบส าหรับการผลิตว่า “มี” หรือ “ไม่มี”

6. ฝ่าย Warehouse เช็ควัตถุดิบ “มี” หรือ “ไม่มี”

- “มี” วัตถุดิบ บอก Planning ท าการวางแผนการผลิต

ฝ่าย Planning เช็คยอดค้างส่งสินค้า (BackLog) ว่า “มี” หรือ “ไม่มี”

- “มี” ยอดค้างส่ง ให้ Planning รวมยอดค้างส่งกับยอดใหม่เป็น Work Order

- “ไม่มี” ยอดค้างส่ง ให้ Planning ออกใบ Work Order ที่ยอดสั่งผลิตเท่ากับยอด Sale

Order ให้กับฝ่าย Production

- “ไม่มี” วัตถุดิบ ทางฝ่าย Planning ออกใบ Purchase Request ให้กับฝ่าย Purchase

เพ่ือสั่งซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต

7. ฝ่าย Purchase เปิด Purchase Order (Raw Material) ในการสั่งวัตถุดิบให้กับ Supplier

โดยจะต้องรู้ว่าวัตถุดิบจะเข้าเม่ือไร

8. Supplier ส่งวัตถุดิบให้กับฝ่าย Warehouse พร้อมใบ Invoice และ Delivery Order

9. ฝ่าย QC ท าการตรวจสอบวัตถุดิบ ว่า “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน”

- “ผ่าน” ฝ่าย QC ออกผลการ Inspect ให้กับฝ่าย Warehouse เพ่ือน าวัตถุดิบเข้าคลัง

วัตถุดิบ

- “ไม่ผ่าน” ฝ่าย QC ส่งวัตถุดิบกลับ Supplier แก้ไข

10. ฝ่าย Warehouse แจ้งฝ่าย Planning ว่าวัตถุดิบมาแล้ว

11. ฝ่าย Planning ท าซ้ าข้ันตอนข้อที่ 6 สั่งฝ่าย Production ท าการสั่งผลิตสินค้า

12. เมื่อมีวัตถุดิบทางฝ่าย Product ก็จะเอาใบ Work Order เบิกวัตถุดิบส าหรับการผลิตกับฝ่าย

Warehouse

13. ฝ่าย Production ส่งยอดการเบิกวัตถุดิบกับฝ่าย Warehouse เพ่ือตัดยอดออก

14. ฝ่าย Production ท าการผลิตจนแล้วเสร็จ

15. ผลิตเสร็จ ฝ่าย Product ส่งยอดสินค้า ยอดการใช้วัตถุดิบ และจ านวน Scrap เข้า Warehouse

16. Warehouse จัดส่งสินค้าให้ลูกค้า (ท าซ้ าข้ันตอนที่ 5)

17. จบขั้นตอนการท างาน

Page 5: MRP Case Study-3

รูป Basic MRP Structure Flow Chart

Start

Purchase Order

Sale

Planning

Warehouse

FGYes

No

MaterialYesNo

Purchase

Supplier

Production

End

Sale Order

- Packing Slip- Invoice- Delivery Order

Purchase Request

Purchase Order(RM)

- Invoice- Delivery Order

Quality Control

Inspect

Yes

No

Inspection Result

Work Order

Raw Material Raw Materail

- Finish Good Qty- Raw Material Qty- Scrap Qty

CustomerBackLogYes

No

BackLogPurchase Order

1

2

3

4

5

610

7

8

9

12

13

14

15

17

16

Page 6: MRP Case Study-3

4. ผลการด าเนินการวิจัย ผลการด าเนินการวิจัยการพัฒนาต้นแบบ MRP โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel ในโรงงานผลิต

ชิ้นส่วนรถยนต์ กรณีศึกษาโรงงาน ABC

รูปภาพรวมของโปรแกรมต้นแบบการวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP)

