dhamma talk1

43
บทธรรมนําทาง พระเวทคู

Upload: pa-prathom

Post on 23-Mar-2016

247 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

บทธรรมนำทาง เล่ม ๑ โดยพระเทวคู หนังสือธรรมะที่รวบรวมแก่นธรรมจากหลวงพี่แม็คพระป่ากรรมฐาน เนื้อหานีรวบรวมจากรายการ Dhamma Talk ทาง http://www.facebook.com/DhammaTalkMonday ทุกวันจันทร์เวลา 19.30 น.

TRANSCRIPT

Page 1: Dhamma talk1

บทธรรมนําทางพระเวทคู

Page 2: Dhamma talk1
Page 3: Dhamma talk1

คณะผูจัดทํา

ดรุณ ีสิมธาราแกวปยนุช ประโยชนกุลนันท

รุงนภา ศักดิ์ตระกูลจันทนา ถวิลไทย

นายแพทยนพพร ศรีทิพโพธิ์

ผกาวด ีวงศสายเชื้อชนาธิป-ไพโรจน อรุณสุรัตน

สังเวียน เหลาเขตกิจ

พรพิมล เสถียรพัฒนกูล

สุดาพร บัวบุตร

วันด ีพันธมิตร

ณัฐวรรธน ศิริสุวรรณ

ปญญา ศิริสุวรรณ

บริษัท ป.ประโยชน จํากัดพิมพพิชชา อัสสานุรักษ

นิมิตร พิทยรัตนเสถียร

พูนศักดิ-์สุชาดา ประถมบุตร

พิเชษฐ-เกษสุดา โพธิบุญ

อภิชาต ประถมบุตรและครอบครัว

ภาสกร-ชลธิชา-ณิชา ประถมบุตร

อรนุช ขวัญชื้นและครอบครัว

อิสรา วรรณสวาทและครอบครัว

ณาฐยา เนตรรัตนนฤมล พิทยรัตนเสถียร

ประทวน เวชประสิทธิ์

สมศิร ิ หาญสุโพธิพันธ

พงษศักดิ ์ บุญธํารง

อัจฉราวรรณ สีมันตรชัชวาล ติรชุลีประอรนุช-พิชญา-พชร พันธุวาณิชย

อุษา ธีรพงส

พนา ภมรสูต

ภาพประกอบและรูปเลม PA Prathom Pook Pookpoonพิมพครั้งที ่1 พฤศจิกายน 2556 จํานวน 4,000 เลมพิมพที่ หจก. เอส.ออฟเซ็ทกราฟฟคดีไซน

Page 4: Dhamma talk1

บทธรรมเหลานี้คัดเลือกมาจากการบรรยายธรรม ของพระอาจารยแม็คที่ธุดงคไปทั่วประเทศ เนนการ ปฏิบัติถือสันโดษ โดยบทความสวนใหญ◌่จะเปนแนว พัฒนาจิตนํามาจากพระวินัยของพระพุทธเจา ผูจัดทําพยายามรวบรวมบทธรรมะที่พระอาจารย เนนอยูเสมอโดยเฉพาะเรื่อง “มองตน พนทุกข” มาจัดทํา เปนรูปเลมเผยแพร หนังสือเลมนี้หวังแตเพียงใหขอคิด ใหความเขาใจ ใหรูจักการมีสติรูทัน ปญญารูแจง และอุเบกขาละวาง ขณะเดียวกันก็ไดเรียนรูขอธรรมะตางๆเพิ่มขึ้น เพื่อเขาใจ และนําไปคิดพิจารณาใชกับตนเองในชีวิตได

หากทานตองการสนทนาหรือฟงธรรมะยอนหลัง สามารถเขาไปฟงไดที่

http://facebook.com/DhammaTalkMonday

คณะผูจัดทํา

คํานํา

Page 5: Dhamma talk1

สารบัญ หนา

มองตน พนทุกข ๕

ปญญาโลก ปญญาธรรม ๗

โลกสุขกาม ธรรมสุขวาง ๙

โลกสมมุติ ๑๑

ธรรมคือธรรมชาติ ๑๓

อยูอยางไรใหสงบเปนสุข ๑๕

ภพภูมิของมนุษย ๑๗

หนทางนักบวช ๑๙

สิ่งที่ควรรู ๒๑

ความเปนมนุษยที่สมบูรณ ๒๕

ความไมประมาท ๓๓

Page 6: Dhamma talk1
Page 7: Dhamma talk1

ในการปฏิบัติธรรมนั้นสิ่งสําคัญคือ การมีสติอยูกับตนทุกเมื่อ พูดงายๆก็คือการพิจารณาดูกายใจของตนใหมากที่สุด

อยาสงจิตออก นอกสอดสายเสาะแสวงหาเรื่องของคนอื่น อันเปนเหตุใหหลงลืม ขาดสติในอารมณภาวนา

ทําใหจิตเศราหมองวุนวายสับสนเกิดโทษ เปนทุกข ในที่สุดการเพงโทษโจทยกับผูอื่นนั้นไมมีประโยชนอะไรเลย

ทําไมจะตองเสียเวลากับเรื่องเหลานี ้จงหันมามองดูกายดูจิตของตน ใหมากจะดีกวา โดยพิจารณาวา

"อยาใสใจในการงานที่ผูอื่◌่นทําแลว และยังไมไดทํา จงสนใจในการงานของตนวาไดทําแลวหรือยังไมไดทํา"

ใหพิจารณาเชนนี้เสมอๆ จะชวยใหการปฏิบัติธรรมไดผลเร็วขึ้น

เพราะวาโดยธรรมชาติแลวคนเราสวนมากชอบหาเรื่องที่ไมดีของคนอื่น เพงโทษคนอื่นมากกวาตนเองวา ด ีไมด ีผิด ถูก

ฯลฯ

มองตน พนทุกข

Page 8: Dhamma talk1

บางครั้งก็เปนเหตุใหทะเลาะวิวาทกัน แมเปนเรื่องเล็กๆนอยๆก็กลายเปน เรื่องใหญโตขึ้นมาได มีผลกระทบตามมามากมาย

อันนี้สําคัญมากจงระวัง ใหหันมามองพิจารณาดูกายดูใจของตนใหมากๆ มีสติอยูกับตัวเสมอ ในที่สุดก็จะพบกับสันติสุข อันเกิดจาก

