food poisoning guideline 2008: chapter3

12
บทที3 การรักษาภาวะอาหารเปนพิษในเด็ก หลักการรักษาสวนใหญคลายคลึงกับการรักษาในภาวะอุจจาระรวงเฉียบพลันในเด็กแตมีขอบางประการ ที่ควรระมัดระวัง ในการรักษาภาวะขาดน้ําดวยการใหรับประทานสารละลายน้ําตาลเกลือแร เนื่องจากภาวะ อาหารเปนพิษ สวนใหญมีระยะฟกตัวสั้น (ประมาณ 6 - 12 ชั่วโมง) มีอาการอาเจียนบอยเปนอาการนําและตาม ดวยถายอุจจาระเปนน้ําหรือเปนน้ําพุ(มีเพียงสวนนอยที่ถายเปนมูกหรือมูกเลือด) ทําใหผูปวยมักมีภาวะขาดน้ํา มากและรุนแรงเกิดขึ้นไดเร็วและงาย ในขณะเดียวกันภาวะอาเจียนบอยจะเปนอุปสรรคในการรักษาที่จะทําให ผูปวยไดรับสารละลายน้ําตาลเกลือแรทางปากไมไดเต็มที่จึงควรปฏิบัติดังนีการให Oral rehydration therapy (ORT) ตามที่ในเด็กอายุนอยกวา 2 โดยใหชอนตักปอนทุก 1 - 2 นาที และในเด็กอายุมากกวา 2 ขึ้นไป ใหใชจิบบอยๆจากแกวน้ําไดนั้น เมื่อผูปวยมีภาวะอาเจียนบอย ควรให 1 ครั้ง แลวหยุดพักประมาณ 5 - 10 นาที แลวใหรับประทานใหมชาๆ บอยๆ หรือให ORS ผสม น้ําอัดลม (Sprite) แชเย็น จะชวยลดภาวะอาเจียนลงไดบาง ถาปฏิบัติดังวิธีขอ ไมไดผล ควรให ORT หลังเด็กไดรับยาแกอาเจียนแลว 30 - 45 นาที ( การให ยากันอาเจียน อาจใชรับประทาน, เหน็บทางทวารหนักหรือการฉีด ทั้งนี้ขึ้นอยูตามความเหมาะสมของบุคลากร การแพทยที่ใหการรักษาจะพิจารณา) ถาปฏิบัติดังวิธีขอ ไมไดผล ควรใหสารน้ํา - เกลือแรทางหลอดเลือดทันที ถาผูปวยอยูที่บาน ควรแนะนําใหบิดามารดาหรือผูดูแลเด็กใหหาเด็กไปรับสารน้ํา - เกลือแรทางหลอดเลือด จากสถานพยาบาลทีใกลบานที่สุดเพื่อปองกันการขาดน้ํารุนแรง ถาสามารถใส Nasogastric tube ไดควรใสและใหสารละลาย น้ําตาลเกลือแร drip ทาง NG-tube ระหวางนําสงโรงพยาบาล (หรือ ใชวิธีขอ (ถาเด็กรูตัวดี) ขณะนําสง โรงพยาบาล เพื่อลดความรุนแรง) หลักการรักษาภาวะอุจจาระรวงเฉียบพลัน 4 ประการ 1. การปองกันและการรักษาภาวะขาดน้ํา 2. การปองกันภาวะทุโภชนาการ โดยเลือกชนิดอาหารที่เหมาะสมใหแกเด็กปวยระหวางที่มีอาการ อุจจาระรวง และหลังจากหายแลว 3. การใหยาปฏิชีวนะ, ยาตานอุจจาระรวง, ยาตานพิษ (antitoxin) และยาอื่นๆที่รักษาตามอาการ เชน อาเจียน, ทองอืด, ปวดทอง, มีไข เปนตน

Upload: tapanok

Post on 10-Apr-2015

831 views

Category:

