fusion magazine vol.2

48
FUSION วารสารมากสาระ ในโลกวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนิวเคลียร Magazine เวชศาสตรนิวเคลียร ประโยชนทางการแพทยที่คุณไมเคยรู Vol.2 July-Sep 2014 FREE COPY Scan to Visit official Site www.tint.or.th

Upload: thainuclear-club

Post on 23-Mar-2016

239 views

Category:

Documents


5 download

DESCRIPTION

Thai Nuclear Science Technology

TRANSCRIPT

Page 1: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSIONวารสารมากสาระ ในโลกวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนิวเคลียรM a g a z i n e

เวชศาสตรนิวเคลียรประโยชนทางการแพทยที่คุณไมเคยรู

Vol.2July-Sep 2014F R E E CO P Y

Scan to Visit offfiicial Sitewww.tint.or.th

Page 2: FUSION MAGAZINE Vol.2

2 FUSION MAGAZINE

คณะผูจัดทำ / เจาของ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)บรรณาธิการบทความ ฝายสื่อสารองคการ สทน.กองบรรณาธิการ ฝายสื่อสารองคการ สทน.นักเขียน สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข • ไขนภา รัตนรุจิกร • อังคนันท อังกุรรัตน • ดวงฤทัย ปงใจพิสูจนอักษร ชลาลัย อรุณรัตนศิลปกรรม บราวนแบร (ฺBrownbear)กราฟกดีไซน วรรษชล ธรรมวันชางภาพ / ตกแตง ประวิทย กิ้มถองพิมพที่ บริษัท อีเกิ้ล เปเปอร จำกัดจัดทำโดย บริษัท ไดดี โปรดักชั่น จำกัด 328 ถนนประเสริฐมนูกิจ 29 แยก 8 แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230 Tel : 02-943-5334 Mobile : 092-758-7977

Editor’s Talk

Editor’s Talk เร่ืองของนิวเคลียรถูกคิดคน และนำประโยชน

มาใชกอนท่ีคนจะรูจักระเบิดนิวเคลียร คงไมมีใคร

ไมรูจักนักวิทยาศาสตรผูมีชื ่อเสียงและเปนที่

รู จักในยุคนั้นอยาง มาดาม มารี คูรี ชื ่อเสียง

ของ มาดามคูรี โดงดังคูกับแรเรเดียมที่เมื่อกอน

เคยใชรักษาโรคมะเร็ง และมาดามคูรียังเปน

ผูหญิงคนแรกที่ไดรับรางวัลโนเบล อีกทั้งยังเปน

ผูหญิงคนเดียวที่ไดรับรางวัลโนเบลดานวิทยา-

ศาสตรถึง 2 คร้ัง ในสาขาฟสิกสเม่ือป ค.ศ. 1903

และสาขาเคมีเมื่อป ค.ศ. 1911 ตอมาในป

ค.ศ. 1934 เปนชวงเวลาที่คนพบปรากฏการณ

กัมมันตภาพรังสีท่ีทำข้ึนโดยมนุษย และนักวิทยา-

ศาสตรประสบความสำเร็จในการผลิตนิวไคลด

กัมมันตรังสีในหองปฏิบัติการที ่เกี ่ยวของกับ

การใชงานในทางการแพทย ในป ค.ศ. 1946

การศึกษาการใชรังสีกับการแพทยไดพัฒนา

มาเรื่อย ๆ จนถึงปจจุบัน แนนอนเราคงปฏิเสธ

ไมไดวา เราไดใชนิวเคลียรในทางการแพทย

มาทุกคน อยางนอยก็ตองถูกเอ็กซเรย กระดูก

ปอด หรืออวัยวะภายในอื่น ๆ ฉะนั้นนิวเคลียร

กับการแพทยเปนเร่ืองท่ีเก้ือหนุนกันเปนอยางมาก

และเปนกระบวนการคิดคน สรรคสรางของนัก

วิทยาศาสตร เพ่ือวินิจฉัย รักษา และสรางคุณภาพ

ชีวิตใหมนุษยเราไดอยูในโลกนี้ไดยืนยาวโดยแท

Page 3: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Contents

Contents04 Social Surround06 Do you know ประวัติเวชศาสตรนิวเคลียร08 Idea Design Innovative Design10 Cover Story เวชศาสตรนิวเคลียร16 Science Tech รักษาอาการอักเสบดวย เภสัชรังสี18 Machinery Sight อาคารผลิตเภสัชรังสีแหงแรกของไทย20 Voyage ฮิโรชิมา22 Activities News ความเคลื่อนไหว สทน.

24 Edutainment เรียน รู เลน เทคโนโลยี28 Chill Out แนะนำอาหารรานโดนใจ30 Interview มั่นใจในการรักษากับเวชศาสตรนิวเคลียร36 On the Earth ความงามที่ซอนไวซึ่งคุณประโยชน

40 เรื่องเลา Blogger นิวตันไมใชนักวิทยาศาสตรจริงหรือ ?42 Health ทริคเด็ด เกร็ดสุขภาพ44 Workshop

Health : อาหารเพิ่มพลังสุขภาพ

Do you know :ประวัติของเวชศาสตรนิวเคลียร

Voyage : ฮิโรชิมา

เนื้อหาทุกสวนภายในนิตยสาร Fusion magazine จัดทำเพื่อสงเสริมความรูความเขาใจดานวิทยาศาสตรนิวเคลียร และการเปดโลกทัศนดานอื่น ๆ ไมไดมุงหวังเพื่อการโฆษณาสินคาแตอยางใด

3

In thisissue

JOIN OUR COMMUNITY ON Thainuclearclub

1

Hilight

Cover Story : เวชศาสตรนิวเคลียรกับประโยชนทางการแพทย

LIKESHARE& FOLLOW

ติดตามและรวมกิจกรรมกับพวกเราไดที่

Page 4: FUSION MAGAZINE Vol.2

4 FUSION MAGAZINE

Social Surroundเรื่อง Greyscale

Soc

ial Sur

roun

d

Social SurroundAmazon ffiireTVเปนท่ีนาจับตามอง เม่ือ Amazon เปดตัวกลอง Amazon reTV ซึ่งมีความเร็วระดับ Quad-Core CPU มาพรอมระบบปฏิบัติการ Android เชื่อมตอผาน HDMI ความละเอียดระดับ 1080p. และระบบเสียง Dolby Digital ซ่ึงแนนอนวาเปนการประกาศตัวการแขงขันกับ Apple TV, Roku และ Chromecast อยางเปนทางการดวย สำหรับตลาดในบานเราเจา Amazon reTV จะเปนที่นิยมหรือไม ตองติดตามกันตอไปภาพ www.time.com

Foodiniใคร ๆ ก็พูดถึงเจาเครื่องพิมพอาหาร Foodini ที่มาพรอมกับความสามารถพิมพอาหารทานได 3 มิติ แบบเดียวกับท่ีเราเคยเห็นในการตูนแหงโลกอนาคตถึงแมวาตอนนี้จะยังอยูในระหวางการพัฒนาเทคโนโลยีใหมีความเปนไปไดในการประกอบอาหารหลากเมนู เจา Foodini เคยโชวฝมือในการปรุงและใหเราชิมไดแลว ซึ่งเชื่อวาจะสามารถพัฒนาเปนอาหารหลากหลาย นอกเหนือจาก ช็อกโกแลต สปาเก็ตตี้ ฯลฯ พบกับนวัตกรรมสุดเจงแนนอนภาพ www.brit.co/foodini-kickstarter

Aquaduct Veluwemeerหนึ่งในสถาปตยกรรมที่ตองยกใหกับไอเดียสุดเจงของประเทศเนเธอรแลนด Aquaduct Veluwemeer ท่ีสรางสะพานสงน้ำเช่ือมตอระหวางประเทศเนเธอรแลนดกับเกาะ Flevoland ซึ่งนับวาสะพานสงน้ำนี้เปนสิ่งกอสรางที่ถมพื้นที่เชื่อมตออันมีขนาดใหญที่สุดในโลกภาพ www.barnorama.com

Page 5: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Social Surround

5

Social S

urround

แมงกะพรุน อมตะในขณะที่มนุษยเราโหยหาความยั่งยืน หรือความเปนอมตะของชีวิต

กลับตองอิจฉาเมื่อพบวา เจาแมงกะพรุน Turritopsis Nutricula

สามารถยอนวัยได หลังจากถึงวัยผสมพันธุดวยกลไกของเซลลที่เรียกวา

Transdifferentiation ที่สามารถทำใหรางกายไมแกลงนั่นเอง

จะบอกวามันเปนอมตะก็ไดซึ่งมีวงจรอายุจากเด็กไปแก แลวก็กลับมาเด็กอีก

แบบน้ีไมส้ินสุด นอกจากมันจะถูกกินหรือทำลาย อืม..เหมือนซอมบ้ีดี ๆ น่ีเองCredit : biologypop.com

Gastronomic Voyeurismตกตะลึงกับธุรกิจที่สรางรายไดถึงเดือนละ 3 แสนบาท เปนท่ีกลาวถึงเปนอยางมากกับอาชีพใหมท่ีสรางรายไดโดยไมตองออกจากบาน หลังจากที่ ปารก โซ ยอน (Park Seo yeon) สาวสวยชาวเกาหลีใต อายุ 34 ป รับจางกินขาวผานเว็บแคม หรือ Gastronomic Voyeurism ซึ่งนับวาสรางรายไดใหเธอเปนอยางมาก เพียงกินขาวโชววันละ 3 ชั่วโมงเทานั้น สำหรับอาชีพนี้นอกจากจะสรางรายไดแลว ยังชวยใหหนุม ๆ ชาวเกาหลีที่อยูคนเดียวมีกำลังใจ และมีความสุขในการกินมากขึ้นอีกดวย

รถไฟคลาสสิกสายโคมินะโตะ (Kominato Railway)เสนทางรถไฟสายธรรมชาติที่ถือไดวามีความสวยที่สุดในญี่ปุนมีระยะทาง 39.1 กิโลเมตร โดยขนาบขางดวยวิวธรรมชาตินาหลงใหลในแบบสถานีรถไฟแบบคลาสสิก รถไฟสายโคมินะโตะ (Kominato Railway) ตนสายอยูท่ีสถานีโกะอิ (Goi Station) สุดสายท่ีสถานีคะซุนะ-คะตะโนะ (Kazusa-Nakano Station) ซ่ึงอยูไมไกลจากสนามบินนาริตะ จังหวัดชิบะ

#Thainuclearclub

Your Space : สำหรับนอง ๆ คนไหนมีเร่ืองราวนาสนใจหรือมีอะไรอยากเลา ทางทีมงานมีความยินดีที่จะลงบทความ สงกันเขามาไดที่[email protected]หรือติดตามพวกเราจาก Social ไดที่นี่

YourSpace

Page 6: FUSION MAGAZINE Vol.2

6 FUSION MAGAZINE

Do you knowที่มา : www.news-medical.net/health/History-of-Nuclear-Medicine.aspx

Do

you

know

คนพบปรากฏการณกัมมันตภาพรังสี

ทำขึ้น (Artificial Radioactivity)

คนพบไอโซโทปรังสีทำข้ึน (Artificial Isotope)

โดย เฟรเดิรก ฌอลีโย-กูวรี (Frederic

Joliot-Curie) และอีแรน ฌอลีโย-กูวรี

(Irene Joliot-Curie) ซึ่งเปนหลักไมลที่

สำคัญที่สุดในทางเวชศาสตรนิวเคลียร

1934

การผลิตนิวไคลดกัมมันตรังสี

โดยหองปฏิบัติการทดลองแหงชาติโอกริดจ

(Oak Ridge National Laboratory)

ที่เกี่ยวของกับการใชงานในทางการแพทย

1946

มีการขยายตัวของความรูที่เกี่ยวกับนิวไคลดกัมมันตรังสี การตรวจวัดกัมมันตภาพรังสี และการใชนิวไคลดกัมมันตรังสีบางอยางในการติดตามกระบวนการทางชีวเคมีBenedict Cassen พัฒนาเครื่องกราดตรวจเชิงเสน (Rectilinear Scanner) เปนครั้งแรกและกลองถายภาพแสงวับ (Scintillation Camera) หรือกลองแองเกอร (Anger Camera) ของแฮล โอ แองเกอร (Hal O. Anger’s) ซึ่งชวยขยายวิชาชีพทางเวชศาสตรนิวเคลียรดานการถายภาพทางการแพทยเฉพาะทาง

1950

ประวัติของเวชศาสตรนิวเคลียร

NuclearMedicine

Historyof

Page 7: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Do you know

7

Do you know

มีการขยายตัวของความรูที่เกี่ยวกับนิวไคลดกัมมันตรังสี การตรวจวัดกัมมันตภาพรังสี และการใชนิวไคลดกัมมันตรังสีบางอยางในการติดตามกระบวนการทางชีวเคมีBenedict Cassen พัฒนาเครื่องกราดตรวจเชิงเสน (Rectilinear Scanner) เปนครั้งแรกและกลองถายภาพแสงวับ (Scintillation Camera) หรือกลองแองเกอร (Anger Camera) ของแฮล โอ แองเกอร (Hal O. Anger’s) ซึ่งชวยขยายวิชาชีพทางเวชศาสตรนิวเคลียรดานการถายภาพทางการแพทยเฉพาะทาง

กอตั้งสมาคมเวชศาสตรนิวเคลียร

(The Society of Nuclear Medicine)

ที่ Spokane วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา

สมาคมนี้ทำใหเวชศาสตรนิวเคลียร

เจริญเติบโตอยางเปนปรากฏการณ

1954อวัยวะของรางกายสวนใหญ

อาจจะมองเห็นไดโดยการใช

วิธีการทางเวชศาสตรนิวเคลียร

ในป ค.ศ. 1971 สมาคมการแพทยอเมริกา

ไดรับการยอมรับอยางเปนทางการ

ของเวชศาสตรนิวเคลียร ในฐานะ

สิ่งที่ทำไดดีเปนพิเศษทางการแพทย

1970s

สมาคมตีพิมพวารสารของเวชศาสตรนิวเคลียร

ที่เปนวารสารชั้นแนวหนา สำหรับวิชาชีพนี้

ในอเมริกา มีชวงของการตื่นเตนของการวิจัย

และพัฒนานิวไคลดกัมมันตรังสีใหม ๆ และเภสัช

ภัณฑรังสีสำหรับใชกับอุปกรณการถายภาพสำหรับ

การศึกษาทางนอกกาย (In-Vitro) ในมวลหมูของ

นิวไคลดกัมมันตรังสีสำหรับใชทางการแพทยไมมี

อะไรสำคัญเทาการคนพบและการพัฒนาของ

เทคนีเซียม-99m

1960คณะกรรมการของเวชศาสตรนิวเคลียร

อเมริกัน (The American Board

of Nuclear Medicine) ไดเปนที่ยอมรับ

ประสานใหเวชศาสตรนิวเคลียร ในฐานะ

การแพทยเฉพาะทาง (Medical Specialty)

เภสัชภัณฑรังสีไดรับการออกแบบ

สำหรับการใชเพื่อวินิจฉัยโรคหัวใจ

การพัฒนาเครื่อง Single Photon

EmissionTomography (SPET)

1980

Page 8: FUSION MAGAZINE Vol.2

8 FUSION MAGAZINE

Idea Designเรื่อง Brownbear

Idea

Des

ign

Idea Designโลกเรานั้นหมุนไปอยางรวดเร็ว แตมีสิ่งหนึ่งที่ไมเคยเปลี่ยนเลย คือ แรงบันดาลใจของผูคนที ่จะคอยสรางสรรคงานออกแบบที ่ เต็มไปดวยนวัตกรรมใหม ๆ และจินตนาการอยางไมรูจบ วันนี้เราจึงมีงานออกแบบที่เกี่ยวของกับเทคนิคทางวิทยาศาสตร เจง ๆ มาใหดูกัน

Rocking Horse

Wood Casting / Hilla Shamiaงานไมที่ผสมผสานการหลออะลูมิเนียมเขาดวยกันผลงานออกแบบของศิลปนชาวฝรั่งเศส Credit : www.hillashamia.com

หลายคนคงจะชื่นชอบการเลนมาโยกเมื่อยังเยาววัย งานดีไซนมาไม รีไซเคิลจากธรรมชาติชิ้นนี้ ดูสนุกนาคนหาไมเบาเลยทีเดียวCredit : hillashamia.com

C-119 Rudder Desk

โตะทำงานที่ทำจากวัสดุรีไซเคิลของเครื่องบินที่ใชในสมัยสงครามเกาหลีและเวียดนาม ทราบหรือไมวาโตะตัวนี้มีชั่วโมงบินถึง 120 ชั่วโมง กอนจะมาเปนเฟอรนิเจอรสุดเทCredit : www.motoart.com

Page 9: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Idea Design

9

Thai Angle ขาวตมลูกโยน

โคมไฟดีไซนหรู แรงบันดาลใจจากขนมไทยในชวงทำบุญตักบาตรเทโว ลักษณะสามเหลี่ยมงานออกแบบไมธรรมดา แสดงคุณคาความเปนไทยCredit : [email protected]

INNOVATIVE DESIGN

The Kai Tableผลงานของนักออกแบบชาวญี่ปุน Naoki Hirakoso และ Takmitsu Kitahara ที่เต็มไปดวยกลิ่นอายแหงเอเชียตะวันออก พรอมบานเลื่อนสลับซับซอนมีชองเก็บของมากมาย เหมือนคายกลเพิ่มลูกเลนในการใชงานอยางมีดีไซนใครที่ชอบใสอะไรไวในโตะตัวนี้ ระวังจะหาไมเจอกันนะCredit : www.hirakoso.jp

Page 10: FUSION MAGAZINE Vol.2

10 FUSION MAGAZINE

Cover Storyเรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

Cov

er S

tory

เวชศาสตร นิวเคลียรกับประโยชนทางการแพทย

การวินิจฉัยและรักษาโรคโดยใชรังสี มีมานานไมต่ำกวา 100 ป หลายทานอาจรูจักและคุนเคยกับการตรวจดวยการฉายรังสี (X-ray) เอ็กซเรยคอมพิวเตอร (CT Scan) หรือการตรวจรางกายดวยคลื่นแมเหล็กไฟฟา (MRI) แตจะมีนอยคนที่รูจักหรือเคยตรวจโรคดวยวิธีทางเวชศาสตรนิวเคลียร