การมองตน พิจารณาตน นั่นเอง

สุข ทุกข เดี๋ยวเดียวจางหาย

ความตายไมนานมาถึง

เศราโศกรํ่าไรรําพึง

เขาถึงหมูสัตวทุกวัน

Page 9: Dhamma talk1

ปญญาคือความรอบรู สิ่งมีชีวิตทั้งหลายในโลกนี้มีแตมนุษยเทานั้นที่มีปญญา สามารถพัฒนาใหเกิดความเจริญได

ไมวาจะเปนดานวัตถุหรือดานจิตใจ การพัฒนา แบงเปน 2 ประเภทคือ การพัฒนากายและการพัฒนาใจ การพัฒนากายภายนอกเนนวัตถุเปน

การพัฒนาทางโลก เบื้องตนไดแกการพัฒนาเครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค อาหาร หรือปจจัย ๔ ซึ่งจําเปนตอการดํารงชีวิต

ตลอดถึงการศึกษาพัฒนาดานเทคโนโลย ีและวิทยาศาสตรพลังงานตางๆ การศึกษาเรียนรูมากมายหลายสาขาอาชีพเพื่อการทํา มาหาเลี้ยงชีพ

การศึกษาซึ่งเปนปญญาทางโลกนั้น เปนการศึกษาที่มองออกไปจากตน เนนการศึกษาสิ่งอื่นอยางอื่นเพื่อตอบสนองความตองการของตน อันไดแก ลาภ

ยศ สรรเสริญ สุขและกามคุณ เปนการแสวงหาที่เปนทุกข ตกอยูใต อํานาจของความโลภ โกรธ หลง เมื่อพลัดพรากจากไปก็เปนทุกข

เพราะหลงยึดติด ยึดมั่นในโลกนั่นเอง

ปญญาโลก ปญญาธรรม

Page 10: Dhamma talk1

ปญญาทางธรรมนั้นเปนการศึกษาเพื่อพัฒนาจิตใหพนทุกข กําจัดกิเลส มีอวิชชา ตัณหา อุปาทาน โลภ โกรธ หลง

ทั้งหลายเหล◌่านี้เพื่อชําระจิตใหสะอาดบริสุทธิ ์ดับความเรารอน กระวนกระวายใจ ไมเบียดเบียนกัน พูดใหเขาใจงายๆ ก็คือ

ปญญาทางธรรมสอนใหสละ ละ ปลอยวาง จากอัตตา กามคุณ อันเปนเหตุใหทุกขนั่นเอง การพัฒนาจิตอยูในหลักของศีล

สมาธ ิปญญา ทําใหผูที่พัฒนาจิตสามารถ บรรลุมรรคผลไดสูงขึ้นตามลําดับที่เรียกวา

อริยบุคคล ๘ นั่นเอง

เมื่อสมหวังในกิเลสก็เปนสุข

ที่เปนทุกขเพราะไมไดดั่งใจหวัง

สุขและทุกข เวทนา อนิจจัง

หากไมหวัง ก็จะไดในนิพพาน๘

Page 11: Dhamma talk1

ทุกชีวิตที่เกิดมาบนโลกนี้ตางก็ตองการความสุขดวยกันทั้งนั้น แตกตาง กันที่◌ิวิธีการแสวงหา

และตองการความสุขกันแบบไหนตามกําลัง สติปญญาและ ภพภูมิของตน

ในที่นี้จะขอกลาวถึงความสุขของชาวโลกทั่วไปที่เรียกวาโลกียสุข ซึ่งเปน ความสุขที ่เกิดจากกามคุณ คือรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส

ซึ่งเปนความสุขที่ไม เที่ยงแทแปรเปลี่ยนไป มีผลคือทุกขตามมา เพราะกามนี้มีทุกขมากมีสุขนอย เมื่อสัตวทั้งหลายไดเสพกาม

ก็เกิดความหลงติดยินดีพอใจหลงเพลิดเพลินในรสของกามนั้น จึงไดแสวงหา เกิดการแยงชิงเบียดเบียนกัน

ในที่สุดทําใหไดรับความเดือดรอนเปนทุกข ตกอยูในอํานาจของโลภ โกรธ หลง เพราะไมรู ไมเขาใจในเรื่องของเหต ุ

และผลวาโลกียสุข มีคุณและโทษอยางไรนั่นเอง

โลกสุขกาม ธรรมสุขวาง

Page 12: Dhamma talk1

สวนของธรรมนั้นเปนสุขที่เปนเรื่องของความสุขภายในจิตเปนสําคัญ อันเกิดจาก การปฏิบัติรักษาศีล สมาธ ิปญญา

เพื่อลดละกิเลสเครื่องเศราหมอง มีตัณหา อุปาทาน เปนตน ดวยการสํารวมระวังพิจารณาหาเหตุผลของความทุกข ในหลักของอริยสัจ ๔

พระไตรลักษณ ทําใหจิตสะอาด สงบ สวางตามกําลังสติปญญาของตน และตามภูมิจิต ภูมิธรรม ของแตละคน เชน โสดาบัน สกทาคา อนาคา

อรหันต เปนความสุขที่เที่ยงแทไมแปรเปลี่ยน เพราะเปนอารมณ ของจิตในการภาวนา

จะเกิดขึ้นทุกครั้งที่บําเพ็ญทุกขณะจิตเมื่อเรานอมระลึกถึงซึ่งอยูในหลักของ สติปฏฐาน ๔ นั่นเอง

ใบไมแหงตาย ลวงหลน

ชีวิตของคน เชนกัน

ทุกสิ่งตางลวน แปรผัน

คืนวันสัตวโลก เกิดตาย๑๐

Page 13: Dhamma talk1

ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นมาบนโลกนี้ลวนแลวแตสมมุติเรียกขานกันเพื่อประโยชนใน การสื่อสารและดํารงอยู ในสังคมมีการจัดระบบการเมืองการปกครองเพื่อใหเกิด ความสงบสุขในการอยูรวมกัน จึงมีการสมมุติแตงตั้งยศ ตําแหนง เพื่อทําหนาที่และ บทบาทที่แตกตางกันไป แตเมื่อเราหลงสมมุติเพราะไมเขาใจสภาพความเปนจริง ของสมมุตินั้น ก็เปนเหตุใหยึดติด เที่ยวแสวงหา อยากไดมาเพื่อตนในเรื่องของสมมุติตางๆ ก็เปนเหตุใหเกิดการเบียดเบียนแยงชิง ในที่สุดก็เดือดรอนวุนวายเปนทุกขตามมา ฉนั้นจงพิจารณาในเรื่องของโลกธรรม 8 ประการ มีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ มีสุข มีทุกข มีสรรเสริญ ก็มีนินทา เมื่อเขาใจและยอมรับในความเปนจริงเหลานี้ก็จะมีความสุข เปนความเขาใจเรื่องสมมุติที่ถูกตอง เปนแงคิดในการดําเนินชี◌ิวิตที่สําคัญ ในเมื่อเราเขาใจยอมรับ ปลอยวางไดระดับหนึ่ง ก็จะชวยใหเราอยูอยางมีความสุข ไมเดือดรอนกระวนกระวายใจ ที่เราเดือดรอนวุนวายอยูทุกวันนี้ก็เพราะเราหลงยึดติดใน สมมุติวาเรามีเราเปนนั่น เปนนี ่ตัวกูของก ูเมื่อพลัดพรากจากไปก็ผิดหวังเปนทุกข บางคนถึงกับฆาตัวตาย อันนี้ก็เพราะไมเขาใจในสภาพความเปนจริงเปนไปของโลก เนื่องจากไมรูแจงในสัจธรรมนั่นเอง