Documents


12 download

DESCRIPTION

food poisoning: Treatment in children

TRANSCRIPT

Page 1: food poisoning guideline 2008: chapter3

บทที่ 3 การรักษาภาวะอาหารเปนพิษในเด็ก

หลักการรักษาสวนใหญคลายคลึงกับการรักษาในภาวะอุจจาระรวงเฉียบพลันในเด็กแตมีขอบางประการที่ควรระมัดระวัง ในการรักษาภาวะขาดน้ําดวยการใหรับประทานสารละลายน้ําตาลเกลือแร เนื่องจากภาวะอาหารเปนพิษ สวนใหญมีระยะฟกตัวส้ัน (ประมาณ 6 - 12 ช่ัวโมง) มีอาการอาเจียนบอยเปนอาการนําและตามดวยถายอุจจาระเปนน้ําหรือเปนน้ําพุง (มีเพียงสวนนอยที่ถายเปนมูกหรือมูกเลือด) ทําใหผูปวยมักมภีาวะขาดน้ํามากและรุนแรงเกิดขึ้นไดเร็วและงาย ในขณะเดียวกันภาวะอาเจียนบอยจะเปนอุปสรรคในการรักษาที่จะทําใหผูปวยไดรับสารละลายน้ําตาลเกลือแรทางปากไมไดเต็มที่จึงควรปฏิบัติดังนี ้ การให Oral rehydration therapy (ORT) ตามที่ในเด็กอายนุอยกวา 2 ป โดยใหชอนตักปอนทุก 1 - 2 นาที และในเดก็อายุมากกวา 2 ป ขึน้ไป ใหใชจิบบอยๆจากแกวน้ําไดนัน้ เมื่อผูปวยมีภาวะอาเจียนบอย ควรให 1 คร้ัง แลวหยุดพกัประมาณ 5 - 10 นาที แลวใหรับประทานใหมชาๆ บอยๆ หรือให ORS ผสมน้ําอัดลม (Sprite) แชเย็น จะชวยลดภาวะอาเจียนลงไดบาง ถาปฏบิัตดิังวิธีขอ ไมไดผล ควรให ORT หลังเด็กไดรับยาแกอาเจียนแลว 30 - 45 นาที (การใหยากันอาเจยีน อาจใชรับประทาน, เหน็บทางทวารหนกัหรือการฉดี ทั้งนีข้ึ้นอยูตามความเหมาะสมของบุคลากรการแพทยที่ใหการรกัษาจะพจิารณา) ถาปฏิบตัดิังวิธีขอ ไมไดผล ควรใหสารน้ํา - เกลือแรทางหลอดเลือดทันที ถาผูปวยอยูที่บาน ควรแนะนําใหบิดามารดาหรอืผูดูแลเด็กใหหาเด็กไปรับสารน้ํา - เกลือแรทางหลอดเลือด จากสถานพยาบาลที่ใกลบานที่สุดเพื่อปองกันการขาดน้ํารุนแรง ถาสามารถใส Nasogastric tube ไดควรใสและใหสารละลายน้ําตาลเกลือแร drip ทาง NG-tube ระหวางนําสงโรงพยาบาล (หรือ ใชวิธีขอ (ถาเด็กรูตวัดี) ขณะนําสงโรงพยาบาล เพื่อลดความรนุแรง)

หลักการรักษาภาวะอุจจาระรวงเฉียบพลัน 4 ประการ 1. การปองกันและการรักษาภาวะขาดน้ํา 2. การปองกันภาวะทุโภชนาการ โดยเลือกชนิดอาหารที่เหมาะสมใหแกเด็กปวยระหวางที่มีอาการอุจจาระรวง และหลังจากหายแลว 3. การใหยาปฏิชีวนะ, ยาตานอุจจาระรวง, ยาตานพษิ (antitoxin) และยาอื่นๆที่รักษาตามอาการ เชน อาเจียน, ทองอืด, ปวดทอง, มีไข เปนตน

Page 2: food poisoning guideline 2008: chapter3

4. ใหความรูดานปองกันการเกิดอาหารเปนพิษกับญาติหรือผูดูแลเด็กทั้งเด็กยังนอนรักษาอยูในโรงพยาบาล หรือกอนออกจากโรงพยาบาล ทั้งนี้เพราะการใหความรูปองกันกับผูกําลังประสบปญหา นอกจากจะมีความสนใจเปนอยางดีแลวยังทําใหมีการปฏิบัติไดดอีีกดวย

การประเมินระดับความรนุแรงของการขาดน้ําที่แสดงทางคลินิกกอนใหการรักษา

ระดับความรนุแรง ไมขาดน้ํา (≤ 5%) ขาดน้าํบาง (6-9%) ขาดน้าํรุนแรง (≥10% ) อาการทั่วไป ปกต ิ งอแง, กระสับกระสาย ซึม, ไมรูตัว, ตวัออน กระหมอมหนา แบน บุม บุมมาก

ขอบตา และน้าํตา (ถารองไห)