“เวชศาสตรนิวเคลียร” คือ การนำสาร

ท่ีเรียกวากัมมันตรังสีมาใช เพ่ือชวยในการ

ตรวจวินิจฉัยและรักษาโรค ปจจุบันใน

วงการแพทย ไดนำสารกัมมันตรังสีมาใช

ประโยชนในการตรวจวินิจฉัย และรักษา

โรคอยางมากมาย อาทิ ใชเพื่อตรวจ

วินิจฉัยการแพรกระจายของมะเร็งมายัง

กระดูก ตรวจวินิจฉัยภาวะกลามเน้ือหัวใจ

ขาดเลือด ตรวจการทำงานของไต ตรวจการ

ทำงานของระบบทางเดินอาหาร เปนตน

ในปจจุบันการรักษาโรคดวยสาร

กัมมันตรังสีไดมีการยอมรับกันอยาง

แพรหลาย โดยเฉพาะการใชสารกัมมันต-

รังสีไอโอดีน (I-131) เพื ่อรักษาภาวะ

ตอมไทรอยดเปนพิษและมะเร็งตอม

ไทรอยด พบวา สามารถรักษาโรคไดอยาง

มีประสิทธิภาพ กอนอื่นเราควรทำความ

รู จ ักวา “สารกัมมันตรังสี” คืออะไร

สารกัมมันตรังสี ค ือ สารที ่สามารถ

ปลดปลอยพลังงานออกมาในรูปรังสี ซ่ึงรังสี

ท่ีปลดปลอยออกมามีหลายชนิด เชน รังสี

บีตา รังสีแกมมา เปนตน ซึ่งรังสีตาง ๆ

เหลาน้ีไดถูกนำมาใชประโยชนทางการแพทย

อยางมากมาย และในชีวิตปกติของเราน้ัน

อาจยังไมรูวา เราน้ันไดหยิบจับหรือสัมผัส

สารเหลานี้มาตลอดทั้งชีวิต เราจึงจำเปน

ตองศึกษาเรื่องราวและความรูความเขาใจ

เกี่ยวกับ “เวชศาสตรนิวเคลียร”

ปจจัยสำคัญตอคุณภาพในการบำบัด

ความปวยไขของผูปวยมีดวยกัน 2 ประการ

ไดแก การวินิจฉัยที่ถูกตอง และการใหการ

รักษาดวยวิธีการที่เหมาะสม สำหรับการ

ตรวจวินิจฉัย เทคโนโลยีนิวเคลียรมีบทบาท

ในการเสริมคุณภาพของการตรวจใหมีความ

ถูกตองและแมนยำย่ิงข้ึน ดวยขอดีของสาร

กัมมันตรังสีที ่มีความไวสูง เมื ่อนำไปติด

เขากับสารใด ๆ จะสามารถติดตามไดงาย

แมเมื่อสารที่ตองการตรวจในปริมาณเพียง

เล็กนอย เวชศาสตรนิวเคลียรจึงนำหลักการ

ในขอนี้ของสารกัมมันตรังสีมาใชประโยชน

ในการตรวจหาความปวยไขอันเน่ืองมาจาก

กายวิภาคที่ผิดปกติ โดยการใหเภสัชรังสี

ซึ ่งไดแก การติดสารรังสีเขากับสารที ่มี

ความสามารถที่จะเคลื่อนที่ผานหรือถูกจับ

หรือสะสม ในอวัยวะเปาหมายที่ตองการ

แลวจึงใชเครื่องวัดรังสีตรวจติดตามความ

ผิดปกติของการเคลื่อนที่หรือการสะสมที่มี

ตอเนื้อเยื่อหรืออวัยวะนั้น ๆ จึงสามารถ

วินิจฉัยไดตั ้งแตเริ ่มแรก และยังจะชวย

ใหทำการรักษาไดผลยิ่งขึ้น

Page 11: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Cover Story

11

Page 12: FUSION MAGAZINE Vol.2

Cover Story

12 FUSION MAGAZINE

Cov

er S

tory

การวินิจฉัยโรคดวยสารกัมมันตรังสี

อาศัยหลักการเชนเดียวกับการใชสาร

กัมมันตรังสีในการรักษาโรค คือ หลังจาก

ที ่ผ ู ป วยไดร ับสารกัมมันตรังสีเขาไป

ซึ่งอาจจะไดรับโดยการฉีด รับประทาน

หรือการหายใจเขาไป สารกัมมันตรังสี

จะเขาไปตามสวนตาง ๆ ของรางกาย

ที่มีความเฉพาะเจาะจง จากนั้นจะแผ

รังสีแกมมาออกมา (รังสีแกมมา เปนรังสี

ที ่ไมสามารถมองเห ็นด วยตาเปลา)

โดยรังสีแกมมาจะแสดงตำแหนงที่ผิด

ปกติจากภายในรางกายออกมา ซ่ึงแพทย

จะใชเคร่ืองมือชนิดพิเศษทำการตรวจจับ

รังสีแกมมา แลวนำมาสรางภาพตาง ๆ

ภาพที่ไดจะถูกประมวลผล โดยแพทย

ผูเชี่ยวชาญทางดานเวชศาสตรนิวเคลียร

เพื่อใหการวินิจฉัยโรคแกผูปวย

นอกจากกายวิภาคแลว โรคภัยบาง

ชนิดจะกอใหเกิดความผิดปกติของอวัยวะ

และเนื้อเยื่อ รังสีเอ็กซเขามามีบทบาท

ในงานรังสีวินิจฉัย ทำใหสามารถมอง

เห ็นสร ี ระของเนื ้อ เยื่อที ่เปลี ่ยนไป

แมความผิดปกตินั้นจะอยูลึกเขาไปภาย

ในรางกาย เม่ือวิทยาการดานคอมพิวเตอร

มีความกาวหนาข้ึน ท้ังเวชศาสตรนิวเคลียร

และรังสีวินิจฉัยไดรับอานิสงคดวยการ

นำเทคนิคโทโมกราฟเขามาประยุกต

เกิดเปนเครื ่องมือที่สามารถสรางภาพ

3 มิติ ของอวัยวะได ขณะที่รังสีวินิจฉัย

มีเครื ่อง CT เวชศาสตรนิวเคลียรก็มี

เครื ่อง SPECT และ PET ตอมาจึงมี

การรวมเคร่ืองมือท้ัง 2 ดานเขาไวดวยกัน

เปน SPECT/CT และ PET/CT ทำให

สามารถตรวจความผิดปกติของกายวิภาค

และสรีระของผูปวยพรอม ๆ กัน สงผล

ใหทราบทั้งความผิดปกติและตำแหนง

ที่เปนไดอยางแมนยำ ในดานของเภสัช

รังสีก็มีการพัฒนาอยูตลอด เชน การนำ

สารประกอบเปปไทดและแอนติบอดี

การใชรังสีวินิจฉัยในเวชศาสตร

ซึ ่งเปนสารชีวโมเลกุล ที ่มีความเฉพาะ

เจาะจงมากและเปนตัวบงชี้โรคมาเตรียม

เป นเภส ัชรังสี จึงทำให ความแมนยำ

ของการวินิจฉ ัยสูง อ ันเป นประโยชน

อยางมากตอการวางแผนรักษา

ในสวนของการบำบัดรักษา ไดมีการ

นำเทคโนโลยีนิวเคลียรเขามาสงเสริม

คุณภาพทางการแพทย ตั้งแตการฉายรังสี

เพื ่อบำบัดเนื ้องอกและมะเร็งของอวัยวะ

ที่อยูลึก ๆ เขาไปในรางกาย และการฝงสาร

กัมมันตรังสีเขาไปในบริเวณเนื้องอก ตอมา

เมื่อประสบผลสำเร็จในการพัฒนาเภสัชรังสี

เพ่ือการวินิจฉัยรักษาโรคดวยสารกัมมันตรังสี

อาศัยหลักการ คือ หลังจากท่ีผูปวยไดรับสาร

Page 13: FUSION MAGAZINE Vol.2

Cover Story

FUSION MAGAZINE 13

Cover S

tory

กัมมันตรังสี โดยการรับประทานหรือฉีดเขา

ไปในรางกาย สารกัมมันตรังสีน้ันจะเขาสู

อวัยวะหรือเน้ือเย่ือท่ีมีความเฉพาะเจาะจง

และมีผลทำใหเนื้อเยื่อสวนนั้นไดรับรังสี

อยางเต็มท่ีโดยตรง ขณะเดียวกันเน้ือเย่ือ

ท่ีอยูขางเคียงจะไดรับปริมาณรังสีในระดับ

ต่ำจึงลดอันตรายจากรังสีตอเน้ือเย่ือปกติ

และทำใหสามารถบริหารสารกัมมันตรังสี

ซ้ำไดหลายครั้งโดยไมตองกังวลวาจะทำ

ใหเกิดผลแทรกซอนตอเนื้อเยื่อปกติอื่น

สำหรับประสิทธิภาพของการรักษาโรค

ดวยสารกัมมันตรังสีพบวามีประสิทธิภาพสูง

ในการรักษา อาทิ ผู ปวยภาวะตอมไท-

รอยดเปนพิษ สามารถหายจากโรคหลังจาก

รับประทานสารกัมมันตรังสีไอโอดีนเพียง

ครั้งเดียวถึง 60% ผูปวยมะเร็งตอมไทรอยด

บางชนิดพบวามีอัตราการตายต่ำลง หลังจาก

ไดรับการรักษาดวยสารกัมมันตรังสี และผูปวย

ที่มีอาการปวดกระดูกจากการแพรกระจาย

ของมะเร็งพบวา 70% ของผูปวยหลังไดรับ

การรักษามีอาการปวดลดลง และมีคุณภาพ

ชีวิตดีขึ้น

สำหรับการแพทยในประเทศไทย การพัฒนา

เทคโนโลยีนิวเคลียรดานการตรวจวินิจฉัย

คอนขางเจริญกาวหนามาก มีการนำเคร่ืองมือ

ทันสมัยและการพัฒนาเภสัชรังสีสำหรับการ

วินิจฉัยอยางตอเน่ือง แตในสวนของเภสัชรังสี

สำหรับการบำบัดคอนขางจำกัด เนื่องจาก

ขอจำกัดของเครื่องมือที่ใชในการผลิตสาร

กัมมันตรังสี ทำใหตองนำเขาจากตางประเทศ

ดวยราคาท่ีแพงมาก นอกจากน้ี ยังมีขอจำกัด

ในเร่ืองของตัวยาท่ีจะนำมาประกอบกับสารรังสี

บางชนิดตองนำเขาดวยราคาที่แพงเกินกำลัง

ความสามารถที่ผูปวยจะแบกรับได และบาง

ชนิดก็ไมมีจำหนาย สงผลใหผูปวยไมไดรับ

การบำบัดดวยวิธีการที่เหมาะสมกับโรคที่เปน

การวินิจฉัยโรคดวยสารกัมมันตรังสี

อาศัยหลักการเชนเดียวกับการใชสาร

กัมมันตรังสีในการรักษาโรค คือ

หลังจากที่ผูปวยไดรับสารกัมมันต-

รังสีเขาไป ซึ่งอาจจะไดรับโดยการฉีด

รับประทานหรือการหายใจเขาไป

สารกัมมันตรังสีจะเขาไปตาม

สวนตาง ๆ ของรางกายที่มีความ

เฉพาะเจาะจง จากนั้นจะแผรังสี

แกมมาออกมา (รังสีแกมมา เปนรังสี

ที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา)

อยางที่เห็นดังภาพ

Page 14: FUSION MAGAZINE Vol.2

รังสีรักษาในเวชศาสตรนิวเคลียร

(Treatment in Nuclear Medicine)

14 FUSION MAGAZINE

ในการทดสอบการถ ายภาพทาง

เวชศาสตรนิวเคลียร การฉีดสารกัมมัน-

ตรังสีเขาไปในรางกายจะไมเปนอันตราย

แกคนไข ไอโซโทปรังสีท่ีใชทางเวชศาสตร

จะสลายไปในระยะเวลาอันรวดเร็ว ในชวง

เปนนาทีหรือช่ัวโมงและมีระดับการแผรังสี

ที ่นอยกวาการฉายรังสีเอ็กซ หรือการ

กราดตรวจแบบ CT และจะถูกขับออกมา

ทางปสสาวะ หรือการเคล่ือนไหวของลำไส

เครื่องวินิจฉัยสรางภาพระบบหมุนเวียนของเลือดและตรวจกระดูก (SPECT, Cardiovascular Imaging and Bone Scanning)

ถายออกมา แตบางเซลลอาจไดรับผลกระทบ

จากรังสีชนิดกอไอออน (แอลฟา บีตา แกมมา

และรังสีเอ็กซ) โดยเซลลมีการแบงตัวเพิ่ม

ปริมาณดวยอัตราที่แตกตางกัน และเซลล

ที่มีการแบงตัวอยางรวดเร็วเพิ่มปริมาณ

จะมีผลกระทบอยางรุนแรงมากกวาเซลล

ที ่มีมาตรฐานในการแบงตัวเพิ่มปริมาณ

ดวยเหตุผลจากคุณสมบัติ คือ เซลลที่

สามารถซอมแซมความเสียหายของ DNA

ถาเซลลมีการตรวจพบวา DNA มีความ

เสียหายขณะแบงตัว ก็จะมีกระบวนการ

ทำลายตัวเอง เซลลท่ีมีการแบงตัวเพ่ิมปริมาณ

อยางรวดเร็ว จะมีชวงเวลานอยสำหรับกลไก

ในการซอมแซม เพื่อตรวจหาและแกไขขอ

ผิดพลาดของ DNA กอนที่จะมีการแบงตัว

ดังนั้น กระบวนการทำลายตัวเอง เมื่อเกิด

ความเส ียหายของเซลลจากการแผร ังสี

จึงลดนอยลง

Page 15: FUSION MAGAZINE Vol.2

Cover Story

FUSION MAGAZINE 15

Cover S

tory

สำหรับ Fusion Magazineฉบับนี ้ เปนอยางไรกันบางคะคงจะไดทราบถึงความสำคัญของเวชศาสตรนิวเคลียรกันไปเป นที่เร ียบร อย ซึ่งม ีความสำคัญตอรางกายเราโดยตรงทีเดียว ท้ังเร่ืองสุขภาพ โรคภัยและเซลลในรางกายเรา ไมไกลตัวเลยใชไหมละ ในฉบับหนาทีมงานยังมีความรู เรื่องราวสาระดี ๆ ที่จะมาเติมเต็มความเขาใจใหกับนอง ๆ สวนจะเปนเรื่องอะไรนั้นตองติดตามกันในฉบับหนา

เนื่องจากโรคมะเร็งมีหลายรูปแบบที่เซลลมีการแบงตัวเพิ่ม

ปริมาณอยางรวดเร็วซึ่งบางครั้ง อาจสามารถที่จะบำบัดรักษา

โดยการฉายรังสี เชน การใชสายลวดกัมมันตรังสี หรือวาง

แหลงกำเนิดรังสีไวใกล หรือรอบ ๆ บริเวณเนื้องอก

สำหรับเนื้องอกที่อยูลึกลงไปหรือเนื้องอกที่ไมสามารถปฏิบัติ

การดังกลาวได ก็จะใชรังสีแกมมาที่มีความเขมทางรังสีสูง

เนนเฉพาะเจาะจงไปที่จุดเนื้องอกนั้น ปญหาที่เกิดขึ้นกับการ

รักษาน้ี คือ เซลลปกติท่ีมีการสรางตัวเองไดรวดเร็ว สามารถท่ีจะ

ไดรับผลกระทบไปพรอมกับเซลลที่ผิดปกติ เชน เซลลของผม

เซลล เนื ้อเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส เซลลผิวหนัง

เซลลเม็ดเลือด โดยเซลลเหลาน้ีมีการสรางตัวเองไดอยางรวดเร็ว

ดังนั้น จึงไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจากการแผรังสี ขอนี้จึง

เปนสวนที่ชวยอธิบายวา ทำไมเมื่อไดรับการบำบัดรักษามะเร็ง

ดวยการฉายรังสีบอย ๆ แลวทำใหผมรวงและมีอาการคลื่นไส

วัสดุนิวเคลียรยังใชเพื่อการทำเปนสารกัมมันตรังสีแกะรอย

(Radioactive Tracers) ที่สามารถฉีดเขาไปในกระแสเลือด

ก็จะเปนรูปแบบหนึ่งในการแกะรอย ติดตามการไหลเวียน

ของเลือด และชวยใหเห็นถึงโครงสรางของหลอดเลือดทั้งหมด

การเฝาสังเกตจะชวยใหทราบถึงการอุดตัน หรือความผิดปกติ

ของเสนเลือดอ่ืน ๆ ท่ีจะตรวจพบไดงาย นอกจากน้ี อวัยวะตาง ๆ

ในรางกายจะมีความจำเพาะที่จะสะสมของสารเคมีบางอยาง

เชน ตอมไทรอยดจะเปนที่สะสมของไอโอดีน ดังนั้น การฉีด

หรือกินสารละลายไอโซโทปรังสีของไอโอดีน ก็สามารถที่จะใช

เพื่อการตรวจหาเนื้องอกของไทรอยดได ซึ่งในทำนองเดียวกัน

เซลลมะเร็งท่ีมีการสะสมของพวกฟอสเฟส โดยการฉีดไอโซโทป

รังสีฟอสฟอรัส-32 เขาไปในกระแสเลือด เนื้องอกสามารถที่จะ

ตรวจพบไดจากการที่ปริมาณรังสีเพิ่มมากขึ้น

Page 16: FUSION MAGAZINE Vol.2

16 FUSION MAGAZINE

Science Techเรื่อง : อังคนันท อังกุรรัตน

Sci

ence

Tec

h

การอักเสบ (Inffllammation) หมายถึง ปฏิกิริยาการตอบสนอง

ที่ซับซอนของเนื้อเยื่อ ตอสิ่งที่กอภยันตราย (Injurious Agent)