โลกสมมุติ

๑๑

Page 14: Dhamma talk1

๑๒

มรณสติ

เมฆหมอกหลอกตาใหหลง

งวยงงหมอกที่สีขาว

เปรียบเปนเชนดั่งกับเรา

ที่เฝายึดมั่นอัตตา

Page 15: Dhamma talk1

ธรรมคือธรรมชาติ

๑๓

"พระพุทธเจาทั้งหลายตรัสรูธรรมชาติของธรรมชาติทั้งหลาย"

เมื่อเรามาพิจารณาแยกแยะดูวาธรรมชาตินั้นคืออะไร เราจะม ีความเขาใจแจมแจงทันทีในธรรมนี ้ ธรรมชาติคือสภาพที่มีอยู

เปนอยูอยางนั้น ไมมีใครเปลี่ยนแปลงได ในที่นี้จะขอแบงออก

เปน 2 อยางคือ ธรรมชาติภายนอกและธรรมชาติภายใน

ธรรมชาติภายนอกก็คือรูปกายของเรานี ้แยกออกเปนธาต ุ๔

คือ ดิน นํ้า ลม ไฟ เปนรูปธรรมจับตองได มีความแก เจ็บ ตาย

แตกสลายในที่สุดตามหลักของพระไตรลักษณคือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั่นเอง

Page 16: Dhamma talk1

สวนธรรมชาติภายในไดแก ความรูสึกนึกคิดตางๆ ไมสามารถมองเห็นไดแตรูสึกได มีเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เรียกวานาม จิต

นามนี้ก็ตกอยูในสภาพ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เมื่อรูป-นามรวมกันเรียกวาขันธ ๕ อาศัยกันเกิดขึ้นนักปฏิบัติทั้งหลายควรจะ

ภาวนาพิจารณาขันธเปนอารมณหยั่งลงสูพระไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เพื่อละปลอยวาง

ถอนความยึดมั่นถือม◌ันในอัตตาตัวตนเสีย มองใหเห็นเปนสุญญตา คือความวางเปลา ในที่สุดก็จะพบความสงบ สะอาด สวาง ในดวงจิต

วิมุตติญาณหยั่งรู วาวิมุตติก็จะเกิดขึ้น จะไดพบเห็นนิพพานในปจจุบันวันนี้แนนอน

๑๔

Page 17: Dhamma talk1

อยูอยางไรใหสงบเปนสุข

จงเปนผูมีสติรูเทาทันในการทํา พูด คิด มีปญญารูแจงแทงตลอดในสภาพ ธรรมทั้งหลาย มีอุเบกขาวางเฉยตออารมณ ไมหวั่นไหว

ไมมีอคต ิทําจิตใหนิ่งเปนกลาง ดูอยูรูอยูสักแตวารูเห็นวาเปนเชนนั้นเทานั้นเอง มีสติรูทันหมายถึง สติปฏฐาน กาย เวทนา จิต ธรรม

มีปญญารูแจงคือรูถึงสภาพความเปนจริงของ สังขารวาไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา มีอุเบกขาวางเฉย มีใจเปนกลางไมยินดียินรายกับสิ่งใด

เมื่อใดจิตใจ ของเรามีสติปญญาอุเบกขาอยูทุกเมื่อก็จะเปนสุข สงบ สันติทุกทิวาราตรีแนนอน

มีสติรูทัน นั้นคือรู

คอยเฝาด ูอารมณจิต คิดปญหา

เห็นรูแจง แทงตลอด ยอดปญญา

อุเบกขา ละปลอยวาง ทางนิพพาน

๑๕

Page 18: Dhamma talk1

๑๖

สติปฏฐาน ๔ : กาย

รางกายมนุษยเนาเหม็น

คนโงก็เห็นวาหอม

จึงหลงชื่นชมดมดอม

วาหอมวางามขําจริง

Page 19: Dhamma talk1

ภพภูมิของมนุษย

๑๗

การเกิดตายหมุนเวียนในวัฏฏะสงสารนั้นจะตองไปตามภพภูมิตางๆตามผลกรรม ของตนที่ทําไวแลวไปชดใชรับวิบากกรรมนั้น มีทุกคต ิสุขคต ิ

เปนจุดหมาย ภพภูม ิ

มีทั้งหมด ๓๑ ภูม ิมีนรก เปรต อสุรกาย เดรัจฉาน เรียกวาอบายภูม ิ๔ สวรรค ๖ รูปพรหม ๑๖ อรูปพรหม ๔ และมนุษย ๑ รวมเปน ๓๑ ภูมิ

ในที่นี้จะกลาวถึงภพภูมิของมนุษยวาเปนศูนยกลางของภูมิทั้งหลาย เพราะวา นรกมีทุกขอยางเดียวไมมีสุข สวรรคมีแตสุขไมมีทุกข

โลกมนุษยของเรามีทั้งสองอยาง ดวยเหตุนี้พระพุทธเจาทั้งหลายจึงไดมาตรัสรูในโลกมนุษยเพื่อละสุขละทุกขนั่นเอง

เพราะสุขและทุกขนี้เองมนุษยจึงสรางกรรมตางๆนาๆเนื่องจากอยากไดสุขอยากหนีทุกข

มนุษยจึงประกอบกรรมมากมายและหลงผิดเพราะไมรูจักทางพนทุกขและจะไดสุขอยาง ไร จึงเปนเหตุใหเวียนวายตายเกิตไมรูจบสิ้น ไปตกนรกบาง