ปกต ิ ขอบตาลึก น้ําตาลดลง ขอบตาลึกโหล, ไมมีน้ําตา

ปากและลิ้น เปยกชืน้ แหง แหงผาก อาการกระหายน้ํา ดื่มปกติ ไมหิวน้ํา กระหายน้ําตลอดเวลา ดื่มน้ําไดนอยหรือดื่มไมได

ความยืดหยุนของผิวหนัง จับตั้งจะคนืลงเร็ว จับตั้งคืนลงในชวง 2 วินาท ี

จับแลวยังตั้งอยูนานเกิน > 3 วินาท ี

กฎ 3 ขอ หลักสําคัญของการรักษาภาวะอุจจาระรวงเฉียบพลัน

กฎขอท่ี 1 Early ORT เพื่อปองกนัการขาดน้ําทีย่ังไมแสดงออกใหเห็นทางคลินิก แมจะมปีระวัติ

การสูญเสียน้ําเกลอืแร จากอาเจยีนหรืออุจจาระรวง เพื่อแกไขภาวะขาดน้ําทีแ่สดงออกใหเห็นทางคลินิกแลวแตยังไมรุนแรงก ในรายที่มีภาวะขาดน้ํารุนแรงแลวตองใหสารน้ําเกลือแรทางหลอดเลือด แตถาในระหวางเดินทางไปสถานพยาบาล ถาผูปวยรูสึกตัวดีก็ให ORT ระหวางทางไปไดเพือ่ลดความรุนแรงลงไดบาง

กฎขอท่ี 2 Continue feeding ปองกันการขาดอาหาร โดยไมงดอาหารระหวางมภีาวะอจุจาระรวง (ถาไมมี

ขอหามเชน อาเจียนบอย, ทองอืด เปนตน) เพียงแตเลือก ชนิดของอาหารและวิธีการใหใหเหมาะสมกับการทําหนาที่ของทางเดินอาหารไดดีมากนอยเพยีงไร

กฎขอท่ี 3 Notified case for referring to Health care center

Oral Rehydration Therapy (ORT)

Page 3: food poisoning guideline 2008: chapter3

พิจารณาผูปวยที่ควรจะตองสงไปรักษาที่สถานพยาบาล ใหถูกตองและไมลาชา เชน ผูปวยได ORT แลวยังมีอาการออนเพลียจากถายเปนน้ําทกุ 2 ช่ัวโมง, อาเจียนบอยรับ ORT ไมไดดี เปนตน หรือ ผูปวยมีไขสูง, ถายเปนมูก หรือมูกเลือด ฯลฯ

การรักษาภาวะขาดน้ําในภาวะอาหารเปนพิษในเด็ก

ท่ีมีภาวะขาดน้ํา (< 5% - 10%)

เปาหมาย 1. เพื่อปองกันการแสดงการขาดน้ําใหเหน็ไดทางคลินิก 2. ในรายที่มกีารแสดงอาการขาดน้ําทางคลินิกแลว...ใหลดการเปนความรุนแรง กฎขอท่ี 1 ทดแทนสารน้าํทางปาก (Oral rehydration therapy หรือ ORT) ในของเหลวที่มีอยู, เตรียมเอง และ ORS ที่บาน โดย ทดแทนสวนที่เสียไปแลวแบงใหหมดใน 4 ชั่วโมง ปริมาณ....50 - 100 มล./กก. หรือ 2 - 3 ออนซ/กก. (ผูใหญ 40 - 60กก. ให 2 - 3 ลิตร หรือดื่ม ORS 8 - 12 แกว) ทดแทนที่เสียทางอุจจาระถาย 1 คร้ัง ใหทดแทน อายุ < 2 ป ให 1/4 - 1/2 แกว อายุ 2 - 10 ป ให 1/2 - 1 แกว > 10 ป และผูใหญให 1 - 2 แกว *หมายเหต ุชนิดของสารน้ําและของเหลว แบงเปน 3 กลุมใหญ คือ 1. ORS (สูตรของ WHO ปจจุบันมีใชอยู 2 ชนิดคือ Standard ORS และ Reduced Osmolar ORS)

ระดับความรนุแรง ไมขาดน้ํา (< 5%) ขาดน้าํบาง (6-9%)

อาการทั่วไป ปกต ิ งอแง, กระสับกระสาย การหมอมหนา แบน บุม

ขอบตา และน้าํตา (ถารองไห)