และตอเซลลหรือเน้ือเย่ือท่ีเสียหายหรือตายลง เชน เช้ือโรค เซลลท่ี

เสื่อมสภาพหรือการระคายเคือง ปฏิกิริยาที่สำคัญในการอักเสบ

ไดเแก การเปล่ียนแปลงของหลอดเลือด การเคล่ือนตัวของเม็ดเลือดขาว

(Leukocyte) ออกจากหลอดเลือดเขาสูเน้ือเย่ือ หรือการเปล่ียนแปลง

ในหลายระบบของรางกาย ปฏิกิร ิยาเหลานี ้เกิดขึ ้นในระบบ

หลอดเลือดฝอยภายในเนื้อเยื่อ (Microcirculation) เปนปฏิกิริยา

ที่ชวยปกปองเนื้อเยื ่อและกำจัด

สิ่งที่กอภยันตราย (โดยใชวิธีกำจัด

หรือทำใหเจือจางหรือจำกัดบริเวณ)

รวมท้ังกำจัดเน้ือเย่ือเสียหายหรือตายลง

หากไมมีการอักเสบเกิดข้ึน เช้ือโรค

จะไมถูกกำจัดออกไป และแผล

จะไมถูกรักษาใหหาย ซึ่งอาจเกิด

ความเสียหายของเนื้อเยื่อมากขึ้น

จนอันตรายถึงชีว ิต ไดแตทั ้งนี ้

อาการอักเสบท่ีมีมากเกินไปก็สามารถ

ทำใหเกิดโรคตาง ๆ เชน โรคทอ

เลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง

และขออักเสบรูมาทอยด ดวยเหตุน้ี

ร างกายจ ึงต องม ีกระบวนการ

ควบคุมการอักเสบอยางใกลชิด

นอกจากนี้ การอักเสบยังมีบทบาทในการเริ ่มตนซอมแซม

(Repair) เซลลและเนื้อเยื่อที่เกี่ยวของกับการอักเสบจำนวนมาก

ไดแก เซลลเม็ดเลือดชนิดตาง ๆ (เซลลเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือด)

หลอดเลือด เนื้อเยื่อที่เกี่ยวพัน (Conective Itssue) ทั้งในสวน

ของเซลลและสวนของโครงราง กระบวนการอักเสบมีความสัมพันธ

แมวากระบวนการทั้งสองจะเกิดขึ้นเพื่อการกำจัดภยันตรายตอ

เนื้อเยื่อ แตก็อาจกอใหเกิดผลเสียที่เปนอันตรายตอรางกายได

ปจจุบันการอักเสบอันเนื่องมาจากการติดเชื้อ (Infection)

เปนสาเหตุของอัตราการตายซึ่งเกิดขึ้นในประเทศที่กำลังพัฒนา

และมีการแพรหลายไปทั่วโลก โดยวิธีการตรวจวินิจฉัยเชื้อมีหลาย

วิธี อาทิ การใชยาตานแบคทีเรียสำหรับการตรวจวินิจฉัยและรักษา

หรือการใชเทคนิคทางเวชศาสตรนิวเคลียรในการวินิจฉัยเชื ้อ

ในกรณีที ่ผู ปวยมีไขโดยไมทราบสาเหตุ และในผูปวยติดเชื ้อที ่

ไมสามารถวินิจฉัยไดโดยวิธีอื่น ๆ

ซ่ึงวิธีเหลาน้ีมีขอเสีย คือ ไมสามารถ

ระบุตำแหนงติดเช้ือไดอยางแนนอน

แมวาจะเปนวิธีที่ไว (Sensitivity)

ในการตรวจวินิจฉัยเช้ือน้ัน ๆ ก็ตาม

เชน เม็ดเลือดขาวที่ติดฉลากดวย

In-111 หรือ Tc-99m (Labelled

WBC) ใหผลการวินิจฉัยคอนขางดี

แตขอเสียคือ มีวิธีการเตรียมท่ียาก

โดยตองอาศัยผูเช่ียวชาญเปนพิเศษ

ในการตรวจวินิจฉัยและตองท้ิงระยะ

การถายภาพหลังจากฉีด Labelled

WBC เขาสูผูปวยเปนระยะเวลา

นานเพื่อที่จะใหไดผลที่ดี นอกจาก

นั ้นยังนิยมใช Ga-67 Citrate

และ Human Immunoglobulin (HIG) ที่ติดฉลากดวย In-111

หรือ Tc-99m ในการวินิจฉัยอีกทางหนึ่ง ซึ่งมีขอดี คือ สามารถ

เตรียมไดงายแตก็มีขอเสีย คือ มีอัตราการถูกกำจัดออกจากเลือด

(ฺBlood Clearance) ชาซึ ่งทำใหผู ปวยตองรอเวลานานหลาย

ชั่วโมงเพื่อใหไดภาพถายที่ดี

วินิจฉัยการอักเสบดวย

สารเภสัชรังสีTc-99m (99m Tc-Ciproffll floxacin)

Page 17: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Science Tech

17

Science Tech

ยาไซโปรฟลอกซาซิน (Ciproflfflloxacin)

จัดเปนยาปฏิชีวนะกลุมควิโนโลน (Quino-

lones) ท่ีมีการใชแพรหลายในโรงพยาบาล

ชื่อที่คุ นหู ไดแก ไซโปรเบ (Ciprobay)

มีสรรพคุณ (คุณสมบัติ) ใชรักษาอาการ

ต ิดเชื ้อของหูชั้นกลาง ไซน ัสอ ักเสบ

ทางเดินปสสาวะอักเสบ กระเพาะปสสาวะ

อักเสบ และการติดเชื้อในกระแสเลือด

ยาไซโปรฟลอกซาซิน มีกลไกการออกฤทธ์ิ

ย ับย ั ้งการสังเคราะหสารพันธ ุกรรม

ของแบคทีเรียท่ีเรียกวา ดีเอ็นเอ จึงสงผล

ยับยั ้งการแพรพันธุ ของแบคทีเร ียได

จากคุณสมบัติของยาดังกลาว จึงไดนำยา

ชนิดนี ้มาติดฉลากรังสีด วย Tc-99m

(99m Tc-Ciprofflloxacin) เพ่ือใชประโยชน

ของรังสีในการตรวจวินิจฉัยบริเวณที่

เกิดอาการอักเสบ

99m Tc-Ciprofflloxacin จึงเปนอีก

ทางเลือกหนึ่งในการวินิจฉัยการติดเชื้อ

ดังกลาว ซึ ่งมีขอดีคือสามารถวินิจฉัย

การติดเชื ้อที่มีความเฉพาะเจาะจงตอ

บริเวณท่ีเกิดการอักเสบโดยเฉพาะท่ีกระดูก

(Bone) ขอ (Joint) และเนื้อเยื่อออน

(Soft Tissue) ซึ่งมีขอดี คือ มี Blood

Clearance เร ็ว และใหภาพชัดเจน

เน่ืองจากเปนสารเภสัชรังสีท่ีเตรียมไดงาย

และมีราคาถูกเมื่อเทียบกับสารตัวอื่น ๆ

ที่ไดกลาวมาขางตน

ซึ ่งปจจุบันสารเภสัชรังสี 99m Tc-Ciprofflloxacin (Infection) ศูนยไอโซโทปรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ไดผลิตและจำหนายเพื่อบริการแกโรงพยาบาลตาง ๆ เปนที่เรียบรอยแลว เชน โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ เปนตน โดยสารเภสัชรังสี 99m Tc-Ciprofflloxacin ที่เตรียมได จะมีลักษณะเปนสารละลายใสไมมีสี เปนสารที่สามารถนำมาใชในการวินิจฉัยบริเวณที่เกิดการอักเสบอันเนื ่องจากการติดเชื ้อได โดยมีความบริสุทธิ ์ทางเคมีรังสีไมนอยกวา 90% มีความคงตัว 6 ช่ัวโมง ท่ีอุญหภูมิหอง และมีการกระจายตัวไปบริเวณท่ีติดเช้ือได 0.25-0.56% และมีความเปนกรด-เบส (pH) เท าก ับ 4.0-5.0 ม ีความปลอดเช ื ้อ (S te r i le ) ปราศจากไพโร เจน (Pyrogen Free) และปลอดสารพิษ (Non Toxic)

Page 18: FUSION MAGAZINE Vol.2

18 FUSION MAGAZINE

Machinery SightMachinery Sightเรื่อง / ภาพ : ศูนยไอโซโทปรังสี สทน.

Mac

hine

ry S

ight

อาคารผลิตยาฉีด เภสัชรังสี แหงแรกของประเทศไทย จากการที่ศูนยไอโซโทปรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)เปนหนวยงานที่มีภารกิจหลักในการผลิตสารเภสัชรังสี (Radiopharmaceuticals) สำหรับการตรวจวินิจฉัย หรือการบำบัดรักษา เพื ่อใหบริการแกโรงพยาบาลที ่มีหนวยงานเวชศาสตรนิวเคลียรทั่วประเทศ ทั้งในภาครัฐบาลและเอกชนประมาณ 25 แหง ซึ่งสารเภสัชรังสีหรือเภสัชภัณฑรังสีจัดเปนยา จึงจำเปนที่จะตองอยูภายใตการควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระบวนการผลิตสารเภสัชรังสีจึงตองมีการควบคุมใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตยาหรือที่เรียกวา GMP (Good Manufacturing Practice) เพื่อใหเกิดความมั่นใจวายาที่ผลิตไดมีคุณภาพ ปลอดภัย และมีประสิทธิผลในการรักษา

สารเภสัชรังสีที ่ผลิตจากศูนยไอโซโทปรังสี

สวนใหญอยูในรูปแบบยาฉีดซ่ึงเปนกลุมยาท่ีมีความ

เขมงวดกวายาในหมวดอ่ืน เพราะเปนยาท่ีตองควบคุม

ในเรื่องของการทำใหปราศจากเชื ้อ ไพโรเจน

และอนุภาคตาง ๆ ท่ีไมตองการ แมจะมีการผลิตยา

ฉีดท่ีศูนยไอโซโทปรังสีท่ีสาขาจตุจักร แตเม่ือขอกำหนด

เรื่องสถานที่ผลิตยาฉีดมีความเขมงวดและสถานที่

ผลิตสาขาจตุจักรไมสามารถปรับปรุงใหสอดคลอง

กับมาตรฐานได ศูนยไอโซโทปรังสี จึงมีแนวคิดจัดทำ

โครงการสรางอาคารผลิตยาฉีดปราศจากเช้ือสำหรับ

สารเภสัชรังสีท่ีสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ

(องคการมหาชน) สำนักงานใหญ อำเภอองครักษ

โดยในข้ันตอนการออกแบบไดมีการประสานงาน

กับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จนกระท่ัง

ไดแบบท่ีสมบูรณท่ีไดรับการรับรองแบบเปนท่ีเรียบรอย

เพ่ือใชเปนแบบในการกอสรางอาคารและเร่ิมดำเนิน

การกอสรางสวนของอาคารตั้งแต เดือนกันยายน

2552 จนแลวเสร็จในเดือนกุมภาพันธ 2554

Page 19: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Machinery Sight

19

Machinery S

ight

การผลิตเภสัชภัณฑรังสีอาจไมเหมือนกับการผลิต

ยาท่ัวไป เพราะปริมาณหรือ Scale การผลิตจะนอย

กวาเม่ือเทียบกับการผลิตยาท่ัวไป ศูนยไอโซโทปรังสี

ไดนำระบบ GMP เขามาใชในการผลิต ซึ่งหมาย

ความวาจะตองควบคุมดูแลปจจัยที่เกี ่ยวของกับ

การผลิต ไดแก การฝกอบรมบุคลากร การควบคุม-

เคร่ืองมืออุปกรณท่ีใชผลิต วิธีการผลิต สภาวะแวด-

ลอม และจัดหาพื้นที่สะอาด จัดการเอกสารที่เกี่ยว

ของกับการผลิต การตรวจสอบความถูกตองของ

เคร่ืองมือและวิธีการ นอกจากน้ียังตองดูแล ควบคุม

ติดตามในเรื่องความปลอดภัยทางรังสี จึงนับวา

เปนเรื่องที่ยากกวายาทั่วไป และยังเปนการเพิ่ม

คาใชจายเปนอันมาก

ภายในอาคารสวนที่ใชผลิตยาประกอบดวยหองคลีนรูมระดับตาง ๆ กัน แบงตามความเสี่ยงของกิจกรรมที่ปฏิบัติ ซึ่งคลีนรูม (Cleanroom) หมายถึง หองหรือบริเวณปดที่มีการควบคุมสภาวะแวดลอมภายในหอง ไดแก อนุภาคสิ่งเจือปน (Airborne particles) จุลินทรีย อุณหภูมิ ความชื้น ความดันอากาศ รูปแบบการไหลของอากาศ เปนตน

อาคารผลิตยาฉีดเปนอาคารที่มีพื้นที่เฉพาะชั้นลางสวนผลิตประมาณ 1,600 ตารางเมตร (40x42 เมตร รวมทางเดินรอบพื้นที่ผลิต) แบงเนื้อที่อาคารเปน 2 สวนเทากัน ดานหนึ่งใชผลิตยาฉีดที่ยังไมไดประกอบเขากับสารไอโซโทปรังสี ไดแก Cold Kit สวนอีกดานหนึ่งเปนพื้นที่สำหรับการผลิตยาฉีดที่มีสารไอโซโทปรังสีประกอบอยู ภายในเปนหองผลิตขนาดใหญเกรด C ภายในหองบรรจุ Isolator ที่ใชผลิตยาฉีดกลุม Labeled Compound Isolator ทำหนาที่เสมือนหองเกรด A หรือ B ขนาดเล็กที่ควบคุมความสะอาดในขณะผลิต และตัวตูบุดวยตะกั่วเพื่อกำบังรังสี

อยางไรก็ตามศูนยไอโซโทปรังสี ของสถาบันฯ

ยังมีนโยบายท่ีจะบริการและตอบสนองความตองการ

การใชประโยชนจากเทคโนโลยีนิวเคลียร

ของสังคมไทยโดยเฉพาะทางการแพทย ดวยผลิตภัณฑ

และบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลในราคา

ที่เหมาะสมตามตนทุน ซึ่งนโยบายดังกลาวจะทำให

ประชาชนเกือบทุกระดับมีโอกาสไดใชประโยชน

ของเทคโนโลยีนิวเคลียรอยางทั่วถึง และศูนยไอโซ

โทปรังสีหวังที่จะมีสวนรวมในการพัฒนาพื้นฐาน

สุขภาพอนามัยท่ีดีของประชาชน

ผนัง พื้น และเพดาน ทำมาจากแผนเหล็กชุบสังกะสีเรียบ ปราศจากรอยแตกราว ไมปลอยอนุภาค เคลือบสีรองพื้นดวย Epoxy แกนกลาง (Core) เปนโพลียูรีเทนโฟม (Polyurethane Foam) ไมมีซอกมุม เพดานไรรอยตอ ไมปลอยฝุนละออง และทนทานตอยาที่ตองการผลิต น้ำยาทำความสะอาดหรือฆาเชื้อ ผนังและเพดานมีความเปนฉนวน ก็จะสามารถประหยัดพลังงานในการรักษาอุณหภูมิใหคงที ่

ภาพตัวอยางผลิตภัณฑยาที่ผลิตโดย ศูนยไอโซโทปรังสีแหงนี้

Page 20: FUSION MAGAZINE Vol.2

20 FUSION MAGAZINE

ฮิโรชิมา

ญี่ปุน เปนประเทศหมูเกาะในภูมิภาค

เอเชียตะวันออก ตั ้งอยู ในมหาสมุทร-

แปซิฟก ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทร

เกาหลีและสาธารณรัฐประชาชนจีน

โดยมีทะเลญี่ปุ นกั ้นสวนทางทิศเหนือ

ติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค

เปนเสนแบงแดน ตัวอักษรคันจิของญ่ีปุน

แปลวาถ่ินกำเนิดของดวงอาทิตย จึงทำให

บางครั้งถูกเรียกวาดินแดนอาทิตยอุทัย

นับตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ญี่ปุนไดยกเลิก

วีซาสำหรับนักทองเที่ยวไทยที่ตองการไปเที่ยวญี่ปุน

ไมเกิน 15 วัน อันนำมาซ่ึงความยินดีของพวกชอบเท่ียว

แตไมอยากเสียเวลาขอวีซาอยางใครหลาย ๆ คน ท่ีสำคัญ

หากตองย่ืนขอวีซา อาจถูกปฏิเสธจนอดไปเท่ียวกันพอดี

15 วัน เปนเวลาที ่เพียงพอกับการเที ่ยวญี่ปุ นแลว

สำหรับฤดูในการทองเที่ยวของญี่ปุนนั้น จะวาไปเที่ยว

ไดทั้งปสำหรับคนไทย แตหากใครเที่ยวในหนาหนาวของญี่ปุนอาจตองพรอมในการเตรียมเสื้อผาอาภรณและเครื่องกันหนาวกันเต็มที่ เพราะหนาวขนาดติดลบและมีหิมะตกกันเลยทีเดียว หนารอนบานเขาอากาศในบางพื้นที่ก็รอนไมหนีบานเราสักเทาไหร สำหรับ Fusion Magazine ฉบับนี้ อาศัยชวงเวลาหยุดยาวในเทศกาลสงกรานต เดินทางกลับไปประเทศญี่ปุนอีกครั้ง และมีเปาหมายที่ชัดเจน คือ การไปเยือนเมืองทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกเมืองของญี่ปุน นั่นคือ เมืองฮิโรชิมา เมืองสำคัญที ่ปรากฏอยู ในประวัติ-ศาสตรของโลกสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะเปนเมืองที่เกิดความเสียหายอยางมากมาย เมื่อครั้งทหารสัมพันธมิตรทิ ้งระเบิดปรมาณูล ูกแรกลงที่เม ืองนี้และลูกท่ีสองท่ีเมืองนางาซากิ ทำใหสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ปดฉากลงในเดือนกันยายนป พ.ศ. 2488 ดวยการยอมแพของประเทศญี่ปุ นและความสูญเสียทั้งชีวิตคนญี่ปุนหลายแสนคน อาคารบานเรือนอีกจำนวนมาก จากวันนั้นถึงวันนี้ผานไปเกือบ 70 ป ญี่ปุนไดพัฒนาประเทศจากประเทศผูแพสงคราม กลายมาเปนประเทศมหาอำนาจของโลก ซึ่งการแพสงครามในครั้งนั้นทำใหญี่ปุนมุงมั่นสรางประเทศจนถึงทุกวันนี้

