¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/src_proceeding/proceeding… ·...

70

Upload: others

Post on 20-Jun-2020

12 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ
Page 2: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ
Page 3: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃ

Page 4: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

กำ�หนดก�รประชุม

ร�ยก�รบทคัดย่อ ก�รนำ�เสนอผลง�นวิจัยแบบป�กเปล่�

ร�ยก�รบทคัดย่อก�รนำ�เสนอผลง�นวิจัยแบบโปสเตอร์

บทคัดย่อ

3

8

11

15

ส�รบัญ

3

กําหนดการประชุมวิชาการ

“การนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจาํป 2560”

วันที่ 8 – 10 มิถุนายน 2560 ณ หองเพทาย ช้ัน 14 โรงแรมวินเซอรสวีท สุขุมวิท 20 กรุงเทพฯ

วันที/่เวลา กําหนดการ

วันท่ี 7 มิถุนายน 2560

14.00 น. ลงทะเบียนเขาพัก

วันท่ี 8 มิถุนายน 2560

08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียน

09.00 - 09.30 น. เปดการประชุม

09.30 – 10.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร

10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารวาง

10.45 – 12.00 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร (ตอ)

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา

ระดับประถมศึกษา

ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอความหนาแนนของห่ิงหอย ณ บานพราว

ตําบลดอน อําเภอปกธงชยั จังหวัดนครราชสีมา

โรงเรียนจตุคามวิทยาคม

ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธที่มีผลตอการพัฒนาการและการเปลี่ยนสี

ของใบในพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศแตกตางกันในอําเภอเมือง จังหวัด

สมุทรปราการ

โรงเรียนเซนตโยเซฟทิพวัล

การตรวจวัดมลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการตรวจสอบกลุมดาว

นายพรานเปรียบเทียบกับแผนภาพโชติมาตร

โรงเรียนดาราวิทยาลัย

ปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กในเขตเทศบาลนครเชียงใหม

จังหวัดเชียงใหม

โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย (แผนกประถม)

14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารวาง

Page 5: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

3สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

3

กําหนดการประชุมวิชาการ

“การนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจาํป 2560”

วันที่ 8 – 10 มิถุนายน 2560 ณ หองเพทาย ช้ัน 14 โรงแรมวินเซอรสวีท สุขุมวิท 20 กรุงเทพฯ

วันที/่เวลา กําหนดการ

วันท่ี 7 มิถุนายน 2560

14.00 น. ลงทะเบียนเขาพัก

วันท่ี 8 มิถุนายน 2560

08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียน

09.00 - 09.30 น. เปดการประชุม

09.30 – 10.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร

10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารวาง

10.45 – 12.00 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร (ตอ)

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา

ระดับประถมศึกษา

ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอความหนาแนนของห่ิงหอย ณ บานพราว

ตําบลดอน อําเภอปกธงชยั จังหวัดนครราชสีมา

โรงเรียนจตุคามวิทยาคม

ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธที่มีผลตอการพัฒนาการและการเปลี่ยนสี

ของใบในพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศแตกตางกันในอําเภอเมือง จังหวัด

สมุทรปราการ

โรงเรียนเซนตโยเซฟทิพวัล

การตรวจวัดมลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการตรวจสอบกลุมดาว

นายพรานเปรียบเทียบกับแผนภาพโชติมาตร

โรงเรียนดาราวิทยาลัย

ปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กในเขตเทศบาลนครเชียงใหม

จังหวัดเชียงใหม

โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย (แผนกประถม)

14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารวาง

Page 6: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ4

วันที/่เวลา กําหนดการ

14.45 – 17.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา (ตอ)

ระดับประถมศึกษา

สมบัติของดิน ปริมาณแปงและการลดพิษของหัวกลอย

โรงเรียนบานลานกระบือ

การสํารวจลูกนํ้ายุงจากทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร โรงเรียนวัดวิหารเบิก

จังหวัดพัทลุง

โรงเรียนวัดวิหารเบิก

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลายและการเกิดไขเลือดออกใน

อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

การศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้าที่มีผลตอการแพรกระจาย

ของแมงกระพรุนนํ้าจืด (Craspedacusta sinensis) กรณีศึกษาแกงกะเบา

อําเภอหวานใหญ จังหวัดมุกดาหาร

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย มกุดาหาร

การศึกษาระดับความลึกของดินและสภาวะที่เหมาะสมในการปลูกขาวพันธุ

ทับทิมชุมแพโดยวิธีการหวานขาวแหงจากการหยอดเมล็ด

โรงเรียนชุมแพศึกษา

การผลิตและการใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันเพื่อปลูกพืช

โรงเรียนเซนตโยเซฟทิพวัล

การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโตของ

ผลผลิตขาวชัยนาท 1

โรงเรียนดอนจานวิทยาคม

การเปรียบเทียบชนิดเมฆและปริมาณเมฆปกคลุมตอการเจริญเติบโตของขาว

พันธุพื้นเมืองในตําบลนานกกกและทุงกะโล อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ

โรงเรียนนานกกก

18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น

(ผูเขารวมประชุม คณะกรรมการตัดสินฯ และคณะทํางาน)

5

วันที/่เวลา กําหนดการ

วันท่ี 9 มิถุนายน 2560

08.15 - 9.00 น. ลงทะเบียน

09.00 – 10.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

การศึกษาชนิดของดินทีเ่หมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนผักบุงทะเล

(Ipomoea pes-caprae)

โรงเรียนพลูตาหลวงวิทยา

การศึกษาความหลากหลายของปลาตีนในบริเวณปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อ

การพัฒนาชายฝงทะเลอันดามันและบริเวณปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง

ตําบลหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง

โรงเรียนพิชัยรัตนคาร

การศึกษาพันธุขาวทนแลงจากการเปลี่ยนสีของใบขาวกับอุณหภูมิของดิน

โรงเรียนลําปางกัลยาณี

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าตอความหนาแนนของลูกนํ้ายุงลายในพื้นที่

อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง

10.30 - 10.45 น. รับประทานอาหารวาง

10.45 – 12.00 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.45 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา (ตอ)

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอจํานวนผูปวยไขเลือดออกในพื้นที่

จังหวัดนครศรีธรรมราช

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

ศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลาที่สงผลตอการ

เจริญเติบโตและผลผลิตของพืชสวน (พริกกะเหร่ียง)

โรงเรียนดอนจานวิทยาคม

Page 7: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

5สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ4

วันที/่เวลา กําหนดการ

14.45 – 17.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา (ตอ)

ระดับประถมศึกษา

สมบัติของดิน ปริมาณแปงและการลดพิษของหัวกลอย

โรงเรียนบานลานกระบือ

การสํารวจลูกนํ้ายุงจากทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร โรงเรียนวัดวิหารเบิก

จังหวัดพัทลุง

โรงเรียนวัดวิหารเบิก

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลายและการเกิดไขเลือดออกใน

อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

การศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้าที่มีผลตอการแพรกระจาย

ของแมงกระพรุนนํ้าจืด (Craspedacusta sinensis) กรณีศึกษาแกงกะเบา

อําเภอหวานใหญ จังหวัดมุกดาหาร

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย มกุดาหาร

การศึกษาระดับความลึกของดินและสภาวะที่เหมาะสมในการปลูกขาวพันธุ

ทับทิมชุมแพโดยวิธีการหวานขาวแหงจากการหยอดเมล็ด

โรงเรียนชุมแพศึกษา

การผลิตและการใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันเพื่อปลูกพืช

โรงเรียนเซนตโยเซฟทิพวัล

การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโตของ

ผลผลิตขาวชัยนาท 1

โรงเรียนดอนจานวิทยาคม

การเปรียบเทียบชนิดเมฆและปริมาณเมฆปกคลุมตอการเจริญเติบโตของขาว

พันธุพื้นเมืองในตําบลนานกกกและทุงกะโล อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ

โรงเรียนนานกกก

18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น

(ผูเขารวมประชุม คณะกรรมการตัดสินฯ และคณะทํางาน)

5

วันที/่เวลา กําหนดการ

วันท่ี 9 มิถุนายน 2560

08.15 - 9.00 น. ลงทะเบียน

09.00 – 10.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

การศึกษาชนิดของดินทีเ่หมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนผักบุงทะเล

(Ipomoea pes-caprae)

โรงเรียนพลูตาหลวงวิทยา

การศึกษาความหลากหลายของปลาตีนในบริเวณปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อ

การพัฒนาชายฝงทะเลอันดามันและบริเวณปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง

ตําบลหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง

โรงเรียนพิชัยรัตนคาร

การศึกษาพันธุขาวทนแลงจากการเปลี่ยนสีของใบขาวกับอุณหภูมิของดิน

โรงเรียนลําปางกัลยาณี

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าตอความหนาแนนของลูกนํ้ายุงลายในพื้นที่

อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง

10.30 - 10.45 น. รับประทานอาหารวาง

10.45 – 12.00 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.45 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา (ตอ)

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอจํานวนผูปวยไขเลือดออกในพื้นที่

จังหวัดนครศรีธรรมราช

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

ศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลาที่สงผลตอการ

เจริญเติบโตและผลผลิตของพืชสวน (พริกกะเหร่ียง)

โรงเรียนดอนจานวิทยาคม

Page 8: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

6 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ6

วันที/่เวลา กําหนดการ

ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศและชนิดของแหลงเพาะพันธุตอจํานวนลูกนํ้ายุง

Culex spp. และ Aedes spp. บริเวณโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

คุณภาพนํ้าทางดานกายภาพ ทางดานเคมี และทางดานชีวภาพบางประการ

บริเวณตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า คลองปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

โรงเรียนปาพะยอมพิทยาคม

14.45 – 15.00 น. รับประทานอาหารวาง

15.00 – 16.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา (ตอ)

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

การศึกษาความหลากหลายของไลเคนจากสภาพแวดลอมที่ตางกันในเขต

อําเภอเมือง จังหวัดระนอง

โรงเรียนพิชัยรัตนคาร

การศึกษาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและลักษณะของเมฆบริเวณโรงเรียน

ศีลาจารพิพัฒน เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร

โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน

การศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนาในจังหวัดสิงหบุรี

โรงเรียนสิงหบุรี

การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียในดิน

โรงเรียนหันคาพิทยาคม

16.30 – 17.30 น. • โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร

• คณะกรรมการรวบรวมคะแนนและพิจารณาตัดสิน

18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น

(ผูเขารวมประชุม คณะกรรมการตัดสินฯ และคณะทํางาน)

วันท่ี 10 มิถุนายน 2560

08.15 - 08.45 น. ลงทะเบียน

08.45 - 09.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร

09.30 – 10.30 น. บรรยายพิเศษ “เทคโนโลยีกับการทํางานวิจัยในปจจุบัน”

โดย ดร.ธีรยุทธ โหรานนท สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารวาง

7

วันที/่เวลา กําหนดการ

10.45 – 12.00 น. พิธีปดการประชุม

โดย ผูอํานวยการ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

• ประกาศผลรางวัล มอบเงินรางวัลและเกยีรติบัตร

• ถายภาพหมู พรอมใหสัมภาษณนักขาว

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 น. จัดเก็บโปสเตอรและอุปกรณแสดงผลงาน และเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

หมายเหตุ

1. กําหนดการอาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

2. อาหารเชา อาหารกลางวัน และอาหารเย็น ณ หองอาหาร Windsor Café ชั้น G

Page 9: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

7สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ6

วันที/่เวลา กําหนดการ

ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศและชนิดของแหลงเพาะพันธุตอจํานวนลูกนํ้ายุง

Culex spp. และ Aedes spp. บริเวณโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

คุณภาพนํ้าทางดานกายภาพ ทางดานเคมี และทางดานชีวภาพบางประการ

บริเวณตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า คลองปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

โรงเรียนปาพะยอมพิทยาคม

14.45 – 15.00 น. รับประทานอาหารวาง

15.00 – 16.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบปากเปลา (ตอ)

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

การศึกษาความหลากหลายของไลเคนจากสภาพแวดลอมที่ตางกันในเขต

อําเภอเมือง จังหวัดระนอง

โรงเรียนพิชัยรัตนคาร

การศึกษาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและลักษณะของเมฆบริเวณโรงเรียน

ศีลาจารพิพัฒน เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร

โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน

การศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนาในจังหวัดสิงหบุรี

โรงเรียนสิงหบุรี

การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียในดิน

โรงเรียนหันคาพิทยาคม

16.30 – 17.30 น. • โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร

• คณะกรรมการรวบรวมคะแนนและพิจารณาตัดสิน

18.00 – 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น

(ผูเขารวมประชุม คณะกรรมการตัดสินฯ และคณะทํางาน)

วันท่ี 10 มิถุนายน 2560

08.15 - 08.45 น. ลงทะเบียน

08.45 - 09.30 น. โรงเรียนนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม แบบโปสเตอร

09.30 – 10.30 น. บรรยายพิเศษ “เทคโนโลยีกับการทํางานวิจัยในปจจุบัน”

โดย ดร.ธีรยุทธ โหรานนท สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารวาง

7

วันที/่เวลา กําหนดการ

10.45 – 12.00 น. พิธีปดการประชุม

โดย ผูอํานวยการ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

• ประกาศผลรางวัล มอบเงินรางวัลและเกยีรติบัตร

• ถายภาพหมู พรอมใหสัมภาษณนักขาว

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 น. จัดเก็บโปสเตอรและอุปกรณแสดงผลงาน และเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

หมายเหตุ

1. กําหนดการอาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

2. อาหารเชา อาหารกลางวัน และอาหารเย็น ณ หองอาหาร Windsor Café ชั้น G

Page 10: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

8 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

8

รายการบทคัดยอ

การนําเสนอผลงานวิจัยแบบปากเปลา

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

ประถมศึกษา

1 จตุคามวิทยาคม ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอความหนาแนนของ

ห่ิงหอย ณ บานพราว ตําบลดอน อําเภอปกธงชัย จังหวัด

นครราชสมีา

16

2 เซนตโยเซฟทิพวัล ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธที่มีผลตอการ

พัฒนาการและการเปลี่ยนสีของใบในพื้นที่ที่มีมลพิษทาง

อากาศแตกตางกันในอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

17

3 ดาราวิทยาลัย การตรวจวัดมลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการ

ตรวจสอบกลุมดาวนายพรานเปรียบเทียบกับแผนภาพ

โชติมาตร

18

4 บานดอนมะกอก การศึกษาชนิดและปริมาณลูกนํ้ายุง การแกไขปญหา

ลูกนํ้ายุงในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอก อําเภอทาชนะ

จังหวัดสุราษฎรธานี

19

5 มงฟอรตวิทยาลัย

(แผนกประถม)

ปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กในเขตเทศบาล

นครเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม

20

6 บานลานกระบือ สมบัติของดิน ปริมาณแปงและการลดพิษของหัวกลอย 21

7 วัดวิหารเบิก การสํารวจลูกนํ้ายุงจากทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร โรงเรียน

วัดวิหารเบิก จังหวัดพัทลุง

22

มัธยมศึกษาตอนตน

8 กรุงเทพคริสเตียน

วิทยาลัย

การศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพ

ที่มีผลตอการตอบสนองของปลาตีน

Periophtalmodor sohlossori

24

9 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราช

ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลาย และการเกิด

ไขเลือดออกในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

25

10 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

มุกดาหาร

การศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้าที่มีผล

ตอการแพรกระจายของแมงกระพรุนนํ้าจืด

(Craspedacusta sinensis) กรณีศึกษาแกงกะเบา

อําเภอหวานใหญ จังหวัดมุกดาหาร

26

9

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

11 ชุมแพศึกษา การศึกษาระดับความลึกของดินและสภาวะที่เหมาะสมใน

การปลูกขาวพันธุทับทิมชุมแพโดยวิธีการหวานขาวแหง

จากการหยอดเมล็ด

27

12 เซนตโยเซฟทิพวัล การผลิตและการใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันเพื่อ

ปลูกพืช

28

13 ดอนจานวิทยาคม การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินใน

นาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโตของผลผลิตขาวชัยนาท 1

29

14 นานกกก การเปรียบเทียบชนิดเมฆและปริมาณเมฆ

ปกคลุมตอการเจริญเติบโตของขาวพันธุพื้นเมืองในตําบล

นานกกก และทุงกะโล อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ

30

15 พลูตาหลวงวิทยา

การศึกษาชนิดของดินที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ

ตนผักบุงทะเล (Ipomoea pes-caprae)

31

16 พิชัยรัตนคาร การศึกษาความหลากหลายของปลาตีนในบริเวณ

ปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงทะเลอันดามัน

และบริเวณปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง ตําบลหงาว

อําเภอเมือง จังหวัดระนอง

32

17 ลําปางกัลยาณ ี การศึกษาพันธุขาวทนแลงจากการเปลี่ยนสีของใบขาวกับ

อุณหภูมิของดิน

33

มัธยมศึกษาตอนปลาย

18 กรุงเทพคริสเตียน

วิทยาลัย

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงปจจัยทางกายภาพที่เหมาะสมตอ

การเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดินของจุลินทรียบริเวณ

จอมปลวกและการประยุกตใช

43

19 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

ตรัง

ผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าตอความหนาแนนของ

ลูกนํ้ายุงลายในพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

44

20 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราช

ศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอจํานวนผูปวย

ไขเลือดออกในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

45

21 ดอนจานวิทยาคม

ศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลา

ที่สงผลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชสวน

(พริกกะเหร่ียง)

46

Page 11: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

9สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

8

รายการบทคัดยอ

การนําเสนอผลงานวิจัยแบบปากเปลา

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

ประถมศึกษา

1 จตุคามวิทยาคม ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอความหนาแนนของ

ห่ิงหอย ณ บานพราว ตําบลดอน อําเภอปกธงชัย จังหวัด

นครราชสมีา

16

2 เซนตโยเซฟทิพวัล ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธที่มีผลตอการ

พัฒนาการและการเปลี่ยนสีของใบในพื้นที่ที่มีมลพิษทาง

อากาศแตกตางกันในอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

17

3 ดาราวิทยาลัย การตรวจวัดมลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการ

ตรวจสอบกลุมดาวนายพรานเปรียบเทียบกับแผนภาพ

โชติมาตร

18

4 บานดอนมะกอก การศึกษาชนิดและปริมาณลูกนํ้ายุง การแกไขปญหา

ลูกนํ้ายุงในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอก อําเภอทาชนะ

จังหวัดสุราษฎรธานี

19

5 มงฟอรตวิทยาลัย

(แผนกประถม)

ปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กในเขตเทศบาล

นครเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม

20

6 บานลานกระบือ สมบัติของดิน ปริมาณแปงและการลดพิษของหัวกลอย 21

7 วัดวิหารเบิก การสํารวจลูกนํ้ายุงจากทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร โรงเรียน

วัดวิหารเบิก จังหวัดพัทลุง

22

มัธยมศึกษาตอนตน

8 กรุงเทพคริสเตียน

วิทยาลัย

การศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพ

ที่มีผลตอการตอบสนองของปลาตีน

Periophtalmodor sohlossori

24

9 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราช

ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลาย และการเกิด

ไขเลือดออกในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

25

10 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

มุกดาหาร

การศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้าที่มีผล

ตอการแพรกระจายของแมงกระพรุนนํ้าจืด

(Craspedacusta sinensis) กรณีศึกษาแกงกะเบา

อําเภอหวานใหญ จังหวัดมุกดาหาร

26

9

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

11 ชุมแพศึกษา การศึกษาระดับความลึกของดินและสภาวะที่เหมาะสมใน

การปลูกขาวพันธุทับทิมชุมแพโดยวิธีการหวานขาวแหง

จากการหยอดเมล็ด

27

12 เซนตโยเซฟทิพวัล การผลิตและการใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันเพื่อ

ปลูกพืช

28

13 ดอนจานวิทยาคม การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินใน

นาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโตของผลผลิตขาวชัยนาท 1

29

14 นานกกก การเปรียบเทียบชนิดเมฆและปริมาณเมฆ

ปกคลุมตอการเจริญเติบโตของขาวพันธุพื้นเมืองในตําบล

นานกกก และทุงกะโล อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ

30

15 พลูตาหลวงวิทยา

การศึกษาชนิดของดินที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ

ตนผักบุงทะเล (Ipomoea pes-caprae)

31

16 พิชัยรัตนคาร การศึกษาความหลากหลายของปลาตีนในบริเวณ

ปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงทะเลอันดามัน

และบริเวณปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง ตําบลหงาว

อําเภอเมือง จังหวัดระนอง

32

17 ลําปางกัลยาณ ี การศึกษาพันธุขาวทนแลงจากการเปลี่ยนสีของใบขาวกับ

อุณหภูมิของดิน

33

มัธยมศึกษาตอนปลาย

18 กรุงเทพคริสเตียน

วิทยาลัย

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงปจจัยทางกายภาพที่เหมาะสมตอ

การเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดินของจุลินทรียบริเวณ

จอมปลวกและการประยุกตใช

43

19 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

ตรัง

ผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าตอความหนาแนนของ

ลูกนํ้ายุงลายในพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

44

20 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราช

ศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอจํานวนผูปวย

ไขเลือดออกในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

45

21 ดอนจานวิทยาคม

ศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลา

ที่สงผลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชสวน

(พริกกะเหร่ียง)

46

Page 12: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

10 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

10

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

22 เตรียมอุดมศึกษา

ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศและชนิดของแหลง

เพาะพันธุตอจํานวนลูกนํ้ายุง Culex spp. และ Aedes spp.

บริเวณโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

48

23 ปาพะยอมพิทยาคม คุณภาพนํ้าทางดานกายภาพ ทางดานเคมี และทางดาน

ชีวภาพบางประการบริเวณตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า

คลองปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

49

24 พิชัยรัตนคาร

การศึกษาความหลากหลายของไลเคนจากสภาพแวดลอมที่

ตางกันในเขตอําเภอเมือง จังหวัดระนอง

50

25 ศีลาจารพิพัฒน การศึกษาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและลักษณะของ

เมฆบริเวณโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน เขตบางซื่อ

กรุงเทพมหานคร

51

26 สิงหบุรี การศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนาในจังหวัดสิงหบุรี

52

27 หันคาพิทยาคม การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียในดิน

53

11

รายการบทคัดยอ

การนําเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

ประถมศึกษา

1 จตุคามวิทยาคม ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอความหนาแนนของ

ห่ิงหอย ณ บานพราว ตําบลดอน อําเภอปกธงชัย จังหวัด

นครราชสมีา

16

2 เซนตโยเซฟทิพวัล ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธที่มีผลตอการพัฒนาการ

และการเปลี่ยนสีของใบในพืน้ที่ที่มีมลพิษทางอากาศ

แตกตางกันในอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

17

3 ดาราวิทยาลัย การตรวจวัดมลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการ

ตรวจสอบกลุมดาวนายพรานเปรียบเทียบกับแผนภาพ

โชติมาตร

18

4 บานดอนมะกอก การศึกษาชนิดและปริมาณลูกนํ้ายุง การแกไขปญหาลูกนํ้า

ยุงในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอก อําเภอทาชนะ

จังหวัดสุราษฎรธานี

19

5 มงฟอรตวิทยาลัย

(แผนกประถม)

ปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กในเขตเทศบาล

นครเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม

20

6 บานลานกระบือ สมบัติของดิน ปริมาณแปงและการลดพิษของหัวกลอย

21

7 วัดวิหารเบิก การสํารวจลูกนํ้ายุงจากทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร โรงเรียน

วัดวิหารเบิก จังหวัดพัทลุง

22

8 อนุบาลลําปาง

(เขลางครัตนอนุสรณ)

การศึกษาเปรียบเทียบการฟกไขเตาสายพันธุซูคาตาที่ฟก

โดยกลองโฟมที่มีการจัดการกับการฟกโดยใชตูฟกไข

สัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ

23

มัธยมศึกษาตอนตน

9 กรุงเทพคริสเตียน

วิทยาลัย

การศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่

มีผลตอการตอบสนองของปลาตีน

Periophtalmodor sohlossori

24

10 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราช

ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลายและการเกิด

ไขเลือดออกในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

25

Page 13: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

11สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

11

รายการบทคัดยอ

การนําเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

ประถมศึกษา

1 จตุคามวิทยาคม ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอความหนาแนนของ

ห่ิงหอย ณ บานพราว ตําบลดอน อําเภอปกธงชัย จังหวัด

นครราชสมีา

16

2 เซนตโยเซฟทิพวัล ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธที่มีผลตอการพัฒนาการ

และการเปลี่ยนสีของใบในพืน้ที่ที่มีมลพิษทางอากาศ

แตกตางกันในอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

17

3 ดาราวิทยาลัย การตรวจวัดมลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการ

ตรวจสอบกลุมดาวนายพรานเปรียบเทียบกับแผนภาพ

โชติมาตร

18

4 บานดอนมะกอก การศึกษาชนิดและปริมาณลูกนํ้ายุง การแกไขปญหาลูกนํ้า

ยุงในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอก อําเภอทาชนะ

จังหวัดสุราษฎรธานี

19

5 มงฟอรตวิทยาลัย

(แผนกประถม)

ปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กในเขตเทศบาล

นครเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม

20

6 บานลานกระบือ สมบัติของดิน ปริมาณแปงและการลดพิษของหัวกลอย

21

7 วัดวิหารเบิก การสํารวจลูกนํ้ายุงจากทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร โรงเรียน

วัดวิหารเบิก จังหวัดพัทลุง

22

8 อนุบาลลําปาง

(เขลางครัตนอนุสรณ)

การศึกษาเปรียบเทียบการฟกไขเตาสายพันธุซูคาตาที่ฟก

โดยกลองโฟมที่มีการจัดการกับการฟกโดยใชตูฟกไข

สัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ

23

มัธยมศึกษาตอนตน

9 กรุงเทพคริสเตียน

วิทยาลัย

การศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่

มีผลตอการตอบสนองของปลาตีน

Periophtalmodor sohlossori

24

10 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราช

ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลายและการเกิด

ไขเลือดออกในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

25

Page 14: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

12 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ12

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

11 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

มุกดาหาร

การศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้าที่มีผล

ตอการแพรกระจายของแมงกระพรุนนํ้าจืด (Craspedacusta

sinensis) กรณีศึกษาแกงกะเบา อําเภอหวานใหญ จังหวัด

มุกดาหาร

26

12 ชุมแพศึกษา การศึกษาระดับความลึกของดินและสภาวะที่เหมาะสมใน

การปลูกขาวพันธุทับทิมชุมแพโดยวิธีการหวานขาวแหงจาก

การหยอดเมล็ด

27

13 เซนตโยเซฟทิพวัล การผลิตและการใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันเพื่อ

ปลูกพืช

28

14 ดอนจานวิทยาคม การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อ

พัฒนาการเจริญเติบโตของผลผลิตขาวชัยนาท 1

29

15 นานกกก การเปรียบเทียบชนิดเมฆและปริมาณเมฆปกคลุมตอการ

เจริญเติบโตของขาวพันธุพื้นเมืองในตําบลนานกกก และ

ทุงกะโล อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ

30

16 พลูตาหลวงวิทยา การศึกษาชนิดของดินที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ

ตนผักบุงทะเล (Ipomoea pes-caprae)

31

17 พิชัยรัตนคาร การศึกษาความหลากหลายของปลาตีนในบริเวณปาชายเลน

สถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงทะเลอันดามันและบริเวณ

ปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง ตําบลหงาว อําเภอเมือง

จังหวัดระนอง

32

18 ลําปางกัลยาณ ี การศึกษาพันธุขาวทนแลงจากการเปลี่ยนสีของใบขาวกับ

อุณหภูมิของดิน

33

19 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

สตูล

การเปรียบเทียบคุณภาพดินและความหลากหลายของสัตว

หนาดินของสวนกลวยที่ใชปุยเคมี และปุยชีวภาพใน

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล

34

20 ปญญาวุธ การศึกษาปจจัยดานอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ ปริมาณ

นํ้าฝน ความเขมแสง ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของไลเคน

บริเวณโรงเรียนปญญาวุธ อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

35

21 ปาพะยอมพิทยาคม ชนิดและจํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณชุมชนลานขอย อําเภอ

ปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

36

13

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

22 พนมสารคาม

“พนมอดุลวิทยา”

ศึกษาสมบัติของดินบริเวณที่มีการทิ้งคราบนํ้ามันของอูซอม

รถและการประยุกตใชดินในการแกปญหา

37

23 รัฐราษฎรอุปถัมภ ความเปนไปไดในการใชถานชีวภาพปรับปรุงสมบัติ

กายภาพบางประการของดินเพื่อรักษาระดับความชื้นดิน

38

24 สงวนหญิง การศึกษาลักษณะการแตกระแหงของดินและสมบัติทาง

กายภาพของดินที่ไดรับปจจัยสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน

39

25 แหลมราษฎรบํารุง ศึกษาคุณภาพดินและนํ้าบริเวณควนทะเลมอง ตําบล

ควนชะลิก อําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช

41

26 อัสสัมชัญ การศึกษาประสิทธิภาพของปุยมูลไสเดือนจากอาหารผสม

เปลือกไข และอาหารผสมกากถั่วเหลืองโดยวัดจากการ

เจริญเติบโตของตนคะนา

42

มัธยมศึกษาตอนปลาย

27 กรุงเทพคริสเตียน

วิทยาลัย

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงปจจัยทางกายภาพที่เหมาะสม

ตอการเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดินของจุลินทรียบริเวณ

จอมปลวกและการประยุกตใช

43

28 จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง

ผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าตอความหนาแนนของ

ลูกนํ้ายุงลายในพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

44

29 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราช

ศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอจํานวนผูปวย

ไขเลือดออกในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

45

30 ดอนจานวิทยาคม

ศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลา

ที่สงผลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชสวน

(พริกกะเหร่ียง)

46

31 เตรียมอุดมศึกษา

ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศและชนิดของแหลงเพาะพนัธุ

ตอจํานวนลูกนํ้ายุง Culex spp. และ Aedes spp. บริเวณ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

48

32 ปาพะยอมพิทยาคม คุณภาพนํ้าทางดานกายภาพ ทางดานเคมี และทางดาน

ชีวภาพบางประการบริเวณ ตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า

คลองปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

49

33 พิชัยรัตนคาร

การศึกษาความหลากหลายของไลเคนจากสภาพแวดลอมที่

ตางกันในเขตอําเภอเมือง จังหวัดระนอง

50

Page 15: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

13สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ12

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

11 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

มุกดาหาร

การศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้าที่มีผล

ตอการแพรกระจายของแมงกระพรุนนํ้าจืด (Craspedacusta

sinensis) กรณีศึกษาแกงกะเบา อําเภอหวานใหญ จังหวัด

มุกดาหาร

26

12 ชุมแพศึกษา การศึกษาระดับความลึกของดินและสภาวะที่เหมาะสมใน

การปลูกขาวพันธุทับทิมชุมแพโดยวิธีการหวานขาวแหงจาก

การหยอดเมล็ด

27

13 เซนตโยเซฟทิพวัล การผลิตและการใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันเพื่อ

ปลูกพืช

28

14 ดอนจานวิทยาคม การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อ

พัฒนาการเจริญเติบโตของผลผลิตขาวชัยนาท 1

29

15 นานกกก การเปรียบเทียบชนิดเมฆและปริมาณเมฆปกคลุมตอการ

เจริญเติบโตของขาวพันธุพื้นเมืองในตําบลนานกกก และ

ทุงกะโล อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ

30

16 พลูตาหลวงวิทยา การศึกษาชนิดของดินที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ

ตนผักบุงทะเล (Ipomoea pes-caprae)

31

17 พิชัยรัตนคาร การศึกษาความหลากหลายของปลาตีนในบริเวณปาชายเลน

สถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงทะเลอันดามันและบริเวณ

ปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง ตําบลหงาว อําเภอเมือง

จังหวัดระนอง

32

18 ลําปางกัลยาณ ี การศึกษาพันธุขาวทนแลงจากการเปลี่ยนสีของใบขาวกับ

อุณหภูมิของดิน

33

19 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

สตูล

การเปรียบเทียบคุณภาพดินและความหลากหลายของสัตว

หนาดินของสวนกลวยที่ใชปุยเคมี และปุยชีวภาพใน

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล

34

20 ปญญาวุธ การศึกษาปจจัยดานอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ ปริมาณ

นํ้าฝน ความเขมแสง ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของไลเคน

บริเวณโรงเรียนปญญาวุธ อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

35

21 ปาพะยอมพิทยาคม ชนิดและจํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณชุมชนลานขอย อําเภอ

ปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

36

13

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

22 พนมสารคาม

“พนมอดุลวิทยา”

ศึกษาสมบัติของดินบริเวณที่มีการทิ้งคราบนํ้ามันของอูซอม

รถและการประยุกตใชดินในการแกปญหา

37

23 รัฐราษฎรอุปถัมภ ความเปนไปไดในการใชถานชีวภาพปรับปรุงสมบัติ

กายภาพบางประการของดินเพื่อรักษาระดับความชื้นดิน

38

24 สงวนหญิง การศึกษาลักษณะการแตกระแหงของดินและสมบัติทาง

กายภาพของดินที่ไดรับปจจัยสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน

39

25 แหลมราษฎรบํารุง ศึกษาคุณภาพดินและนํ้าบริเวณควนทะเลมอง ตําบล

ควนชะลิก อําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช

41

26 อัสสัมชัญ การศึกษาประสิทธิภาพของปุยมูลไสเดือนจากอาหารผสม

เปลือกไข และอาหารผสมกากถั่วเหลืองโดยวัดจากการ

เจริญเติบโตของตนคะนา

42

มัธยมศึกษาตอนปลาย

27 กรุงเทพคริสเตียน

วิทยาลัย

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงปจจัยทางกายภาพที่เหมาะสม

ตอการเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดินของจุลินทรียบริเวณ

จอมปลวกและการประยุกตใช

43

28 จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง

ผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าตอความหนาแนนของ

ลูกนํ้ายุงลายในพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

44

29 จุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราช

ศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอจํานวนผูปวย

ไขเลือดออกในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

45

30 ดอนจานวิทยาคม

ศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลา

ที่สงผลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชสวน

(พริกกะเหร่ียง)

46

31 เตรียมอุดมศึกษา

ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศและชนิดของแหลงเพาะพนัธุ

ตอจํานวนลูกนํ้ายุง Culex spp. และ Aedes spp. บริเวณ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

48

32 ปาพะยอมพิทยาคม คุณภาพนํ้าทางดานกายภาพ ทางดานเคมี และทางดาน

ชีวภาพบางประการบริเวณ ตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า

คลองปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

49

33 พิชัยรัตนคาร

การศึกษาความหลากหลายของไลเคนจากสภาพแวดลอมที่

ตางกันในเขตอําเภอเมือง จังหวัดระนอง

50

Page 16: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

14 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ14

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

34 ศีลาจารพิพัฒน การศึกษาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและลักษณะของ

เมฆบริเวณโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน เขตบางซื่อ

กรุงเทพมหานคร

51

35 สิงหบุรี การศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนาในจังหวัดสิงหบุรี

52

36 หันคาพิทยาคม การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียในดิน

53

37 เซนตโยเซฟทิพวัล การเปรียบเทียบการใช EM และ E-Worm ในการบําบัดนํ้า

เสียเพื่อนํานํ้ากลับมาใชประโยชนในการเลี้ยงปลานิล

55

38 เตรียมอุดมศึกษา ความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอสภาพอากาศในพื้นที่

กรุงเทพมหานคร

56

39 บุญวาทยวิทยาลัย เคร่ืองตรวจวัดสภาพอากาศรายงานผลผาน Blynk

57

40 ปาพยอมพิทยาคม ปริมาณความหลากหลายของสัตวเล็กนํ้าจืดใน

นาเกษตรอินทรียและนาเคมี บานทาชาง

ตําบลพนางตุง อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

58

41 พนมสารคาม

“พนมอดุลวิทยา”

ศึกษาคุณภาพนํ้ารวมกับการใชชุดอุปกรณบําบัดนํ้าทิ้ง

บริเวณอุตสาหกรรมยอมผาในครัวเรือน จังหวัดฉะเชิงเทรา

59

42 มอ.วิทยานุสรณ

สุราษฎรธานี

การศึกษาคุณภาพของดินที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพของ

ขาวหอมพันธุไชยาในเขตพื้นที่อําเภอไชยา จังหวัด

สุราษฎรธานี

60

Page 17: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

15สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ14

ลําดับ โรงเรียน ชื่องานวิจัย หนาท่ี

34 ศีลาจารพิพัฒน การศึกษาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและลักษณะของ

เมฆบริเวณโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน เขตบางซื่อ

กรุงเทพมหานคร

51

35 สิงหบุรี การศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนาในจังหวัดสิงหบุรี

52

36 หันคาพิทยาคม การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียในดิน

53

37 เซนตโยเซฟทิพวัล การเปรียบเทียบการใช EM และ E-Worm ในการบําบัดนํ้า

เสียเพื่อนํานํ้ากลับมาใชประโยชนในการเลี้ยงปลานิล

55

38 เตรียมอุดมศึกษา ความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอสภาพอากาศในพื้นที่

กรุงเทพมหานคร

56

39 บุญวาทยวิทยาลัย เคร่ืองตรวจวัดสภาพอากาศรายงานผลผาน Blynk

57

40 ปาพยอมพิทยาคม ปริมาณความหลากหลายของสัตวเล็กนํ้าจืดใน

นาเกษตรอินทรียและนาเคมี บานทาชาง

ตําบลพนางตุง อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

58

41 พนมสารคาม

“พนมอดุลวิทยา”

ศึกษาคุณภาพนํ้ารวมกับการใชชุดอุปกรณบําบัดนํ้าทิ้ง

บริเวณอุตสาหกรรมยอมผาในครัวเรือน จังหวัดฉะเชิงเทรา

59

42 มอ.วิทยานุสรณ

สุราษฎรธานี

การศึกษาคุณภาพของดินที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพของ

ขาวหอมพันธุไชยาในเขตพื้นที่อําเภอไชยา จังหวัด

สุราษฎรธานี

60

บทคัดย่อ

Page 18: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

16 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ16

ชื่องานวิจัย ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอความหนาแนนของห่ิงหอย

ณ บานพราว ตําบลดอน อําเภอปกธงชัยจังหวัด นครราชสีมา

คณะผูวิจัย เด็กหญิงนับทอง วรรณนิยม เด็กหญิงแพรวนภา อรัญโสต และ

เด็กหญิงกันยารัตน พุดดอน

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวจินตนา โมทอง

โรงเรียน จตุคามวิทยาคม อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นางพันธุทิพย ทิมสุกใส