ปกต ิ ขอบตาลึก น้ําตาลดลง

ปากและลิ้น เปยกชืน้ แหง อาการกระหายน้ํา ดื่มปกติ ไมหิวน้ํา กระหายน้ําตลอดเวลา

ความยืดหยุนของผิวหนัง จับตั้งจะคนืลงเร็ว จับตั้งคืนลงในชวง 2 วินาท ี

Page 4: food poisoning guideline 2008: chapter3

Electrolyte ( m mol/L) ชนิด Osmolarity (mOsm/L) Na+ K+ Cl - Citrate

glucose (mOsm/L)

Standard ORS 311 90 20 80 10 111 Reduced Osmolar ORS 245 75 20 65 10 75

2. Commercial oal electrolyte มีจําหนายตามทองตลาดทั่วไป เชน Olite, Oreda, Infanalyte, Pedialyte ect. สวนใหญมี Na ประมาณ 40 - 60 มิลลิโมล/ลิตร 3. Home solution เชน น้ําขาวใสเกลือ RWS (rice water Solution),สารละลายเกลือน้ําตาล SSS (salt sugar solution ), ซุบ, น้ําผลไม, น้ําอัดลมไมมีสี

กฎขอท่ี 2 ปองกันการขาดอาหารไมงดอาหาร

- กินนมแมใหดดูบอยขึ้น - กินนมผสม ใหนมผสมตามปกติ แตใหปริมาณครึ่งเดียวของนม 1 มื้อ สลับกับORS และอีกครึ่งที่เหลือ ทุก 2 ช.ม. - ทารกอายุ > 4 - 6 เดือนปอนอาหารเหลว พวก ขาวตม โจก ใสเนื้อสัตว กินเพิ่มอีก 1 มื้อ - เด็กโตและผูใหญใหกินอาหารออนเพิ่มอีก 1 มื้อ อาหารในชวงอุจจาระรวง - กินนมแมตอไป ใหอาหารเพิม่ขึ้น 1 มื้อ - ขาวตมใสน้ํามากหนอย เติม เกลือ เนื้อสัตว - น้ํามะพราวออน น้ําสมคั้นใหไดโพแทสเซียม - ไมยอมกนิ ORS กินแลวอาเจียน ใหแชเยน็ น้ําอัดลมไมมีสีใสเกลือ เติมน้ําเทาตัว การประเมินการรักษาดวยสารน้ําทางปาก - ประเมินพฤตกิรรมเด็กดกีวาอุจจาระ เชน กินได นอนหลับได ตื่นขึน้มาเลนไดด ี- เจาหนาทีใ่หดอูาการแสดงของภาวะขาดน้าํ เชน ปสสาวะ 1 - 2 มล./กก./ชม., อุจจาระ ความถี่และปริมาณ

กฎขอท่ี 3 ไปรักษาที่สถานบริการ

- ไมยอมกนิ ไมยอมนอน รองปลอบไมนิ่ง - กระหายน้ํา ออนเพลีย ไมถายปสสาวะ > 6 ช่ัวโมง - กินแลวอาเจยีน กินอาหารและดื่มน้ําไมได - มีอาการขาดน้าํ ตาลึกโหล ตองพยุงหรือหาม - ยังคงถายอยูตลอดเวลา หรือ มากกวา 1 คร้ัง ทุก 2 ช่ัวโมง - มีไขสูงและหรือถายเปนมูกเลือด ขอปฏิบตัิในการใหกิน ORS - เด็กอายุ < 2 ป ใหกนิโดยใชชอนตักปอน 1 ชอน ทุก 1 - 2 นาที

Page 5: food poisoning guideline 2008: chapter3

- > 2 ปขึ้นไป ใหใชแกวน้ําได โดยจิบทีละนอย บอยๆ - ถาอาเจียนใหหยุดพัก ประมาณ 5 - 10 นาที แลวคอนใหกินใหมชาๆ บอยๆ หรือให ORS น้ําอัดลม

แชเยน็ - ถามีอุจจาระใหทดแทนตามขอที่ 1 - ใหกิน ORS ปริมาณเทาทีก่ําหนดเทานัน้ หากตองการดืม่เพิ่มกนิน้ําและนมแมไดเพื่อปองกนัการ

ไดรับเกลือเกนิตองการ กินอาหารปกติไดเม่ือไร? เม่ือไรนับวาหาย - จํานวนครั้งอุจจาระเมื่อถายอจุจาระ 6 คร้ังหรือ นอยกวา / วัน - ลักษณะอุจจาระ อุจจาระมลัีกษณะนิ่มเปนแทงเหมือนยาสีฟน