กับความสูญเสียที่นำไปสูจุดเริ่มตนที่ยิ่งใหญของ ญี่ปุน

ATOMIC BOME DOME อาคารที่ใกลจุดทิ้งระเบิดมากที่สุดที่ยังเหลือใหเราไดชมกัน

Page 21: FUSION MAGAZINE Vol.2

Photographer Sean Pavone / Shutterstock.com

FUSION MAGAZINE

Voyage

21

Voyage

กลับมาที่ฮิโรชิมาอีกครั้ง แทบจะไมรูเลยวาเมืองนี้เคย

พังราบคาบและมีประชาชนลมตายและสูญหายกวา

400,000 คน เพราะปจจุบันฮิโรชิมาเปนเมืองขนาดใหญ

เปนอันดับท่ี 11 ของญ่ีปุน ไมวาจะเปน ตึกรามบานชอง

อาคารพาณิชยใหญโต แตนักทองเที่ยวที่มาเมืองนี้เขา

ไปเที่ยวที่ไหนกัน

ATOMIC BOMB DOME สถานท่ีสำคัญท่ีนักทองเท่ียว

แวะเวียนมาเยี่ยมชม ถายรูป บางคนก็มายืนไวอาลัย

กับสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต เพราะอาคารนี้เปนอาคารเดียว

ที่อยูใกลจุดที่ระเบิดปรมาณูถูกทิ้งลงมาแลวยังเหลือ

เปนซากปรักหักพังใหเห็นจวบจนทุกวันน้ี เมืองฮิโรชิมา

จึงไดจัดภูมิทัศนในบริเวณที่ไดรับความเสียหายจาก

ระเบิดปรมาณูเปนพ้ืนท่ีของสวนสันติภาพ ตลอดจนสราง

พิพิธภัณฑ เพ่ือถายทอดเร่ืองราวในคร้ังน้ันใหประชาชน

ทั่วโลกที่มาเยือนฮิโรชิมาไดรับรู

สถานที่ทองเที่ยวอีกแหงที่นักทองเที่ยวจะเดินทางไป

จากฮิโรชิมา คือ เกาะมิยาจิมะ ซ่ึงใชเวลาเดินทางโดย

รถไฟฟาแบบ Local Train ประมาณคร่ึงช่ัวโมง บางคน

จะเดินทางโดยรถรางก็ใชเวลาประมาณ 45 นาที

เกาะนี้สิ่งที่เห็นเปนสงาคือ เสาโทริอิ สีแดง ที่ตั้งอยู

กลางทะเล ซ่ึงปรากฏอยูในโปสเตอรโฆษณาการทองเท่ียว

ญี่ปุน เมื่อไปถึงฮิโรชิมา อยาพลาดเกาะแหงนี้เด็ดขาด

มุมหน่ึงของการไปเยือนฮิโรชิมา คือ เศรากับเหตุการณ

ที่เกิดขึ้น อีกมุมหนึ่งก็รูสึกชื่นชมชาวญี่ปุนที่พัฒนา

ประเทศกลับมายืนบนเวทีโลกไดในเวลาไมถึงศตวรรษ

ท่ีสำคัญไปกวาน้ัน ญ่ีปุนไดรับผลรายจากระเบิดปรมาณู

แตประเทศมีความจำเปนตองทำพลังงานปรมาณู

มาใชเพื่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากลักษณะประเทศ

เปนเกาะที ่ไมมีทรัพยากรใด ๆ เลย ญี ่ปุ นกลับนำ

ประโยชนมหาศาลของมันมาเรียนรู และใชไดอยาง

ปลอดภัย โดยลืมถึงผลรายที่เกิดขึ้นกับประเทศไปเสีย

โรงไฟฟ านิวเคลียร แห งแรกของญี่ปุ นส ร างข ึน้

ในป พ.ศ. 2509 หรือประมาณ 20 ป หลังจากถูกทิ้ง

ระเบิดปรมาณู จนปจจุบันญี่ปุนมีโรงไฟฟานิวเคลียร

ท้ังส้ิน 55 แหง ถึงแมหลายคนจะบอกวา คนญ่ีปุนจะเลิก

ผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรเพราะอุบัติเหตุที่เกิด

จากคลื่นสึนามิ ทำใหเกิดความเสียหายและผลกระทบ

รายแรงจากโรงไฟฟานิวเคลียร ฟูกูชิมะ ซึ ่งไมเปน

ความจริงแตอยางใด เพียงรัฐบาลใหโรงไฟฟานิวเคลียร

ทุกโรงดำเนินการตรวจสอบและจัดทำแผนเผชิญเหตุ

และมาตรการดานความปลอดภัย เพื่อไมใหเกิด

เหตุการณไมคาดฝน ซ้ำรอยฟูกูชิมะขึ้นอีก

เสาโทริอิ ตั้งเดนเปนสงาที่เกาะมิยาจิมะ

รานนารัก ๆ ที่ปรากฎใหเห็นในเมืองฮิโรชิมาในปจจุบันนี้

ภาพรถรางสุดคลาสสิกเอกลักษณของเมืองฮิโรชิมาแหงนี้

ภาพอนุสาวรีย หนูนอยซาดาโกะเหยื่อผูเคราะหรายในเหตุการณสงครามนิวเคลียร และนกกระเรียนกระดาษ

Page 22: FUSION MAGAZINE Vol.2

22 FUSION MAGAZINE

Activities NewsAct

ivitie

s N

ews

เปนที่สนุกสนานและประทับใจในบรรยากาศที่เปนกันเองมากกับงานฉลองครบรอบ 8 ป การกอตั้ง สทน. เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557

ท่ีผานมา สทน. โดยความรวมมือจากทุกหนวยงานภายใน สทน. จัดกิจกรรมฉลองวันเกิดใหกับ สทน. อยางนาประทับใจ โดยต้ังแตชวงเชา

ดร.สมพร จองคำ และผูบริหารทุกระดับ พรอมดวยเจาหนาที ่และลูกจางของ สทน. รวมพิธีทางศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ

มีแขกผูเขารวมแสดงความยินดีจากหนวยงานราชการ ธนาคาร และเอกชนอยางคับคั่ง นอกจากนี้ ชวงสาย สทน. ไดมีพิธีรดน้ำดำหัว

ผูเฒาผูแกที่มีอายุยืนยาวและเปนที่เคารพนับถือของคนในพื้นที่ อ. องครักษ จ. นครนายก อีกดวย

ฉลองครบรอบ 8 ป จัดตั้ง สทน.

สทน. นำส่ือมวลชนสายวิทยาศาสตร เย่ียมชมเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรวิจัยเกาหลีใต เมื่อวันที่ 28 - 30 เมษายน 2557 สทน. โดย ดร.วรรณา วิมลวัฒนาภัณฑ

รองผูอำนวยการดานบริการ พรอมเจาหนาที่ นำผูสื ่อขาวสายวิทยาศาสตร

และนวัตกรรม เดินทางไปศึกษาดูงานดานการใชประโยชนจากเทคโนโลยีนิวเคลียร

ของประเทศเกาหลีใต ในคร้ังน้ีไดนำส่ือมวลชนเขาชม เคร่ืองปฏิกรณปรมาณูวิจัย

ขนาด 30 เมกะวัตต ท่ีมีช่ือวา HANARO ซ่ึงอยูในความดูแลของ Korea Atomic

Energy Research Institute หรือ KAERI เมืองแดจอน เครื่องปฏิกรณแหงนี้

สามารถผลิตเภสัชรังสีใชสำหรับวินิจฉัยและรักษาผู ป วยไดทั ้งเกาหลีใต

นอกจากนั้น ผูสื ่อขาวยังไดมีโอกาสเดินทางไปดูสถานที่ผลิตงานวิจัยกาวหนาที่

Advance Research Technology Institute หร ือ ARTI ท ี ่ เม ืองจองอ ัพ

เพ่ือดูการวิจัยทางการแพทยและการเกษตร ซ่ึงเปนงานวิจัยดานเทคโนโลยีนิวเคลียรช้ันสูง

ซึ่งหากการวิจัยสำเร็จก็จะสามารถ

นำไปใชประโยชนกับประชาชนชาว

เกาหลีใตไดอยางมากมาย ประเทศ

เกาหลีใตจึงเปนแหลงเรียนรูชั้นดี

และเปนโอกาสท่ีผูส่ือขาวจะไดเห็น

วิทยาการกาวหนาดานเทคโนโลยี

นิวเคลียร และควรนำกลับมาพัฒนา

ประเทศไทยใหมีความกาวหนา

เทียบเทาอารยประเทศ

Page 23: FUSION MAGAZINE Vol.2

195518 May

FUSION MAGAZINE

Activities News

23

Activities N

ews

Nuclear In History

Nuclear Power Plantมีการผลิตไฟฟาจากพลังงานปรมาณูเปนเครั้งแรกที่หองปฏิบัติการ ลอส อัลโมส (Los Alamos Scientific Laboratory) ที่สหรัฐอเมริกา ตนแบบในการทดลองของเครื่องปฏิกรณใช Plasma Thermocouple แทนกังหัน Turb ของโรงไฟฟาซึ ่งสามารถผลิตไฟฟาออกมาใชได

เครื ่องปฏิกรณปรมาณูไดรับสิทธิบัตรเปนครั ้งแรกหลังจากผานการตรวจสอบอยางละเอียด เปนเวลา 13 ป ตั้งแตเริ่ม และกวา 11 ป หลังจากที่ไดยื่นเรื่องขอจดสิทธิบัตร Fermi กับ Szilard ไดรวมกันยื่นขอจดสิทธิบัตรในฐานะของผูประดิษฐรวม

19591 April

Fermi & Szilard

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

1965 1 June

ตรวจพบรังสีจากอวกาศ ซึ่งปน Primordial Background Radiation ที่อุณหภูมิ 3 องศาเคลวิน โดยใชเสาอากาศ (Horn Reflactor Antenna) ท่ีใชสำหรับวัดคล่ืนวิทยุดาราศาสตรทำใหบอกไดวา เหตุการณ Big Bang ซ่ึงเปนการระเบิดคร้ังใหญของมวลสารท่ีมีอุณหภูมิและความหนาแนนสูง อีกทั้งยังเปน จุดกำเนิดของเอกภพที่มีอายุ 15-20 พันลานปมาแลว

A. Penzias& Robert R. Wilson

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

สทน. จับมือกระทรวงพลังงาน และรัฐบาลญี่ปุน สัมมนาแบงปนประสบการณดานโรงไฟฟานิวเคลียรสำหรับประเทศกำลังพัฒนา สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ สทน.

รวมมือกับกระทรวงพลังงานและรัฐบาลญี่ปุนไดจัดสัมมนาเพื่อแบงปน

ความรูและประสบการณเกี่ยวกับการกอสราง การบริหาร ตลอดจน

การสรางความเขาใจดานโรงไฟฟานิวเคลียรแกประชาชน ประเทศญ่ีปุน

เปนประเทศท่ีมีความกาวหนาในการใชประโยชนจากพลังงานนิวเคลียร

ในทางสันติ เชน ในดานการวิจัยและพัฒนา ดานพลังงาน โดยเฉพาะ

ดานพลังงานนิวเคลียร ในจังหวัด Fukui มีการกอตั้งโรงไฟฟาพลังงาน

นิวเคลียรกวา 13 แหง ประเทศญี่ปุนจึงเปนประเทศที่มีความมั่นคง

ทางพลังงานสูง และการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยมีการเรียนการสอน

ดานวิศวกรรมนิวเคลียรโดยเฉพาะ นับไดวา อยูในระดับท่ีมีความชำนาญ

และเชี ่ยวชาญดานวิศวกรรมนิวเคลียรมาก รวมทั ้งสถาบันวิจัย

ศูนยฝกอบรมและการถายทอดเทคโนโลยี การสัมมนาครั้งนี้ถูกริเริ่ม

ขึ้นโดย Wasaka Wan Energy Research Center โดยการสนับสนุน

จากรัฐบาลญี่ปุน ซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครงการความรวมมือระหวาง

ประเทศดานการพัฒนาบุคลากรทางนิวเคลียร เพื่อเปนการแลกเปลี่ยน

ประสบการณ ความสำเร็จดังกลาวของจังหวัด Fukui ใหกับผูเกี่ยวของ

กับโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ

สนับสนุนโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรในประเทศไทย โดยแลกเปลี่ยน

ความรูในดานการผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรและมาตรการความ

ปลอดภัยตาง ๆ รวมท้ัง กิจกรรมดานการสรางการยอมรับจากประชาชน

และการพัฒนาบุคลากรทางนิวเคลียรในประเทศไทย

Page 24: FUSION MAGAZINE Vol.2

24 FUSION MAGAZINE

Edutainment

Edu

tain

men

t

Tremor Reducing Spoonชอนสำหรับผูปวยโรคพารกินสันผูปวยที่เปนโรคพารกินสัน Pakinson’sนั้นเปนผูปวยที่ระบบควบคุมการเคลื่อนไหวไมสามารถควบคุมอาการเกร็งและสั่นไดทำใหยากตอการทานอาหาร Lift Labsจ�งไดคิดคนชอนชนิดพิเศษนี้ข�้น สำหรับผูปวยโรคนี้โดยเฉพาะ ทำใหผูปวยสามารถทานอาหารไดงายข�้น ทางผูสรางยังบอกอีกวาชอนนี้จะชวยใหผูปวยรูสึกภูมิใจที่เขาสามารถชวยเหลือตนเองไดอีกดวย

กระเปาสำหรับปลูกตนไมเมื่อช�ว�ตของคนเมืองที่สลับซับซอน เรงร�บและไมมีเวลา ถึงเวลาแลวสำหรับคนรักตนไมที่ไมคอยมีเวลา ดูแลตนไมสุดที่รักของตัวเองดวย Bag for Plants ออกแบบโดย bacsacจากฝรั่งเศส มาแกปญหาการจัดการพื้นที่ในการปลูกตนไม สรางสวนสวนตัวไดดวยตัวคุณเองแบบไมตองงอพื้นที่จากใคร

Bag for Plants

Goggles Umbrella

S-cube

คุณผูหญิงท่ีชอบซักผา และสำหรับใครท่ีบานไมไดใหญโตมากนัก ไมวาจะเปน คอนโด บานหร�ออพารทเมนท ก็ตากผากันแบบเก ๆ ไดอยางราวตากผาน้ี ท่ีเหมาะสำหรับผูท่ีมีพ้ืนท่ีใชสอยอยางจำกัด ตากผาไดหลายช�น้พรอมกันในคราวเดียว อีกท้ังยังสามารถพับเก็บไดเจงอยาบอกใครกันเลยทีเดียว !

หนาฝนแบบนี้ หลายคนคงจะตองเปยกปอนกันเลยทีเดียวหากไมมีรม และปญหาจากการกางรมเวลาฝนตกหนัก จะหมดไป เมื่อมีเจารมสุดเก Goggles Umbrella ที่เมื่อคุณกางไดทันทีเวลาที่ฝนตก ที่พิเศษเห็นจะเปนชองแวนตาที่ตัวรม ไมวาฝนจะตกหนักแคไหนจะเดินไปทางใด มีน้ำขัง หร�อหลุมที่เราตองระวัง ก็ยังคงสามารถมองทางไดตลอดเวลาเจงขนาดนี้ ไมมีไวเปนเจาของชวงหนาฝนไมไดซะแลว !

Star-shaped Clothes Horse

Gadget

Found on : www.25togo.com

Found on www.aarondunkerton.com

Found on www.liftlabsdesign.com

Found on trendhunter.com/trends/child-stoolFound on www.bacsac.fr/fr

Credit : designboom

เกาอี้กระดาษ Origami รักษโลก

ถาคุณมองหาเกาอี้สำหรับเด็ก ใหกับลูก ๆ

ของคุณแลวละก็ ตองแนะนำเกาอี้ตัวนี้เลย

ที่ออกแบบโดยสถาบัน S-cube แกมยังได

รางวัลชนะเลิศดานงานดีไซน A’Design Award

Green Dot Award ตอบโจทยการใชงาน

สำหรับเด็ก และยังเปนผลงานที่เคียงคูกับ

เทรนดการอนุรักษในยุคนี้

Velocipedesจักรยานยุค 1865 กับวัสดุสุดล้ำอนาคตในรูปแบบคลาสสิกของจักรยาน ป 1865มาพรอมกับดีไซนวัสดุแบบใหมสุดไฮเทคผสมผสานความเปน Retro Stlye ที่นาสนใจคือเจาจักรยานคันนี้ ไมมีเฟอง ไมมีลูกปนลอและใชพลังงานไฟฟา วัสดุเปน Polymer พิเศษBASF เปนวัสดุสำหรับโลกอนาคตจร�ง ๆ

Page 25: FUSION MAGAZINE Vol.2

Movie

FUSION MAGAZINE

Edutainment

25

Edutainm

ent

วากันวาหากเราเดินทางไดเร็วระดับเดียวกับแสง เราสามารถขามเวลาได การเอาชนะความเปนไปไมไดตาง ๆ การเอาชนะขีดจำกัดของมนุษย ตั้งแตสมัยที่เกิดความแหงแลง การสรางเครื่องบินจนไปถึงการเดินทางสูดวงจันทร งานไซไฟแบบสมจริงเขมขน และใหความรูสึกเปนหนังดรามามากกวาแอ็คชั่นแบบที่เราคุนจากงานเกา ๆ ของโนแลนยิ่งไดแม็คคอนนาเฮยมารับบทดวยยิ่งทำใหนึกไปในทางนั้นไดอีก นอกจากนี้ คิพ ธอรน ที่เปนเจาของทฤษฎีรูหนอน หรือทฤษฎีการสรางทางลัดขามเอกภพที่บทหนังเรื่องนี้อิงมา ก็ยังเปนผูใหคำแนะนำแก คารล ซาแกน ผูเขียน Contact ในฉากที่นางเอกตองเดินทางขามจักรวาลดวย คอหนังไซไฟ และนักวิทยาศาตรตัวจริง ไมควรพลาด !