บทคัดยอ

ห่ิงหอยเปนดัชนีบงบอกถึงความอุดมสมบูรณของสิ่งแวดลอมทําใหคณะผูวิจัยสนใจศึกษาปจจัย

สิ่งแวดลอมบางประการของที่มีผลตอความหนาแนนห่ิงหอย ณ บานพราว ตําบลดอน อําเภอปกธงชัย

จังหวัดนครราชสีมา ในเดือน พฤศจิกายน ธันวาคม 2559 และ มกราคม 2560 โดยศึกษาตนไมที่บริเวณที่

พบห่ิงหอย มีตนจิกนํ้า ตนหญาขน ลําไย และมะรุม จากการตรวจสมบัติดินทางกายภาพ ตามหลัก

วิธีดําเนินการของ GLOBE โครงสรางเปนดินกอนกลม การยึดตัวเปนดินแตกงาย สีดินเปนสีเทาปนดํา

เน้ือดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง ดินมีความชื้นระดับ 10 เพราะมีความชื้นสูงและชื้นแฉะ พบสัตว

หนาดินคือ ไสเดือน กิ้งกือ และมดดํา สวนสมบัติดินทางเคมี (N P K) อยูในระดับ สูง ความเปนกรด เบส

ของดินพบดินเปนกลาง ในสวนของคุณภาพนํ้าความเปนกรด เบสเทากับ 7 (คุณภาพนํ้าเปนกลาง) ยังพบ

จิงโจนํ้า แมงมุมนํ้า วัดอุณหภูมิอากาศเฉลี่ยอยูระหวาง 21 – 24 องศาเซลเซียส สวนความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย

อยูระหวาง 55 – 75 เปอรเซ็นต อุณหภูมิตํ่าความชื้นสัมพัทธสูง ดังน้ันปจจัยสิ่งแวดลอมที่ทําการศึกษาทั้ง

สมบัติดิน นํ้า อากาศมีผลตอความหนาแนนของห้ิงหอย

คําสําคัญ: ห่ิงหอย สภาพอากาศ สมบัติดิน คุณภาพนํ้า สัตวหนาดิน ความหนาแนนห่ิงหอย

17

ชื่องานวิจัย ศึกษาอุณหภูมิ และ ความชื้นสัมพัทธ ที่มีผลตอการพัฒนาการและ

การเปลี่ยนสีของใบในพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศแตกตางกัน ในอําเภอเมือง

จังหวัดสมุทรปราการ

คณะผูวิจัย เด็กหญิงพรลภัส อัครบุปผา เด็กหญิงอันติมา อันติมะสุวพัชร และ

เด็กหญิงศุภิสรา วณิกกุล

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวปทมา เมืองลี และนายมนตมนัส บุญชู

โรงเรียน เซนตโยเซฟทิพวัล อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.จงดี โตอ้ิม คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร

มหาวิทยาลัยมหิดล

ดร.ชัยวุฒิ บุญญศิริวัฒน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดยอ

การเปลี่ยนสีของใบไม เปนปรากฏการณจากผลกระทบที่เกิดกับใบไมของตนไมหรือไมพุมผลัดใบ โดยปกติแลวมีสีเขียวเปลี่ยนสีกลายเปนสีเหลืองถึงแดงโดยใชเวลาไมกี่สัปดาห ใบไมจะเปลี่ยนสีสวยงาม

หรือไมขึ้นอยูกับปจจัย 3 ประการคือ อุณหภูมิ แสงแดด และนํ้า โดยเฉพาะความแตกตางของอุณหภูมิในชวง

กลางวันและกลางคืนยิ่งสูงมากเทาไร ก็จะยิ่งทําใหสีของใบไมสวยมากขึ้นเทาน้ัน อุณหภูมิเปนตัวเรงให

กลไกการเปลี่ยนสีทํางานไดดีขึ้น งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค ดังน้ี เพื่อศึกษาอุณหภูมิ และ ความชื้นสัมพัทธ ที่

มีผลตอการพัฒนาการและการเปลี่ยนสีของใบในพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศแตกตางกัน ในอําเภอเมือง

จังหวัดสมุทรปราการ ไดผลการศึกษา ดังน้ี

อุณหภูมิ และ ความชื้นสัมพัทธที่มีผลตอการพัฒนาการของใบ เห็นไดจากการเปลี่ยนแปลงความ

ยาวของใบในบริเวณพื้นที่ตางๆที่ทําการศึกษาต้ังแต เดือนกันยายน พ.ศ. 2559 ถึง เดือนกุมภาพันธ

พ.ศ. 2560 ไดแก บริเวณโรงเรียนมียาวของใบ คาเฉลี่ย 8.80 เซนติเมตร บริเวณบริษัท ฮีโน มียาวของใบ

คาเฉลี่ย 8.48 เซนติเมตร และ บริเวณโลตัส สาขาศรีนรินทร มียาวของใบ คาเฉลี่ย 7.75 เซนติเมตร

นอกจากน้ียังพบวา ใบที่อยูบริเวณบริษัท ฮีโน สามารถเปลี่ยนแปลงความยาวของใบไดดีกวาบริเวณพื้นที่อ่ืน

อุณหภูมิ และ ความชื้นสัมพัทธ ที่มีผลตอการเปลี่ยนสีของใบ เห็นไดจากการเปลี่ยนแปลงสีของใบ

ในบริเวณพื้นที่ตางๆที่ทําการศึกษาต้ังแต เดือนกันยายน พ.ศ. 2559 ถึง เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2560 ไดแก

บริเวณโรงเรียน เร่ิมเปลี่ยนสีจาก สี 5GY 7/12 กลายเปนสี 5GY 6/10 บริเวณบริษัท ฮีโน และ บริเวณโลตัส

สาขาศรีนรินทร เร่ิมเปลี่ยนสีจาก สี 5GY 6/10กลายเปนสี 5GY 5/10

คําสําคัญ: อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ การเปลี่ยนสีของใบไม

Page 19: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

17สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ16

ชื่องานวิจัย ปจจัยสิ่งแวดลอมบางประการที่มีผลตอความหนาแนนของห่ิงหอย

ณ บานพราว ตําบลดอน อําเภอปกธงชัยจังหวัด นครราชสีมา

คณะผูวิจัย เด็กหญิงนับทอง วรรณนิยม เด็กหญิงแพรวนภา อรัญโสต และ

เด็กหญิงกันยารัตน พุดดอน

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวจินตนา โมทอง

โรงเรียน จตุคามวิทยาคม อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นางพันธุทิพย ทิมสุกใส

บทคัดยอ

ห่ิงหอยเปนดัชนีบงบอกถึงความอุดมสมบูรณของสิ่งแวดลอมทําใหคณะผูวิจัยสนใจศึกษาปจจัย

สิ่งแวดลอมบางประการของที่มีผลตอความหนาแนนห่ิงหอย ณ บานพราว ตําบลดอน อําเภอปกธงชัย

จังหวัดนครราชสีมา ในเดือน พฤศจิกายน ธันวาคม 2559 และ มกราคม 2560 โดยศึกษาตนไมที่บริเวณที่

พบห่ิงหอย มีตนจิกนํ้า ตนหญาขน ลําไย และมะรุม จากการตรวจสมบัติดินทางกายภาพ ตามหลัก

วิธีดําเนินการของ GLOBE โครงสรางเปนดินกอนกลม การยึดตัวเปนดินแตกงาย สีดินเปนสีเทาปนดํา

เน้ือดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง ดินมีความชื้นระดับ 10 เพราะมีความชื้นสูงและชื้นแฉะ พบสัตว

หนาดินคือ ไสเดือน กิ้งกือ และมดดํา สวนสมบัติดินทางเคมี (N P K) อยูในระดับ สูง ความเปนกรด เบส

ของดินพบดินเปนกลาง ในสวนของคุณภาพนํ้าความเปนกรด เบสเทากับ 7 (คุณภาพนํ้าเปนกลาง) ยังพบ

จิงโจนํ้า แมงมุมนํ้า วัดอุณหภูมิอากาศเฉลี่ยอยูระหวาง 21 – 24 องศาเซลเซียส สวนความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย

อยูระหวาง 55 – 75 เปอรเซ็นต อุณหภูมิตํ่าความชื้นสัมพัทธสูง ดังน้ันปจจัยสิ่งแวดลอมที่ทําการศึกษาทั้ง

สมบัติดิน นํ้า อากาศมีผลตอความหนาแนนของห้ิงหอย

คําสําคัญ: ห่ิงหอย สภาพอากาศ สมบัติดิน คุณภาพนํ้า สัตวหนาดิน ความหนาแนนห่ิงหอย

17

ชื่องานวิจัย ศึกษาอุณหภูมิ และ ความชื้นสัมพัทธ ที่มีผลตอการพัฒนาการและ

การเปลี่ยนสีของใบในพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศแตกตางกัน ในอําเภอเมือง

จังหวัดสมุทรปราการ

คณะผูวิจัย เด็กหญิงพรลภัส อัครบุปผา เด็กหญิงอันติมา อันติมะสุวพัชร และ

เด็กหญิงศุภิสรา วณิกกุล

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวปทมา เมืองลี และนายมนตมนัส บุญชู

โรงเรียน เซนตโยเซฟทิพวัล อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.จงดี โตอ้ิม คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร

มหาวิทยาลัยมหิดล

ดร.ชัยวุฒิ บุญญศิริวัฒน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดยอ

การเปลี่ยนสีของใบไม เปนปรากฏการณจากผลกระทบที่เกิดกับใบไมของตนไมหรือไมพุมผลัดใบ โดยปกติแลวมีสีเขียวเปลี่ยนสีกลายเปนสีเหลืองถึงแดงโดยใชเวลาไมกี่สัปดาห ใบไมจะเปลี่ยนสีสวยงาม

หรือไมขึ้นอยูกับปจจัย 3 ประการคือ อุณหภูมิ แสงแดด และนํ้า โดยเฉพาะความแตกตางของอุณหภูมิในชวง

กลางวันและกลางคืนยิ่งสูงมากเทาไร ก็จะยิ่งทําใหสีของใบไมสวยมากขึ้นเทาน้ัน อุณหภูมิเปนตัวเรงให

กลไกการเปลี่ยนสีทํางานไดดีขึ้น งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค ดังน้ี เพื่อศึกษาอุณหภูมิ และ ความชื้นสัมพัทธ ที่

มีผลตอการพัฒนาการและการเปลี่ยนสีของใบในพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศแตกตางกัน ในอําเภอเมือง

จังหวัดสมุทรปราการ ไดผลการศึกษา ดังน้ี

อุณหภูมิ และ ความชื้นสัมพัทธที่มีผลตอการพัฒนาการของใบ เห็นไดจากการเปลี่ยนแปลงความ

ยาวของใบในบริเวณพื้นที่ตางๆที่ทําการศึกษาต้ังแต เดือนกันยายน พ.ศ. 2559 ถึง เดือนกุมภาพันธ

พ.ศ. 2560 ไดแก บริเวณโรงเรียนมียาวของใบ คาเฉลี่ย 8.80 เซนติเมตร บริเวณบริษัท ฮีโน มียาวของใบ

คาเฉลี่ย 8.48 เซนติเมตร และ บริเวณโลตัส สาขาศรีนรินทร มียาวของใบ คาเฉลี่ย 7.75 เซนติเมตร

นอกจากน้ียังพบวา ใบที่อยูบริเวณบริษัท ฮีโน สามารถเปลี่ยนแปลงความยาวของใบไดดีกวาบริเวณพื้นที่อ่ืน

อุณหภูมิ และ ความชื้นสัมพัทธ ที่มีผลตอการเปลี่ยนสีของใบ เห็นไดจากการเปลี่ยนแปลงสีของใบ

ในบริเวณพื้นที่ตางๆที่ทําการศึกษาต้ังแต เดือนกันยายน พ.ศ. 2559 ถึง เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2560 ไดแก

บริเวณโรงเรียน เร่ิมเปลี่ยนสีจาก สี 5GY 7/12 กลายเปนสี 5GY 6/10 บริเวณบริษัท ฮีโน และ บริเวณโลตัส

สาขาศรีนรินทร เร่ิมเปลี่ยนสีจาก สี 5GY 6/10กลายเปนสี 5GY 5/10

คําสําคัญ: อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ การเปลี่ยนสีของใบไม

Page 20: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

18 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ18

ชื่องานวิจัย การตรวจวัดมลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการตรวจสอบ

กลุมดาวนายพรานเปรียบเทียบกับแผนภาพโชติมาตร

คณะผูวิจัย เด็กชายธีรพงศ แขกแกว เด็กหญิงกานตศุภางค แกวแดง และ

เด็กหญิงศิรดา ดีลอม

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ 5

อาจารยท่ีปรึกษา นางจันทรนภา ลือชา

โรงเรียน ดาราวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตรตราจารย ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

รองศาสตรตราจารย ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

นายเจษฎา กีรติภารัตน เจาหนาที่สารสนเทศดาราศาสตร

สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน)

บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีเปนการศึกษามลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการตรวจสอบกลุมดาวนายพราน

เปรียบเทียบกับแผนภาพโชติมาตร ในพื้นที่ อําเภอเมือง อําเภอสารภี อําเภอหางดง อําเภอสันกําแพง อําเภอ

สันทราย และอําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ทําการเก็บรวบรวมขอมูลจาก 15 จุดศึกษา ในวันที่ 17-22

กุมภาพันธ พ.ศ .2560 ทําการเก็บขอมูลตามคูมือการศึกษาสภาพทองฟาจากชุดกิจกรรมของโลกยามราตรี

วิธีดําเนินการเร่ือง GLOBE at Night ของโครงการ GLOBE ผลการศึกษา พบวา สภาพทองฟาในเขตอําเภอ

เมือง ตรงกับแผนภาพโชติมาตรที่ 2 3 และ 4 เขตอําเภอหางดง อําเภอสันปาตอง อําเภอสารภี ตรงกับ

แผนภาพโชติมาตรที่ 5 และ 6 สวนสภาพทองฟาของอําเภอสันกําแพงและสันทราย แบงเปน 2 ลักษณะคือ

บริเวณชุมชนชนบทสภาพทองฟาตรงกับแผนภาพโชติมาตรหมายเลข 4 และ 5 สวนบริเวณใกลตัวเมืองและ

เขตที่มีชุมชนหนาแนน สภาพทองฟาตรงกับแผนภาพโชติมาตรหมายเลข 3 และ 4 มลพิษทางแสงที่พบใน

จังหวัดเชียงใหมจําแนกได ดัง น้ี ในเขตอําเภอเมือง จัดอยู ในกลุมแสงที่ รุกล้ํา เขตอําเภอหางดง

อําเภอสันปาตอง อําเภอสารภี จัดอยูในกลุมแสงเรืองของฟา สวน อําเภอสันกําแพงและสันทราย

มลพิษทางแสงที่พบ จัดอยูในกลุมแสงที่รุกล้ํา และ แสงเรืองของฟาตามลักษณะของพื้นที่

คําสําคัญ : ดาวนายพราน แผนภาพโชติมาตร มลพิษทางแสง

19

ชื่องานวิจัย การศึกษาชนิดและปริมาณของลูกนํ้ายุง การแกไขปญหาลูกนํ้ายุง ในเขต

โรงเรียนบานดอนมะกอก อําเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฏรธานี

คณะผูวิจัย เด็กหญิงอาทิตา หมันประสงค เด็กหญิงนัสรียา หวังเจริญ และ

เด็กหญิงอาทิตยา หมันประสงค

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นายสุทธิแดน พลวัติจรัสวัฒน

โรงเรียน บานดอนมะกอก อําเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฏรธานี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นางสาวศัลยา กอนแกว

บทคัดยอ

การศึกษาชนิดและปริมาณของลูกนํ้ายุง การแกไขปญหาลูกนํ้ายุง ในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอก

อําเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฏรธานี ในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อเก็บลูกนํ้ายุง จําแนกชนิดลูกนํ้ายุง และ

นับจํานวนลูกนํ้ายุงในแตละจุดศึกษา เปรียบเทียบชนิดและจํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณโรงเรียนบานดอนมะกอก

และเพื่อแกไขปญหาลูกนํ้ายุงชนิดตาง ๆ ที่พบในโรงเรียนบานดอนมะกอก

ผลการศึกษาพบวา ลูกนํ้ายุงที่พบในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอกกอนการดําเนินการแกปญหา

จํานวนลูก นํ้ายุ ง 230 ตัว เปนลูก นํ้ายุ งในส กุล คิว เล็กซ (Culex spp.) และลูก นํ้ายุ งสกุล เอดีส

(Aedes spp.) ซึ่งกอนการแกปญหาพบลูกนํ้าในทุกจุดศึกษายกเวนจุดศึกษาอาคารอเนกประสงค

การแกปญหาเร่ืองลูกนํ้ายุงของโรงเรียนบานดอนมะกอกจากการประชุมสภานักเรียนไดมีการ

แตงต้ังเวรประจําวันในการสอดสองภาชนะและทําความสะอาดภาชนะโดยทําความสะอาดในวันจันทร พุธ

และศุกร พรอมทั้งติดตามผลการดําเนินการหลังผานไประยะเวลา 2 สัปดาห ไดผลดี ยกเวนในบริเวณ

แหลงนํ้าธรรมชาติที่จุดศึกษาหวยทามวงเน่ืองจากเปนแหลงนํ้าธรรมชาติ ลูกนํ้ายุงที่พบในเขตโรงเรียนบาน

ดอนมะกอกหลังจากการดําเนินการแกปญหาโดยวิธีการทําความสะอาดถัง 3 คร้ังตอสัปดาห พบวาลูกนํ้า

ยุงที่พบในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอกมีจํานวนลูกนํ้ายุงลดลง

คําสําคัญ: ยุง ลูกนํ้า ชนิดและปริมาณของยุง บานดอนมะกอก ทาชนะ

Page 21: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

19สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ18

ชื่องานวิจัย การตรวจวัดมลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการตรวจสอบ

กลุมดาวนายพรานเปรียบเทียบกับแผนภาพโชติมาตร

คณะผูวิจัย เด็กชายธีรพงศ แขกแกว เด็กหญิงกานตศุภางค แกวแดง และ

เด็กหญิงศิรดา ดีลอม

ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ 5

อาจารยท่ีปรึกษา นางจันทรนภา ลือชา

โรงเรียน ดาราวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตรตราจารย ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

รองศาสตรตราจารย ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

นายเจษฎา กีรติภารัตน เจาหนาที่สารสนเทศดาราศาสตร

สถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน)

บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีเปนการศึกษามลพิษทางแสงในจังหวัดเชียงใหมดวยการตรวจสอบกลุมดาวนายพราน

เปรียบเทียบกับแผนภาพโชติมาตร ในพื้นที่ อําเภอเมือง อําเภอสารภี อําเภอหางดง อําเภอสันกําแพง อําเภอ

สันทราย และอําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ทําการเก็บรวบรวมขอมูลจาก 15 จุดศึกษา ในวันที่ 17-22

กุมภาพันธ พ.ศ .2560 ทําการเก็บขอมูลตามคูมือการศึกษาสภาพทองฟาจากชุดกิจกรรมของโลกยามราตรี

วิธีดําเนินการเร่ือง GLOBE at Night ของโครงการ GLOBE ผลการศึกษา พบวา สภาพทองฟาในเขตอําเภอ

เมือง ตรงกับแผนภาพโชติมาตรที่ 2 3 และ 4 เขตอําเภอหางดง อําเภอสันปาตอง อําเภอสารภี ตรงกับ

แผนภาพโชติมาตรที่ 5 และ 6 สวนสภาพทองฟาของอําเภอสันกําแพงและสันทราย แบงเปน 2 ลักษณะคือ

บริเวณชุมชนชนบทสภาพทองฟาตรงกับแผนภาพโชติมาตรหมายเลข 4 และ 5 สวนบริเวณใกลตัวเมืองและ

เขตที่มีชุมชนหนาแนน สภาพทองฟาตรงกับแผนภาพโชติมาตรหมายเลข 3 และ 4 มลพิษทางแสงที่พบใน

จังหวัดเชียงใหมจําแนกได ดัง น้ี ในเขตอําเภอเมือง จัดอยู ในกลุมแสงที่ รุกล้ํา เขตอําเภอหางดง

อําเภอสันปาตอง อําเภอสารภี จัดอยูในกลุมแสงเรืองของฟา สวน อําเภอสันกําแพงและสันทราย

มลพิษทางแสงที่พบ จัดอยูในกลุมแสงที่รุกล้ํา และ แสงเรืองของฟาตามลักษณะของพื้นที่

คําสําคัญ : ดาวนายพราน แผนภาพโชติมาตร มลพิษทางแสง

19

ชื่องานวิจัย การศึกษาชนิดและปริมาณของลูกนํ้ายุง การแกไขปญหาลูกนํ้ายุง ในเขต

โรงเรียนบานดอนมะกอก อําเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฏรธานี

คณะผูวิจัย เด็กหญิงอาทิตา หมันประสงค เด็กหญิงนัสรียา หวังเจริญ และ

เด็กหญิงอาทิตยา หมันประสงค

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นายสุทธิแดน พลวัติจรัสวัฒน

โรงเรียน บานดอนมะกอก อําเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฏรธานี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นางสาวศัลยา กอนแกว

บทคัดยอ

การศึกษาชนิดและปริมาณของลูกนํ้ายุง การแกไขปญหาลูกนํ้ายุง ในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอก

อําเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฏรธานี ในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อเก็บลูกนํ้ายุง จําแนกชนิดลูกนํ้ายุง และ

นับจํานวนลูกนํ้ายุงในแตละจุดศึกษา เปรียบเทียบชนิดและจํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณโรงเรียนบานดอนมะกอก

และเพื่อแกไขปญหาลูกนํ้ายุงชนิดตาง ๆ ที่พบในโรงเรียนบานดอนมะกอก

ผลการศึกษาพบวา ลูกนํ้ายุงที่พบในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอกกอนการดําเนินการแกปญหา

จํานวนลูก นํ้ายุ ง 230 ตัว เปนลูก นํ้ายุ งในส กุล คิว เล็กซ (Culex spp.) และลูก นํ้ายุ งสกุล เอดีส

(Aedes spp.) ซึ่งกอนการแกปญหาพบลูกนํ้าในทุกจุดศึกษายกเวนจุดศึกษาอาคารอเนกประสงค

การแกปญหาเร่ืองลูกนํ้ายุงของโรงเรียนบานดอนมะกอกจากการประชุมสภานักเรียนไดมีการ

แตงต้ังเวรประจําวันในการสอดสองภาชนะและทําความสะอาดภาชนะโดยทําความสะอาดในวันจันทร พุธ

และศุกร พรอมทั้งติดตามผลการดําเนินการหลังผานไประยะเวลา 2 สัปดาห ไดผลดี ยกเวนในบริเวณ

แหลงนํ้าธรรมชาติที่จุดศึกษาหวยทามวงเน่ืองจากเปนแหลงนํ้าธรรมชาติ ลูกนํ้ายุงที่พบในเขตโรงเรียนบาน

ดอนมะกอกหลังจากการดําเนินการแกปญหาโดยวิธีการทําความสะอาดถัง 3 คร้ังตอสัปดาห พบวาลูกนํ้า

ยุงที่พบในเขตโรงเรียนบานดอนมะกอกมีจํานวนลูกนํ้ายุงลดลง

คําสําคัญ: ยุง ลูกนํ้า ชนิดและปริมาณของยุง บานดอนมะกอก ทาชนะ

Page 22: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

20 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ20

ชื่องานวิจัย ปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็ก ในเขตเทศบาลนครเชยีงใหม

จังหวัดเชียงใหม

คณะผูวิจัย เด็กชาย ปตุภูมิ ชัยเจริญวรรณ เด็กชาย รุจิพัทธ จิรานุสรณกุล และ

เด็กชาย ธีรดนย พุฒิไพโรจน

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวเกษสุดา คําลุน

โรงเรียน มงฟอรตวิทยาลัย แผนกประถม อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัจฉริยา สุริยะวงค คณะวิศวกรรมศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บทคัดยอ

ปริมาณฝุนละอองขนาดเล็ก เปนปญหาชุมชนที่สําคัญยิ่งของจังหวัดเชียงใหม และทวีความรุนแรง

เพิ่มขึ้นทุกป การศึกษาปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กในอากาศแบงพื้นที่ เก็บขอมูลเปน 3 กลุม

ลักษณะคือ เขตชานเมืองหางแยกจราจร เขตในเมืองหางแยกจราจรและเขต ตัวเมืองใกลแยกจราจร ขอมูลที่

ไดจากการวัดของอุปกรณตรวจวัดคาคุณภาพอากาศ ประกอบดวย 3 คาดังน้ี คาฝุนละอองขนาดเล็กไมเกิน

2 .5 ไมครอน (PM2.5) ค าฝุนละอองขนาดเล็กไม เกิน 10 ไมครอน (PM10) และ คา อุณหภูมิ

(องศาเซลเซียส) โดยกําหนดชวงเวลาเก็บขอมูลจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณจราจรที่คับคั่งในพื้นที่ และ

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่สูงข้ึนในชวงเวลาพระอาทิตยขึ้น เวลา 06:00 – 09:00 น. และอุณหภูมิที่

ลดลงชวงเวลาพระอาทิตยตกเวลา 18:00 – 21:00 น.

ผลการศึกษาพบวาคาฝุนละอองขนาดเล็กในอากาศทั้ง PM2.5 และ PM10 มีคาเรียงลําดับจากมาก

ไปนอยดังน้ี เขตตัวเมืองที่ใกลแยกจราจร เขตในเมืองหางแยกจราจร และเขตชานเมืองหางแยกจราจร และ

พบวาคาฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) มีคาสูงกวาฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน

(PM10) ในทุกพื้นที่จุดศึกษา และทั้งสองชวงเวลา พบวาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิไมมีผลอยางมีนัยสําคัญ

ตอคาฝุนละอองขนาดเล็กทั้ง PM2.5 และ PM10 ทั้งชวงเวลา 06:00 – 09:00 น. และชวงเวลา

18:00 – 21:00 น.

คําสําคัญ: ฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 PM10 อุณหภูมิ เทศบาลนครเชียงใหม

21

ชื่องานวิจัย สมบัติของดิน ปริมาณแปงและการลดพิษของหัวกลอย

คณะผูวิจัย เด็กหญิงภันทิลา ลาดนอก เด็กหญิงปาริฉัตร ชีวาจร และ

เด็กหญิงศิลปศุภา บุญเจก

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวนลิน ชลชาญกิจ และนางจรรยา มีพวงผล

โรงเรียน บานลานกระบือ อําเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.สุภาพร พงศธรพฤกษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

บทคัดยอ

ศึกษาความสัมพันธสมบัติของดิน ปริมาณแปง และการลดพิษของหัวกลอย ตําบลตลิ่งชัน อําเภอ

บานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย ผลการศึกษามีดังน้ี สมบัติของดินในพืนที่ปาที่พบการเจริญเติบโตของ

ตนกลอยที่มีหัวขนาดใหญ และสามารถนํามาทําเปนกลอยตากแหงได พบวา ขนาดของหัวกลอยอยูในชวง

13 – 18 เซนติเมตร อยูลึกจากหนาดินอยูในชวง 3 – 20 เซนติเมตร จํานวนชั้นของหัวกลอย 2 – 3 ชั้น และ

จํานวนหัวกลอยอยูในชวง 2 – 4 หัว นํ้าหนักตอหัวกลอยเฉลี่ย 1.5 – 2.7 กิโลกรัม ปริมาณแปงของหัวกลอย

วัดโดยใชเคร่ืองวัดแปงของหัวมันสําปะหลัง พบวามีแปงอยูในชวงรอยละ 6 – 8 สมบัติของดินที่พบ

หัวกลอยหรือตนกลอยเจริญเติบโตมีคา pH 8 – 9.5 มีคาเปนเบส ดินมีสีดํา นํ้าตาลดํา เน้ือดินละเอียดนุมมือ

มีเศษใบไมผุ และมีเศษหิน ความลึกของหนาดินอยูในชวง 10 – 100 เซนติเมตร ขนาดอนุภาคของดินที่ผาน

ตะแกรงรอนคิดเปนรอยละ 30 โดยนํ้าหนัก

การลางพิษของหัวกลอยตองนํามาปลอกเปลือก ห่ันเปนชิ้นเล็ก ๆ หนาประมาณ 1 – 3 มิลลิเมตร

นําไปลางทําความสะอาดและนํามาหมักดวยเกลือ โดยใหมีนํ้าเทากับเน้ือกลอย ทิ้งไว 72 ชั่วโมง จากน้ันลาง

นํ้าใหสะอาดและบีบใหนํ้าออกจากเน้ือกลอยใหมากที่สุด โดยนําสิ่งของหนักมาทับเพื่อไลนํ้าออกให

มากที่สุด และนํากลอยมาแชนํ้าและบีบนํ้าออกทิ้งไวเปนเวลาหางกัน 12 ชั่วโมง จนสังเกตเห็นนํ้าใส ซึ่งใช

เวลารวมทั้งหมด 72 ชั่วโมง และนําไปตากแดดใหแหงเก็บไวรับประทาน

จากการทดสอบคุณภาพนํ้าที่ลางกลอยพบวา pH มีคาเฉลี่ยกับ 9.07 คา Total Hardness เฉลี่ยมีคา

เทากับ 573.57 ppm คา Total Alkalinity เฉลี่ยมีคาเทากับ 522.86 ppm ความโปรงแสงเฉลี่ยมีคาเทากับ

1.17 เซนติเมตร

คําสําคัญ: สมบัติของดิน ปริมาณแปง การลดพิษ หัวกลอย

Page 23: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

21สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ20

ชื่องานวิจัย ปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็ก ในเขตเทศบาลนครเชยีงใหม

จังหวัดเชียงใหม

คณะผูวิจัย เด็กชาย ปตุภูมิ ชัยเจริญวรรณ เด็กชาย รุจิพัทธ จิรานุสรณกุล และ

เด็กชาย ธีรดนย พุฒิไพโรจน

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวเกษสุดา คําลุน

โรงเรียน มงฟอรตวิทยาลัย แผนกประถม อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัจฉริยา สุริยะวงค คณะวิศวกรรมศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บทคัดยอ

ปริมาณฝุนละอองขนาดเล็ก เปนปญหาชุมชนที่สําคัญยิ่งของจังหวัดเชียงใหม และทวีความรุนแรง

เพิ่มขึ้นทุกป การศึกษาปจจัยที่มีผลตอปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กในอากาศแบงพื้นที่ เก็บขอมูลเปน 3 กลุม

ลักษณะคือ เขตชานเมืองหางแยกจราจร เขตในเมืองหางแยกจราจรและเขต ตัวเมืองใกลแยกจราจร ขอมูลที่

ไดจากการวัดของอุปกรณตรวจวัดคาคุณภาพอากาศ ประกอบดวย 3 คาดังน้ี คาฝุนละอองขนาดเล็กไมเกิน

2 .5 ไมครอน (PM2.5) ค าฝุนละอองขนาดเล็กไม เกิน 10 ไมครอน (PM10) และ คา อุณหภูมิ

(องศาเซลเซียส) โดยกําหนดชวงเวลาเก็บขอมูลจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณจราจรที่คับคั่งในพื้นที่ และ

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่สูงข้ึนในชวงเวลาพระอาทิตยขึ้น เวลา 06:00 – 09:00 น. และอุณหภูมิที่

ลดลงชวงเวลาพระอาทิตยตกเวลา 18:00 – 21:00 น.

ผลการศึกษาพบวาคาฝุนละอองขนาดเล็กในอากาศทั้ง PM2.5 และ PM10 มีคาเรียงลําดับจากมาก

ไปนอยดังน้ี เขตตัวเมืองที่ใกลแยกจราจร เขตในเมืองหางแยกจราจร และเขตชานเมืองหางแยกจราจร และ

พบวาคาฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) มีคาสูงกวาฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน

(PM10) ในทุกพื้นที่จุดศึกษา และทั้งสองชวงเวลา พบวาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิไมมีผลอยางมีนัยสําคัญ

ตอคาฝุนละอองขนาดเล็กทั้ง PM2.5 และ PM10 ทั้งชวงเวลา 06:00 – 09:00 น. และชวงเวลา

18:00 – 21:00 น.

คําสําคัญ: ฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 PM10 อุณหภูมิ เทศบาลนครเชียงใหม

21

ชื่องานวิจัย สมบัติของดิน ปริมาณแปงและการลดพิษของหัวกลอย

คณะผูวิจัย เด็กหญิงภันทิลา ลาดนอก เด็กหญิงปาริฉัตร ชีวาจร และ

เด็กหญิงศิลปศุภา บุญเจก

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวนลิน ชลชาญกิจ และนางจรรยา มีพวงผล

โรงเรียน บานลานกระบือ อําเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.สุภาพร พงศธรพฤกษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

บทคัดยอ

ศึกษาความสัมพันธสมบัติของดิน ปริมาณแปง และการลดพิษของหัวกลอย ตําบลตลิ่งชัน อําเภอ

บานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย ผลการศึกษามีดังน้ี สมบัติของดินในพืนที่ปาที่พบการเจริญเติบโตของ

ตนกลอยที่มีหัวขนาดใหญ และสามารถนํามาทําเปนกลอยตากแหงได พบวา ขนาดของหัวกลอยอยูในชวง

13 – 18 เซนติเมตร อยูลึกจากหนาดินอยูในชวง 3 – 20 เซนติเมตร จํานวนชั้นของหัวกลอย 2 – 3 ชั้น และ

จํานวนหัวกลอยอยูในชวง 2 – 4 หัว นํ้าหนักตอหัวกลอยเฉลี่ย 1.5 – 2.7 กิโลกรัม ปริมาณแปงของหัวกลอย

วัดโดยใชเคร่ืองวัดแปงของหัวมันสําปะหลัง พบวามีแปงอยูในชวงรอยละ 6 – 8 สมบัติของดินที่พบ

หัวกลอยหรือตนกลอยเจริญเติบโตมีคา pH 8 – 9.5 มีคาเปนเบส ดินมีสีดํา นํ้าตาลดํา เน้ือดินละเอียดนุมมือ

มีเศษใบไมผุ และมีเศษหิน ความลึกของหนาดินอยูในชวง 10 – 100 เซนติเมตร ขนาดอนุภาคของดินที่ผาน

ตะแกรงรอนคิดเปนรอยละ 30 โดยนํ้าหนัก

การลางพิษของหัวกลอยตองนํามาปลอกเปลือก ห่ันเปนชิ้นเล็ก ๆ หนาประมาณ 1 – 3 มิลลิเมตร

นําไปลางทําความสะอาดและนํามาหมักดวยเกลือ โดยใหมีนํ้าเทากับเน้ือกลอย ทิ้งไว 72 ชั่วโมง จากน้ันลาง

นํ้าใหสะอาดและบีบใหนํ้าออกจากเน้ือกลอยใหมากที่สุด โดยนําสิ่งของหนักมาทับเพื่อไลนํ้าออกให

มากที่สุด และนํากลอยมาแชนํ้าและบีบนํ้าออกทิ้งไวเปนเวลาหางกัน 12 ชั่วโมง จนสังเกตเห็นนํ้าใส ซึ่งใช

เวลารวมทั้งหมด 72 ชั่วโมง และนําไปตากแดดใหแหงเก็บไวรับประทาน

จากการทดสอบคุณภาพนํ้าที่ลางกลอยพบวา pH มีคาเฉลี่ยกับ 9.07 คา Total Hardness เฉลี่ยมีคา

เทากับ 573.57 ppm คา Total Alkalinity เฉลี่ยมีคาเทากับ 522.86 ppm ความโปรงแสงเฉลี่ยมีคาเทากับ

1.17 เซนติเมตร

คําสําคัญ: สมบัติของดิน ปริมาณแปง การลดพิษ หัวกลอย

Page 24: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

22 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ22

ชื่องานวิจัย การสํารวจลูกนํ้ายุงจากทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร โรงเรียนวัดวิหารเบิก

จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย เด็กชายธีระชัย คงเหนียง เด็กชายชัยวุฒิ บุญชูวงศ และ

เด็กชายศุภกิตต์ิ สกุลดี

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารย ประพิศ ปทมัตย

โรงเรียน วัดวิหารเบิก (กาญจนานุกูล) อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา อาจารย ดร. ชลธิรา แสงสุบัน

บทคัดยอ

ปจจุบันพบวาในหลายพื้นที่ของประเทศไทยเกิดภาวะนํ้าทวมขังในบริเวณตาง ๆ อาทิเชน นํ้าขัง

ตามทอระบายนํ้า นํ้าขังภายในอาคารบานเรือน สถานที่ราชการ โรงงาน เปนตน ผลที่ตามมาก็คือทําใหเกิด

แหลงเพาะพันธุของยุงหลากหลายชนิด ซึ่งกอใหเกิดความรําคาญและเปนพาหะที่สําคัญของการเกิดโรค

ตาง ๆ เชน โรคไขเลือดออก ไขสมองอักเสบ และโรคเทาชาง เปนตน

งานวิจัยน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อทําการสํารวจชนิดและปริมาณความชุกของลูกนํ้ายุง รวมถึงศึกษาผล

ของอุณหภูมิและคาความเปนกรดเบส (pH) ของนํ้า ที่มีผลตอจํานวนลูกนํ้ายุง โดยใชพื้นที่บริเวณทอนํ้าทิ้ง

ของโรงอาหาร โรงเรียนวัดวิหารเบิก อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ซึ่งใชเวลาในการสํารวจ 27 วัน พบวา

สามารถตรวจพบลูกนํ้ายุงสองชนิด ไดแก ลูกนํ้ายุงลาย จํานวน 219 ตัว และลูกนํ้ายุงรําคาญ จํานวน 106 ตัว

โดยพบวาปริมาณลูกนํ้ายุงลาย มีจํานวนประชากรมากกวาลูกนํ้ารําคาญ คิดเปนรอยละ 34.76 ของประชากร

ทั้งหมด และเมื่อทําการวัดคาความเปนกรดเบสของนํ้าในทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร พบวานํ้าที่วัดไดมีคา pH

เทากับ 7 ซึ่งจัดเปนนํ้าที่เปนกลาง และเมื่อทําการวัดคาของอุณหภูมิของนํ้าพบวานํ้าในพื้นที่ทอนํ้าทิ้งของ

โรงอาหาร มีอุณหภูมิอยูในชวง 25- 29 องศาเซลเซียส ขอมูลที่ไดสามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานเบื้องตนเพื่อ

ใชเปนแนวทางในการปองกันโรคที่อาจเกิดกับนักเรียน ครู เจาหนาที่ ที่อาศัยอยูภายในโรงเรียนได