การแกไขภาวะขาดน้ําดวยการใหน้ําเกลือทางหลอดเลือด (จากขาดน้ํามาก อาเจียนบอย หรือทองอืด ฯลฯ)

2.1. ไม Shock 2.1.1 Severe dehydration (10%)

หมายเหต ุ Deficit ปริมาณคิดตาม Degree ความรุนแรงของการขาดน้ํา เชน 7% ให 70 มก./กก. Maintenance คิดตามสูตร Holiday + Segar เด็กหนัก ≤ 10 กก. คิด 100 มล./กก./วนั เด็กหนัก > 10 กก. คิด 1000 + กก. ที่เกิน 10 x 50 เด็กหนัก > 20 กก. คิด 1500 + กก. ที่เกิน 20 x 20 2.1.2 Moderate dehydration (6 - 9%)

รายการ Resuscitate Replacement Concurrent loss

Duration 2 ช่ัวโมง 22 ช่ัวโมง 24 ช่ัวโมง

ชนิด Fluid RL, NSS NSS หรือ NSS

2 3 NSS

3 ปริมาณ 20 มล./กก./ชม. Deficit + Maintenance 120 - 240 มล./กก/วัน

รายการ Resuscitate Replacement Concurrent loss

Duration 2 ช่ัวโมง 22 ช่ัวโมง 24 ช่ัวโมง

ชนิด Fluid RL, NSS NSS

3 NSS

3 ปริมาณ 10 - 20 มล./กก./ชม. Deficit + Maintenance 30 - 120 มล./กก./วัน

Page 6: food poisoning guideline 2008: chapter3

2.2. ผูปวยใกล shock และ shock รุนแรง - ชนดิของ สารน้ํา เขาทางหลอดเลือด

- การใหหรือการปฏิบตั ิ

ภาวะ Shock Line 1 Line 2 Line3

2.2.1. ใกล shock (Impending shock) (Low BP, pulse mess < 20 mmHg Capillary refill > 3 second)

Ringer lactate or 0.9% NSS rate 40 มล./กก./15 - 30 นาที IV or intravenous

NSS/2 in 5% dextrose water, replace stool loss มล./มล. ช่ัวโมง/ช่ัวโมง 10 - 20 มล./กก./ชม.

Oral ORS หรือ NG drip 5 มล./กก./ชม. หรือตามที่ออกจริง

2.2.2. ช็อครุนแรง (Profound shock) ( no pulse in older children and adult)

Ringer lactate or 0.9% NSS rate 100 มล./นาที until pulse palpable (max 2000 มล.) Recover from shock ให rate 20 มล./กก./ชม. 1 - 2 ชม.

NSS/2 in 5% dextrose water replace stool loss มล./มล. ช่ัวโมง/ช่ัวโมง

Oral ORS หรือ NG drip 5 มล./กก./ชม.หรือตามที่ออกจริง

Resuscitate Replacement fluid Correction of acidosis

- 0.9% NSS หรือ - Ringer lactate หรือ - Ringer acetate

เด็ก NSS/2 in D5W + KCl 20 - 40 mmol/L ( ปสสาวะ ออกแลว ) ผูใหญ NSS in D5W + KCl 20 - 40 mmol/L ( ปสสาวะ ออกแลว )

NaHCO3 1 - 2 มล./กก./คร้ัง

Repeat in 4 - 6 ชม.

Page 7: food poisoning guideline 2008: chapter3

การใหอาหารรับประทานระหวางเปนโรคอุจจาระรวง ( early feeding of appropriate foods)