เมื่อสายเลือดที่ใกลเคียงกันที่สุดในโลก เผาพันธุมนุษยและวานรที่เคยอาศัยอยูรวมกันประชากรลิงและมนุษยตางเพิ่มจำนวนขึ้นอยางไมมีวันสิ้นสุด และมนุษยผูรอดชีวิตจากเชื้อไวรัสที่ทำลายลางทุกสรรพสิ่ง สงครามระหวางมนุษยและวานรไดปะทุขึ้น และนั่นคือบทพิสูจนใหเห็นถึงอายุขัยระยะสั้น ทั้งสองฝายตางพรอมทำสงครามกันเพื่อตัดสินวาฝายใดจะไดเปนเผาพันธุสุดทายที่จะครองโลกในที่สุด ไปติดตามกันไดใน พิภพวานร Dawn of the Planet of the Apes

INTERSTELLAR (Sci-ffii) ความฝนแหงการเดินทางขามจักรวาลและการเอาชนะวันเวลา

Dawn of the Planet of the Apesรุงอรุณแหงพิภพวานร เมื่อสายเลือดแหงชาติพันธุที่คลายคลึง กลับมีความตองการที่ตางกัน

Page 26: FUSION MAGAZINE Vol.2

EdutainmentEdu

tain

men

t

26 FUSION MAGAZINE

Plant Nanny เติมน้ำใหชีวิต หวงใยสุขภาพ

Safe Ride ปลอดภัยทุกการเดินทาง

ขอแนะนำสำหรับใครที่ทำงานหนัก จนลืมดูแลสุขภาพเลยคะ เชื่อวามีหลายคนลืมแมกระทั่งดื่มน้ำ !! OMG น้ำสำคัญตอรางกายมากนะ ถารางกายขาดน้ำแนนอนคะ App ตัวนี้สามารถชวยคุณไดเสมือนคุณเปนตนไมนั่น เพียงคุณระบุน้ำหนักตัวและกิจกรรมในแตละวันของคุณวาในวันนั้นตองเจอกับอะไรบาง เพียงปลายนิ้วมือก็สามารถสรางสมดุลที่ดีระหวางงานและคุณ รางกายก็สมดุลไดเชนกัน

จะเดินทางไปไหนแตละที เดี๋ยวนี้บอกคนรูจักไวสักหนอยก็ดีนะ ปลอดภัยไวดีกวา อุบัติเหตุเกิดขึ้นไดตลอดเวลา อีกหนึ่ง App ที่เราขอแนะนำ เกกูดสัญชาติไทยคะ ที่มาพรอมการตูนนารักสำหรับระบุวาคุณกำลังจะโดยสารรถอะไร ทะเบียนอะไร จากที่ไหนไปที่ไหน แลวแชรทาง facebook หรือ twitter ไดเลย แบบนี้ถาเกิดเราตกหลนหายไประหวางทางจะไดตามกันไดถูกนะเออ

ค.ศ. 1938

ออตโต ฮาน นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมันและไลซ ไมเนอร นักฟสิกสชาวออสเตรีย คนพบการแยกของปรมาณู

ค.ศ. 1833

ไมเคิล ฟาราเดย นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ และโจเซฟ เฮนรี นักวิทยาศาสตรชาวอเมริกัน คนพบวิธีใชคุณสมบัติของแมเหล็กผลิตกระแสไฟฟาที่เรียกวา ไดนาโม

ค.ศ. 1894

กูกลิเอลโม มารโคนี นักประดิษฐ

ชาวอิตาเลียน สื่อสารทางวิทยุ

สำเร็จเปนครั้งแรก

ค.ศ. 1665

ไอแซก นิวตัน นักคณิตศาสตร

ชาวอังกฤษ ตั้งกฎการเคลื่อนที่

และแรงโนมถวงของโลก

Page 27: FUSION MAGAZINE Vol.2

EdutainmentEdutainm

ent

FUSION MAGAZINE 27

Exhibition

12-28 ส.ค. 57มหกรรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ป 57สำหรับทุกเพศทุกวัยที่สนใจงานดานวิทยาศาสตร กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรวมกับองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.) จัดมหกรรมยิ่งใหญดานวิทยาศาสตร เสริมสรางแรงบรรดาลใจในการนำวิทยาศาตรไปใชในชีวิตและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับประเทศ

ณ ศูนยประชุมและแสดงสินคานานาชาติเฉลิมพระเกียรติ จ.เชียงใหม

3-5 ก.ค. 57Secutech Thailand 2014พบสุดยอดนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ชวยใหคุณปลอดภัย

ในชีวิตและทรัพยสินจากกวา 200 บริษัททั่วโลก

ภายในงานนอกจากจะจัดแสดงสินคายังมีการ

จัดสัมมนาใหความรู ขอมูล ขาวสาร ในดาน

ความปลอดภัยในแขนงตาง ๆ อีกดวยนะ

ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค (ฺBITEC)

4-8 ส.ค. 5710th International Mycological Congressรูจักราดีแคไหน คนพบคำตอบหลากหลายทางชีวภาพ

และพันธุพืชของรา อีกทั้งคุณประโยชนมากมายที่คุณ

อาจไมเคยรูในการประชุมระดับนานาชาติ

ที่จะไขคำตอบและขอสงสัยใหคุณไดดีที่นี ่

ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์

24-27 ก.ค. 57Organic Natural Expo 2014สำหรับคนรักธรรมชาติ ทางกระทรวงพาณิชย

จัดงานที่ตรงความตองการแนนอน กับบริการ

ออรแกนิคและธรรมชาติที่ใหญที่สุดในประเทศไทย

นอกจากประชาชนทั่วไปจะเดินชม และเลือกซื้อ

สินคาแลว งานนี้ยังสนับสนุนการขยายตลาด

และพัฒนาของธุรกิจ SME อีกดวย

ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์

Page 28: FUSION MAGAZINE Vol.2

28 FUSION MAGAZINE

Chill Outเรื่อง : เอิงเอย ภาพ : แมวหงาว

Chi

ll O

ut

Chill Out พูดถึงเรื่องกินเรื่องเที่ยว แลวเรามักจะรูสึกวา

สองสิ่งนี้เปนอะไรที่คู กัน ขาดอะไรไปอยางหนึ่ง

ก็คงจะรูสึกขาด ๆ เกิน ๆ ไปเสียแน เราเลยพาทุกคน

มาสัมผัสกับที่ที ่ทำใหประสบการณการดินเนอร

ท่ีอบอวลไปดวยกล่ินอายของการเดินทางท่ีไมส้ินสุด

ก ับร านอาหารฟวช ั ่นท ี ่คงรสชาติแบบไทย ๆ

ท่ีแสนจะคลาสสิกไว แตก็ผสมผสานลงตัวกับอาหาร

ฝร่ังไดเปนอยางดี ท่ี “Chew N’ Brew” การเดินทาง

ทองเที่ยวแบบใหมในรานอาหารฟวชั่นสีฟาสดใส

กำลังจะเริ่มขึ้นแลว

Chew N’ Brew เกิดขึ้นดวยไอเดียบรรเจิด

ของกลุมเพื่อน ๆ ที่รักการทองเที่ยวและรวมตัว

กันทำรานอาหารที่ถายทอดออกมาในธีมของการ

ทองเที่ยว และการเดินทาง ทันทีที ่ไดเปดประตู

กาวเขาไปดานในราน บรรยากาศก็ชวนใหนึกถึง

ทองทะเลสีฟาและการเดินเรือทองเที่ยวไปทั่วโลก

กวางดวยลูกโลกยักษที ่ถูกวางประดับตกแตงไว

คูกับหนังสือตาง ๆ เงยหนามองขึ้นไปบนเพดาน

ก็ตองสะดุดกับหมวกมากมายหลายใบท่ีแกวงเบา ๆ

เมนูแรกท่ีเสิรฟลงโตะ คือ “ลาบปลาโอ” เนนรสชาติของความเผ็ด เปร้ียว หอมขาวค่ัว รสชาติท่ีคุนเคยเปนอยางดีสำหรับคนไทย

อีกเมนูคือ “แกะยางจิ้มแจว” Chew n’ Brew สามารถปรุงเมนูนี้ออกมาไดเปนอยางดี ท้ังในเร่ืองของรสชาติท่ีไมมีความคาวสักนิดเดียว ดวยเคร่ืองเทศตาง ๆ ท่ีหมักในเน้ือแกะทำใหมีรสชาตินุมล้ิน เสิรฟพรอมน้ำจ้ิมแจว อรอยอยาบอกใคร

Credit : travel.truelife.com

Crew n’ Brewสุขุมวิท 49

Page 29: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Chill Outเรื่อง : Brownbear

29

Chill O

ut

ครบเซ็ท พรอมรับมือหนาฝน !ครบเซ็ท พรอมรับมือหนาฝน !

ออกเดินทางแลัวไปโดนฝนมา ควรรีบชำระลางมือเปนอยางแรก ดวยสบูทันที ชวยลดอัตราเส่ียงจากเช้ือโรคตาง ๆ ท่ีติดมากับฝนจนทำใหคุณปวยได

ทำความสะอาดมือทันที

อากาศในหนาฝน มีความช้ืนและหนาวเย็นอยูแลว เราจึงไมควรปรับแอรใหเย็นมากกวา27 C ซ่ึงอาจทำใหอุณหภูมิรางกายเราต่ำกวาปกติ ทำใหภูมิตานทานโรคต่ำได

ปรับอุณหภูมิหองใหเหมาะ

สำหรับรองเทาท่ีคุณผูหญิงชอบใสกันน้ัน อาจจะไมเหมาะกับฤดูฝนสักเทาไหรเพราะท้ังล่ืน และเปยกจนอาจเปนเช้ือราตามน้ิวเทาไดทางท่ีดี เราหาบูทสวย ๆ สักคูมาไวใชในชวงน้ีจะดีกวานะ

ถาคุณกลัวการไมสบายจากเช้ือโรคท่ีมากับละอองฝนลงมากระทบบนศีรษะ หาหมวกท่ีทำจากหนังเทียมสักใบก็ชวยปองกันไมใหคุณเปยกและไมสบายไดเหมือนกัน

เตรียมรองเทาบูทกันฝนเก ๆ

หมวกก็กันฝนได !

สำหรับคนท่ีตองการปองกันเปนอยางดี ในการปองกันเช้ือโรคท่ีมากับฝนไดดีอีกอยางหน่ึงคือ ผาปดปาก หาซ้ืองาย แถมราคาไมแพงอีกดวยลดการติดเช้ือไดมากกวา 95%

ผาปดปาก

ไมวาเราจะออกไปท่ีไหน พึงระลึกไวเสมอวาฤดูน้ี ฝนตกลงมาไดทุกเม่ือ เราตองปองกันไวกอนจะดีกวานะ

พกรมติดตัวไวเสมอ

ฤดูรอนผานไปแลวคงหนีไมพนกับฤดูฝนท่ีกำลังจะผานเขามา เรามาเตรียมรับมือกอนท่ีจะเปยกปอน ปวยไขไมสบายกันดีกวานะ ปองกันไวอยางน้ีดีท่ีสุด หลายคนคงยังไมเตรียมตัวกัน วันน้ีเรามีทิปเด็ด ๆ มาฝากกัน

Page 30: FUSION MAGAZINE Vol.2

เวชศาสตรนิวเคลียร คืออะไร วันนี ้ เราจะมาไขขอของใจในการใชเทคโนโลยีนิวเคลียรกับทางการแพทยวามีความสำคัญตอเราอยางไร ทางเราไดรับเกียรติสัมภาษณใหความรูโดยแพทยหญิง อาภากร โฆษิตวัฒนฤกษ ที่จะมาชวยอธิบายถึงความหมายและความสำคัญของเวชศาสตรน ิวเคลียรก ันใหกระจาง

30 FUSION MAGAZINE

ม่ันใจกับการรักษา“ดวยเภสัชรังสี”

พญ. อาภากร โฆษิตวัฒนฤกษ แพทยประจำหนวยเวชศาสตรนิวเคลียร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี

Page 31: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Interview

31

Interview

เวชศาสตรนิวเคลียรคืออะไร ? เปนสาขาวิชาหน่ึง ซ่ึงนำสารเภสัชรังสี

มาใชในการวินิจฉัยและรักษาโรค เชน

การตรวจกระดูกที่เรียกวา Bone Scan

ที่สามารถใชไดกับการตรวจโรคมะเร็ง

ทุกชนิดกับการรักษาโรคที่มีความจำเพาะ

เจาะจง เชน โรคไทรอยด ท่ีตองใชไอโอดีน

I-131 Metaiodobenzylguanidine (MIBG)

ในการรักษา เปนตน

บทบาทสำคัญตอการแพทยของเวชศาสตรนิวเคลียร หนวยเวชศาสตรนิวเคลียร เปนหนวย

เล็ก ๆ ที่คนสวนใหญไมคอยมีใครรูจัก

แตมีความสำคัญกับทุกสาขาการแพทย

เพราะเปนหนึ่งในสหสาขาวิชา ที ่ชวย

ในการวินิจฉัยโรคใหกับแพทยแขนงตาง ๆ

เปนสวนยอยที ่ช วยในการร ักษาโรค

และโรคที่เรารักษาสวนมาก มักจะเปน

โรคของตอมไทรอยด

ปจจุบันในทางการแพทยมีการใชสารเภสัชรังสีในการรักษาผูปวยมากนอยแคไหน ? การใชสารเภสัชรังสีในแงของการวินิจฉัย

มีมานานแลว แตสวนท่ีรูจักกันมากคือการ

ใช Bone Scan, Renal Scan เมื่อชวง

ประมาณสิบปที ่ผานมา การตรวจแบบ

PET - CT ของนิวเคลียรเมดน้ัน ไดเติบโต

ขึ้นมาก การใชสารเภสัชรังสีในการรักษา

ผูปวยนั้น จึงมีสวนชวยในการวินิจฉัย

คนไขในกลุมที่เป นโรคมะเร ็งต าง ๆ

มากมาย ซึ่งหนวยเวชศาสตรนิวเคลียร

เรารักษาโรคมะเร็งเปนหลัก เชนเดียว

กับโรคท่ีเกียวกับไทรอยด อยางโรคไทรอยด

ยังมีโรคที ่เรามีสวนชวยรักษารวมกับ

แพทยแขนงอ่ืน ๆ เชน รักษาผูปวยเน้ืองอก

Neuroendocrine Tumor ผูปวยที่เปน

มะเร็งกระจายมาท่ีกระดูก ผูปวยมะเร็งตอม

น้ำเหลือง และผูปวยฮีโมฟเลียอีกดวย

“ขอดีคือเราตรวจพบความผิดปกติไดรวดเร็วกวาและรับรังสี

ในปริมาณที่นอยกวา”

การผลิตเภสัชรังสีเพื่อใชวินิจฉัยเพียงพอกับผูปวยในขณะนี้หรือไม ? ในแงของการใชในวินิจฉัยไมมีปญหา

เพราะตัวท่ีเปน เทคนิคซีเซียม-99 Tc-99m

ก็สามารถผลิตไดอยางเพียงพอ แตสำหรับ

ในแงของการรักษานั้น โดยสวนตัวแลว

คิดว าย ังไม เพ ียงพอตอความตองการ

และในบางครั้งมีมากกวาหนึ่งโรงพยาบาล

ท่ีตองใชยารวมกัน เราจึงตองตกลงและแบง

สารกันพอใช คาดการณว าในอนาคต

อาจต องผลิตเพิ ่มขึ ้น เพื ่อใหเพียงพอ

ตอความตองการ

ความแตกตางระหวางการวินิจฉัย

และรักษาดวยวิธีการอื่น ๆ ในแงของการวินิจฉัย เมื่อเทียบกับการ

เอ็กซเรยปกติ เภสัชรังสีของเรามีจุดเดน

ตรงที่วา การเปลี่ยนแปลงของเราเปนแบบ

Functional Imaging ตรวจไดเร็วกวา

เห็นความผิดปกติไดเร็วกวา การทำภาพ

คร้ังนึงสามารถทำไดท่ัวรางกาย แตกตางจาก

การเอ็กซเรย ตรงท่ีการเอ็กซเรย น้ันเปนการ

ฉายภาพเฉพาะจุด สงสัยตรงทองก็ทำตรงทอง

สงสัยตรงอกก็ทำตรงอก เทาน้ัน แตเภสัชรังสี

ของเรานั้น มีรังสีปริมาณนอยกวาเมื่อเทียบ

กับการเอ็กซเรยทั่วไป

Page 32: FUSION MAGAZINE Vol.2

32 FUSION MAGAZINE

Inte

rvie

w

ปจจุบันเภสัชรังสี ก็มีสารรังสีใหมที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

ไมวาจะเปนการรักษาโรค

หรือในการวินิจฉัย รวมถึงเครื่องมือที่ใชก็พัฒนาขึ้น”

Interview

ในสวนของการรักษาโรคแบบเภสัชรังสี

จุดเดน คือ สามารถจำเพาะตอโรค หรือจำเพาะ

เซลลที่ตองการรักษาได ยกตัวอยาง เชน คนไข

เปนมะเร็งที่หนึ่งจุดในรางกายแลวใชเคมีบำบัด

ที่สงรังสีออกมาจากเครื่องรังสีนั้น ก็จะสงผล

ไปทั่วรางกาย ทั ้งเซลลปกติและเซลลมะเร็ง

แตสำหรับเภสัชรังสีนั้น เราใหคนไขไดรับรังสี

ด วยวิธ ีการกิน หรือฉีดเขาอวัยวะโดยตรง

จึงเปนการจำเพาะตอเซลลที่ตองการรักษา เชน

ใหสารไอโอดีน I-131 Metaiodobenzylguanidine

(MIBG) ที ่ม ีความจำเพาะกับเซลลไทรอยด

รังสีนั ้นก็จะไปสงผลแตเซลลไทรอยดเทานั้น

เซลลอื่นก็จะไมไดรับรังสี จุดเดนอีกจุดหนึ่งคือ

เภสัชรังสีน้ัน ไมมีพิษตอตับ ไต หรืออวัยวะอ่ืน ๆ

ท่ีอาจจะมีบางก็เปนเร่ืองไขกระดูก แตไมเจอบอย

เพราะมีความเส่ียงนอยกวาเม่ือเทียบกับการรักษา

แบบเคมีบำบัด และในกรณีท่ีรักษาดวยเภสัชรังสี

ไปแลว คนไขมีการตอบสนองดี แลวก็สามารถ

ใหซ้ำไดโดยไมมีปญหาใด ๆ

ความปลอดภัยในการควบคุมและจัดการสารรังสี ที่ใชในการรักษา ทั้งบุคลากรและผูปวยใหปลอดภัย สำหรับคนไขกอนท่ีรับการรักษา ทางเราจะมี