คําสําคัญ: ลูกนํ้ายุง ทอนํ้าทิ้ง อุณหภูมิ โรงเรียนวัดวิหารเบิก

23

ชื่องานวิจัย การศึกษาเปรียบเทียบการฟกไขเตาสายพันธุซูคาตาที่ฟกโดยกลองโฟม

ที่มีการจัดการกับการฟกโดยใชตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ

คณะผูวิจัย เด็กชายอติกานต ผิวเหลืองสวัสด์ิ เด็กหญิงปุณยนุช สายสุข และ

เด็กหญิงศุทธิชา เชื้อเตอะ

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางกัญญารัตน สุมนะ

โรงเรียน อนุบาลลําปาง (เขลางครัตนอนุสรณ) อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายเอกรินทร ผิวเหลืองสวัสด์ิ และดร.ภัทราพร ผูกคลาย

บทคัดยอ

การศึกษาเปรียบเทียบการฟกไขเตาสายพันธุซูคาตาที่ฟกโดยกลองโฟมที่มีการจัดการกับการฟก

โดยใชตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพและ

ความคุมคาของการฟกไขทั้งสองแบบ เพื่อนําผลที่ไดไปปรับใชใหเหมาะสมตามความตองการของผูที่

ตองการฟกไขสัตวเลื้อยคลานชนิดตาง ๆ

การดําเนินการวิจัยใชไขเตาจากแมเตาครอกเดียวกันจํานวน 21ใบ โดยแบงไข 10 ใบทดลองฟกใน

กลองโฟมที่มีการจัดการ อีก 11ใบทดลองฟกในตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพที่ปรับต้ังอุณหภูมิไวที่

29.0 ๐C และความชื้นที่ 85% ตรวจวัดและบันทึก ชวงอุณหภูมิ ความชื้น และการพัฒนาของไข สัปดาหละ

1 คร้ัง ตอเน่ืองกัน 5 สัปดาห พบวาการฟกไขในกลองโฟมที่มีการจัดการ จะมีความคุมคาและยืดหยุนกวาใช

ตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ เน่ืองจากมีแนวโนมอัตราการฟกเปนตัวของไขใกลเคียงกับการฟกไข

ในตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ โดยมีตนทุนตํ่ากวาเปนรอยเทา อีกทั้งกลองโฟมที่มีการจัดการ

สามารถเพิ่มหรือลดกําลังผลิตไดงาย สามารถใชฟกไขของสัตวเลื้อยคลานไดหลากหลายในเวลาเดียวกัน

เน่ืองจากคาอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธในแตละกลองเปนอิสระตอกัน ตางจากตูฟกไขสัตวเลื้อยคลาน

แบบมืออาชีพ ที่มีความจุไขไดสูงแตอุณหภูมิและความชื้นจะมีคาเทากันทั้งตู

คําสําคัญ: เตาพันธุซูคาตา ไขสัตวเลื้อยคลาน ตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ

กลองโฟมที่มีการจัดการ

Page 25: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

23สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ22

ชื่องานวิจัย การสํารวจลูกนํ้ายุงจากทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร โรงเรียนวัดวิหารเบิก

จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย เด็กชายธีระชัย คงเหนียง เด็กชายชัยวุฒิ บุญชูวงศ และ

เด็กชายศุภกิตต์ิ สกุลดี

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารย ประพิศ ปทมัตย

โรงเรียน วัดวิหารเบิก (กาญจนานุกูล) อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา อาจารย ดร. ชลธิรา แสงสุบัน

บทคัดยอ

ปจจุบันพบวาในหลายพื้นที่ของประเทศไทยเกิดภาวะนํ้าทวมขังในบริเวณตาง ๆ อาทิเชน นํ้าขัง

ตามทอระบายนํ้า นํ้าขังภายในอาคารบานเรือน สถานที่ราชการ โรงงาน เปนตน ผลที่ตามมาก็คือทําใหเกิด

แหลงเพาะพันธุของยุงหลากหลายชนิด ซึ่งกอใหเกิดความรําคาญและเปนพาหะที่สําคัญของการเกิดโรค

ตาง ๆ เชน โรคไขเลือดออก ไขสมองอักเสบ และโรคเทาชาง เปนตน

งานวิจัยน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อทําการสํารวจชนิดและปริมาณความชุกของลูกนํ้ายุง รวมถึงศึกษาผล

ของอุณหภูมิและคาความเปนกรดเบส (pH) ของนํ้า ที่มีผลตอจํานวนลูกนํ้ายุง โดยใชพื้นที่บริเวณทอนํ้าทิ้ง

ของโรงอาหาร โรงเรียนวัดวิหารเบิก อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ซึ่งใชเวลาในการสํารวจ 27 วัน พบวา

สามารถตรวจพบลูกนํ้ายุงสองชนิด ไดแก ลูกนํ้ายุงลาย จํานวน 219 ตัว และลูกนํ้ายุงรําคาญ จํานวน 106 ตัว

โดยพบวาปริมาณลูกนํ้ายุงลาย มีจํานวนประชากรมากกวาลูกนํ้ารําคาญ คิดเปนรอยละ 34.76 ของประชากร

ทั้งหมด และเมื่อทําการวัดคาความเปนกรดเบสของนํ้าในทอนํ้าทิ้งของโรงอาหาร พบวานํ้าที่วัดไดมีคา pH

เทากับ 7 ซึ่งจัดเปนนํ้าที่เปนกลาง และเมื่อทําการวัดคาของอุณหภูมิของนํ้าพบวานํ้าในพื้นที่ทอนํ้าทิ้งของ

โรงอาหาร มีอุณหภูมิอยูในชวง 25- 29 องศาเซลเซียส ขอมูลที่ไดสามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานเบื้องตนเพื่อ

ใชเปนแนวทางในการปองกันโรคที่อาจเกิดกับนักเรียน ครู เจาหนาที่ ที่อาศัยอยูภายในโรงเรียนได

คําสําคัญ: ลูกนํ้ายุง ทอนํ้าทิ้ง อุณหภูมิ โรงเรียนวัดวิหารเบิก

23

ชื่องานวิจัย การศึกษาเปรียบเทียบการฟกไขเตาสายพันธุซูคาตาที่ฟกโดยกลองโฟม

ที่มีการจัดการกับการฟกโดยใชตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ

คณะผูวิจัย เด็กชายอติกานต ผิวเหลืองสวัสด์ิ เด็กหญิงปุณยนุช สายสุข และ

เด็กหญิงศุทธิชา เชื้อเตอะ

ระดับชั้น ประถมศึกษา

อาจารยท่ีปรึกษา นางกัญญารัตน สุมนะ

โรงเรียน อนุบาลลําปาง (เขลางครัตนอนุสรณ) อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายเอกรินทร ผิวเหลืองสวัสด์ิ และดร.ภัทราพร ผูกคลาย

บทคัดยอ

การศึกษาเปรียบเทียบการฟกไขเตาสายพันธุซูคาตาที่ฟกโดยกลองโฟมที่มีการจัดการกับการฟก

โดยใชตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพและ

ความคุมคาของการฟกไขทั้งสองแบบ เพื่อนําผลที่ไดไปปรับใชใหเหมาะสมตามความตองการของผูที่

ตองการฟกไขสัตวเลื้อยคลานชนิดตาง ๆ

การดําเนินการวิจัยใชไขเตาจากแมเตาครอกเดียวกันจํานวน 21ใบ โดยแบงไข 10 ใบทดลองฟกใน

กลองโฟมที่มีการจัดการ อีก 11ใบทดลองฟกในตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพที่ปรับต้ังอุณหภูมิไวที่

29.0 ๐C และความชื้นที่ 85% ตรวจวัดและบันทึก ชวงอุณหภูมิ ความชื้น และการพัฒนาของไข สัปดาหละ

1 คร้ัง ตอเน่ืองกัน 5 สัปดาห พบวาการฟกไขในกลองโฟมที่มีการจัดการ จะมีความคุมคาและยืดหยุนกวาใช

ตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ เน่ืองจากมีแนวโนมอัตราการฟกเปนตัวของไขใกลเคียงกับการฟกไข

ในตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ โดยมีตนทุนตํ่ากวาเปนรอยเทา อีกทั้งกลองโฟมที่มีการจัดการ

สามารถเพิ่มหรือลดกําลังผลิตไดงาย สามารถใชฟกไขของสัตวเลื้อยคลานไดหลากหลายในเวลาเดียวกัน

เน่ืองจากคาอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธในแตละกลองเปนอิสระตอกัน ตางจากตูฟกไขสัตวเลื้อยคลาน

แบบมืออาชีพ ที่มีความจุไขไดสูงแตอุณหภูมิและความชื้นจะมีคาเทากันทั้งตู

คําสําคัญ: เตาพันธุซูคาตา ไขสัตวเลื้อยคลาน ตูฟกไขสัตวเลื้อยคลานแบบมืออาชีพ

กลองโฟมที่มีการจัดการ

Page 26: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

24 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ24

ชื่องานวิจัย การศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่มีผลตอ

การตอบสนองของปลาตีน Periophthalmodon schlosseri

คณะผูวิจัย เด็กชายพิวัฒน ศุภวิทยา เด็กชายทัศณพล คุณวุฒิพร

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2

อาจารยท่ีปรึกษา นายชนันท เกียรติสิริสาสน

โรงเรียน กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ

สภาพของปาชายเลนแตกตางจากปาชนิดอ่ืน ทําใหสิ่งมีชีวิตไดรับอิทธิพลจากสภาพแวดลอม

ที่ตางกัน เชนปลาตีน ผูวิจัยจึงสนใจศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่มีผลตอ

การตอบสนองของปลาตีน โดยเลือกศึกษาจากแหลงศึกษาธรรมชาติปาชายเลนปอมพระจุลจอมเกลา

กลุมตัวอยางคือ ปลาตีน Periophthalmodon schlosseri มีวิธีการดําเนินงานโดยศึกษาเอกสารงานวิจัย

ที่เกี่ยวของ เก็บขอมูลปจจัยทางกายภาพไดแก อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ เปนเวลา 4 เดือน ต้ังแตเดือน

ตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 มีวัตถุประสงคและผลการศึกษา ดังน้ี 1. ศึกษาสายพันธุ

รูป แบ บ ก า รก ร ะ จา ย ตัว แล ะ สั ณ ฐ า นข อง ป ล า ตี นพ บ ว า มี ป ล า ตี นทั้ ง หม ด 2 ส า ย พั นธุ ไ ด แ ก

Periophthalmodon schlosseri และ Periophthalmus barbarous มีรูปแบบการกระจายตัวแบบ clumped

distribution 2. ศึกษาปจจัยทางกายภาพมีผลตอการดํารงชีวิตของปลาตีน อุณหภูมิเฉลี่ยในเดือนพฤศจิกายน

มีคาสูงสุด ความชื้นสัมพัทธในเดือนตุลาคมมีคาสูงสุด 3. ศึกษารูปแบบการตอบสนองตอปจจัยทางกายภาพ

ที่มีผลตอปลาตีนพบวาเมื่อนํ้าลงการกระจัดตามแนวแกน y จะเพิ่มขึ้น ระยะเวลาเพิ่มขึ้นปลาตีนจะมีทิศทาง

เคลื่อนที่ลงตามกระแสนํ้า 4. ศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่มีผลตอการตอบสนอง

ของปลาตีนมคีวามสัมพันธแบบแปรผกผันในระดับมาก 5. สรางความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่

สงผลตอปลาตีนในรูปแบบการจําลองแบบเสมือนจริง จําลองสถานการณไดสอดคลองกับความสัมพันธ

คําสําคัญ: ปาชายเลน ปลาตีน อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ แบบจําลองเสมือนจริง

25

ชื่องานวิจัย ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลายและการเกิดไขเลือดออก

ในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย (พื้นที่ศึกษา

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช)

คณะผูวิจัย เด็กหญิงกนกกร เพิ่มเปยมทรัพย เด็กหญิงเขมจิรา เกียรติจินดารัตน และ

เด็กหญิงทิพรดา เบิกบาน

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยกนกรัตน สิงหนุย และอาจารยศศิธร บุญเกิด

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

บทคัดยอ

งานวิจัยเร่ือง ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลายและการเกิดไขเลือดออกในอําเภอเมือง

จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย (พื้นที่ศึกษาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช)

ทําการศึกษาเพื่อสํารวจจํานวนประชากรลูกนํ้ายุงลายที่มีในโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

เพื่อศึกษาหาความสัมพันธระหวางสภาพอากาศกับจํานวนประชากรของลูกนํ้ายุงลายและเพื่อตรวจสอบวา

พื้นที่ที่ทําการศึกษามีความเสี่ยงตอการเกิดโรคไขเลือดออกหรือไม จากผลการคํานวณหาคาดัชนีบาน

ความเสี่ยงในการเกิดโรคไขเลือดออก โดยเก็บลูกนํ้ายุงลายจากภาชนะและแหลงนํ้าในพื้นที่ศึกษาจํานวน

12 จุด แลวใชกลองจุลทรรศนในการจําแนกชนิดของลูกนํ้ายุงลายและนําขอมูลที่ไดมาเชื่อมโยงกับจํานวน

ผูปวยในแตละเดือนในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช จากการผลการศึกษาประชากรลูกนํ้ายุงลาย

ที่พบน้ันโดยสวนใหญคือลูกนํ้าของยุงลายสวน สวนประชากรลูกนํ้าของยุงลายบานพบเพียงเล็กนอย โดยมี

คาดัชนีความเสี่ยงเฉลี่ยทั้งหมดคือ HI=100% CI=10.84±5.95% มีคาคอนขางสูง ซึ่งทางสํานักระบาดวิทยา

ใหเกณฑของคา HI<10% คา CI<10% เร่ิมมีความเสี่ยง ดังน้ันพื้นที่ศึกษาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราชจึงมีความเสี่ยงในการเกิดไขเลือดออกและอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของบริเวณพื้นที่ที่พบลูกนํ้า

ยุงลายทั้งหมดคือ 28.63±0.54 องศาเซลเซียส คาความชื้นสัมพัทธโดยเฉลี่ยของบริเวณพื้นที่ที่พบลูกนํ้า

ยุงลายทั้งหมดคือ 85.75±4.08% จากการสํารวจพบวาในชวงอุณหภูมิ 27 – 30 องศาเซลเซียสและความชื้น

80 – 90% พบจํานวนประชากรลูกนํ้ายุงลายคอนขางมาก และสอดคลองกับสภาพอากาศที่เกิดผูปวย

ไขเลือดออกในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราชโดยมีอุณหภูมิและความชื้นใกลเคียงกับเดือนที่มีจํานวน

ผูปวยไขเลือดออกมากเปนสามอันดับแรกในป พ.ศ. 2554 – 2558

คําสําคัญ: ผูปวยไขเลือดออกใน ลูกนํ้ายุงลาย สภาพอากาศ

Page 27: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

25สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ24

ชื่องานวิจัย การศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่มีผลตอ

การตอบสนองของปลาตีน Periophthalmodon schlosseri

คณะผูวิจัย เด็กชายพิวัฒน ศุภวิทยา เด็กชายทัศณพล คุณวุฒิพร

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2

อาจารยท่ีปรึกษา นายชนันท เกียรติสิริสาสน

โรงเรียน กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ

สภาพของปาชายเลนแตกตางจากปาชนิดอ่ืน ทําใหสิ่งมีชีวิตไดรับอิทธิพลจากสภาพแวดลอม

ที่ตางกัน เชนปลาตีน ผูวิจัยจึงสนใจศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่มีผลตอ

การตอบสนองของปลาตีน โดยเลือกศึกษาจากแหลงศึกษาธรรมชาติปาชายเลนปอมพระจุลจอมเกลา

กลุมตัวอยางคือ ปลาตีน Periophthalmodon schlosseri มีวิธีการดําเนินงานโดยศึกษาเอกสารงานวิจัย

ที่เกี่ยวของ เก็บขอมูลปจจัยทางกายภาพไดแก อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ เปนเวลา 4 เดือน ต้ังแตเดือน

ตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 มีวัตถุประสงคและผลการศึกษา ดังน้ี 1. ศึกษาสายพันธุ

รูป แบ บ ก า รก ร ะ จา ย ตัว แล ะ สั ณ ฐ า นข อง ป ล า ตี นพ บ ว า มี ป ล า ตี นทั้ ง หม ด 2 ส า ย พั นธุ ไ ด แ ก

Periophthalmodon schlosseri และ Periophthalmus barbarous มีรูปแบบการกระจายตัวแบบ clumped

distribution 2. ศึกษาปจจัยทางกายภาพมีผลตอการดํารงชีวิตของปลาตีน อุณหภูมิเฉลี่ยในเดือนพฤศจิกายน

มีคาสูงสุด ความชื้นสัมพัทธในเดือนตุลาคมมีคาสูงสุด 3. ศึกษารูปแบบการตอบสนองตอปจจัยทางกายภาพ

ที่มีผลตอปลาตีนพบวาเมื่อนํ้าลงการกระจัดตามแนวแกน y จะเพิ่มขึ้น ระยะเวลาเพิ่มขึ้นปลาตีนจะมีทิศทาง

เคลื่อนที่ลงตามกระแสนํ้า 4. ศึกษารูปแบบความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่มีผลตอการตอบสนอง

ของปลาตีนมคีวามสัมพันธแบบแปรผกผันในระดับมาก 5. สรางความสัมพันธระหวางปจจัยทางกายภาพที่

สงผลตอปลาตีนในรูปแบบการจําลองแบบเสมือนจริง จําลองสถานการณไดสอดคลองกับความสัมพันธ

คําสําคัญ: ปาชายเลน ปลาตีน อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ แบบจําลองเสมือนจริง

25

ชื่องานวิจัย ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลายและการเกิดไขเลือดออก

ในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย (พื้นที่ศึกษา

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช)

คณะผูวิจัย เด็กหญิงกนกกร เพิ่มเปยมทรัพย เด็กหญิงเขมจิรา เกียรติจินดารัตน และ

เด็กหญิงทิพรดา เบิกบาน

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยกนกรัตน สิงหนุย และอาจารยศศิธร บุญเกิด

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

บทคัดยอ

งานวิจัยเร่ือง ผลของสภาพอากาศตอปจจัยการวางไขยุงลายและการเกิดไขเลือดออกในอําเภอเมือง

จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย (พื้นที่ศึกษาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช)

ทําการศึกษาเพื่อสํารวจจํานวนประชากรลูกนํ้ายุงลายที่มีในโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

เพื่อศึกษาหาความสัมพันธระหวางสภาพอากาศกับจํานวนประชากรของลูกนํ้ายุงลายและเพื่อตรวจสอบวา

พื้นที่ที่ทําการศึกษามีความเสี่ยงตอการเกิดโรคไขเลือดออกหรือไม จากผลการคํานวณหาคาดัชนีบาน

ความเสี่ยงในการเกิดโรคไขเลือดออก โดยเก็บลูกนํ้ายุงลายจากภาชนะและแหลงนํ้าในพื้นที่ศึกษาจํานวน

12 จุด แลวใชกลองจุลทรรศนในการจําแนกชนิดของลูกนํ้ายุงลายและนําขอมูลที่ไดมาเชื่อมโยงกับจํานวน

ผูปวยในแตละเดือนในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช จากการผลการศึกษาประชากรลูกนํ้ายุงลาย

ที่พบน้ันโดยสวนใหญคือลูกนํ้าของยุงลายสวน สวนประชากรลูกนํ้าของยุงลายบานพบเพียงเล็กนอย โดยมี

คาดัชนีความเสี่ยงเฉลี่ยทั้งหมดคือ HI=100% CI=10.84±5.95% มีคาคอนขางสูง ซึ่งทางสํานักระบาดวิทยา

ใหเกณฑของคา HI<10% คา CI<10% เร่ิมมีความเสี่ยง ดังน้ันพื้นที่ศึกษาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

นครศรีธรรมราชจึงมีความเสี่ยงในการเกิดไขเลือดออกและอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของบริเวณพื้นที่ที่พบลูกนํ้า

ยุงลายทั้งหมดคือ 28.63±0.54 องศาเซลเซียส คาความชื้นสัมพัทธโดยเฉลี่ยของบริเวณพื้นที่ที่พบลูกนํ้า

ยุงลายทั้งหมดคือ 85.75±4.08% จากการสํารวจพบวาในชวงอุณหภูมิ 27 – 30 องศาเซลเซียสและความชื้น

80 – 90% พบจํานวนประชากรลูกนํ้ายุงลายคอนขางมาก และสอดคลองกับสภาพอากาศที่เกิดผูปวย

ไขเลือดออกในอําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราชโดยมีอุณหภูมิและความชื้นใกลเคียงกับเดือนที่มีจํานวน

ผูปวยไขเลือดออกมากเปนสามอันดับแรกในป พ.ศ. 2554 – 2558

คําสําคัญ: ผูปวยไขเลือดออกใน ลูกนํ้ายุงลาย สภาพอากาศ

Page 28: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

26 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ26

ชื่องานวิจัย การศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้า ที่มีผลตอการแพรกระจาย

ของแมงกะพรุนนํ้าจืด (Craspedacusta sinensis) กรณีศึกษาแกงกะเบา

อําเภอหวานใหญ จังหวัดมุกดาหาร

คณะผูวิจัย เด็กชายชวกร โพธาราม เด็กชายอรรคชัย จุลนาค และ

เด็กชายปุณกฤษ วงคพนิตกฤต

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที ่2

อาจารยท่ีปรึกษา นายธีระวุฒิ จันทะพันธ

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร อําเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร

บทคัดยอ

การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้าที่มีผลตอ

การแพรกระจายของแมงกะพรุนนํ้าจืด โดยทําการเก็บตัวอยางนํ้าในแองนํ้าที่พบแมงกะพรุนนํ้าจืด 3 จุด และ

แองนํ้าที่ไมพบแมงกะพรุนนํ้าจืด 3 จุด โดยเก็บบริเวณผิวนํ้าและหางจากผิวนํ้าประมาณ 30 เซนติเมตร

ผลการศึกษาพบวา เมื่อนับจํานวนประชากรเพื่อหาความหนาแนนสัมพัทธของประชากร ซึ่งวัดจากจํานวน

แมงกะพรุนที่จับไดในแตละคร้ัง พบวา แองนํ้าจุดที่ 1 มีจํานวนเฉลี่ย 3 ตัว/ลูกบาศกเมตร จุดที่ 2

มีจํานวนเฉลี่ย 2.67 ตัว/ลูกบาศกเมตร และจุดที่ 3 มีจํานวนเฉลี่ย 3.67 ตัว/ลูกบาศกเมตร แองนํ้าที่พบ

แมงกะพรุนนํ้าจืด 3 จุด มีปจจัยทางกายภาพหรือคาดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพ ไดแก อุณหภูมิ มีคาเทากับ

23-25.5 ºC คาการนําไฟฟา เทากับ 232-243 μs/cm คาความเค็มเทากับ 0.11-0.12 psu คาของแข็งละลาย

ทั้งหมด เทากับ 92.7-97.4 mg/l คาความขุนเทากับ 14.61-27.44 NTU สวนปจจัยทางเคมีหรือคาดัชนี

คุณภาพนํ้าทางเคมี ไดแก คา pH เทากับ 9.16-9.7 คา DO เทากับ 8.04-8.25 mg/l แองนํ้าที่ไมพบ

แมงกะพรุนนํ้าจืด 3 จุด มีปจจัยทางกายภาพหรือคาดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพ ไดแก อุณหภูมิ มีคาเทากับ

22-26.5 ºC คาการนําไฟฟาเทากับ 338-344 μs/cm คาความเค็มเทากับ 0.16-0.17 psu คาของแข็งละลาย

ทั้งหมดเทากับ 135.4-137.5 mg/l คาความขุนเทากับ 45.05-91.93 NTU สวนปจจัยทางเคมีหรือคาดัชนี

คุณภาพนํ้าทางเคมี ไดแก คา pH เทากับ 7.38-7.61 คา DO เทากับ 6.65-8 mg/l คาปจจัย

ทางกายภาพและทางเคมีในแองนํ้าที่พบแมงกะพรุนนํ้าจืดอยูในเกณฑมาตรฐานที่เหมาะตอการดํารงชีวิต

ของสัตวนํ้าจืด สําหรับแองนํ้าที่ไมพบแมงกะพรุนนํ้าจืดน้ันนาจะมาจากคาของแข็งละลายทั้งหมด

คาการนําไฟฟาและคาความขุนที่สูงเกินไป ซึ่งไมเหมาะแกการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า นอกจากน้ียังพบขยะ

ที่อยูตามแองนํ้าจุดที่ไมพบแมงกะพรุนนํ้าจืด ซึ่งอาจเปนปจจัยหน่ึงที่มีผลตอการแพรกระจายของ

แมงกะพรุนนํ้าจืด

คําสําคัญ: แมงกะพรุนนํ้าจืด ปจจัยทางกายภาพของนํ้า ปจจัยทางเคมีของนํ้า

27

ชื่องานวิจัย การศึกษาระดับความลึกของดินและสภาวะที่เหมาะสมในการปลูก

ขาวพันธุทับทิมชุมแพโดยวิธีหวานขาวแหง จากการหยอดเมล็ดพันธุ

คณะผูวิจัย เด็กหญิงรวินทนิภา มุงตอ เด็กชายโกเมศ พิทักษพงษ และ

เด็กชายพิสิษฐ ดีบุญมี ณ ชุมแพ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2

อาจารยท่ีปรึกษา นายอภิวัฒน ศรีกัณหา และนางสาวรัตนาภรณ พลธรรม

โรงเรียน ชุมแพศึกษา อําเภอชุมแพ จังหวัดขอนแกน

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายรณชัย ชางศรี และนางสาวเดือนเพ็ญ ออนอยู

บทคัดยอ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความชื้นและอุณหภูมิของดินในชวงที่ขาวพันธุทับทิมชุมแพงอก

และศึกษาระดับความลึกของดินที่เหมาะสมในการปลูกขาว โดยวิธีหวานขาวแหง จากการหยอดเมล็ดพันธุ

โดยการนําเมล็ดพันธขาวพันธุทับทิมชุมแพปลูกที่ระดับความลึก 1 น้ิว 2 น้ิว 3 น้ิว 4 น้ิว และ 5 น้ิว วัดคา

ความชื้นและอุณหภูมิของดินตามหลักวิธีดําเนินการของ GLOBE ตรวจนับจํานวนเปอรเซ็นตความงอก และ

ตรวจวัดพื้นที่ใบ พื้นที่ผิวของราก ความยาวของรากทั้งหมด

ผลการวิจัยพบวาขาวพันธุทับทิมชุมแพสามารถงอกไดในอุณหภูมิของดินที่อยูในชวง 23 - 35

องศาเซลเซียสและความชื้นของดินในชวง 0.08 – 0.10 กรัม/กรัม ซึ่งเปนสภาวะที่ไมมีนํ้าขัง และจาก

การศึกษาเปอรเซ็นตการงอกของขาวพันธุทับทิมชุมแพและการเจริญเติบโตของขาวพันธุทับทิมชุมแพ

ที่ระดับความลึกของดินตางกัน พบวาการหยอดเมล็ดพันธุ ที่ระดับความลึก 1 น้ิวจากผิวดินมีเปอรเซ็นต

การงอกสูงสุด เฉลี่ย 83% สวนที่ระดับความลึก 4 น้ิวและ 5 น้ิว ไมพบการงอกของเมล็ดขาว และที่ระดับ

ความลึก 1 น้ิว พบวาตนขาว มีพื้นที่ใบ พื้นที่ผิวของราก และความยาวของรากทั้งหมด มากที่สุด

คําสําคัญ: ขาวพันธุทับทิมชุมแพ นาหวานขาวแหง อุณหภูมิของดิน ความชื้นของดิน

Page 29: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

27สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ26

ชื่องานวิจัย การศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้า ที่มีผลตอการแพรกระจาย

ของแมงกะพรุนนํ้าจืด (Craspedacusta sinensis) กรณีศึกษาแกงกะเบา

อําเภอหวานใหญ จังหวัดมุกดาหาร

คณะผูวิจัย เด็กชายชวกร โพธาราม เด็กชายอรรคชัย จุลนาค และ

เด็กชายปุณกฤษ วงคพนิตกฤต

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที ่2

อาจารยท่ีปรึกษา นายธีระวุฒิ จันทะพันธ

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร อําเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร

บทคัดยอ

การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยทางกายภาพและปจจัยทางเคมีของนํ้าที่มีผลตอ

การแพรกระจายของแมงกะพรุนนํ้าจืด โดยทําการเก็บตัวอยางนํ้าในแองนํ้าที่พบแมงกะพรุนนํ้าจืด 3 จุด และ

แองนํ้าที่ไมพบแมงกะพรุนนํ้าจืด 3 จุด โดยเก็บบริเวณผิวนํ้าและหางจากผิวนํ้าประมาณ 30 เซนติเมตร

ผลการศึกษาพบวา เมื่อนับจํานวนประชากรเพื่อหาความหนาแนนสัมพัทธของประชากร ซึ่งวัดจากจํานวน

แมงกะพรุนที่จับไดในแตละคร้ัง พบวา แองนํ้าจุดที่ 1 มีจํานวนเฉลี่ย 3 ตัว/ลูกบาศกเมตร จุดที่ 2

มีจํานวนเฉลี่ย 2.67 ตัว/ลูกบาศกเมตร และจุดที่ 3 มีจํานวนเฉลี่ย 3.67 ตัว/ลูกบาศกเมตร แองนํ้าที่พบ

แมงกะพรุนนํ้าจืด 3 จุด มีปจจัยทางกายภาพหรือคาดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพ ไดแก อุณหภูมิ มีคาเทากับ

23-25.5 ºC คาการนําไฟฟา เทากับ 232-243 μs/cm คาความเค็มเทากับ 0.11-0.12 psu คาของแข็งละลาย

ทั้งหมด เทากับ 92.7-97.4 mg/l คาความขุนเทากับ 14.61-27.44 NTU สวนปจจัยทางเคมีหรือคาดัชนี

คุณภาพนํ้าทางเคมี ไดแก คา pH เทากับ 9.16-9.7 คา DO เทากับ 8.04-8.25 mg/l แองนํ้าที่ไมพบ

แมงกะพรุนนํ้าจืด 3 จุด มีปจจัยทางกายภาพหรือคาดัชนีคุณภาพนํ้าทางกายภาพ ไดแก อุณหภูมิ มีคาเทากับ

22-26.5 ºC คาการนําไฟฟาเทากับ 338-344 μs/cm คาความเค็มเทากับ 0.16-0.17 psu คาของแข็งละลาย

ทั้งหมดเทากับ 135.4-137.5 mg/l คาความขุนเทากับ 45.05-91.93 NTU สวนปจจัยทางเคมีหรือคาดัชนี

คุณภาพนํ้าทางเคมี ไดแก คา pH เทากับ 7.38-7.61 คา DO เทากับ 6.65-8 mg/l คาปจจัย

ทางกายภาพและทางเคมีในแองนํ้าที่พบแมงกะพรุนนํ้าจืดอยูในเกณฑมาตรฐานที่เหมาะตอการดํารงชีวิต

ของสัตวนํ้าจืด สําหรับแองนํ้าที่ไมพบแมงกะพรุนนํ้าจืดน้ันนาจะมาจากคาของแข็งละลายทั้งหมด

คาการนําไฟฟาและคาความขุนที่สูงเกินไป ซึ่งไมเหมาะแกการดํารงชีวิตของสัตวนํ้า นอกจากน้ียังพบขยะ

ที่อยูตามแองนํ้าจุดที่ไมพบแมงกะพรุนนํ้าจืด ซึ่งอาจเปนปจจัยหน่ึงที่มีผลตอการแพรกระจายของ

แมงกะพรุนนํ้าจืด

คําสําคัญ: แมงกะพรุนนํ้าจืด ปจจัยทางกายภาพของนํ้า ปจจัยทางเคมีของนํ้า

27

ชื่องานวิจัย การศึกษาระดับความลึกของดินและสภาวะที่เหมาะสมในการปลูก

ขาวพันธุทับทิมชุมแพโดยวิธีหวานขาวแหง จากการหยอดเมล็ดพันธุ

คณะผูวิจัย เด็กหญิงรวินทนิภา มุงตอ เด็กชายโกเมศ พิทักษพงษ และ

เด็กชายพิสิษฐ ดีบุญมี ณ ชุมแพ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2

อาจารยท่ีปรึกษา นายอภิวัฒน ศรีกัณหา และนางสาวรัตนาภรณ พลธรรม

โรงเรียน ชุมแพศึกษา อําเภอชุมแพ จังหวัดขอนแกน

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายรณชัย ชางศรี และนางสาวเดือนเพ็ญ ออนอยู

บทคัดยอ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความชื้นและอุณหภูมิของดินในชวงที่ขาวพันธุทับทิมชุมแพงอก

และศึกษาระดับความลึกของดินที่เหมาะสมในการปลูกขาว โดยวิธีหวานขาวแหง จากการหยอดเมล็ดพันธุ

โดยการนําเมล็ดพันธขาวพันธุทับทิมชุมแพปลูกที่ระดับความลึก 1 น้ิว 2 น้ิว 3 น้ิว 4 น้ิว และ 5 น้ิว วัดคา

ความชื้นและอุณหภูมิของดินตามหลักวิธีดําเนินการของ GLOBE ตรวจนับจํานวนเปอรเซ็นตความงอก และ

ตรวจวัดพื้นที่ใบ พื้นที่ผิวของราก ความยาวของรากทั้งหมด

ผลการวิจัยพบวาขาวพันธุทับทิมชุมแพสามารถงอกไดในอุณหภูมิของดินที่อยูในชวง 23 - 35

องศาเซลเซียสและความชื้นของดินในชวง 0.08 – 0.10 กรัม/กรัม ซึ่งเปนสภาวะที่ไมมีนํ้าขัง และจาก

การศึกษาเปอรเซ็นตการงอกของขาวพันธุทับทิมชุมแพและการเจริญเติบโตของขาวพันธุทับทิมชุมแพ

ที่ระดับความลึกของดินตางกัน พบวาการหยอดเมล็ดพันธุ ที่ระดับความลึก 1 น้ิวจากผิวดินมีเปอรเซ็นต

การงอกสูงสุด เฉลี่ย 83% สวนที่ระดับความลึก 4 น้ิวและ 5 น้ิว ไมพบการงอกของเมล็ดขาว และที่ระดับ

ความลึก 1 น้ิว พบวาตนขาว มีพื้นที่ใบ พื้นที่ผิวของราก และความยาวของรากทั้งหมด มากที่สุด

คําสําคัญ: ขาวพันธุทับทิมชุมแพ นาหวานขาวแหง อุณหภูมิของดิน ความชื้นของดิน

Page 30: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

28 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ28

ชื่องานวิจัย การผลิตและการใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันเพื่อปลูกพืช

คณะผูวิจัย เด็กหญิงอรทัย มนัสถาวร เด็กหญิงนาตาชา มีเทน

เด็กหญิงเปรมิกา ชวงโชติ และเด็กหญิงอารียา มีจู

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3

อาจารยท่ีปรึกษา นางสุพิศ ศรีพอ และนายมนตมนัส บุญชู

โรงเรียน เซนตโยเซฟทิพวัล อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.จงดี โตอ้ิม คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร

มหาวิทยาลัยมหิดล

ดร. ชัยวุฒิ บุญญศิริวัฒน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดยอ

กากไขมันจากถังดักไขมันที่ใชบําบัดนํ้าเสียชุมชนเปนขยะชนิดหน่ึง ที่ควรมีการจัดการอยาง

เหมาะสมเพื่อปองกันปญหาผลกระทบทางสิ่งแวดลอม จากขอมูลปจจุบัน พบวา อัตราการเกิดไขมันใน

นํ้าเสียจากชุมชน มีคาประมาณ 500 มิลลิกรัม/ลิตร/วัน/ครัวเรือน ปจจุบันการกําจัดกากไขมันสามารถทําได

หลายวิธี เชน วิธีการทิ้งรวมกับขยะชุมชนเพื่อนําไปฝงกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล และการนํา

กากไขมันกลับมาใชประโยชน เชน การใชกระบวนการทางชีวภาพ ก็เปนวิธีหน่ึงที่มีการนํามาใชจัด

การขยะ เชน การทําปุยหมักมูลไสเดือน สามารถนํามาใชเปนสารปรับสภาพดิน ใหมีความเหมาะสมในการ

ปลูกพืชและชวยเพิ่มผลผลิตพืช งานวิจัยน้ีมี วัตถุประสงค เพื่อศึกษาการผลิตและการใชปุยหมัก

มูลไสเดือนจากกากไขมันในการปลูกพืช ไดผลการศึกษาดังน้ี ตอนที่ 1 ศึกษาความเขมขนของกากไขมันที่

เหมาะสมตอการผลิตปุยหมักมูลไสเดือน พบวา ความเขมขนของกากไขมันที่เหมาะสมตอการผลิตปุยหมัก

มูลไสเดือน คือ 20% เน่ืองจากมีคา pH กับ 7 คาประสิทธิภาพยอยสลายกากไขมันไดดีสุด และ คา N P และ

K สูงกวาความเขมขนของกากไขมันอ่ืน ๆ และ ตอนที่ 2 การใชปุยหมักมูลไสเดือนดินมีผลตอการ

เจริญเติบโตของตนกะเพรา พบวา การใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันมีผลตอการเจริญเติบโตของ

ตนกระเพราและใบกระเพราไดเร็วกวาปุยมูลไสเดือนจากขยะอินทรีย เน่ืองจากกระบวนการหมักปุยมูล

ไสเดือน เปนกระบวนการยอยสลายของสารอินทรีย โดยใชการทํางานรวมกันระหวางไสเดือนและจุลินทรีย

ในการยอยสลาย จึงสามารถกําจัดกากไขมันไดดี และ เมื่อเติมปุยหมักมูลไสเดือน เปนการเพิ่มความอุดม

สมบูรณของดิน

คําสําคัญ: กากไขมัน ไสเดือน ปุยหมักมูลไสเดือน

29

ชื่องานวิจัย การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโต

และผลผลิตขาวพันธุชัยนาท 1

คณะผูวิจัย นางสาวอัจฉริยะกร การพิสมัย นางสาวจีระนันท พรมม ี

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นายชุมพล ชารีแสน

โรงเรียน ดอนจานวิทยาคม อําเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ

บทคัดยอ

การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวพันธุ

ชัยนาท 1 ไดทํ าการทดลองเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสมบั ติ ดินในนาขาวบริเวณที่พบตนขาวที่มี

การเจริญเติบโตนอยใหผลผลิตตํ่า 2) เพื่อศึกษาการปรับปรุงดินในนาขาวโดยใชกอนเชื้อเห็ดเกา