ขึ้นสวรรคบาง ตามวิบากกรรมที่ทําไว

Page 20: Dhamma talk1

๑๘

สติปฏฐาน ๔ : เวทนา

เมื่อสมหวังในกิเลสก็เปนสุข

ที่เปนทุกขเพราะไมไดดั่งใจหวัง

สุขและทุกข เวทนา อนิจจังหากไมหวัง ก็จะไดในนิพพาน

Page 21: Dhamma talk1

หนทางนักบวช

การออกบวชในพระพุทธศาสนานั้นเปนการออกบวชเพื่อละกิเลส ดับทุกข ชําระใจใหบริสุทธิ์สะอาด

จุดมุงหมายคือพระนิพพานเปนแดนสงบสุขไมมีทุกขใดๆเลย มีหลักหรือแนวทางการปฏิบัติไปสูจุดหมายคือนิพพานนั้นไดแก มรรคแปดหรือรวม

เรียกยอๆวา ศีล สมาธ ิปญญา นั่นเอง

พระพุทธศาสนาจัดลําดับความสําคัญหรือการเขาถึงธรรมของพระพุทธศาสนา นั้น เปรียบเชนดั่งบุรุษหาแกนไมแตไมรูจักแกนไม

ไปหลงกิ่งและใบ สะเก็ดไม เปลือก กะพี้วาเปนแกน เชนเดียวกันผูออกบวชที่มาหลง ลาภ สักการะ ศีลเครงครัด สมาธ ิลึกลํ้า ปญญารูกวางขวาง

แตเขาไมถึงวิมุตต ิคือความหลุด คือดับเชื้อแหงกิเลสทั้งสิ้น หมดไปจากจิตใจ เปนเหตุใหหลงยึดติดอยูเพียงนั้นเพราะไมรูจักแกนไม

๑๙

Page 22: Dhamma talk1

ถาหากผูใดก็ตามเมื่อออกบวชแลวแสวงหาลาภสักการะชื่อเสียง อันไมใชทางพน ทุกข ก็แสดงวาผิดจุดประสงคของการบวชในพระพุทธศาสนา

นอกเสียจากลาภสักการะ เกิดขึ้นโดยธรรม คือผูมีศรัทธานํามาถวายดวยเพราะศรัทธาเลื่อมใสอันเกิดจากการ ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ

แตก็ไมหลงไปตามลาภสักการะนั้น มีจํานวนไมนอยที่เสียคนเพราะ ลาภสักการะเพราะขาดสต ิประมาท มัวเมาลืมตัว

อันเนื่องมาจากคุณธรรมยังไมสูงพอ หมายถึงภูมิจิตภูมิธรรมยังไมสามารถจะเอาชนะกิเลสไดนั่นเอง

๒๐

Page 23: Dhamma talk1

สิ่งที่ควรรู

สิ่งที่ควรรูไวมีอยู 4 หัวขอ ขอแรกคือการเขาใจธรรมชาต ิขอที่สองคือรูจัก โลกสมมุต ิขอที่สามคือยอมรับกฎแหงกรรม

ขอที่สี่คือกําหนดรูทุกข

ขอแรกการเขาใจธรรมชาติเปนสิ่งที่อยูในชีวิตประจําวันของเราเอง แตวา มนุษยสวนมากจะมองขาม จะมองแตงสิ่งภายนอก

การเขาใจธรรมชาติคือ ธรรมชาติของมนุษยที่เกิดมามีความแก ความเจ็บ ความตาย มีความพลัดพราก

เปนธรรมดาเปนเรื่องปกติของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในโลกนี ้ธรรมชาติของกายมีธาต ุ๔ ขันธ ๕

ธรรมชาติของจิตก็คือแปรเปลี่ยนอยูตลอดเวลารวดเร็วมาก จิตที่วิ่งไหลไป ตามอารมณตํ่า คือกิเลสตัณหาจะทําใหเราเปนทุกขใจ

ในเมื่อเราเขาใจธรรมมันก็จะ มีความสุข เราจะปลง ปลอยและวางได อันนี้สําคัญมาก สวนมากแลวเราจะไมเขาใจตัวนี ้จะหลงลืม เวลามีปญหา

หรือหมกมุนอยูกับอะไรสักอยางนึงก็จะลืมสิ่งเหลานี ้ก็เลยบอกใหเขาใจธรรมชาติเพื่อใหเรา ปลงได นึกถึงความตายบางก็ด ี

ในชีวิตวันวันหนึ่งนึกถึงตรงนี้ก็จะมีความสุขได

๒๑

Page 24: Dhamma talk1

ขอที่สองรูจักโลกสมมุต ิเพราะวามนุษยนี้อยูดวยการสมมุติวามีสิ่งนั้นเปนสิ่งนี ้มนุษยก็เลยยื้อแยงแขงขัน สมมุติสิ่งนั้นสิ่งนี้มีคาตางๆมากมาย

แตมันก็มีความจําเปน ในการอยูรวมกันในสังคม อันนั้นเปนสมมุติสัจจะ แตอีกมุมหนึ่งมันเปนปรมรรถสัจจะ

คือมองในสัจธรรมความเปนจริงแลวมันไมมีอะไร เปนของชั่วคราว อาศัยชั่วคราว แคทําตามหนาที่บทบาทที่สมมุติกันไป เชนเปนบิดา มารดา

เปนเจาหนาที่ตางๆ แตสิ่งนี้ก็ไมเที่ยงแทแนนอนอะไร ไมอยูกับเราตลอดไป

ขอที่สามคือยอมรับกฎแหงกรรม คือชีวิตมนุษยมีกรรมเปนตัวหลอเลี้ยง เปนตัว กําหนดอยูแลว ถาเราเขาใจตรงนี้เราจะไมเปนทุกข

ไมไปโทษอะไรมากมาย เพราะกรรม ตางๆเกิดจากการกระทําของเรา กระทําทางกาย วาจาและใจ แตวาการกระทํานั้น มีหยาบ ละเอียด

มีโทษมีคุณมากนอยตางกัน ผลก็เลยตางกัน ฉนั้นเวลาเกิดอะไรขึ้น ในชีวิต คนสวนใหญชอบไปมองภายนอก มองคนอื่นวาเกิดจากคนโนนคนนี ้

จริงๆแลว กรรมเปนตัวบันดาลใหเกิดขึ้นเราตองรับผลของกรรมวิบาก

กรรมแบงเปน 1.กรรมในอดีตใหผลในปจจุบัน 2.กรรมในปจจุบันใหผลในปจจุบัน

3.กรรมในปจจุบันในผลในอนาคต

๒๒

Page 25: Dhamma talk1

อันนี้คือหลักของกรรม กรรมจําแนกสัตว สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรม เพื่อใหม ี