เจาหนาที่ใหความรู เขาพูดคุย ใหคำแนะนำ

พรอมกับเอกสารในการเตรียมตัวใหกลับไปศึกษา

ตอที ่บาน แตหากยังไมเขาใจและเปนกังวล

คนไขสามารถนัดหมายเพ่ือเขามารับฟงคำแนะนำ

อีกครั้ง เจาหนาที่จะอธิบายตั้งแตความจำเปน

ที ่คนไขจะตองไดรับการรักษาดวยเภสัชรังสี

การปิบัติตนขณะไดรับการรักษา ระหวางนอน

โรงพยาบาลและตอนกลับบาน จนกวาจะเขาใจ

สำหรับเจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงาน รวมถึงแพทยน้ัน

เรามีเครื่องมือสำหรับการวัดระดับปริมาณรังสี

ในรางกาย สงไปยังกรมวิทยาศาสตรการแพทย

ทุกเดือน ทางนั้นก็จะตรวจดูวามีใครไดรับรังสี

เกินปริมาณที่ควรจะเปนหรือเปลาแลวแจงผล

กลับมา สำหรับสวนบุคลากรหองยาท่ีตองเตรียม

ยามากกวาสวนอื่น ๆ จะมี Pocket Dose ที่มี

ตัวเลขระบุวางานท่ีทำอยู ณ ตอนน้ีมีปริมาณรังสี

อยูที่เทาไหรในแตละวัน หากตรวจพบวามีรังสี

ในปริมาณที ่เกินกวากำหนด ก็อาจจะใหพัก

ปฏิบัติงานกอน แตต้ังแตปฏิบัติงานกันมายังไมมี

ใครไดรับปริมาณรังสีเกินกำหนดเลย

Page 33: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE 33

ความตองการที่อยากใหทางสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (สทน.)ผลิตเภสัชรังสีชนิดใดใหมากขึ้น ท่ีจำเปนมากในขณะน้ี คือ สารไอโอดีน

I-131 Metaiodobenzylguanidine (MIBG)

ซึ่งรูสึกวายังไมเพียงพอตอความตองการ

ในการรักษาผูปวย เพราะ สทน. สามารถ

ผลิตออกมาไดเพียง 150 Rad ตอสัปดาห

แตเวลาที่เราใชรักษาจริงนั้น เราอยากใช

มากกวา 150 Rad/Dose ซ่ึงในตางประเทศ

ใหมากกวา 150 Rad/Dose ตามน้ำหนักตัว

ของผูปวย จึงอยากใหผลิตเพ่ิมข้ึน สวนสาร

ใหม ๆ ที่อยากให สทน. ผลิตสารดังกลาว

คือสารที ่ในตางประเทศใชแล วได ผล

คอนขางดี เชน 177 Lutetium labelled

Dotatate สำหรับใชรักษาคนไขในกลุ ม

Neuroendocrine Tumor เปนตน

อนาคตเวชศาสตร นิวเคลียรของไทย ณ ปจจุบันงานเภสัชรังสี ก็มีสารรังสีใหมท่ีเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ ไมวาจะเปนแงของการรักษาโรค หรือวาในการวินิจฉัย รวมถึงเคร่ืองมือท่ีใชก็พัฒนาข้ึน แลวก็มี PET-CT ที ่ชวยเขามาในการวินิจฉัยโรค อีกดวย และเราก็ไดรับความรวมมืออยางดีจาก สทน. ที ่สนับสนุนการทำวิจัยสารตาง ๆ เชน เมื่อ 2-3 ป ที่ผานมา ยาที่ใชในการรักษามะเร็งตอมน้ำเหลืองที ่ช ื ่อวา Severin ผลการรักษาคอนขางดี แตก็มีราคาสูงมาก ราคาเข็มละ 1 ลานบาท ทางเราจึงอยากไดยาตัวใหมมาทดแทนและพบวาท่ีประเทศออสเตรเลียนั ้น ไดนำสารไอโอดีน 131เรสทูซีลแบก มาใชในการรักษา แตในเมืองไทยยังไมมี เราจึงขอความรวมมือให สทน. ใหผลิตสาร เพื่อใหเรามาใชรักษาคนไข และไดใชกับคนไขประมาณ 4-5 คน ก็ไดผลเปนท่ีนาพอใจ ทางเราไดมีการเตรียม

ความพรอม ในการรองรับการเติบโตของเวชศาสตรนิวเคลียรในอนาคต ดวยการสงแพทย นักฟสิกสการแพทย และนักเคมี ไปศึกษาเพิ่มเติม แตอยางไรก็ตาม ก็ตองไดรับความรวมมือในการหาสาร และผลิตสาร สทน. ควบคูกันไปดวย

ฝากถึงคนไขหรือประชาชนทั่วไปที่กลัวนิวเคลียร ทั้งเรื่องทั่วไปหรือทางการแพทย อยากฝากไววา รังสีหรือนิวเคลียรไมไดนากลัวอยางที่คิดคะ ถาเรานำมาใชอยางถูกตอง โดยเฉพาะในทางการแพทยเพราะปจจุบัน เรานำสารเภสัชรังสีมาใชประโยชนไดหลากหลายทั้งที่เกี่ยวกับดานการตรวจวินิจฉัยและการรักษาโรค ซึ่งใชกันอยางแพรหลายและยาวนาน เปนการตรวจรักษาท่ีมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย ถามีความจำเปนตองตรวจก็ไมตองกังวล

Page 34: FUSION MAGAZINE Vol.2

Inte

rvie

w

34 FUSION MAGAZINE

Interview

ปจจุบัน คุณจตุพล แสงสุริยัน ผูเชี ่ยวชาญดานวิทยาศาสตรนิวเคลียร เปนผูจัดการศูนยไอโซโทปรังสี คุณจตุพล เลาวา การจัดตั้งศูนยไอโซโทปตั้งแตในอดีต มีวัตถุประสงคเพื่อเปนบริการของภาครัฐใหแกประชาชน โดยเฉพาะผูปวยใหไดรับการบำบัดรักษาและ/หรือการตรวจวินิจฉัยดวยสารไอโซโทปอยางทั ่วถึง ตลอดจนชวยลดการขาดดุลการคา และการสูญเสียเงินตราใหกับตางประเทศ เนื ่องจากสารไอโซโทปที ่ผลิตขึ ้นเองในประเทศ จะมีราคาถูกกวาที ่ส ั ่งซื ้อจากตางประเทศ และสามารถตอบสนองความตองการของผูปวยใหไดใชสารไอโซโทปไดทันทวงที เนื ่องจากสารไอโซโทปมีคาครึ่งชีวิตสั้น การผลิตไดเองสามารถยืดหยุนปริมาณความตองการได

ผลิตภัณฑสำคัญของศูนยไอโซโทปมี 3 ประเภทหลัก ๆ ไดแก สารประกอบ

ติดฉลากรังสี (Labeled Compounds) เภสัชภัณฑสำเร็จรูป เทคนีเชียม-99 เอ็ม

(Tc-99m Radiopharmaceutical Kits) และสารรังสีแบบปดผนึก (Sealed

Source) เพื่อใชประโยชนในทางการแพทย การเกษตร และการศึกษาวิจัย

ดานนิวเคลียรและรังสี “ในปที่ผานมา เราผลิตสารไอโซโทปรังสี สงไปให

บริการในโรงพยาบาลที่มีงานดานเวชศาสตรนิวเคลียร 25 แหง ทั่วประเทศ

สามารถใหบริการผูปวยไดประมาณ 30,000 ราย สามารถลดคาใชจายในการ

นำเขาสารไอโซโทปรังสีกวา 70 ลานบาท แตก็ยังมีสวนหนึ่งที่ตองนำเขาจาก

ตางประเทศ เน่ืองจากขอจำกัดในการผลิตเภสัชบางชนิด เพราะความไมพรอม

ของเคร่ืองมือในการผลิต “ปจจุบันเคร่ืองปฏิกรณปรมาณูวิจัยขนาด 2 เมกกะวัตต

เขาใจงานวิจัยเภสัชรังสีกับผูจัดการศูนยไอโซโทปรังสี

คุณจตุพล แสงสุริิยันผูเชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตรนิวเคลียรสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

น ับต ั ้งแต ป พ.ศ. 2507 เป น เวลานานกว า 40 ป กองผลิตไอโซโทปรังสี ซึ ่งเคยสังกัดอยู ในสำนักงาน พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ไดเปล่ียนแปลงโครงสราง ในป พ.ศ. 2545 เพื่อเตรียมปรับบทบาทและภารกิจ กองผลิตไอโซโทป ไดถูกเปล่ียนช่ือเปน “โครงการผลิต ไอโซโทป” สังกัดสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ และใน วันท่ี 25 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ภารกิจของกลุมงาน ปฏิบัติการวิจัยและพัฒนากลุมงานดานการใหบริการ เทคโนโลยีนิวเคลียรไดถูกแยกออกมาจากสำนักงาน ปรมาณูเพื่อสันติ มาเปนหนวยงานในกำกับของกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีภายใตชื ่อ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ สทน. โครงการผลิตไอโซโทปไดถูกเปลี ่ยนแปลงโครงสราง และเปลี ่ยนชื ่อมาเปนศูนยไอโซโทปรังสี

ซึ่งมีอายุ 52 ป เปดเดินเครื่องเพียงสัปดาหละครั้ง เพื่อรักษาเชื้อเพลิงให

สามารถใชไดนานท่ีสุด ทำใหการผลิตสารเภสัชรังสีบางตัวทำไมได เพราะตอง

อาศัยความแรงรังสีสูงและเดินเครื่องติดตอกัน ทำใหเสียโอกาสในการผลิต

สารเภสัชรังสีหลาย ๆ ชนิด” อยางไรก็ตาม ศูนยไอโซโทปรังสี ยังผลิตเภสัช

รังสีสำคัญ คือ ไอโอดีน-131 และเทคนีเชียม-99 เอ็ม โดยเร่ิมผลิตไอโอดีน-131

คร้ังแรกเม่ือป พ.ศ. 2509 ปริมาณท่ีผลิตไดในปน้ัน คือ 601 มิลลิคูรี และกอน

หนาป พ.ศ. 2509 แพทยก็ส่ังไอโอดีน-131 จากตางประเทศมาใชรักษาผูปวย

อยูแลวประมาณ 12,000 มิลลิคูรี ตอป จนกระท่ังป พ.ศ. 2517 ก็เพ่ิมปริมาณ

การผลิตเปน 14,136 มิลลิคูรี ซ่ึงก็ยังไมเพียงพอตอความตองการใชของแพทย

จากสถิติพบวาแพทยมีความตองการใชสารไอโซโทป 2 ชนิด คือ ไอโอดีน-131

Page 35: FUSION MAGAZINE Vol.2

Interview

FUSION MAGAZINE 35

Interview

สำหรับผูประกอบการ โรงพยาบาลท่ีสนใจ หรือประชาชนที่ตองการขอมูลเพิ่มสามารถติดตอไดที ่ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ศูนยไอโซโทปรังสี โทร. 02-401-9889, www.tint.or.th

ภาพภายใน Lab ของศูนยฯ ที ่มีการควบคุมดูแลการผลิตและวิจัยยาตาง ๆ ไดรับการดูแลเปนอยางดี จากนักวิทยาศาตรผู เชี ่ยวชาญ

• พ.ศ. 2515 ผลิต lodide-131 Hippuran เพ่ือใชตรวจวินิจฉัยไต (Tubular

Excretion Rate) ผลิต lodine-131 Rose Bengal เพ่ือใชวินิจฉัยตับ

• พ.ศ. 2525 ผลิต Sulfur Colloid Kit เพื่อใชวินิจฉัยตับ

ผลิต MDP Kit เพื่อใชวินิจฉัยกระดูก

• พ.ศ. 2526 ผลิต DTPA Kit เพื่อใชวินิจฉัยไตบริเวณ Glumeruli

ผลิต Pyrophosphate Kit เพื่อใชวินิจฉัยกระดูกและการขาดเลือด

ของกลามเนื้อหัวใจ

• พ.ศ. 2527 ผลิต lodide-131 Bromthalein เพื่อใชวินิจฉัยตับ

ผลิต MAA Kit เพ่ือใชวินิจฉัยตับ ผลิต Human Serum Albumin Kit

เพื่อใชวินิจฉัยการสูบฉีดโลหิตที่เลี้ยงหัวใจ

และเทคนีเซียม-99 เอ็ม หลังจากนั้นในป พ.ศ. 2518 ศูนยไอโซโทปรังสีก็

ดำเนินการเพิ่มการผลิตเทคนีเชียม-99 เอ็ม เพื่อตอบความตองการของผูรับ

บริการ สำหรับแผนการดำเนินการในป พ.ศ. 2558 น้ี ศูนยไอโซโทปกำลังจัดหา

เคร่ืองมือสำคัญ สำหรับการผลิตเทคนีเชียม-99 เอ็ม ใหสามารถผลิตไดปริมาณ

มากขึ้น เพียงพอกับความตองการของผูใชบริการ ซึ่งคาดวาจะเริ่มผลิตได

ในปตนปงบประมาณหนา “ศูนยไอโซโทปรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร

แหงชาติ เรายังมุงมั่นผลิตเภสัชรังสีเพื่อตอบสนองความตองการของผูใช

อยางตอเน่ือง และปฏิบัติงานใกลชิดกับบุคลากรดานเวชศาสตรนิวเคลียรของ

โรงพยาบาลตาง ๆ เพื่อรวมพัฒนาเภสัชรังสีตัวใหม ๆ เพื่อใชในการวินิจฉัย

และรักษาโรคไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนประโยชนกับประชาชนอยางสูงสุด

เราชวยคนไขได มันก็เปนไปตามเจตนารมณของศูนยฯ หากในทายที่สุด

ผูปวยอาจจะไมมีชีวิตอยู เราเช่ือวาการใชเภสัชรังสีในการรักษาก็ยอมใหผูปวย

มีคุณภาพชีวิตที่ดี กอนจากโลกนี้ไป” คุณจตุพลกลาวในตอนทาย

นอกจากไอโอดีน-131 และเทคนีเซียม-99 เอ็ม กองผลิตไอโซโทปก็ยังผลิต

สารเภสัชภัณฑรังสีชนิดอื่นอีกหลายกลุมซึ่งพอที่จะรวบรวมไดตามปนั้น ๆ

ที่สารนั้นใหบริการดังนี้

• พ.ศ. 2528 ผลิต HIDA Kit เพื่อใชตรวจวินิจฉัยตับ (Hepateobiliary

System) ผลิต Glucoheptonate เพ่ือใชตรวจวินิจฉัยไตสวน Glomeruli,

Renal Tubule เลิกผลิต lodine-131 Rose Bengal เพราะมี Kit อ่ืนใชแทน

• พ.ศ. 2530 ผลิต Phytate Kit เพื่อใชวินิจฉัยตับ

• พ.ศ. 2531 ผลิต DISIDA Kit เพื่อใชวินิจฉัยตับ-น้ำดีผลิต DMSA Kit

เพื่อใชวินิจฉัยไตสวนเนื้อเยื่อ Parenchyma

ผลิต lodide-131 MIBG เพื่อใชวินิจฉัยตอมหมวกไต

• พ.ศ. 2534 ผลิต DMSA (v) Kit เพ่ือใชถายภาพเน้ืองอก (Tumor lmaging)

• พ.ศ. 2536 ผลิต Stannous Kit เพื่อใชวินิจฉัยหากมีเลือดออก

ในกระเพาะอาหารและลำไส ผลิต Bromida Kit เพ่ือใชวินิจฉัยตับ-น้ำดี

ผลิต MAG3 Kit เพื่อใชตรวจวินิจฉัยไต (การทำงานของ Tubular

Excretion Rate) ผลิต HMPAO เพื่อตรวจวินิจฉัยการไหลเวียน

ของเลือดในสมอง (Brain Perfusion Study)

• พ.ศ. 2537 ผลิต MIBI Kit เพื่อตรวจสอบเสนเลือดที่เลี ้ยงหัวใจ

(Myocardium Perfusion Study) ผลิต EC Kit เพื่อใชตรวจสอบ

การทำงานของไต ผลิต ECD Kit เพื่อใชตรวจสอบการไหลเวียนของ

เลือดในสมอง ผลิต Stannous Kit เพื่อใชตรวจสอบเลือดที่ออกใน

กระเพาะอาหารและลำไส (Gastrointestinal Bleeding)

• พ.ศ. 2540 ผลิต Samarium-153 EDTMP เพ่ือรักษาอาการปวดกระดูก

จากการแพรกระจายของมะเร็ง

• พ.ศ. 2541 ผลิต Samarium Hydroxyapatite เพื่อรักษาอาการปวด

อักเสบของขอในผูปวย Rheumatoid Arthritis

• พ.ศ. 2548 ผลิต Iodine-131 MIBG ชนิดบำบัดรักษา เพ่ือใชรักษาเน้ืองอก

ฟโอโครมชนิดไมรายแรง ใชรักษามะเร็งเน้ือเย่ือสวนกลางของตอมหมวกไต

Page 36: FUSION MAGAZINE Vol.2

36 FUSION MAGAZINE

On The Earth

มหัศจรรยพลังสรรคสรางจากธรรมชาติ

On

the

Ear

th

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

“ธรรมชาติก็เหมือนผูหญิง ยิ่งเรียนรูยิ่งคนพบ ยิ่งถลำยิ่งล้ำลึก” ขึ้นหัวเรื่องปรัชญาแบบนี้เราตองมีอะไรใหไดคนหาอีกแลว เปนเรื่องที่เราพิสูจนไดอยางแทจริงเลยคะ ธรรมชาติซอนอะไรมากมายภายใตความออนหวาน นาหลงใหลและภายใตเงื่อนไขตาง ๆ