3) เพื่อศึกษาการปลูกขาวโดยใชดินที่ปรับปรุงโดยใชกอนเชื้อเห็ดเกา ที่สงผลตอการเจริญเติบโตและ

ผลการทดลองพบวา การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโตและ

ผลผลิตขาว สรุปผลการทดลอง พบวา สมบัติดินในนาขาวบริเวณที่พบตนขาวที่มีการเจริญเติบโตนอย

ใหผลผลิตตํ่า มีความยึดตัวของดินแบบรวนซุยบีบแตกงาย วัดอุณหภูมิดินเฉลี่ย 30.67 ๐C วัดความชื้น

ในดินเฉลีย่รอยละ 5.33 ธาตุอาหารหลัก N P K อยูในระดับตํ่าถึงตํ่ามาก และคา pH ของดินเฉลี่ย คือ 5.17

จากการปรับปรุงดินในนาขาวโดยใชกอนเชื้อเห็ดเกา พบวา การใชวัสดุกอนเชื้อเห็ดเกาตอดินในอัตราสวน

1:6 ตรวจพบสมบัติดินใกลเคียงกับการปลูกขาวมากที่สุดคือ อุณหภูมิดิน 31๐C ความชื้นในดิน 5.55 %

ระดับธาตุอาหารหลัก N ระดับตํ่า P ระดับสูง K ระดับตํ่า และ คา pH คือ 6.5 เมื่อนําดินไปใชในการปลูก

ขาวพันธุชัยนาท 1 พบวา ผลการตรวจวัดการเจริญเติบโตใกลเคียงกัน โดยการปลูกขาวในชุดควบคุมมีการ

เจริญเติบโตมากกวาเพียงเล็กนอย เมื่อครบอายุการเก็บเกี่ยวขาวพบวา ขาวใหผลผลิตใกลเคียงกัน โดยการ

ปลูกขาวในชุดควบคุมมีสูงกวาเพียงเล็กนอย

คําสําคัญ: กอนเชื้อเห็ดเกา ปรับปรุงดิน ขาวชัยนาท 1

Page 31: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

29สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ28

ชื่องานวิจัย การผลิตและการใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันเพื่อปลูกพืช

คณะผูวิจัย เด็กหญิงอรทัย มนัสถาวร เด็กหญิงนาตาชา มีเทน

เด็กหญิงเปรมิกา ชวงโชติ และเด็กหญิงอารียา มีจู

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3

อาจารยท่ีปรึกษา นางสุพิศ ศรีพอ และนายมนตมนัส บุญชู

โรงเรียน เซนตโยเซฟทิพวัล อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.จงดี โตอ้ิม คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร

มหาวิทยาลัยมหิดล

ดร. ชัยวุฒิ บุญญศิริวัฒน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดยอ

กากไขมันจากถังดักไขมันที่ใชบําบัดนํ้าเสียชุมชนเปนขยะชนิดหน่ึง ที่ควรมีการจัดการอยาง

เหมาะสมเพื่อปองกันปญหาผลกระทบทางสิ่งแวดลอม จากขอมูลปจจุบัน พบวา อัตราการเกิดไขมันใน

นํ้าเสียจากชุมชน มีคาประมาณ 500 มิลลิกรัม/ลิตร/วัน/ครัวเรือน ปจจุบันการกําจัดกากไขมันสามารถทําได

หลายวิธี เชน วิธีการทิ้งรวมกับขยะชุมชนเพื่อนําไปฝงกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล และการนํา

กากไขมันกลับมาใชประโยชน เชน การใชกระบวนการทางชีวภาพ ก็เปนวิธีหน่ึงที่มีการนํามาใชจัด

การขยะ เชน การทําปุยหมักมูลไสเดือน สามารถนํามาใชเปนสารปรับสภาพดิน ใหมีความเหมาะสมในการ

ปลูกพืชและชวยเพิ่มผลผลิตพืช งานวิจัยน้ีมี วัตถุประสงค เพื่อศึกษาการผลิตและการใชปุยหมัก

มูลไสเดือนจากกากไขมันในการปลูกพืช ไดผลการศึกษาดังน้ี ตอนที่ 1 ศึกษาความเขมขนของกากไขมันที่

เหมาะสมตอการผลิตปุยหมักมูลไสเดือน พบวา ความเขมขนของกากไขมันที่เหมาะสมตอการผลิตปุยหมัก

มูลไสเดือน คือ 20% เน่ืองจากมีคา pH กับ 7 คาประสิทธิภาพยอยสลายกากไขมันไดดีสุด และ คา N P และ

K สูงกวาความเขมขนของกากไขมันอ่ืน ๆ และ ตอนที่ 2 การใชปุยหมักมูลไสเดือนดินมีผลตอการ

เจริญเติบโตของตนกะเพรา พบวา การใชปุยหมักมูลไสเดือนจากกากไขมันมีผลตอการเจริญเติบโตของ

ตนกระเพราและใบกระเพราไดเร็วกวาปุยมูลไสเดือนจากขยะอินทรีย เน่ืองจากกระบวนการหมักปุยมูล

ไสเดือน เปนกระบวนการยอยสลายของสารอินทรีย โดยใชการทํางานรวมกันระหวางไสเดือนและจุลินทรีย

ในการยอยสลาย จึงสามารถกําจัดกากไขมันไดดี และ เมื่อเติมปุยหมักมูลไสเดือน เปนการเพิ่มความอุดม

สมบูรณของดิน

คําสําคัญ: กากไขมัน ไสเดือน ปุยหมักมูลไสเดือน

29

ชื่องานวิจัย การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโต

และผลผลิตขาวพันธุชัยนาท 1

คณะผูวิจัย นางสาวอัจฉริยะกร การพิสมัย นางสาวจีระนันท พรมม ี

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นายชุมพล ชารีแสน

โรงเรียน ดอนจานวิทยาคม อําเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ

บทคัดยอ

การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโตและผลผลิตขาวพันธุ

ชัยนาท 1 ไดทํ าการทดลองเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสมบั ติ ดินในนาขาวบริเวณที่พบตนขาวที่มี

การเจริญเติบโตนอยใหผลผลิตตํ่า 2) เพื่อศึกษาการปรับปรุงดินในนาขาวโดยใชกอนเชื้อเห็ดเกา

3) เพื่อศึกษาการปลูกขาวโดยใชดินที่ปรับปรุงโดยใชกอนเชื้อเห็ดเกา ที่สงผลตอการเจริญเติบโตและ

ผลการทดลองพบวา การใชกอนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปรับปรุงดินในนาขาวเพื่อพัฒนาการเจริญเติบโตและ

ผลผลิตขาว สรุปผลการทดลอง พบวา สมบัติดินในนาขาวบริเวณที่พบตนขาวที่มีการเจริญเติบโตนอย

ใหผลผลิตตํ่า มีความยึดตัวของดินแบบรวนซุยบีบแตกงาย วัดอุณหภูมิดินเฉลี่ย 30.67 ๐C วัดความชื้น

ในดินเฉลีย่รอยละ 5.33 ธาตุอาหารหลัก N P K อยูในระดับตํ่าถึงตํ่ามาก และคา pH ของดินเฉลี่ย คือ 5.17

จากการปรับปรุงดินในนาขาวโดยใชกอนเชื้อเห็ดเกา พบวา การใชวัสดุกอนเชื้อเห็ดเกาตอดินในอัตราสวน

1:6 ตรวจพบสมบัติดินใกลเคียงกับการปลูกขาวมากที่สุดคือ อุณหภูมิดิน 31๐C ความชื้นในดิน 5.55 %

ระดับธาตุอาหารหลัก N ระดับตํ่า P ระดับสูง K ระดับตํ่า และ คา pH คือ 6.5 เมื่อนําดินไปใชในการปลูก

ขาวพันธุชัยนาท 1 พบวา ผลการตรวจวัดการเจริญเติบโตใกลเคียงกัน โดยการปลูกขาวในชุดควบคุมมีการ

เจริญเติบโตมากกวาเพียงเล็กนอย เมื่อครบอายุการเก็บเกี่ยวขาวพบวา ขาวใหผลผลิตใกลเคียงกัน โดยการ

ปลูกขาวในชุดควบคุมมีสูงกวาเพียงเล็กนอย

คําสําคัญ: กอนเชื้อเห็ดเกา ปรับปรุงดิน ขาวชัยนาท 1

Page 32: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

30 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ30

ชื่องานวิจัย การเปรียบเทียบชนิดเมฆและปริมาณเมฆปกคลุมตอการเจริญเติบโตของขาวพันธุ

พื้นเมืองในตําบลนานกกก และทุงกะโล อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ

คณะผูวิจัย เด็กหญิงฐิยดา ยาอาจ เด็กชายภานุวัฒน เงินหลา และ

เด็กชายนันทวัฒน โนจิตร

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นายไพฑูรย แสนจันตะ

โรงเรียน นานกกก อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร. ศิริวรรณ วงศกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตสุราษฎรธานี

ดร.วิทยา ภีระ มหาวิทยาลยัเชียงใหม

บทคัดยอ

การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบชนิดเมฆและปริมาณเมฆปกคลุม ตอการเจริญเติบโตของ

ขาวพันธุพื้นเมือง ในตําบลนานกกก และตําบลทุงกะโล อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ ในป พ.ศ. 2559 โดย

เก็บขอมูลของเมฆและปริมาณเมฆปกคลุมตามหลักวิธีดําเนินการของ GLOBE และวัดการเจริญเติบโตของ

ตนขาวพันธุ กข 10 และขาวหอมนิล ที่ปลูกในระยะเวลาไลเลี่ยกัน ในตําบลนานกกก และตําบลทุงกะโล

ผลการศึกษาพบวา ขาวพันธุ กข 10 ที่ปลูกในตําบลนานกกก มีคาเฉลี่ยความสูงของขาวพันธุ กข 10

สูงกวาในตําบลทุงกะโล ซึ่งตําบลนานกกก มีปริมาณเมฆปกคลุมนอยกวาตําบลทุงกะโล และเมฆสวนใหญ

ที่พบในตําบลนานกกก คือ Cumulus สวนทุงกะโลจะพบเมฆในกลุม Stratus อยางไรก็ตามพื้นที่ตําบล

นานกกกไดประสบภัยนํ้าทวม ทําใหไมสามารถเก็บรวบรวมขอมูลการเจริญเติบโตของขาวหอมนิลได

คําสําคัญ: ขาวพันธุพื้นเมือง ชนิดเมฆ ปริมาณเมฆปกคลุม การเจริญเติบโตของขาว

31

ชื่องานวิจัย การศึกษาชนิดของดินที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนผักบุงทะเล

(Ipomoea pes-caprae)

คณะผูวิจัย นางสาวนัทธมน เมฆทา นางสาวพรรษา ดวงทิพย และ

เด็กหญิงอรุโณทัย ชื่นชม

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสุนันท พุทธภูมิ และนายดํารงค สุภาษิต

โรงเรียน พลูตาหลวงวิทยา (อบจ.ชบ.6)

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.นภา ต้ังเตรียมจิตมั่น มหาวิทยาลัยบูรพา

บทคัดยอ

ตนผักบุงทะเลเปนพืชชายหาดริมทะเล ใชเปนยาสมนุไพรรักษาอาการและโรคตางๆ ลดการกัดเซาะ

ชายฝง แตในปจจุบันผักบุงทะเลที่เกิดตามธรรมชาติหาดทรายริมทะเลมีจํานวนนอยลง เน่ืองจากการกัดเซาะ

ชายฝง การสรางเขื่อนปองกันการกัดเซาะจากคลื่นทะเล การบกุรุกชายหาดจากมนุษย เปนตน เพื่อเปนการ

อนุรักษและขยายพันธุผักบุงทะเล ผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่เหมาะสมกับการ

เจริญเติบโตของตนผักบุงทะเล (Ipomoea pes-caprae)โดยใชตนผักบุงทะเลจากหาดพลา หมู 2 ตําบลพลา

อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง ปลูกในกระถางดวยทรายและดิน 2 ชนิดคือ ดินปลูกตราดินบูรพา

ดินธรรมชาติ จาก 2 พื้นที่ในจังหวัดระยอง และอีกพื้นที่จากจังหวัดชลบุรี อัตราการเจริญเติบโตของ

ตนผักบุงทะเล ศึกษาโดยวัดขนาดใบดวยวิธี Leaf outline วัดความยาวลําตน และนําดินแตละชนิดที่ใชใน

การปลูกมาตรวจวัดสมบัติดิน ไดแก อุณหภูมิดิน สีดิน ความเค็ม ความเปนกรด-เบส คารบอเนตอิสระ

ความอุดมสมบูรณ และเน้ือดิน จากผลการทดลอง พบวาผักบุงทะเลเจริญเติบโตไดดีที่สุดในดินธรรมชาติ

รองลงมาคือในดินปลูก และเจริญเติบโตไดนอยที่สุดในทราย ดินธรรมชาติจึงเปนดินที่ ดีที่สุดตอ

การเจริญเติบโตและขยายพันธุผักบุงทะเล

คําสําคัญ: ตนผักบุงทะเล ดินปลูก ดินธรรมชาติ

Page 33: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

31สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ31

ชื่องานวิจัย การศึกษาชนิดของดินที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนผักบุงทะเล

(Ipomoea pes-caprae)

คณะผูวิจัย นางสาวนัทธมน เมฆทา นางสาวพรรษา ดวงทิพย และ

เด็กหญิงอรุโณทัย ชื่นชม

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสุนันท พุทธภูมิ และนายดํารงค สุภาษิต

โรงเรียน พลูตาหลวงวิทยา (อบจ.ชบ.6)

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.นภา ต้ังเตรียมจิตมั่น มหาวิทยาลัยบูรพา

บทคัดยอ

ตนผักบุงทะเลเปนพืชชายหาดริมทะเล ใชเปนยาสมุนไพรรักษาอาการและโรคตางๆ ลดการกัดเซาะ

ชายฝง แตในปจจุบันผักบุงทะเลที่เกิดตามธรรมชาติหาดทรายริมทะเลมีจํานวนนอยลง เน่ืองจากการกัดเซาะ

ชายฝง การสรางเขื่อนปองกันการกัดเซาะจากคลื่นทะเล การบุกรุกชายหาดจากมนุษย เปนตน เพื่อเปนการ

อนุรักษและขยายพันธุผักบุงทะเล ผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่เหมาะสมกับการ

เจริญเติบโตของตนผักบุงทะเล (Ipomoea pes-caprae)โดยใชตนผักบุงทะเลจากหาดพลา หมู 2 ตําบลพลา

อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง ปลูกในกระถางดวยทรายและดิน 2 ชนิดคือ ดินปลูกตราดินบูรพา

ดินธรรมชาติ จาก 2 พื้นที่ในจังหวัดระยอง และอีกพื้นที่จากจังหวัดชลบุรี อัตราการเจริญเติบโตของ

ตนผักบุงทะเล ศึกษาโดยวัดขนาดใบดวยวิธี Leaf outline วัดความยาวลําตน และนําดินแตละชนิดที่ใชใน

การปลูกมาตรวจวัดสมบัติดิน ไดแก อุณหภูมิดิน สีดิน ความเค็ม ความเปนกรด-เบส คารบอเนตอิสระ

ความอุดมสมบูรณ และเน้ือดิน จากผลการทดลอง พบวาผักบุงทะเลเจริญเติบโตไดดีที่สุดในดินธรรมชาติ

รองลงมาคือในดินปลูก และเจริญเติบโตไดนอยที่สุดในทราย ดินธรรมชาติจึงเปนดินที่ ดีที่สุดตอ

การเจริญเติบโตและขยายพันธุผักบุงทะเล

คําสําคัญ: ตนผักบุงทะเล ดินปลูก ดินธรรมชาติ

Page 34: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

32 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ32

ชื่องานวิจัย การศึกษาความหลากหลายของปลาตีนในบริเวณปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อการ

พัฒนาชายฝงทะเลอันดามัน และ บริเวณปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง (บานลาง)

ตําบลหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง

คณะผูวิจัย เด็กชายณภัทร ทิพยอักษร เด็กชายธีรภัทร วงศพัฒนกุล

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1

อาจารยท่ีปรึกษา นางนภัสกร ฟองฟุง

โรงเรียน พิชัยรัตนาคาร อําเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายเดชา ดวงนามล

บทคัดยอ

ปาชายเลนเปนบริเวณที่มีระบบนิเวศที่ซับซอน มีบทบาทสําคัญอยูหลากหลาย เปนแหลงอนุบาล

สัตวนํ้าวัยออน และที่อยูอาศัยของสัตวนํ้านานาชนิด รวมถึงเปนแหลงที่อยูอาศัยของสัตวนํ้า เชน ปลาตีน

เมื่อศึกษาความหลากหลายของชนิดของปลาตีนที่อาศัยอยูมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับความอุดมสมบูรณ

ของระบบนิเวศของปาชายเลนแตละพื้นที่ ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหพบปลาตีนชนิดตาง ๆ ในบริเวณพื้นที่ศึกษา

คลายคลึงกัน ปลาตีนที่พบบริเวณปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงทะเลอันดามัน เปนปลาตีนสกุล

Periophthalmus และ Boleophthalmus มีทั้งหมด 5 ชนิด ไดแก Periophthalmus argentilineatus

Valenciennes, 1837, Periophthalmus minutus Eggert, 1935, Periophthalmus kalolo Lesson, 1830,

Periophthalmus chrysospilos Bleeker, 1852 และ Boleophthalmus boddarti (Pallas, 1770) ซึ่งบริเวณน้ีมี

ความอุดมสมบูรณ มีพืชพันธุไมมากมายกระจายตัวอยูโดยรอบ และปลาตีนที่พบบริเวณปาชายเลน

ณ หมูบานทาฉาง (บานลาง) ตําบลหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง เปนปลาตีนสกุล Periophthalmus และ

Boleophthalmus เชนเดียวกัน มีทั้งหมด 3 ชนิด ไดแก Periophthalmus argentilineatus Valenciennes, 1837,

Periophthalmus kalolo Lesson, 1830 และ Boleophthalmus boddarti (Pallas, 1770) ซึ่งบริเวณน้ีคอนขางมี

ความอุดมสมบูรณ มีการกระจายตัวของพืช คุณภาพของแหลงนํ้าในบริเวณพื้นที่ศึกษามีความสําคัญตอ

การอาศัยอยูของปลาตีนเชนเดียวกัน ซึ่งแหลงนํ้าในบริเวณปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงทะเล

อันดามัน มีคา pH 7.0-8.5 มีปริมาณไนเตรทตํ่าถึงตํ่ามาก ระหวาง 0.0-2.5 ppm ปริมาณฟอสเฟตตํ่า

ถึงตํ่ามาก 0.0-0.1 ppm และปริมาณซัลไฟดเปน 0.0 ppm คือมีการละลายตัวอยูของกํามะถันตํ่ามาก สําหรับ

แหลงนํ้าในบริเวณปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง (บานลาง) ตําบลหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง มีคา pH

เฉลี่ย 7.21 มีปริมาณฟอสเฟตเทากับ 3 ppm และปริมาณซัลไฟดนอยกวา 10 ppm ดังน้ัน จึงสรุปไดวา ถิ่นที่

อยูอาศัยของปลาตีนมีคา pH อยูระหวาง 7.0-8.5 มีปริมาณไนเตรทตํ่าถึงตํ่ามาก อยูที่ระหวาง 0.0-2.5 ppm

บริเวณที่ปลาตีนอาศัยอยูจะมีปริมาณฟอสเฟตตํ่าถึงตํ่ามากอยูที่ 0.0-0.1 ppm และปริมาณซัลไฟดเปน

0.0 ppm

คําสําคัญ: ปลาตีน ความหลากหลาย ปาชายเลน

33

ชื่องานวิจัย การศึกษาพันธุขาวทนแลงจากความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนสีของใบขาว

กับอุณหภูมิของดิน

คณะผูวิจัย เด็กชายโสฬส กันทะวัง เด็กชายคณิศร สุวรรณศรี และ

เด็กชายวรัญู เคียนทอง

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอําไพ มนัสสันติ นายบรรเจิด สระปญญา และนางทิพวรรณ บุญเปง

โรงเรียน ลําปางกัลยาณี อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา Mr.Peter John Ferdinard ศูนยการเรียนรูโรงเรียนชีวิต สังกัดศูนยการศึกษา

นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง

อาจารยวาจิส กันทะวัง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกที่ต้ังลําปาง

ดร.ศรีจันทรัตน กันทะวัง และดร.รุงรัตน มองทะเล ศึกษานิเทศก สพม.35

บทคัดยอ

ภูมิอากาศที่มีอุณหภูมิสูงในปจจุบันของประเทศไทยไดสงผลกระทบตอการเพาะปลูกขาว ซึ่งมี

ความสําคัญในเชิงเศรษฐกิจและการบริโภคของคนไทย สภาพความแหงแลงอันเกิดจากความรอนใน

อุณหภูมิที่สูงขึ้นทุกปอยางตอเน่ืองในชวงฤดูกาลเพาะปลูกน้ันทําใหสภาพความชื้นในดินหรือปจจัยอ่ืน ๆ

ไมเอ้ือตอการเพาะปลูกขาว คณะผูวิจัยจึงมีความตองการศึกษาพันธุขาว พันธุชนิดใดที่สามารถทนแลงจาก

การรักษาสภาพอุณหภูมิในดินไดดีที่สุด และเลือกในพื้นที่การวิจัยทองถิ่น คือ จังหวัดลําปาง จากการ

กําหนดขอบเขตของการวิจัยโดยใชพันธุขาวพื้นเมืองที่เกษตรกรจังหวัดลําปางนิยมปลูกจริง เพื่อนําเสนอ

ทางเลือกพันธุขาวที่เปนคําตอบเชิงพยากรณแกเกษตรกร วาขาวพันธุใดที่ทนแลง ตามหลักวิธีดําเนินการ

ตรวจวัดสิ่งแวดลอมของโครงการ GLOBE ผลการวิจัย โดยวัดการเปลี่ยนสีของใบขาวจากการสังเกต

การเปรียบเทียบแตละพันธุและการวัดคาเฉลี่ยของอุณหภูมิดิน พบวา พันธุขาวที่มีความทนแลงจากมากไป

นอย ไดแก ขาวพันธุ กข.49 พันธุชัยนาท 1 พันธุ กข.41 พันธุหอมมะลิ 105 พันธุไรซเบอร ร่ีและ

พันธุพื้นเมือง ตามลําดับ จากการขยายผลการวิจัยพบวา ผลการวิจัยเปนประโยชนตอการตัดสินใจเลือก

ปลูกพันธุขาวของเกษตรกรมากขึ้น

คําสําคัญ: การศึกษาพันธุขาวทนแลง การเปลี่ยนสีของใบขาว อุณหภูมิของดิน

Page 35: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

33สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ32

ชื่องานวิจัย การศึกษาความหลากหลายของปลาตีนในบริเวณปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อการ

พัฒนาชายฝงทะเลอันดามัน และ บริเวณปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง (บานลาง)

ตําบลหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง

คณะผูวิจัย เด็กชายณภัทร ทิพยอักษร เด็กชายธีรภัทร วงศพัฒนกุล

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1

อาจารยท่ีปรึกษา นางนภัสกร ฟองฟุง

โรงเรียน พิชัยรัตนาคาร อําเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายเดชา ดวงนามล

บทคัดยอ

ปาชายเลนเปนบริเวณที่มีระบบนิเวศที่ซับซอน มีบทบาทสําคัญอยูหลากหลาย เปนแหลงอนุบาล

สัตวนํ้าวัยออน และที่อยูอาศัยของสัตวนํ้านานาชนิด รวมถึงเปนแหลงที่อยูอาศัยของสัตวนํ้า เชน ปลาตีน

เมื่อศึกษาความหลากหลายของชนิดของปลาตีนที่อาศัยอยูมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับความอุดมสมบูรณ

ของระบบนิเวศของปาชายเลนแตละพื้นที่ ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหพบปลาตีนชนิดตาง ๆ ในบริเวณพื้นที่ศึกษา

คลายคลึงกัน ปลาตีนที่พบบริเวณปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงทะเลอันดามัน เปนปลาตีนสกุล

Periophthalmus และ Boleophthalmus มีทั้งหมด 5 ชนิด ไดแก Periophthalmus argentilineatus

Valenciennes, 1837, Periophthalmus minutus Eggert, 1935, Periophthalmus kalolo Lesson, 1830,

Periophthalmus chrysospilos Bleeker, 1852 และ Boleophthalmus boddarti (Pallas, 1770) ซึ่งบริเวณน้ีมี

ความอุดมสมบูรณ มีพืชพันธุไมมากมายกระจายตัวอยูโดยรอบ และปลาตีนที่พบบริเวณปาชายเลน

ณ หมูบานทาฉาง (บานลาง) ตําบลหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง เปนปลาตีนสกุล Periophthalmus และ

Boleophthalmus เชนเดียวกัน มีทั้งหมด 3 ชนิด ไดแก Periophthalmus argentilineatus Valenciennes, 1837,

Periophthalmus kalolo Lesson, 1830 และ Boleophthalmus boddarti (Pallas, 1770) ซึ่งบริเวณน้ีคอนขางมี

ความอุดมสมบูรณ มีการกระจายตัวของพืช คุณภาพของแหลงนํ้าในบริเวณพื้นที่ศึกษามีความสําคัญตอ

การอาศัยอยูของปลาตีนเชนเดียวกัน ซึ่งแหลงนํ้าในบริเวณปาชายเลนสถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงทะเล

อันดามัน มีคา pH 7.0-8.5 มีปริมาณไนเตรทตํ่าถึงตํ่ามาก ระหวาง 0.0-2.5 ppm ปริมาณฟอสเฟตตํ่า

ถึงตํ่ามาก 0.0-0.1 ppm และปริมาณซัลไฟดเปน 0.0 ppm คือมีการละลายตัวอยูของกํามะถันตํ่ามาก สําหรับ

แหลงนํ้าในบริเวณปาชายเลน ณ หมูบานทาฉาง (บานลาง) ตําบลหงาว อําเภอเมือง จังหวัดระนอง มีคา pH

เฉลี่ย 7.21 มีปริมาณฟอสเฟตเทากับ 3 ppm และปริมาณซัลไฟดนอยกวา 10 ppm ดังน้ัน จึงสรุปไดวา ถิ่นที่

อยูอาศัยของปลาตีนมีคา pH อยูระหวาง 7.0-8.5 มีปริมาณไนเตรทตํ่าถึงตํ่ามาก อยูที่ระหวาง 0.0-2.5 ppm

บริเวณที่ปลาตีนอาศัยอยูจะมีปริมาณฟอสเฟตตํ่าถึงตํ่ามากอยูที่ 0.0-0.1 ppm และปริมาณซัลไฟดเปน

0.0 ppm

คําสําคัญ: ปลาตีน ความหลากหลาย ปาชายเลน

33

ชื่องานวิจัย การศึกษาพันธุขาวทนแลงจากความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนสีของใบขาว

กับอุณหภูมิของดิน

คณะผูวิจัย เด็กชายโสฬส กันทะวัง เด็กชายคณิศร สุวรรณศรี และ

เด็กชายวรัญู เคียนทอง

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวอําไพ มนัสสันติ นายบรรเจิด สระปญญา และนางทิพวรรณ บุญเปง

โรงเรียน ลําปางกัลยาณี อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา Mr.Peter John Ferdinard ศูนยการเรียนรูโรงเรียนชีวิต สังกัดศูนยการศึกษา

นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง

อาจารยวาจิส กันทะวัง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนยการศึกษานอกที่ต้ังลําปาง

ดร.ศรีจันทรัตน กันทะวัง และดร.รุงรัตน มองทะเล ศึกษานิเทศก สพม.35

บทคัดยอ

ภูมิอากาศที่มีอุณหภูมิสูงในปจจุบันของประเทศไทยไดสงผลกระทบตอการเพาะปลูกขาว ซึ่งมี

ความสําคัญในเชิงเศรษฐกิจและการบริโภคของคนไทย สภาพความแหงแลงอันเกิดจากความรอนใน

อุณหภูมิที่สูงขึ้นทุกปอยางตอเน่ืองในชวงฤดูกาลเพาะปลูกน้ันทําใหสภาพความชื้นในดินหรือปจจัยอ่ืน ๆ

ไมเอ้ือตอการเพาะปลูกขาว คณะผูวิจัยจึงมีความตองการศึกษาพันธุขาว พันธุชนิดใดที่สามารถทนแลงจาก

การรักษาสภาพอุณหภูมิในดินไดดีที่สุด และเลือกในพื้นที่การวิจัยทองถิ่น คือ จังหวัดลําปาง จากการ

กําหนดขอบเขตของการวิจัยโดยใชพันธุขาวพื้นเมืองที่เกษตรกรจังหวัดลําปางนิยมปลูกจริง เพื่อนําเสนอ

ทางเลือกพันธุขาวที่เปนคําตอบเชิงพยากรณแกเกษตรกร วาขาวพันธุใดที่ทนแลง ตามหลักวิธีดําเนินการ

ตรวจวัดสิ่งแวดลอมของโครงการ GLOBE ผลการวิจัย โดยวัดการเปลี่ยนสีของใบขาวจากการสังเกต

การเปรียบเทียบแตละพันธุและการวัดคาเฉลี่ยของอุณหภูมิดิน พบวา พันธุขาวที่มีความทนแลงจากมากไป

นอย ไดแก ขาวพันธุ กข.49 พันธุชัยนาท 1 พันธุ กข.41 พันธุหอมมะลิ 105 พันธุไรซเบอร ร่ีและ

พันธุพื้นเมือง ตามลําดับ จากการขยายผลการวิจัยพบวา ผลการวิจัยเปนประโยชนตอการตัดสินใจเลือก

ปลูกพันธุขาวของเกษตรกรมากขึ้น

คําสําคัญ: การศึกษาพันธุขาวทนแลง การเปลี่ยนสีของใบขาว อุณหภูมิของดิน

Page 36: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

34 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ34

ชื่องานวิจัย การเปรียบเทียบคุณภาพดินและความหลากหลายของสัตวหนาดินของสวนกลวย

ที่ใชปุยเคมีและปุยชีวภาพในโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล

คณะผูวิจัย เด็กหญิงกานตพิชชา กุลโรจนสิริ เด็กหญิงชญาดา ชาวสวน และ

เด็กหญิงโรสมีณีย มาลินี

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2

อาจารยท่ีปรึกษา นางรุจิรา บินตํามะหงง และนางศุลยา สามัญ

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล อําเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา อาจารย ดร.พีรนาฏ คิดดี มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

บทคัดยอ

การเปรียบเทียบคุณภาพดินและความหลากหลายของสัตวหนาดินของสวนกลวยที่ใชปุยเคมีและ

ปุยชีวภาพในโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล จุดประสงคเพื่อศึกษาความแตกตางของคุณภาพดิน

ในสวนกลวยที่ใชปุยเคมีและปุยชีวภาพ และเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางคุณภาพดินและชนิดและ

ปริมาณของสัตวหนาดิน โดยตรวจสอบลักษณะเน้ือดิน โครงสรางของดิน การยึดตัวของดิน อุณหภูมิของ

ดิน pH ของดิน ความชื้นในดิน ความอุดมสมบูรณของดิน และความหลากหลายของสัตวหนาดินในพื้น

ที่ดินในสวนกลวยที่ใชปุยชีวภาพและปุยเคมี จากการศึกษาพบวาสวนกลวยที่ใชปุยชีวภาพมีคุณภาพดิน

ดีกวาสวนกลวยที่ใชปุยเคมี โดยสวนกลวยที่ใชปุยเคมีดินมีคาของดิน pH เปนกรด ลักษณะเน้ือดินแนน

คาความอุดมสมบูรณ ในขณะที่ปุยชีวภาพคา pH ของดินเปนกลาง ลักษณะเน้ือดินรวนซุย ที่คา NPK มีคา

ตํ่ากวาดินที่ใชปุยเคมี นอกจากน้ียังพบวาสัตวหนาดินที่ใชปุยเคมีมีปริมาณนอยกวาดินที่ใชปุยชีวภาพ

คําสําคัญ: คุณภาพดิน สัตวหนาดิน ปุยเคมี ปุยชีวภาพ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล

35

ชื่องานวิจัย การศึกษาปจจัยดานอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ ปริมาณนํ้าฝน ความเขมของแสง

ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของไลเคนบริเวณโรงเรียนปญญาวุธ อําเภอควนขนุน

จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย เด็กหญิงจิตรานุช แปนนอย เด็กหญิงปยนุช หมาดโตะโสะ และ

เด็กหญิงญานิศา เพชรสง

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวบุญญา พัฒนพงศ

โรงเรียน ปญญาวุธ อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.กนกพร สังขรักษ มหาวิทยาลัยทักษณิ

บทคัดยอ

จากการศึกษาสิ่งแวดลอมในโรงเรียนปญญาวุธพบวาบนตนไมทุกพื้นที่จะมีไลเคนอาศัยอยู จาก

การศึกษาในป พ.ศ. 2557 พบวามีไลเคนในพื้นที่โรงเรียนปญญาวุธมีประมาณ 10 ชนิด และพบวาพืชที่พบ

ไลเคนปริมาณมากที่สุด คือ ตนหมาก และบนตนหมากแตละพื้นที่บริเวณก็มีปริมาณและชนิดไลเคน

แตกตางกัน สมาชิกกลุมจึงศึกษาไลเคนที่พบในแตละพื้นที่จะมีการเจริญเติบโตที่แตกตางกันหรือไมอยางไร

และมีปจจัยใดบางที่มีผลตอการเจริญเติบโตของไลเคน ศึกษาปจจัยดานอุณหภูมิโดยใชเทอรโมมิเตอร

ศึกษาความชื้นสัมพัทธ โดยใชเทอรโมมิเตอรแบบกระเปาะเปยกและกระเปาะแหง ศึกษาความเขมของแสง

โดยใชบอรดกาลิ เลโอ และลักซมิ เตอร ศึกษาปริมาณนํ้าฝนโดยใชกระบอกวัดนํ้าฝน ตรวจวัด

การเจริญเติบโตของไลเคนโดยการวัดเสนผานศูนยกลางทั้งในแนวระนาบและแนวด่ิง โดยทําการตรวจวัด

ในทุกสัปดาห หาคาเฉลี่ย และคารอยละ

จากการศึกษาพบวาไลเคนปริศนาและไลเคนหัตถทศกัณฑกุมนํ้าแข็งโตสูงสุดในเดือนมิถุนายน

บริเวณอาคารเรียน 1 เน่ืองจากอยูบริเวณที่รม ชวงเดือนน้ีไดรับแสงพอเหมาะ มีความชื้นสัมพัทธเหมาะสม

อุณหภูมิไมสูงเกินไป เน่ืองจากภาคใตมีฝนตกตลอดทั้งป ทําใหเหมาะกับการเจริญเติบโตทําใหมีการ

เจริญเติบโตสูงสุด แตอัตราการเจริญเติบโตเปนไปอยางชา ๆ ในระยะ 9 เดือน โตไมเกิน 3 เซนติเมตรในการ

วัดระยะในแนวราบของทัลลัสที่โตที่สุด ไลเคน Pertusaria sp. โตมากที่สุดบริเวณริมถนน เน่ืองจากไดรับ

แสงเพียงพอและในเดือน พฤศจิกายน – มกราคม มีปริมาณนํ้าฝนมาก ความชื้นสัมพัทธสูง สรุปไดวาการ

เกาะอาศัยและการเจริญเติบโตของไลเคนขึ้นอยูกับปจจัยหลายดานประกอบกัน เชน อุณหภูมิ

ความชื้นสัมพัทธ ปริมาณนํ้าฝน เขมของแสง และพื้นที่ที่มีสภาพแวดลอมแตกตางกัน

คําสําคัญ: ไลเคน ความชื้นสัมพัทธ อุณหภูมิอากาศ การวัดปริมาณนํ้าฝน ความเขมของแสง

Page 37: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

35สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ34

ชื่องานวิจัย การเปรียบเทียบคุณภาพดินและความหลากหลายของสัตวหนาดินของสวนกลวย

ที่ใชปุยเคมีและปุยชีวภาพในโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล

คณะผูวิจัย เด็กหญิงกานตพิชชา กุลโรจนสิริ เด็กหญิงชญาดา ชาวสวน และ

เด็กหญิงโรสมีณีย มาลินี

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2

อาจารยท่ีปรึกษา นางรุจิรา บินตํามะหงง และนางศุลยา สามัญ

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล อําเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา อาจารย ดร.พีรนาฏ คิดดี มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง

บทคัดยอ

การเปรียบเทียบคุณภาพดินและความหลากหลายของสัตวหนาดินของสวนกลวยที่ใชปุยเคมีและ

ปุยชีวภาพในโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล จุดประสงคเพื่อศึกษาความแตกตางของคุณภาพดิน

ในสวนกลวยที่ใชปุยเคมีและปุยชีวภาพ และเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางคุณภาพดินและชนิดและ

ปริมาณของสัตวหนาดิน โดยตรวจสอบลักษณะเน้ือดิน โครงสรางของดิน การยึดตัวของดิน อุณหภูมิของ

ดิน pH ของดิน ความชื้นในดิน ความอุดมสมบูรณของดิน และความหลากหลายของสัตวหนาดินในพื้น

ที่ดินในสวนกลวยที่ใชปุยชีวภาพและปุยเคมี จากการศึกษาพบวาสวนกลวยที่ใชปุยชีวภาพมีคุณภาพดิน

ดีกวาสวนกลวยที่ใชปุยเคมี โดยสวนกลวยที่ใชปุยเคมีดินมีคาของดิน pH เปนกรด ลักษณะเน้ือดินแนน

คาความอุดมสมบูรณ ในขณะที่ปุยชีวภาพคา pH ของดินเปนกลาง ลักษณะเน้ือดินรวนซุย ที่คา NPK มีคา

ตํ่ากวาดินที่ใชปุยเคมี นอกจากน้ียังพบวาสัตวหนาดินที่ใชปุยเคมีมีปริมาณนอยกวาดินที่ใชปุยชีวภาพ

คําสําคัญ: คุณภาพดิน สัตวหนาดิน ปุยเคมี ปุยชีวภาพ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล

35

ชื่องานวิจัย การศึกษาปจจัยดานอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ ปริมาณนํ้าฝน ความเขมของแสง

ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของไลเคนบริเวณโรงเรียนปญญาวุธ อําเภอควนขนุน

จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย เด็กหญิงจิตรานุช แปนนอย เด็กหญิงปยนุช หมาดโตะโสะ และ

เด็กหญิงญานิศา เพชรสง

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวบุญญา พัฒนพงศ

โรงเรียน ปญญาวุธ อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.กนกพร สังขรักษ มหาวิทยาลัยทักษณิ