หลักคิดในเรื่องของกฎแหงกรรมเพราะมนุษยเกิดมานี้มีกรรมเปนตัวนํามา แตมีความ แตกตางกันในหลายๆดานขึ้นอยูกับการกระทํานั่นเอง

ขอที่สี่คือกําหนดรูทุกข ถาชีวิตนี้หรือรูปนี้กายนี ้ขันธ ๕ นี้มันเปนทุกขเพราะวา มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มีแกมีเจ็บมีตาย

มันก็เปนธรรมชาติอยางหนึ่ง ถาเรา กําหนดรูอยูบอยๆแลวเราจะเขาใจและกําหนดรูทุกขในจิตอีกทีหนึ่ง อันนี้ทุกขทางกาย ทุกขในจิตก ็

คือตัณหาอุปาทาน หาหลักธรรมหาอุบายตางๆเพื่อมาแกทุกขตรงนี ้เมื่อเรากําหนดรูทุกขบอยๆมันก็แกได มันหาเหตุไดดวยสติดวยปญญา

คือการรักษาศีล เจริญสมาธ ิเจริญ ปญญาตามลําดับ

ทั้งสี่ขอนี้ควรระลึกพิจารณาอยูบอยๆทําใหผูนั้นเปนพระอริยะบุคคลได และจะไดรับ

ความสุขเปนไปตามกําลังสติปญญาที่พิจารณาใครครวญดูอยูตลอดเวลา ฉนั้นขอฝาก ใหระลึกนึกถึงอยูอยางนอยวันละครั้งก็ยังด ี

หรือเวลามีปญหาใหนึกถึงสี่ขอนี ้จะชวย บรรเทาทุกขได ซึ่งทั้งสี่ขอนี้เปนหลักใหญในธรรมะของพระพุทธเจา สําหรับที่จะขยาย ไปอีก

รวมถึงไตรลักษณ อริยะสัจ ๔ ก็ขอฝากไว

๒๓

Page 26: Dhamma talk1

๒๔

สติปฏฐาน ๔ : จิต

กระจกใสมีไวสองกาย

เติมแตงสิ่งใดก็รู

กระจกธรรมมีไวสองดู

ใหรูวาจิตคิดชั่วดี

Page 27: Dhamma talk1

ความเปนมนุษยที่สมบูรณ

ความเปนมนุษยที่สมบูรณ บางคนอาจจะหมายถึงรางกายที่เกิดมาแลวไมพิการ อันนี้ก็ใช แตไมทั้งหมด

ความเปนมนุษยที่สมบูรณนั้นตองรวมถึงผูที่มีจิตใจดีงาม ตั้งอยู ในศีลธรรม ในความถูกตอง คือมีธรรมะอยูในใจเปนผูมีจิตประเสริฐหรือสมบูรณ

การที่จะเปนมนุษย ที่สมบูรณไดนั้น พระพุทธองคทานตรัสเอาไวอยู 3 หลักใหญๆคือ

1.ตองเปนผูรูจักใหทาน การใหทานก็แบงเปนหลากหลายระดับ เริ่มตนเราก็ให ทานจากของงายๆกอนเชนเราทําบุญใสบาตร

บริจาคทานชวยเหลือสงเคราะหผูยากไร แมแตสัตวเดรัจฉานหรืออะไรที่มันงายๆเชน การใหวัตถุสิ่งของ อันนี้เขาเรียกวาการใหทาน

ระดับกลางขึ้นมาก็ใหของที่มีคาขึ้นมาเชน ทรัพยสินเงินทองที่มีคาในการบริจาคชวยเหลือ สละออกไป

ระดับตอไปก็คือการบริจาคเสียสละแมกระทั่งชีวิต อันนี้นอกจากพระโพธิสัตวแลว ก็คงมีคนอื่นทําไดยาก การบริจาคเลือดเนื้อก็มีประโยชน

เปนการใหชีวิตคนอื่นได อันนี้คือการใหทานซี่งมีหลากหลายแลวแตวาเราจะทําตรงไหน

๒๕

Page 28: Dhamma talk1

แลวอีกทานอันหนึ่งเปนทานที่ประเสริฐก็คือการใหอภัยทาน และการใหธรรมะเปนทาน

รวมถึงการใหวิชาการความรูแกผูที่ดอยโอกาสก็เปนธรรมทานเปนวิทยาทานเปนกุศลอยาง หนึ่ง

เหลานี้เปนทานที่มีคาเพราะทานที่ทําใหเกิดปญญา เพราะคนเขาสามารถจะไปตอ ยอดไดเพิ่มพูนขึ้นไปอีก

ทําไมถึงบอกวาธรรมะเปนทานมีคา เพราะวาธรรมะทําใหเปลี่ยนจิตใจคนได จากคนที่หยาบ คนที่โง

คนที่ไมรูจักอะไรเลยในบาปบุญคุณโทษผิดชอบก็ดีนี ้พอไดศึกษา

ธรรมะเปลี่ยนจิตใจเขาเปนอริยะบุคคลได เปลี่ยนแปลงจิตใจคนอื่นได ตัวเองได อันนี้เปนทานอันยิ่งใหญ

อันที ่2 ก็คือการรักษาศีล พระพุทธเจาบอกใหรักษาศีล ความหมายของศีลคือความ เปนปกติหรือการไมเบียดเบียนกันนั่นเอง

คืออยูดวยกันอยางสงบสันติจะมีความสุข ตางคนตางชวยเหลือกันในหลักของทาน และก็มีศีลคือไมเบียดเบียนกันอีก สังคมใดที ่

มีผูมีศีลเยอะๆสังคมนั้นจะสงบรมเย็นนาอยู เปนสังคมที่มีแตความรักความเมตตา มีแตความหวังดีตอกัน

สังเกตจากการที่เราไปวัดที่เขาจัดกิจกรรมทางศาสนาบอยๆ

๒๖

Page 29: Dhamma talk1

หรือวัดปาอะไรก็แลวแต คนที่ไปวัดจะมีจิตใจดีเปนคนชวยเหลือ เปนคนคอยดูแลตางๆ คนที่มาวัดนี่จะเปนอยางนั้น

ก็มีหลายสํานักที่เขาฝกบุคลากรไวอยางด ีคนที่เขาไปนั้น ก็จะไดรับความสบายใจเห็นแลวก็อบอุน อันนั้นคือสังคมผูมีศีล คือไมมีภัย รูสึกปลอดภัย