ของธรรมชาตินานับประการ ไมนาเชื่อเลยวาจะสรางความประหลาดใจในการค้ำจุนชีวิตของมนุษยและสัตวโลกไดมากขนาดนี้

มหัศจรรยธรรมชาติคร้ังน้ีมาพรอมกับความงดงามท่ีออนชอยคะ น่ันคือมวลหมูดอกไมท่ีนอกจากจะสวยงาม ยังมีประโยชนในการ

รักษาโรคและบรรเทาอาการเจ็บปวยของเราไดดวย เพื่อไมใหเสียเวลาเรามาทำความรูจักสุดยอดสายพันธุดอกไมที่คุณตองทึ่ง

อันดับหนึ่งหนีไมพนราชินีดอกไมในตำนาน นั่นคือ ดอกกุหลาบ (Roses) วาว!! ทั้งโรแมนติกและเปนสัญลักษณของความรัก สาว ๆ คนไหนที่ไดรับดอกกุหลาบชอโตนี่ยิ้มไมหุบเปนอาทิตยเชียวละ ทราบไหมคะ ไมเพียงแตกลิ่นหอมจะชวยสรางความสดชื่น กลิ่นของดอกกุหลาบยังชวยคุมระดับฮอรโมนผูหญิง และหลากหลายผลิตภัณฑความงามที่ใชดอกกุหลาบสกัดเปนสวนประกอบในการชวยลดริ้วรอยจากวัย นอกจากนี้ ชาวอังกฤษก็นิยมปลูกกุหลาบเพื่อนำผลมาทำอาหาร เชน แยม เยลลี ซุป ไวน และชา ผลกุหลาบมีวิตามินซีมากกวาสมอีกนะ ไมเพียงเทาน้ี ชาวนิวซีแลนด เองก็มีช่ือเสียงมากในการทำน้ำเช่ือมท่ีมักใหเด็ก ๆ รับประทานปองกันหวัดในฤดูหนาว

ดอกกุหลาบ : Roses

นอกจากนี้ ยังชวยใหระบบการหมุนเวียนของเลือดดีขึ้นอีกดวย และเมืองที่ถือวาดอกกุหลาบมีคุณภาพดีที่สุดในโลกนั่นก็คือ ดอกกุหลาบจากเมือง “คาซานลัก” (Kazanlak) ประเทศบัลแกเรีย ยุโรปตะวันออกคะ ซึ่งถือไดวาเปนอุตสาหกรรมเศรษฐกิจของที ่น ี ่ เลยก็ว าได เขาเริ ่มเพาะปลูกกันตั ้งแตศตวรรษที ่ 17 ที่นี่เขาจะสกัดน้ำมันของดอกกุหลาบมาแปรเปนสินคาตาง ๆ เชน น้ำหอม ช็อกโกแล็ต แยม น้ำมันอโรมา ฯลฯ ทุงดอกกุหลาบที่นี่เริ่มผลิบานชวงปลายเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน ซ่ึงความสวยงามติดอันดับสถานท่ีทองเท่ียวท่ีคนรักดอกกุหลาบตองมา นอกจากนี้ เทศกาลดอกกุหลาบ (Rose Festival) ก็จัดขึ้นในชวงนี้ดวยคะ

Page 37: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

On The Earth

37

On the E

arth

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

ดอกมะลิ (Jasmine) ดอกไมชนิดนี้บานเราจะเปนดอกที่แสดงถึง

ความรักและความกตัญูรูคุณของผูเปนแม นอกจากรูปลักษณ

ของมะลิจะออนโยนแลว กลิ่นของดอกมะลิยังชวยตานความซึมเศรา

ที่ปจจุบันผูอาศัยในเมืองใหญประสบสภาวะนี้ในวงกวางจากความเครียด

เราก็สามารถบรรเทาดวยกลิ่นของมะลิไดคะ นอกจากนี้ กลิ่นของดอก

มะลิยังชวยบรรเทาอาการปวดทอง บรรเทาโรคบิด รักษาแผลพุพอง

แกพิษจากแมลงตอย แถมยังเปนยาบำรุงหัวใจอีก โอโห สรรพคุณ

มีมากกวาความออนโยนที่เราสัมผัสไดอีกนะ ราก และใบของดอกมะลิ

ยังบรรเทาอาการเจ็บปวยของเราไดเชนกัน ซึ่งผลิตภัณฑที่มีชื่อเสียง

มากท่ีสุดของดอกมะลิน่ันก็คือ น้ำมันหอมระเหยคะ ซ่ึงไดการขนานนามวา

เปน King of Essential Oils เลยนะ และประเทศไทยจะพบพันธุ

Jasminum Sambac จำนวนมากคะ มีวางขายทั่วไปและสงออกดวยคะ

ดอกมะลิ : Jasmine

ดอกเจอราเนียม : Geranium ดอกไมสัญชาติแอฟริกาใต นับไดวาเปนดอกไม

ท่ีไดรับการขนานนามวาเปน “ดอกไมแหงมิตรภาพ”

ที่หลากหลายผลิตภัณฑบำรุงผิวนิยมนำมาทำ

เปนสบู ครีม และน้ำหอม นอกจากพุมดอก

จะสวยงาม กลิ่นของเขายังชวยใหผอนคลาย

จึงนิยมนำไปทำน้ำมันหอมระเหยเชนกัน

นอกจากคุณประโยชนที่มาพรอมกับหนาตา

ที่สวยสดใสแลว กลิ่นของเจอราเนียมยังชวย

ไลยุงดวยคะ สำหรับบานเราหากจะกลาวถึงดอก

ไมชนิดนี้ หลาย ๆ คนจะคิดถึงดอยตุง

เพราะที่นี่เมื่อดอกเจอราเนียมบานสะพรั่ง สีแดง

สดของดอกจะตัดกับสีอื่น ๆ ของนานาพันธุ

ดอกไมทำใหสวยงามจนเปนที่ติดตรึงใจของ

นักทองเที่ยวดวยคะ

Page 38: FUSION MAGAZINE Vol.2

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

On The Earthเรื่อง : Greyscale

On

the

Ear

th

38 FUSION MAGAZINE

เปนที่รูจักกันดีในวงกวางดวยกลิ่นน้ำมันหอมระเหยอันลือชื่อ ตนกำเนิดมาจาก “ภูมิภาคมาคาโรนีเซีย” แถบแอตแลนติกของแอฟริกา ความสวยงามของดอกสีมวงที่บานสะพรั่งไปทั่วทุงนั้น นอกจากจะเปนที่นิยมของนักทองเที่ยวที่มักจะแวะชมตามประเทศตาง ๆ ไมวาจะเปน ประเทศฝรั่งเศส หรือโซนเอเชียบานเราอยางประเทศญี่ปุน ที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลายติดอันดับอยูที่ฮอกไกโดคะ ดอกจะบานสะพรั่งอยางงดงามชวงเดือนมิถุนายน - สิงหาคม นั่นเอง

ไมดอกธรรมดาที่เราสามารถพบไดตามวัดอันนิยมนำไปสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์แทจริงแลวยังมีความมหัศจรรยแฝงภายใตความงดงามคะ ซึ่งสารสกัดจากดอกดาวเรืองหรือที่รูจักกันใน “คาเลนดูลา” มีสรรพคุณชวยแกปญหาผิว ปองกันริ้วรอย แถมยังทานไดอีกดวยนะ อยางกลีบดอกก็นำมาเปนสลัด หรือจะนำไปอบกับขนมปงก็ไดคะ ดวยสีเหลืองสดที่ใครเลยจะคิดวาสรรพคุณของเจาดอกนี้ยังชวยฆาเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และยังนานับคุณประโยชนที่คาดไมถึงกันเลยทีเดียว ซึ่งนอกจากกลีบดอกแลว ใบ และตนก็ยังเปนสมุนไพรชั้นเลิศที่หาไดไมยาก แถมประหยัดดวยนะ

ดอกลาเวนเดอร : Lavender

ไมตองสงสัยเลยวาทำไมดอกไมชนิดนี้จึงเปนที่นิยมเพราะหนาตา สีสัน และสรรพคุณที่ไมธรรมดา กลิ ่นที ่ชวยใหผอนคลายความตึงเครียด ลดอาการเจ็บคอและหลอดลมอักเสบแลว ยังชวยใหเรื่องของการฆาเชื้อและรักษาบาดแผลพุงพองไดอีก

ดอกดาวเรือง : Marigold

Page 39: FUSION MAGAZINE Vol.2

On The EarthO

n the Earth

FUSION MAGAZINE 39

แคเพียงไมกี ่ชนิดจากสายพันธุไมดอกที่เราคุนเคยกันมีอะไรซอนอีกเยอะเลยคะ ธรรมชาติของเราชางนาคนหา และยิ ่งคนหาก็ยิ ่งคนพบวาไมมีวันสิ ้นสุดจริง ๆ ฉบับหนาเราจะไขปริศนาอะไรจากธรรมชาติ โปรดติดตาม

เปรียบเสมือนสาวครบเครื่อง ที่เพรียบพรอมดวยความงามทุกแขนงจริง ๆ เราเคยไดยินหลายคนเปรียบสาวหมายวา “กระดังงารนไฟ” เชื่อวายังมีคนที่ไมทราบวาทำไมจึงตองเปนกระดังงา วันนี้เราไขปริศนากันดวยสรรพคุณของดอกกระดังงาที่ไมธรรมดาอีกแลวคะ เฉพาะกลิ่นก็สามารถทำใหรางกายผลิตเซโรโทนิน ที่เปนสารเคมีในสมองที่สำคัญที่สุดในการสรางความสุข ความสมดุลของสมอง วาว!! แสดงวา อยูใกล ๆ แลวมีความสุขนั่นเอง ยิ่งถาไดนำมารนไฟดวยนะคะ กลิ่นเยายวนชวนหลงทีเดียว นี่แหละคะ สาเหตุที่เรียกสาวหมายวา “กระดังงารนไฟ” เพราะเสนหที่เหลือรับประทานนี่เอง

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

ดอกกระดังงา : Ylang-ylang

สารสำคัญที่มีสวนชวยในเรื่องของการนอนหลับที่สกัดไดจากดอกคาโมมายล เรียกวา อะพิจีนีน (Apigenin) ถือเปนสารที่พบในปริมาณมากที่สุดของดอกไมชนิดนี้ คุณสมบัติสำคัญของอะพิจีนีน คือ ตานการอักเสบและชวยใหรูสึกสงบ คลายความกังวล รวมถึงชวยใหหลับสนิท นั่นจึงเปนสาเหตุที่ทำใหมีการดื่มชาที่สกัดจากดอกคาโมมายลมากกวา 1 ลานถวยตอวัน มีการศึกษาวิจัยในกลุมอาสาสมัครเพศหญิง พบวากลิ่นของน้ำมันจากดอกคาโมมายล มีผลชวยทำใหรู สึกสบาย นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาทางคลินิกในกลุมที่มีภาวะโรควิตกกังวล โดยใหรับประทานสารสกัดจากดอกคาโมมายลติดตอกันเปนเวลา 8 สัปดาห พบวาความวิตกกังวลลดลงอยางมีนัยสำคัญ แมการใชสารสกัดจากธรรมชาติอยางดอกคาโมมายลจะมีสวนชวยในการนอนหลับ คลายกังวลได แตสิ่งสำคัญที่สุดคือการปรับสมดุลการใชชีวิต เชน การรับประทานอาหารประเภทคารโบไฮเดรตและน้ำตาลใหเหมาะสม เพื่อเพิ่มระดับของซีโรโทนิน

ดอกคาโมมายล : Camomiles

Page 40: FUSION MAGAZINE Vol.2

40 FUSION MAGAZINE

เรื่องเลา Bloggerเรื่อง : สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข

Blo

gger

ในแตละป ซึ ่งความรู นี ้ตกทอดมายังชาวกรีก

โดยมีปราชญใหญ คือ ทาลีส ไพทากอรัสและยูคลิด

โดยไดพัฒนาขึ้นมาก เชน หาพื้นที่สามเหลี่ยม

หรือวงกลมได ซ่ึงวิชาน้ีเปนเคร่ืองมือมากกวาจะเปน

ปรัชญาแลวสมัยนั้นยังมีอีกวิชาหนึ่ง คือ ดารา-

ศาสตร ที่เปนการสังเกตปรากฎการณบนทองฟา

แลวเอามาถกเถียงกันวานาจะเปนอยางโนนอยางน้ี

ดาราศาสตรจึงยังเปนไดเพียงปรัชญา เพราะหา

ขอพิสูจนไมได

ชาวกรีกและโรมันเช่ือตามปรัชญาของปโตเลมี

วาโลกอยูน่ิง ๆ เปนศูนยกลางจักรวาล แมอาริสตารคัส

ท่ีบอกวาโลกโคจรรอบดวงอาทิตยท่ีเปนศูนยกลาง

จักรวาลแตคนไมเชื ่อเพราะเขาอธิบายไมไดวา

ถาโลกหมุนแลวทำไมของทุกอยางยังอยูน่ิงไดบนโลก

แลวยังเห็นดวงอาทิตยโคจรขึ้นและตกทุกวันดวย

ป ค.ศ. 1543 นักดาราศาสตรชาวโปแลนดช่ือ

โคเพอรนิคัส พิมพหนังสือที่เขียนวาโลกหมุนรอบ

ดวงอาทิตยและกาลิเลโอ (ป ค.ศ.1564) ไดใช

กลองโทรทรรศนสองดูดวงจันทรและทางชางเผือก

แลวก็เห็นตามโคเพอรนิคัส ความเชื่อนี้ทำใหเขา

ถูกคริสตจักรกักบริเวณอยู กับบานจนถึงวาระ

สุดทายของชีวิต ช่ือเสียงประการหน่ึงของกาลิเลโอ

คือเขาไดริเริ่มวิชาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ

ที่เรียกวากลศาสตร วากันวาเขาทดลองทิ้งวัตถุ

สองชิ ้นที ่หนักไมเทากันลงมาจากหอเอนปซา

วาจะตกถึงพื้นพรอมกัน เพื่อพิสูจนวาการตกของ

วัตถุไมขึ้นกับน้ำหนัก การทดลองนี้ยังเถียงกันวา

เกิดขึ ้นจริงหรือไมจริง หรือเปนคนอื ่นทดลอง

แลวถูกใสชื่อของกาลิเลโอ อยางไรก็ดีทศวรรษ

1660 ดาราศาสตรกาวหนาไปอีกข้ัน เม่ือชาวเยอรมัน

ช่ือเคปเลอรวิเคราะหขอมูลการโคจรของดาวอังคาร

ของลูกพี ่ของเขาชื ่อวาบราห (ชาวเดนมารก)

นิวตันไมใชนักวิทยาศาสตรจริงหรือ ? วันหน่ึงเม่ือผมไปหาซ้ือผลไมในหางสรรพสินคา

เห็นมีแอปเปลมาจากประเทศฝรั่งเศสวางขายอยู

ตามประสาคนวิทยาศาสตรพอเห็นลูกแอปเปลก็นึกถึง

กฎความโนมถวงของ เซอรไอแซก นิวตัน พอลงมือ

เลือกแอปเปลจากฝร่ังเศสก็นึกไดวา แมนิวตันจะเคย

เลากับคนใกลชิดอยางนอย 4 คนวา เขาเกิดความคิด

เร่ืองของความโนมถวงจากผลแอปเปลท่ีหลนลงมา

แตคนท่ีเอาไปเขียนเปนตุเปนตะเปนลายลักษณอักษร

จนตกทอดมาทำใหเราไดจำกันอยางทุกวันนี้นั ้น

เปนชาวฝรั่งเศสชื่อวอลแตร ตอนนั้นผมก็เลยเกิด

ความคิดข้ึนมาขำ ๆ วาแอปเปลท่ีหลนลงบนหัวของ

นิวตันคงเปนแอปเปลจากฝร่ังเศสอยางท่ีผมกำลังเลือก

ผมไมไดอาจหาญมาจากที่ไหนถึงกับฟนธงวา

นิวตันไมใชนักวิทยาศาสตร แตเปนเพราะในสมัย

ของนิวตัน ยังเรียกคนที่ทำมาหากินอยางนิวตันวา

เปนนักปรัชญาทางธรรมชาติ หรือ Natural

Philosopher และนิวตันก็เรียกตัวเองอยางนั้น

ซึ่งการเรียกหาเชนนี้ มีที่มาที่ไปของมัน

อาวุธสำคัญของนักปรัชญาก็คือการถกเถียง

เรียกวาคิดอยางไรแลวก็เอามาถกเถียงกัน แตอาวุธ

ของนักวิทยาศาสตร คือ หลักฐานการทดลอง

เรียกวาคิดอะไรไดอะไรก็เอามาทดลองหาหลักฐาน

ดังน้ัน ในยุคสมัยท่ีโลกยังไมเจริญทางวัตถุ เคร่ืองไม

เครื่องมือทำการทดลองยังไมมี สมัยนั้นจึงเปนโลก

ของนักปรัชญา ซ่ึงในยุคโบราณชาวกรีกเปนพวกแรก

ที่คนหาความเขาใจในตนเองและโลกรอบ ๆ ตัว

ที่นอกเหนือไปจากศาสนา การคนหานี้ ชาวกรีก

เรียกวา Philosophia มาจากภาษากรีก Philos

แปลวา อันเปนที่รัก กับคำวา Sophia ที่แปลวา

ปญญา (Wisdom) ที่ภาษาไทยเรียกวา ปรัชญา

อันหมายถึงวิชาวาดวยหลักแหงความรูและความจริง

วิชาปรัชญาแบงเปน 2 แขนง อยางแรกเปนปรัชญา

ทางศีลธรรมที่สนใจปญหาทำนอง อะไรคือความดี

หรือความยุติธรรมเปนอยางไร ซึ่งนักปรัชญาผู

ย ิ ่งใหญในสาขานี ้ก ็เชน โสกราตีสและเพลโต

อีกแขนงหน่ึงใหความสนใจกับวัตถุใด ๆ ในธรรมชาติ

นับต้ังแตจักรวาลไปจนถึงใบหญา โดยคำธรรมชาติ

น้ีตรงกับภาษาอังกฤษ Nature มาจากภาษาละติน

Nasci แปลวา ที่เกิดขึ้น หมายรวมถึงสรรพสิ่ง

ที ่เกิดขึ ้นมีขึ ้น ซึ ่งในภาษาไทย คือ ธรรมชาติ

และปรัชญาแขนงน้ีเรียกวา Natural Philosophy

ซึ่งผมขอแปลวา ปรัชญาทางธรรมชาติ ที่เพลโต

ถือวาเปนปรัชญาชั้นรองลงไป และแมปรัชญานี้

จะมีปราชญใหญท่ีช่ือคุนหูอยาง อาริสโตเติล แตก็ยัง

ถูกอิทธิพลทางความคิดของเพลโตขมมาโดยตลอด

ตัวอยางท่ีดีของปรัชญาทางธรรมชาตินาจะไดแก

ทฤษฎีอะตอมของคีมอคริตุส คือ นักปรัชญาชาวกรีก

มีชีวิตอยูในชวงประมาณ 370-460 ป กอนคริสต-

ศักราช เขาไดศึกษาวิชาที่วาดวยอะตอม (Atom)