บทคัดยอ

จากการศึกษาสิ่งแวดลอมในโรงเรียนปญญาวุธพบวาบนตนไมทุกพื้นที่จะมีไลเคนอาศัยอยู จาก

การศึกษาในป พ.ศ. 2557 พบวามีไลเคนในพื้นที่โรงเรียนปญญาวุธมีประมาณ 10 ชนิด และพบวาพืชที่พบ

ไลเคนปริมาณมากที่สุด คือ ตนหมาก และบนตนหมากแตละพื้นที่บริเวณก็มีปริมาณและชนิดไลเคน

แตกตางกัน สมาชิกกลุมจึงศึกษาไลเคนที่พบในแตละพื้นที่จะมีการเจริญเติบโตที่แตกตางกันหรือไมอยางไร

และมีปจจัยใดบางที่มีผลตอการเจริญเติบโตของไลเคน ศึกษาปจจัยดานอุณหภูมิโดยใชเทอรโมมิเตอร

ศึกษาความชื้นสัมพัทธ โดยใชเทอรโมมิเตอรแบบกระเปาะเปยกและกระเปาะแหง ศึกษาความเขมของแสง

โดยใชบอรดกาลิ เลโอ และลักซมิ เตอร ศึกษาปริมาณนํ้าฝนโดยใชกระบอกวัดนํ้าฝน ตรวจวัด

การเจริญเติบโตของไลเคนโดยการวัดเสนผานศูนยกลางทั้งในแนวระนาบและแนวด่ิง โดยทําการตรวจวัด

ในทุกสัปดาห หาคาเฉลี่ย และคารอยละ

จากการศึกษาพบวาไลเคนปริศนาและไลเคนหัตถทศกัณฑกุมนํ้าแข็งโตสูงสุดในเดือนมิถุนายน

บริเวณอาคารเรียน 1 เน่ืองจากอยูบริเวณที่รม ชวงเดือนน้ีไดรับแสงพอเหมาะ มีความชื้นสัมพัทธเหมาะสม

อุณหภูมิไมสูงเกินไป เน่ืองจากภาคใตมีฝนตกตลอดทั้งป ทําใหเหมาะกับการเจริญเติบโตทําใหมีการ

เจริญเติบโตสูงสุด แตอัตราการเจริญเติบโตเปนไปอยางชา ๆ ในระยะ 9 เดือน โตไมเกิน 3 เซนติเมตรในการ

วัดระยะในแนวราบของทัลลัสที่โตที่สุด ไลเคน Pertusaria sp. โตมากที่สุดบริเวณริมถนน เน่ืองจากไดรับ

แสงเพียงพอและในเดือน พฤศจิกายน – มกราคม มีปริมาณนํ้าฝนมาก ความชื้นสัมพัทธสูง สรุปไดวาการ

เกาะอาศัยและการเจริญเติบโตของไลเคนขึ้นอยูกับปจจัยหลายดานประกอบกัน เชน อุณหภูมิ

ความชื้นสัมพัทธ ปริมาณนํ้าฝน เขมของแสง และพื้นที่ที่มีสภาพแวดลอมแตกตางกัน

คําสําคัญ: ไลเคน ความชื้นสัมพัทธ อุณหภูมิอากาศ การวัดปริมาณนํ้าฝน ความเขมของแสง

Page 38: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

36 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ36

ชื่องานวิจัย ชนิดและจํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณชุมชนลานขอย อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย เด็กหญิงสุดารัตน หมวดอินทอง เด็กชายพทิักษเดช ชุมไชโย

เด็กหญิงจีรนันท สงเปย และเด็กหญิงชุตินันทน สุวรรณภักดี

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางภาณินี วรเนติวุฒิ

โรงเรียน ปาพะยอมพิทยาคม

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร. กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

รองศาสตราจารย ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

ดร.ฟามีดา ทีนา และ นางอนันตนิตย ชุมศรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

บทคัดยอ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาชนิดและจํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณชุมชนลานขอย อําเภอปาพะยอม

จังหวัดพัทลุง โดยทําการสุมเก็บตัวอยางลูกนํ้ายุงจากบานเรือนใน 4 พื้นที่ศึกษา ในเขตชุมชนลานขอย

อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง แบงเปนแหลงทองเที่ยว 8 สถานที่ บาน 5 หลัง วัด 2 แหลง และ โรงเรียน 2

โรงเรียน ในชวงเดือนมีนาคม 2560 ทางผูศึกษา ทําการสุมเก็บตัวอยางลูกนํ้ายุงจากภาชนะชนิดตาง ๆ โดยใช

กระชอนขนาด 0.55 มิลลิเมตร จากน้ันจึงทําการดองลูกนํ้ายุงในหองปฏิบัติการ จัดจําแนกภาชนะออกเปน

5 กลุมคือ กลุมภาชนะกักเก็บนํ้า กลุมภาชนะประเภทกระถางตนไม กลุมประเภทขยะ กลุมภาชนะจาก

ธรรมชาติ และอ่ืน ๆ จากน้ันจึงนําลูกนํ้ายุงที่ผานการดองมาจําแนกชนิดและสกุล นับจํานวน และคํานวณคา

HI BI และCI

จากการศึกษาพบวา แหลงทองเที่ยวพบลูกนํ้ายุงรําคาญมากที่สุด รองลงมาลูกนํ้ายุงลายสวน และ

ลูกนํ้ายุงแมไก ครัวเรือนพบลูกนํ้ายุงลายสวนมากที่สุด รองลงมาลูกนํ้ายุงรําคาญ และลูกนํ้ายุงลายบาน

วัดพบลูกนํ้ายุงลายสวน และโรงเรียนพบลูกนํ้ายุงลายสวนมากที่สุด รองลงมาเปนลูกนํ้ายุงลายบาน และ

ลูกนํ้ายุงรําคาญ ภาชนะที่พบลูกนํ้ายุง พบมากที่สุดคือแหลงทองเที่ยว รองลงมาคือ บาน โรงเรียน และวัด

ตามลําดับ แหลงทองเที่ยว มีคา CI BI และ HI สูงที่สุด เมื่อใชหลักเกณฑของคา BI จําแนกพื้นที่ที่มีความ

เสี่ยงสูงปรากฎวาแหลงทองเที่ยว โรงเรียน บาน และวัด เปนพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง

คําสําคัญ: ภาชนะ ลูกนํ้ายุง แหลงทองเที่ยว HI (House index) BI (Breteau index) CI (Container index)

37

ชื่องานวิจัย ศึกษาสมบัติของดินบริเวณที่มีการทิ้งคราบนํ้ามันของอูซอมรถและ

การประยุกตใชดินในการแกปญหา

คณะผูวิจัย เด็กหญิงกนกวรรณ เวชศรี เด็กหญิงนิชาภัทร รอดพันธ และ

เด็กหญิงภานุมาศ ชมทอง

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นายนิรันดร เหลืองสวรรค

โรงเรียน พนมสารคาม "พนมอดุลวิทยา" อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

บทคัดยอ

จากการศึกษาสมบัติของดินบริเวณที่มีการทิ้งคราบนํ้ามันของอูซอมรถและการประยุกตใชดินใน

การแกปญหา เพื่อศึกษาเปรียบเทียบสมบัติของดินบริเวณอูซอมรถและหาแนวทางในการแกปญหาการ

ปนเปอนคราบนํ้ามัน ขั้นตอนแรกศึกษาสมบัติของดินทางดานตาง ๆ ตามหลักวิธีดําเนินการของโครงการ

GLOBE พบวา ดินบริเวณอูซอมรถทั้ง 2 บริเวณ (บริเวณที่มี/ไมมีการปนเปอนคราบนํ้ามัน) มีลักษณะ

แตกตางกัน สวนแนวทางการแกไขปญหาใชสมบัติของดินที่เปนตัวกรองที่ดีจากธรรมชาติ ซึ่งใน

การทดลองใชนํ้ามันดีเซลและนํ้ามันเบนซินที่ใชแลวจากการทําความสะอาดเคร่ืองยนตมีลักษณะสีดําเขม

หลังใชงานตัวแปรที่ศึกษา ไดแก ชนิด ขนาดและปริมาณของดินที่ใชกรอง พบวา ดินเหนียวขนาดอนุภาค

เล็ก (0.10-0.20 mm) ปริมาณ 30 กรัม สามารถกรองนํ้ามันที่ใชแลวทั้งสองชนิดใหมีสมบัติดานสีดีขึ้น

โดยสีดําเขมเปลี่ยนเปนสีเหลืองใส สวนปริมาตรนํ้ามันที่ใชแลว 100 มิลลิลิตร ปริมาตรของนํ้ามันที่กรอง

ไดสูงกวา 50% สวนประสิทธิภาพของดินเหนียวในการกรองนํ้ามันที่ใชแลว ณ หองปฏิบัติการและสภาพ

จริงไดผล ที่แตกตางกันขึ้นอยูกับปริมาณของสิ่งเจือปนในนํ้ามันที่ใชแลว ดังน้ันนํ้ามันที่กรองไดสามารถ

นํากลับไปใชทําความสะอาดเคร่ืองยนตไดอีกคร้ัง ซึ่งถือไดวาเปนวิธีที่งาย สามารถประหยัดเงินและ

เชื้อเพลิงมากกวาคร่ึงหน่ึง

คําสําคัญ: นํ้ามันที่ใชแลว ดิน การกรอง คุณภาพ

Page 39: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

37สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ36

ชื่องานวิจัย ชนิดและจํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณชุมชนลานขอย อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย เด็กหญิงสุดารัตน หมวดอินทอง เด็กชายพทิักษเดช ชุมไชโย

เด็กหญิงจีรนันท สงเปย และเด็กหญิงชุตินันทน สุวรรณภักดี

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางภาณินี วรเนติวุฒิ

โรงเรียน ปาพะยอมพิทยาคม

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร. กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

รองศาสตราจารย ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

ดร.ฟามีดา ทีนา และ นางอนันตนิตย ชุมศรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

บทคัดยอ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาชนิดและจํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณชุมชนลานขอย อําเภอปาพะยอม

จังหวัดพัทลุง โดยทําการสุมเก็บตัวอยางลูกนํ้ายุงจากบานเรือนใน 4 พื้นที่ศึกษา ในเขตชุมชนลานขอย

อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง แบงเปนแหลงทองเที่ยว 8 สถานที่ บาน 5 หลัง วัด 2 แหลง และ โรงเรียน 2

โรงเรียน ในชวงเดือนมีนาคม 2560 ทางผูศึกษา ทําการสุมเก็บตัวอยางลูกนํ้ายุงจากภาชนะชนิดตาง ๆ โดยใช

กระชอนขนาด 0.55 มิลลิเมตร จากน้ันจึงทําการดองลูกนํ้ายุงในหองปฏิบัติการ จัดจําแนกภาชนะออกเปน

5 กลุมคือ กลุมภาชนะกักเก็บนํ้า กลุมภาชนะประเภทกระถางตนไม กลุมประเภทขยะ กลุมภาชนะจาก

ธรรมชาติ และอ่ืน ๆ จากน้ันจึงนําลูกนํ้ายุงที่ผานการดองมาจําแนกชนิดและสกุล นับจํานวน และคํานวณคา

HI BI และCI

จากการศึกษาพบวา แหลงทองเที่ยวพบลูกนํ้ายุงรําคาญมากที่สุด รองลงมาลูกนํ้ายุงลายสวน และ

ลูกนํ้ายุงแมไก ครัวเรือนพบลูกนํ้ายุงลายสวนมากที่สุด รองลงมาลูกนํ้ายุงรําคาญ และลูกนํ้ายุงลายบาน

วัดพบลูกนํ้ายุงลายสวน และโรงเรียนพบลูกนํ้ายุงลายสวนมากที่สุด รองลงมาเปนลูกนํ้ายุงลายบาน และ

ลูกนํ้ายุงรําคาญ ภาชนะที่พบลูกนํ้ายุง พบมากที่สุดคือแหลงทองเที่ยว รองลงมาคือ บาน โรงเรียน และวัด

ตามลําดับ แหลงทองเที่ยว มีคา CI BI และ HI สูงที่สุด เมื่อใชหลักเกณฑของคา BI จําแนกพื้นที่ที่มีความ

เสี่ยงสูงปรากฎวาแหลงทองเที่ยว โรงเรียน บาน และวัด เปนพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง

คําสําคัญ: ภาชนะ ลูกนํ้ายุง แหลงทองเที่ยว HI (House index) BI (Breteau index) CI (Container index)

37

ชื่องานวิจัย ศึกษาสมบัติของดินบริเวณที่มีการทิ้งคราบนํ้ามันของอูซอมรถและ

การประยุกตใชดินในการแกปญหา

คณะผูวิจัย เด็กหญิงกนกวรรณ เวชศรี เด็กหญิงนิชาภัทร รอดพันธ และ

เด็กหญิงภานุมาศ ชมทอง

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นายนิรันดร เหลืองสวรรค

โรงเรียน พนมสารคาม "พนมอดุลวิทยา" อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

บทคัดยอ

จากการศึกษาสมบัติของดินบริเวณที่มีการทิ้งคราบนํ้ามันของอูซอมรถและการประยุกตใชดินใน

การแกปญหา เพื่อศึกษาเปรียบเทียบสมบัติของดินบริเวณอูซอมรถและหาแนวทางในการแกปญหาการ

ปนเปอนคราบนํ้ามัน ขั้นตอนแรกศึกษาสมบัติของดินทางดานตาง ๆ ตามหลักวิธีดําเนินการของโครงการ

GLOBE พบวา ดินบริเวณอูซอมรถทั้ง 2 บริเวณ (บริเวณที่มี/ไมมีการปนเปอนคราบนํ้ามัน) มีลักษณะ

แตกตางกัน สวนแนวทางการแกไขปญหาใชสมบัติของดินที่เปนตัวกรองที่ดีจากธรรมชาติ ซึ่งใน

การทดลองใชนํ้ามันดีเซลและนํ้ามันเบนซินที่ใชแลวจากการทําความสะอาดเคร่ืองยนตมีลักษณะสีดําเขม

หลังใชงานตัวแปรที่ศึกษา ไดแก ชนิด ขนาดและปริมาณของดินที่ใชกรอง พบวา ดินเหนียวขนาดอนุภาค

เล็ก (0.10-0.20 mm) ปริมาณ 30 กรัม สามารถกรองนํ้ามันที่ใชแลวทั้งสองชนิดใหมีสมบัติดานสีดีขึ้น

โดยสีดําเขมเปลี่ยนเปนสีเหลืองใส สวนปริมาตรนํ้ามันที่ใชแลว 100 มิลลิลิตร ปริมาตรของนํ้ามันที่กรอง

ไดสูงกวา 50% สวนประสิทธิภาพของดินเหนียวในการกรองนํ้ามันที่ใชแลว ณ หองปฏิบัติการและสภาพ

จริงไดผล ที่แตกตางกันขึ้นอยูกับปริมาณของสิ่งเจือปนในนํ้ามันที่ใชแลว ดังน้ันนํ้ามันที่กรองไดสามารถ

นํากลับไปใชทําความสะอาดเคร่ืองยนตไดอีกคร้ัง ซึ่งถือไดวาเปนวิธีที่งาย สามารถประหยัดเงินและ

เชื้อเพลิงมากกวาคร่ึงหน่ึง

คําสําคัญ: นํ้ามันที่ใชแลว ดิน การกรอง คุณภาพ

Page 40: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

38 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ38

ชื่องานวิจัย ความเปนไปไดในการใชถานชีวภาพปรับปรุงสมบัติกายภาพบางประการของดิน

เพื่อรักษาระดับความชื้นดิน

คณะผูวิจัย เด็กหญิงฐาปนี นอยเนตร เด็กหญิงเบญจมาภรณ จันทรแปลง และ

เด็กหญิงณัฐชา พระพิไชย

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางพรรธิภา มานิตกุล

โรงเรียน รัฐราษฎรอุปถัมภ อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.สุชาดา กรุณา และ อาจารยสัญชัย ภูเงิน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

บทคัดยอ

การศึกษาความเปนไปไดในการใชถานชีวภาพปรับปรุงสมบติักายภาพบางประการของดินเพื่อรักษา

ระดับความชื้นดิน โดยผูวิจัยใชถานชีวภาพที่ทําจากไมไผ ทําการทดลอง 2 การทดลอง การทดลองที่ 1

ศึกษาเปรียบเทียบคาความหนาแนนและคาความพรุนของดินที่ผสมดวยถานชีวภาพในสัดสวนที่แตกตางกัน

โดยการนําถานชีวภาพที่บดยอยใหมีขนาดเล็กผสมลงในดินที่เก็บแบบรบกวนโครงสราง โดยใชสัดสวนคือ

0 10 15 20 25 30 40 และ 50 เปอรเซ็นต รวม 8 ชุดทดลอง ใสดินที่ผสมในกระถางที่มีขนาดเทากัน

รดนํ้าปริมาณเทากัน คลุมพลาสติกเพื่อลดการระเหยนํ้า ต้ังทิ้งไว เปนเวลา 8 สัปดาห ตรวจวัดคา

ความหนาแนนรวม ความพรุนรวม ทุก 2 สัปดาห ผลการทดลองพบวาชุดดินที่มีคาความหนาแนนสูงที่สุด

คือชุดทดลองที่ 1 มีถานชีวภาพ 0 % มีคาความหนาแนนอยูในชวง 0.883 – 1.043 g/cm3 ชุดที่มี

คาความหนาแนนนอยที่สุด คือ ชุดทดลองที่ 8 มีถานชีวภาพ 50 % มีคาความหนาแนนอยูในชวง 0.575 –

0.603 g/cm3 และพบวาแตละชุดทดลองคาความหนาแนนมีการเปลี่ยนแปลงลดลงตามชวงระยะเวลาที่

เพิ่มขึ้น สวนคาความพรุนรวมของแตละชุดทดลองมีคาเพิ่มขึ้นตามชวงระยะเวลาที่เพิ่มขึ้นโดยชุดทดลองที่ 1

มีถานชีวภาพ 0 % มีคาความความพรุนรวมนอยที่สุดอยูในชวง 0.606 – 0.668 ชุดทดลองที่มีคาความพรุน

รวมมากที่สุดคือชุดทดลองที่ 8 มีถานชีวภาพผสม 50 % มีคาความพรุนรวมอยูในชวง 0.772 – 0.782

การทดลองที่ 2 การหาความสามารถในการรักษาระดับความชื้นดิน ทดลองใชถานชีวภาพผสมดิน

ทําเชนเดียวกับการทดลองที่ 1 ทํา 8 ชุดทดลอง ชั่งนํ้าหนักเร่ิมตนของแตละชุด เติมนํ้าชุดละเทากันปริมาณ

200 กรัม วัดการเปลี่ยนแปลงความชื้นในดินทุก ๆ 2 วัน โดยชั่งนํ้าหนักนํ้าคงอยูจนดินแหงแลวเติมนํ้า 200

กรัมลงในชุดเดิมใชวิธีการเชนเดิม ดูการเปลี่ยนแปลงความชื้นในดิน ผลการทดลองพบวาชุดดินผสมถาน

ชีวภาพที่เก็บรักษาความชื้นเปนระยะเวลานานที่สุด คือ ชุดดินที่มีถานชีวภาพ 25 30 40 และ 50% เก็บ

ความชื้นไดนาน 18 – 24 วัน รองลงมาคือชุดที่มีถาน 20 % 18 – 22 วัน ชุด 15 % 14 – 16 วัน นอยที่สุดคือ

ชุดทดลองที่มีถานชีวภาพ 10 % และชุดทดลองที่ไมมีถานชีวภาพ หรือ 0 % สามารถรักษาระดับความชื้นได

14 วัน

คําสําคัญ: ถานชีวภาพ สมบัติกายภาพดิน ความชื้นดิน

39

ชื่องานวิจัย การศึกษาลักษณะการแตกระแหงของดินและสมบัติทางกายภาพของดิน

ที่ไดรับปจจัยสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน

คณะผูวิจัย เด็กหญิงผลิดา ยงพิศาลภพ เด็กหญิงศุภาพิชญ องพันธุ และ

เด็กหญิงอารียา เตียววิไล

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2

อาจารยท่ีปรึกษา นายเจษฎา เนตรสวางวิชา

โรงเรียน สงวนหญิง อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศุภชัย อําคา และคณะอาจารยโครงการ STEM

EDUCATION สสวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

บทคัดยอ

การศึกษาลักษณะการแตกระแหงของดินและสมบัติทางกายภาพของดินที่ได รับปจจัย

สภาพแวดลอมที่แตกตางกัน ไดผลดังน้ี ผลการศึกษาเน้ือดินตัวอยางจากหลุมเก็บตัวอยางในภาคสนาม

โดยวิธีสัมผัสดิน และการศึกษาสมบัติทางฟสิกสของดินตัวอยางกอนการแตกระแหง พบวาดินจากแปลง

ปลูกมันสําปะหลังเปนดินทรายปนดินรวน (Loamy Sand) หรือดินทรายฯ มีความหนาแนนเฉลี่ย 0.9770

g/cm3 ความชื้นเฉลี่ย 0.0277 โดยมวล ดินจากแปลงปลูกผักเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง (Silty Clay

Loam, SiCL) หรือดินรวน มีความหนาแนนเฉลี่ย 0.6437 g/cm3 ความชื้นเฉลี่ย 0.1413 โดยมวล และดิน

จากแปลงปลูกขาวเปนดินเหนียว (Clay, C) มีความหนาแนน เฉลี่ย 0.9423 g/cm3 ความชื้นเฉลี่ย 0.4933

โดยมวล ดินตัวอยางที่เปนดินทรายฯ มีความหนาแนนสูงที่สุด ดินตัวอยางที่เปนดินเหนียวมีความชื้นสูง

ที่สุด

ผลการศึกษาประเภทของดินกับการแตกระแหงของดิน พบวา ดินเหนียวเกิดรองรอยการ

แตกระแหงเร็วกวาดินรวน สวนดินทรายฯไมแตกระแหง ผลการศึกษาปจจัยทางธรรมชาติของ

สิ่งแวดลอมและสมบัติทางกายภาพของดินที่สงผลตอการแตกระแหงของดินเหนียวและดินรวน พบวา

อุณหภูมิของดินเหนียวและดินรวนสูงกวาอุณหภูมิของอากาศโดยรอบเปนการแปรผันโดยตรงตอกัน

อุณหภูมิของดินสงผลตอการระเหยสะสมของนํ้าทั้งดินเหนียวและดินรวน เมื่อมีการระเหยสะสมของนํ้า

เพิ่มสูงข้ึนจะทําใหเกิดรอยแตกระแหงและเกิดรูปปดเพิ่มจํานวนขึ้นตามการระเหยสะสมของนํ้าและจะ

คงที่ในชวงทายสอดคลองกัน ดินเหนียวซึ่งมีคาความหนาแนนกอนการแตกระแหงของดินสูงกวาดินรวน

จะเกิดรูปปดไดเร็วกวาและมีจํานวนรูปปดมากกวาดินรวน ผลการศึกษาการแตกระแหงของดินเหนียว

และดินรวนเพื่อหาลักษณะเฉพาะและคําอธิบายทางคณิตศาสตร พบวา ภาพที่เกิดจากการแตกระแหงของ

ดินเต็มพื้นที่ของภาชนะทดลอง ในขณะที่ดินหยุดการแตกระแหง มีรูปปดทั้งหมด 7 แบบ ไดแก รูป

สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หาเหลี่ยม หกเหลี่ยม เจ็ดเหลี่ยม แปดเหลี่ยม และรูปใด ๆ ดินเหนียวมีการ

แตกระแหงตางจากดินรวนฯ โดยมีจํานวนรูปปดและรอยละสัดสวนการเกิดรูปปดตางกัน รูปปดของดิน

เหนียวจะเกิดขึ้นในขณะที่ดินหยุดการแตกระแหง มีจํานวนมากกวาดินรวนฯ แตมีรอยละสัดสวนของการ

Page 41: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

39สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ38

ชื่องานวิจัย ความเปนไปไดในการใชถานชีวภาพปรับปรุงสมบัติกายภาพบางประการของดิน

เพื่อรักษาระดับความชื้นดิน

คณะผูวิจัย เด็กหญิงฐาปนี นอยเนตร เด็กหญิงเบญจมาภรณ จันทรแปลง และ

เด็กหญิงณัฐชา พระพิไชย

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางพรรธิภา มานิตกุล

โรงเรียน รัฐราษฎรอุปถัมภ อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.สุชาดา กรุณา และ อาจารยสัญชัย ภูเงิน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

บทคัดยอ

การศึกษาความเปนไปไดในการใชถานชีวภาพปรับปรุงสมบติักายภาพบางประการของดินเพื่อรักษา

ระดับความชื้นดิน โดยผูวิจัยใชถานชีวภาพที่ทําจากไมไผ ทําการทดลอง 2 การทดลอง การทดลองที่ 1

ศึกษาเปรียบเทียบคาความหนาแนนและคาความพรุนของดินที่ผสมดวยถานชีวภาพในสัดสวนที่แตกตางกัน

โดยการนําถานชีวภาพที่บดยอยใหมีขนาดเล็กผสมลงในดินที่เก็บแบบรบกวนโครงสราง โดยใชสัดสวนคือ

0 10 15 20 25 30 40 และ 50 เปอรเซ็นต รวม 8 ชุดทดลอง ใสดินที่ผสมในกระถางที่มีขนาดเทากัน

รดนํ้าปริมาณเทากัน คลุมพลาสติกเพื่อลดการระเหยนํ้า ต้ังทิ้งไว เปนเวลา 8 สัปดาห ตรวจวัดคา

ความหนาแนนรวม ความพรุนรวม ทุก 2 สัปดาห ผลการทดลองพบวาชุดดินที่มีคาความหนาแนนสูงที่สุด

คือชุดทดลองที่ 1 มีถานชีวภาพ 0 % มีคาความหนาแนนอยูในชวง 0.883 – 1.043 g/cm3 ชุดที่มี

คาความหนาแนนนอยที่สุด คือ ชุดทดลองที่ 8 มีถานชีวภาพ 50 % มีคาความหนาแนนอยูในชวง 0.575 –

0.603 g/cm3 และพบวาแตละชุดทดลองคาความหนาแนนมีการเปลี่ยนแปลงลดลงตามชวงระยะเวลาที่

เพิ่มขึ้น สวนคาความพรุนรวมของแตละชุดทดลองมีคาเพิ่มขึ้นตามชวงระยะเวลาที่เพิ่มขึ้นโดยชุดทดลองที่ 1

มีถานชีวภาพ 0 % มีคาความความพรุนรวมนอยที่สุดอยูในชวง 0.606 – 0.668 ชุดทดลองที่มีคาความพรุน

รวมมากที่สุดคือชุดทดลองที่ 8 มีถานชีวภาพผสม 50 % มีคาความพรุนรวมอยูในชวง 0.772 – 0.782

การทดลองที่ 2 การหาความสามารถในการรักษาระดับความชื้นดิน ทดลองใชถานชีวภาพผสมดิน

ทําเชนเดียวกับการทดลองที่ 1 ทํา 8 ชุดทดลอง ชั่งนํ้าหนักเร่ิมตนของแตละชุด เติมนํ้าชุดละเทากันปริมาณ

200 กรัม วัดการเปลี่ยนแปลงความชื้นในดินทุก ๆ 2 วัน โดยชั่งนํ้าหนักนํ้าคงอยูจนดินแหงแลวเติมนํ้า 200

กรัมลงในชุดเดิมใชวิธีการเชนเดิม ดูการเปลี่ยนแปลงความชื้นในดิน ผลการทดลองพบวาชุดดินผสมถาน

ชีวภาพที่เก็บรักษาความชื้นเปนระยะเวลานานที่สุด คือ ชุดดินที่มีถานชีวภาพ 25 30 40 และ 50% เก็บ

ความชื้นไดนาน 18 – 24 วัน รองลงมาคือชุดที่มีถาน 20 % 18 – 22 วัน ชุด 15 % 14 – 16 วัน นอยที่สุดคือ

ชุดทดลองที่มีถานชีวภาพ 10 % และชุดทดลองที่ไมมีถานชีวภาพ หรือ 0 % สามารถรักษาระดับความชื้นได

14 วัน

คําสําคัญ: ถานชีวภาพ สมบัติกายภาพดิน ความชื้นดิน

39

ชื่องานวิจัย การศึกษาลักษณะการแตกระแหงของดินและสมบัติทางกายภาพของดิน

ที่ไดรับปจจัยสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน

คณะผูวิจัย เด็กหญิงผลิดา ยงพิศาลภพ เด็กหญิงศุภาพิชญ องพันธุ และ

เด็กหญิงอารียา เตียววิไล

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2

อาจารยท่ีปรึกษา นายเจษฎา เนตรสวางวิชา

โรงเรียน สงวนหญิง อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศุภชัย อําคา และคณะอาจารยโครงการ STEM

EDUCATION สสวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

บทคัดยอ

การศึกษาลักษณะการแตกระแหงของดินและสมบัติทางกายภาพของดินที่ได รับปจจัย

สภาพแวดลอมที่แตกตางกัน ไดผลดังน้ี ผลการศึกษาเน้ือดินตัวอยางจากหลุมเก็บตัวอยางในภาคสนาม

โดยวิธีสัมผัสดิน และการศึกษาสมบัติทางฟสิกสของดินตัวอยางกอนการแตกระแหง พบวาดินจากแปลง

ปลูกมันสําปะหลังเปนดินทรายปนดินรวน (Loamy Sand) หรือดินทรายฯ มีความหนาแนนเฉลี่ย 0.9770

g/cm3 ความชื้นเฉลี่ย 0.0277 โดยมวล ดินจากแปลงปลูกผักเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง (Silty Clay

Loam, SiCL) หรือดินรวน มีความหนาแนนเฉลี่ย 0.6437 g/cm3 ความชื้นเฉลี่ย 0.1413 โดยมวล และดิน

จากแปลงปลูกขาวเปนดินเหนียว (Clay, C) มีความหนาแนน เฉลี่ย 0.9423 g/cm3 ความชื้นเฉลี่ย 0.4933

โดยมวล ดินตัวอยางที่เปนดินทรายฯ มีความหนาแนนสูงที่สุด ดินตัวอยางที่เปนดินเหนียวมีความชื้นสูง

ที่สุด

ผลการศึกษาประเภทของดินกับการแตกระแหงของดิน พบวา ดินเหนียวเกิดรองรอยการ

แตกระแหงเร็วกวาดินรวน สวนดินทรายฯไมแตกระแหง ผลการศึกษาปจจัยทางธรรมชาติของ

สิ่งแวดลอมและสมบัติทางกายภาพของดินที่สงผลตอการแตกระแหงของดินเหนียวและดินรวน พบวา

อุณหภูมิของดินเหนียวและดินรวนสูงกวาอุณหภูมิของอากาศโดยรอบเปนการแปรผันโดยตรงตอกัน

อุณหภูมิของดินสงผลตอการระเหยสะสมของนํ้าทั้งดินเหนียวและดินรวน เมื่อมีการระเหยสะสมของนํ้า

เพิ่มสูงข้ึนจะทําใหเกิดรอยแตกระแหงและเกิดรูปปดเพิ่มจํานวนขึ้นตามการระเหยสะสมของนํ้าและจะ

คงที่ในชวงทายสอดคลองกัน ดินเหนียวซึ่งมีคาความหนาแนนกอนการแตกระแหงของดินสูงกวาดินรวน

จะเกิดรูปปดไดเร็วกวาและมีจํานวนรูปปดมากกวาดินรวน ผลการศึกษาการแตกระแหงของดินเหนียว

และดินรวนเพื่อหาลักษณะเฉพาะและคําอธิบายทางคณิตศาสตร พบวา ภาพที่เกิดจากการแตกระแหงของ

ดินเต็มพื้นที่ของภาชนะทดลอง ในขณะที่ดินหยุดการแตกระแหง มีรูปปดทั้งหมด 7 แบบ ไดแก รูป

สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หาเหลี่ยม หกเหลี่ยม เจ็ดเหลี่ยม แปดเหลี่ยม และรูปใด ๆ ดินเหนียวมีการ

แตกระแหงตางจากดินรวนฯ โดยมีจํานวนรูปปดและรอยละสัดสวนการเกิดรูปปดตางกัน รูปปดของดิน

เหนียวจะเกิดขึ้นในขณะที่ดินหยุดการแตกระแหง มีจํานวนมากกวาดินรวนฯ แตมีรอยละสัดสวนของการ

Page 42: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

40 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ40

เกิดรูปปดแตละชนิดตํ่ากวา ดินรวน การเกิดภาพรอยแตกเปนไปตามนิยามของการเกิดภาพเทสเซลเลชัน

แบบเดมิเรกกิวลาร เทสเซลเลชัน (Demiregular Tessellation) ประกอบดวยจุดรวมสองหรือสามประเภท

ซึ่งจุดยอดแตละจุดอาจจะอยูในรูปเทสเซลเลชันแบบปกติหรือแบบกึ่งปกติ

คําสําคัญ: การแตกระแหงของดิน ลักษณะทางกายภาพของดิน ปจจัยสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน

41

ชื่องานวิจัย ศึกษาคุณภาพดิน และนํ้าบริเวณควนทะเลมอง ตําบลควนชะลิก อําเภอหัวไทร

จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะผูวิจัย นายณัฐพงค สุวรรณโณ นางสาวปนัฒดา ชุมทอง

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวเพ็ญพักตร ชวยพันธ

โรงเรียน แหลมราษฎรบํารุง อําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพดิน และนํ้าบริเวณควนทะเลมอง ตําบลควนชะลิก

อําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยศึกษา สี ความชื้น เน้ือ ความยึดตัว คาความเปนกรด-เบส

คารบอเนตอิสระ ของดิน อุณหภูมิ คาความเปนกรด-เบส ประชากรสิ่งมีชีวิตในแหลงนํ้าจืด ของนํ้า

ผลปรากฎวา คุณภาพของดินสวนใหญมีความอุดมสมบูรณสูง ยกเวนบริเวณบนควนและเนินควนมี

ความอุดมสมบูรณตํ่า ดินมีความชื้นสูง บริเวณบนควนจัดเปนดินลาดชันสูง ดินสวนใหญเปนดินลูกรัง

บริเวณเนินควนจัดเปนดินปนกรวด บริเวณดินที่ติดกับปาพรุเปนดินเปร้ียวจัด บริเวณดินปากระจูดและ

ทุงนาเปนดินเหนียวลุม ดินบนควนมีสถานะเปนกรดแกจัด บริเวณเนินควนมีสถานะเปนกรดจัดมาก

บริเวณโดยรอบควนเปนดินที่มีสถานะเปนกรดปานกลางจนถึงกลาง บริเวณที่ติดกับปาพรุจัดเปนดินที่มี

สถานะเปนกรดแกจัด ดินบริเวณควนทะเลมอง ไมมีคารบอเนตอิสระในดินอยู คุณภาพของแหลงนํ้าของ

ควนทะเลมองบริเวณที่ดิน ติดกับปาพรุและบานเรือน เขาขายอยูในแหลงนํ้าประเภทที่ 4 อาจจะเหมาะสม

สําหรับการคมนาคมเทาน้ัน แหลงนํ้าบริเวณโดยรอบของควนทะเลมอง จัดเปนแหลงนํ้าประเภทที่ 3

เหมาะแกการทําการเกษตร การอุปโภคและบริโภค โดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผาน

กระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้าทั่วไปกอน สวนแหลงนํ้าใตดินน้ัน จัดเปนแหลงนํ้าประเภทที่ 3 เหมาะแก

การทําการเกษตร การอุปโภคและบริโภค โดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการ

ปรับปรุงคุณภาพนํ้าทั่วไปกอน

คําสําคัญ: คุณภาพดิน คุณภาพนํ้า ควนทะเลมอง

Page 43: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

41สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ40

เกิดรูปปดแตละชนิดตํ่ากวา ดินรวน การเกิดภาพรอยแตกเปนไปตามนิยามของการเกิดภาพเทสเซลเลชัน

แบบเดมิเรกกิวลาร เทสเซลเลชัน (Demiregular Tessellation) ประกอบดวยจุดรวมสองหรือสามประเภท

ซึ่งจุดยอดแตละจุดอาจจะอยูในรูปเทสเซลเลชันแบบปกติหรือแบบกึ่งปกติ

คําสําคัญ: การแตกระแหงของดิน ลักษณะทางกายภาพของดิน ปจจัยสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน

41

ชื่องานวิจัย ศึกษาคุณภาพดิน และนํ้าบริเวณควนทะเลมอง ตําบลควนชะลิก อําเภอหัวไทร

จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะผูวิจัย นายณัฐพงค สุวรรณโณ นางสาวปนัฒดา ชุมทอง

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวเพ็ญพักตร ชวยพันธ

โรงเรียน แหลมราษฎรบํารุง อําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพดิน และนํ้าบริเวณควนทะเลมอง ตําบลควนชะลิก

อําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยศึกษา สี ความชื้น เน้ือ ความยึดตัว คาความเปนกรด-เบส

คารบอเนตอิสระ ของดิน อุณหภูมิ คาความเปนกรด-เบส ประชากรสิ่งมีชีวิตในแหลงนํ้าจืด ของนํ้า

ผลปรากฎวา คุณภาพของดินสวนใหญมีความอุดมสมบูรณสูง ยกเวนบริเวณบนควนและเนินควนมี

ความอุดมสมบูรณตํ่า ดินมีความชื้นสูง บริเวณบนควนจัดเปนดินลาดชันสูง ดินสวนใหญเปนดินลูกรัง

บริเวณเนินควนจัดเปนดินปนกรวด บริเวณดินที่ติดกับปาพรุเปนดินเปร้ียวจัด บริเวณดินปากระจูดและ

ทุงนาเปนดินเหนียวลุม ดินบนควนมีสถานะเปนกรดแกจัด บริเวณเนินควนมีสถานะเปนกรดจัดมาก

บริเวณโดยรอบควนเปนดินที่มีสถานะเปนกรดปานกลางจนถึงกลาง บริเวณที่ติดกับปาพรุจัดเปนดินที่มี

สถานะเปนกรดแกจัด ดินบริเวณควนทะเลมอง ไมมีคารบอเนตอิสระในดินอยู คุณภาพของแหลงนํ้าของ

ควนทะเลมองบริเวณที่ดิน ติดกับปาพรุและบานเรือน เขาขายอยูในแหลงนํ้าประเภทที่ 4 อาจจะเหมาะสม

สําหรับการคมนาคมเทาน้ัน แหลงนํ้าบริเวณโดยรอบของควนทะเลมอง จัดเปนแหลงนํ้าประเภทที่ 3

เหมาะแกการทําการเกษตร การอุปโภคและบริโภค โดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผาน

กระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้าทั่วไปกอน สวนแหลงนํ้าใตดินน้ัน จัดเปนแหลงนํ้าประเภทที่ 3 เหมาะแก