เดินไปไหนไมตองระวังอะไรมากมาย ไมตองคิดอะไรมาก มีแตความสบายใจ

เมื่อมนุษยรู◌ัจักใหทานและรักษาศีลแลวก็ตองมีปญญาดวย ใชไหม ปญญาหมายถึง ความรอบรู

ในทางพระพุทธศาสนาใหความหมายปญญาวาคือความรอบรูในกองสังขาร อันนี้ในทางธรรมนะ

ความรอบรูในกองสังขารหมายถึงวาเขาใจในสภาพการเกิดขึ้น ตั้งอยู

ดับไป ของทุกสิ่งทุกอยางในโลกนี ้แมแตตัวเราเองก็ประกอบดวยธาต ุ๔ ขันธ ๕ คืออยูในหลักของอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือปญญาตรงนี ้

ใหเขาใจตรงนี้ในชีวิต เมื่อเรามีปญญาเขาใจรอบรูในสังขารในชีวิตของเราแลวมันก็จะไมทําใหเราเปนทุกขมาก เปาหมายก็คือไมทําใหเราเปนทุกขมาก

คือรูจักปลง จากปลอย จากวาง คลายความยึด มั่นถือมั่น คลายความอยาก ละโมบโลภมาก คลายความโลภโกรธหลงลงไปไดเยอะ

คือเราตองศึกษาธรรมของพระพุทธองค ดวยสติปญญาคือใชปญญาศึกษาหลักธรรม

คําสอนของพระพุทธเจาใหมากๆแลวก็นํามาปฎิบัติภาวนาคือกําหนดเอาไวในใจ

๒๗

Page 30: Dhamma talk1

ศึกษาคําสอนพระพุทธองคเพื่อหาทางพนทุกขคือนอกจากเราใหทานรักษาศีลซึ่งเปน พื้นฐานของจิตอยูแลว เราก็พัฒนาใหจิตเกิดการรูแจง

เมื่อมนุษยรูหลักธรรมคําสอนรูจัก ปลอยจักวาง อันนี้เปนเรื่องของความทุกขที่ตองเอาออกจากจิตใจตนเองใหไดมากที่สุด

เพราะวามนุษยโดยทั่วไปแลวจะอยูภายใตอํานาจของกิเลส ตัณหา คือจะทําตามอํานาจ ของกิเลสตัณหาความอยาก ความโลภ โกรธ หลง

จะเปนไปตามอารมณตรงนี้มาก เมื่อเรามีปญญาเขาใจในหลักธรรมคําสอนเชนหลักอริยสัจ ๔ หรือไตรลักษณ หรือหลักพรหม

วิหาร ๔ มันจะมาชวยควบคุมจิตใจขอเราใหดีขึ้น สะอาดขึ้น สงบขึ้น เมื่อมนุษย มีจิตใจด ี

สะอาดขึ้น สงบขึ้น เราก็จะไดรับความสุขจากการใชปญญา คือทาน ศีล มันก็ไดความสุข ในระดับหนึ่ง ในระดับสังคม แตวาความทุกขเราไมหมด

แตถาเราเจริญปญญา เจริญวิปสสนาความทุกขมันจะหมดไปจากจิตใจเราได คือการใหทานรักษาศีลมันก็เปนพื้นฐาน แตวามันไมไดละกิเลส

มันก็เปนการอยูรวมกันในสังคมอีกแบบหนึ่ง เปนสิ่งที่มนุษยจําเปนตอง

มีแตวาปญญานี้สําคัญทําใหเราพนทุกข เราไมเปนทุกข เราจะอยูอยางไรก็ได ยืนเดินนั่งนอนเราก็มีความสุข เพราะเราปลงได เราไมยึดมากถือมั่น

ในตัวเองมาก ไมยึดมั่นถือมั่นในรูป ในกามคุณ ๕ ไมยึดมั่นถือมั่นในธาตุขันธในวัตถ ุ

๒๘

Page 31: Dhamma talk1

สิ่งของทั้งหลาย เมื่อเราเขาใจหลักปญญาคือหลักไตรลักษณ หลักอริยะสัจ ๔ นี ้คือทําให เราคลายทุกขหายจากทุกขไดตามกําลังสติปญญา

อันนี้คือศีส สมาธ ิปญญา ในทางพุทธศาสนานั้นเนนที่ตัววิปสสนาตัวปญญาเปนหลัก เพราะวาตัวปญญา

ตัววิปสสนานี้ทําใหมนุษยมีจิตใจที่สูงขึ้นสมบูรณขึ้น ปลอยวางไมหลงตัวเองไมลืมตัว ผลก็คือทําใหตัวเองมีความสุข

ถาใครเขาถึงตัวปญญาตัววิปสสนา หรืออยางนอยก็ใหเขา ใจในหลักธรรมคําสอน ไมสามารถจะละกิเลสไดหมดทุกอยาง แตวามันก็ตองเบาบาง

ผอนคลายลงไปได บางครั้งเรามีความทุกขความเครียดมากๆ แตเราไมมีทางออก

เพราะเราไมรูจักธรรมะเมื่อเรามีปญญาเขาใจในธรรมะในคําสอนของพระพุทธเจา ในบางเรื่องบางหัวขอ

อาจจะไปชวยแบงเบาความทุกขความเครียดในจิตใจเราได อันนี้คือประโยชนของธรรมะของการเจริญปญญาดานวิปสสนา

เมื่อมนุษยทุกคนรูจักปลอย จักวาง จักปลง ความทุกขก็จะนอย โทษก็จะนอย เรื่องบางเรื่องอยางชาวโลกทั่วไป

มีทะเลาะเบาะแวงไมพอใจก็จะเอาเรื่องเอาราวกันจนถึงที่สุดถึงฆากันตายเลยก็ม ีเพราะอะไร เพราะวาไมเขาใจหลักธรรมคําสอนของพระพุทธองค

พระพุทธองคใหทาน ใหอภัยทาน ใหธรรมะเปนทานและรักษาศีล แลวก็ใหปลอยใหวางใหปลงกับชีวิตบาง

๒๙

Page 32: Dhamma talk1

ประมาณนี ้มันทําใหมีความสุข เมื่อทุกคนรูจักปลอยรูจักวางรูจักปลงแลว การเบียดเบียน การละเมิดศีลตางๆก็จะไมม ีก็จะทําใหเราเปนสุขได

ความเปนมนุษยที่สมบูรณคือมนุษยที่มีทาน ศีล ภาวนา อยูในชีวิตประจําวันตลอด เวลา คือหัดทําใหสมํ่าเสมอ คือมีตรงนี้อยู

ก็สรุปงายๆวาการใหทานคือการใหจากของ งายๆจนถึงของที่มีคาสูงๆหรือใหธรรมะเปนทาน ใหอภัยทานดวยแลวก็ใหรักษาศึล