และความวางเปลา (Vacuum) กับเลฟคิปปุส

หลังจากนำวิชาที่ร่ำเรียนมาขบคิดไตรตรองจน

ตกผลึก คีมอคริตุสก็เริ่มเผยแพรคำสอนวาดวย

อะตอมของตนเอง

เขาสอนวาจักรวาล คือ ท่ีวางอันกวางใหญท่ีมี

อะตอมอิงอาศัยอยู อะตอมเองนั้นถูกสรางขึ้นมา

ใหคงอยู เปนนิรันดร ทำลายไมไดและมีความ

แข็งแกรงจนแบงแยกไมได ท้ังยังสมบูรณเต็มเปยม

แลวยังบีบใหเล็กลงไมได อะตอมเองนั ้นไมได

เปลี่ยนแปลงตลอดกาล แตโดยการเคลี่อนอยาง

ตอเน่ืองและจัดเรียงตัวใหมไมหยุดหยอนระหวางกัน

พวกมันไมไดสรางโลกแหงวัตถุธาตุขึ้นมา

ปรัชญาอะตอมของคีมอคริตุสเรียกไดวาเปน

ปรัชญาทางธรรมชาติบริสุทธ์ิเพราะสมัยน้ันยังไมมี

เคร่ืองมือทดลองหาหลักฐานสนับสนุนได และกอน

ในยุคกรีกมีวิชาหนึ่ง คือ เรขาคณิตที่ชาวอียิปตใช

ในการคำนวณพื้นที่น้ำทวมในแมน้ำไนลเสียหาย

Page 41: FUSION MAGAZINE Vol.2

Credit : w

ww

.falsepositivecomic.com

FUSION MAGAZINE

เรื่องเลา Blogger

41

Blogger

164225 DecemberSir Isaac Newton

แลวสรุปไดวา ดาวเคราะหทั ้งหลายโคจรรอบ

ดวงอาทิตยเปนรูปวงรี

นิวตันถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกใบนี้หลังจาก

กาลิเลโอถึงแกกรรม (ค.ศ.1642) ไปไดหนึ่งป

ยุคของนิวตันเช่ือกันวาแทงปริซึมทำใหเกิดแสงสีรุง

แตเขาพิสูจนวาความเชื่อนี้ไมถูกตอง โดยทดลอง

เอาปริซึมอีกแทงหนึ่งมารับแสงสีเดียวที่ออกมา

จากปริซึมแทงแรก ปรากฎวาแสงยังคงเปนสีเดิม

โดยไมเปนสีรุง น่ีคือการทดลองท่ีแสดงวา แสงท่ีเรา

เห็นคือแสงสีขาวซึ ่งประกอบดวยแสงหลายสี

และปริซึมสามารถแยกแสงสีขาวออกเปนแสง

แตละสีที ่เปนองคประกอบดั ้งเดิมได

ป ค.ศ. 1655 นิวตันคิดคนทฤษฎีบทวินาม

ทั่วไป และเริ่มพัฒนาคณิตศาสตรที่เขาเรียกวา

ฟลักเซียนส ที่เดี๋ยวนี้เรียกวา แคลคูลัส ตอมา

ในป ค.ศ. 1687 นิวตันตีพิมพหนังสือชื ่อวา

หล ักคณิตศาสตร ของปรัชญาทางธรรมชาติ

หรือเดอะพรินซิเปย ที่เขียนถึงจักรวาลกล นิวตัน

พิสูจนวงโคจรวงรีของดาวเคราะหดวยกลศาสตร

ของกาลิเลโอ แตเปนการเคลื่อนที่ ที่สัมพันธกัน

ทั้งหมดดวยกฎความโนมถวงของเขา ซึ่งเปนแรง

ที่วัตถุทั ้งมวลในจักรวาลยึดโยงกันและกันโดย

ใชการอธิบายและดวยการคำนวณท่ีพัฒนามาจาก

เรขาคณิตของยูคลิด หนังสือเดอะพรินซิเปย

แมในยุคของนิวตันยังไมมีคำวาวิทยาศาสตร แตตามนิยามของคำวาวิทยาศาสตรในปจจุบัน ผลงานของนิวตันน้ันเรียกไดวาเปนผลงาน วิทยาศาสตรอยางแทจริง ตองนับวา ไอแซค นิวตัน เปนนักวิทยาศาสตร ตัวจริง คนแรก ๆ ของโลกทีเดียวเลย

จึงทำใหปรัชญาดาราศาสตรเปนวิทยาศาสตรที่

สมบูรณ นิวตันเขียนเดอะพรินซิเปยดวยภาษาสำหรับ

นักคณิตศาสตร มันจึงกลายเปนตำราวิทยาศาสตร

ท่ีอานยากท่ีสุดในโลก คนหน่ึงท่ีอานแตก คือ วอลแตร

และนำไปเขียนใหเขาใจงายดวยแอปเปลฝรั่งเศส

และหลายรอยปมานี้ก็มีคนเขียนหนังสืออธิบาย

เดอะพรินซิเปยออกมาหลายเลม โดยลาสุดนาจะ

เปนหนังสือชื ่อ Newton’s Pricipia for the

Common Reader ของนักวิทยาศาสตรรางวัล

โนเบล ชื่อจันทรเสกขาร ตีพิมพเมื่อป ค.ศ. 1995

หลังยุคของนิวตัน ปรัชญาทางธรรมชาติกาวหนา

อยางรวดเร็ว เพ่ือหลีกเล่ียงจากใตรมเงาของปรัชญา

ทางศีลธรรมทางออกก็คือตองหาชื่อใหม ในที่สุด

ก็มาลงตัวท่ีคำวา Natural Science (วิทยาศาสตร

ธรรมชาติ) ที่ตอมาก็กรอนลงเหลือ Science โดย

บันทึกชัดเจนวาวิลเลียม วีเวลล เร่ิมเรียกนักปรัชญา

ทางธรรมชาติดวยคำวานักวิทยาศาสตร หรือ

Scientist เมื่อป ค.ศ. 1883 จากนั้นคำวาวิทยา-

ศาสตรจึงเกิดข้ึนมาภายหลัง อยางไรก็ดี เย่ือใยระหวาง

Science กับ Philosophy ก็ยังมีอยูจนทุกวันนี้

โดยผูท่ีเรียนจบปริญญาเอกสาขาวิทยาศาสตรก็ยัง

ไดรับปริญญา Ph.D. หรือ Doctor of Philosophy

Page 42: FUSION MAGAZINE Vol.2

Health

42 FUSION MAGAZINE

Healthเรื่อง : Greyscale

Hea

lth

อาหารเพิ่ม พลังสุขภาพอาหารเพิ่ม พลังสุขภาพ

หมดยุคใชรางกายหนัก หักโหม ปลอยเนื ้อตัว ทั ้งริ ้วรอย ฝาแดด จุดดางดำ ผิวแหงกรานมาทำรายแลว ทั้งคุณผูหญิง และคุณผูชาย หันมาใสใจดูแลสุขภาพกันมากขึ้น สังเกตไดจากผลิตภัณฑ ไมวาจะโฟมลางหนา ครีมบำรุงผิว หรือแมแตวิตามินตาง ๆ ก็จัดพิเศษสำหรับบำรุงเฉพาะสวนที่คุณตองการ ซึ่งแยกทั้งหญิงและชายสภาพผิวและรางกายของแตละเพศ แตละวัยจะตางกันไป แบบที่เราเห็นไดงาย คือ ผิว คุณผูชายจะหยาบกรานกวาคุณผูหญิง เด็กจะมีเนื้อผิวละเอียดกวาผูใหญนั่นเอง ปจจุบันนี้ถาลองเทียบกันใกล ๆ บางครั้งแทบแยกกันไมออกเลยทีเดียวนะ วาไหนหญิงหรือชาย ไหนเด็กหรือผูใหญ นี่เปนเพราะการดูแลใสใจสุขภาพทั้งภายนอกและภายในมากขึ้นนั่นเอง วันนี้เรามีทริคเด็ด ๆ ที่ทำใหคุณ จับคูอาหารทานใหเกิดประสิทธิภาพ ทั้งอรอยและไดประโยชนครบถวนแบบไมเสียของมาแนะนำ

Page 43: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Health

43

Health

โยเกิรตรสธรรมชาติ คูกับ กลวย จับคูกันแบบนี้ชวยในเรื่องของลำไส ทำใหเราขับถายไดดี ลดการติดเชื้อในทางเดินอาหาร ชวยลดโคเลสเตอรอล และไตรกลีเชอรไรดในเลือด นอกจากนี้ ยังชวยใหระบบภูมิคุมกันใหดีขึ้นดวยนะ

แอปเปล คูกับ องุนนักวิจัยชาวอิตาเลียน พบวา เพียงแอปเปลหนึ่งผล คูกับ องุน หนึ่งกำมือ (ทานทั้งเปลือก) เพียงเทานี้ก็ชวยทำใหสารเควอรชิตินที่พบในแอปเปลชวยละลายลิ่มเลือด ทำงานคูกับสารตานอนุมูลอิสระ “คาเตชิน” ในองุนชวยปองกันการกอตัวของมะเร็ง ชวยควบคุมโคเลสเตอรอล และลดภาวะเลือดแข็งตัวไดดียิ่งขึ้น

เนื้อปลา คูกับ บร็อกโคลี่ เมนูนี้ทำใหนึกถึงสเต็กปลารมควันจานโต ยั่วน้ำลายนอกจากจะอรอยแลวไมนาเชื่อ เมนูนี้หางไกลมะเร็งดวย เพราะชิลีเนียม และซัลโฟราเฟนในอาหารจานนี้ชวยยับยั้งการแพรกระจายของเซลลมะร็งไดถึง 13 เทา ดีตอสุขภาพแบบนี้ขอเปนเมนูมื้อเย็นเลยละกัน ถั่วฝกยาว คูกับ พริกหวานแดง

ถั่วฝกยาวนับเปนผักที่มีธาตุเหล็กสูงชนิดหนึ่งเลย มีประโยชนสารอาหารสูงแบบนี้ ถาไดรับวิตามินซี จากพริกหวานไปดวยจะชวยใหการดูดซึมธาตุเหล็กไปใชไดอยางเต็มประสิทธิภาพเลย

จับคูงาย ๆ ไดท้ังรสชาติท่ีอรอยและประโยชนจากสารอาหารถูกใจแบบน้ี รีบไปทานกันเถอะ

Page 44: FUSION MAGAZINE Vol.2

สิ่งที่ตองเตรียมก็จะมี• เปลือกไขที่เจาะเฉพาะดานบน• เมล็ดถั่วเขียวชนิดตาง ๆ• สำลีกอน

cute & easyegg plantings

มาเปนนักชีววิทยากันเถอะ

44 FUSION MAGAZINE

Workshopเรื่อง : www.alittledelightful.com

Wor

ksho

p

1

2

3

เพื่อน ๆ คงยังจำงานวิทยาศาสตรตอนเด็ก ๆ ที่ใหเพาะถั่วงอกกันได เพื่อเรียนรูเกี่ยวกับการเติบโตของพืชเราไดไปเห็นงานนารัก ๆ ชิ้นนี้ ไดเวลาแลวเรามาทดลองทำกันเถอะ !

Page 45: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE

Workshop

45

Workshop

เริ่มจากใสกอนสำลี เขาไปในเปลือกไขที่ทำความสะอาดแลว

ใสน้ำเล็กนอยใหสำลีเปยก แลวก็ใสเมล็ด

และตามดวยน้ำอีกเล็กนอย

หลังจาก เพาะเสร็จเรียบรอย

ติดตามผลอยางใกลชิด

วันที่ 5

วันที่ 6

วันที่ 8

หลังจากเราเพาะปลูกได เราก็นออกมาจากโรงเพาะจิ ๋ว แลวมานำตกแตงในภาชนะที ่เตรียมไวใหนารักแบบนี้ ! ก็จะไดเจาสามสหายพรอมประดับในบานแลว

ที่มา : www.alitt ledelightful.com

Page 46: FUSION MAGAZINE Vol.2

46 FUSION MAGAZINE

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ9/9 หมูท่ี 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th

งานตรวจวิเคราะหหอกลั่นดวยเทคนิคเชิงนิวเคลียรDistillation Column Inspection using Gamma Scanning service

การตรวจวิเคราะหหอกลั่นโดยอาศัยคุณสมบัติของรังสีแกมมาที่สามารถทะลุผานตัวกลางภายในหอกลั่น โดยปริมาณความเขมของรังสีที่ผานขึ้นอยูกับความหนาแนนของวัตถุตัวกลางนั้น ๆ เปนการนำเทคโนโลยีนิวเคลียรมาประยุกตใชในภาคอุตสาหกรรมปโตรเลียมปโตรเคมี เพื่อตรวจหาความผิดปกติของโครงสรางภายในหอกลั่น และสภาวะการผลิตภายในหอกลั่น ที่เปนตนเหตุทำใหไมสามารถกลั่นผลผลิตไดตามความตองการทั้งคุณภาพและปริมาณ การตรวจวิเคราะหโดยเทคนิคเชิงนิวเคลียรนี้สามารถทราบผลไดทันที และดำเนินการไดโดยไมตองหยุดกระบวนการผลิต

จุดเดนที่สำคัญของงานบริการ• ตรวจหาความผิดปกติของโครงสรางภายในหอกล่ันโดยไมตองหยุดการผลิต

• ผลการวิเคราะหใหความแมนยำสูง เพราะตรวจหลายแนวสแกนเพ่ือใหผล

ที่สอดคลองกัน

• ทราบผลไดทันที และสามารถนำผลการวิเคราะหไปใชในการวางแผนซอม

บำรุงประจำปไดอยางมีประสิทธิภาพ

กลุมผูรับบริการ• ภาคเอกชนในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมัน, อุตสาหกรรมปโตรเคมี

*ติดตอขอรับบริการเพิ่มเติม Call Center โทร. 02-401-9885 หรือ www.tint.or.th

Page 47: FUSION MAGAZINE Vol.2

FUSION MAGAZINE 47

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ9/9 หมูท่ี 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th

การใหบริการตรวจวิเคราะหเชื้อจุลินทรีย Microbiological Analysis

ประเภทของการใหบริการ1. การตรวจวิเคราะหหาปริมาณเชื้อจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลังฉายรังสี

2. การตรวจหาเชื ้อกอโรคที ่สำคัญ ๆ ในผลิตภัณฑอาหาร สมุนไพร

เคร่ืองสำอาง เชน S.aureus, E.coli, Clostridium spp., Pseudomonas

aeruginosa, Bacillus cereus, Salmonella spp. เปนตน

3. การจำแนกชนิดของเชื ้อจุลินทรียโดยเครื ่อง VITEK®2 Systems

ของบริษัท bioMérieux, Inc.

ขอดีของงานบริการ1. ตรวจกอนฉายเพ่ือใหสามารถกำหนดปริมาณรังสีไดถูกตองแมนยำมากข้ึน

ผลิตภัณฑจะไมไดรับปริมาณรังสีมากหรือนอยเกินไป

2. การกำหนดปริมาณรังสีดำเนินการโดยเจาหนาที่ของศูนยฉายรังสีที่มี

ประสบการณดานน้ีโดยตรง

3. เพ่ือใหม่ันใจวาผลิตภัณฑท่ีมีปริมาณเช้ือจุลินทรียอยูในเกณฑมาตรฐาน

ของผลิตภัณฑชนิดน้ัน ๆ

ศูนยฉายรังสีใหบริการตรวจวิเคราะหเชื้อจุลินทรียในผลิตภัณฑต าง ๆ เช น ในอาหาร อาหารสัตว เครื ่องเทศ ผงปรุงรส วัตถุดิบสมุนไพร แคปซูลสมุนไพร ยาหอม ลูกกลอน และผลิตภัณฑเครื่องสำอาง โดยปจจุบันไดรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการตรวจวิเคราะหทางจุลชีววิทยาตามระบบมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005 จากกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธา-รณสุขใบรับรองเลขที่ 1234/56 โดยขอบขายที่ไดรับการรับรองคือการตรวจหาเชื ้อจุล ินทรียท ั ้งหมด (Total Plate Count) ในผลิตภัณฑวัตถุดิบสมุนไพรและเครื่องเทศ

การตรวจวิเคราะหเพ่ือกำหนดปริมาณรังสีกรณีการตรวจวิเคราะหจำนวนจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลัง การฉายรังสี

เพียงทานทราบเกณฑมาตรฐานของผลิตภัณฑชนิดนั้น ๆ และใชบริการ

ตรวจวิเคราะหหาปริมาณเชื้อจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลังฉายรังสี

*ติดตอขอรับบริการเพิ่มเติม Call Center โทร. 02-401-9885 หรือ www.tint.or.th

Page 48: FUSION MAGAZINE Vol.2

ขับเคลื่อนทุกความรู ไปกับFusion Magazine

ebook.in.th ookbee

FREEissue

เทคโนโลยีนิวเคลียรคือ? หาคำตอบกันไดที่นี่

ดาวนโหลดไดแลวทุกชองทางทั้ง iOS และ Android

Available ON

Issuu

JOIN OUR COMMUNITY ON Thainuclearclubอยาลืมติดตามและรวมกิจกรรมกับพวกเราไดที่