การทําการเกษตร การอุปโภคและบริโภค โดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการ

ปรับปรุงคุณภาพนํ้าทั่วไปกอน

คําสําคัญ: คุณภาพดิน คุณภาพนํ้า ควนทะเลมอง

Page 44: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

42 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ42

ชื่องานวิจัย การศึกษาประสิทธิภาพของปุยมูลไสเดือนจากอาหารผสมเปลือกไข

กับอาหารผสมกากถั่วเหลืองโดยวัดจากการเจริญเติบโตของตนคะนา

คณะผูวิจัย เด็กชายชยพล หวง เด็กชายพิสิษฐ บุญโต และ

เด็กชายอินทัช ภาธนทรัพย

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวจิลัดดา สารสิทธิ ์

โรงเรียน อัสสัมชัญ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ

การศึกษาประสิทธิภาพของปุยมูลไสเดือนจากอาหารผสมเปลือกไขกับอาหารผสมกากถั่วเหลือง

โดยวัดจากการเจริญเติบโตของตนคะนา มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เปรียบเทียบอัตราการเกิดมูลไสเดือนโดย

เฉลี่ยตอวันจากการเลี้ยงดวยเศษอาหารจากครัวเรือนชนิดตาง ๆ 2) ศึกษาปริมาณธาตุอาหารที่จําเปนตอการ

เจริญเติบโตของพืชจากปุยมูลไสเดือนชนิดตาง ๆ และ 3) เพื่อศึกษาความเหมาะสมในการใชปุยมูลไสเดือน

จากเศษอาหารชนิดตาง ๆ ตอการเจริญเติบโตของตนคะนา โดยศึกษามูลไสเดือนที่ไดจากการเลี้ยงดวย

อาหาร 4 ชนิด ไดแก 1. อาหารจากมูลวัวผสมเปลือกไข 2. อาหารจากมูลวัวผสมกากถั่วเหลือง 3. อาหารจาก

มูลวัวผสมเปลือกไขและกากถั่วเหลือง และ 4.อาหารจากมูลวัว เก็บมูลไสเดือนตอเน่ืองทุกวันเปนเวลา

14 วัน จากน้ันนําปุยมูลไสเดือนที่ไดจากสูตรอาหารแตละชนิดมาทดสอบดวยชุดทดสอบปุยเคมี มก.5 และ

ศึกษาประสิทธิภาพของมูลไสเดือนจากสูตรอาหารทั้ง 4 ชนิดที่มีผลตอการเจริญเติบโตของตนคะนาใน

ครัวเรือนโดยใสมูลไสเดือนแลววัดการเจริญเติบโตจากจํานวนใบ ความยาวใบ และความสูงของตนคะนา

ซึ่งมี 4 กรรมวิธี

กรรมวิธี 1 ใสมูลไสเดือนจากเปลือกไขความเขมขน 2% ตอดิน 1500 กรัม

กรรมวิธี 2 ใสมูลไสเดือนจากกากถั่วเหลืองความเขมขน 2% ตอดิน 1500 กรัม

กรรมวิธี 3 ใสมูลไสเดือนจากเปลือกไขและกากถั่วเหลืองความเขมขน 2% ตอดิน 1500 กรัม

กรรมวิธี 4 ใสมูลไสเดือนจากมูลวัวความเขมขน 2% กรัมตอดิน 1500 กรัม

จากการศึกษาพบวา 1) อัตราการเกิดมูลไสเดือนโดยเฉลี่ยตอวันจากการเลี้ยงดวยอาหารผสม

กากถั่วเหลืองมีอัตราการเกิดของมูลไสเดือนมากที่สุดมีปริมาณ 280 กรัม รองลงมาคือเลี้ยงดวยอาหารผสม

เปลือกไขและกากถั่วเหลือง 270 กรัม เลี้ยงดวยอาหารผสมเปลือกไข 130 กรัม และเลี้ยงดวยอาหารผสม

มูลวัว 112 กรัม 2) ปุยมูลไสเดือนจากการเลี้ยงดวยอาหารผสมเปลือกไขและกากถั่วเหลืองมีสวนประกอบ

ของธาตุอาหารที่ชวยในการเจริญเติบโตของพืช (N P K) มากที่สุดโดยมีอัตรา 1:1-4:9-16 ปุยมูลไสเดือนที่

เลี้ยงดวยอาหารผสมเปลือกไขกับกากถั่วเหลืองชวยในการเจริญเติบโตของตนคะนามากที่สุดคือ จํานวนใบ

4 ใบ ความสูงของลําตนเฉลี่ย 8.20 เซนติเมตร และมีความยาวใบเฉลี่ย 0.90 เซนติเมตร

คําสําคัญ: ไสเดือนดิน ปุยมูลไสเดือน ตนคะนา

43

ชื่องานวิจัย การศึกษาการเปลี่ยนแปลงปจจัยทางกายภาพที่เหมาะสมตอการเพิ่มปริมาณ

ธาตุอาหารในดินของจุลินทรียบริเวณจอมปลวกและการประยุกตใช

คณะผูวิจัย เด็กชายศิวกร ชาญชโลธร เด็กชายวศิน เธียรวุฒิ และ

เด็กชายอธิศ เตชะนิธิสวัสด์ิ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นายชนันท เกียรติสิริสาสน

โรงเรียน กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ

ปลวกสกุล Microtermes มีความสัมพันธกับจุลินทรียที่อาศัยอยูบริเวณจอมปลวกสามารถยอยสลาย

อินทรียวัตถุที่มีเซลลูโลสเปนองคประกอบหลัก ซึ่งกอใหเกิดการหมุนเวียนและเพิ่มขึ้นของธาตุอาหารในดิน

โดยประสิทธิภาพในการยอยสลายอินทรียวัตถุขึ้นอยูกับปจจัยทางกายภาพเชน อุณหภูมิและคา pH ซึ่ง

ภายในจอมปลวกมีปจจัยทางกายภาพที่เหมาะสมตอการเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดิน ดังน้ันหากศึกษา

การเปลี่ยนแปลงปจจัยทางกายภาพที่มีผลตอการทํางานของจุลินทรียจากจอมปลวกจะสามารถนํามาชวยเพิ่ม

ปริมาณธาตุอาหารในดินได ผูวิจัยจึงเร่ิมทําการศึกษาและพบวาปลวกอยูในสกุล Microtermes โดยมีรูปแบบ

การกระจายตัวแบบสุม และพบว า ดินบริเวณจอมปลวกน้ันมีป ริมาณของธาตุไนโตรเจนและ

ธาตุโพแทสเซียมมากกวาดินบริเวณใกลเคียง เน่ืองจากมีจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพในการเพิ่มธาตุอาหารใน

ดินอาศัยอยู คือ Comamonas sp. และ Chryseobacterium sp. ซึ่งในบริเวณจอมปลวกจะมีอุณหภูมิอยูระหวาง

26-32°C และคา pH อยูระหวาง 5-7 โดยพบวาอุณหภูมิที่สูงขึ้นและคา pH ตํ่าลงมีความเหมาะสมที่สุดตอ

การทํางานของ Comamonas sp. และ Chryseobacterium sp. และเมื่อนําไปใชในการเพิ่มปริมาณธาตุอาหาร

ในดินในแปลงนาเกษตรกร โดยดูจากประสิทธิภาพในการยอยสลายตอซังขาวพบวามีประสิทธิภาพดี โดย

Comamonas sp. มีประสิทธิภาพสูงสุด ที่อุณหภูมิ 33°C และคา pH เทากับ 5

คําสําคัญ: ปลวก จอมปลวก Microtermes ปจจัยทางกายภาพ การเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดิน

Page 45: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

43สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ42

ชื่องานวิจัย การศึกษาประสิทธิภาพของปุยมูลไสเดือนจากอาหารผสมเปลือกไข

กับอาหารผสมกากถั่วเหลืองโดยวัดจากการเจริญเติบโตของตนคะนา

คณะผูวิจัย เด็กชายชยพล หวง เด็กชายพิสิษฐ บุญโต และ

เด็กชายอินทัช ภาธนทรัพย

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวจิลัดดา สารสิทธิ ์

โรงเรียน อัสสัมชัญ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ

การศึกษาประสิทธิภาพของปุยมูลไสเดือนจากอาหารผสมเปลือกไขกับอาหารผสมกากถั่วเหลือง

โดยวัดจากการเจริญเติบโตของตนคะนา มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เปรียบเทียบอัตราการเกิดมูลไสเดือนโดย

เฉลี่ยตอวันจากการเลี้ยงดวยเศษอาหารจากครัวเรือนชนิดตาง ๆ 2) ศึกษาปริมาณธาตุอาหารที่จําเปนตอการ

เจริญเติบโตของพืชจากปุยมูลไสเดือนชนิดตาง ๆ และ 3) เพื่อศึกษาความเหมาะสมในการใชปุยมูลไสเดือน

จากเศษอาหารชนิดตาง ๆ ตอการเจริญเติบโตของตนคะนา โดยศึกษามูลไสเดือนที่ไดจากการเลี้ยงดวย

อาหาร 4 ชนิด ไดแก 1. อาหารจากมูลวัวผสมเปลือกไข 2. อาหารจากมูลวัวผสมกากถั่วเหลือง 3. อาหารจาก

มูลวัวผสมเปลือกไขและกากถั่วเหลือง และ 4.อาหารจากมูลวัว เก็บมูลไสเดือนตอเน่ืองทุกวันเปนเวลา

14 วัน จากน้ันนําปุยมูลไสเดือนที่ไดจากสูตรอาหารแตละชนิดมาทดสอบดวยชุดทดสอบปุยเคมี มก.5 และ

ศึกษาประสิทธิภาพของมูลไสเดือนจากสูตรอาหารทั้ง 4 ชนิดที่มีผลตอการเจริญเติบโตของตนคะนาใน

ครัวเรือนโดยใสมูลไสเดือนแลววัดการเจริญเติบโตจากจํานวนใบ ความยาวใบ และความสูงของตนคะนา

ซึ่งมี 4 กรรมวิธี

กรรมวิธี 1 ใสมูลไสเดือนจากเปลือกไขความเขมขน 2% ตอดิน 1500 กรัม

กรรมวิธี 2 ใสมูลไสเดือนจากกากถั่วเหลืองความเขมขน 2% ตอดิน 1500 กรัม

กรรมวิธี 3 ใสมูลไสเดือนจากเปลือกไขและกากถั่วเหลืองความเขมขน 2% ตอดิน 1500 กรัม

กรรมวิธี 4 ใสมูลไสเดือนจากมูลวัวความเขมขน 2% กรัมตอดิน 1500 กรัม

จากการศึกษาพบวา 1) อัตราการเกิดมูลไสเดือนโดยเฉลี่ยตอวันจากการเลี้ยงดวยอาหารผสม

กากถั่วเหลืองมีอัตราการเกิดของมูลไสเดือนมากที่สุดมีปริมาณ 280 กรัม รองลงมาคือเลี้ยงดวยอาหารผสม

เปลือกไขและกากถั่วเหลือง 270 กรัม เลี้ยงดวยอาหารผสมเปลือกไข 130 กรัม และเลี้ยงดวยอาหารผสม

มูลวัว 112 กรัม 2) ปุยมูลไสเดือนจากการเลี้ยงดวยอาหารผสมเปลือกไขและกากถั่วเหลืองมีสวนประกอบ

ของธาตุอาหารที่ชวยในการเจริญเติบโตของพืช (N P K) มากที่สุดโดยมีอัตรา 1:1-4:9-16 ปุยมูลไสเดือนที่

เลี้ยงดวยอาหารผสมเปลือกไขกับกากถั่วเหลืองชวยในการเจริญเติบโตของตนคะนามากที่สุดคือ จํานวนใบ

4 ใบ ความสูงของลําตนเฉลี่ย 8.20 เซนติเมตร และมีความยาวใบเฉลี่ย 0.90 เซนติเมตร

คําสําคัญ: ไสเดือนดิน ปุยมูลไสเดือน ตนคะนา

43

ชื่องานวิจัย การศึกษาการเปลี่ยนแปลงปจจัยทางกายภาพที่เหมาะสมตอการเพิ่มปริมาณ

ธาตุอาหารในดินของจุลินทรียบริเวณจอมปลวกและการประยุกตใช

คณะผูวิจัย เด็กชายศิวกร ชาญชโลธร เด็กชายวศิน เธียรวุฒิ และ

เด็กชายอธิศ เตชะนิธิสวัสด์ิ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นายชนันท เกียรติสิริสาสน

โรงเรียน กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ

ปลวกสกุล Microtermes มีความสัมพันธกับจุลินทรียที่อาศัยอยูบริเวณจอมปลวกสามารถยอยสลาย

อินทรียวัตถุที่มีเซลลูโลสเปนองคประกอบหลัก ซึ่งกอใหเกิดการหมุนเวียนและเพิ่มขึ้นของธาตุอาหารในดิน

โดยประสิทธิภาพในการยอยสลายอินทรียวัตถุขึ้นอยูกับปจจัยทางกายภาพเชน อุณหภูมิและคา pH ซึ่ง

ภายในจอมปลวกมีปจจัยทางกายภาพที่เหมาะสมตอการเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดิน ดังน้ันหากศึกษา

การเปลี่ยนแปลงปจจัยทางกายภาพที่มีผลตอการทํางานของจุลินทรียจากจอมปลวกจะสามารถนํามาชวยเพิ่ม

ปริมาณธาตุอาหารในดินได ผูวิจัยจึงเร่ิมทําการศึกษาและพบวาปลวกอยูในสกุล Microtermes โดยมีรูปแบบ

การกระจายตัวแบบสุม และพบว า ดินบริเวณจอมปลวกน้ันมีป ริมาณของธาตุไนโตรเจนและ

ธาตุโพแทสเซียมมากกวาดินบริเวณใกลเคียง เน่ืองจากมีจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพในการเพิ่มธาตุอาหารใน

ดินอาศัยอยู คือ Comamonas sp. และ Chryseobacterium sp. ซึ่งในบริเวณจอมปลวกจะมีอุณหภูมิอยูระหวาง

26-32°C และคา pH อยูระหวาง 5-7 โดยพบวาอุณหภูมิที่สูงขึ้นและคา pH ตํ่าลงมีความเหมาะสมที่สุดตอ

การทํางานของ Comamonas sp. และ Chryseobacterium sp. และเมื่อนําไปใชในการเพิ่มปริมาณธาตุอาหาร

ในดินในแปลงนาเกษตรกร โดยดูจากประสิทธิภาพในการยอยสลายตอซังขาวพบวามีประสิทธิภาพดี โดย

Comamonas sp. มีประสิทธิภาพสูงสุด ที่อุณหภูมิ 33°C และคา pH เทากับ 5

คําสําคัญ: ปลวก จอมปลวก Microtermes ปจจัยทางกายภาพ การเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดิน

Page 46: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

44 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ44

ชื่องานวิจัย ผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าที่มีผลตอความหนาแนนของลูกนํ้ายุงลาย

ในพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

คณะผูวิจัย นางสาวปรางนภัส คงเนียม นางสาวภิรมณ ศรีสุข และ

นางสาวศุลีพร ไทรงาม

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางพัชรา พงศมานะวุฒิ

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ

รองศาสตราจารย ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

อาจารยอนันตนิจ ชุมศรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

บทคัดยอ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าตอความหนาแนนของลูกนํ้า

ยุงลายพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดตรัง โดยทําการสุมเก็บตัวอยางลูกนํ้ายุงจากบานเรือนในพื้นที่ 9 ตําบล ใน

เขตอําเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ทั้งสิ้น 90 หลังคาเรือน ในชวงเดือนมีนาคม 2560 คณะผูศึกษาทําการสุมเก็บ

ตัวอยางลูกนํ้ายุงจากภาชนะชนิดตาง ๆ โดยใชกระชอนขนาด 0.55 มิลลิเมตร จากน้ันจึงทําการดองลูกนํ้ายุง

ในหองปฏิบัติการ จัดจําแนกภาชนะออกเปนสามกลุม คือ กลุมโองและถัง กลุมภาชนะใชแลวเหลือทิ้ง และ

อ่ืน ๆ มีการตรวจสอบและบันทึกลักษณะตาง ๆของนํ้าในภาชนะ เชน การปรากฏของพืชนํ้าและตะไครนํ้า

ระดับความสูงของนํ้า กลิ่น ความขุนใส อุณหภูมิ และคาพีเอช จากน้ันจึงนําลูกนํ้ายุงที่ผานการดองมา

จําแนกชนิดและสกุล นับจํานวน และคํานวณคา HI BI และCI โดยการศึกษาในคร้ังน้ีจะเลือกศึกษาเฉพาะ

ลูกนํ้ายุงลายเทาน้ัน

จากการศึกษาพบวา ชนิดของภาชนะ การปรากฏของตะไครนํ้า กลิ่น อุณหภูมิ และคา pH ไมมีผล

ตอความหนาแนนของลูกนํ้ายุงลาย โดยความหนาแนนของลูกนํ้ายุงลายจะสูงในนํ้าที่ไมมีพืชนํ้า และใน

ภาชนะที่มีระดับนํ้า 50-75% จากขอมูลของทั้ง 9 ตําบล พบวา ตําบลโคกหลอ ตําบลบานโพธิ์และ

ตําบลทับเที่ยงมีคา HI สูงที่สุด และตําบลทับเที่ยง มีคา BI และ CI สูงที่สุด

คําสําคัญ: ภาชนะ ลูกนํ้ายุงลาย คุณภาพนํ้า HI (House index) BI (Breteau index) CI (Container index)

45

ชื่องานวิจัย ศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอจํานวนผูปวยไขเลือดออก

ในพื้นที่เมืองนครศรีธรรมราช

คณะผูวิจัย นางสาวกษิมา เที่ยงธรรม นางสาวณิชกานต จันทรประสิทธิ ์ และ

นางสาวภัทรวรรณ ดําชวย

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางกนกรัตน สิงหนุย

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.ฟามิดาห ทีนา และ นางอนันตนิจ ชุมศรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

บทคัดยอ

การศึกษาคร้ังน้ีไดทําการศึกษาในเร่ืองขอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่สงผลตอการเกิด

โรคไขเลือดออกและคาดัชนีบาน (House Index) ในจังหวัดนครศรีธรรมราช เราไดสุมเลือก 5 สถานที่ใน

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช และเก็บตัวอยางลูกน้ํายุงจากภาชนะทั้งภายในและภายนอก

ซึ่งจากการดูกลองจุลทรรศนไดตรวจพบยุงสายพันธุ Aedes เราเปรียบเทียบกรณีโรคไขเลือดออกระหวาง

กลุม 3 กลุม คือ กลุมเอลนีโญ กลุมปกติ และ กลุมลานีญา ระหวางป พ.ศ. 2554-2559 โดยผลการศึกษาพบวา

กรณีโรคไขเลือดออกในจังหวัดนครศรีธรรมราชในแตละกลุมตางกัน (F2, 36 = 9.422, P <0.05) ตามสถิติ

จาก Tukey HSD พบวาในชวงของการเกิดเอลนีโญจํานวนผูปวยโรคไขเลือดออกใน อําเภอเมือง จังหวัด

นครศรีธรรมราชสูงกวาในชวงปกติและชวงของการเกิดลานีญา ซึ่งในชวงการเกิดเอลนีโญพบวามีจํานวน

ผูปวยโรคไขเลือดออกมากที่สุดในเดือนมกราคมกุมภาพันธและเดือนธันวาคม สวนชวงเดือนมีนาคมและ

พฤษภาคมที่อยูในชวงปกติ จํานวนผูปวยโรคไขเลือดออกอยูในเกณฑปกติและชวงการเกิดลานีญาจํานวน

ผูปวยโรคไขเลือดมีออกแนวโนมลดลงต่ํากวาชวงอ่ืน ๆ และจากขอมูลของตัวออนของยุงที่เก็บรวบรวมไว

ในเดือนพฤศจิกายน 2560 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช มีคาดัชนีบาน (House Index)

รอยละ 100.00 แสดงใหเห็นวาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช เปนพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง

ตามมาตรฐาน WHO สําหรับความเสี่ยงในการเกิดโรคไขเลือดออก

คําสําคัญ: เอลนีโญ ลานีญา ผูปวยไขเลือดออกใน อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย

Page 47: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

45สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ44

ชื่องานวิจัย ผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าที่มีผลตอความหนาแนนของลูกนํ้ายุงลาย

ในพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

คณะผูวิจัย นางสาวปรางนภัส คงเนียม นางสาวภิรมณ ศรีสุข และ

นางสาวศุลีพร ไทรงาม

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางพัชรา พงศมานะวุฒิ

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ

รองศาสตราจารย ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

อาจารยอนันตนิจ ชุมศรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

บทคัดยอ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของชนิดภาชนะและคุณภาพนํ้าตอความหนาแนนของลูกนํ้า

ยุงลายพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดตรัง โดยทําการสุมเก็บตัวอยางลูกนํ้ายุงจากบานเรือนในพื้นที่ 9 ตําบล ใน

เขตอําเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ทั้งสิ้น 90 หลังคาเรือน ในชวงเดือนมีนาคม 2560 คณะผูศึกษาทําการสุมเก็บ

ตัวอยางลูกนํ้ายุงจากภาชนะชนิดตาง ๆ โดยใชกระชอนขนาด 0.55 มิลลิเมตร จากน้ันจึงทําการดองลูกนํ้ายุง

ในหองปฏิบัติการ จัดจําแนกภาชนะออกเปนสามกลุม คือ กลุมโองและถัง กลุมภาชนะใชแลวเหลือทิ้ง และ

อ่ืน ๆ มีการตรวจสอบและบันทึกลักษณะตาง ๆของนํ้าในภาชนะ เชน การปรากฏของพืชนํ้าและตะไครนํ้า

ระดับความสูงของนํ้า กลิ่น ความขุนใส อุณหภูมิ และคาพีเอช จากน้ันจึงนําลูกนํ้ายุงที่ผานการดองมา

จําแนกชนิดและสกุล นับจํานวน และคํานวณคา HI BI และCI โดยการศึกษาในคร้ังน้ีจะเลือกศึกษาเฉพาะ

ลูกนํ้ายุงลายเทาน้ัน

จากการศึกษาพบวา ชนิดของภาชนะ การปรากฏของตะไครนํ้า กลิ่น อุณหภูมิ และคา pH ไมมีผล

ตอความหนาแนนของลูกนํ้ายุงลาย โดยความหนาแนนของลูกนํ้ายุงลายจะสูงในนํ้าที่ไมมีพืชนํ้า และใน

ภาชนะที่มีระดับนํ้า 50-75% จากขอมูลของทั้ง 9 ตําบล พบวา ตําบลโคกหลอ ตําบลบานโพธิ์และ

ตําบลทับเที่ยงมีคา HI สูงที่สุด และตําบลทับเที่ยง มีคา BI และ CI สูงที่สุด

คําสําคัญ: ภาชนะ ลูกนํ้ายุงลาย คุณภาพนํ้า HI (House index) BI (Breteau index) CI (Container index)

45

ชื่องานวิจัย ศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอจํานวนผูปวยไขเลือดออก

ในพื้นที่เมืองนครศรีธรรมราช

คณะผูวิจัย นางสาวกษิมา เที่ยงธรรม นางสาวณิชกานต จันทรประสิทธิ ์ และ

นางสาวภัทรวรรณ ดําชวย

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางกนกรัตน สิงหนุย

โรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.ฟามิดาห ทีนา และ นางอนันตนิจ ชุมศรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

บทคัดยอ

การศึกษาคร้ังน้ีไดทําการศึกษาในเร่ืองขอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่สงผลตอการเกิด

โรคไขเลือดออกและคาดัชนีบาน (House Index) ในจังหวัดนครศรีธรรมราช เราไดสุมเลือก 5 สถานที่ใน

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช และเก็บตัวอยางลูกน้ํายุงจากภาชนะทั้งภายในและภายนอก

ซึ่งจากการดูกลองจุลทรรศนไดตรวจพบยุงสายพันธุ Aedes เราเปรียบเทียบกรณีโรคไขเลือดออกระหวาง

กลุม 3 กลุม คือ กลุมเอลนีโญ กลุมปกติ และ กลุมลานีญา ระหวางป พ.ศ. 2554-2559 โดยผลการศึกษาพบวา

กรณีโรคไขเลือดออกในจังหวัดนครศรีธรรมราชในแตละกลุมตางกัน (F2, 36 = 9.422, P <0.05) ตามสถิติ

จาก Tukey HSD พบวาในชวงของการเกิดเอลนีโญจํานวนผูปวยโรคไขเลือดออกใน อําเภอเมือง จังหวัด

นครศรีธรรมราชสูงกวาในชวงปกติและชวงของการเกิดลานีญา ซึ่งในชวงการเกิดเอลนีโญพบวามีจํานวน

ผูปวยโรคไขเลือดออกมากที่สุดในเดือนมกราคมกุมภาพันธและเดือนธันวาคม สวนชวงเดือนมีนาคมและ

พฤษภาคมที่อยูในชวงปกติ จํานวนผูปวยโรคไขเลือดออกอยูในเกณฑปกติและชวงการเกิดลานีญาจํานวน

ผูปวยโรคไขเลือดมีออกแนวโนมลดลงต่ํากวาชวงอ่ืน ๆ และจากขอมูลของตัวออนของยุงที่เก็บรวบรวมไว

ในเดือนพฤศจิกายน 2560 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช มีคาดัชนีบาน (House Index)

รอยละ 100.00 แสดงใหเห็นวาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช เปนพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง

ตามมาตรฐาน WHO สําหรับความเสี่ยงในการเกิดโรคไขเลือดออก

คําสําคัญ: เอลนีโญ ลานีญา ผูปวยไขเลือดออกใน อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย

Page 48: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

46 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ46

ชื่องานวิจัย ศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลาที่สงผลตอ

การเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชสวน (พริกกะเหร่ียง)

คณะผูวิจัย นางสาวปรัชญา ภารสําอางค นางสาวสิริยาภรณ คําประเทือง และ

นายชนาธิป กมลนัด

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นายชุมพล ชารีแสน

โรงเรียน ดอนจานวิทยาคม อําเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ

บทคัดยอ

การศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลาที่สงผลตอการเจริญเติบโตและ

ผลผลิตของพืชสวน มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) ใบพืชตระกูลถั่วตางชนิดกันสงผลใหมีสมบัติดินที่ตางกัน

2) อัตราสวนของใบพืชตระกูลถั่วและอัตราสวนของนํ้าแปงสุกที่เหมาะสมในการทําถาดเพาะ 3) ใบพืช

ตระกูลถั่วนํามาทํากระถางเพาะที่สงผลตอการเจริญเติบโตของตนกลา 4) ใบพืชตระกูลถั่วชนิดตางกันทํา

กระถางเพาะที่สงผลใหสมบัติดินเปลี่ยนแปลงไปและสามารถรักษาความชื้นในดินได โดยนําใบพืชตระกูล

ถั่วตางชนิด 5 กรัม คลุกกับดิน 5 กิโลกรัม ใชอัตราสวนผสมของนํ้าแปงสุกกับ 250 ลูกบาศกเซนติเมตร ตอ

ใบพืช 50 100 150 กรัม ตามลําดับ นํามาทําเปนกระถางเพาะ ซึ่งมีขนาด 90 60 30 กรัม ตามลําดับ แลว

นําไปตรวจวัดการเก็บนํ้าของกระถางแตละขนาด หลังจากน้ันก็นําไปเพาะพืชสวนตรวจวัดการเจริญเติบโต

ของตนกลา ตนพืช และผลผลิตของพืชสวน

ผลการทดลองพบวา เมื่อนําใบพืชตระกูลถั่วไปคลุกกับดิน เปนเวลา 60 วันสงผลใหสมบัติดิน

เปลี่ยนไปโดยพบวาคาฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมคงที่ สวนคาไนโตรเจนและความชื้นเพิ่มขึ้นโดยใบ

กามปูทําใหคาไนโตรเจนและความชื้นเพิ่มขึ้นมากที่สุด นอกจากน้ีเมื่อใชใบพืชตระกูลถั่ว (ใบกามปู ใบหาง

นกยูง และใบมะขามเทศ) สงผลใหดินมีคา pH ลดลงเล็กนอย จากการศึกษาอัตราสวนของใบพืชตระกูลถั่ว

กับ นํ้าแปงสุกพบวา อัตราสวนของนํ้าแปงสุกที่ เหมาะกับการทํากระถางอนุบาลพืชสวน คือ

นํ้า 150 มิลลิลิตร:แปง 10 กรัม และอัตราสวนของนํ้าแปงสุก 350 มิลลิลิตร:ใบพืชตระกูลถั่ว 100 กรัม

เหมาะแกการทํากระถางอนุบาลตนกลามากที่สุด จากการศึกษาการเก็บนํ้าของกระถางอนุบาลพบวากระถาง

อนุบาลขนาดใหญมีการเก็บนํ้าไดมากที่สุด คือ ประมาณ 4-5 วัน รองลงมา คือ ขนาดกลางและขนาดเล็ก

ตามลําดับ จากการศึกษาระดับความลึกตาง ๆ พบวาระดับความลึกที่ 1 เซนติเมตรทําใหเมล็ดพริกมีอัตรา

การงอกมากที่สุดคือ 100 เปอรเซ็นต รองลงมาคือระดับ 2 และ 3 เซนติเมตรตามลําดับ จากการศึกษาใบพืช

ตระกูลถั่วที่นํามาทํากระถางเพาะสงผลตอการเจริญเติบโตของตนกลาและการเจริญเติบโตและของตนพริก

47

กะเหร่ียงพบวากระถางขนาดใหญ (90 กรัม) ทําใหตนกลามีการเจริญเติบโตไดดีที่สุด ซึ่งกระถางที่สงผลตอ

การเจริญเติบโตมากที่สุด คือ กระถางที่ใชใบกามปู รองลงมา คือ ใบหางนกยูงและชุดควบคุม ตามลําดับ

นอกจากน้ียังพบวาสมบัติดินหลังทดลองเปลี่ยนแปลงโดยพบวา ไนโตรเจนและความชื้นเพิ่มข้ึนโดย

กระถางใบกามปูสงผลใหไนโตรเจนและความชื้นเพิ่มมากที่สุด คือ 2.5 ความชื้น 45.54 เปอรเซ็นต สวน

ฟอสฟอรัส โพแทสเซียมคงที่และคา pH ลดลงเล็กนอย

คํานิยาม: ถาดเพาะพลาสติก ใบพืชตระกูลถั่ว (ใบฉําฉา ใบหางนกยูง ใบมะขามเทศ)

พืชสวน (พริกกะเหร่ียง)

Page 49: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

47สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ46

ชื่องานวิจัย ศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลาที่สงผลตอ

การเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชสวน (พริกกะเหร่ียง)

คณะผูวิจัย นางสาวปรัชญา ภารสําอางค นางสาวสิริยาภรณ คําประเทือง และ

นายชนาธิป กมลนัด

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นายชุมพล ชารีแสน

โรงเรียน ดอนจานวิทยาคม อําเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ

บทคัดยอ

การศึกษากระถางเพาะจากใบพืชตระกูลถั่วเพื่ออนุบาลตนกลาที่สงผลตอการเจริญเติบโตและ

ผลผลิตของพืชสวน มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) ใบพืชตระกูลถั่วตางชนิดกันสงผลใหมีสมบัติดินที่ตางกัน

2) อัตราสวนของใบพืชตระกูลถั่วและอัตราสวนของนํ้าแปงสุกที่เหมาะสมในการทําถาดเพาะ 3) ใบพืช

ตระกูลถั่วนํามาทํากระถางเพาะที่สงผลตอการเจริญเติบโตของตนกลา 4) ใบพืชตระกูลถั่วชนิดตางกันทํา

กระถางเพาะที่สงผลใหสมบัติดินเปลี่ยนแปลงไปและสามารถรักษาความชื้นในดินได โดยนําใบพืชตระกูล

ถั่วตางชนิด 5 กรัม คลุกกับดิน 5 กิโลกรัม ใชอัตราสวนผสมของนํ้าแปงสุกกับ 250 ลูกบาศกเซนติเมตร ตอ

ใบพืช 50 100 150 กรัม ตามลําดับ นํามาทําเปนกระถางเพาะ ซึ่งมีขนาด 90 60 30 กรัม ตามลําดับ แลว

นําไปตรวจวัดการเก็บนํ้าของกระถางแตละขนาด หลังจากน้ันก็นําไปเพาะพืชสวนตรวจวัดการเจริญเติบโต

ของตนกลา ตนพืช และผลผลิตของพืชสวน

ผลการทดลองพบวา เมื่อนําใบพืชตระกูลถั่วไปคลุกกับดิน เปนเวลา 60 วันสงผลใหสมบัติดิน

เปลี่ยนไปโดยพบวาคาฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมคงที่ สวนคาไนโตรเจนและความชื้นเพิ่มขึ้นโดยใบ

กามปูทําใหคาไนโตรเจนและความชื้นเพิ่มขึ้นมากที่สุด นอกจากน้ีเมื่อใชใบพืชตระกูลถั่ว (ใบกามปู ใบหาง

นกยูง และใบมะขามเทศ) สงผลใหดินมีคา pH ลดลงเล็กนอย จากการศึกษาอัตราสวนของใบพืชตระกูลถั่ว

กับ นํ้าแปงสุกพบวา อัตราสวนของนํ้าแปงสุกที่ เหมาะกับการทํากระถางอนุบาลพืชสวน คือ

นํ้า 150 มิลลิลิตร:แปง 10 กรัม และอัตราสวนของนํ้าแปงสุก 350 มิลลิลิตร:ใบพืชตระกูลถั่ว 100 กรัม

เหมาะแกการทํากระถางอนุบาลตนกลามากที่สุด จากการศึกษาการเก็บนํ้าของกระถางอนุบาลพบวากระถาง

อนุบาลขนาดใหญมีการเก็บนํ้าไดมากที่สุด คือ ประมาณ 4-5 วัน รองลงมา คือ ขนาดกลางและขนาดเล็ก

ตามลําดับ จากการศึกษาระดับความลึกตาง ๆ พบวาระดับความลึกที่ 1 เซนติเมตรทําใหเมล็ดพริกมีอัตรา

การงอกมากที่สุดคือ 100 เปอรเซ็นต รองลงมาคือระดับ 2 และ 3 เซนติเมตรตามลําดับ จากการศึกษาใบพืช

ตระกูลถั่วที่นํามาทํากระถางเพาะสงผลตอการเจริญเติบโตของตนกลาและการเจริญเติบโตและของตนพริก

47

กะเหร่ียงพบวากระถางขนาดใหญ (90 กรัม) ทําใหตนกลามีการเจริญเติบโตไดดีที่สุด ซึ่งกระถางที่สงผลตอ

การเจริญเติบโตมากที่สุด คือ กระถางที่ใชใบกามปู รองลงมา คือ ใบหางนกยูงและชุดควบคุม ตามลําดับ

นอกจากน้ียังพบวาสมบัติดินหลังทดลองเปลี่ยนแปลงโดยพบวา ไนโตรเจนและความชื้นเพิ่มข้ึนโดย

กระถางใบกามปูสงผลใหไนโตรเจนและความชื้นเพิ่มมากที่สุด คือ 2.5 ความชื้น 45.54 เปอรเซ็นต สวน

ฟอสฟอรัส โพแทสเซียมคงที่และคา pH ลดลงเล็กนอย

คํานิยาม: ถาดเพาะพลาสติก ใบพืชตระกูลถั่ว (ใบฉําฉา ใบหางนกยูง ใบมะขามเทศ)

พืชสวน (พริกกะเหร่ียง)

Page 50: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

48 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ48

ชื่องานวิจัย ผลกระทบของภูมิอากาศและชนิดของแหลงเพาะพันธุตอจํานวนลูกนํ้ายุง

Aedes spp. และ Culex spp. บริเวณโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

คณะผูวิจัย นางสาวชนกานต พาฬอนุรักษ นางสาวกมลวรรณ ชัยสกุลสุรินทร

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางทิพยอาภา ศรีวรางคกูล และนายวิชัย ลิขิตพรรักษ

โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

รองศาสตราจารย ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

บทคัดยอ

ยุงเปนพาหะนําโรคหลายชนิดเชน โรคไขเลือดออก โรคเทาชาง และอ่ืน ๆ โดยในประเทศไทยมี

การแพรระบาดของโรคไขเลือดออกสาเหตุหลักมาจากยุงลาย จากขอมูลป พ.ศ. 2552 พบวามีผูเสียชีวิตจาก

โรคไขเลือดออกถึง 4 ราย ดังน้ันทางคณะผูวิจัยจึงไดดําเนินการวิจัยเพื่อศึกษาผลกระทบ ความสัมพันธ และ

เปรียบเทียบความแตกตางของปจจัยสภาพภูมิอากาศและชนิดของภาชนะที่เปนแหลงเพาะพันธุตอจํานวน

ลูกนํ้ายุงโดยเร่ิมศึกษาและเก็บขอมูลจํานวนลุกนํ้ายุงในภาชนะที่เปนแหลงเพาะพันธุตาง ๆ และลมฟาอากาศ

ในชวงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาบริเวณเรือนเพาะชําหลังตึก

60 ป เจาะจงศึกษายุงลายและยุงรําคาญ Aedes spp. และ Culex spp. โดยใชโปรแกรม IBM SPSS Statistic

ในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ (One-way ANOVA , Spaerman)

จากการสํารวจจํานวนลูกนํ้ายุงในแหลงเพาะชํา หลังตึก 60 ปพบลูกนํ้ายุงทั้ง 2 ชนิดมาหา

ความสัมพันธกับปจจัยทางภูมิอากาศแลว พบวาลูกนํ้ายุงของทั้ง 2 ชนิด มีความสัมพันธแบบแปรผันตรงกับ

อุณหภูมิ แตลูกนํ้ายุงของทั้ง 2 ชนิดไมมีความสัมพันธกับปริมาณนํ้าฝน และความชื้นสัมพัทธเมื่อนําขอมูล

จํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณแหลงเพาะชํา หลังตึก 60 ปในแหลงเพาะพันธตาง ๆ ไปวิเคราะหแลวพบวา

ในแหลงเพาะพันธที่แตกตางกัน มีจํานวนลูกนํ้ายุงทั้ง 2 ชนิดแตกตางกันซึ่งแสดงใหเห็นวาชนิดของแหลง

เพาะพันธมีผลตอจํานวนลูกนํ้ายุง จากการวิเคราะหพบวาแหลงเพาะพันธประเภทถังขยะเกามีจํานวน

ลูกนํ้ายุงทั้ง 2 ชนิดเฉลี่ยมากที่สุด

คําสําคัญ: ยุงลาย ยุงรําคาญ ปจจัยสภาพภูมิอากาศ แหลงเพาะพันธุลูกนํ้ายุง

49

ชื่องานวิจัย คุณภาพนํ้าทางดานกายภาพ ทางดานเคมีและทางดานชีวภาพบางประการ

บริเวณตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า คลองปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย นางสาวจิรสตุา วัชชิระศิริกุล นางสาวปยนุช หนูมา และ