คือการไมเบียดเบียนผูอื่นและไมเบียดเบียนตนเองใหไดรับความทุกขความเดือดรอน เรียกวาศีล สวนภาวนาคือการปลง

การปลอยการวางจิตไมยึดมั่นถือมั่น ไมอยาก ไมโลภมาก รูจักปลอยจักปลงกับชีวิต เขาใจธรรมชาติของชีวิตวาเกิดมาตองมีความแก ความเจ็บ

ความตาย คืออยูในหลักไตรลักษณนั่นแหละ นึกถึงหลักไตรลักษณบอยๆ แลวก็จะมีความสุข เขาเรียกวาอารมณภาวนา

ขอฝากใหเอาสามขอนี้ไปคิดพิจารณาดูแลวก็บําเพ็ญทําใหสมํ่าเสมอตามโอกาส ตามที่เหมาะสมที่มันจะเกิดขึ้นได

๓๐

Page 33: Dhamma talk1

๓๑

สติปฏฐาน ๔ : ธรรม

ธรรมชาติของใจไหลลงตํ่า

ไหลไปตามอํานาจของตัณหา

หลงยึดมั่นขันธ ๕ วาอัตตาอวิชชาพาใหใจไหลลง

Page 34: Dhamma talk1

๓๒

มรณสติ

สุดทายก็ตายหนอสัตว

ผูดมัดนั้นคือตัณหา

โงหลงนั้นคืออวิชชา

เหตุพาวายเวียนเกิดตาย

Page 35: Dhamma talk1

ความไมประมาท

พระพุทธเจาไดทรงแสดงธรรมเอาไวในกาล เบื้องตน ทามกลางและที่สุด ในเบื้อนตนทานทรงแสดงอริยะสัจ ๔ เอาไวคือทานตรัสรูดวยอริยะสัจ ๔

ในทามกลางก็คือ ธรรมะ คุณธรรมตางๆที่เปนไปเพื่อการปฏิบัติใหหลุดพนมีหลากหลายและในที่สุด ก็คือความไมประมาท

ซึ่งพระพุทธเจาทานฝากเปนธรรมะขอสุดทายและมีความสําคัญที่สุด ทําไมถึงวาอยางนั้น พระพุทธเจาทรงตรัสวา

ความประมาทคือหนทางของความตาย คําวาตายในที่◌ีนี้แบงเปนความตายจากความดีความงามทั้งหลาย ตายจากสิ่งที่เปน ประโยชนทั้งหลาย

เปนความประมาทมัวเมาในทรัพยในสมบัติทั้งหลาย ในอาย ุในวัยตัวเอง ยังคิดวาไมแก มีทรัพยสินเงินทอง ไมเดือนรอน อยูอยางไรก็ได ทํานองนี ้

คือไมอยากจะทํา อะไรที่เปนความด ีไมอยากจะทําอะไรที่มันเปนประโยชนที่พึ่งไดในภายภาคหนา อันนี้เรียกความประมาท

๓๓

Page 36: Dhamma talk1

สวนความไมประมาทพระพุทธเจาตรัสไววาเปนทางแหงความเจริญ คือทางไมตาย

ทําไมพระพุทธเจาจึงตรัสวาความประมาทเปนทางแหงความตาย เพราะวามนุษยเรานั้น ไมสามารถจะรูไดลวงหนามีอยู ๕ ประการ คือ ๑.

ความเจ็บไขไดปวย ๒.อาย ุ ๓.ความตาย ๔.สถานที่ตาย ๕.คติภพที่จะไป

๑ ความเจ็บไขไดปวยนั้นเรารูลวงหนาไมไดวาจะเจ็บไขไดปวยเมื่อไหร เมื่อเปน แลวเราถึงจะหาหมอหายามารักษา

อันนี้คือปุถุชนจะรูตรงนี้ไมได แตพระอริยะบุคคลทานจะรู

๒ อาย ุพระอริยะบุคคลชั้นสูงทานจะกําหนดไดวาทานจะอายุกี่ป จะมรณะภาพ วันไหนเมื่อไหรทานรูได แตปุถุชนจะรูตรงนี้ไมได

ก็เลยมีความประมาท

๓ ความตาย พระอริยะบุคคลทานรูวาทานจะตายเมื่อไหร ทานกําหนดได

๔ สถานที่ตายทานก็รูอีก

๕ คติภพที่จะไปทานก็รู

ฉนั้น ๕ อยางนี้ปุถุชนธรรมดารูลวงหนาไมได ทานเลยไมใหประมาท ใหรีบทําความด ี

๓๔

Page 37: Dhamma talk1

ทําในสิ่งที่ดีที่เปนประโยชน คือเปนบุญเปนกุศล แลวชีวิตคนนี่มันไมเที่ยง พระพุทธเจา ตรัสวาสังขารไมเที่ยง จงยังความไมประมาทใหเกิดขึ้น

อันนี้คือคําสอนที่เปนสุดยอดของ คําสอนคือความไมประมาท ในเมื่อบุคคลทั่วไปมีความประมาทในการดําเนินชี◌ิวิตแลว

ก็เรียกวาเดินทางไปสูความตาย ตายจากความดีงามทั้งหลาย แมจะกิจการงานทางโลกก็ตาม

ถาหากวาประกอบกิจการงานดวยความประมาทก็อาจจะผิดพลาดได เกิดความ เสียหายได อันนี้ก็ใชไดทั้งทางโลกและทางธรรม

คําวาประมาท และความไมประมาท มีคุณอยางไร และมีโทษอยางไร อันนี้ก็ใหพิจารณาด ูตรึกตรองด ู

แลวก็จะรูจะเห็นสิ่งเหลานี้วาเปนอยางไร มันเปนธรรมะที่สั้นๆ แตมันมีความหมาย ลึกซึ้งมาก มีผลกับชีวิตของมนุษย เปนอยางมาก

ลองตั้งจิตตั้งใจตรึกตรองและพิจารณาด ูแลวนําไปใชใหเกิดประโยชนมากที่สุดวาเราจะเดินทางไหน ประมาทหรือไมประมาท

สิ่งเหลานี้จะไมไดรูดวยคําพูด ทุกสิ่งทุกอยางตองรูดวยการปฏิบัติใหเขาถึง ในเมื่อเรามีชีวิต