การศึกษาในชวง 10 ปที่ผานมา แสดงใหเห็นวาการใช ORT ผสมแปง หรือ glucose polymer ทําใหอุจจาระออกมานอยลง ภาวะโภชนาการของเด็กดขีึ้น ซ่ึงลบลางแนวคดิเรื่องการใหลําไสพัก ดวยการงดอาหารทางปาก เมื่อแกไขภาวะขาดน้ําใน 4 - 6 ช่ัวโมง การจะใหสารน้ําอีเล็กโทรลัยตทางปากหรือทางหลอดเลือด ก็ควรเริม่รับประทานอาหารไดดังนี ้I. การใหอาหารภายหลังจากใหสารน้าํตาลเกลือแรทางปากแลว 4 ชั่วโมง ดงันี้ 1. ถาเลี้ยงดวยนมแม ใหเดก็ดูดนมแมใหมากขึ้น 2. ถาเลี้ยงดวยนมผสม หรอือาหารอื่น ปฏิบัติดังนี ้ 2.1 เด็กอายตุ่ํากวา 6 เดือน - ใหนมผสมตามปกติ (ไมชงเจือจาง) แตแบงใหเด็กกินครึ่งเดียว(ของมื้อ) สลับกับสารน้ําตามเกลือแร (ORS) อีกครึ่งหนึ่ง ปริมาณเทากับนมที่เคยรับประทานปกต ิ 2.2 เด็กอายุมากกวา 6 เดือนขึ้นไป - ใหอาหารทีม่ีประโยชน ซ่ึงเตรียมเปนอาหารเหลว ยอยงาย เชน โจก ขาวตมผสมกับผัก เนื้อไกเนื้อสัตวตมเปอย ใหเด็กกินระหวางเกิดอจุจาระรวง และเพิ่มใหอาหารเปนอาหารพิเศษอีกวันละ 1 มื้อ เปนเวลา 2 สัปดาห หลังจากหายอุจจาระรวงหรือจนกวาเด็กจะมีน้ําหนกัเปนปกต ิ - ควรปรับและบดหรือสับอาหารใหละเอียด - พยายามใหเด็กรับประทานอาหารใหไดมากที่สุดเทาทีเ่ด็กตองการ - ใหกลวยน้ําวาสุก หรือ น้ํามะพราว เพื่อเพิ่มแรธาตุ Potassium II. การใหสารน้ําทางหลอดเลือด ปจจุบันไมแนะนาํใหงดอาหาร แตควรใหอาหารเหลวหรือนมแมได แตถาดื่มนําผสม ใหงดไวกอน ให ORS อยางนอย 1 ออนซ/กก./วัน เปนเวลา 12 ช่ัวโมง แลวเร่ิมใหนมผสมปกติตอไป ในปรมิาณที่เทากนัอีก 12 ช่ัวโมง

Page 8: food poisoning guideline 2008: chapter3

การรักษาดวยยา 1 ยาปฏิชีวนะ รับประทาน 3 - 5 วัน เชื้อสาเหตุ ชนิดของยา ขนาดที่ใช (มก./กก./วัน) Salmonella (Non-typhoid) Norfloxacin 10 - 20 Shigella Norfloxacin

Furazolidone 10 - 20 5 - 8

Campylobacter jejuni Erythromycin Norfloxacin

30 - 50 10 - 20

V. parahemolyticus Norfloxacin Tetracycline (ถาอายุมากกวา 8 ป)

10 - 20 25 - 50

V. Cholerae Erythromycin Tetracycline (อายุมากกวา 8 ป) Norfloxacin Doxycycline (อายุมากกวา 8 ป) Ciprofloxacin

30 30 - 50 10 - 20 5 10 - 20

2 ยาตานอุจจาระรวง 2.1 ยาลดการเคลื่อนไหว ของลําไส ยากลุมนี้ไมแนะนําใหใชในเด็ก เนื่องจากมีพษิตอระบบประสาทถาใชเกินขนาด ในกรณี invasive diarrhea ที่ถายอุจจาระเปนมกูหรือมูกเลือด จะทาํใหเชื้อเขาผนงัลําไสไดมากขึ้น นอกจากนี้ยานี้มีฤทธิ์ยบัยั้งการขับเชือ้ออกไปจากทางเดินอาหาร ทั้งนี้เพราะกลไกที่มีการลาํไสบีบตัวเพิ่มขึ้น เปนกลไกธรรมชาติที่รางกายพยายามกําจดัเชื้อโรคออกจากรางกาย จึงทําใหนอกจากมีการคั่งคางเชื้อโรคในลําไส แลวเดก็อาจมทีองอืด หรือมีไขเพิ่มขึ้นได ยากลุมนี้คือ Loperamide และ Diphenoxalate 2.2 ยาท่ีดูดซมึน้ํา (Hydrophilic agent) ยากลุมนี้จะดดูซับน้ําเขามาในตัวยา ทําใหเห็นวาอุจจาระมีเนื้อมากขึ้น แตมีการศึกษาพบวามีการสูญเสียเกลือแรและน้ําไปในอุจจาระมากขึ้น เพราะยานี้ดูดซมึเอาไว เชน Plantago seed และ Polycarbophil 2.3 ยาท่ีมีฤทธิ์ดูดซึม (Adsorbents) แนวคิดของการใชยากลุมนี้คือยาดูดซึมเชื้อแบคทีเรีย, ไวรัส, สารพิษตางๆ รวมทั้งกรดน้ําดี บางคนเชื่อวายานี้ไปเคลอืบเยื่อบุลําไสเปนการปองกนัไมใหเกดิอันตรายตอลําไส แบงเปน ก. ยาท่ีมีฤทธิ์ดูดซับท่ัวไป (General adsorbents) ก.1 Attapulgite เปน hydrous magnesium aluminum silicate ซ่ึงเกิดขึ้นตามธรรมชาติ สามารถดูดซึมน้ําไดถึง 3 เทาของน้ําหนกั เปนยาที่ inert ไมถูกดูดซึมเขารางกาย จึงมีผลขางเคียง