นางสาวจิรภิญญา พุทธสวัสด์ิ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางสมจิตต ตีบกลาง และนางภาณินี วรเนติวุฒิ

โรงเรียน ปาพะยอมพิทยาคม อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิชุดา กลาเวช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน

ดร.เตือนตา ราหมาน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ

บทคัดยอ

คลองปาพะยอม เปน สาขายอยของทะเลสาบสงขลา ต้ังอยูในอําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

มีตนนํ้าเกิดจากเทือกเขาบรรทัดและไหลจากเขื่อนปาพะยอม ตําบลเกาะเตา อําเภอปาพะยอม ผานตําบล

บานพราว ตําบลปาพะยอม ในอําเภอปาพะยอมและไหลผานอีกหลายตําบลในอําเภอควนขนุน จังหวัด

พัทลุง กอนที่ไหลลงสูทะเลสาบสงขลา ปจจุบันสองฝงคลองโดยเฉพาะบริเวณกลางนํ้ามีการกระจายตัวของ

เมือง มีอาคารพาณิชย และผูคนมาอยูอาศัยจํานวนมาก ดังน้ัน การตรวจวัดคุณภาพนํ้าในพื้นที่ตนนํ้า กลางนํ้า

และปลายนํ้าของคลองปาพะยอมซึ่งเปนสาขายอยของทะเลสาบสงขลาจะทําใหทราบวามีคุณภาพนํ้าอยูใน

เกณฑระดับใด เพื่อนําขอมูลไปสูการบริหารจัดการนํ้ารวมกับชุมชนในการปองกันปญหานํ้าเสีย อันอาจ

เกิดขึ้นจากนํ้าทิ้งที่มาจากการทําการเกษตรและการอุปโภคเพื่อไมใหลําคลองเสื่อมโทรม โดย ทําการศึกษา

ตรวจวัดจํานวน 6 จุด ไดแก จุดตนนํ้า คือ ศูนยการศึกษารอยหวันพันธุปา และ คลองใหญ สวนกลางนํ้า

จํานวน 3 จุด ไดแก หัวงาน ทาวัดทุง และหนาเทสโกโลตัสปาพะยอม และปลายนํ้า คือ ศูนยศึกษาธรรมชาติ

และสัตวปาทะเลนอย ทําการตรวจวัด คาอุณหภูมิ pH ความขุนใส ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้า ปริมาณ

ไนเตรต และแพลงกตอน โดยใชเคร่ืองมือ Multiple Probe และถุงตักแพลงกตอน ขนาด 65 ไมครอน ทําการ

ตรวจวัด 6 เดือน ๆ ละคร้ัง พบวา อุณหภูมิเฉลี่ยบริเวณตนนํ้า มีคาเฉลี่ยตํ่าสุดและแตกตางจากจุดกลางนํ้า

และปลายนํ้า คาความขุน ในแตละจุดไมมีความแตกตางทางสติถิ คา pH บริเวณตนนํ้า และปลายนํ้าไมมี

ความแตกตางกัน แตบริเวณกลางนํ้าสถานีหัวงาน มีความแตกตางจากสถานีอ่ืน ๆ ปริมาณออกซิเจนที่

ละลายในนํ้าบริเวณปลายนํ้ามีคาตํ่าสุดแตกตางจากตนนํ้าและกลางนํ้า ปริมาณไนเตรต บริเวณตนนํ้า

กลางนํ้า และปลายนํ้า ไมมีความแตกตาง สวนแพลงกตอนสัตวพบจํานวน 17 Taxa ใน 3 ไฟลัม และพบวา

อุณหภูมิจะมีความสัมพันธเชิงลบกับแพลงกตอน สวน pH และปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้า มี

ความสัมพันธเชิงบวกกับแพลงกตอนบางชนิด

คําสําคัญ: คลองปาพะยอม คุณภาพนํ้า แพลงกตอนสัตว ตนนํ้า กลางนํ้า ปลายนํ้า อําเภอปาพะยอม

Page 51: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

49สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ48

ชื่องานวิจัย ผลกระทบของภูมิอากาศและชนิดของแหลงเพาะพันธุตอจํานวนลูกนํ้ายุง

Aedes spp. และ Culex spp. บริเวณโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

คณะผูวิจัย นางสาวชนกานต พาฬอนุรักษ นางสาวกมลวรรณ ชัยสกุลสุรินทร

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางทิพยอาภา ศรีวรางคกูล และนายวิชัย ลิขิตพรรักษ

โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

รองศาสตราจารย ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

บทคัดยอ

ยุงเปนพาหะนําโรคหลายชนิดเชน โรคไขเลือดออก โรคเทาชาง และอ่ืน ๆ โดยในประเทศไทยมี

การแพรระบาดของโรคไขเลือดออกสาเหตุหลักมาจากยุงลาย จากขอมูลป พ.ศ. 2552 พบวามีผูเสียชีวิตจาก

โรคไขเลือดออกถึง 4 ราย ดังน้ันทางคณะผูวิจัยจึงไดดําเนินการวิจัยเพื่อศึกษาผลกระทบ ความสัมพันธ และ

เปรียบเทียบความแตกตางของปจจัยสภาพภูมิอากาศและชนิดของภาชนะที่เปนแหลงเพาะพันธุตอจํานวน

ลูกนํ้ายุงโดยเร่ิมศึกษาและเก็บขอมูลจํานวนลุกนํ้ายุงในภาชนะที่เปนแหลงเพาะพันธุตาง ๆ และลมฟาอากาศ

ในชวงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาบริเวณเรือนเพาะชําหลังตึก

60 ป เจาะจงศึกษายุงลายและยุงรําคาญ Aedes spp. และ Culex spp. โดยใชโปรแกรม IBM SPSS Statistic

ในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ (One-way ANOVA , Spaerman)

จากการสํารวจจํานวนลูกนํ้ายุงในแหลงเพาะชํา หลังตึก 60 ปพบลูกนํ้ายุงทั้ง 2 ชนิดมาหา

ความสัมพันธกับปจจัยทางภูมิอากาศแลว พบวาลูกนํ้ายุงของทั้ง 2 ชนิด มีความสัมพันธแบบแปรผันตรงกับ

อุณหภูมิ แตลูกนํ้ายุงของทั้ง 2 ชนิดไมมีความสัมพันธกับปริมาณนํ้าฝน และความชื้นสัมพัทธเมื่อนําขอมูล

จํานวนลูกนํ้ายุงบริเวณแหลงเพาะชํา หลังตึก 60 ปในแหลงเพาะพันธตาง ๆ ไปวิเคราะหแลวพบวา

ในแหลงเพาะพันธที่แตกตางกัน มีจํานวนลูกนํ้ายุงทั้ง 2 ชนิดแตกตางกันซึ่งแสดงใหเห็นวาชนิดของแหลง

เพาะพันธมีผลตอจํานวนลูกนํ้ายุง จากการวิเคราะหพบวาแหลงเพาะพันธประเภทถังขยะเกามีจํานวน

ลูกนํ้ายุงทั้ง 2 ชนิดเฉลี่ยมากที่สุด

คําสําคัญ: ยุงลาย ยุงรําคาญ ปจจัยสภาพภูมิอากาศ แหลงเพาะพันธุลูกนํ้ายุง

49

ชื่องานวิจัย คุณภาพนํ้าทางดานกายภาพ ทางดานเคมีและทางดานชีวภาพบางประการ

บริเวณตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า คลองปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย นางสาวจิรสตุา วัชชิระศิริกุล นางสาวปยนุช หนูมา และ

นางสาวจิรภิญญา พุทธสวัสด์ิ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางสมจิตต ตีบกลาง และนางภาณินี วรเนติวุฒิ

โรงเรียน ปาพะยอมพิทยาคม อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิชุดา กลาเวช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลอีสาน

ดร.เตือนตา ราหมาน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ

บทคัดยอ

คลองปาพะยอม เปน สาขายอยของทะเลสาบสงขลา ต้ังอยูในอําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

มีตนนํ้าเกิดจากเทือกเขาบรรทัดและไหลจากเขื่อนปาพะยอม ตําบลเกาะเตา อําเภอปาพะยอม ผานตําบล

บานพราว ตําบลปาพะยอม ในอําเภอปาพะยอมและไหลผานอีกหลายตําบลในอําเภอควนขนุน จังหวัด

พัทลุง กอนที่ไหลลงสูทะเลสาบสงขลา ปจจุบันสองฝงคลองโดยเฉพาะบริเวณกลางนํ้ามีการกระจายตัวของ

เมือง มีอาคารพาณิชย และผูคนมาอยูอาศัยจํานวนมาก ดังน้ัน การตรวจวัดคุณภาพนํ้าในพื้นที่ตนนํ้า กลางนํ้า

และปลายนํ้าของคลองปาพะยอมซึ่งเปนสาขายอยของทะเลสาบสงขลาจะทําใหทราบวามีคุณภาพนํ้าอยูใน

เกณฑระดับใด เพื่อนําขอมูลไปสูการบริหารจัดการนํ้ารวมกับชุมชนในการปองกันปญหานํ้าเสีย อันอาจ

เกิดขึ้นจากนํ้าทิ้งที่มาจากการทําการเกษตรและการอุปโภคเพื่อไมใหลําคลองเสื่อมโทรม โดย ทําการศึกษา

ตรวจวัดจํานวน 6 จุด ไดแก จุดตนนํ้า คือ ศูนยการศึกษารอยหวันพันธุปา และ คลองใหญ สวนกลางนํ้า

จํานวน 3 จุด ไดแก หัวงาน ทาวัดทุง และหนาเทสโกโลตัสปาพะยอม และปลายนํ้า คือ ศูนยศึกษาธรรมชาติ

และสัตวปาทะเลนอย ทําการตรวจวัด คาอุณหภูมิ pH ความขุนใส ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้า ปริมาณ

ไนเตรต และแพลงกตอน โดยใชเคร่ืองมือ Multiple Probe และถุงตักแพลงกตอน ขนาด 65 ไมครอน ทําการ

ตรวจวัด 6 เดือน ๆ ละคร้ัง พบวา อุณหภูมิเฉลี่ยบริเวณตนนํ้า มีคาเฉลี่ยตํ่าสุดและแตกตางจากจุดกลางนํ้า

และปลายนํ้า คาความขุน ในแตละจุดไมมีความแตกตางทางสติถิ คา pH บริเวณตนนํ้า และปลายนํ้าไมมี

ความแตกตางกัน แตบริเวณกลางนํ้าสถานีหัวงาน มีความแตกตางจากสถานีอ่ืน ๆ ปริมาณออกซิเจนที่

ละลายในนํ้าบริเวณปลายนํ้ามีคาตํ่าสุดแตกตางจากตนนํ้าและกลางนํ้า ปริมาณไนเตรต บริเวณตนนํ้า

กลางนํ้า และปลายนํ้า ไมมีความแตกตาง สวนแพลงกตอนสัตวพบจํานวน 17 Taxa ใน 3 ไฟลัม และพบวา

อุณหภูมิจะมีความสัมพันธเชิงลบกับแพลงกตอน สวน pH และปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้า มี

ความสัมพันธเชิงบวกกับแพลงกตอนบางชนิด

คําสําคัญ: คลองปาพะยอม คุณภาพนํ้า แพลงกตอนสัตว ตนนํ้า กลางนํ้า ปลายนํ้า อําเภอปาพะยอม

Page 52: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

50 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ50

ชื่องานวิจัย การศึกษาความหลากหลายของไลเคน (Lichen) จากสภาพแวดลอมที่ตางกัน

ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดระนอง

คณะผูวิจัย นางสาวณัฐกาญจน วัฒนาทองกุล นางสาวศลิษา ภูเพชร

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5

อาจารยท่ีปรึกษา นายศุภมนต อินทรจันทร

โรงเรียน พิชัยรัตนาคาร อําเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายเดชา ดวงนามล และนางนภัสกร ฟองฟุง

บทคัดยอ

จังหวัดระนองมลีักษณะภูมิศาสตรดานทางทิศตะวันตกติดกับทะเล ทางทิศตะวันออก เหนือ และใต

เปนภูเขาสูง มีตนไมรายรอบ เปนจังหวัดที่ความชื้นสัมพัทธมากกวา 50% มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง

มีพื้นที่อนุรักษที่เปนศูนยชีวมณฑลโลก แตในปจจุบันมีการพัฒนาดานอุตสาหกรรม การประมง การ

ทองเที่ยว สงผลทําใหธรรมชาติเปลี่ยนแปลงและถูกทาํลายลง ดัชนีชี้วัดทางดานธรรมชาติหลายปจจัยเร่ิมหด

หายไปดวย สิ่งหน่ึงที่ยังคงอยูน่ันคือไลเคนซึ่งสามารถเปนดัชชี้วัดความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอมได

จากการศึกษาความหลากหลายของไลเคน (Lichen) จากสภาพแวดลอมที่ตางกันในเขตอําเภอเมืองจังหวัด

ระนอง โดยแบงพื้นที่การศึกษาออกเปน 3 โซน ในแตละโซนจะมีระบบนิเวศและสภาพแวดลอมที่แตกตาง

กัน แตความชื้นสัมพัทธใกลเคียงกัน โซนที่ 1 พบไลเคนในกลุมครัสโตส โฟลิโอส และสแควมูโลส

โซนที่ 2 พบไลเคนกลุมครัสโตสและโฟลิโอส โซนที่ 3 พบไลเคน กลุมครัสโตสและโฟลิโอส ซึ่งครัสโตส

กลุมแอโพทิเชียแบบจาน (Disc-like apothecia) แอโพทิเชียแบบริมฝปากหรือแบบลายเสน (Lirelate

apothecia) และ เพอริทิเชีย (Perithecia) สามารถพบไดทุกบริเวณ และไลเคนบนใบไมเปนกลุมของครัสโตส

พบไดทุกบริเวณ ซึ่งโซนที่ 2 และ โซนที่ 3 พบครัสโตสกลุมแอโพทิเชียแบบจาน (Disc-like apothecia) และ

เพอริทิเชีย (Perithecia) บนใบไม แตโซนที่ 1 บริเวณถนน ไมพบครัสโตสกลุมแอโพทิเชียแบบจาน

(Disc-like apothecia) และ เพอริทิเชีย (Perithecia) บนใบไม ดังน้ันความแตกตางกันของกลุมไลเคนบน

ตนไมจึงเปนตัวบงชี้ถึงสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน และถึงแมจะมีการศึกษาโดยแบงเปน 3 โซน แตยังคง

พบไลเคนในกลุมที่เปนดัชนีบงชี้ถึงสภาพอากาศที่ดี ทําใหทราบวาบริเวณพื้นที่ศึกษาในจังหวัดระนองเปน

บริเวณที่มีสภาพแวดลอมทางอากาศที่ดี

คําสําคัญ: ไลเคน ความหลากหลาย สภาพแวดลอม

51

ชื่องานวิจัย การศึกษาความสัมพันธระหวาง อุณหภูมิและลักษณะของเมฆบริเวณโรงเรียน

ศีลาจารพิพัฒน เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร

คณะผูวิจัย นายวิวัฒน พรมทอง นายกิจจา เสนียวงศ ณ อยุธยา และ

นายจิรัฏฐ ดีคุม

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวเลิศบุษยา ไทยเจริญ

โรงเรียน ศีลาจารพิพัฒน เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.ชัยวุฒิ บุญญศิริวัฒน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางเมฆ อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ

ที่ส งผลตอการเปลี่ ยนแปลงสภาพอากาศ และเพื่อ เปรียบเทียบการใช อุปกรณทางเทคโนโลยี

(Raspberry Pi 3) กับวัสดุอุปกรณทางวิทยาศาสตร คือ เทอรมอมิเตอร (Thermometer) และไฮโกรมิเตอร

(Hygrometer) เน่ืองจากคณะผูวิจัยไดตระหนักเห็นความสําคัญของเมฆที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงตอ

สภาพภูมิอากาศ จึงไดเร่ิมทําการวัดและเก็บรวบรวมขอมูล โดยวัดอุณหภูมิดวยเทอรมอมิเตอรและ

Raspberry Pi 3 และทําการวัดคาความชื้นสัมพัทธดวยไฮโกรมิเตอรแบบกระเปาะเปยก-กระเปาะแหง และ

Raspberry Pi 3 เร่ิมเก็บขอมูลในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2559 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ในเวลา

11.00 – 13.00 น. กําหนดพิกัดการเก็บขอมูล โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน คือ ละติจูด 13.816866 ลองติจูด

100.529089 ระดับความสูง 20 เมตร จากพื้นดิน จากน้ันบันทึกภาพเมฆทั้ง 4 ทิศ ดวยกลองถายรูป

เก็บรวบรวมขอมูลที่ไดมาวิเคราะห

ผลการทดลองพบวา เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น คาความชื้นสัมพัทธลดลง และเมฆที่พบสวนใหญเปนเมฆ

ชั้นสูง และเมฆที่กอตัวในแนวต้ัง ในทางตรงกันขาม เมื่ออุณหภูมิลดตํ่าลง คาความชื้นสัมพัทธเพิ่มสูงขึ้น

เมฆที่พบสวนใหญ คือ เมฆชั้นกลาง และเมฆชั้นตํ่า การเปรียบเทียบขอมูลที่ไดจากการใช Raspberry Pi 3

กับเทอรมอมิเตอรและไฮกรอมิเตอร ขอมูลที่ไดมีความสัมพันธกันและมีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน

คําสําคัญ: ลักษณะของเมฆ อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ ชวงเวลาเที่ยงสุริยะ

Page 53: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

51สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ50

ชื่องานวิจัย การศึกษาความหลากหลายของไลเคน (Lichen) จากสภาพแวดลอมที่ตางกัน

ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดระนอง

คณะผูวิจัย นางสาวณัฐกาญจน วัฒนาทองกุล นางสาวศลิษา ภูเพชร

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5

อาจารยท่ีปรึกษา นายศุภมนต อินทรจันทร

โรงเรียน พิชัยรัตนาคาร อําเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา นายเดชา ดวงนามล และนางนภัสกร ฟองฟุง

บทคัดยอ

จังหวัดระนองมีลักษณะภูมิศาสตรดานทางทิศตะวันตกติดกับทะเล ทางทิศตะวันออก เหนือ และใต

เปนภูเขาสูง มีตนไมรายรอบ เปนจังหวัดที่ความชื้นสัมพัทธมากกวา 50% มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง

มีพื้นที่อนุรักษที่เปนศูนยชีวมณฑลโลก แตในปจจุบันมีการพัฒนาดานอุตสาหกรรม การประมง การ

ทองเที่ยว สงผลทําใหธรรมชาติเปลี่ยนแปลงและถูกทาํลายลง ดัชนีชี้วัดทางดานธรรมชาติหลายปจจัยเร่ิมหด

หายไปดวย สิ่งหน่ึงที่ยังคงอยูน่ันคือไลเคนซึ่งสามารถเปนดัชชี้วัดความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอมได

จากการศึกษาความหลากหลายของไลเคน (Lichen) จากสภาพแวดลอมที่ตางกันในเขตอําเภอเมืองจังหวัด

ระนอง โดยแบงพื้นที่การศึกษาออกเปน 3 โซน ในแตละโซนจะมีระบบนิเวศและสภาพแวดลอมที่แตกตาง

กัน แตความชื้นสัมพัทธใกลเคียงกัน โซนที่ 1 พบไลเคนในกลุมครัสโตส โฟลิโอส และสแควมูโลส

โซนที่ 2 พบไลเคนกลุมครัสโตสและโฟลิโอส โซนที่ 3 พบไลเคน กลุมครัสโตสและโฟลิโอส ซึ่งครัสโตส

กลุมแอโพทิเชียแบบจาน (Disc-like apothecia) แอโพทิเชียแบบริมฝปากหรือแบบลายเสน (Lirelate

apothecia) และ เพอริทิเชีย (Perithecia) สามารถพบไดทุกบริเวณ และไลเคนบนใบไมเปนกลุมของครัสโตส

พบไดทุกบริเวณ ซึ่งโซนที่ 2 และ โซนที่ 3 พบครัสโตสกลุมแอโพทิเชียแบบจาน (Disc-like apothecia) และ

เพอริทิเชีย (Perithecia) บนใบไม แตโซนที่ 1 บริเวณถนน ไมพบครัสโตสกลุมแอโพทิเชียแบบจาน

(Disc-like apothecia) และ เพอริทิเชีย (Perithecia) บนใบไม ดังน้ันความแตกตางกันของกลุมไลเคนบน

ตนไมจึงเปนตัวบงชี้ถึงสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน และถึงแมจะมีการศึกษาโดยแบงเปน 3 โซน แตยังคง

พบไลเคนในกลุมที่เปนดัชนีบงชี้ถึงสภาพอากาศที่ดี ทําใหทราบวาบริเวณพื้นที่ศึกษาในจังหวัดระนองเปน

บริเวณที่มีสภาพแวดลอมทางอากาศที่ดี

คําสําคัญ: ไลเคน ความหลากหลาย สภาพแวดลอม

51

ชื่องานวิจัย การศึกษาความสัมพันธระหวาง อุณหภูมิและลักษณะของเมฆบริเวณโรงเรียน

ศีลาจารพิพัฒน เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร

คณะผูวิจัย นายวิวัฒน พรมทอง นายกิจจา เสนียวงศ ณ อยุธยา และ

นายจิรัฏฐ ดีคุม

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวเลิศบุษยา ไทยเจริญ

โรงเรียน ศีลาจารพิพัฒน เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.ชัยวุฒิ บุญญศิริวัฒน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางเมฆ อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ

ที่ส งผลตอการเปลี่ ยนแปลงสภาพอากาศ และเพื่อ เปรียบเทียบการใช อุปกรณทางเทคโนโลยี

(Raspberry Pi 3) กับวัสดุอุปกรณทางวิทยาศาสตร คือ เทอรมอมิเตอร (Thermometer) และไฮโกรมิเตอร

(Hygrometer) เน่ืองจากคณะผูวิจัยไดตระหนักเห็นความสําคัญของเมฆที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงตอ

สภาพภูมิอากาศ จึงไดเร่ิมทําการวัดและเก็บรวบรวมขอมูล โดยวัดอุณหภูมิดวยเทอรมอมิเตอรและ

Raspberry Pi 3 และทําการวัดคาความชื้นสัมพัทธดวยไฮโกรมิเตอรแบบกระเปาะเปยก-กระเปาะแหง และ

Raspberry Pi 3 เร่ิมเก็บขอมูลในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2559 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ในเวลา

11.00 – 13.00 น. กําหนดพิกัดการเก็บขอมูล โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน คือ ละติจูด 13.816866 ลองติจูด

100.529089 ระดับความสูง 20 เมตร จากพื้นดิน จากน้ันบันทึกภาพเมฆทั้ง 4 ทิศ ดวยกลองถายรูป

เก็บรวบรวมขอมูลที่ไดมาวิเคราะห

ผลการทดลองพบวา เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น คาความชื้นสัมพัทธลดลง และเมฆที่พบสวนใหญเปนเมฆ

ชั้นสูง และเมฆที่กอตัวในแนวต้ัง ในทางตรงกันขาม เมื่ออุณหภูมิลดตํ่าลง คาความชื้นสัมพัทธเพิ่มสูงขึ้น

เมฆที่พบสวนใหญ คือ เมฆชั้นกลาง และเมฆชั้นตํ่า การเปรียบเทียบขอมูลที่ไดจากการใช Raspberry Pi 3

กับเทอรมอมิเตอรและไฮกรอมิเตอร ขอมูลที่ไดมีความสัมพันธกันและมีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกัน

คําสําคัญ: ลักษณะของเมฆ อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ ชวงเวลาเที่ยงสุริยะ

Page 54: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

52 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ52

ชื่องานวิจัย การศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนาในจังหวัดสิงหบุรี

คณะผูวิจัย นางสาวชนมพิชชา เขตการณ นางสาวปาลีรัตน บุญประกอบ และ

นางสาวสุพรรณี ศรีประจันต

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นายกมล แกวออน และนางสาวปนัดดา สุรเมธสกุล

โรงเรียน สิงหบุรี อําเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.นภาพร พันธุกมลศิลป และคณะอาจารยโครงการ STEM EDUCATION

สสวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

บทคัดยอ

สิงหบุรีอยูเขตลุมนํ้าเจาพระยามีอาชีพทํานาเปนหลัก บางฤดูกาลตองประสบกับปญหาภัยแหง

ทําใหเกษตรกรไมสามารถเพาะปลูกขาวได คณะวิจัยจึงศึกษาเร่ืองการศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนา

ในจังหวัดสิงหบุรี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนาในบริเวณที่แตกตางกันใน

จังหวัดสิงหบุรี ซึ่งพื้นที่ในการศึกษาคร้ังน้ี ไดแก ดินนาในอําเภอเมืองสิงหบุรี อําเภอคายบางระจัน อําเภอ

บางระจัน อําเภอทาชาง อําเภอพรหมบุรี และอําเภออินทรบุรี จากน้ันจึงสุมเก็บตัวอยางดินนาในแตละอําเภอ

พรอมระบุตําแหนงพิกดัทางภูมิศาสตรมาศึกษาความชื้นดวยการวัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ และความชื้น

ของดินโดยมวลดวยวิธีการแบบชั่งอบ ทุกวันเปนเวลาทั้งหมด 7 วัน ทั้ง 2 ชุดการทดลองที่ต้ังไวในบริเวณที่

แตกตางกัน โดยชุดแรกต้ังไวกลางแจงและชุดที่ 2 ต้ังไวในอาคารมีแนวโนมในการสูญเสียความชื้นเปนไป

ในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ ในแตละวันความชื้นจะมีคาลดลงซึ่งชุดแรกน้ันคาความชื้นจะสูญเสียไป

มากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับชุดที่ 2 สวนลักษณะของสูญเสียความชื้นของดินนาในแตละอําเภอน้ัน จะมีการ

สูญเสียความชื้นไมแตกตางกัน และพบวา เมื่อเวลาผานไปเกิน 6 วันในสภาพกลางแจงดินมีความชื้นตํ่ากวา

คาวิกฤตในทุกตัวอยาง จําเปนตองพิจารณาใหนํ้าแกพืชปลูก

คําสําคัญ: ดินนา ความชื้น ความชื้นสัมพัทธ

53

ชื่องานวิจัย การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียในดิน

คณะผูวิจัย นางสาวเกวลิน การภักดี นางสาวจันจิรา จันทอน และ

นางสาวนรินทรภรณ สุดมี

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นางพชรมน นวลดี และนางสาวมะนิสา สารวิก

โรงเรียน หันคาพิทยาคม อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.กนกกร สินมา และคณะอาจารยโครงการ STEM EDUCATION สสวท.

ภาควิชาปฐพวิีทยา คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

บทคัดยอ

งานวิจัยเร่ืองการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียในดิน มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษา

ระดับความลึกในการฝงกลบขยะอินทรียที่สงผลตอการยอยสลายขยะอินทรีย ( 2) ศึกษาอัตราสวนของ

จุลินทรียทองถิ่นที่เหมาะสมตอการยอยสลายขยะอินทรีย (3) ศึกษาวิธีการยอยสลายตอซังขาวที่เหมาะสม

การวิจัยแบงเปน 3 ตอน ตอนที่ 1 ศึกษาระดับความลึกในการฝงกลบขยะอินทรียที่มีผลตอการยอยสลายขยะ

อินทรีย โดย ศึกษาความลึกที่ 10 25 50 เซนติเมตร และ วางบนพื้นดิน ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพและ

อัตราสวนของจุลินทรียทองถิ่นที่เหมาะสมตอการยอยสลายขยะอินทรีย โดยแบงเปนการเก็บรวบรวม

เชื้อจุลินทรียทองถิ่นโดยนําเชื้อจุลินทรียทองถิ่นจากกอไผนํามาผสมกับขาวสุกและกากนํ้าตาล รวมทั้ง

ศึกษาประสิทธิภาพ อัตราสวนของจุลินทรียทองถิ่นที่เหมาะสมตอการยอยสลายขยะอินทรีย โดยหลุมขนาด

กวาง x ยาว x ลึก เทากับ 40 x 40 x 25 จํานวน 15 หลุม แบงเปน 5 ชุดการทดลองการทดลองละ 3 ซ้ํา

ชุดที่ 1 ไมใสจุลินทรียทองถิ่น ชุดที่ 2 ใสจุลินทรียทองถิ่น 20 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร ชุดที่ 3 ใสจุลินทรีย

ทองถิ่น 40 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร ชุดที่ 4 ใสจุลินทรียทองถิ่น 60 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร ชุดที่ 5 ใส

จุลินทรียทองถิ่นที่มีราแดงผสม 20 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร ตอนที่ 3 ศึกษาวิธีการยอยสลายที่เหมาะสมตอ

การยอยสลายตอซังขาว แบงเปน 4 ชุดการทดลอง การทดลองละ 3 ซ้ํา ชุดที่1 วางบนพื้นและไมใสจุลินทรีย

ทองถิ่น ชุดที่ 2 ใสในหลุมลึก 25 เซนติเมตรและไมใสจุลินทรียทองถิ่น ชุดที่ 3 ใสในหลุมลึก 25 เซนติเมตร

และ ใสจุลินทรียทองถิ่น 60 กรัม:นํ้า 500 มิลลิลิตร ชุดที่ 4 ใสหลุมลึก 25 เซนติเมตร และผสมนํ้า 3000

มิลลิลิตร

พบวาการฝงกลบขยะอินทรียที่ระดับความลึกตางกันมีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียตางกัน ที่

ระดับความลึก 25 เซนติเมตร มีการยอยสลายขยะอินทรียไดดีที่สุด มีขยะเหลือจากการยอยสลาย 8.33%

รองลงมาคือลึก 10 เซนติเมตร 50 เซนติเมตร และวางบนพืน้ ตามลําดับ

การใสจุลินทรียทองถิ่นลงในขยะอินทรีย ทําใหมีการยอยสลายขยะอินทรียไดดีขึ้น อัตราสวน 60

กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร สามารถยอยสลายขยะอินทรียไดดีที่สุดมีขยะเหลือ 178.33 กรัมจาก 1000 กรัม

Page 55: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

53สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ52

ชื่องานวิจัย การศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนาในจังหวัดสิงหบุรี

คณะผูวิจัย นางสาวชนมพิชชา เขตการณ นางสาวปาลีรัตน บุญประกอบ และ

นางสาวสุพรรณี ศรีประจันต

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นายกมล แกวออน และนางสาวปนัดดา สุรเมธสกุล

โรงเรียน สิงหบุรี อําเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.นภาพร พันธุกมลศิลป และคณะอาจารยโครงการ STEM EDUCATION

สสวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

บทคัดยอ

สิงหบุรีอยูเขตลุมนํ้าเจาพระยามีอาชีพทํานาเปนหลัก บางฤดูกาลตองประสบกับปญหาภัยแหง

ทําใหเกษตรกรไมสามารถเพาะปลูกขาวได คณะวิจัยจึงศึกษาเร่ืองการศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนา

ในจังหวัดสิงหบุรี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการสูญเสียความชื้นของดินนาในบริเวณที่แตกตางกันใน

จังหวัดสิงหบุรี ซึ่งพื้นที่ในการศึกษาคร้ังน้ี ไดแก ดินนาในอําเภอเมืองสิงหบุรี อําเภอคายบางระจัน อําเภอ

บางระจัน อําเภอทาชาง อําเภอพรหมบุรี และอําเภออินทรบุรี จากน้ันจึงสุมเก็บตัวอยางดินนาในแตละอําเภอ

พรอมระบุตําแหนงพิกดัทางภูมิศาสตรมาศึกษาความชื้นดวยการวัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ และความชื้น

ของดินโดยมวลดวยวิธีการแบบชั่งอบ ทุกวันเปนเวลาทั้งหมด 7 วัน ทั้ง 2 ชุดการทดลองที่ต้ังไวในบริเวณที่

แตกตางกัน โดยชุดแรกต้ังไวกลางแจงและชุดที่ 2 ต้ังไวในอาคารมีแนวโนมในการสูญเสียความชื้นเปนไป

ในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ ในแตละวันความชื้นจะมีคาลดลงซึ่งชุดแรกน้ันคาความชื้นจะสูญเสียไป

มากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับชุดที่ 2 สวนลักษณะของสูญเสียความชื้นของดินนาในแตละอําเภอน้ัน จะมีการ

สูญเสียความชื้นไมแตกตางกัน และพบวา เมื่อเวลาผานไปเกิน 6 วันในสภาพกลางแจงดินมีความชื้นตํ่ากวา

คาวิกฤตในทุกตัวอยาง จําเปนตองพิจารณาใหนํ้าแกพืชปลูก

คําสําคัญ: ดินนา ความชื้น ความชื้นสัมพัทธ

53

ชื่องานวิจัย การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียในดิน

คณะผูวิจัย นางสาวเกวลิน การภักดี นางสาวจันจิรา จันทอน และ

นางสาวนรินทรภรณ สุดมี

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา นางพชรมน นวลดี และนางสาวมะนิสา สารวิก

โรงเรียน หันคาพิทยาคม อําเภอหันคา จังหวัดชัยนาท

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร.กนกกร สินมา และคณะอาจารยโครงการ STEM EDUCATION สสวท.