อยู◌่และเกิดเปนมนุษยมีโอกาสทําความดีปฏิบัติธรรมก็จงอยาประมาท

๓๕

Page 38: Dhamma talk1

๓๖

สติปฏฐาน ๔ : กาย

รางกายมนุษยสุดเนา จะเอาแนนอนไมได

คนโงนั้นไมเขาใจ

จึงหลงงมงายบาจริง

Page 39: Dhamma talk1

๓๗

สติปฏฐาน ๔ : จิต

จิตคิดฟุงซานหันเห

เกเรแนแทใจเอย

คิดนูนคิดนี่ไมมีเลย

ที่จะอยูเฉยเมยใหสบาย

Page 40: Dhamma talk1

๓๘

หลวงปูแฟบ สุภัทโท (๑)หลวงปูบุดดา ถาวโร (๕)หลวงปูสุทัศน โกสโล (๖)หลวงปูวิริยังค สิรินธโร (๗)หลวงปูเหรียญ วรลาโภ (๘)หลวงปูคําพอง ขันติโก (๑๓)หลวงปูประสาร สุมโน (๑๖)หลวงปูแวน ธนปาโล (๑๘)หลวงปูมั่น ภูริทัตโต (๒๐)หลวงปูสิงห ขันตยาคโม (๒๗)ทานพอล ีธมมธโธ (๓๑)

เจาคุณนรรัตนราชมานิต (๕)หลวงพอพุธ ฐานิโย (๘)หลวงปูจันทา ถาวโร (๑๐)หลวงปูหลุย จันทสาโร (๑๑)หลวงปูชอบ ฐานสโม (๑๒)หลวงปูหลา เขมปตโต (๑๔)หลวงปูแหวน สุจิณโณ (๑๖)หลวงปูบุญฤทธิ ์ปณฑิโต (๑๗)หลวงปูบุญเพ็ง กัปโป (๒๑)หลวงปูหลวง กตปุญโญ (๒๗)

หลวงปูคูณ สุเมโธ (๑)พระอาจารยคําแพง อัตตสันโต (๓)หลวงปูอุทัย สิรินธโร (๑๒)พระอุบาลีคุณูปมาจารย (๒๐)หลวงปูม(ีเกลา) ประมุตโต (๒๖)

หลวงปูทา จารุธัมโม (๑)หลวงพอสนอง กตปุญโญ (๕)หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย (๗)หลวงปูกินร ีจันทิโย (๘)หลวงปูจันทรแรม เขมสิร ิ(๑๗)หลวงปูจูม พันธุโล (๒๔)หลวงปูเทสก เทสรังส ี(๒๖)หลวงปูบุญพิน กตปุญโญ (๒๗)พระ อินทรถวาย สันตัสสโก(๒๗)หลวงปูทอง จันทสิร ิ(๒๘)

หลวงปูศร ีมหาวิโร (๓)หลวงปูทอน ญาณธโร (๓)พระอาจารยอุนหลา ฐิตธัมโม (๓)หลวงตาพวง สุขินทริโย (๖)หลวงพอปญญานันทภิกข ุ(๑๑)หลวงพอทูล ขิปปปญโญ (๒๐)หลวงพอพุทธทาสภิกข ุ(๒๗)หลวงปูอวาน เขมโก (๒๗)

พระอาจารยสรวง สิริปุญโญ (๕)หลวงปูเจี๊ยะ จุนโท (๖)หลวงปูจันทรโสม กิตติกาโร (๑๒)หลวงพอชา สุภัทโท (๑๗)หลวงพอวิชัย เขมิโย (๒๕)

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม

เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน

วันเกิดพระอริยสงฆสายวัดปา

Page 41: Dhamma talk1

๓๙

หลวงปูแบน ธนากโร (๒)หลวงพอทองพูน ปุญญกาโม (๖)หลวงตาสมหมาย อัตตมโน (๗)หลวงปูฤาษีลิงดํา (๘)หลวงปูออนสา สุขกาโร (๑๐)หลวงปูจวน กุลเชฎโฐ (๑๐)พระอาจารยสิงหทอง ธัมมวโร (๑๒)

หลวงปูคําฟอง เขมจาโร (๒)หลวงปูตื้อ อจลธัมโม (๓)พระพอไพบูลย สุมังคโล (๓)หลวงปูอํ่า ธมมกาโม (๔)หลวงตาแตงออน กัลปยาณธัมโม (๘)หลวงตามหาบัว ญาณสัมปนโน (๑๒)หลวงปูสาย เขมธัมโม (๑๒)พระอาจารยวัน อุตตโม (๑๓)หลวงปูฝน อาจาโร (๒๐)หลวงปูสุวัจน สุวโจ (๒๙)พระสุพรหมยานเถร (๓๐)

หลวงปูบุญจันทร กมโล (๑๕)หลวงปูออนศร ีฐานวโร (๑๖)หลวงปูเนย สมจิตโต (๑๗)หลวงปูแปลง สุนทโร (๒๐)หลวงปูสังข สังกิจโจ (๒๔)

หลวงปูล ีฐิตธัมโม (๒)หลวงปูดุลย อตุโล (๔)หลวงปูทองใบ ปภสัสโร (๖)หลวงปูเพียร วิริโย (๗)หลวงปูจันทรศร ีจนททีโป (๑๐)พระอาจารยฟก สันติธัมโม (๑๑)หลวงปูมหาเจิม ปญญาพโล (๑๒)หลวงปูมหาบุญม ีสิริธโร (๑๔)พระอาจารยปญญาวัฒโท (๑๙)หลวงปูบุญเพ็ง เขมาภิรโต (๒๐)พระอาจารยสาคร ธัมมาวุโธ (๒๐)

หลวงปูเสาร กันตสีโล (๒)แมชีแกว เสียงลํ้า (๕)พระอาจารยเลี่ยม ฐิตธัมโม (๕)หลวงปูกงมา จิรปุญโญ (๖)หลวงปูถิร ฐิตธัมโม (๘)หลวงปูคําบอ ฐิตปญโญ (๑๑)หลวงปูเปลี่ยน ปญญาปทีโป (๑๖)หลวงปูสิม พทธาจาโร (๒๖)

หลวงปูขาน ฐานวโร (๒)หลวงปูวิไลย เขมิโย (๒)หลวงปูหลอด ปโมทิโต (๙)พระพอบุญทัน ปุญญทัตโต (๒๐)หลวงปูผาน ปญญาปทีโป (๒๑)หลวงปูมหาเนียม สุวโจ (๒๔)หลวงปูขาว อนาลโย (๒๘)

พฤศจิกายน ธันวาคม

กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน

ตุลาคม

วันเกิดพระอริยสงฆสายวัดปา

Page 42: Dhamma talk1

บันทึก

๔๐

Page 43: Dhamma talk1

B A N G - B O O N