Page 9: food poisoning guideline 2008: chapter3

นอยมาก ยานีไ้มลดปริมาณอุจจาระในวนัแรก อาจถายอุจจาระบอยข้ึน แตในวนัที่ 2 ทําใหมีการถายอุจจาระนอยลง และอจุจาระขนขึน้ ก.2 Kaolin และ Pectin kaolin เปน hydrous aluminum silicate อาจใชเปนยาเดี่ยวหรือใชรวมกับ pectin ยานี้ไมดูดซึมเขารางกาย kaolin ทําใหอุจจาระขนขึ้นแตจํานวนครั้ง, น้ําหนกัอุจจาระ หรือการสูญเสียน้ําและเกลือแรไมลดลง kaolin และ pectin ยังจับกับยาอืน่เปน co-trimoxazole หรือ neomycin ทําใหผลของยาดงักลาวลดลงดวย มกีารศึกษาให kaolin พรอมกับ ORS ในเดก็อุจจาระรวงเฉียบพลัน พบวาไมทําใหหายเร็วขึ้นหรือลดความรุนแรง ก.3 Activated Charcoal มีความสามารถในการดูดซมึสูงมากในภาวะอาหารเปนพิษอาจใชไดแตตองระวัง ถาใหพรอมกับยาปฏิชีวนะหรือยาที่รักษาตามอาการอื่น เชน อาการอาเจยีน, อาการปวดทอง, อาการไขอาจทําใหยาทีใ่หพรอมกับ activated charcoal ลดการออกฤทธิ์ลงจากที่ถูก activated charcoal ดูดซึมไว แตสําหรับในรายอาหารเปนพิษ จากพิษของเชื้อโรค การใชยานีอ้าจมีประโยชนไดบาง อยางนอยการลดพิษ และชวยลดแกสในทองได ถึงแมการรักษาภาวะอุจจาระรวงไมแนนอน ข. Ion - exchange resins เปนสารที่มีคุณสมบัติในการดูดซับกรดน้ําดีในลําไส และดูดจับสารอื่นๆดวยเชนกรดไขมัน ทําใหไมถูกดดูซึมและขับถายออกมาทางอุจจาระไดผลดี เชน คือ Cholestyramine ในรายอุจจาระรวงเกิน 7 วัน จะมีอาการสญูเสียน้ําดี ไปในทางอุจจาระมากกวาปกต ิ จึงมีการกระตุนใหสรางกรดน้ําดีที่ตับมากขึ้นดวย มกีารศึกษาในเด็กที่มีภาวะอุจจาระรวงเฉยีบพลัน การให Cholestyramine ทําใหระยะเวลาการถายเปนน้ําสั้นลง ขอเสียของ cholestyramine ถาใหเกนิขนาดไปจะทําอุจจาระมีไขมัน (streatorrhea) หรือทําใหอุดตันลําไสได นอกจากนีม้ีการรบกวนการดูดซึมของยาบางชนิด เชน anticoagulant digitalis, barbiturate และ thyroxine 2.4 ยาท่ีออกฤทธิ์โดยทําใหมีการเปล่ียนแปลงของ electrolytes transport ยาในกลุมนี้เปนยาที่ใชเพิ่มการดูดซึมหรือชวยลดการหลั่งน้ําและเกลอืแรจากลําไส ไดแกสารละลายน้ําตาล เกลือแร ORS และ cereal - based ORS ไดรับการพิสูจนแลววาไดผลดี ทําใหอุจจาระรวงลดลง และชวยรักษาภาวะขาดน้ําและเกลือแรไดทุกอาย ุ 2.5 Probiotics เปนยาออกฤทธิ์ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงของ intestinal flora ยากลุมนี้ไดแก lactobacilli bifidobacteria และ yeast ซ่ึงมี metabolic product อาจทาํใหมีการเปลีย่นแปลงของ pH ในลําไส นําไปสูการยับยั้งการเจริญเตบิโตของ enteropathogen และปองกัน bacterial adherence และ colonization และยังใหกรดไขมันชวงสั้น ซ่ึงเปนกําลังแกลําไสใหญ ทําใหการดูดซมึเกลือและน้ําที่ลําไสใหญสมบูรณขึ้น จะไดผลดีในรายที่เกดิอุจจาระรวงเฉยีบพลันจากเชื้อ ไวรัสโรตา probiotic เปนยาทีป่ลอดภัย และไมมีคุณสมบัติรบกวนยาอื่น