ภาควิชาปฐพวิีทยา คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

บทคัดยอ

งานวิจัยเร่ืองการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียในดิน มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษา

ระดับความลึกในการฝงกลบขยะอินทรียที่สงผลตอการยอยสลายขยะอินทรีย ( 2) ศึกษาอัตราสวนของ

จุลินทรียทองถิ่นที่เหมาะสมตอการยอยสลายขยะอินทรีย (3) ศึกษาวิธีการยอยสลายตอซังขาวที่เหมาะสม

การวิจัยแบงเปน 3 ตอน ตอนที่ 1 ศึกษาระดับความลึกในการฝงกลบขยะอินทรียที่มีผลตอการยอยสลายขยะ

อินทรีย โดย ศึกษาความลึกที่ 10 25 50 เซนติเมตร และ วางบนพื้นดิน ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพและ

อัตราสวนของจุลินทรียทองถิ่นที่เหมาะสมตอการยอยสลายขยะอินทรีย โดยแบงเปนการเก็บรวบรวม

เชื้อจุลินทรียทองถิ่นโดยนําเชื้อจุลินทรียทองถิ่นจากกอไผนํามาผสมกับขาวสุกและกากนํ้าตาล รวมทั้ง

ศึกษาประสิทธิภาพ อัตราสวนของจุลินทรียทองถิ่นที่เหมาะสมตอการยอยสลายขยะอินทรีย โดยหลุมขนาด

กวาง x ยาว x ลึก เทากับ 40 x 40 x 25 จํานวน 15 หลุม แบงเปน 5 ชุดการทดลองการทดลองละ 3 ซ้ํา

ชุดที่ 1 ไมใสจุลินทรียทองถิ่น ชุดที่ 2 ใสจุลินทรียทองถิ่น 20 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร ชุดที่ 3 ใสจุลินทรีย

ทองถิ่น 40 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร ชุดที่ 4 ใสจุลินทรียทองถิ่น 60 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร ชุดที่ 5 ใส

จุลินทรียทองถิ่นที่มีราแดงผสม 20 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร ตอนที่ 3 ศึกษาวิธีการยอยสลายที่เหมาะสมตอ

การยอยสลายตอซังขาว แบงเปน 4 ชุดการทดลอง การทดลองละ 3 ซ้ํา ชุดที่1 วางบนพื้นและไมใสจุลินทรีย

ทองถิ่น ชุดที่ 2 ใสในหลุมลึก 25 เซนติเมตรและไมใสจุลินทรียทองถิ่น ชุดที่ 3 ใสในหลุมลึก 25 เซนติเมตร

และ ใสจุลินทรียทองถิ่น 60 กรัม:นํ้า 500 มิลลิลิตร ชุดที่ 4 ใสหลุมลึก 25 เซนติเมตร และผสมนํ้า 3000

มิลลิลิตร

พบวาการฝงกลบขยะอินทรียที่ระดับความลึกตางกันมีผลตอการยอยสลายขยะอินทรียตางกัน ที่

ระดับความลึก 25 เซนติเมตร มีการยอยสลายขยะอินทรียไดดีที่สุด มีขยะเหลือจากการยอยสลาย 8.33%

รองลงมาคือลึก 10 เซนติเมตร 50 เซนติเมตร และวางบนพืน้ ตามลําดับ

การใสจุลินทรียทองถิ่นลงในขยะอินทรีย ทําใหมีการยอยสลายขยะอินทรียไดดีขึ้น อัตราสวน 60

กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร สามารถยอยสลายขยะอินทรียไดดีที่สุดมีขยะเหลือ 178.33 กรัมจาก 1000 กรัม

Page 56: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

54 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ54

รองลงมาคือ จุลินทรียทองถิ่นอัตราสวน 40 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร จุลินทรียทองถิ่นอัตราสวน

20 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร จุลินทรียทองถิ่นที่มีราแดงผสม และไมใสจุลินทรียทองถิ่น ตามลําดับ

การยอยสลายตอซังขาวดวยวิธีที่แตกตางกัน ทําใหมีการยอยสลายของตอซังขาวดีขึ้น โดย ชุดที่

ใสในหลุมลึก 25 เซนติเมตร และใสจุลินทรียทองถิ่น 60 กรัม:นํ้า 500 มิลลิลิตร สามารถยอยสลายเหลือตอ

ซังขาวไดดีที่สุด เหลือตอซัง 225.69 กรัม รองลงมาคือ วางบนพื้นและไมใสจุลินทรีย ใสในหลุมลึก

25 เซนติเมตรและไมใสจุลินทรียทองถิ่น และใสหลุมลึก 25 เซนติเมตร ผสมนํ้า 3000 มิลลิลิตร ตามลําดับ

คําสําคัญ: ขยะอินทรีย จุลินทรียทองถิ่น การยอยสลายขยะอินทรีย ปจจัยในการยอยสลายขยะอินทรีย

55

ชื่องานวิจัย เปรียบเทียบการใช EM และ E-Worm ในการบําบัดนํ้าเสีย เพื่อนํานํ้ากลับใช

ประโยชนในการเลี้ยงปลานิล

คณะผูวิจัย นางสาววรัญญา ขันแวว นางสาวณัฐกมล เชาวกุล และ

นางสาวอิราวดี ยุติธรรม

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5

อาจารยท่ีปรึกษา นายมนตมนัส บุญช ู และนางสุพิศ ศรีพอ

โรงเรียน เซนตโยเซฟทิพวัล อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.จงดี โตอ้ิม คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร

มหาวิทยาลัยมหิดล

ดร. ชัยวุฒิ บุญญศิริวัฒน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดยอ

คลองบางกระบือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ประสบปญหาเร่ืองนํ้าเสีย สาเหตุเกิดจาก

บริเวณบานตลอดแนวคลองบางกระบือ โรงเรียน นํ้าที่ไหลมาจากตลาดสุธาวี และ โรงงานอบผลไม มีการ

ปลอยนํ้าเสียที่มีคราบและยังไมไดมาตรฐานอยูมากลงสูคลองบางกระบือตลอดเวลา ทําใหสัตวนํ้า พืชนํ้า ใน

คลองบางกระบือเกิดการตายเปนจํานวน สรางความสกปรก เกิดกลิ่นเนาเหม็น เปนแหลงเพาะเชื้อโรคและ

พาหะ นําโรคตาง ๆ สงผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูและสุขอนามัยของผูอาศัยในพื้นที่ของอําเภอบางพลี

เปนอยางมาก ดังน้ัน งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพนํ้าเมื่อใช EM และ E-Worm บําบัดนํ้าเสียใน

คลองบางกระบือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ และเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของปลานิลใน

นํ้าเสียที่ผานการบําบัดจากการใช EM และ E-Worm ไดผลการศึกษา ดังน้ี

1. นํ้าเสียในคลองบางกระบือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ที่ผานการบําบัดโดยการใช E-

Worm จะมีคุณภาพนํ้าดีกวาการใช EM

2. การเลี้ยงปลานิลในนํ้าที่บําบัด โดยใช E-Worm มีการเจริญเติบโตดีกวาในนํ้าที่บําบัดโดยใช

EM

3. การเลี้ยงปลานิลในนํ้าที่บําบัดโดยใช E-Worm มีอัตราการรอดตายดีกวากวาในนํ้าที่บําบัดโดย

ใช EM

คําสําคัญ: EM E-Worm ปลานิล

Page 57: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

55สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ54

รองลงมาคือ จุลินทรียทองถิ่นอัตราสวน 40 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร จุลินทรียทองถิ่นอัตราสวน

20 กรัม : นํ้า 500 มิลลิลิตร จุลินทรียทองถิ่นที่มีราแดงผสม และไมใสจุลินทรียทองถิ่น ตามลําดับ

การยอยสลายตอซังขาวดวยวิธีที่แตกตางกัน ทําใหมีการยอยสลายของตอซังขาวดีขึ้น โดย ชุดที่

ใสในหลุมลึก 25 เซนติเมตร และใสจุลินทรียทองถิ่น 60 กรัม:นํ้า 500 มิลลิลิตร สามารถยอยสลายเหลือตอ

ซังขาวไดดีที่สุด เหลือตอซัง 225.69 กรัม รองลงมาคือ วางบนพื้นและไมใสจุลินทรีย ใสในหลุมลึก

25 เซนติเมตรและไมใสจุลินทรียทองถิ่น และใสหลุมลึก 25 เซนติเมตร ผสมนํ้า 3000 มิลลิลิตร ตามลําดับ

คําสําคัญ: ขยะอินทรีย จุลินทรียทองถิ่น การยอยสลายขยะอินทรีย ปจจัยในการยอยสลายขยะอินทรีย

55

ชื่องานวิจัย เปรียบเทียบการใช EM และ E-Worm ในการบําบัดนํ้าเสีย เพื่อนํานํ้ากลับใช

ประโยชนในการเลี้ยงปลานิล

คณะผูวิจัย นางสาววรัญญา ขันแวว นางสาวณัฐกมล เชาวกุล และ

นางสาวอิราวดี ยุติธรรม

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5

อาจารยท่ีปรึกษา นายมนตมนัส บุญช ู และนางสุพิศ ศรีพอ

โรงเรียน เซนตโยเซฟทิพวัล อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.จงดี โตอ้ิม คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร

มหาวิทยาลัยมหิดล

ดร. ชัยวุฒิ บุญญศิริวัฒน คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดยอ

คลองบางกระบือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ประสบปญหาเร่ืองนํ้าเสีย สาเหตุเกิดจาก

บริเวณบานตลอดแนวคลองบางกระบือ โรงเรียน นํ้าที่ไหลมาจากตลาดสุธาวี และ โรงงานอบผลไม มีการ

ปลอยนํ้าเสียที่มีคราบและยังไมไดมาตรฐานอยูมากลงสูคลองบางกระบอืตลอดเวลา ทําใหสัตวนํ้า พืชนํ้า ใน

คลองบางกระบือเกิดการตายเปนจํานวน สรางความสกปรก เกิดกลิ่นเนาเหม็น เปนแหลงเพาะเชื้อโรคและ

พาหะ นําโรคตาง ๆ สงผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูและสุขอนามัยของผูอาศัยในพื้นที่ของอําเภอบางพลี

เปนอยางมาก ดังน้ัน งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพนํ้าเมื่อใช EM และ E-Worm บําบัดนํ้าเสียใน

คลองบางกระบือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ และเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของปลานิลใน

นํ้าเสียที่ผานการบําบัดจากการใช EM และ E-Worm ไดผลการศึกษา ดังน้ี

1. นํ้าเสียในคลองบางกระบือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ที่ผานการบําบัดโดยการใช E-

Worm จะมีคุณภาพนํ้าดีกวาการใช EM

2. การเลี้ยงปลานิลในนํ้าที่บําบัด โดยใช E-Worm มีการเจริญเติบโตดีกวาในนํ้าที่บําบัดโดยใช

EM

3. การเลี้ยงปลานิลในนํ้าที่บําบัดโดยใช E-Worm มีอัตราการรอดตายดีกวากวาในนํ้าที่บําบัดโดย

ใช EM

คําสําคัญ: EM E-Worm ปลานิล

Page 58: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

56 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ56

ชื่องานวิจัย ความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอสภาพอากาศในพื้นที่บริเวณ

กรุงเทพมหานคร

คณะผูวิจัย นางสาวนันฐกมลภรณ ศิริสกุลงาม นางสาวนันทหทัย อิสรไกรศีล และ

นางสาวศริษา พาศิรายุธ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางทิพยอาภา ศรีวรางกูล

โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ

เน่ืองจากในปจจุบันสภาพอากาศมีการเปลี่ยนแปลงและผันผวนอยูตลอดเวลา คณะผูวิจัย จึงได

ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอภูมิอากาศในพื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครเพื่อหาความ

ความสัมพันธระหวางปจจัยตาง ๆ ในฤดูกาลตาง ๆ กัน

ในการศึกษาและวิจัย คณะผูจัดทําไดสืบคนขอมูลจากเอกสารทางวิชาการตาง ๆ เพื่อเปนแนวทาง

ในการศึกษาตอไป จากน้ันจึงเก็บขอมูลปจจัยตาง ๆ ที่สงผลตอภูมิอากาศ คือ ปริมาณเมฆปกคลุมทองฟา

ปริมาณนํ้าฝน ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ อุณหภูมิ และความกดอากาศ รวมถึงไดใชขอมูลภูมิอากาศ

ระหวางวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึง 12 ธันวาคม พ.ศ. 2559 จากแผนกบริการขาวสาร กรมอุตุนิยมวิทยา

ประกอบในการศึกษาคร้ังน้ี หลังจากรวบรวมขอมูลไดพอสมควรแลว จึงใชโปรแกรม Microsoft Excel และ

โปรแกรม MATLAB ในการวิเคราะหขอมูลและหาความสัมพันธของปจจัยที่สงผลตอภูมิอากาศเปนคู ๆ

และแสดงความสัมพันธออกมาเปนกราฟโดยเปรียบเทียบระหวางกราฟที่ใชขอมูลรอบ 1 ปกับกราฟขอมูล

รอบ 4 ป จากกราฟระหวางความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอภูมิอากาศคูตาง ๆ พบวากราฟ

ความสัมพันธเมื่อใชขอมูลสภาพอากาศ 1 ปและ 4 ปมีลักษณะเหมือนกัน โดยความชื้นสัมพัทธกับอุณหภูมิ

ในฤดูฝน และอุณหภูมิกับความกดอากาศในฤดูรอน มีความสัมพันธกันมากเมื่อพิจารณาจากคา R2 (มีคา R2

มากกวา 0.5) จากการศึกษาคร้ังน้ี ทําใหไดขอสรุปตางๆที่เปนประโยชนในการศึกษาตอในอนาคต และ

นําไปตอยอดในการศึกษาเร่ืองอ่ืน ๆ ที่ผูวิจัยสนใจ ไดแก การนําปจจัยตาง ๆไปทํานายปจจัยอีกปจจัยหน่ึง

เชน นําความกดอากาศ ความชื้นสัมพัทธ ปริมาณเมฆปกคลุม ไปทํานายปริมาณนํ้าฝน โดยการสรางสมการ

ทํานาย เปนตน

คําสําคัญ: สภาพอากาศ โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม MATLAB กรุงเทพมหานคร

57

ชื่องานวิจัย เคร่ืองตรวจวัดสภาพอากาศ รายงานผลผาน Blynk

คณะผูวิจัย นายอิทธิกร ปุญสิริ นายเฉลิมพร วงศวิเศษ และ นายวัฒนวิทย มิ่งเชื้อ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที ่5

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยรัชนก สุวรรณจักร

โรงเรียน บุญวาทยวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

บทคัดยอ

งานวิจัยเร่ืองเคร่ืองตรวจวัดสภาพอากาศและรายงานผาน Blynk เปนงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนา

เคร่ืองมือที่สรางจาก Microcontroller เพื่อที่จะตรวจวัดสภาพอากาศ และ รายงานผลผานอินเทอรเน็ต แบบ

ทันที โดยใชอินเทอรเน็ต ผานเครือขาย Wifi และ ใชขอมูลจาก Sensor ที่ติดต้ังอยูรวมกับ Microcontroller

และเชื่อมตอกับ Microcontroller โดยจะเก็บขอมูลเปนคาเฉลี่ย เพื่อลดปญหาคา error ใหมีคานอยที่สุด

จากที่กลาวมาขางตนทางผูจึงจัดทํางานวิจัยน้ีขึ้น เพื่อตรวจวัดลมฟาอากาศในโรงเรียนบุญวาทยวิทยาลัย

โดยการใช Microcontroller ควบคุม sensor วัดปริมาณฝุนละอองในอากาศ แสง อุณหภูมิ และความชื้น และ

สงขอมูลที่วัดไดเขาสูระบบอินเทอรเน็ต เพื่อนํามาแสดงผลในแอพพลิเคชั่น Blynk บนโทรศัพทมือถือ โดย

การเขียนโปรแกรมภาษา C จากการทดสอบใชงานเคร่ืองมือพบวา เคร่ืองมือที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจวัด

ลมฟาอากาศไดใกลเคียงกับคาที่กรมอุตุนิยมวิทยาตรวจวัดได ดังน้ันจึงสรุปไดวา เคร่ืองมือตรวจวัด

ลมฟาอากาศที่พัฒนาขึ้น สามารถตรวจวัดปริมาณฝุนละอองในอากาศ ปริมาณแกสคารบอนไดออกไซด

แสง อุณหภูมิ และความชื้น ไดคาที่สามารถนําไปใชไดจริง แตยังคงมีคาความคลาดเคลื่อนอยูรอยละ 30 จึง

ตองมีการพัฒนาตอไปใหมีประสิทธิภาพและความแมนยําของขอมูลมากขึ้น

คําสาคัญ: ตรวจวัดฝุนละอองในอากาศ ตรวจวัดอุณหภูมิ ความชื้น Internet of thing

Page 59: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

57สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ56

ชื่องานวิจัย ความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอสภาพอากาศในพื้นที่บริเวณ

กรุงเทพมหานคร

คณะผูวิจัย นางสาวนันฐกมลภรณ ศิริสกุลงาม นางสาวนันทหทัย อิสรไกรศีล และ

นางสาวศริษา พาศิรายุธ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นางทิพยอาภา ศรีวรางกูล

โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ

เน่ืองจากในปจจุบันสภาพอากาศมีการเปลี่ยนแปลงและผันผวนอยูตลอดเวลา คณะผูวิจัย จึงได

ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอภูมิอากาศในพื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครเพื่อหาความ

ความสัมพันธระหวางปจจัยตาง ๆ ในฤดูกาลตาง ๆ กัน

ในการศึกษาและวิจัย คณะผูจัดทําไดสืบคนขอมูลจากเอกสารทางวิชาการตาง ๆ เพื่อเปนแนวทาง

ในการศึกษาตอไป จากน้ันจึงเก็บขอมูลปจจัยตาง ๆ ที่สงผลตอภูมิอากาศ คือ ปริมาณเมฆปกคลุมทองฟา

ปริมาณนํ้าฝน ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ อุณหภูมิ และความกดอากาศ รวมถึงไดใชขอมูลภูมิอากาศ

ระหวางวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึง 12 ธันวาคม พ.ศ. 2559 จากแผนกบริการขาวสาร กรมอุตุนิยมวิทยา

ประกอบในการศึกษาคร้ังน้ี หลังจากรวบรวมขอมูลไดพอสมควรแลว จึงใชโปรแกรม Microsoft Excel และ

โปรแกรม MATLAB ในการวิเคราะหขอมูลและหาความสัมพันธของปจจัยที่สงผลตอภูมิอากาศเปนคู ๆ

และแสดงความสัมพันธออกมาเปนกราฟโดยเปรียบเทียบระหวางกราฟที่ใชขอมูลรอบ 1 ปกับกราฟขอมูล

รอบ 4 ป จากกราฟระหวางความสัมพันธระหวางปจจัยที่สงผลตอภูมิอากาศคูตาง ๆ พบวากราฟ

ความสัมพันธเมื่อใชขอมูลสภาพอากาศ 1 ปและ 4 ปมีลักษณะเหมือนกัน โดยความชื้นสัมพัทธกับอุณหภูมิ

ในฤดูฝน และอุณหภูมิกับความกดอากาศในฤดูรอน มีความสัมพันธกันมากเมื่อพิจารณาจากคา R2 (มีคา R2

มากกวา 0.5) จากการศึกษาคร้ังน้ี ทําใหไดขอสรุปตางๆที่เปนประโยชนในการศึกษาตอในอนาคต และ

นําไปตอยอดในการศึกษาเร่ืองอ่ืน ๆ ที่ผูวิจัยสนใจ ไดแก การนําปจจัยตาง ๆไปทํานายปจจัยอีกปจจัยหน่ึง

เชน นําความกดอากาศ ความชื้นสัมพัทธ ปริมาณเมฆปกคลุม ไปทํานายปริมาณนํ้าฝน โดยการสรางสมการ

ทํานาย เปนตน

คําสําคัญ: สภาพอากาศ โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม MATLAB กรุงเทพมหานคร

57

ชื่องานวิจัย เคร่ืองตรวจวัดสภาพอากาศ รายงานผลผาน Blynk

คณะผูวิจัย นายอิทธิกร ปุญสิริ นายเฉลิมพร วงศวิเศษ และ นายวัฒนวิทย มิ่งเชื้อ

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที ่5

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยรัชนก สุวรรณจักร

โรงเรียน บุญวาทยวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง

บทคัดยอ

งานวิจัยเร่ืองเคร่ืองตรวจวัดสภาพอากาศและรายงานผาน Blynk เปนงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนา

เคร่ืองมือที่สรางจาก Microcontroller เพื่อที่จะตรวจวัดสภาพอากาศ และ รายงานผลผานอินเทอรเน็ต แบบ

ทันที โดยใชอินเทอรเน็ต ผานเครือขาย Wifi และ ใชขอมูลจาก Sensor ที่ติดต้ังอยูรวมกับ Microcontroller

และเชื่อมตอกับ Microcontroller โดยจะเก็บขอมูลเปนคาเฉลี่ย เพื่อลดปญหาคา error ใหมีคานอยที่สุด

จากที่กลาวมาขางตนทางผูจึงจัดทํางานวิจัยน้ีขึ้น เพื่อตรวจวัดลมฟาอากาศในโรงเรียนบุญวาทยวิทยาลัย

โดยการใช Microcontroller ควบคุม sensor วัดปริมาณฝุนละอองในอากาศ แสง อุณหภูมิ และความชื้น และ

สงขอมูลที่วัดไดเขาสูระบบอินเทอรเน็ต เพื่อนํามาแสดงผลในแอพพลิเคชั่น Blynk บนโทรศัพทมือถือ โดย

การเขียนโปรแกรมภาษา C จากการทดสอบใชงานเคร่ืองมือพบวา เคร่ืองมือที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจวัด

ลมฟาอากาศไดใกลเคียงกับคาที่กรมอุตุนิยมวิทยาตรวจวัดได ดังน้ันจึงสรุปไดวา เคร่ืองมือตรวจวัด

ลมฟาอากาศที่พัฒนาขึ้น สามารถตรวจวัดปริมาณฝุนละอองในอากาศ ปริมาณแกสคารบอนไดออกไซด

แสง อุณหภูมิ และความชื้น ไดคาที่สามารถนําไปใชไดจริง แตยังคงมีคาความคลาดเคลื่อนอยูรอยละ 30 จึง

ตองมีการพัฒนาตอไปใหมีประสิทธิภาพและความแมนยําของขอมูลมากขึ้น

คําสาคัญ: ตรวจวัดฝุนละอองในอากาศ ตรวจวัดอุณหภูมิ ความชื้น Internet of thing

Page 60: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

58 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ58

ชื่องานวิจัย ปริมาณและความหลากหลายของสัตวเล็กนํ้าจืดในนาเกษตรอินทรียและนาเคมี

บานทาชาง ตําบลพนางตุง อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย นางสาวรัตนมน เล็บทอง นางสาววันวิสาข ฉีดเสน และ

นางสาวศุภิศสิรา ทหารไทย

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยสุจิรา พรมแทนสุด

โรงเรียน ปาพะยอมพิทยาคม อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา อาจารย ดร.ธัญญา พันธฤทธิ์ดํา มหาวิทยาลัยทักษิณ

บทคัดยอ

ศึกษาความสัมพันธของคุณภาพนํ้าตอชนิดและปริมาณของสัตวเล็กนํ้าจืดในนาเกษตรอินทรียและ

นาเคมี บานทาชาง ตําบลพนางตุง อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง โดยเก็บตัวอยางระหวางเดือนธันวาคม

พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ศึกษาคุณภาพของนํ้า คือ ความโปรงแสง ความเปน กรด - ดาง (pH)

อุณหภูมิและปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้า (DO) ทั้งหมด 4 คา สรุปผลการศึกษาไดวา นาเกษตรอินทรีย

ระยะเวลา 4 ป และนาเกษตรอินทรียระยะเวลา 8 ป มีคาความโปรงแสง pH และอุณหภูมิใกลเคียงกันแต

ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้าของนาเกษตรอินทรียระยะเวลา 8 ป มีปริมาณ 5.52 มิลลิกรัม/ลิตร แตนา

เกษตรอินทรียระยะเวลา 4 ป มีคา 5.06 มิลลิกรัม/ลิตร ในขณะที่คุณภาพนํ้าของนาเคมีระยะเวลา 8 ป มี

คุณภาพนํ้าดอยกวาโดยเฉพาะปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้ามีคา 4.52 มิลลิกรัม/ลิตร และความโปรงแสง

8.28 เซนติเมตร พบสัตวเล็กนํ้าจืดมากที่สุดในนาเกษตรอินทรียระยะเวลา 8 ป คือ 16 ชนิด ดัชนีของสัตวเล็ก

นํ้าจืด บงบอกวาจัดอยูในนํ้าสะอาด รองลงมา คือ นาเกษตรอินทรียระยะเวลา 4 ป พบ 14 ชนิด ดัชนีของสัตว

เล็กนํ้าจืดบงบอกวาจัดอยูในนํ้าสะอาดและนาเคมีระยะเวลา 8 ป พบความหลากหลายของสัตวเล็กนํ้าจืดนอย

ที่สุด คือ 11 ชนิด ดัชนีของสัตวเล็กนํ้าจืดบงบอกวาจัดอยูในนํ้าไมคอยสะอาด

คําสําคัญ: สัตวเล็กนํ้าจืด นาเกษตรอินทรีย นาเคมี บานทาชาง ตําบลพนางตุง

59

ชื่องานวิจัย ศึกษาคุณภาพของนํ้ารวมกับการใชชุดอุปกรณบําบัดนํ้าทิ้งบริเวณอุตสาหกรรม

ยอมผาในครัวเรือน จังหวัดฉะเชิงเทรา

คณะผูวิจัย นายชาญณรงค พึ่งเกษม นางสาวพนิตา วระวาท และ

นางสาวอัญญารักษ ประเสริฐผล

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นายนิรันดร เหลืองสวรรค

โรงเรียน พนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา” อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

บทคัดยอ

การศึกษาคุณภาพของนํ้ารวมกับการใชชุดอุปกรณบําบัดนํ้าทิ้งบริเวณอุตสาหกรรมยอมผา

ในครัวเรือน จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อลดปญหาสิ่งแวดลอมจากการปลอยนํ้าทิ้งจากการยอมผาลงใน

แหลงนํ้าธรรมชาติและการทิ้งเกล็ดปลาใหเนาเหม็น สวนเกล็ดปลานิลที่ดูดติดสีสามารนําไปประดิษฐเปน

งานศิลปะ ตัวแปรที่ศึกษา ไดแก คุณภาพของนํ้า ชนิดของวัสดุ ปริมาณของเกล็ดปลานิล ระยะเวลาใน

การทดลอง ลักษณะขวดทดลอง และการใชพลังงานทดแทน พบวา นํ้ากอนบริเวณอุตสาหกรรมยอมผา

แตกตางกับนํ้าบริเวณอุสาหกรรมยอมผา เกล็ดปลานิลปริมาณ 300 กรัมตอขวดทดลอง โดยใชขวดทดลอง

จํานวน 2 ขวด ระยะเวลาในการบําบัด 30 นาที สามารถลดปริมาณของสีในนํ้าทิ้งจากการยอมผาจาก

50 mg/L เหลือเพียง 8.20 mg/L คิดเปน 83.53±0.87 เปอรเซ็นต สวนปริมาณของออกซิเจนที่เพิ่มขึ้นจาก

เดิมเฉลี่ย 3.39 mg/L ชุดอุปกรณตนแบบปริมาตร 50 ลิตรตอคร้ัง หลังการบําบัดนํ้าทิ้งสามารถนํานํ้ากลับไป

ใชใหมไดอีกหรือปลอยลงสูแหลงนํ้าธรรมชาติไดเลย หรือของที่ระลึก ซึ่งเปนการเพิ่มมูลคาใหกับสิ่งที่ไรคา

ไดอยางเหมาะสม

คําสําคัญ: เกล็ดปลา การยอมผา ชุดอุปกรณ นํ้าทิ้ง

Page 61: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

59สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ58

ชื่องานวิจัย ปริมาณและความหลากหลายของสัตวเล็กนํ้าจืดในนาเกษตรอินทรียและนาเคมี

บานทาชาง ตําบลพนางตุง อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะผูวิจัย นางสาวรัตนมน เล็บทอง นางสาววันวิสาข ฉีดเสน และ

นางสาวศุภิศสิรา ทหารไทย

ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4

อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยสุจิรา พรมแทนสุด

โรงเรียน ปาพะยอมพิทยาคม อําเภอปาพะยอม จังหวัดพัทลุง

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา อาจารย ดร.ธัญญา พันธฤทธิ์ดํา มหาวิทยาลัยทักษิณ

บทคัดยอ

ศึกษาความสัมพันธของคุณภาพนํ้าตอชนิดและปริมาณของสัตวเล็กนํ้าจืดในนาเกษตรอินทรียและ

นาเคมี บานทาชาง ตําบลพนางตุง อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง โดยเก็บตัวอยางระหวางเดือนธันวาคม

พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ศึกษาคุณภาพของนํ้า คือ ความโปรงแสง ความเปน กรด - ดาง (pH)

อุณหภูมิและปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้า (DO) ทั้งหมด 4 คา สรุปผลการศึกษาไดวา นาเกษตรอินทรีย

ระยะเวลา 4 ป และนาเกษตรอินทรียระยะเวลา 8 ป มีคาความโปรงแสง pH และอุณหภูมิใกลเคียงกันแต

ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้าของนาเกษตรอินทรียระยะเวลา 8 ป มีปริมาณ 5.52 มิลลิกรัม/ลิตร แตนา

เกษตรอินทรียระยะเวลา 4 ป มีคา 5.06 มิลลิกรัม/ลิตร ในขณะที่คุณภาพนํ้าของนาเคมีระยะเวลา 8 ป มี

คุณภาพนํ้าดอยกวาโดยเฉพาะปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้ามีคา 4.52 มิลลิกรัม/ลิตร และความโปรงแสง

8.28 เซนติเมตร พบสัตวเล็กนํ้าจืดมากที่สุดในนาเกษตรอินทรียระยะเวลา 8 ป คือ 16 ชนิด ดัชนีของสัตวเล็ก

นํ้าจืด บงบอกวาจัดอยูในนํ้าสะอาด รองลงมา คือ นาเกษตรอินทรียระยะเวลา 4 ป พบ 14 ชนิด ดัชนีของสัตว

เล็กนํ้าจืดบงบอกวาจัดอยูในนํ้าสะอาดและนาเคมีระยะเวลา 8 ป พบความหลากหลายของสัตวเล็กนํ้าจืดนอย

ที่สุด คือ 11 ชนิด ดัชนีของสัตวเล็กนํ้าจืดบงบอกวาจัดอยูในนํ้าไมคอยสะอาด

คําสําคัญ: สัตวเล็กนํ้าจืด นาเกษตรอินทรีย นาเคมี บานทาชาง ตําบลพนางตุง

59

ชื่องานวิจัย ศึกษาคุณภาพของนํ้ารวมกับการใชชุดอุปกรณบําบัดนํ้าทิ้งบริเวณอุตสาหกรรม

ยอมผาในครัวเรือน จังหวัดฉะเชิงเทรา

คณะผูวิจัย นายชาญณรงค พึ่งเกษม นางสาวพนิตา วระวาท และ

นางสาวอัญญารักษ ประเสริฐผล

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นายนิรันดร เหลืองสวรรค

โรงเรียน พนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา” อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

บทคัดยอ

การศึกษาคุณภาพของนํ้ารวมกับการใชชุดอุปกรณบําบัดนํ้าทิ้งบริเวณอุตสาหกรรมยอมผา

ในครัวเรือน จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อลดปญหาสิ่งแวดลอมจากการปลอยนํ้าทิ้งจากการยอมผาลงใน

แหลงนํ้าธรรมชาติและการทิ้งเกล็ดปลาใหเนาเหม็น สวนเกล็ดปลานิลที่ดูดติดสีสามารนําไปประดิษฐเปน

งานศิลปะ ตัวแปรที่ศึกษา ไดแก คุณภาพของนํ้า ชนิดของวัสดุ ปริมาณของเกล็ดปลานิล ระยะเวลาใน

การทดลอง ลักษณะขวดทดลอง และการใชพลังงานทดแทน พบวา นํ้ากอนบริเวณอุตสาหกรรมยอมผา

แตกตางกับนํ้าบริเวณอุสาหกรรมยอมผา เกล็ดปลานิลปริมาณ 300 กรัมตอขวดทดลอง โดยใชขวดทดลอง

จํานวน 2 ขวด ระยะเวลาในการบําบัด 30 นาที สามารถลดปริมาณของสีในนํ้าทิ้งจากการยอมผาจาก

50 mg/L เหลือเพียง 8.20 mg/L คิดเปน 83.53±0.87 เปอรเซ็นต สวนปริมาณของออกซิเจนที่เพิ่มขึ้นจาก

เดิมเฉลี่ย 3.39 mg/L ชุดอุปกรณตนแบบปริมาตร 50 ลิตรตอคร้ัง หลังการบําบัดนํ้าทิ้งสามารถนํานํ้ากลับไป

ใชใหมไดอีกหรือปลอยลงสูแหลงนํ้าธรรมชาติไดเลย หรือของที่ระลึก ซึ่งเปนการเพิ่มมูลคาใหกับสิ่งที่ไรคา

ไดอยางเหมาะสม

คําสําคัญ: เกล็ดปลา การยอมผา ชุดอุปกรณ นํ้าทิ้ง

Page 62: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

60 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ60

ชื่องานวิจัย การศึกษาคุณภาพของดินที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพของขาวหอมพันธุไชยา

ในเขตพื้นที่อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี

คณะผูวิจัย นายณฐธรรม เย็นสนิท นายสรพัศ บุญรอด

นางสาวเบญญาภา สุทธะมุสิก และนางสาวอาทิตยา จารึก

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นายชวิน มณีนูน และนายศุภวงศ รัตนานุพงศ

โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ สุราษฎรธานี อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร. ศิริวรรณ วงศกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตสุราษฎรธานี

บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพของดินที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพของขาวหอมพันธุ

ไชยา กลุมตัวอยางคือพื้นที่ปลูกขาวในอําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี แบงออกเปน 3 แปลง โดยเก็บ

รวบรวมขอมูลคุณภาพดินคือ ความชื้นในดิน (Soil Moisture) ความอุดมสมบูรณของดิน (Soil Fertility)

คารบอเนตอิสระ (Free Carbonates) สีดิน (Soil Color) เน้ือดิน (Soil Texture) คา pH และเก็บรวบรวม

ลักษณะทางกายภาพของขาวหอมพันธุไชยา โดยการวัดความสูงของตน และความกวางของใบ สถิติที่ใชใน

การวิเคราะหคือ คาเฉลี่ยและคารอยละ ผลการวิจัยพบวา ตนขาวในแปลงที่ 3 มีการเจริญเติบโตมากที่สุด ทั้ง

ความสูงของตน และความกวางของใบ เมื่อเปรียบเทียบคุณภาพดินของทั้ง 3 แปลง พบวา แปลงที่ 3

มีความชื้นในดินสูงที่สุด และสีของดินแตกตางจากแปลงอ่ืน ๆ โดยมีเน้ือดินที่แตกตางกันทั้ง 3 แปลง

(แปลงที่ 1: ดินรวน, แปลงที่ 2: ดินทรายปนดินรวน, แปลงที่ 3: ดินทราย) สวนโพแทสเซียม

คารบอเนตอิสระในดิน และ pH ในดินไมแตกตางกันทั้ง 3 แปลง คือฟอสฟอรัสวัดคาไดตํ่ามาก ดินไมมี

คารบอเนตอิสระ และ pH 6 จากผลการศึกษาน้ี จะเห็นไดวาคุณภาพของดินที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพ

ของขาวหอมพันธุไชยา ซึ่งสามารถใชเปนแนวทางในการพัฒนาการปลูกขาวหอมพันธุไชยาใหมีคุณภาพดี

ยิ่งขึ้น และพบวาคุณภาพของดินในพื้นที่อําเภอไชยามีคุณภาพดี และสงผลใหลักษณะทางกายภาพของ

ขาวหอมพันธุไชยาน้ันมีคุณภาพดีไปดวย โดยพิจารณาจากขนาดลําตนและความกวางของใบ ในการทํานา

แบบหวานและแบบดําน้ัน สรุปไดวาการดํานาใหคุณภาพของตนขาวดีกวาการทํานาแบบหวานเน่ืองจาก

การดํานาจํานวนกอของตนขาวนอยกวาทําใหอาหารเพียงพอและดูแลวัชพืชไดงายกวา

คําสําคัญ: ขาวหอมพันธุไชยา คุณภาพดิน การสงเสริมเกษตรกร

61

คณะผูจัดทํา

ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย ดร.สัญญา มิตรเอม รองผูอํานวยการ สสวท.

ดร.กุศลิน มุสิกุล ผูชวยผูอํานวยการ สสวท.

คณะทํางาน

นางปาริฉัตร พวงมณี โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางสาวสมรศรี กันภัย โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางยุพาพร ลาภหลาย โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางสาวสุวินัย มงคลธารณ โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางสาวศิริพร เหลาวานิชย โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางสาวกุลธิรัตน พันธสิริเดช โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นายณรงค แสงแกว ฝายออกแบบและพัฒนาอุปกรณ สสวท.

นายสุวัฒน วงษจําปา ฝายออกแบบและพัฒนาอุปกรณ สสวท.

นายมณเฑียร กําบัง ฝายออกแบบและพัฒนาอุปกรณ สสวท.

นายสุริยา พรหมจิตร ฝายออกแบบและพัฒนาอุปกรณ สสวท.

นางสินีนาฏ ทาบึงกาฬ ฝายสื่อสารองคกรและวิเทศสัมพันธ สสวท.

นางสาวเพ็ญประภา ซื่อตรง ฝายสื่อสารองคกรและวิเทศสัมพันธ สสวท.

นายศิริพล วุนพันธ ฝายนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู สสวท.

นายจักรจิตร คงคารัตน ฝายนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู สสวท.

นายณัฐพัฒน ปุราคํา ฝายนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู สสวท.

รวบรวมและเรียบเรียงเอกสารประกอบการประชุม

นางยุพาพร ลาภหลาย โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

Page 63: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

61สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ60

ชื่องานวิจัย การศึกษาคุณภาพของดินที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพของขาวหอมพันธุไชยา

ในเขตพื้นที่อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี

คณะผูวิจัย นายณฐธรรม เย็นสนิท นายสรพัศ บุญรอด

นางสาวเบญญาภา สุทธะมุสิก และนางสาวอาทิตยา จารึก

ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาจารยท่ีปรึกษา นายชวิน มณีนูน และนายศุภวงศ รัตนานุพงศ

โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ สุราษฎรธานี อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

นักวิทยาศาสตรท่ีปรึกษา ดร. ศิริวรรณ วงศกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตสุราษฎรธานี

บทคัดยอ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพของดินที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพของขาวหอมพันธุ

ไชยา กลุมตัวอยางคือพื้นที่ปลูกขาวในอําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี แบงออกเปน 3 แปลง โดยเก็บ

รวบรวมขอมูลคุณภาพดินคือ ความชื้นในดิน (Soil Moisture) ความอุดมสมบูรณของดิน (Soil Fertility)

คารบอเนตอิสระ (Free Carbonates) สีดิน (Soil Color) เน้ือดิน (Soil Texture) คา pH และเก็บรวบรวม

ลักษณะทางกายภาพของขาวหอมพันธุไชยา โดยการวัดความสูงของตน และความกวางของใบ สถิติที่ใชใน

การวิเคราะหคือ คาเฉลี่ยและคารอยละ ผลการวิจัยพบวา ตนขาวในแปลงที่ 3 มีการเจริญเติบโตมากที่สุด ทั้ง

ความสูงของตน และความกวางของใบ เมื่อเปรียบเทียบคุณภาพดินของทั้ง 3 แปลง พบวา แปลงที่ 3

มีความชื้นในดินสูงที่สุด และสีของดินแตกตางจากแปลงอ่ืน ๆ โดยมีเน้ือดินที่แตกตางกันทั้ง 3 แปลง

(แปลงที่ 1: ดินรวน, แปลงที่ 2: ดินทรายปนดินรวน, แปลงที่ 3: ดินทราย) สวนโพแทสเซียม

คารบอเนตอิสระในดิน และ pH ในดินไมแตกตางกันทั้ง 3 แปลง คือฟอสฟอรัสวัดคาไดตํ่ามาก ดินไมมี

คารบอเนตอิสระ และ pH 6 จากผลการศึกษาน้ี จะเห็นไดวาคุณภาพของดินที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพ

ของขาวหอมพันธุไชยา ซึ่งสามารถใชเปนแนวทางในการพัฒนาการปลูกขาวหอมพันธุไชยาใหมีคุณภาพดี

ยิ่งขึ้น และพบวาคุณภาพของดินในพื้นที่อําเภอไชยามีคุณภาพดี และสงผลใหลักษณะทางกายภาพของ

ขาวหอมพันธุไชยาน้ันมีคุณภาพดีไปดวย โดยพิจารณาจากขนาดลําตนและความกวางของใบ ในการทํานา

แบบหวานและแบบดําน้ัน สรุปไดวาการดํานาใหคุณภาพของตนขาวดีกวาการทํานาแบบหวานเน่ืองจาก

การดํานาจํานวนกอของตนขาวนอยกวาทําใหอาหารเพียงพอและดูแลวัชพืชไดงายกวา

คําสําคัญ: ขาวหอมพันธุไชยา คุณภาพดิน การสงเสริมเกษตรกร

61

คณะผูจัดทํา

ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย ดร.สัญญา มิตรเอม รองผูอํานวยการ สสวท.

ดร.กุศลิน มุสิกุล ผูชวยผูอํานวยการ สสวท.

คณะทํางาน

นางปาริฉัตร พวงมณี โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางสาวสมรศรี กันภัย โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางยุพาพร ลาภหลาย โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางสาวสุวินัย มงคลธารณ โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางสาวศิริพร เหลาวานิชย โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นางสาวกุลธิรัตน พันธสิริเดช โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

นายณรงค แสงแกว ฝายออกแบบและพัฒนาอุปกรณ สสวท.

นายสุวัฒน วงษจําปา ฝายออกแบบและพัฒนาอุปกรณ สสวท.

นายมณเฑียร กําบัง ฝายออกแบบและพัฒนาอุปกรณ สสวท.

นายสุริยา พรหมจิตร ฝายออกแบบและพัฒนาอุปกรณ สสวท.

นางสินีนาฏ ทาบึงกาฬ ฝายสื่อสารองคกรและวิเทศสัมพันธ สสวท.

นางสาวเพ็ญประภา ซื่อตรง ฝายสื่อสารองคกรและวิเทศสัมพันธ สสวท.

นายศิริพล วุนพันธ ฝายนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู สสวท.

นายจักรจิตร คงคารัตน ฝายนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู สสวท.

นายณัฐพัฒน ปุราคํา ฝายนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู สสวท.

รวบรวมและเรียบเรียงเอกสารประกอบการประชุม

นางยุพาพร ลาภหลาย โครงการวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (GLOBE) สสวท.

Page 64: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

62 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

NOTE

Page 65: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

63สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

NOTE

Page 66: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

64 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

NOTE

Page 67: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

65สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

NOTE

Page 68: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

กระทรวงศึกษาธิการ924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท์ 0-2392-4021 ต่อ 1121, 1124 และ 1128 โทรสาร 0-2382-3239

Email: [email protected], [email protected]

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST)

Ministry of Education

924 Sukhumvit Road, Phra Khanong Subdistrict, Klong Toei District, Bangkok 10110,

Thailand

Tel. 0-2392-4021 ext. 1121, 1124 and 1128, Fax 0-2382-3239

Email: [email protected], [email protected]

Page 69: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ
Page 70: ¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃglobethailand.ipst.ac.th/images/source/SRC_Proceeding/Proceeding… · 2 ล กำ หนดก รประชุม ร ยก รบทคัดย่อ