รูปตัวอย่างแผ่นงาน Product Part ก่อนการตัดยอดส่งสินค้าและเกิด Back Log

ตารางสรุปเวลาการท างานก่อนและหลังใช้โปรแกรมต้นแบบ MRP

รายละเอียด ระยะเวลา

ก่อนใช้โปรแกรม หลังใช้โปรแกรม

รวมเวลา กรณีไม่มีวัตถุดิบเพ่ือเชื่อมโยงกับฝ่ายจัดซ้ือ 255 นาที 60 นาที

Page 7: MRP Case Study-3

5. บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาการพัฒนาโปรแกรมต้นแบบการวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) เพ่ือเข้ามาช่วยลด

ขั้นตอนการท างานที่ซ้ าซ้อน และลดข้อผิดพลาดของการประสานงานจากการท างานฝ่ายต่างๆ ซึ่งจากการน าโปรแกรมต้นแบบมาใช้งานสามารถลดเวลาการท างานในส่วนดังกล่าวลงได้ 76.47 เปอร์เซ็นต ์

การประยุกต์ใช้โปรแกรม Microsoft Excel มาใช้งานเป็นโปรแกรมต้นแบบการวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) พัฒนาขึ้นบนโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ซึ่งการใช้งานโปรแกรมของพนักงาน ที่เก่ียวข้อง หากยังไม่มีความช านาญและความเข้าใจในการใช้งานโปรแกรม อาจเกิดความเสียหายของข้อมูล และการน าโปรแกรมต้นแบบไปทดลองใช้กับ Microsoft Excel 2010 ท าให้ทราบว่าการท างานของโปรแกรมบางจุดไม่สามารถท างานได้สมบูรณ์

การพัฒนาโปรแกรมต้นแบบการวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) โดยใช้ โปรแกรม Microsoft Excel ด าเนินการพัฒนาค่อนข้างยาก ไม่เหมาะกับการใช้งานแบบ Relational Database

บรรณนุกรม [1] ชุมพล ศฤงคารศิริ (2546). การวางแผนและควบคุมการผลิต (ฉบับปรับปรุงใหม่). พิมพ์ครั้งที่11.

กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). [2] พิภพลลิตาภรณ์ (2544). การบริหารของคงคลังระบบ MRP และ ORP. พิมพ์ครั้งที่ 4.

กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์ส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่น. [3] พิภพลลิตาภรณ์ (2552). การบริหารพัสดุคงคลัง. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์ส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่น. [4] นายวัชร ส่งเสริม (2554). การพัฒนาอัลกอริทึมส าหรับการจัดตารางการผลิตเพ่ือแก้ไขข้อจ ากัดทางด้าน

ก าลังการผลิตในระบบการวางแผนความต้องการวัสดุ. [5] กฤษฎา ชาวบางพรหม (2554). ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ส าหรับการจัดตารางการผลิตหลัก

และการวางแผนความต้องการวัสดุคงคลังกรณีศึกษา: โรงงานผลิตปลาหมึกปรุงรส. [6] ฐิติศักดิ์ ยุทธนาเสวิน (2549). การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต โดยการวางแผนตารางการผลิตหลัก

กรณีศึกษา: โรงงานเครื่องท าน้ าเย็น. [7] นายวรพล เกิดงาม (2552). การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการวางแผนความต้องการวัสดุ. [8] ผังงาน (Flowchart), มหาวิทยาลัยบูรพา, [ออนไลน์],

แหล่งที่มา : http://math.buu.ac.th/classes/mathcom/302202_LectureII_54. Pdf [9] ข้อก าหนดและข้อจ ากัดของ Excel, Microsoft [ออนไลน์],

แหล่งที่มา : http://office.microsoft.com/th-th/excel-help/HP010073849.aspx [10] ผลิตภัณฑ์, Microsoft Office, [ออนไลน์]

แหล่งที่มา : http://office.microsoft.com/th-th/products

[11] โปรโมชันพิเศษ Office 2010, ไมโครซอฟท์เผยราคา Office, Blognone, [ออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.blognone.com/node/36124