Page 10: food poisoning guideline 2008: chapter3

3 ยารักษาตามอาการอื่นๆ อาการ ยา ขนาด

อาเจียน - Domperidone (motilium) - Hydroxyzine dimenhydrinate (Dramamine) - Metoclopramide (plasil)

0.3 มก/กก/คร้ัง รับประทานวันละ 3 - 4 คร้ังกอนอาหาร 0.5 - 0.6 มก/กก/คร้ัง รับประทานวันละ 4 คร้ัง 1.25 มก/กก/คร้ัง วันละ 4 คร้ัง 0.1 ก/กก/คร้ัง (สูงสุด ไมเกิน 0.5 มก/กก/คร้ัง) รับประทาน วนัละ 3 - 4 คร้ัง กอนอาหาร

ปวดทอง

- Dicyclomine hydrochloride (Berclomine) อายุ 6 เดือน - 2 ป 5 – 10 มก. 3 - 4 คร้ัง/วัน อายุ 2 - 12 ป 10 มก. 3 คร้ัง/วัน ใหกอนอาหาร 15 นาที มีขนาด 10 มก./5 มล. และ เม็ด 20 มก.

ทองอืด -Gastab,Ultracarbon,Air-x 1 เม็ด รับประทานวันละ 3 คร้ัง หลังอาหาร ไข - Paracetamol 10-20 มก/กก/คร้ัง

Page 11: food poisoning guideline 2008: chapter3
Page 12: food poisoning guideline 2008: chapter3

เอกสารอางอิง

1. วันดี วราวิทย และคณะ แนวปฏิบัติการรักษาโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันในเดก็ ชมรมโรคทางเดินอาหาร และตบัในเดก็แหงประเทศไทย 2544

2. วราห มีสมบรูณ บรรณาธิการคูมือการรักษาโรคอุจจาระรวงและหลกัเกณฑการใชยารักษาโรคอจุจาระรวงเฉียบพลันในเดก็ สําหรับเภสัชกรและบุคลากรสาธารสุข สิงหาคม 2540

3. Word Health Organization : Program for the Control of Diarrhoeal Disease. A manual for treatment of diarrhea : For use by physicians and other senior health workers. WHO/CDD/80;2:1990

4. Hirsch horn N. The treatment of acute diarrhea in children. An historical and physiological perspective. Am J Clin Nutr, 1980; 33:637-663.

5. Hirsch horn N, Kingie JL, Sachar DB, et al. Decrease in net stool output in cholera during intestinal perfusion with glucose electrolyte solution. N. Engl J Med. 1968;279:176-81

6. Pierce NF, Sack RB, Mirta RC, et al. Replacement of water and electrolyte losses in cholera by an oral glucose-electrolyte solution. Ann intern Med. 1996.;70:1173-81

7. Walker-Smith JA, Sandhu BK, Isolauri E. et al. Guidelines prepared by the ESPGAN Working Group on Acute Diarrhea. Recommendations for feeding in childhood gastroenteritis. European Gastroenterol Nutr 1997;24:619-20.

8. Winters RW. Disorder of electrolytes and acid-base metabolism. In HL Barnett (Ed.) Pediatrics (14th ed.) New York. Appleton Century Croft, 1968

9. Holiday MA, Seger WE Maintenance need for water in parenteral fluid therapy. Pediatrics 1957;19:823.

10. Gore SM, Fontaine O, Pierce NF. Impact of rice-based oral rehydration solution of stool output and duration of diarrhoea : meta-analysis of 13 clinical trials. Br Med J. 1992;304:287-91.

11. Pizarro D, Posada G, Sandi L, Moran JR. Rice-based oral electrolyte solutions for the management of infantile diarrhea. M Engl J Med. 1991;324:517-21.

12. Khin Mu, Nyunt-Myunt W. Myokhin AJ, et al. Effect of clinical outcome of breast feeding during acute diarrhoea. Br Med J. 1985; 290:587-9.